turnleftthai.blogspot.com
เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 9
เมษายน 55
ราคา 20 บาท
การปรองดอง ได้แต่ปกป้อง อำ�มาตย์ โดย ใจ อึ๊งภากรณ์ หน้า 6
วิกฤติเศรษฐกิจ
และการเมือง ในยุโรป โดย นุ่มนวล ยัพราช หน้า 7
“ว่าด้วยทุน” กระบวนการ สะสมทุน โดย กองบรรณาธิการ หน้า 16
นักโทษ 112 ทนต่อสภาพการจองจำ�ที่ยาวนานไม่ ไหว จำ�ใจต้องยอมรับสารภาพ เพื่อขอพระราชทาน อภัยโทษ เหลือเพียงผมคนเดียวที่ยังยืนยันจะต่อสู้คดี ตราบเท่าที่ข้างนอกยังมีแรงเคลื่อนไหวอยู่ สมยศ พฤกษาเกษมสุข 2 เม.ย. 55 ณ เรือนจำ�พิเศษกรุงเทพ
สองด้าน
การเลือกตั้ง
พม่า
โดย ลั่นทมขาว หน้า 10
2
นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 เมษายน 55
พลวัต
turnleftthai.blogspot.com
ใจ อึ๊งภากรณ์
จอห์งลุก มะลอนเชนอง “คนอันตราย” ที่เรารัก ของฝ่ายซ้ายฝรั่งเศส
จอห์งลุก มะลอนเชนอง (Jean-Luc Mélenchon) ผู้ สมัครรับเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศสของ “แนวร่วมซ้าย” เป็นนักการเมืองฝรั่งเศสที่น่าสนใจที่สุดในยุคนี้ มะลอนเชนอง ผสมความก้าวร้าวทางการเมืองจากความโกรธแค้นของกรรมาชีพ และเยาวชนในวิกฤตเศรษฐกิจ กับความสามารถในการพูด ตลก และเป็นนักการเมืองทีม่ ีนโยบายก้าวหน้าและสร้างสรรค์ ทีส่ ุดในบรรดาผู้ลงสมัครทุกคนในฝรั่งเศส เขาไม่มวี ันชนะการ เลือกตั้ง แต่ถ้าเขาติดอันดับสามด้วยเปอร์เซ็นพอใช้ได้ และตี ผูส้ มัครพรรคฟาสซิสต์ ลาเพน ให้ลงสูอ่ นั ดับทีส่ ไี่ ด้ ก็ถอื ว่าเป็น ปรากฏการณ์สำ�คัญและน่าทึ่งในปัจจุบัน นโยบายสำ�คัญของ มะลอนเชนอง คือการเสนอให้เก็บ ภาษี 100% จากรายได้เกิน €360,000 ของคนรวย เพิ่มค่าจ้าง ขัน้ ต่�ำ 20% และปฏิรปู ระบบบำ�เหน็จบำ�นาญให้ดขี นึ้ และให้คน สามารถเลิกงานเมื่ออายุ 60 ได้ นอกจากนี้มีการเสนอให้นำ� บริษัทพลังงานกลับมาเป็นของรัฐให้หมด “ผมอันตราย!!” เขาชอบประกาศในการชุมนุมหา เสียง “อันตรายกับพวกเศรษฐี นายทุน และชนชัน้ ปกครอง” เมื่อคนวิจารณ์ว่านโยบายเขาตั้งอยู่บนรากฐานลัทธิการเมือง เขาตอบว่า “ใช่แน่นอน” เมื่อนายทุนด่าเขาว่าเหมือนพวก เล่นกีโยตินในการปฏิวัติฝรั่งเศส เขาตอบว่า “การปฏิวัติ ฝรั่งเศสยังไม่จบ!” คะแนนนิยมของ มะลอนเชนอง มาจาก คนที่เบื่อหน่ายในนโยบายเสรีนิยมกลไกตลาดของรัฐบาล นิ โคลัส ซาโคซิ และของพรรคสังคมนิยมของ ฟรานซวา ฮอลแลนด์ ที่เป็นพรรคฝ่ายค้าน นโยบายดังกล่าวได้แต่ตัดสวัสดิการ ตัด
งาน และตัดฐานะเศรษฐกิจของคนส่วนใหญ่ เพื่อเพิ่มกำ�ไรให้ นายทุนและนายธนาคาร มะลอนเชนอง เคยเป็นสมาชิกพรรคสังคมนิยม แต่ ปลีกตัวออกเพือ่ ตัง้ แนวร่วมซ้ายกับพรรคคอมมิวนิสต์และกลุม่ ฝ่ายซ้ายอืน่ เขาได้แรงบันดาลใจจากพรรคซ้าย “ไดลิงเกอร์” ในเยอรมัน ที่แยกตัวออกจากพรรคสังคมนิยมประชาธิปไตย ในประเทศนั้น แต่เราไม่ควรมองข้ามข้อเสียของ มะลอนเชน อง เพราะเขาอาจทำ�ข้อตกลงกับพรรคสังคมนิยมในอนาคต และนโยบายเศรษฐกิจบางส่วนของเขาเน้นแนวชาตินิยม นอกจากนี้พรรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศสเป็นพรรคที่มีประวัติใน การฉวยโอกาสทางการเมือง เช่นการเข้าร่วมรัฐบาลกับพรรค สังคมนิยมด้วยการทิ้งอุดมการณ์ทั้งหมด นโยบายดังกล่าว ทำ�ให้พรรคเล็กลงเรื่อยๆ จากสมัยก่อน ในขณะเดียวกันพรรคแนวตรอทสกี โดยเฉพาะ “พรรค ใหม่ต้านทุนนิยม” อยู่ในสภาพวิกฤตเพราะซีกหนึ่งเน้นแต่ การเมืองของระบบเลือกตั้งและละเลยการจัดตั้งในขบวนการ ต่างๆ และอีกซีกไม่ยอมทำ�แนวร่วมกับฝ่ายซ้ายอื่นๆ เพื่อ ปกป้อง “ความบริสุทธิ์” ของตนเอง คนก้าวหน้าในฝรั่งเศสจะต้องอาศัยกระแสสนับสนุน มะลอนเชนอง เพื่อสร้างกระแสต่อสู้กับความพยายามในการ ทำ�ลายชีวิตประชาชนในวิกฤตเศรษฐกิจ กระแสนี้ต้องนำ�เข้า สู่สหภาพแรงงานและขบวนการเยาวชนกับนักศึกษา และใน ขณะเดียวกันต้องมีการรือ้ ฟืน้ การจัดตัง้ ทางการเมืองทีส่ อดคล้อง กับโลกจริงโดยไม่อ่อนน้อมต่อลัทธิทุนนิยม -TLN-
turnleftthai.blogspot.com
มุมประวัติศาสตร์
หน่ออ่อน ของนายทุน ในอาณาจักร จีนโบราณ อาณาจักรใหม่ของจีนหลังการล่มสลายของอารยะ ธรรมเก่า เริ่มเจริญภายใต้ราชวงศ์สุย และเจริญต่อไป ภายใต้ราชวงศ์ถังเมื่อประมาณ ค.ศ. 600 มีการพัฒนา ระบบชลประทาน และการปลูกข้าว การใช้สงครามเพือ่ ขยายอาณาจักร และมีการสร้างระบบการค้าขายไปใน ทุกทิศ ในเมืองกวางตุ้งมีพ่อค้าอิหร่าน มาเลย์ อินเดีย เวียดนาม และเขมร มีการเผยแพร่ภาษาจีนไปสู่เกาหลี และญีป่ นุ่ และเทคนิคการทำ�กระดาษทีร่ เิ ริม่ ในจีน ค่อยๆ เผยแพร่ตามเส้นทางการค้าขายไปสู่ตะวันตก ยิ่งกว่านั้นมีการนำ�ระบบข้าราชการมาใช้เพื่อ บริหารอาณาจักร โดยทีผ่ ชู้ ายทีอ่ ยากเป็นข้าราชการจะ ต้องใช้เวลาเป็นนักศึกษาและสอบผ่านข้อสอบราชการ ระบบข้าราชการของรัฐแบบนี้พยายามผูกขาดการค้า ในเกลือ สุรา และชา และพยายามปฏิรูปที่ดินเพื่อให้มี เกษตรกรรายย่อยมากขึ้น เกษตรกรเหล่านี้จะได้จ่าย ภาษีให้รัฐ แทนที่ความร่ำ�รวยจะกระจุกในมือของพวก ขุนนางเจ้าของที่ดินเก่า ในยุคนีจ้ นี นำ�หน้าโลก มีการสร้างเมืองยักษ์ใหญ่ ที่มีประชากรเป็นล้าน มีการสร้างโรงงานอุตสาหกรรม เหล็กทีจ่ า้ งแรงงานจำ�นวนมาก เพือ่ สร้างอาวุธและเครือ่ ง มือ มีการผลิตดินปืน และสารเคมี โดยใช้ถ่านหินจาก
นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 เมษายน 55
3 C.H.
ภาพจาก : www.absolutechinatours.com
เหมืองเป็นเชื้อเพลิงแทนถ่านจากการเผาไม้ ใน ค.ศ. 1078 จีนผลิตเหล็กมากกว่า 114,000 ตันในขณะทีอ่ งั กฤษ ในปี ค.ศ. 1788 สมัยปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมผลิตแค่ 68,000 ตัน ท่ามกลางการพัฒนาดังกล่าว พ่อค้ารายใหญ่ขนึ้ มา เป็นหน่ออ่อนของนายทุน และมีบทบาททางสังคมมาก ขึ้น คนเหล่านี้มักจะสนใจศาสนาพุทธและศาสนาอื่นๆ แต่ความคิดความเชื่อหลักในหมู่ข้าราชการจะเป็นลัทธิ ขงจื๊อ ที่เน้นระเบียบวินัยและความอนุรักษ์นิยม และ ดูถกู การค้าขายและชนชัน้ ล่างทัง้ หมด ทีส่ �ำ คัญคือระบบ ชลประทาน และการผลิตแบบอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ ที่ เป็นพืน้ ฐานการผลิต ยังอยูใ่ นมือของรัฐข้าราชการ พ่อค้า จึงจำ�เป็นต้องพึ่งพาอำ�นาจของรัฐข้าราชการนี้และไม่ สามารถยึดอำ�นาจรัฐได้ พ่อค้าหรือหน่ออ่อนนายทุนจีนไม่มีโอกาสที่จะ ฉวยโอกาสล้มระบบเก่าได้ในยุคท้ายของราชวงศ์ถัง ทั้งๆ ที่รัฐอ่อนแอลง เพราะกองทัพมองโกลบุกเข้ามา ยึดครองจีนและผู้นำ�ใหม่ตั้งตัวเป็นราชวงศ์หยวน หลัง จากนี้ไม่มีการพัฒนาเทคโนโลจีเหมือนเมื่อก่อน และ หน่ออ่อนของนายทุนจีนก็พลาดโอกาสที่จะสร้างระบบ ทุนนิยมในยุคนั้น -TLN-
4
นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 เมษายน 55
turnleftthai.blogspot.com
Speak Out
โคแบร์
ต้องปฏิวัติการศึกษา เพื่อเสรีภาพทางความคิด เห็นได้จากการศึกษาไทยในปัจจุบนั นี้ ยังเห็นแต่ระบบ ต่างๆ ที่ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ก้าวหน้าเลย ทั้ง ทางด้านระบบการคิด ซึ่งถือว่าเป็นปัญหาอย่างใหญ่หลวง ที่ ดูเหมือนว่าระบบการคิดนั้นจะเป็นรูปแบบไปในทางพระสงฆ์ อบรมสั่งสอนลูกศิษย์ลูกหา ที่มักจะไม่ให้สอนให้มีความคิดที่ แตกต่างไปจากคนอื่น ตัวอย่างเช่น ประเทศไทยจะพัฒนาได้นั้นจะต้องมีผู้ ปกครองที่เป็นคนดี มีคุณธรรมเท่านั้น ประมาณว่าเป็นอัศวิน ขี่ม้าขาวมากอบกู้ชาติบ้านเมือง แล้วตอนนี้เราก็เห็นได้ชัดว่า ระบบการคิดที่ต้องมีผู้ปกครองบ้านเมืองที่ดีนั้นก็ไม่อาจทำ�ให้ ประเทศชาติเจริญรุ่งเรืองได้ ระบบทีค่ ดิ ว่าผูป้ กครองเป็นคนดี มีคณ ุ ธรรมเป็นระบบ การครอบงำ�ทางความคิดทางการเมืองอย่างหนึง่ มาตัง้ แต่สมัย หลายร้อย หลายพันปีก่อน เพราะมักจะมาพร้อมกับการห้าม ตั้งคำ�ถามกับผู้นำ�หรือผู้ปกครอง ซึ่งขัดแย้งกับระบอบการ ปกครองประชาธิปไตย ซึง่ เราไม่สามารถชีว้ ดั กฎเกณฑ์ได้เลย ว่าผู้ใดเป็นคนดี มีคุณธรรม เพราะความดี ของแต่ละยุคสมัย แต่ละคน แต่ละชนชั้น แต่ละผลประโยชน์ทางการเมือง ก็แตก ต่างกัน สำ�หรับบางคนบางกลุ่มที่ไม่อยากให้มีการพัฒนาการ ศึกษาไปในทิศทางทีก่ า้ วหน้าโดยอ้างเหตุผลต่างๆ นาๆ อย่าง เช่น การแจกแท็บเล็ตให้กับเด็ก ป.1 เป็นการได้สัมผัสถึง นวัตกรรมใหม่ๆ เพือ่ จะได้พฒ ั นาการคิด การอ่านได้เป็นอย่าง ดี สาเหตุทบี่ างคนไม่เห็นด้วยนัน้ มักจะบอกเป็นเสียงเดียวกัน ว่า “เด็กจะเอาไปใช้ท�ำ อะไรได้ เดีย๋ วถ้าหายหรือพังขึน้ มา ล่ะ ใครจะรับผิดชอบ” อันนีถ้ อื ว่าเป็นข้ออ้างทีใ่ ครๆ ก็สามารถ
พูดได้โดยไม่ต้องคิดเลย ก็เพราะว่าของแบบนี้มีหายหรือพัง กันบ้างถือเป็นเรื่องปกติไม่ว่าจะเป็นวัยไหนก็ต้องมีหายหรือ พังทั้งนั้น ผู้ปกครองก็เพียงแค่สอนให้เด็กรู้จักดูแลเก็บรักษา ให้ดีก็เพียงพอแล้ว และเมือ่ เราไปสำ�รวจดูกจ็ ะพบว่าลูกหลานของคนมีเงิน ล้วนแต่ใช้แท็บเล็ต กันตั้งแต่เด็กๆ กันมานานแล้วด้วยซ้ำ� แต่ พอลูกหลานคนธรรมดา จะมีโอกาสได้ใช้บ้างกลับถูกดูถูกสติ ปัญญา ส่วนในเรือ่ งของการเรียนการสอนนัน้ ก็ถอื ว่าเป็นปัญหา ใหญ่เหมือนกันทีไ่ ม่สามารถแก้ไขได้เลย ไม่วา่ ใคร รัฐบาลไหน ก็เพิกเฉยต่อส่วนนี้เป็นอย่างมาก บอกว่าจะปฏิรูปศึกษา แต่ สุดท้ายการล้มเหลวโดยสิน้ เชิง รูไ้ หมว่าเด็กสมัยนีบ้ น่ ถึงระบบ การเรียน การสอนมามากแล้ว แต่ดูเหมือนว่าผู้ใหญ่ก็คงไม่ อยากคิดทีจ่ ะแก้ไขตัง้ แต่แรกแล้ว ก็เพราะหากมีการปฏิรปู จริง อนาคตของชาติก็จะถูกครอบงำ�ยากยิ่งขึ้น อนาคตของชาติจะต้องถูกครอบงำ�อยูแ่ บบนีต้ งั้ แต่เป็น นักเรียน นิสติ นักศึกษา จนถึงวัยทำ�งานก็ไม่อาจลบล้างความ คิดที่ถูกยัดเหยียดจากทางผู้ใหญ่ได้ ส่วนหนึ่งก็มาจากพ่อ แม่ ผูป้ กครอง ทีส่ อนให้รจู้ กั เคารพบิดา มารดา และผูอ้ าวุโส เพียง อย่างเดียว ห้ามโต้เถียง โต้แย้ง ไม่วา่ จะเป็นสิง่ ทีม่ เี หตุผลก็ตาม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของของการควบคุมคนในสังคม เพราะเป็นการฝึกฝนให้คนเชือ่ ฟังผูป้ กครองและนายจ้าง เมือ่ ต้องออกไปทำ�งาน มันเป็นการรักษาผลประโยชน์ทางการ ปกครองของชนชั้นนำ�เผด็จการ เพื่อรักษาผลประโยชน์ของ ตนเอง การควบคุมทีม่ ปี ระสิทธิภาพอีกอย่างคือ ปลูกฝังความ กลัวให้เกิดขึน้ โดยเฉพาะความกลัวในความมัน่ คงในการดำ�เนิน
