ก้าวต่อไป ล้มโครงสร้างอำมาตย์ // นสพ.เลี้ยวซ้าย ฉบับที่ 73 กรกฎาคม 54

Page 1

www.turnleftthai.blogspot.com

เลี้ยวซ้าย

ฉบับที่ ๗๓

กรกฎาคม ๕๔

ก้าวต่อไป ล้ม โครงสร้าง

อำ�มาตย์

ราคา ๒๐ บาท

วิกฤต เศรษฐกิจโลก กับการต่อสู้ทาง ชนชั้น โดย กองบรรณาธิการ หน้า ๒

วิเคราะห์

ลักษณะสังคมไทย

ทุนนิยม หรือศักดินา โดย ภูวน หงดิน หน้า ๕

การปฏิวัติเพื่อ ประชาธิปไตย โดย ลั่นทมขาว หน้า ๑๐

ก้าวที่สอง ของพวกเรา เสื้อแดง หลัง การเลือกตั้ง

โดย สมุดบันทึกสีแดง หน้า ๑๔


บทความพิเศษ

กองบรรณาธิการ เลี้ยวซ้าย

วิกฤตเศรษฐกิจโลก กับการต่อสู้ทางชนชั้นในยุโรปและตะวันออกกลาง การต่อสู้ที่กำ�ลังเกิดขึ้นทั่วโลกท่ามกลางวิกฤต เศรษฐกิจ ไม่ว่าจะในยุโรป ตะวันออกกลาง หรือแม้แต่ใน ไทย มีประเด็นข้อคิดสำ�คัญที่เราต้องนำ�มาใช้เพื่อกำ�หนด แนวทางการเคลื่อนไหวดังนี้คือ 1. ความสำ�คัญ ในลักษณะการใช้ “พลังเศรษฐกิจ” ของขบวนการแรงงาน ผ่านการนัดหยุดงาน 2. การที่ฝ่ายก้าวหน้าต้องผลักดันการต่อสู้ ให้เกิน แค่ขอบเขตของการเปลี่ยนรัฐบาล ไปสู่การล้มระบบ 3. การที่หลายกลุ่มหลายองค์กรนอกรัฐ (“ประชา สังคม”) ในประเทศประชาธิปไตยตะวันตก ช่วยปกป้อง ระบบ และพยายามควบคุมคน ไม่ให้การต่อสูเ้ กินเลยขอบเขต ของระบบปัจจุบัน 4. ความสำ�คัญของการสร้างองค์กรสังคมนิยม เพื่อ ช่วงชิงการนำ�ในขบวนการมวลชน และนำ�การปฏิวตั ลิ ม้ ระบบ วิกฤตเศรษฐกิจโลกที่เกิดขึ้นในปี 2008 ไม่ใช่วิกฤติ ของระบบธนาคารเท่านั้น ทั้งๆ ที่มันระเบิดขึ้นตรงนั้นก่อน แต่มันเป็นวิกฤติของกลไกตลาดทุนนิยมทั้งหมด รากฐาน แท้ของวิกฤตเกิดจากสิ่งที่มาร์คซ์เรียกว่า “แนวโน้มการลด ลงของอัตรากำ�ไร” ซึ่งเกิดขึ้นเป็นประจำ� ปัญหาการลดลงของอัตรากำ�ไรในสหรัฐในยุคนี้ ถูก ปิดบังโดยการสร้างเศรษฐกิจ “ฟองสบู่” หลายรอบ ในที่นี้ “ฟองสบู่หมายถึงการปั่นราคาหุ้นหรืออสังหาริมทรัพย์ ให้ สูงขึ้นเกินความจริง ในขาขึ้นที่มีการขยายฟองสบู่ พวก นายทุนและธนาคารจะกอบโกยกำ�ไรสูง แต่พอ “ความมัน่ ใจ” ในฟองสบูแ่ ตก ทุกอย่างก็พงั ลงมา รอบแรกมีการสร้างฟอง สบู่ในภาคอินเตอร์เน็ด “Dot Com” และรอบล่าสุดมีการ ชักชวนให้คนจนกู้เงินซื้อบ้าน เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจโดยไม่ ขึ้นค่าแรง แต่เมื่อฟองสบู่เริ่มแตก พวกนายทุนก็บีบบังคับ

ให้คนจนจ่ายหนี้ด้วยอัตราดอกเบี้ยสูงที่เขาไม่สามารถจ่าย ได้ พอฟองสบู่ “Sub-Prime” นี้แตก หนี้เสียก็ลามไปทั่ว ระบบธนาคารของโลก สภาพนี้เกิดขึ้นทั่วโลก ในสหรัฐ ยุโรป ญี่ปุ่น และจีน แต่ในกรณีจีนมีการทุ่มเทงบประมาณรัฐมหาศาลเพื่อพยุง เศรษฐกิจ และมีการปกปิดปัญหาธนาคารซึง่ ล้วนแต่เป็นของ รัฐ การที่จีนยังขยายตัวได้ ช่วยเศรษฐกิจของบางประเทศ เช่นไทย เยอรมัน และออสเตรเลีย แต่มนั เป็นสภาพชัว่ คราว เพราะจีนขาดความสมดุลย์ทางเศรษฐกิจ มีความเหลื่อมล้ำ� สูงระหว่างคนจนและคนรวย และตลาดภายในจีนเล็กเกินไป ที่จะนำ�มาใช้แทนการส่งออกสู่ประเทศอื่นๆ ที่อยู่ในสภาพ วิกฤตได้ ในกรณีกรีซ ประเทศนีเ้ คยกูเ้ งินจากธนาคารเยอรมัน และฝรั่งเศส ผ่านธนาคารในกรีซ เพื่อขยายการลงทุนและ พัฒนาประเทศ เพราะกรีซยากจนเมือ่ เทียบกับประเทศอืน่ ๆ ในยุโรปตะวันตก แต่พอวิกฤตเกิดขึ้นทั่วโลก และธนาคาร ต่างๆ เริม่ ใกล้จะล้มละลาย รัฐต้องเข้ามาช่วยจ่ายหนีเ้ สีย จน มีหนีส้ าธารณะสูง กรณีประเทศปอร์ตเุ กส สเปน และไอร์แลนด์ ก็คล้ายกัน การที่รัฐต่างๆ ในยุโรปและอเมริกา ต้องเข้ามาอุ้ม ธนาคารและบริษัทเอกชน และการที่คนจำ�นวนมากตกงาน และจ่ายภาษีนอ้ ยลง มีผลทำ�ให้รฐั ติดหนีส้ งู ขึน้ ซึง่ ถ้าสามารถ พยุงและกระตุ้นเศรษฐกิจได้ ก็ไม่ใช่ปัญหาร้ายแรงเท่าไร แต่ปรากฏว่าปัญหาเริ่มร้ายแรงมากขึ้นจากสอง เหตุการณ์คือ 1. นักการเมืองเสรีนิยมและนายธนาคารใหญ่ ไม่ อยากให้รฐั ต่างๆ กูเ้ งินเพิม่ เพือ่ กระตุน้ เศรษฐกิจต่อไป เพราะ กลัวว่าการกู้เงินเพิ่มของรัฐ จะไปตัดส่วนแบ่งของทุนทั่วไป ที่ภาคเอกชนจะใช้ในการสร้างกำ�ไร

เลี้ยวซ้าย กรกฎาคม ๕๔ หน้า ๒


2. เกิดการพนันในตลาดการเงินโดยนายทุนรอบใหม่ เพราะเมื่อมีการเพิ่มหนี้สาธารณะของหลายประเทศ พวก นักลงทุนก็จะพนันในความอ่อนแอของเศรษฐกิจประเทศ เหล่านัน้ เพือ่ กินกำ�ไรเฉพาะหน้า เช่นในเรือ่ งการซือ้ ขายเงิน ตราล่วงหน้า หรือการซื้อขายพันธบัตรรัฐบาล ที่รัฐต้องขาย เพื่อกู้เงิน ผลคือรัฐบาลในเศรษฐกิจเล็กๆ ที่อ่อนแอ อย่าง รัฐบาลประเทศกรีซ ปอร์ตุเกส ไอร์แลนด์ สเปน หรือไอส แลนด์ ถูกกดดันมากจากนายทุน และเวลารัฐบาลประเทศ เหล่านี้จะกู้เงินเพิ่ม ก็พบว่าอัตราดอกเบี้ยพุ่งขึ้นสูง ซึ่งยิ่ง ทำ�ให้หนี้สาธารณะใหญ่ขึ้นอีก ในที่สุดพวกนายทุนสากลก็กดดันให้รัฐบาลเหล่านี้ ตัดสวัสดิการ ตัดการจ้างงานโดยรัฐ และทำ�ลายมาตรฐาน การจ้างงานทัว่ ไป เพือ่ วัตถุประสงค์เดียวเท่านัน้ คือ เพือ่ จ่าย หนี้คืนธนาคาร โดยไม่สนใจว่าจะยิ่งทำ�ให้เศรษฐกิจหดตัว และวิกฤตหนักขึ้น พฤติกรรมแบบนี้สร้างความไม่พอใจใน สังคมเป็นอย่างมาก เพราะในยามที่เศรษฐกิจขยายตัว คน ทีไ่ ด้ประโยชน์มากทีส่ ดุ คือนักธุรกิจ นายธนาคาร และคนรวย แต่พอเศรษฐกิจเกิดวิกฤต มีการกดดันให้คนส่วนใหญ่รับ ภาระแทน ในขณะที่คนธรรมดาไม่ได้สร้างปัญหาแต่แรก รัฐบาลกรีซ ไอร์แลนด์ และปอร์ตุเกส แพ้การเลือกตั้ง แต่ รัฐบาลใหม่ที่เข้ามา ไม่ว่าจะเป็นพรรคฝ่ายขวาหรือพรรค สังคมนิยมก็ท�ำ ตามนโยบายเดิมต่อไป ซึง่ ทำ�ให้คนมองว่าการ แก้ปัญหาผ่านระบบการเลือกตั้งและรัฐสภา ไม่ใช่ทางออก มีกระแสปฏิเสธ “พรรคการเมือง” และบางส่วนไปเน้นการ ต่อสู้ของสหภาพแรงงาน ในกรณีอังกฤษ พรรคแรงงานแพ้การเลือกตั้ง และ พรรคอนุรกั ษ์นยิ มของนายทุนขึน้ มาเป็นรัฐบาลใหม่รว่ มกับ พรรคเสรีนิยม มีการประกาศนโยบายเข้มงวดในค่าใช้จ่าย ซึง่ หมายถึงการทำ�ลายมาตรฐานชีวติ ของคนส่วนใหญ่ทเี่ ป็น กรรมาชีพ นอกจากจะเป็นการบังคับให้ประชาชนจ่ายหนี้