turnleftthai.blogspot.com
นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 เมษายน 55
5
ภาพจาก : www.komchadluek.net
ชีวิต เช่น การสอบ ไม่ว่าจะเป็นการสอบแบบใดๆ ก็ตามมักจะ จุดประกายความคิดให้นักเรียนได้เกิดความกลัวต่อการสอบ ตก กลัวต่อความผิดพลาดที่เกิดขึ้น เพราะถ้าคุณสอบไม่ผ่าน ก็จะไม่มีโอกาสดีๆ ในการทำ�งาน ด้วยเหตุนี้จึงทำ�ให้อนาคตของชาติไม่กล้าที่จะลงมือ ปฏิบัติสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เพราะกลัวความผิดพลาด ต่อมาเมื่อพวก เขาทำ�งานอาสาให้ประเทศชาติแล้ว ก็จะดำ�เนินนโยบายการ ต่อต้านการเปลี่ยนแปลงระบบต่างๆ ที่ได้รับการปลูกฝังมา ตั้งแต่วัยเยาว์เพราะขาดความมั่นใจ แต่พอมีบางคนที่ทำ�งานการเมืองแล้วมีการปฏิรูปทั้ง การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ก็ไม่อาจอยูใ่ นประเทศต่อไปได้ หนำ�ซ้�ำ ยังถูกยัดเหยียดข้อหาต่างๆนาๆ แม้วา่ จะเป็นเรือ่ งส่วน ตัว แต่ก็เป็นการชี้ให้เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงระบบต่างๆ เป็น สิ่งชั่วร้าย ระบบเดิมๆ นั้นดีแล้ว ทำ�ให้คนรุ่นใหม่มองการ เปลี่ยนแปลงระบบเป็นสิ่งไม่ควรทำ�อย่างยิ่ง จนถึงทุกวันนี้ก็ เห็นได้จากการเคลื่อนไหวปฏิรูปต่างๆ นาๆ ให้เราเห็นได้ชม อยู่ ซึ่งทุกคนก็สามารถศึกษาเหตุการณ์ปัจจุบันได้อยู่ สิ่งสำ�คัญที่สุดในการเปลี่ยนการศึกษาคือ การปฏิวัติ การศึกษา แน่นอนเชื่อได้เลยว่า หลายคนคงกลัวกับคำ�ว่า ปฏิวัติจนขึ้นสมอง มองว่าเป็นการทำ�ลายประเทศ มองว่า เป็นการล้มล้างระบอบการเมือง มองว่าเป็นการก่อกบฎ ก็ เพราะแบบนี้ไงครับที่คำ�เพียงไม่กี่คำ�ก็สามารถเปลี่ยนความ คิดของเราไปในทิศทางทีแ่ ตกต่างได้ หากเราปลูกฝังระบบการ คิดเสียใหม่ ความคิดของเราก็จะไม่ตกอยู่ในทิศทางใดทิศทาง หนึ่ง แต่จะนำ�ไปสู่ความคิดที่เปิดกว้างใหญ่อันไพศาลที่ทำ�ให้ ตัวเรามีอสิ ระในชีวติ ทีจ่ ะสามารถทำ�อย่างไรก็ได้ให้เป็นไปตาม
อุดมคติที่เราวางไว้ แต่กอ่ นเราต้องทำ�ตามพ่อ แม่ ครูบาอาจารย์ มากำ�กับ ชีวิตตัวเราเองมาโดยตลอด หากเราคิดปฏิวัติตัวเองได้ ก็จะ ทำ�ให้การปฏิวัติการศึกษาสามารถต่อยอดสำ�เร็จได้ในอนาคต แต่ถา้ จะทำ�อย่างนัน้ ได้ จำ�เป็นก็ตอ้ งชักชวนผูร้ กั ประชาธิปไตย และความเป็นธรรม ให้หันมาผลักดันออกแบบการศึกษาเพื่อ รับใช้สังคมอย่างแท้จริง นอกจากการเปลี่ยนแปลงในบริบท ทางการเมืองเพียงอย่างเดียว สุดท้ายนี้หากเราอยากแสวงหาอนาคตที่ดีกว่า ก็ต้อง เริ่มต้นที่การศึกษา ซึ่งไม่ใช่มีแต่ในโรงเรียนเพียงอย่างเดียว แต่สามารถแสวงหาความรูไ้ ด้จากนอกรัว้ สถาบันการศึกษา ทัง้ ในเวทีเสวนา หรือการจัดตั้งกลุ่มศึกษาทางการเมือง ในมิติ ต่างๆ ก็สามารถทำ�ได้ เพราะการศึกษาเป็นแหล่งความรู้ประเภทต่างๆ ที่ สามารถกำ�หนดชะตาชีวติ ของเราได้ แต่ไม่ใช่จากการยัดเหยียด จากใครคนใดคนหนึง่ ต้องให้เด็กและวัยรุน่ มีอสิ ระในความคิด ความอ่านของตนเอง หากพวกเขามีขอ้ สงสัยซักถามก็ตอ้ งเปิด โอกาสให้เขารู้ ให้เขาเข้าใจ ไม่ใช่ไปลิดรอนความคิดของเขา โดยการยัดเหยียด ถือว่าเป็นสิ่งที่อันตรายที่สุดของผู้ที่เป็น อนาคตของชาติ ทางออกของอนาคตของชาติคือการปฏิวัติการ ศึกษาเท่านัน้ เพือ่ พัฒนาทุกระบบของประเทศให้ดยี งิ่ กว่า
6
นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 เมษายน 55
turnleftthai.blogspot.com
วิวาทะ
ใจ อึ๊งภากรณ์
การปรองดองของยิ่งลักษณ์ ได้แต่ปกป้องอำ�นาจอำ�มาตย์ สองปีหลังจากที่ทหารฆ่าประชาชนเสื้อแดงที่ผ่านฟ้าและราช ประสงค์ และ 9 เดือนหลังชัยชนะในการเลือกตั้งของพรรคเพื่อไทย เรา เห็นได้ชดั ว่าเพือ่ ไทย นายกยิง่ ลักษณ์ และอดีตนายกทักษิณ ปรองดอง กับทหารมือเปื้อนเลือดบนซากศพคนเสื้อแดง พร้อมกับหันหลังให้กับ นักโทษการเมือง ไม่ว่าใครจะแก้ตัวต่างๆ นาๆ ให้รัฐบาล แต่ผมขอ ยืนยันตรงนี้ ทั้งๆ ที่เสื้อแดงจำ�นวนมากเลือกรัฐบาลยิ่งลักษณ์ แต่รัฐบาล ตอบแทนด้วยความกระตือรือร้นในแสดงความเป็นมิตรกับอาชญากร อย่าง ประยุทธ์ และอนุพงษ์ และแทนที่จะนำ�ฆาตกรมาขึ้นศาล มีการ เลื่อนขั้นและเอาใจทหารมือเปื้อนเลือดแทน นักการเมืองอย่างอภิสิทธิ์ และสุเทพก็ลอยนวลเช่นกัน แต่ในกรณีหลังมีการเล่นละครในสภาเพื่อ สร้างภาพว่าอยู่คนละข้าง ในความเป็นจริงทั้งสองพรรคการเมืองนี้ไม่ ได้อยู่ข้างประชาชน แต่อยู่ข้างอำ�มาตย์ การที่รัฐบาลเพื่อไทย นำ�โดยรัฐมนตรีที่มีภาพอื้อฉาวอย่าง เฉลิม หรือขีข้ า้ เสือ้ เหลืองอย่างอนุดษิ ฐ์ เน้นการเร่งใช้กฎหมายเผด็จการ 112 มากขึ้นตั้งแต่ชนะการเลือกตั้ง อาจเป็นความพยายามของพรรค เพือ่ ไทยและทักษิณทีจ่ ะพิสจู น์ “ความจงรักภักดี” แต่ทสี่ �ำ คัญกว่านัน้ เป็นการพิสูจน์ว่าเพื่อไทย ยิ่งลักษณ์ และทักษิณ พร้อมจะคลานและ ถ่อมตัวต่อกองทัพ และพร้อมจะให้กองทัพมีอ�ำ นาจพิเศษนอกรัฐธรรมนูญ ในการกำ�หนดสังคมการเมืองไทย เพราะกฎหมาย 112 มีความสำ�คัญ ทีส่ ดุ ในการปกป้องทหาร เพือ่ ให้ทหารสามารถอ้างความชอบธรรมจาก สถาบันกษัตริย์ในทุกอย่างที่ทหารทำ� ไม่ว่าจะเป็นการทำ�รัฐประหาร หรือฆ่าประชาชน กฎหมายเผด็จการ 112 ถูกใช้ในการทำ�ลายสิทธิเสรีภาพใน การแสดงออก และทำ�ลายประชาธิปไตยมานาน ทุกวันนี้นักโทษ 112 จำ�นวนมากติดคุกอยูใ่ นสภาพย่�ำ แย่ คนอย่างคุณสมยศไม่ได้รบั การประ กันทั้งๆ ที่ยังไม่มีการตัดสินคดี และคนอย่าง อ.สุรชัยหรืออากง ถูก กดดันด้วยอายุและสุขภาพ ให้ “สารภาพผิด” เพือ่ หวังได้รบั อภัยโทษ ในอนาคต แต่รัฐบาลตั้งหน้าตั้งตาปฏิเสธที่จะแก้กฎหมายชั่วอันนี้ นักการเมืองเพื่อไทยอาจอ้าง “ภัยจากรัฐประหาร” เพื่อให้ ความชอบธรรมกับการปรองดองแบบยอมจำ�นน แต่ในทางปฏิบัติ นโยบายการปรองดองของรัฐบาลมีผลในการปกป้องอำ�นาจทหารที่จะ ทำ�รัฐประหารอีกในอนาคต ซึ่งคล้ายๆ กับสถานการณ์ในพม่าทุกวันนี้
นอกจากปัญหา 112 และการไม่ยอมนำ�ฆาตกรมาขึ้นศาลแล้ว ยังไม่มมี าตรการอะไรทีม่ คี วามหมายในการปล่อยนักโทษการเมืองเสือ้ แดงนอกจากการตั้งคุกพิเศษ อีกสาเหตุหนึ่งที่รัฐบาลเพื่อไทยไม่ยอม นำ�ทหารและคนอย่างอภิสทิ ธิม์ าขึน้ ศาลก็อาจเพราะกลัวว่า อาจจะมีคน ทีร่ กั ความเป็นธรรม เรียกร้องให้น�ำ ทักษิณและทหารมาขึน้ ศาลในฐานะ ที่ฆ่าประชาชนมือเปล่าที่ตากใบด้วย ทักษิณคงอยากจะปรองดองแบบจับมือกับอำ�มาตย์ เพื่อหวัง กลับประเทศไทยในอนาคตอันใกล้ ในขณะเดียวกันมีการยกฟ้อง จักรภพ เพ็ญแข ในคดี 112 ซึ่งอาจเป็นการ “เอาใจ” ทักษิณ เพราะคุณจักรภพ เคยใกล้ชดิ กับทักษิณ แต่นนั้ ไม่ได้พสิ จู น์วา่ คุณจักรภพต้องการปรองดอง แบบนี้กับอำ�มาตย์ เราคงต้องถามเจ้าตัวเอง การโยนเงินให้ผทู้ ไี่ ด้ผลกระทบจากความขัดแย้งทางการเมือง ไม่ใช่การปรองดองหรือการเยียวยาที่แท้จริง มันเหมือนการโยนเงินให้ ครอบครัวคนจนโดยเศรษฐี หลังจากอุบัติเหตุบนท้องถนน ชีวิตมนุษย์ โดยเฉพาะชีวติ วีรชนประชาธิปไตย ตัง้ ค่าเป็นเงินทองไม่ได้ และยิง่ กว่า นั้นเงินนี้มาจากภาษีประชาชนคนจนเอง ไม่ได้เป็นการจ่ายค่าชดเชย โดยทหารฆาตกรจากกระเป๋าตนเองแต่อย่างใด การโยนเงินให้ครอบครัว พลเรือนทีถ่ กู ทหารฆ่าในภาคใต้กไ็ ม่ได้น�ำ ไปสูก่ ารแก้ปญ ั หาสงครามกลางเมือง ในภาคใต้แต่อย่างใดอีกด้วย เราจะปล่อยให้พวกนั้นซื้อความสงบด้วย เงินของเราเองแบบนี้หรือ? แกนนำ� นปช. อาจพูดจานามธรรมเรื่องการไม่ทอดทิ้งวีรชน และการช่วยนักโทษ และอาจมีการเสนอปฏิรปู รัฐธรรมนูญเล็กๆ น้อยๆ แต่ในรูปธรรมบทบาทหลักของ นปช. คือการสลายขบวนการและระงับ การต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยแท้ และไม่มีการรณรงค์ให้แก้หรือยกเลิก 112 โดย นปช. แต่อย่างใด ในขณะที่เพื่อไทย ทหาร ปรองดองกันเพื่อรักษาสถานภาพ ของอำ�มาตย์ และขณะที่คณะกรรมการปรองดองของรัฐสภามีประธาน ทีเ่ คยทำ�รัฐประหารเพือ่ ล้มล้างระบบประชาธิปไตย แสงสว่างแห่งความ หวังอยู่ที่คณะนิติราษฎร์ที่ต้องการลบผลพวงรัฐประหาร และอยู่ที่ ขบวนการเพือ่ ปฏิรปู 112 คนก้าวหน้าทุกคนควรช่วยกันสร้างขบวนการ มวลชนเพือ่ ผลักดันสิง่ เหล่านี้ เพราะถ้าเราไม่เคลือ่ นไหว การปรองดอง ก็จะเป็นแค่การปกป้องอำ�มาตย์บนซากศพวีรชน -TLN-
นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 เมษายน 55
turnleftthai.blogspot.com
จัดตั้ง
7
นุ่มนวล ยัพราช
อัพเดทสถานการณ์วิกฤติเศรษฐกิจ และการเมืองในสหภาพยุโรป (1) เบื้องหลังวิกฤติเศรษฐกิจ วิกฤติเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในยุโรปปัจจุบันเป็นผลพวงโดยตรง จากวิกฤตทางการเงินโลกในปี 2007 ที่มีจุดกำ�เนิดมาจากวิกฤติบ้าน และอสังหาริมทรัพย์ (subprime mortgages) ในสหรัฐอเมริกา ทีม่ กี าร ปัน่ หุน้ สร้างฟองสบู่ และ ค้ากำ�ไรทางการเงินของพวกกลุม่ ทุนธนาคาร สำ�หรับตัวอย่างคล้ายๆ กันที่พอนึกภาพได้ง่ายๆ ในไทยก็คือ วิกฤติ ต้มยำ�กุ้งในช่วงปี พ.ศ.2540 สหภาพยุโรป (European Union = EU) เป็นการวมตัวกัน ขึ้นมาของกลุ่มประเทศในยุโรปเพื่อเป็นหนึ่งในมหาอำ�นาจทั้งทางการ ค้า และทางการเมืองในเวทีระดับโลกหลังสงครามโลกครัง้ ทีส่ อง ซึง่ เพิม่ อำ�นาจการแข่งกับมหาอำ�นาจอื่นๆ เช่น สหรัฐ จีน รัสเซีย หรือ ต่อมาก ลุ่มประเทศ BRIC (Brazil, Russia, India and china) ที่เป็นกลุ่ม ประเทศกำ�ลังพัฒนาทีม่ อี ตั ตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงมาก อย่างไร ก็ตามกลุ่มประเทศ บริค (BRIC) ตลาดส่งออกโดยส่วนใหญ่จะอยู่ สหรัฐอเมริกาและสหาภาพยุโรปเป็นหลัก ฉะนั้นวิกฤติที่กำ�ลังเกิดขึ้น ไม่ช้าก็เร็วจะมีผลกระทบต่อประเทศเหล่านี้ ซึ่งตอนนี้อัตราเศรษฐกิจก็ เริม่ ชะลอตัวลงจากตัวเลขสองหลักเหลือแค่หลักเดียวและมีแนวโน้มว่า จะลดลงเรือ่ ยๆ จุดเด่นของประเทศบริคคือต้นทุนการผลิตต่�ำ และมีการ กดค่าแรงอย่างโหดเหี้ยม ซึ่งทำ�ให้ตลาดภายในมีปัญหาเพราะคนไม่มี กำ�ลังซื้อ หรือคนที่มีกำ�ลังซื้อก็จะเป็นคนส่วนน้อย
วกกลับเข้ามาที่วิกฤติของสหภาพยุโรป จุดเด่นทีส่ ดุ ของสหภาพยุโรปคือ เป็นการสร้างสหภาพบนพืน้ ฐานผลประโยชน์นายทุนเป็นหลัก มีการเคลื่อนไหวของทุนอย่างเสรี ลดพรมแดนระหว่างประเทศสมาชิกสำ�หรับการค้าขายและธุรกิจ เพื่อ สร้างตลาดเดียว และใช้สกุลเงินเดียวกัน เพือ่ ความสะดวกสำ�หรับกลุม่ ทุนต่างๆ มากไปกว่านัน้ สหภาพยุโรปต้องการสถาปนาสกุลเงินยูโร(€) ขึ้นมาเป็นสกุลเงินระหว่างประเทศเหมือนดอลล่าสหรัฐ สหภาพยุโรป ได้ใช้แนวทางเสรีนิยมอย่างสุดขั้ว เพราะในธรรมนูญของสหภาพเขียน ไว้เพื่อให้ผลประโยชน์กับกลุ่มทุนทางการเงินและกลุ่มทุนขนาดใหญ่ โดยเฉพาะ มีการกดดันให้ประเทศต่างๆ มีการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ อย่าง เป็นระบบ ลดการควบคุมโดยรัฐ โดยการอ้างว่ามันเป็นการเพิ่ม ประสิทธิภาพในการแข่งขัน และมีกฎบังคับไม่ให้รฐั กูเ้ งินจนขาดดุลเกิน 3% ของผลิตผลมวลรวม (GDP) พูดง่ายๆ สหภาพยุโรปจะหันไปใช้
รูปแบบการพัฒนาเศรษฐกิจแบบอเมริกา คือรัฐเข้ามาปกป้องผลประโยชน์ ของคนธรรมดาน้อยที่สุด ยุโรปเคยมีชื่อเสียงว่า รัฐจะมีบทบาทสูงมาก ในการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยเฉลี่ยคุณภาพชีวิตของคนจนที่อยู่ในยุโรป จะดีกว่าคนอเมริกัน สมาชิกของ EU มีอยู่ทั้งสิ้น 27 ประเทศ แต่กลางปี 2013 จะ เพิ่มเป็น 28 ประเทศ สมาชิกใหม่รายที่ 28 คือ โครเอเชีย ซึ่งลักษณะ สมาชิกสามารถแบ่งได้เป็นสองชนิด คือ พวกทีก่ �ำ ลังพัฒนา(ซึง่ สามารถ เรียกได้หลายชื่อ เช่น พวกทางใต้, periphery counties = ค่อนข้าง ยากจน ) สมาชิกใหม่ๆ จะมาจากยุโรปตะวันออกอดีตประเทศเผด็จการ คอมมิวนิสต์แนวสตาลิน และ พวกที่พัฒนาแล้ว (ประเทศร่ำ�รวย พวก ทางเหนือ , core counties) ปัจจุบัน EU ถูกควบคุมโดย “troika” (แปลว่า 3 องค์กร) ซึ่ง ประกอบไปด้วย คณะบริหาร European Union, ธนาคารกลาง European Central Bank (ECB) และ ไอเอ็มเอฟ International Monetary Fund (IMF) พวกข้าราชการและนายธนาคารเหล่านี้จะมี บทบาทในการกดดันให้ประเทศทีก่ �ำ ลังพัฒนาใน EU ตัดสวัสดิการและ แปรรูปรัฐวิสาหกิจอย่างเป็นระบบหรือที่เรียกว่า “โปรแกรมปฏิรูปจาก troika” เพื่อหาเงินไปใช้หนี้ที่ธนาคารต่างๆ ก่อขึ้นแต่แรกในวิกฤติ ทางการเงิน ประเทศที่ได้ประโยชน์จากนโยบายของ “troika” คือ ธนาคารของประเทศใหญ่ๆ อย่างเยอรมัน ฝรัง่ เศษ เบลเยีย่ ม หรือ ของ กลุ่มประเทศ core สือ่ กระแสหลักตัง้ ต้นอธิบายว่าวิกฤติครัง้ นีเ้ กิดขึน้ จากประเทศ กรีซ คำ�อธิบายที่ปฏิกิริยาที่สุดคือ “ชาวกรีกเป็นคนขี้เกียจ ทำ�งาน หนักไม่พอและใช้ชวี ติ แบบฟุย่ เฟือย ไม่จา่ ยภาษี” เป็นต้น คำ�อธิบาย ของฝ่ายขวาดังกล่าวได้เพิ่มความเกลียดชังระหว่างเชื้อชาติ และหลีก เลี่ยงที่จะแตะตัวปัญหาแท้คือปัญหาทางโครงสร้างของระบบทุนนิยม
แล้วคำ�อธิบายสำ�หรับชาวมาร์คซิสต์คืออะไร ระบบทุนนิยมเป็นระบบทีม่ ปี ญ ั หาในตัวของมันเองคือเศรษฐกิจ มันจะไม่ขยายตัวตลอดเวลา มันจะมีวิกฤติอยู่เป็นระยะ เช่น หลัง สงครามโลกครั้งที่สอง จะมีช่วงที่เศรษฐกิจบูมเต็มที่ในยุค 1960 แต่พอ เข้าสู่ยุค 1970 (พ.ศ.2513) เศรษฐกิจเริ่มมีวิกฤติ จากนั้นเศรษฐกิจโลก จะเข้าสูส่ ภาวะทีเ่ กิดฟองสบูแ่ ล้วก็แตกเป็นวงจรอุบาทว์ มาร์คซ์ อธิบาย (อ่านต่อหน้า 8)
8
นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 เมษายน 55
turnleftthai.blogspot.com
(ต่อจากหน้า 7)
ว่าระบบการแข่งขันในระบบทุนนิยมจะนำ�ไปสู่การลงทุนและผลิตล้น เกินและก่อให้เกิดแนวโน้มการลดลงของอัตรากำ�ไรซึ่งเป็นสาเหตุของ วิกฤติ นายทุนเลือกแนวทางที่จะรักษาอัตรากำ�ไรไว้ โดยการส่งเสริม ให้บริษทั ใหญ่กนิ บริษทั ทีอ่ อ่ นแอกว่าแล้วตัดระดับการผลิตและการจ้าง งาน และอีกหนทางหนึง่ คือการตัดค่าแรงอย่างโหด ซึง่ เกิดขึน้ ในประเทศ สหรัฐอเมริกา (รายละเอียดเกีย่ วกับเรือ่ งนีส้ ามารถอ่านได้ในเลีย้ วซ้าย ฉบับอื่นๆ ซึ่งมีการอธิบายไว้อย่างเป็นระบบ) ทีนถี้ า้ ค่าแรงน้อยพลังการบริโภคก็จะอ่อนแอ แล้วจะทำ�อย่างไร? เพราะจะทำ�ให้วิกฤติหนักขึ้นและคนตกงานมากขึ้น แนวเสรีนิยมเลือก ที่จะไม่เพิ่มค่าแรงให้สอดคล้องกับความต้องการของคนส่วนใหญ่ และ ไม่เห็นด้วยกับการกระตุ้นเศรษฐกิจด้วยการเพิ่มกำ�ลังซื้อ แต่บ่อยครั้ง จะเลือกส่งเสริมให้คนบริโภคผ่านการเป็นหนี้แทน สหรัฐอเมริกา คือ ตัวอย่างอันยอดเยี่ยมในกรณีนี้ รัฐบาลสหรัฐในอดีตไม่เพิ่มค่าแรงขั้น ต่ำ�มากว่า 30 ปี และเลือกที่จะปล่อยเงินกู้ราคาถูกเข้าสู่ระบบแทนที่จะ เพิ่มค่าแรงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของกำ�ลังจ่าย เช่น การเปิดโอกาสให้ คนจนอเมริกามีสิทธิกู้เงินราคาถูกเพื่อมาซื้อบ้าน จากนั้นเกิดการเก็ง กำ�ไรในอสังหาริมทรัพย์ เกิดฟองสบู่ และจากนั้นฟองสบู่ก็แตกเพราะ คนจนใช้หนีไ้ ม่ได้ เรือ่ งมันไปกันใหญ่เมือ่ นายทุนธนาคารพยายามสร้าง กำ�ไรในการเก็งกำ�ไรจากหนี้เสีย จนทุนธนาคารขนาดใหญ่ของอเมริกา ล้มในปี 2008 (Lehman Brothers)1 ธนาคารขนาดใหญ่ของยุโรปโดยเฉพาะจากเยอรมันและฝรั่ง เศษได้รบั ผลกระทบอย่างมหาศาลเพราะไปซือ้ หนีเ้ น่าจากอเมริกา โดย มีความหวังว่าจะสร้างกำ�ไรได้ ธนาคารเหล่านั้นเกือบจะล้มซึ่งทำ�ให้ รัฐบาลต่างๆ ในยุโรปต้องเข้าไปอุม้ และเอาใจเพือ่ นนายทุนด้วยกันโดย ปัดหนี้เสียเหล่านั้นให้กลายเป็นหนี้สาธารณะ หลังจากนั้นอ้างว่าต้อง ตัดบริการสาธารณะชนิดต่างๆ ลงอย่างเป็นระบบ รวมถึงเพิม่ ภาษีมลู ค่า เพิ่มอีกด้วย เพื่อเอาเงินไปจ่ายหนี้ให้กับนายธนาคาร เพื่อดึงยอดหนี้ ลงมา ในวิกฤติทางการเงินปัจจุบัน คนใช้หนี้กลายเป็นคนธรรมดาๆ ที่ ไม่ได้สร้างปัญหาแต่อย่างใด ในขณะทีต่ วั ปัญหาแท้คอื พวกนายธนาคาร หรือ พวกนักเก็งกำ�ไร (hedge funds) ซึง่ สือ่ กระแสหลักทีย่ โุ รปจะเรียก ตลาดหุ้นของนายทุนว่า “เดอะ มาเก็ท” เหมือนกับว่ามีตัวตนอิสระ
จากมนุษย์และผลประโยชน์ชนชั้น พวกนักเก็งกำ�ไร ไม่เคยถูกลงโทษ และพวกนี้มีอิทธิพลอย่างมากต่อนักการเมืองกระแสหลักในยุโรป หนี้สาธารณะมหาศาลของกลุ่มประเทศในสหาภาพยุโรปทาง ใต้ เช่น กรีส สเปน อิตาลี่ ไอร์แลนด์ หรือโปรตุเกส มาจากการที่หลาย ฝ่ายต้องการหาเงินมาพัฒนาประเทศเพราะถูกกดดันให้เร่งพัฒนา เศรษฐกิจให้ได้มาตรฐานของกลุม่ EU ทัง้ รัฐและเอกชนกูเ้ งินจากธนาคาร ในเยอรมันและฝรั่งเศส แต่พอระบบธนาคารพังและรัฐต่างๆ เข้าไปอุ้ม จนเกิดหนี้สาธารณะ พวกปล่อยกู้เอกชนที่คุมตลาด จะมองว่ารัฐขาด ประสิทธิภาพที่จะจ่ายหนี้ เลยมีการเพิ่มอัตราดอกเบี้ย ซึ่งมีผลพวงคือ หนี้สาธารณะยิ่งเพิ่มขึ้นอีก ในอดีตลักษณะการขยายตัวของเศรษฐใน กลุ่มประเทศเหล่านี้เป็นการขยายตัวที่สร้างฟองสบู่โดยเฉพาะใน อุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์ การที่ประเทศยากจนใน EU ใช้เงินสกุลยูโร ทำ�ให้ไม่สามารถ แข่งขันกับกลุ่มประเทศเหนือ เช่น เยอรมนี ฝรั่งเศษ เพราะไม่สามารถ ลดค่าเงินเพือ่ ลดราคาสินค้าและเพิม่ การส่งออกได้ ฉะนัน้ ความสัมพันธ์ ของกลุ่มประเทศใน EU จะมีลักษณะความสัมพันธ์ที่ไม่เสมอภาคกัน ประเทศทีย่ ากจนมีการพึง่ พาประเทศทีร่ �่ำ รวยมากขึน้ เรือ่ ยๆ โดยเฉพาะ เรื่องของเงินทุน ยิ่งประเทศยากจนขาดดุลและเป็นหนี้มากเท่าไหร่ ประเทศเยอรมันและฝรั่งเศษก็กังวลเรื่องความมั่นคงของธนาคารของ ตนเองและเศรษฐกิจของตนเองด้วย เลยมีการพยายามสร้างอำ�นาจ เหนือรัฐบาลและนโยบายเศรษฐกิจของประเทศยากจนมากขึ้นเรื่อยๆ แต่คนธรรมดาในกรีซหรือสเปนไม่ได้ได้รับประโยชน์แต่อย่างใด ตรง กันข้ามมีการทำ�ลายชีวิตคนธรรมดาด้วยการตัดเงินเดือน สวัสดิการ และระดับการทำ�งาน นั่นเป็นสาเหตุว่าทำ�ไมที่กรีซ โปรตุเกส และ สเปน มีการต่อสู้ กับการตัดงบประมาณอย่างดุเดือด ข้อถกเถียงที่ตามมาในขณะนี้คือ กลุ่มประเทศยากจนถ้าใช้หนี้ไม่ได้จะทำ�อย่างไร? ข้อเสนอจาก troika คือ ให้ลบหนีท้ งิ้ ส่วนหนึง่ และให้คงจำ�นวนหนีท้ ดี่ เู หมือนว่ากรีซจะใช้คนื ได้ แต่ในความเป็นจริง มันกลายเป็นเรือ่ งทีไ่ ร้ความหมายเพราะการปัน่ ราคาหุ้นและการซื้อขายบอนด์ล่วงหน้าทำ�ให้ปริมาณหนี้เพิ่มขึ้นอย่าง เดียว ยิง่ กว่านัน้ ทุกเม็ดเงินทีก่ รีซกูม้ าใหม่ จะเข้ากระเป๋าธนาคารเยอรมัน
มันมีประเด็นถกเถียงต่อเนื่องในเรื่องนี้คือ ประเด็น การเติบโตทางธุรกรรมทางการเงิน (Financialisation) ที่กลายเป็นแหล่งของการสร้างกำ�ไรระยะสั้น ในขณะที่ ภาคการผลิตจริงสร้างกำ�ไรได้น้อยและช้า ฉะนั้นทุนใหญ่จะหันมาลงทุนค้าทางด้านการเงิน เพื่อหากำ�ไรระยะสั้น ทำ�ให้เกิดระบบเศรษฐกิจเทียมที่ไร้ฐานการผลิตรองรับ ขาดความสมดุล ในช่วงวิกฤติ 1930 มีการค้าทางการเงินในลักษณะที่คล้ายๆ กัน จนเกิดวิกฤติทำ�ให้คุณค่าของเงินมีปัญหา จนต้องหาทองคำ�มาเป็นหลักประกัน ....ผู้ เขียนจะไม่ลงรายละเอียดมาก เพราะจะทำ�ให้บทความยาวและซับซ้อนจนเกินความจำ�เป็น 1
turnleftthai.blogspot.com
นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 เมษายน 55
แด่สมยศ:อย่างอเข่าต่อมาตราป่าเถื่อน