แทนนายธนาคารแล้ว มันกลายเป็นโอกาสทองสำ�หรับพรรค อนุรกั ษ์นยิ มกับพรรคเสรีนยิ ม ทีจ่ ะตัดและทำ�ลายรัฐสวัสดิการ และมาตรฐานการจ้างงานเกินความจำ�เป็น เพราะรัฐบาลมี อคติอยูแ่ ล้วกับระบบรัฐสวัสดิการ และอยากเปลีย่ นวัฒนธรรม ของสังคมที่เคยสนับสนุนรัฐสวัสดิการและความสมานฉันท์ ทางสังคม ไปสู่วัฒนธรรม “ตัวใครตัวมัน” ในวิกฤตลึกๆทั่วโลกของทุนนิยมแบบนี้ ซึ่งเคยเกิด ก่อนหน้านี้ในช่วง คริสต์ทศวรรษ 1930 อันโตนิโอ กรัมชี่ มองว่า เราไม่สามารถแน่ใจว่ามันจะออกมาในรูปแบบวิกฤต การเมืองอย่างไร และเมือ่ ไร กรัมชี่ อธิบายว่าเงือ่ นไขทีส่ �ำ คัญ ในการลุกขึน้ สูข้ องชนชัน้ กรรมาชีพและคนจน คือความเปราะ บางของรัฐทีเ่ ป็นเผด็จการ การปกป้องรัฐโดย “ประชาสังคม” ในประเทศประชาธิปไตย และการวางแผนเตรียมพร้อมของ องค์กรฝ่ายซ้ายที่มีรากฐานในชนชั้นกรรมาชีพ ตัง้ แต่ปี 2010 การทีร่ ฐั บาลทัว่ ยุโรปเปิดศึกด้านกว้าง กับประชาชนทุกคน ไม่ใช่แค่คนงานกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง และ ไม่ใช่ในประเทศใดประเทศหนึง่ เอือ้ กับการทีส่ หภาพแรงงาน ต่างๆ จะจับมือร่วมกันต่อสูใ้ นรูปแบบการนัดหยุดงานทัว่ ไป และสิ่งนี้ก็เกิดขึ้นแล้วในหลายประเทศ ฝรั่งเศส อิตาลี และ ไอร์แลนด์ ยิ่งกว่านั้น วิกฤตโลกเป็นสาเหตุสำ�คัญในการก ระตุน้ การต่อสูก้ บั รัฐเผด็จการในอัฟริกาเหนือหรือตะวันออกกลาง เช่นในตูนีเซีย และอียิปต์ เพราะรัฐบาลเผด็จการใช้นโยบาย เสรีนิยมกลไกตลาดมาเกือบ 30 ปี จนประชาชนส่วนใหญ่ ยากจน และระดับการตกงานในหมู่เยาวชนสูงขึ้นจนทนไม่ ได้ สถานการณ์แหลมคมขึน้ เป็นอย่างมากหลังวิกฤตเศรษฐกิจ ในประเทศเผด็จการ การที่ประชาชนทนไม่ได้ และ ลุกขึน้ สู้ ทำ�ให้ลม้ เผด็จการได้ โดยเฉพาะในกรณีทขี่ บวนการ แรงงานออกมาสู้ เช่นกรณีตูนีเซีย และอียิปต์ และจุดอ่อนข องขบวนการเสือ้ แดงในไทย คือการทีไ่ ม่คอ่ ยมีใครในขบวนการ เสื้อแดง ที่สนใจทำ�งานการเมืองในขบวนการแรงงาน

เลี้ยวซ้าย กรกฎาคม ๕๔ หน้า ๓


ในกรณีไทย วิกฤตเศรษฐกิจรอบแรกเกิดขึ้นก่อน ประเทศตะวันตก คือในช่วงวิกฤต “ต้มยำ�กุง้ ” ปี ๒๕๓๙ และ ความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างเสื้อแดงกับเสื้อเหลืองมี จุดกำ�เนิดตรงนี้ เพราะฝ่ายอนุรักษ์นิยมเสื้อเหลือง ไม่พอใจ กับนโยบายกระตุน้ เศรษฐกิจของไทยรักไทย ทีค่ รองใจคนจน จำ�นวนมาก ความเปราะบางของระบบเผด็จการ อย่างในอียิปต์ ทำ�ให้กองทัพต้องรีบเขีย่ มูบารักออกจากตำ�แหน่ง ก่อนทีก่ าร ต่อสู้จะลามไปสู่การล้มระบบทั้งหมด ดังนั้นภาระสำ�คัญของ นักสังคมนิยมในอียปิ ต์ คือการปลุกระดมเคลือ่ นไหวให้มวลชน สู้ต่อไป เพื่อปฏิวัติล้มระบบ ไม่ใช่หยุดแค่ในขั้นตอนการล้ม ประธานาธิปดี ในไทยก็คล้ายกัน ทัง้ ๆ ทีส่ ถานการณ์ตา่ งกัน นักสังคมนิยมในขบวนการเสือ้ แดง ต้องปลุกระดมให้เสือ้ แดง สูต้ อ่ ไปเพือ่ ล้มอำ�มาตย์ ทัง้ ๆ ทีม่ กี ารเปลีย่ นรัฐบาลไปสูพ่ รรค เพื่อไทย ในประเทศที่เป็นประชาธิปไตยมานาน เช่นอังกฤษ หรือกรีซ ชนชัน้ ปกครองมีเกราะป้องกันตัวทีเ่ รียกว่า “ประชา สังคม” ส่วนสำ�คัญของประชาสังคมนี้ คือพวกพรรคสังคมนิยม หรือพรรคแรงงานในรัฐสภา บวกกับผูน้ �ำ แรงงานอาชีพระดับ ชาติ เพราะกลุ่มคนเหล่านี้จะมีอิทธิพลในขบวนการแรงงาน และขบวนการเคลือ่ นไหวต่างๆ และเขาจะพยายามใช้อทิ ธิพล อันนี้ ในการควบคุมไม่ให้การต่อสูอ้ อกจากขอบเขตของระบบ ปัจจุบัน จึงมีความพยายามที่จะยับยั้งการต่อสู้เสมอ ในกรณีองั กฤษ นักต่อสูฝ้ า่ ยซ้ายในขบวนการแรงงาน ต้องเคลื่อนไหวกดดันผู้นำ�แรงงานอาชีพระดับชาติ เพื่อให้ ออกมาจัดการประท้วงยักษ์ใหญ่ในเดือนมีนาคม และล่าสุด เพือ่ ประกาศนัดหยุดงานทัว่ ไปหนึง่ วันในภาครัฐ เพือ่ ประท้วง การตัดบำ�เน็จบำ�นาญ เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน แต่มันเป็นก ระบวนการที่ใช้เวลาและยังไม่จบ ในกรณีกรีซ รัฐบาลปัจจุบันที่ต้องการตัดคุณภาพ ชีวติ ทุกอย่างของประชาชน เป็นรัฐบาลพรรคสังคมนิยม ซึง่ ใกล้ชิดกับผู้นำ�แรงงานอาชีพระดับชาติ นักเคลื่อนไหวฝ่าย ซ้าย ต้องกดดันพวกผู้นำ�แรงงานอย่างต่อเนื่อง ตอนแรกมี การนัดหยุดงานทัว่ ไปหนึง่ วัน ซึง่ จัดหลายครัง้ ต่อมากมีการ หยุดงานทัว่ ไปสองวันและล้อมรัฐสภา เพือ่ กดดันนักการเมือง ในกรีซกระแสการเมืองเปลี่ยนไปมาก เพราะเมื่อปี ที่แล้วมีการตัดงบประมาณรัฐและสภาพการจ้างงานมารอบ หนึ่งแล้ว แต่ทุกคนเห็นว่ามันไม่แก้อะไรเลย มันยิ่งทำ�ให้ เศรษฐกิจหดตัว รอบนี้ประชาชนเห็นชัดอีกด้วยว่า สาม