และฝรั่งเศสทันที โดยที่ประชาชนไม่ได้รับอะไรเลยเพื่อเพิ่มสภาพชีวิต ประจำ�วัน เนื่องด้วยความอยุติธรรมที่ทวีขึ้นเรื่อยๆ มันก็มาสู่คำ�ถามว่า อยู่ไปก็ฉิบหาย ออกไปจากสกุลเงินยูโรจะไม่ดีกว่าหรือ? ถ้าจะออกจะ ออกอย่างไร? แนวที่หนึ่งของกระแสหลักและนายทุน เสนอให้รับใบสั่ง จาก Troika แล้ว “อดทน” แต่แนวที่สองของฝ่ายซ้ายเสนอให้ออกไป โดยอาศัยกระแสกดดันจากมวลชนข้างล่างงดจ่ายหนี้ ชักดาบและใช้ เงินที่มีอยู่เพื่อจ่ายค่าจ้างและบริการประชาชน แทนที่จะยกให้ธนาคาร เราเรียกว่า “การล้มละลายจากข้างล่าง” (กรณีใกล้เคียงที่ประสบ ความสำ�เร็จ คือ กรณีของประเทศอาเจนตินาในปี 2001 ชักดาบต่อ IMF) กลุ่มประเทศ EU กาลครั้งหนึ่งเคยมีชื่อเสียงเรื่องของความ เป็นประชาธิปไตย แต่ในภาวะวิกฤติทกี่ ลุม่ นายธนาคารมีอทิ ธิพลเหนือ นักการเมือง เราเห็นการทำ�ลายประชาธิปไตยชนิดที่ยอมรับไม่ได้ คือ การถอดถอนนายกทีม่ าจากการเลือกตัง้ ในประเทศ กรีซ กับ อิตาลี และ การแต่งตั้งนักเทคโนแครตนายธนาคารขึ้นมาบริหารประเทศแทน ซึ่ง นักเทคโนแครตเหล่านัน้ ต้องการทำ�ลายมาตราฐานการจ้างงานและตัด สวัสดิการทุกชนิดเพื่อหาเงินใช้หนี้ให้ธนาคาร ประเด็นดังกลาวนำ�มาสู่ ข้อถกเถียงเรือ่ งการขาดดุลทางประชาธิปไตย สือ่ กระแสหลักยักษ์ใหญ่ เช่น Financial Times เรียก ประเทศกรีซว่าเป็นอาณานิคมแรกของ สหภาพยุโรป ซึ่งมีแนวโน้มว่าประเทศอื่นๆ ที่กำ�ลังมีปัญหา เช่น สเปน ไอร์แลนด์ โปรตุเกส จะมีชะตากรรมเหมือนกรีซ วิกฤตทางเศรษฐกิจ ก็จะนำ�มาสูว่ กิ ฤติทางเมืองในทีส่ ดุ (ฉบับหน้าจะลงรายละเอียดเกีย่ วกับ วิกฤติทางเมืองในยุโรป) บทความชิ้นนี้ อาศัย 3 บทความหลักคือ Kotz, D.M. 2009. The Financial and Economic Crisis of 2008: A Systemic Crisis of Neoliberal Capitalism. Review of Radical Political Economics C. Lapavistas, A Kaltenbrunner, D. Lindo, J. Michell, J.P. Painceira, E. Pires, J. Powell, A. Stenfors, N. Teles,(2010) Eurozone Crisis: Beggar Thyself and Thy Neighbour, RME occasional report March 2010, Research on Money and Finance C. Lapavistas and team, 2011, Breaking up? A route out of the Eurozone crisis, Occasional Report 3, Research on Money and Finance -TLN-
ไม่มีอภัยอะไรจะไปขอ ขื่อจำ�คอต้องขังอย่างผิดผิด เล่ห์กลับกลอกบอกย่ออสรพิษ ทำ�ประดิษฐ์กลไกให้ดูดี อคติลำ�เอียงใต้เสียงศาล คือตำ�นานกล่าวขานของศาลผี เยินยกยอปอปั้นปั่นวจี ข่มกดขี่ตราอธรรมก่อกรรมวาง คุกที่โหดโกรธกลัวความชั่วปกปิดดาบหมกในจีวรซ่อนแอบอ้าง ใต้ตัวบทกฏบาปอาบอำ�พราง เพื่อเสริมสร้างกดคอต่ออายุ สม-คือสร้างแบบอย่างของนักสู้ บอกโลกรู้กลโกงของโลงผุ ยศ-สละตัวเติมฝันต้องบรรลุ ก่อประทุสานฝันประสานใจ พฤกษา-หว่านเพชรเมล็ดข้าว บอกเรื่องราวกล่าวท้าวันฟ้าใส เกษมสุข-ปลดทุกข์เพื่อปลดไท รับวันใหม่ไหวเคลื่อนเสทือนจริง ธรรมที่เอียงเสียงสั่งเพียงขังร่าง ใจสว่างสดใสยังไหลนิ่ง ขื่อที่ค้ำ�ระกำ�คุกยังปลุกติง วิญญานหยิ่งแกร่งกล้ายืนท้าทาย กวีไพร่, Richmond, NSW, Australia ที่มา thaienews.blogspot.com
9
10
นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 เมษายน 55
turnleftthai.blogspot.com
สังคมใหม่
ลั่นทมขาว
สองด้านของการเลือกตั้งในพม่า การเลือกตั้งในโลกทุนนิยมปัจจุบันไม่เคยนำ�ไปสู่การช่วงชิง อำ�นาจรัฐของฝ่ายประชาชนแต่อย่างใด เพราะรัฐมีส่วนสำ�คัญที่ไม่ได้ มาจากการเลือกตัง้ เพียงแต่วา่ ในระบบประชาธิปไตยทุนนิยม ประชาชน เลือกรัฐบาลได้ แต่เลือกส่วนอืน่ ของรัฐไม่ได้ เช่นผูบ้ ญ ั ชาการทหารและ ตำ�รวจ ผู้ที่คุมศาล ผู้ที่คุมสื่อ และที่สำ�คัญที่สุดคือประชาชนเลือกและ ควบคุมระบบเศรษฐกิจไม่ได้ เพราะไม่มีนายทุนที่ไหนในโลกที่มาจาก การเลือกตั้ง แต่นั้นไม่ได้หมายความว่าเราควรหันหลังให้กับการเลือก ตั้ง การเลือกตัง้ เป็นเวทีส�ำ คัญในการปลุกระดมทางการเมือง เพือ่ ให้กำ�ลังใจในการต่อสู้ของประชาชนนอกรัฐสภา ดังนั้นการเลือกตั้งที่ ผ่านมาในพม่ามีความสำ�คัญตรงนี้ เพราะเป็นโอกาสทองทีพ่ ลเมืองเชือ้ ชาติต่างๆ ในประเทศพม่า จะแสดงความไม่พอใจกับเผด็จการทหาร และสนับสนุนการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยโดยการเลือกนางอองซานซูจี และพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย(NLD) เข้าสู่สภา อย่างไรก็ตามเราไม่ควรหลงคิดว่าการเลือกตัง้ ในพม่าเป็นก้าว แรกในการ “สร้างประชาธิปไตย” ของผู้มีอำ�นาจในพม่า โดยเฉพาะ ทหาร เพราะมันเป็นเพียงการแสวงหาความชอบธรรมกับอำ�นาจถาวร ของกองทัพพม่าในสังคมเท่านั้น รัฐธรรมนูญปัจจุบันของพม่าร่างมาโดยทหารในปี 2008 เพื่อ ปกป้องอำ�นาจของทหาร เช่นในสภาสูง 110 ที่นั่ง จากทั้งหมด 440 ที่ นั่ง ต้องเป็นนายทหารที่แต่งตั้งโดยกองทัพเองในสภาล่างทหารสำ�รอง 56 ที่นั่งจาก 224 ที่นั่ง และอันนี้ก่อนจะมีการเลือกตั้งที่นั่งที่เหลือ ใน การเลือกตั้งปี 2010 ทหารสร้างสถานการณ์เพื่อไม่ให้มีการเลือกตั้งเสรี พรรคทหาร (USDP) เลยได้เสียงส่วนใหญ่ และการเลือกตั้งครั้งล่าสุด เป็นแค่การเลือกตั้ง “ซ่อม” สำ�หรับเพียง 45 ที่นั่งเอง ซึ่งการเลือกตั้ง ครั้งนี้เต็มไปด้วยการข่มขู่และการโกงโดยทหารเพื่อสนับสนุนพรรค ทหาร ยิ่งกว่านั้นในรัฐธรรมนูญทหารพม่ามีการระบุว่า รัฐบาลที่มา จากการเลือกตัง้ ไม่มสี ทิ ธิค์ วบคุมการทำ�งานของกองทัพ (Tatmadaw) แต่อย่างใด และผู้บัญชาการทหารจะเป็นผู้แต่งตั้งรัฐมนตรีมหาดไทย รัฐมนตรีกลาโหม และรัฐมนตรีที่ดูแลพรมแดน และถ้ากองทัพมองว่า สถานการณ์บ้านเมืองไม่มั่นคง กองทัพสามารถปลดรัฐบาลได้เสมอ
และตัง้ ตัวเองเป็นรัฐบาลแทน นอกจากนีม้ มี าตราต่างๆ ทีอ่ อกแบบเพือ่ เป็นอุปสรรค์ตอ่ การขึน้ มามีอ�ำ นาจของพลเรือนโดยเฉพาะนางอองซาน ซูจี และเพือ่ กดขีช่ นชาติตา่ งๆ ให้ยอมจำ�นนต่ออำ�นาจรวมศูนย์ของชาว พม่า สรุปแล้วการเลือกตัง้ ครัง้ นีใ้ นพม่าเป็น “ละครประชาธิปไตย” โดยเผด็จการทหาร เพื่อสร้างภาพและความชอบธรรมกับตนเอง และ นางอองซานซูจกี ร็ ว่ มมือในละครนี้ โดยอ้างว่าทำ�ไปเพือ่ การ “ปรองดอง” กับทหาร ในไทยสมัยเผด็จการถนอมก็มกี ารเลือกตัง้ ในรูปแบบ “ละคร” เช่นกัน เพราะไม่วา่ คนไทยจะเลือกพรรคไหนเข้าสภา ถนอมมีเสียงส่วน ใหญ่ตงั้ แต่แรกเนือ่ งจากมีการแต่งตัง้ สส. และ สว. จำ�นวนมาก เผด็จการ นี้จบลงเมื่อมีการลุกฮือในวันที่ ๑๔ ตุลา ๒๕๑๖ นักวิเคราะห์ฝ่ายขวาที่มีมุมมองว่าการเปลี่ยนแปลงทุกอย่าง มาจากการกระทำ�ของคนชั้นสูง จะเสนอว่าการเลือกตั้งในพม่าครั้งนี้ เป็น “ก้าวแรก” ในการพัฒนาประชาธิปไตยพม่า โดยกองทัพพม่าผ่าน การกดดันจากตะวันตก แต่นักรัฐศาสตร์ฝ่ายซ้ายจะเน้นเสมอว่า ประชาธิปไตยไม่ใช่สงิ่ ทีค่ นข้างบนยกให้ประชาชน และไม่ใช่สงิ่ ทีอ่ อกแบบ โดยชนชั้นปกครองหรือรัฐบาลตะวันตก แต่ประชาธิปไตยเป็นสิ่งที่ มวลชนชัน้ ล่างต้องได้มาเองผ่านการต่อสู้ และการต่อสูบ้ างครัง้ เป็นการ ลุกฮือยิ่งใหญ่ เช่น ๑๔ ตุลา หรือการปฏิวัติอียิปต์ หรืออาจเป็นการต่อ สูเ้ ล็กๆ น้อยๆ อย่างต่อเนือ่ งโดยสหภาพแรงงาน และขบวนการเคลือ่ นไหว ทางสังคม เพราะตามลำ�พังไม่มชี นชัน้ ปกครองทีไ่ หนทีจ่ ะยอมอาสายก อำ�นาจให้ประชาชนถ้าไม่มีการต่อสู้ ชัยชนะของอองซานซูจีในการได้รับเลือกเป็น สส. จะเป็น ชัยชนะเพื่อประชาธิปไตยต่อเมื่อมันกลายเป็นขั้นตอนแรกในการต่อสู้ นอกรัฐสภาโดยมวลชนคนพม่าและชนชาติอื่นๆ โดยเฉพาะคนชั้นล่าง ที่เป็นคนจน แต่ถ้ามันแค่นำ�ไปสู่การถกเถียงนามธรรมในรัฐสภา และ การสร้าง “ความปกติ” ทางการทูตระหว่างชนชั้นปกครองพม่ากับ ประเทศอื่น โดยไม่เปลี่ยนโครงสร้างอำ�นาจ เราต้องถือว่ายังเป็นความ พ่ายแพ้ต่อเนื่อง เพราะอย่าลืมว่าในการเลือกตั้งปี 1990 อองซานซูจี เคยชนะขาดลอยและมีสทิ ธิข์ นึ้ มาเป็นผูน้ �ำ ประเทศแทนทหาร แต่ทหาร ไม่เคารพผลการเลือกตั้งครั้งนั้น
นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 เมษายน 55
turnleftthai.blogspot.com
11
ภาพจาก : news.nationalpost.com
เมื่อเราเปรียบเทียบกับประเทศไทยแล้วจะเห็นบางอย่างที่ คล้ายคลึงกัน เพราะทหารไทยและรัฐบาลประชาธิปัตย์ ที่เป็นตัวแทน อำ�นาจอำ�มาตย์ จัดการเลือกตัง้ เมือ่ ปีทแี่ ล้วเพือ่ สร้างสถานการณ์ปรองดอง ทีจ่ ะให้ความชอบธรรมกับชนชัน้ ปกครองไทย โดยทีพ่ รรคเพือ่ ไทยตกลง ที่จะไม่แตะอำ�นาจนอกและในระบบรัฐธรรมนูญของกองทัพ สัญญาว่า จะไม่ลงโทษพวกที่ฆ่าประชาชนเสื้อแดง และสัญญาว่าจะใช้ 112 หนัก ขึน้ เพือ่ ปกป้อง ลัทธิ “ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย”์ ของทหาร การ เลือกตัง้ ของไทยจึงไม่น�ำ ไปสูป่ ระชาธิปไตยเสรี และถ้าเราไม่น�ำ ข้อเสนอ ของคณะนิตริ าษฏร์มาใช้เพือ่ ลบผลพวงของรัฐประหาร ๑๙ กันยา กองทัพ ไทยจะสงวนสิทธิท์ จี่ ะทำ�รัฐประหารเพือ่ เปลีย่ นรัฐบาลอีกในอนาคต ซึง่ ไม่ต่างจากกรณีพม่าเลย ในเรื่องนี้ยิ่งลักษณ์กับอองซานซูจีไม่ต่างกัน เพราะแต่ละคนใช้ข้ออ้างเรื่องการ “ปรองดอง” เสมอ อย่างไรก็ตาม ยิ่งลักษณ์ไม่เคยต้องเสียสละติดคุกเพื่อประชาธิปไตยเหมือนอองซาน ซูจี
หลังจากความพ่ายแพ้ของขบวนการ 8-8-88 นักเคลื่อนไหว พยายามหาทางต่อสู้ต่อไป บางส่วนเข้าป่าไปจับอาวุธ แต่ในที่สุดล้ม เหลว และทุกฝ่ายตั้งความหวังว่าประเทศตะวันตก โดยเฉพาะสหรัฐ จะกดดันทหารให้ปฏิรปู การปกครองไปในทิศทางประชาธิปไตย ปัจจุบนั นี้หลายกลุ่มในพม่าสรุปว่าแนวทางดังกล่าวใช้ไม่ได้เลย ดังนั้นมีการ สร้างเครือข่ายหลวมๆ เพื่อประท้วงภายในประเทศเอง เมือ่ ปี2007 การต่อสูเ้ ริม่ ต้นด้วยการเดินสวดมนต์ของพระสงฆ์ ต่อมาหลังจากรัฐบาลพม่าขึน้ ราคาเชือ้ เพลิง 500% ตามนโยบายเสรีนยิ ม กลไกตลาด มีการประท้วงโดยพระสงฆ์เป็นหมื่น ซึ่งให้กำ�ลังใจกับ พลเมืองทั่วไปที่ออกมาร่วมจนมีมวลชนประท้วงเป็นแสนนักต่อสู้ยุคนี้ ประกอบไปด้วยแกนนำ�จาก 8-8-88 แต่มีคนรุ่นใหม่ที่ยังเป็นเด็กเมื่อ 20 ปีกอ่ นเข้าร่วมมากมาย และมีการเรียนบทเรียนจากอดีต เพราะหลาย ส่วนไม่ไว้ใจการนำ�ของ อองซานซูจแี ละ N.L.D. อย่างไรก็ตามการต่อสู้ รอบนั้นจบลงชั่วคราวท่ามกลางความรุนแรงของทหารพม่า
ประวัติการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยในพม่าปัจจุบัน
อองซานซูจีคือใคร?
การลุกฮือครัง้ ยิง่ ใหญ่ในวันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1988 (8-8-88) เป็นจุดกำ�เนิดของการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยรอบปัจจุบัน มันเกิดจาก การประท้วงของนักศึกษาเรื่องสภาพเศรษฐกิจ แต่ในไม่ช้าพัฒนาไป เป็นการเรียกร้องประชาธิปไตย ในเช้าวันที่ 8 สิงหาคม การประท้วง เริ่มต้นด้วยการนัดหยุดงานทั่วไปซึ่งเริ่มที่ท่าเรือ การนัดหยุดงาน ครอบคลุมทุกส่วนและให้พลังในการต่อสู้ เช่นข้าราชการและครูก็หยุด งาน มีการเดินขบวนของพระสงฆ์ นักศึกษา และคนทัว่ ไปจากทุกสาขา อาชีพ และทั้งๆ ที่ทหารพม่าพยายามปราบอย่างโหดร้าย ดูเหมือนว่า ขบวนการประชาธิปไตยใกล้จะชนะ เพราะนายพลเนวิน1 หัวหน้า เผด็จการต้องลาออก คณะทหารพยายามเปลี่ยนชื่อเพื่อเปลี่ยนภาพ และมีการสัญญาว่าจะจัดการเลือกตัง้ แต่ปญ ั หาคือขบวนการประชาธิปไตย ไม่ได้ผลักดันการต่อสูถ้ งึ จุดจบ ปล่อยให้ทหารครองอำ�นาจต่อ และนาง อองซานซูจีมีบทบาทในการสลายการชุมนุมและเบี่ยงเบนพลังในการ ต่อสู้ไปในทิศทางการหาเสียงให้พรรค N.L.D. ของเขา
อองซานซูจี คือสตรีผกู้ ล้าหาญทีต่ อ่ สูเ้ พือ่ ประชาธิปไตยในพม่า เราต้องให้ความเคารพ แต่เราไม่ควรเห็นด้วยกับแนวทางของเขา ซูจี คือผูน้ �ำ พรรค NLD ทีต่ อ่ สูก้ บั รัฐบาลทหารพม่ามาตัง้ แต่สมัยการลุกฮือ ของประชาชนใน "การกบฏ 8-8-88" เธอเป็นลูกสาวของอดีตผู้นำ� การต่อสู้เพื่อเอกราชในยุคอาณานิคมอังกฤษที่ชื่อ อองซาน
แนวทางความคิดของ อองซานซูจี อองซานซูจี เป็นคนที่ไม่เคยสนใจแนวสังคมนิยม และมักจะ เสนอแนวทางแบบ "พุทธ" หรือสันติวิธีในการเรียกร้องประชาธิปไตย ปัญหาสำ�คัญของแนวการนำ�ของ ซูจี คือเขาพยายามชักชวนให้กรรมาชีพ ที่ออกมานัดหยุดงานครั้งยิ่งใหญ่ใน 8-8-88 หรือนักศึกษาที่เป็นหัว หอกสำ�คัญในการจุดประกายwการต่อสูใ้ นครัง้ นัน้ สลายตัว เพือ่ ให้การ เรียกร้องประชาธิปไตยเป็นไปอย่างสงบเรียบร้อย และบ่อยครั้ง ซูจี จะ เสนอว่าฝ่ายประชาธิปไตยต้องประนีประนอมกับกองทัพพม่า (อ่านต่อหน้า 12)
นักการเมืองฝ่ายอำ�มาตย์ในไทย เนวิน ชิดชอบ ถูกตั้งชื่อตามนายพลคนนี้– เหมาะสมมาก
1
12
นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 เมษายน 55
turnleftthai.blogspot.com
(ต่อจากหน้า 11)
ในหลายๆ เรื่อง ซูจี มีความคิดอนุรักษ์นิยมที่เข้าข้างนายทุน (ดูหนังสือ "จดหมายจากพม่า") เช่นเธอมักจะสนับสนุนกลไกตลาดเสรี และแนวขององค์กร ไอเอ็มเอฟ และมักจะมองปัญหาของพม่าในกรอบ แคบๆ ของแนวชาตินิยม ประเด็นหลังเป็นปัญหามาก และขัดแย้งกับ การต่อสู้เพื่อสิทธิเสรีภาพแท้ เพราะประเทศ "พม่า" เป็นสิ่งที่อังกฤษ สร้างขึ้นมาในยุคล่าอาณานิคม โดยที่ประกอบไปด้วยหลายเชื้อชาติที่ ไม่ใช่คนพม่า กลุ่มชนชาติต่างๆ เหล่านี้ เช่นชาว กะเหรี่ยง คะฉิ่น ฉาน คะเรนนี่ ฯลฯ ไม่พอใจทีจ่ ะถูกกดขีเ่ ป็นพลเมืองชัน้ สองในระบบรวมศูนย์ อำ�นาจที่ดำ�รงอยู่ในปัจจุบัน แต่ อองซานซูจี ไม่เคยเสนอว่ากลุ่มเชื้อ ชาติต่างๆ ควรมีสิทธิ์ปกครองตนเองอย่างเสรี หรือแยกตัวออกเพื่อตั้ง ประเทศอิสระ เพราะเธอต้องการปกป้องรัฐชาติพม่าในรูปแบบปัจจุบัน ในงานเขียนหลายชิน้ เธอจะ "ชม" วัฒนธรรมหลากหลายและงดงามของ กลุ่มเชื้อชาติต่างๆ แต่เป็นการชมเหมือนผู้ปกครองชมลูกๆ มากกว่า การให้เกียรติกับเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน วิธีการต่อสู้ของ ซูจี เน้นการสร้างพรรคการเมืองกระแสหลัก เพื่อแข่งขันทางการเมืองในรัฐสภา และในการเลือกตั้งปี 1990 พรรค N.L.D. ได้ 392 ที่นั่งจากจำ�นวนที่นั่งทั้งหมด 485 ที่ในรัฐสภา ปัญหา คือว่าการได้รับคะแนนเสียงแบบนี้ไม่ได้สร้างพลังแท้ในการต่อสู้กับ เผด็จการทหาร เพราะหลังการเลือกตั้งครั้งนั้น ทหารพม่าไม่ยอมให้ ซู จี ตั้งรัฐบาลจนถึงทุกวันนี้
พระสงฆ์ คณะสงฆ์ในพม่าเต็มไปด้วยชายหนุม่ ทีม่ จี ติ สำ�นึกประชาธิปไตย สาเหตุสำ�คัญก็เพราะการบวชเป็นพระเกือบจะเป็นวิธีเดียวที่จะได้รับ การศึกษาหลังจากทีท่ หารปิดมหาวิทยาลัย การอาศัยวัดในการประท้วง เป็นยุทธ์วิธีเพื่อป้องกันตัวจากการถูกปราบปรามในขณะที่จัดวงคุย ทางการเมืองด้วย คล้ายๆ กับวิธขี องพวกกบฏในอีหร่านในปี 1979 หรือ คนโปแลนด์ในปี 1980 ที่ใช้สถาบันศาสนาเพื่อป้องกันตัว แต่ในที่สุด ทหารพม่าก็ใช้ความรุนแรงสุดขัว้ ในการปราบพระสงฆ์ทอี่ อกมาประท้วง ในปี 2007
ทางออกในการต่อสู้
การต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยในพม่าจะชนะได้เมื่อมีการโค่นล้ม เผด็จการทหารอย่างเด็ดขาด การประนีประนอมเพือ่ ปรองดอง และการ เชื่อใจทหารจะนำ�ไปสู่การปกป้องความมั่นคงของอำ�นาจในสังคมและ การเมืองของทหาร ชาวพม่าต้องต่อสู้กับทหารในรูปแบบเดียวกับที่พี่ น้องประชาชนในไทย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์เคยต่อสู้ในอดีต ต้อง สู้อย่างที่คนหนุ่มสาวอียิปต์กำ�ลังสู้ ต้องชักชวนให้นายทหารชั้นผู้น้อย ปฏิเสธคำ�สัง่ ของเผด็จการ แต่ถา้ จะสำ�เร็จมวลชนต้องสำ�แดงพลังจริงๆ น่าจะมีการนัดหยุดงาน ทัง้ โดยคนงานในพม่าเอง และคนงานพม่าหรือ กะเหรี่ยงในประเทศเพื่อนบ้าน เช่นที่แม่สอดในไทย การต่อสูด้ งั กล่าวอาจใช้เวลา แต่เราสามารถให้ความสมานฉันท์ ปัญหาชนชาติ และกำ�ลังใจกับพีน่ อ้ งเราได้ตลอด เช่นการประท้วงหน้าสถานทูตเป็นต้น การต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยในพม่าแยกออกจากการต่อสู้เพื่อ อย่างไรก็ตามสิง่ สำ�คัญทีเ่ ราในไทยต้องทำ�คือการเคลือ่ นไหวต่อไปเพือ่ สิทธิเสรีภาพของกลุ่มเชื้อชาติไม่ได้ คนพม่ามีน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของ ล้มอำ�มาตย์ของเราเอง และไม่เดินตามแนวปรองดองของพรรคเพือ่ ไทย ประชากรทัง้ หมด และกลุม่ เชือ้ ชาติอนื่ ๆ ไม่ตอ้ งการรัฐรวมศูนย์ ในอดีต และยิง่ ลักษณ์ทจี่ บั มือกับทหาร ยิง่ กว่านัน้ พลเมืองไทยต้องหัดรูจ้ กั แสดง ผู้นำ�ขบวนการชาตินิยมพม่าอย่าง อองซาน (พ่อของซูจี) หรืออูนู ไม่ มิตรภาพ ความเคารพ และความสมานฉันท์กับคนจากประเทศเพื่อน ชัดเจนเรื่องเสรีภาพของเชื้อชาติ และในการประชุมปางลองในปี 1947 บ้าน ไม่ใช่ร่วมด่า ดูถูก และเอาเปรียบคนเหล่านี้ตามกระแสพวกคลั่ง ผู้แทนชาวกะเหรี่ยง คะเรนนี่ มอญ อาราคาน และว้า ไม่ยอมมาร่วม ชาติไทย ประชุมเพื่อร่างรัฐธรรมนูญเพราะไม่ไว้ใจผู้นำ�พม่า ในปัจจุบันนางซูจีก็ เสือ้ แดงก้าวหน้า และนักสหภาพแรงงานไทยทีร่ กั ประชาธิปไตย ยังไม่ชดั เจนเรือ่ งนี้ ดังนัน้ กลุม่ เชือ้ ชาติอาจไม่ไว้ใจการนำ�ของเขาเท่าไร ต้องร่วมมือกับเพื่อนชาวพม่า ชาวกะเหรี่ยง และชนชาติอื่นๆ ที่พักอยู่ ด้วยเหตุนี้ขบวนการประชาธิปไตยพม่าจะต้องมีจุดยืนชัดเจน ในไทย เพื่อให้เราร่วมกันปลดแอกสองสังคมของเรา ทีส่ นับสนุนการปกครองตนเองของกลุม่ เชือ้ ชาติตา่ งๆ โดยไม่มเี งือ่ นไข ประชาธิปไตยไม่ใช่สงิ่ ทีผ่ ใู้ หญ่เบือ้ งบนจะมอบให้ หรือออกแบบ การที่ KNU องค์กรกะเหรีย่ ง ออกมาประกาศสมานฉันท์กบั ขบวนการ ให้ประชาชน มันไม่ใช่สงิ่ ทีป่ ระเทศจักรวรรดินยิ มตะวันตกจะมอบให้เรา ประชาธิปไตยและเรียกร้องให้ทหารพม่าหันปืนใส่นายพลเป็นเรื่องดี เราผู้เป็นมวลชนต้องลุกขึ้นยึดสิทธิเสรีภาพมาเป็นของเราเอง -TLCและองค์กรประชาธิปไตยจะต้องตอบสนองความสมานฉันท์นี้
turnleftthai.blogspot.com
นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 เมษายน 55
คน ค้น คิด
13
กองบรรณาธิการ
นายทุนย้ายฐานการผลิตจากไทย ได้ง่ายแค่ไหน? นายทุน นักวิชาการฝ่ายทุน และนักการเมืองชอบขู่นัก สหภาพแรงงานว่า ถ้าเราเรียกร้องค่าจ้าง หรือสวัสดิการ “สูงเกินไป” นายทุนจะย้ายฐานการผลิตไปที่พม่า ลาว เวียดนาม บังกลาเทศ จีน หรือเขมร ประเด็นนี้เป็นเรื่องที่สำ�คัญเมื่อเราพิจารณาการเรียกร้องให้ รัฐบาลปรับค่าจ้างขั้นต่ำ�ให้สูงขึ้นถึง 300 บาทต่อวัน หรือ 500 บาทต่อ วัน ซึ่งเป็นระดับค่าจ้างที่ทุกคนในประเทศไทยควรจะได้รับเพื่อความ พอเพียง แต่แม้แต่ 500 บาทต่อวันก็ไม่พอที่จะให้เรามีวิถีชีวิตที่สบาย เท่าไร โดยเฉพาะในกรณีที่เราต้องเลี้ยงครอบครัว และที่น่าสังเกตคือ ฝ่ายนายทุน นักวิชาการ และนักการเมืองเหล่านั้นไม่มีวันพอใจที่จะรับ แค่ 500 บาทต่อวัน สำ�หรับนักสังคมนิยมเรามีหลายประเด็นที่สามารถยกขึ้นมา เสนอในเรื่องค่าจ้าง เพราะเราต้องเริ่มจากความจริงว่ามูลค่าทั้งปวงที่ ทำ�ให้เศรษฐกิจและสังคมไทยเจริญ มาจากการทำ�งานของกรรมาชีพ มันไม่ได้มาจากการเล่นหุ้น การลงทุน หรือการบริหารแต่อย่างใด ตรง นี้เห็นชัดเวลามีการนัดหยุดงาน เพราะเมื่อกิจการหยุดการทำ�งาน ท่ามกลางการนัดหยุดงาน จะไม่มีการผลิตมูลค่าเลย ไม่ว่าฝ่ายบริหาร จะเข้ามาทำ�งานหรือไม่ หรือไม่วา่ นักลงทุนและนักเล่นหุน้ จะกระตือรือร้น แค่ไหน บริษัทก็จะเสียเงินแน่นอน ดังนั้นในสังคมที่มีความเป็นธรรม ประชาชนธรรมดาทุกคนควรได้สว่ นแบ่งทีเ่ ท่าเทียมกันจากการทำ�งาน ไม่ใช่ว่ามีกาฝากผู้ถือหุ้นหรือฝ่ายบริหารมากินกำ�ไรด้วยการขโมย “มูลค่าส่วนเกิน” จากเรา อย่างไรก็ตามเรายังอยูใ่ นระบบทุนนิยม และเราก็ตอ้ งต่อสูเ้ พือ่ ผลประโยชน์เฉพาะหน้าตราบใดทีเ่ รามีชวี ติ อยูใ่ นระบบนี้ ดังนัน้ เราต้อง สามารถตอบคำ�ถามของเพื่อนๆ ว่า “เราควรเรียกร้องค่าจ้างหรือ สวัสดิการแค่ไหน?” และถ้าเราเรียกร้อง “มากไป” เขาจะปิดงานและ ย้ายฐานการผลิตไปที่อื่นหรือไม่? สวัสดิการเป็นส่วนหนึ่งของค่าจ้างของเราที่หักไปเพื่อออมไว้ จ่ายทีหลังในรูปแบบต่างๆ สวัสดิการในสถานทีท่ ำ�งานไม่ใช่ “เงินช่วย เหลือจากนายทุน” แต่อย่างใด และในเรื่องระบบ “รัฐสวัสดิการ” ซึ่งรัฐสร้างจากภาษีที่เก็บ จากประชาชน เมือ่ เราเรียกร้องให้มรี ฐั สวัสดิการและการเก็บภาษีกา้ วหน้า จากคนรวย เราก็จะเจอคำ�ขู่คล้ายๆ กันด้วย คือจะมีคนพูดว่าเราต้อง เบาๆหน่อยในข้อเรียกร้องเพื่อไม่ให้นายทุนย้ายบ้านไปที่อื่น ในแง่หนึง่ ถ้านายทุนมันโลภมากจนมันทำ�ธุรกิจในประเทศไทย