องค์กร “เจ้าพ่อ” คือ ไอเอ็มเอฟ สหภาพยุโรป และธนาคาร กลางยุโรป มองกรีซเหมือนเป็นเมืองขึน้ มีการส่งตัวแทนมา “สั่ง” ให้รัฐสภาผ่านกฏหมายตัดงบประมาณ และประกาศ ว่ากรีซ “ไม่มีทางเลือกนอกจากจะยอม” สิ่งเหล่านี้ทำ�ให้ ประชาชนเกิน 80% หันมาคัดค้านการตัดคุณภาพชีวิตเพื่อ จ่ายหนีใ้ ห้ธนาคารใหญ่ และทำ�ให้สมาชิกในสหภาพแรงงาน เริ่มสนับสนุนผู้แทนของฝ่ายซ้ายมากขึ้น กลุม่ ฝ่ายซ้ายในกรีซ มีสามกลุม่ คือ พรรคคอมมิวนิสต์ (KKK), พรรค Synaspismos (ซึ่งเป็นอดีตคอมมิวนิสต์) และ Antarsya “แนวร่วมต้านทุนนิยม” สององค์กรแรกให้ ความสำ�คัญกับรัฐสภามากเกินไป แต่ “แนวร่วมต้านทุนนิยม” เน้นการปลุกระดมแรงงาน และทีส่ �ำ คัญคือมีขอ้ เสนอรูปธรรม ในการแก้ปัญหา Antarsya เสนอว่ารัฐกรีซต้องประกาศงด จ่ายหนี้ถาวร ต้องถอนตัวออกจากระบบเงินยูโร และต้องมี การนำ � ธนาคารมาเป็ น ของรั ฐ ภายใต้ ก ารบริ ห ารของ สหภาพแรงงาน เพื่อใช้เงินในธนาคารในการจ่ายเงินเดือน บำ�เน็จบำ�นาญ และเพื่อสร้างงาน และข้อเสนอนี้เริ่มได้รับ การนิยมจากประชาชนระดับหนึ่ง การต่อสู้ในประเทศหนึ่ง ส่งกำ�ลังใจให้คนในประเท ศอื่นๆ เป็นลูกโซ่ และมีการเรียนรู้ซึ่งกันและกันอีกด้วย การ ที่มีการปฏิวัติในตูนีเซีย และอียิปต์ เพิ่มกำ�ลังใจในการต่อสู้ ของคนงานยุโรป และคนเสื้อแดงที่เปิดหูเปิดตา ไม่จมใน ความคิดคับแคบเกี่ยวกับ “ลักษณะพิเศษของไทย” ก็เริ่ม พูดถึงอียิปต์มากขึ้น ในการต่อสู้ของคนหนุ่มสาวในอียปิต์ หรือสเปน สื่อ กระแสหลักชอบพูดเกินเหตุว่ามันเป็นการลุกฮือโดย “ไร้ แกนนำ�” ผ่านการใช้ทวิตเตอร์กบั แฟสบุก๊ แต่อนั โตนีโอ กรัม ชี เคยเสนอว่า “ผู้ที่คิดว่าการลุกฮือในที่ใดที่หนึ่ง เป็นไป ตามธรรมชาติโดยไร้แกนนำ� เป็นคนที่ไม่รู้จักขบวนการนี้ดี พอ” ทุกครั้งที่มีคนลุกขึ้นสู้ มีคนเตรียมตัว วางแผน และ เสนอแนวสูเ้ สมอ แน่นอนเราไม่ตอ้ งการให้ผนู้ �ำ พรรคสังคมนิยม กระแสหลัก หรือหัวหน้าสหภาพแรงงานมืออาชีพ มาควบคุม การต่อสูใ้ ห้มนั เบาลง หรือนำ�ในรูปแบบเผด็จการ เราต้องการ ให้การต่อสูม้ แี กนนอนและความสร้างสรรค์ แต่ในขณะเดียวกัน เราไม่สามารถปฏิเสธการสร้างองค์กรปฏิวัติและการช่วงชิง การนำ�ในขบวนการเคลื่อนไหวได้ เพราะถ้าไม่มีองค์กรดัง กล่าว ที่พยายามวิเคราะห์สถานการณ์และชี้นำ�การต่อสู้ มวลชนจะสับสน ขาดความมัน่ ใจ หรือคล้อยตามพวกทีช่ วน ให้เลิกสู้