ภายใต้เงื่อนไขเดียว คือว่าต้องกดค่าแรงลงอย่างถึงที่สุด และไม่จ่ายส วัสดการ หรือไม่จ่ายภาษีในอัตราก้าวหน้าที่เป็นธรรม เราก็อยากจะ ตะโกนว่า “ก็ดีแล้ว ให้คนเห็นแกตัวไปอยู่ที่อื่น!!” แต่แค่พูดแบบนี้ จะทำ�ให้เพือ่ นร่วมงานกลัวว่าเขาจะตกงาน เราจะต้องมีความชัดเจนใน เรื่องการย้ายฐานการผลิตมากขึ้นด้วย ในยุคนี้หลายคนเสนอว่า “โลกาภิวัตน์” (Globalisation) หรือการที่กลุ่มทุนขนาดใหญ่ขยายตัวไปรอบโลกและสร้างเครือข่ายที่ ครอบงำ�เศรษฐกิจ “มีผลทำ�ให้สหภาพแรงงานอ่อนแอลง” เพราะ กลุม่ ทุนสามารถโยกย้ายฐานการผลิตไปจากประเทศหนึง่ สูอ่ กี ประเทศ หนึ่งได้ง่าย (ภาษาอังกฤษเขาเรียกว่า Foot-loose Multinational Corporate Investors) นอกจากนีม้ กี ารเสนอว่ารัฐชาติออ่ นแอลงเพราะ ควบคุมกลไกตลาดโลกและต่อรองกับบริษัทข้ามชาติไม่ได้ถ้ารัฐไม่ ประนีประนอมกับกลุม่ ทุน กลุม่ ทุนก็จะย้ายการผลิตหรือทำ�ลายเศรษฐกิจ ประเทศนั้น และหลายคนสรุปว่าในยุคโลกาภิวัตน์แรงงานต้องจำ�ใจ อดทนกับงานที่ไร้เสถียรภาพและสวัสดิการ อันนีเ้ ป็นคำ�ขูข่ องฝ่ายทุนทัว่ โลก ในประเทศพัฒนาตะวันตกก็ ขู่ว่าจะย้ายไปไทย ไปมาเลเซีย หรือไปจีน ในไทยก็ขู่ว่าจะย้ายไปพม่า ในจีนคงขู่กันว่าจะย้ายไปอัฟริกา!! มันเลยเป็นแรงกดดันกรรมาชีพทั่ว โลกให้ลดค่าแรงและสวัสดิการของตนเองจนไม่มีที่สิ้นสุด ลองคิดดู... ถ้าคนงานไทยลดค่าแรง คนงานเวียดนามหรือพม่าก็จะถูกกดดันให้ลด ค่าแรงเช่นกันเพื่อรักษาความเหลือ่ล้ำ�เดิม ผลคือเรา “เสียสละ” และ ไม่ได้อะไรเลย ชนชั้นที่ได้ประโยชน์คือชนชั้นนายทุน นี่คือสิ่งที่นัก สหภาพแรงงานสากลเรียกว่า “การกดดันให้เราแข่งกันเพื่อให้ กรรมาชีพจนลงกันถ้วนหน้า” มันเป็นสาเหตุส�ำ คัญทีน่ กั สหภาพแรงงาน ในประเทศต่างๆ ต้องจับมือกัน และนักสหภาพแรงงานเชื้อชาติต่างๆ ในประเทศเดียวกันต้องจับมือกันด้วย เราจะได้ร่วมกันขัดขืนการกด ค่าแรงสวัสดิการอย่างถ้วนหน้า ข้อเสนอของนักวิชาการฝ่ายทุนมีชอ่ งโหว ทีเ่ รานำ�มาเถียงด้วย ได้ มีนักวิชาการฝ่ายกรรมาชีพหลายคนที่ชี้ให้เห็นว่ารัฐไม่ได้อ่อนแอ หรือหมดความสำ�คัญไปอย่างที่ชอบอ้างกัน เพราะกลุ่มทุนข้ามชาติยัง อาศัยอำ�นาจทางการเมืองและอำ�นาจทหารของรัฐ และการลงทุนส่วน ใหญ่ในโลกก็ยังกระจุกอยู่ที่ประเทศพัฒนาที่ประชาชนมีเงินเดือนสูง และกำ�ลังซือ้ สูง ซึง่ เป็นประเทศทีม่ แี รงงานฝีมอื และระบบสาธารณูปโภค ที่มีประสิทธิภาพ (อ่านต่อหน้า 14)
14
นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 เมษายน 55
turnleftthai.blogspot.com
(ต่อจากหน้า 13)
ข้อมูลจริงจากโลกพิสูจน์ว่าค่าแรงที่สูงกว่าในตะวันตก ที่มา จากการต่อสู้ของสหภาพแรงงาน โดยส่วนใหญ่แล้วไม่ได้ทำ�ให้บริษัท ส่วนใหญ่ย้ายฐานการผลิตแต่อย่างใด และการมีแรงงานฝีมือสูง และ ระบบสวัสดิการและสาธารณูปโภคที่มีประสิทธิภาพ ทำ�ให้ธุรกิจมี ประสิทธิภาพมากขึ้นอีกด้วย การที่กลุ่มทุนจะโยกย้ายฐานการผลิตไม่ใช่เรื่องง่ายๆ และขึ้น อยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่นลักษณะตลาดภายในแต่ละประเทศ ค่า ใช้จ่ายในการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ และระดับฝีมือของแรงงาน บวกกับโครงสร้างสาธารณูปโภค ในรูปธรรมมันแปลว่าถ้าเป็นอุตสาหกรรม เครื่องดื่ม หรือแม้แต่การประกอบรถยนต์ การย้ายฐานการผลิตไปไกล จากตลาดไม่คมุ้ และกิจกรรมหลายประเภทย้ายไปประเทศอืน่ ไม่ได้เลย เช่นรถไฟหรือท่าเรือ ยิ่งกว่านั้นวิกฤติเศรษฐกิจที่เริ่มที่สหรัฐในปี ค.ศ. 2008 ได้ชี้ ให้เห็นว่าเมือ่ ธนาคารเอกชนใหญ่ๆใกล้จะล้มละลาย รัฐทัว่ โลกสามารถ ก้าวเข้ามาเพื่อกู้บริษัทเอกชนและระบบการเงิน ไม่ใช่ว่ารัฐไม่มีอำ�นาจ อะไรแต่อย่างใด ในการพิจารณาสภาพแรงงานในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นัก วิชาการหลายคนชอบเสนอภาพของแรงงานที่ย่ำ�แย่ตกเป็นเหยื่อของ โลกาภิวัตน์ เช่น มีการเสนอว่าคนงานหญิงในอินโดนีเซียได้ค่าแรงต่ำ� กว่าค่าครองชีพและไปทำ�งาน “เพื่อซื้อเครื่องประดับเล็กๆน้อยๆ เท่านัน้ ” โดยอาศัยเงินจากพ่อแม่ ซึง่ ในระยะยาวเป็นไปไม่ได้ ไม่มใี คร จะอาสาทำ�งานภายใต้เงือ่ นไขแบบนัน้ หรือ คนอืน่ เสนอว่าคนงานหญิง เสียอำ�นาจเดิมในหมูบ่ า้ นไปเพราะต้องเข้าไปในเมืองไปทำ�งานในโรงงาน ภายใต้ “อำ�นาจชายเป็นใหญ่” ซึง่ ขัดแย้งกับข้อมูลจากพืน้ ทีเ่ กีย่ วกับ สาวโรงงานที่มีความมั่นใจสูงขึ้นเมื่อมีรายได้ของตนเอง ไม่เชื่อก็ไปคุย กับสาวโรงงานได้เลย แน่นอนสภาพการทำ�งาน รายได้ และสวัสดิการของคนงานใน โรงงานอุตสาหกรรมที่สร้างขึ้นจากการลงทุนของกลุ่มทุนใหญ่ไม่เพียง พอและต้องมีการปรับปรุงอย่างเร่งด่วน และแน่นอนรัฐบาลหลายแห่ง เช่นไทย เวียดนาม กัมพูชา มักจะโฆษณาว่าภายในประเทศของตน “มีอัตราค่าแรงต่ำ�” เพื่อชักชวนการลงทุนจากภายนอก ในกรณีคน งานหญิงในกัมพูชามีหลายคนทีต่ อ้ งเสริมรายได้จากการบริการเพศ แต่ ในมุมกลับ การลงทุนโดยบริษัทข้ามชาติโดยเฉพาะจากญี่ปุ่นทำ�ให้มี การสร้างงาน และคนงานบางส่วนมักจะได้รายได้สูงกว่าค่าจ้างขั้นต่ำ�
หรือรายได้คนงานในโรงงานห้องแถว หรือรายได้เดิมในภาคเกษตร ตัวอย่างทีด่ คี อื อุตสาหกรรมยานยนต์ในภาคตะวันออกใกล้ๆระยองของ ไทย อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสงู ในสิงคโปร์ และย่านอุตสาหกรรมรอบๆ เมืองจาการ์ตาในอินโดนีเซีย ซึง่ กลายเป็นแหล่งกรรมาชีพฝีมอื มากขึน้ ทุกวัน VediHardiz นักวิชาการแรงงานอินโดนีเซีย อธิบายว่าการ ลงทุนจากบริษัทข้ามชาติในอุตสาหกรรมส่งออก ของอินโดนีเซียสร้าง ความมัน่ ใจในการจัดตัง้ สหภาพแรงงานและในทีส่ ดุ นำ�ไปสูก่ ารต่อสูก้ บั นายจ้างมากขึน้ เช่นในย่าน Tangerang ทางตะวันตกของเมืองจาการ์ตา ซึ่งเป็นย่านชุมชนคนงานที่มีอุตสาหกรรมหนาแน่นและเต็มไปด้วยคน งานที่อึดอัดในสภาพความเป็นอยู่ของตนเอง และพร้อมจะต่อสู้อย่าง สมานฉันท์ นักวิชาการอื่นรายงานว่าในกรณีอุตสาหกรรมสิ่งทอของ ฟิลปิ ปินส์ นายจ้างจำ�นวนมากให้ความสำ�คัญกับฝีมอื และประสิทธิภาพ ในการทำ�งาน มากกว่าการมองหาวิธีกดค่าแรงอย่างเดียว เพราะถ้า ผลิตเสื้อผ้าคุณภาพต่ำ�ก็ขายไม่ออก และในโรงงานที่มีคนงานฝีมือสูง การจัดตั้งสหภาพแรงงานทำ�ได้ง่ายขึ้น กรณีโรงงานตัดเย็บเสื้อชั้นใน ของไทรอัมฟ์ที่กรุงเทพฯก็คล้ายคลึงกัน มีการจัดตั้งสหภาพแรงงานที่ เข้มแข็งมาหลายปีเพราะคนงานมีฝีมือสูงในการตัดเย็บเสื้อผ้า ซึ่งมีผล ในการเพิ่มอัตราค่าแรงสูงกว่าค่าจ้างขั้นต่ำ� แต่ทุกอย่างไม่แน่นอน ถ้า บริษัทเริ่มมีปัญหาเพราะไม่มีการลงทุนในเครื่องจักรสมัยใหม่ เขาอาจ พร้อมที่จะปราบสหภาพแรงงาน หรือฉวยโอกาสจากวิกฤตการเมือง และบรรยากาศเผด็จการ เพื่อทำ�ลายสหภาพแรงงานก็ได้ และสิ่งนี้ก็ เกิดกับไทรอัมพ์ ระบบโลกาภิวตั น์มผี ลกระทบในเชิงขัดแย้งกับคนงาน มีทงั้ ผล ร้ายและผลดี แต่ประเด็นสำ�คัญคือคนงานจะมีการจัดตั้งและการต่อสู้ เข้มแข็งหรือไม่ เพราะเราสู้ได้ตลอด ไม่ใช่ว่าต้องยอมจำ�นนเป็นเหยื่อ ในการคัดค้านความหดหูข่ องผูท้ มี่ องว่าระบบโลกาภิวตั น์ชว่ ย ให้นายทุนทำ�ลายความเข้มแข็งของสหภาพแรงงาน ด้วยการโยกย้าย การลงทุนไปสู่ประเทศที่มีแรงงานราคาถูก นักวิชาการฝ่ายซ้ายชื่อ Beverly Silver แสดงให้เห็นว่าเมื่อมีการโยกย้ายการลงทุนใน อุตสาหกรรมจากจุดหนึ่งของโลกไปสู่จุดอื่นๆ ในไม่ช้าศูนย์กลางการ ต่อสู้ของกรรมาชีพกับนายทุนก็จะเกิดขึ้นในพื้นที่การผลิตใหม่ตามมา อย่างต่อเนื่อง1
Beverly J. Silver (2003) Forces of Labor.Workers’ Movements and Globalization since 1870.Cambridge University Press.
1
turnleftthai.blogspot.com
นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 เมษายน 55
15
ภาพจาก : freeassociationdesign.wordpress.com
Silver เสนอว่าเราต้องมองโลกาภิวัตน์และการลงทุนในรูป แบบทีม่ พี ลวัตของการต่อสูท้ างชนชัน้ ไม่หยุดนิง่ ตายตัว คือเมือ่ ขบวนการ แรงงานสร้างความเข้มแข็งในการต่อรองในพื้นที่หนึ่ง นายทุนอาจ พยายามย้ายฐานการผลิตไปที่อื่น แต่ในไม่ช้ากรรมาชีพในพื้นที่ใหม่ก็ จะเริ่มสร้างสหภาพแรงงานและเพิ่มอำ�นาจต่อรองอย่างต่อเนื่อง สรุป แล้วการขยายตัวของระบบทุนนิยมเพิ่มการเผชิญหน้ากันระหว่างทุน กับแรงงาน ถ้าแรงงานเข้มแข็งมันจะมีผลต่ออัตรากำ�ไรของนายทุน แต่ ถ้านายทุนและรัฐกดขี่แรงงาน รัฐจะขาดความชอบธรรมทางการเมือง
รณรงค์กับคณะนิติราษฎร์ เพื่อลบผลพวงของรัฐประหาร และเพื่อแก้ ปัญหาที่มาจากกฏหมายเผด็จการอย่าง 112 อีกด้วย (3) การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตอาจช่วยเพิ่มอำ�นาจต่อรอง ให้นายจ้างได้ เช่นการปิดโรงงานที่มีสหภาพเข้มแข็ง และเปิดโรงงาน ที่มีเครื่องจักรทันสมัยในจังหวัดอื่น พร้อมกับการเกณฑ์คนงานรุ่นใหม่ เข้ามา หรือการเปลี่ยนวิธีขนส่งทางเรือโดยการใช้เทคโนโลจีของ ตู้Container อาจช่วยทำ�ลายสหภาพในท่าเรือเก่า นอกจากนี้นายทุน อาจนำ�วิธีการบริหารกิจกรรมใหม่เข้ามาใช้เพื่อหวังเพิ่มอำ�นาจการ บริหารบุคคลหรือเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต แต่ผลของการเปลีย่ นแปลง สิง่ ทีต่ อ้ งนำ�มาพิจารณาเพือ่ เข้าใจปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่ออำ�นาจการ ดังกล่าวมักจะมีผลตรงข้ามด้วยคือเพิ่มอำ�นาจต่อรองให้คนงาน ต่อรองของสหภาพแรงงานคือ การลดจำ�นวนคนงานผ่านการเพิม่ เทคโนโลยีท�ำ ให้คนงานกลุม่ (1) ความสะดวกในการย้ายฐานการผลิตหรือฐานกิจกรรม เล็กมีอ�ำ นาจต่อรองสูงขึน้ ถ้าเขารวมตัวกันได้ การใช้ระบบ just in time เพราะนายทุนอาจย้ายฐานการผลิตเสือ้ ผ้าหรือ ศูนย์บริการทางโทรศัพท์ ที่ไม่สะสมชิ้นส่วนไว้ในโรงงานนานเกินไป ทำ�ให้การนัดหยุดงานใน ได้ง่าย แต่ไม่สามารถย้ายกิจการอื่นๆได้ดั่งใจ เช่นการผลิตรถยนต์ โรงงานหนึ่ง มีผลกระทบกับหลายๆ โรงงานในหลายประเทศได้ หรือ ปูนซีเมน สบู่ หรืออุตสาหกรรมน้�ำ อัดลม เพราะเน้นขายในตลาดภายใน การจัดวงคุยในหมูล่ กู จ้างเพือ่ สร้างความจงรักภักดีตอ่ บริษทั อาจทำ�ให้ ขณะทีเ่ ป็นสินค้าทีม่ รี ปู แบบทีไ่ ม่คมุ้ กับการขนส่งข้ามทวีป หรือในกรณี คนงานมานั่งด่านายจ้างก็ได้ ทุกอย่างมีสองด้าน สถาบันการศึกษา การก่อสร้าง หรือเส้นทางคมนาคม เช่นรถไฟ หรือ ในประเทศไทยหลังน้ำ�ท่วม คนงานตกงานเป็นแสน บริษัท ท่าเรือ ย้ายไปทวีปอื่นไม่ได้เลย นอกจากนี้เวลามีการย้ายหรือขยาย ฐานการผลิตไปประเทศอื่น นายทุนต้องคำ�นึงถึงระดับฝีมือและการ ข้ามชาติหลายแห่งอาจทบทวนการลงทุนในประเทศไทย แต่สำ�หรับ ศึกษาของคนงานและความสะดวกสบายจากโครงสร้างสาธารณูปโภค บริษัทที่เกี่ยวข้องกับการประกอบรถยนต์ การถอนตัวออกจากไทยจะ ทำ�ให้คู่แข่งเขาครองตลาดยานยนต์ในไทยได้ง่ายขึ้น สำ�หรับบริษัทอี กรณีศนู ย์บริการทางโทรศัพท์ เป็นกรณีศกึ ษาทีน่ า่ สนใจ เพราะ เลคทรอนนิคส์ เขาต้องอาศัยแรงงานฝีมอื ทีม่ กี ารศึกษา การย้ายไปพม่า เมื่อสิบปีก่อน เวลาลูกค้าบริษัทต่างๆ ในประเทศตะวันตก โทรศัพท์ไป ลาว หรือ เขมร อาจไม่คุ้ม และสิ่งที่เราไม่ควรมองข้ามคือ รัฐบาลมีหน้า ที่ศูนย์บริการลูกค้า คนที่รับโทรศัพท์จะไม่อยู่ในสหรัฐหรือยุโรป แต่จะ ทีใ่ นการสร้างงานให้พลเมืองในระดับทีม่ คี ณ ุ ภาพ นีค่ อื สาเหตุทเี่ ราต้อง อยูท่ อี่ นิ เดีย แต่ปรากฏว่าลูกค้าจำ�นวนมากร้องเรียนว่าคุยไม่รเู้ รือ่ งบ้าง กล้าวิจารณ์รฐั บาลเพือ่ ไทย และกล้าเคลือ่ นไหวอิสระจากรัฐบาลเมือ่ เขา หรือคนรับโทรศัพท์ไม่มีอำ�นาจติดต่อกลับไปที่บริษัทได้ เพราะแค่รับ ไม่ทำ�ตามผลประโยชน์ของคนจน ฝากข้อความเท่านั้น จนในที่สุดหลายบริษัทเริ่มโฆษณาว่าเขามีศูนย์ ถ้าเราจะรับมือกับคำ�ขู่ของนายทุน นักวิชาการฝ่ายทุน หรือ บริการภายในประเทศ ไม่ได้โอนไปอินเดียหรือที่อื่นอีกแล้ว นักการเมืองได้ เราต้องรู้ทันพวกนี้ เราต้องมั่นใจว่าเราไม่ได้โง่หรือไร้ (2) บรรยากาศทางการเมืองในประเทศต่างๆมีผลต่อความ ความสามารถในการคิด เหมือนที่เขาอยากให้เราเชื่อ เราต้องศึกษา สามารถของคนงานในการสร้างสหภาพแรงงานและการนัดหยุดงาน ประเด็นการเมือง เศรษฐศาสตร์และแรงงาน และเราต้องให้ความสำ�คัญ เพื่อต่อรอง เช่นในเกาหลีใต้เมื่อเริ่มมีการผลิตรถยนต์ การเมืองถูก กับการสร้างสหภาพแรงงานที่กล้าเคลื่อนไหวในเรื่องปากท้องและ ครอบงำ�โดยเผด็จการทหาร แต่เมื่อเวลาผ่านไปก็เริ่มมีการสร้าง การเมืองภาพกว้างพร้อมๆ กัน สหภาพแรงงาน และการต่อสู้ของสหภาพก็ช่วยในการทำ�ลายระบอบ ในโลกแห่งสังคมมนุษย์ มันมีความขัดแย้งทางชนชั้นเสมอ เผด็จการซึ่งมีผลในการหนุนเสริมศักยภาพในการต่อสู้ของสหภาพอีก ที การที่บรรยากาศทางการเมืองมีความสัมพันธ์กับอำ�นาจการต่อรอง โดยทีไ่ ม่เคยมีการผูกขาดอำ�นาจอย่างเบ็ดเสร็จโดยฝ่ายนายทุนแต่อย่าง ของแรงงานหมายความว่าการเรียกร้องกับรัฐยังมีความสำ�คัญ ไม่ใช่วา่ ใด ตราบใดที่มีทุนนิยม นายทุนต้องพึ่งพากรรมาชีพตลอด นั้นคือต้น รัฐชาติหมดสภาพไป และมันแปลว่าสังคมที่มีประชาธิปไตยมีแนวโน้ม กำ�เนิดของพลังกรรมาชีพ แต่ถ้าเราไม่ฉลาดในการสามัคคีสมานฉันท์ ที่จะลดเผด็จการนายทุนได้ระดับหนึ่ง ในไทยมันแปลว่าเราต้องร่วม และการจัดตั้งทางการเมือง พลังนั้นจะใช้ไม่ได้ -TLN-
16
นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 เมษายน 55
turnleftthai.blogspot.com
ว่าด้วยทุน
กองบรรณาธิการ : เรียบเรียง
เล่ม 1 ภาคที่ 7 กระบวนการสะสมทุน นายทุนต้องแบ่งมูลค่าส่วนเกินกับนายทุนอื่นที่ทำ�หน้าที่แตก ต่างกัน เช่น เจ้าของที่ดิน (ค่าเช่า) นายธนาคาร (ดอกเบี้ย) และพ่อค้า แม่ค้า (กำ�ไรจากการขาย)
บทที่ 23: การผลิตซ้ำ�แบบพื้นฐาน ถ้าจะเข้าใจลักษณะทุนนิยมต้องดูภาพรวม ในภาพรวม จะเห็นเงือ่ นไขของการสะสมส่วนเกิน ทีถ่ กู ผลิตซ้�ำ อยูต่ ลอดเวลา • นายทุนเป็นนายทุนต่อเมื่อเงินเขาถูกแปรเป็นทุนอย่างต่อ เนื่อง โดยส่วนที่ถูกแปรเป็นทุนไม่ได้ถูกบริโภค • กรรมาชีพได้รบั เงินค่าแรงจากมูลค่าทีม่ าจากการทำ�งานของ เขาหรือกรรมาชีพอื่นในอดีต เพราะจ่ายหลังทำ�งานเสร็จไปแล้ว ความ จริงนี้ถูกปกปิด • ทุนทีน่ ายทุนนำ�มาลงทุนต่อ มาจากการทำ�งานของกรรมาชีพ ไม่ได้มาจากนายทุน • ทุน “ดั้งเดิม” แต่แรกของนายทุน อาจมาจากการขยัน ทำ�งานของนายทุน1 แต่หลังจากที่มันถูกใช้ไปแล้วมันหมดไป ทุนใหม่ ที่เพิ่มขึ้นมา มาจากการขโมยมูลค่าส่วนเกินจากการทำ�งานของคน อื่น(กรรมาชีพ) • กรรมาชีพจะออกจากวงจรการผลิตในสภาพเดียวกับที่เขา เข้ามาแต่แรก คือไร้ปัจจัยการผลิต ถูกใช้งานอย่างเดียว • กรรมาชีพผลิตมูลค่าอย่างต่อเนือ่ งในรูปแบบทุน(เช่นสินค้า) แต่ทุนนี้แปลกแยกจากตัวเขา ทุนนี้ไม่ใช่สมบัติของเขา และยิ่งกว่านั้น มันกลับมาครอบงำ�ชีวิตและขูดรีดเขาอีก • นายทุนต้องผลิตซ้ำ�การจ้างงานเสมอ มันเป็นเงื่อนไขของ การดำ�เนินงานของทุนนิยม • นายทุนใช้ “ทุน” เพื่อขูดรีดส่วนเกินจากกรรมาชีพ และใน การจ่ายค่าจ้าง ซึ่งการจ่ายค่าจ้างนี้เปิดโอกาสให้เขาขูดรีดกรรมาชีพ ต่อในอนาคต • การปกป้องชนชั้นกรรมาชีพให้ดำ�รงอยู่ต่อไป เป็นเงื่อนไข ของการดำ�เนินงานของระบบทุนนิยม ทั้งๆ ที่นายทุนพยายามกดค่า จ้างให้ถึงระดับต่ำ�สุดที่จะดำ�รงชีพคนงานได้ หรืออาจมาจากการปล้นไพร่ฯลฯ
1
“ทาสโรมันถูกล่ามโซ่ไว้ไม่ให้หนีงาน แต่กรรมาชีพรับจ้าง มัดตัวไว้กับนายทุน ด้วยเชือกที่มองไม่เห็น” • การยึดผลผลิตของกรรมาชีพโดยนายทุนอย่างต่อเนือ่ ง ทำ�ให้ กรรมาชีพต้องวิ่งกลับมาขายแรงงานอีกเสมอ • นายทุนต้องผลิตซ้ำ�สินค้า มูลค่าส่วนเกิน และความสัมพันธ์ ระหว่างนายทุนกับกรรมาชีพเสมอ
บทที่ 24: การแปรมูลค่าส่วนเกินเป็นทุน • ถ้ามูลค่าส่วนเกินที่นายทุนยึดมา จะกลายเป็นทุนได้ ต้องมี การใช้กรรมาชีพ/แรงงานเพิ่มขึ้น • การสะสมทุนต้องอาศัยการขยายการผลิตอย่างต่อเนื่อง • ทุนที่นำ�มาลงทุนจากมูลค่าส่วนเกิน มาจากการทำ�งานของ กรรมาชีพในส่วนที่ไม่ได้รับค่าจ้างทั้งสิ้น • การอ้างความเป็นเจ้าของ ของมูลค่าส่วนเกิน ที่มาจากการ ทำ�งานฟรีของกรรมาชีพ เป็นเงื่อนไขของการขยายการขูดรีดอย่างต่อ เนื่อง - แต่ความสัมพันธ์ระหว่างกรรมาชีพกับนายทุนอันนีถ้ กู ปกปิด การมีทรัพย์สนิ ของนายทุนจึงกลายเป็น “สิทธิ”์ ทีจ่ ะขโมยแรงงานของ คนอื่น - สภาพเช่นนี้เกิดขึ้นเมื่อกรรมาชีพมี “เสรีภาพ” ที่จะขาย “พลังการทำ�งาน” เป็นสินค้า Adam Smith, David Ricardo, John Stuart Mill ต่างอ้างว่ามูลค่าส่วนเกินที่สะสมในที่สุดถูกจ่ายเป็นค่าจ้างให้ กรรมาชีพ ผ่านค่าจ้าง และการซือ้ เครือ่ งจักรฯลฯ แต่เขาพิสจู น์ไม่ได้ใน รูปธรรม มันเป็นเพียงข้ออ้างเพือ่ สร้างความชอบธรรมกับระบบทุนนิยม การแบ่งมูลค่าส่วนเกินเป็น “ทุน” กับ “รายได้” ในยุคแรกๆ ของทุนนิยมที่มีแต่นายทุนน้อย ความคิดกระแส หลักจะให้ความสำ�คัญกับ “การออม” และ “ความมัธยัสถ์” เพราะ นายทุนต้องเลือกแบ่งส่วนหนึ่งของมูลค่าส่วนเกินไว้ใช้เอง และอีกส่วน