เลี้ยวซ้าย กรกฎาคม ๕๔ หน้า ๔


เยาวชนเลี้ยวซ้าย ภูวน หงดิน

วิเคราะห์ลักษณะสังคมไทย ทุนนิยมหรือศักดินา ปัญหาการวิเคราะห์ลกั ษณะสังคมไทยว่าเป็นทุนนิยม หรือรัฐศักดินา เป็นประเด็นสำ�คัญอย่างหนึ่งที่มีถกเถียงกัน มาตลอดในหมู่ฝ่ายซ้ายไทย จากข้อถกเถียงดังกล่าวเรา สามารถแบ่งชุดความคิดทีน่ �ำ มาใช้อธิบายลักษณะสังคมไทย ได้เป็น 2 กลุ่ม คือ จากกลุ่มซ้ายเก่าที่ยึดถือแนวคิดสายส ตาลิน – เหมา กับกลุ่มซ้ายใหม่ที่เติบโตมาจากการทบทวน บทสรุป และการตั้งคำ�ถามต่อแนวซ้ายเดิมที่ล้มเหลวไป ซึ่ง ในที่นี้ผมจะเริ่มพูดถึงแนวการวิเคราะห์ของกลุ่มซ้ายเก่า เรื่อยมาจนถึงขบวนการประชาธิปไตยของคนเสื้อแดง เพื่อ ให้คณ ุ ผูอ้ า่ นเปรียบเทียบเห็นถึงความแตกต่างของชุดความ คิดที่นำ�มาอธิบายและคิดตามได้อย่างเป็นระบบ 1. แนววิเคราะห์สังคมไทยแบบ กึ่งเมืองขึ้นกึ่งศักดินา ของกลุ่มซ้ายเก่าสายสตาลิน – เหมา การวิเคราะห์โครงสร้างสังคมไทยว่าเป็นสังคม กึ่ง เมืองขึ้นกึ่งศักดินา ตามแนวคิดของเหมาเจ๋อตุง จากหลัก ฐานพบว่า พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย(พคท.) ได้มี การยึดถือมาตั้งแต่ก่อตั้งพรรคเมื่อ พ.ศ.2485 และเป็นที่ ยอมรับของสังคมมากขึ้นในช่วงต้นทศวรรษที่ 2590 เมื่อ พรรคคอมมิวนิสต์จนี สามารถสถาปนาระบบใหม่ได้ในปี พ.ศ. 2492 ซึ่งค่อนข้างมีอิทธิพลทางความคิดต่อฝ่ายที่ต้องการ เปลีย่ นแปลงสังคมในไทยอย่างมาก ทัง้ นักสือ่ มวลชน นักศึกษา ปัญญาชน รวมถึงพระสงฆ์บางกลุ่ม โดยเขาวิเคราะห์กันว่า ไทยเป็นสังคมทีม่ ลี กั ษณะเช่นเดียวกับจีน คือ กึง่ เมืองขึน้ กึง่ ศักดินา และเห็นควรให้ยึดถือประสบการณ์การปฏิวัติของ จีนเป็นตัวอย่างเพื่อดำ�เนินรอยตามไป โดยทัว่ ไปพรรคคอมมิวนิสต์ในแถบเอเชียตะวันออก

เฉียงใต้รวมถึงไทย ที่ยอมรับแนวคิดกึ่งเมืองขึ้นกึ่งศักดินา พวกเขามักอ้างเหมือนกันว่าเอกราชที่ประเทศของตนมีอยู่ เป็นเอกราชแบบปลอมๆ อยูภ่ ายใต้อ�ำ นาจของจักรวรรดินยิ ม ที่รวมมือกับพวกศักดินา ในกรณีนี้ อ.ใจ อึ๊งภากรณ์ อธิบาย ว่า ข้ออ้างทัง้ หมดทีพ่ รรคเก่าสายสตาลิน – เหมา ยกมาล้วน เป็นเรื่องลวง เพราะภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศ ทีต่ กเป็นเมืองขึน้ ส่วนใหญ่จะได้รบั เอกราชกันหมดแล้ว ความ จริงเป็นการอ้างเพือ่ ให้ดมู คี วามชอบธรรมในการปรับเปลีย่ น นโยบาย ให้สอดคล้องกับสหภาพโซเวียตที่ต้องการสร้าง แนวร่วมกับรัฐบาลชาตินยิ ม รวมถึงขบวนการชาตินยิ มต่างๆ ในประเทศโลกที่สาม เพื่อต่อสู้แข่งขันกับอิทธิพลของ สหรัฐอเมริกา นโยบายดังกล่าวนอกจากจะส่งเสริมความคิดชาตินยิ ม ในพรรคคอมมิวนิสต์แล้ว ยังสนับสนุนให้เกิดการสร้างแนว ร่วมข้ามชนชั้น ระหว่างชนชั้นนายทุนกับชนชั้นกรรมาชีพ รวมถึงนักการเมืองกระแสหลักด้วย ฉะนัน้ จึงเห็นว่าในประเทศ ทีไ่ ด้รบั เอกราชแล้ว พรรคก็ยงั สร้างข้ออ้างให้ยดึ ถือนโยบาย ชาตินิยมต่อไป จุดประสงค์เพื่อลดความสำ�คัญของการต่อสู้ ทางชนชัน้ และให้สอดคล้องกับนโยบายต่างชาติของสหภาพ โซเวียตดังที่กล่าวมาในข้างต้น ตัวอย่างนี้เห็นได้จาก พคท. ที่มีการชักชวนให้คนไทยเข้าร่วมสู้ใน แนวร่วมรักชาติไทย หรือความพยายามทีจ่ ะเปลีย่ นนโยบายไปแสวงหาความร่วม มือจากรัฐบาลและอเมริกาเพื่อทำ�แนวร่วมต่อต้านสหภาพ โซเวียตกับเวียดนามเป็นต้น นอกจากนีส้ �ำ หรับตัวผมเองยังมองแนวการวิเคราะห์ แบบ กึง่ เมืองขึน้ กึง่ ศักดินา ว่าเป็นคำ�อธิบายทีค่ อ่ นข้างสับสน และขัดแย้งในตัวเอง อย่างคำ�ว่า กึ่งเมืองขึ้น ที่หมายถึงการ

เลี้ยวซ้าย กรกฎาคม ๕๔ หน้า ๕


อยู่ใต้อำ�นาจของจักรวรรดินิยม อันเกิดจากระบบทุนนิยม ผูกขาดที่ต้องการระบายทุนมหาศาลมาลงทุนในดินแดนที่ เจริญน้อยกว่า และจากจุดนี้เองที่ทำ�ให้ กึ่งเมืองขึ้น ไปขัด แย้งกับ กึ่งศักดินา ที่พรรคสายเก่าอธิบายว่าประเทศตนยัง อยู่ในสังคมศักดินาอยู่ แต่ความจริงแล้วเมื่อประเทศจักรรดิ นิยมเข้าควบคุมกิจกรรมในประเทศด้อยพัฒนาไม่ว่าจะทาง ตรงหรืออ้อม และไม่ว่าดินแดนนั้นจะมีระบบการผลิตที่ล้า หลังสักปานใด ย่อมได้รบั อิทธิพลให้มกี ารปรับเปลีย่ นโครงสร้าง ทางการเมืองและเศรษฐกิจ ให้สอดคล้องต่อระบบการผลิต แบบใหม่ทเี่ ข้ามาได้ ดังนัน้ ผมจึงมองแนวการวิเคราะห์แบบ กึง่ เมืองขึน้ กึง่ ศักดินา ทีพ่ วกซ้ายเก่ายึดถือว่าเป็นคำ�อธิบาย ที่ค่อนข้างสับสน และไม่สามารถนำ�มาอธิบายสภาพความ เป็นจริงของสังคมไทยได้ 2. วิเคราะห์สงั คมไทยตามสภาพจริง “ไทยเป็นทุนนิยม ไม่ใช่กึ่งศักดินา” ในสมัยที่นักศึกษาปัญญาชนเข้าป่าร่วมสู้กับ พคท. ที่ยึดถือแนวคิดกึ่งเมืองขึ้นกึ่งศักดินา พวกเขาได้ท้าทาย แนวคิดดังกล่าวโดยการวิเคราะห์สภาพสังคมใหม่และสรุป ว่าไทยมีความเป็นทุนนิยมมากขึน้ ซึง่ เท่ากับเป็นการคัดค้าน สิ่งที่ พคท. ยึดถือมานานว่าเป็นความผิดพลาดและส่งผล เสียต่อการปฏิวัติ จนที่สุดกลายเป็นความขัดแย้งระหว่าง นักศึกษากับระดับนำ�ของ พคท. ที่ดื้อรั้นและคงเห็นว่าแนว การวิเคราะห์ดังกล่าวยังใช้ได้อยู่ กระทั่งปัจจุบันก็มีคนไม่ น้อยที่รับมรดกชิ้นดังกล่าวมากจาก พคท. จากงานศึกษาอย่างเป็นวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการ วิเคราะห์ลักษณะสังคมไทยหลายๆชิ้น ได้พิสูจน์ให้เห็นว่า แท้แล้วรัฐไทยไม่ได้เป็นกึ่งศักดินาหากเป็นทุนนิยมมานาน แล้ว คือเริ่มตั้งแต่หลังการเซ็นสนธิสัญญาเบาริ่งกับสหราช อาณาจักรใน พ.ศ. 2398 อันส่งผลให้ไทยต้องดำ�เนินนโยบาย การค้าเสรีแทนทีน่ โยบายการค้าผูกขาดแบบเดิม และพัฒนา กลายเป็นรัฐทุนนิยมเต็มตัวมากขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อ มีการปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2435 เพื่อให้ โครงสร้างทางการเมืองและเศรษฐกิจสามารถสนองตอบต่อ ระบบการผลิตแบบทุนนิยมได้ ดังจะเห็นว่ามีการยกเลิกระบบ เกณฑ์แรงงานบังคับ ไพร่ – ทาส การรวบอำ�นาจไปกระจุก ที่พระมหากษัตริย์ และการส่งข้าราชการจากศูนย์กลางไป ปกครองตามหัวเมืองหรือท้องถิ่นต่างๆ ซึ่งเท่ากับเป็นการ ทำ�ลายอำ�นาจทางการเมืองและเศรษฐกิจของมูลนาย ขุนนาง และเจ้าหัวเมืองจากระบบศักดินาเดิม

ที่สำ�คัญจะเห็นว่ายุคการปกครองของรัชกาลที่ 5 เป็นยุคแห่งการสร้างและพัฒนาสิ่งต่างๆขึ้นมามากมาย ทั้ง ระบบเงินตรา ระบบข้าราชการ ระบบขนส่ง ระบบธนาคาร การบังคับใช้ภาษากลาง การสร้างกองทัพแห่งชาติ รวมถึง กฎหมายทีเ่ กีย่ วกับกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ และกิจการทางธุรกิจ เหล่า นี้ก็เพื่อเอื้ออำ�นาจให้ระบบทุนนิยมสามารถพัฒนาได้เป็น อย่างดี ทัง้ นีจ้ ะเห็นว่ารูปแบบการผลิตภายหลังการเซ็นสัญญา เบาริ่งก็เปลี่ยนไป คือ จากผลิตเพื่อยังชีพ เน้นบริโภค และ เก็บของป่าขายแบบเดิม กลายเป็นการผลิตเพื่อสนองตอบ ต่อความต้องการของตลาดมากขึ้น เช่น การผลิตข้าว ไม้สัก และดีบุก เป็นต้น สำ�หรับใครที่ยังมองว่าไทยเป็นศักดินา ควรพิจารณาให้ดีว่าสังคมที่เราอยู่ในปัจจุบันยังผลิตเพื่อ ยังชีพกันอยู่หรือไม่ หรือเป็นระบบที่มุ่งขยายการผลิตอยู่ ตลอดเวลาโดยมีก�ำ ไรเป็นจุดหมายสูงสุดแบบทุนนิยมกันแน่ อีกตัวอย่างหนึ่งที่จะยกมาให้คุณผู้อ่านเห็นภาพได้ ชัดเจนมากขึ้น และเป็นตัวยืนยันว่าไทยเป็นรัฐทุนนิยมเห มือนๆ กับอเมริกา อังกฤษ เยอรมัน ญี่ปุ่น และที่อื่นๆใน โลก ไม่ได้เป็นกรณีพิเศษอะไร เราจะเห็นว่าทุกครั้งที่เกิด วิกฤตเศรษฐกิจทุนนิยมโลก ไทยเป็นแห่งหนึ่งที่ถูกผลกระ ทบไม่ต่างจากรัฐทุนนิยมอื่น ไม่ว่าจะเป็นวิกฤตเศรษฐกิจปี พ.ศ. 2472-2474 ที่ลุกลามมาจากอเมริกากับยุโรปจนเป็น เหตุให้ประชาชนเดือนร้อนและไม่พอใจต่อการบริหารงาน ของรัฐบาลพระปกเกล้าฯ วิกฤตเศรษฐกิจปี พ.ศ. 2540 เกิด ขึ้นที่ไทยและลุกลามไปหลายประเทศ เช่น มาเลย์เซีย อินโดนีเซีย เกาหลี ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ รัสเซีย ล่าสุดวิกฤต หนี้สาธารณะในยุโรปซึ่งคาดว่าจะลุกลามกลายเป็นวิกฤต เศรษฐกิจโลกและจะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย เหล่านี้ จึงเป็นเครื่องยืนยันว่ารัฐไทยแยกไม่ออกจากระบบทุนนิยม โลกหรือกล่าวให้ถูกยิ่งกว่า คือ เป็นส่วนหนึ่งของมัน 3. ทุนนิยมหรือศักดินา ข้อถกเถียงในขบวนการคนเสือ้ แดง คนที่ยังวิเคราะห์ว่าไทยยังเป็นสังคมศักดินา เขาไม่ เข้าใจประวิติศาสตร์และไม่เข้าใจสภาพความเป็นจริงทาง เศรษฐกิจ อันนี้เห็นได้จากการวิเคราะห์ว่าไทยยังเป็นรัฐสม บูรณาญาสิทธิราชที่พวกศักดินาหรือ –เซ็นเซอร์-- เป็นผู้ ถือครองอำ�นาจสูงสุดอยู่ ซึ่งผมเห็นว่าเป็นคำ�อธิบายที่ขัด แย้งกันในตัวเองอย่างมาก เพราะรัฐสมบรูณาญาสิทธิราชที่ เกิดขึน้ ในสมัยรัชกาลที่ 5 คือระบบการปกครองแบบทุนนิยม ภายใต้อำ�นาจกษัตริย์ที่ขัดแย้งกับระบบศักดินาโดยสิ้นเชิง