turnleftthai.blogspot.com
นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 เมษายน 55
17
ภาพจาก : fineartamerica.com
เพือ่ การลงทุนต่อ การบริโภคส่วนเกินเอง ถือเป็น “การขโมย” จากทุน ที่จะลงทุนต่อ • แต่ความมัธยัสถ์ไม่ได้มาจากความโลภส่วนตัวทีจ่ ะสะสมทุน ต่อ หรือสำ�นึกอะไร มันมาจากกระบวนการแข่งขันในตลาด • พอทุนนิยมพัฒนามากขึ้น มีการสะสมทุนมากขึ้น มีแหล่ง สร้างความร่ำ�รวยผ่านการปั่นหุ้นในระบบธนาคาร ฯลฯ “สองวิญญาณ ของนายทุน” จึงเริ่มปรากฏ คือความมัธยัสถ์ กับความต้องการที่จะ แสวงหาความสุขสบาย
“สะสม สะสม คือพระเจ้าของทุนนิยม” ความคิดเรื่องความมัธยัสถ์นำ�ไปสู่... 1. นิยายว่าการสะสมมาจากความมัธยัสถ์ ในขณะทีม่ นั มาจาก การขูดรีดแรงงานต่างหาก 2. การกดดันให้กรรมาชีพทีย่ ากจนอยูแ่ ล้วต้อง “หัดมัธยัสถ์”2 3. ปฏิกริ ยิ าโต้ตอบของฝ่ายทุนบางคน ทีม่ องว่า “การถูกบังคับ ให้มธั ยัสถ์” ผ่านการเก็บภาษีโดยรัฐ จะทำ�ลายแรงจูงใจในการทำ�ธุรกิจ ซึ่งเป็นคำ�อธิบายที่ง่ายเกินไป การสะสมที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะแบ่งส่วนเกินอย่างไรระหว่างการลงทุนต่อ กับรายได้ • การทำ�ให้อาหารถูกลง ทำ�ให้กดค่าแรงได้ นำ�ไปสู่การลด คุณภาพของอาหารสำ�หรับคนจนด้วยระบบอุตสาหกรรม • การเพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งานของกรรมาชีพ - อาจมาจากการใช้เครือ่ งจักรคุม้ มากขึน้ โดยขยายเวลาทำ�งาน และจำ�นวนคนงาน - จะเพิ่มมูลค่าส่วนเกิน คือทั้งส่วนที่นำ�มาลงทุนต่อ และราย ได้ของนายทุนพร้อมกัน - ทำ�ให้ค่าจ้างถูกลง เพราะสินค้าที่ต้องซื้อเพื่อยังชีพราคาถูก ลง หรืออาจนำ�ไปสู่การเพิ่มค่าจ้างบ้าง แต่ปริมาณส่วนเกินจะเพิ่มเร็ว กว่าค่าจ้าง • การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของแรงงาน เป็นสิง่ ทีค่ นงาน ทำ�ผ่านการทุม่ เทของร่างกายตนเอง แต่ถกู ปกปิดจนกลายเป็นว่า “ทุน เศรษฐกิจพอเพียง
2
เพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งาน” ดังนั้นฝ่ายทุนจะอ้างว่าคนที่ลงทุน “มี สิทธิ” ในค่าตอบแทนหรือกำ�ไร เงินสำ�หรับการจ้างงาน นักเศรษฐศาสตร์การเมืองฝ่ายทุน Jeremy Bentham, Thomas Malthus, James Mill, MacCulloch ต่างอ้างว่าในสังคม หนึ่ง มีเงินสำ�หรับการจ้างงานจำ�กัด “ตามธรรมชาติ” โดยไม่มีการ พิสูจน์ แต่นั้นเป็นแค่ข้ออ้างสำ�หรับพวกที่มองว่ากรรมาชีพไม่มีสิทธิ์ที่ จะกำ�หนดว่ามูลค่าในสังคมจะแบ่งกันอย่างไรเท่านั้น
บทที่ 25: กฎโดยทั่วไปของการสะสมทุน • ถ้าสัดส่วน ทุนคงที่ ต่อ ทุนแปรผัน ไม่เปลี่ยน เมื่อมีการ สะสมทุน ต้องมีการเพิ่มจำ�นวนกรรมาชีพ [Organic Composition of Capitalism/องค์ประกอบอินทรียข์ องทุนนิยม = สัดส่วน ทัง้ ในมูลค่า และปริมาณ ของเครือ่ งจักร/คน ของทุนทีป่ ระกอบไปด้วยทุนคงที่ และ ทุนแปรผัน] • ถ้าสะสมเรื่อยๆ ตามกระบวนการของทุนนิยม ในที่สุดจะ ขาดกรรมาชีพ และค่าแรงจะเพิ่มขึ้น • การเพิม่ ค่าแรง เพิม่ ความสามารถของกรรมาชีพทีจ่ ะบริโภค อาหาร เสื้อผ้า เครื่องใช้ แต่ ไม่ยกเลิกการขูดรีดแรงงานแต่อย่างใด การมีค่าจ้าง = การเป็นลูกจ้าง = การทำ�งานฟรีส่วนหนึ่งให้นายจ้าง • การเพิ่มค่าแรงอาจไม่มีผลเสียต่อการสะสมทุนต่อไปหรือ กำ�ไร • การเพิม่ ค่าแรงอาจกลายเป็นสิง่ ทีถ่ ว่ งการสะสมทุนและกำ�ไร จนมีการชะลอการผลิต ค่าแรงก็จะตกต่�ำ ลง เพราะความต้องการกรรมาชีพ โดยนายจ้างลดลง • สิง่ ทีก่ �ำ หนดการขึน้ ลงของค่าแรง คืออัตราการสะสมทุน ไม่ใช่ ว่าค่าแรงกำ�หนดอัตราการสะสมทุน • การสะสมทุนคือการสะสมแรงงานฟรีที่นายทุนได้มาโดยไม่ จ่ายค่าแรง • การขึน้ ลงของค่าจ้างอยูใ่ นระหว่างขัน้ ทีเ่ อือ้ กับการคงอยูข่ อง (อ่านต่อหน้า 18)
18
นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 เมษายน 55
turnleftthai.blogspot.com
(ต่อจากหน้า 17)
ระบบทุนนิยมเสมอ • การสะสมทุนที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ มีผลให้เพิ่มสัดส่วนทุน คงที่ และลดสัดส่วนทุนแปรผัน - เพราะต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเพื่อแข่งขัน โดย ใช้เครื่องจักรมากขึ้น - อาจมีการจ้างกรรมาชีพเพิ่ม แต่ในอัตราที่เพิ่มน้อยกว่าทุน คงที่ - ทุนทีใ่ ช้กบั กรรมาชีพจำ�นวนหนึง่ เพิม่ เพราะต้องซือ้ เครือ่ งจักร ที่ซับซ้อนมากขึ้น มีมูลค่ามากขึ้น และเต็มไปด้วยแรงงานอดีตใน ตัวมันเองอีกด้วย • การสะสมทุนทำ�ให้ความเข้มข้นของการผลิตเพิ่ม อำ�นาจ ของทุนเหนือกรรมาชีพก็เพิ่ม และการแข่งขันระหว่างนายทุนเพิ่มขึ้น อีกด้วย • การแข่งขัน คือการแข่งกันผลิตสินค้าราคาถูก โดยการเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต - ทุนใหญ่ได้เปรียบทุนเล็ก - นายทุนน้อยล้มละลายเป็นประจำ� - แนวโน้มคือ การกดค่าแรง การเพิ่มการขูดรีด และการนำ� แรงงานฝีมือต่ำ�มาใช้แทนแรงงานฝีมือสูง • ระบบการกู้ยืมเงิน(ธนาคาร) ช่วยหล่อลื้นกระบวนการนี้ • เกิด “ปลาใหญ่กินปลาเล็ก” การรวมศูนย์กิจกรรม ภายใต้ การแข่งขันและระบบธนาคาร การรวมศูนย์ (เกิดเร็ว) ไม่เหมือน การเพิ่มความเข้มข้นของ การผลิต (เกิดช้า) แต่ทั้งสองเป็นส่วนสำ�คัญของการสะสมทุน
• เมื่อมีวิกฤตเศรษฐกิจ หรือมีการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลจี ทุนนิยมต้องขับคนงานออกจากการผลิตอย่างรวดเร็ว (วัฎจักรวิกฤตไม่ เคยเกิดแบบนี้ในระบบก่อนทุนนิยม)
“เศรษฐศาสตร์การเมืองกระแสหลักแสดงความด้อยทาง วิชาการ เพราะพยายามอธิบายวิกฤตว่ามาจากปัญหาใน วงจรการเงิน แท้ที่จริงแล้วปัญหาวงจรการเงิน เป็นแค่ อาการของวิกฤตภาคการผลิต” • เมื่อมีการเพิ่มการผลิต ทุนนิยมต้องการคนงานสำ�รองเหล่า นี้มาใช้งาน โดยไม่มีผลกระทบที่จะทำ�ให้ขาดแรงงานในภาคการผลิต อื่น
“การทำ�งานหนักและนานเกินไปของผู้มีงานทำ� ทำ�ให้คน งานตกงานมากขึ้น แต่การมีคนงานตกงานจำ�นวนมาก กดดันให้ลูกจ้างที่ยังมีงานทำ�ก้มหัวยอมรับสภาพการจ้าง ที่แย่ลง การบังคับให้ส่วนหนึ่งของแรงงานทำ�งานมากเกิน ไป และอีกส่วนไม่มีงานทำ� กลายเป็นวิธีเพิ่มความร่ำ�รวย ให้นายทุน”
• ในทีส่ ดุ คนงานกรรมาชีพอาจรูต้ วั ว่ายิง่ ทำ�งานเท่าไร ผลผลิต ของตนเองก็ตกในมือของคนอื่น และยิ่งทำ�งานมากเท่าไร ความเสี่ยง กับการตกงานก็ยิ่งเพิ่ม เพราะมีการพัฒนาเทคโนโลจีมากขึ้น ดังนั้น อาจมีความพยายามจัดตัง้ องค์กรร่วมระหว่างคนมีงานทำ�กับคนตกงาน ซึ่งจะถูกต่อต้านอย่างถึงที่สุดโดยนายทุน
[ในบทนี้มีการบรรยายสภาพความจริงและรายงานสถิติของ คนงานในยุคนั้น จากอังกฤษ เบลเยี่ยม และ ไอร์แลนด์ ตามภาคต่างๆ รวมถึงภาคเกษตร ในภาคเกษตรการพัฒนาของระบบทุนนิยมทำ�ให้ คนงานภาคเกษตรลดลง แต่มาร์คซ์ไม่เคยมองว่าคนงานเป็นแค่ เหยื่อ] การทีค่ นไอร์แลนด์ตอ้ งอพยพไปอเมริกาจำ�นวนมาก เพือ่ การ สะสมความร่ำ�รวยของนายทุนการเกษตร ในที่สุดสร้างสถานการณ์ให้ กองทัพสำ�รองของคนงานอุตสาหกรรม มีการรวมตัวกันในอเมริกาของคนทีจ่ ะกบฏต่อการปกครองของอังกฤษ • การสะสมทุนลดปริมาณแรงงาน เมือ่ เทียบกับเครือ่ งจักร แต่ ในไอร์แลนด์ในอนาคต ในขณะเดียวกัน มีการขยายพื้นที่การผลิตไปสู่ภาคการผลิตใหม่ๆ
“ระบบกู้ยืมเงิน เริ่มต้นด้วยการแอบเข้ามาเป็นผู้ช่วย ต้อยต่ำ�ในกระบวนการสะสมโดยเชื่อมโยงเงินต่างๆ ที่ กระจัดกระจายในสังคม ให้เข้ามาผูกพันกับนายทุน แต่ใน ไม่ช้า ระบบกู้ยืมเงินกลายเป็นอาวุธอันน่ากลัวของทุนใหญ่ ในการรวมศูนย์ทุนภายใต้การแข่งขัน”
“กองทัพสำ�รองของคนตกงาน อาจเป็นผลจากการสะสม ทุนก็จริง แต่มันกลายเป็นเงื่อนไขและเครื่องมือในการ สะสมต่อไป เพราะเป็นมวลชนที่พร้อมจะเข้ามาในภาคการ ผลิตใหม่ๆ เร็วกว่าการที่นายทุนจะต้องรอให้มีการขยาย จำ�นวนประชากร”
ในระบบทุนนิยม...“การสะสมความทุกข์ยาก เป็นเงื่อนไข ของการสะสมความร่ำ�รวย” -TLN-
turnleftthai.blogspot.com
นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 เมษายน 55
19
ร่วมกันสร้างองค์กรสังคมนิยม
เพื่อ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และประชาธิปไตย - สังคมนิยมเป็นระบบที่ตอบสนองความต้องการของคนส่วนใหญ่ผ่านการวางแผนร่วมกัน ในรูปแบบประชาธิปไตย - สังคมนิยมต้องสร้างโดยมวลชนกรรมาชีพ จากล่างสู่บน สร้างโดยอภิสิทธิ์ชนไม่ได้ - เรางต้องมีพรรคการเมืองของกรรมาชีพและคนจน เพื่อเคลื่อนไหวทางการเมือง - สมาชิกทุกคนต้องจ่ายค่าบำ�รุง 1 % ของรายได้ (50 บาท / เดือนขั้นต่ำ�) - สมาชิกต้องอ่านและช่วยกันขายหนังสือพิมพ์ของพรรคเพื่อขยายสมาชิก และอิทธิพลทางความคิด รายละเอียดเพิ่มเติม : อีเมล : pcpthai@gmail.com ติดต่อกองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ : turnleft2008@gmail.com เวปไซต์ www.turnleftthai.blogspot.com เฟซบุ๊ค www.facebook.com/turnleftthai ที่อยู่ไปรษณีย์ : ตู้ ป.ณ. 123 ไปรษณีย์คลองจั่น บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240