เลี้ยวซ้าย กรกฎาคม ๕๔ หน้า ๖


และก็ได้ล้มสลายไปแล้วใน พ.ศ. 2475 โดยการปฏิวัติของ คณะราษฎร อันทำ�ให้อำ�นาจรัฐขยายไปสู่ชนชั้นนายทุนอื่น เช่น ข้าราชการพลเรือน ทหาร และนายทุนเอกชน แม้ภายหลังจะมีการกลับมาให้ความสำ�คัญกับ– เซ็นเซอร์-- อย่างสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เราต้องเข้าใจ ว่านัน่ ไม่ใช่การฟืน้ คืนอำ�นาจ หากเป็นการนำ�เอา–เซ็นเซอร์-มาอ้างเพือ่ ความชอบธรรมในการปกครองของพวกเผด็จการ และปราบปรามผู้ที่มีความคิดเห็นต่างจากรัฐ กรณีดังกล่าว สามารถนำ�มาเปรียบเทียบได้กับเหตุการณ์ปฏิวัติชนชั้น นายทุนของอังกฤษ ทีม่ กี ารรือ้ ฟืน้ –เซ็นเซอร์-- กลับมา โดย สร้างภาพให้เห็นว่าเป็นสถาบันทีเ่ ก่าแก่และยังมีอ�ำ นาจ เพือ่ ทำ�หน้าทีท่ างความคิดให้คนชัน้ ล่างเห็นว่าความไม่เท่าเทียม รวย จน เป็นเรือ่ งปกติธรรดาทีม่ มี านาน รวมถึงการให้ความ สำ�คัญสถาบันศาสนาเพื่อกล่อมเกลาให้คนเห็นว่าทุกอย่าง เป็นเรื่องที่พระเจ้าหรือกรรมกำ�หนดมนุษย์ไม่สามารถ เปลี่ยนแปลงได้ ที่ยกขึ้นมานี้ล้วนเป็นเรื่องสำ�คัญ ถ้าเราต้องการ เปลี่ยนสังคมนี้ให้เป็นประชาธิปไตยจะมานั่งวิเคราะห์แบบ หลับหูหลับตาไม่ได้ สิ่งที่เรียกกันว่า ศักดินา อันหมายถึง ระบบการผลิตทีเ่ น้นบริโภค ทุกวันนีม้ นั ไม่มตี วั ตนให้เห็นกัน แล้ว จะมีก็แต่ วัฒนธรรมแบบศักดินา ที่ชนชั้นนายทุนยัง อยากให้ด�ำ รงอยูเ่ พือ่ นำ�มาใช้ปกป้องอภิสทิ ธิข์ องเขาเท่านัน้ ถึงตอนนี้อาจจะมีคนตั้งคำ�ถามว่าแล้ว–เซ็นเซอร์-- ที่ดำ�รง อยู่ทุกวันนี้ไม่ใช่สถาบันในระบบศักดินาหรือ? คำ�ตอบคือใช่ ครับแต่ไม่ถูกทั้งหมด ถ้าอ่านหัวข้อที่ 2 ดีๆจะเห็นว่า – เซ็นเซอร์-- มีการปรับตัวให้เข้ากับระบบทุนนิยมได้เป็น อย่างดี –เซ็นเซอร์-- มีการปรับตัวไปตามกระแสโลกอยู่ ตลอดเวลาไม่ได้แช่แข็งอยู่กับที่ และไม่ได้มีอำ�นาจล้นฟ้า อย่างที่พวกซ้ายเก่าเข้าใจ –เซ็นเซอร์-- เป็นเสมือนเครื่อง มือที่ชนชั้นนายทุนทุกกลุ่มชื่นชอบ เพราะสร้างความชอบ ธรรมให้เขาได้ไม่ว่าจะด้านการปกครองหรือการใช้อำ�นาจ ดิบ ดังนั้นการมุ่งวิจารณ์ –เซ็นเซอร์-- จึงไม่ใช่วิธีการที่ถูก ต้องนัก และยังเป็นข้ออ้างที่สร้างความชอบธรรมให้เขาใช้ ความรุนแรงกับเราได้ การต่อสู้ขั้นต่อไปของคนเสื้อแดงจะ ต้องมุง่ ไปทีช่ นชัน้ นายทุนโดยรวมทัง้ หมด เราต้องฉีกกรอบ นีอ้ อกไปเพราะระบบทุนนิยมทีม่ อี ยูท่ กุ วันนีไ้ ม่สามารถมอบ ประชาธิปไตยที่เท่าเทียมด้านการเมืองและเศรษฐกิจให้เรา ได้ ทัง้ ยังเป็นต้นเหตุของปัญหาโลกร้อน สงคราม และความ

อดอยาก การต่อสู้ของคนเสื้อแดงที่รักประชาธิปไตย ควรมี ระบบสังคมนิยมเป็นเป้าหมายสูงสุดไม่ใช่เพือ่ ปฏิวตั เิ สรีนยิ ม ตามที่มีการเสนอ คนที่เห็นด้วยกับการ ปฏิวัติเสรีนิยม คือ คนที่ไม่เข้าใจประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย และยังพึ่งทฤษฎี การวิเคราะห์สงั คมของพรรคเก่าสาย สตาลิน-เหมา อยู่ เขา ไม่เข้าใจความเกลียดชังของพวกอำ�มาตย์ทมี่ ตี อ่ รัฐบาลทักษิณ ที่ใช้นโยบายเศรษฐกิจคู่ขนานนำ�งบประมาณรัฐมาพัฒนา ความเป็นอยูข่ องคนจน ซึง่ พวกอำ�มาตย์คลัง่ เสรีนยิ มมองว่า เป็นการขาดวินยั ทางการคลัง แต่เห็นควรให้เพิม่ งบประมาณ ทหารเพื่อความมั่นคงมากกว่า ผมจึงไม่เห็นด้วยนักเวลามี คนพูดถึงการปฏิวตั เิ สรีนยิ ม เพราะนอกจากมันจะเข้ากันได้ ดีกับพวกเผด็จการแล้วประชาชนส่วนใหญ่ยังหาได้รับประ โยชน์ใดๆจากมันไม่ ดังนั้นข้อเสนอของผม ณ จุดนี้จึงขอเสนอให้พี่น้อง คนเสือ้ แดงจงปฏิเสธแนวคิดการปฏิวตั เิ สรีนยิ ม และเร่งปฏิรปู รณรงค์สร้างรัฐสวัสดิการ เพื่อต่อยอดนโยบายประชานิยม ของพรรคเพื่อไทยให้มีลักษณะที่ถ้วนหน้า ครบคลุม มาก ขึ้น และเพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจในการก้าวต่อไปสู่ขั้น ตอนการปฏิวตั สิ งั คมนิยม สังคมทีเ่ ป็นประชาธิปไตยสมบรูณ์ เพราะระบบเศรษฐกิจการเมืองถูกควบคุมโดยคนส่วนมาก สังคมทีว่ างแผนการผลิตเพือ่ สนองความต้องการของมนุษย์ ไม่ใช่เพื่อกำ�ไร สังคมที่รัฐบาลเป็นคนของประชาชน ไม่มี อำ�นาจนอกระบบ ทุกคนเท่าเทียมกัน ไม่มี 2 มาตรฐาน ไม่มี การกดขี่ ถ้าเห็นด้วยกับผมมากับเราสิองค์กรเลี้ยวซ้ายรอ คุณอยู่

อ้างอิง 1. ประจวบ อัมพะเศวต : พลิกแผ่นดิน ตอน ขบวนการสังคมนิยม ในไทย 2. วิวัฒน์ คติธรรมนิตย์ : กบฏสันติภาพ 3. ใจ อึ๊งภากรณ์ : เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ข้อถกเถียงทางการ เมือง 4. ภูวน หงดิน : การเดินทางของ“ลัทธิมาร์คซ์”ในสยาม 5. Ernest Mandel : เศรษฐศาสตร์การเมืองเบื้องต้น 6. สมภพ มานะรังสรรค์ : แนวโน้มพัฒนการเศรษฐกิจไทย ในช่วง ก่อนและหลังการปฏิรูปการปกครอง ในรัชสมัย ร.5 7. ใจ อึ๊งภากรณ์ และคณะ : การเมืองไทยในทัศนะลิทธิมาร์คซ์ 8. ใจ อึ๊งภากรณ์ : บทความเรื่อง พวกเสรีนิยมประชาธิปไตยรถถัง

เลี้ยวซ้าย กรกฎาคม ๕๔ หน้า ๗


Speak Out

เปลวเทียน ส่องทาง

ที่มา www.prachatai.com

“ประเวศ-บุญชัย” และค่าแรง 300 บาท ภายหลังจากนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ว่าที่ นายกรัฐมนตรี ได้ประกาศนโยบายการเข้าไปตรวจสอบ โครงสร้างต้นทุนสินค้าของผู้ประกอบการ รวมทั้งการ ขึ้นค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำ�เป็น 300 บาท เพื่อช่วยเหลือ เรื่องปากท้องประชาชน ผู้ประกอบการหลาย ๆ ฝ่ายก็ มีเสียงสะท้อนต่าง ๆ ตามมา รวมถึงสหพัฒน์ บริษัทผู้ ผลิตและจำ�หน่ายสินค้าอุปโภคบริโภครายใหญ่ "บุญชัย โชควัฒนา" ประธานกรรมการบริหาร บริษัท สหพัฒนพิบูล จำ�กัด (มหาชน) ผู้ผลิตสินค้า อุปโภคบริโภครายใหญ่ แสดงทรรศนะถึงนโยบายดัง กล่าวว่า นโยบายการปรับขึน้ ค่าจ้างแรงขัน้ ต่�ำ เป็น 300 บาท รัฐไม่ควรดำ�เนินนโยบายเช่นนี้ หากทำ�จริง จะ เป็นเรื่องที่เสียหายมาก ระบบจะพัง นักลงทุนจะหนี หายหมด เหมือนกับกรณีทนี่ กั ลงทุนจีนหนีมาลงทุนใน ตลาดไทย เพราะประเทศจีนมีการปรับขึน้ ค่าแรงขัน้ ต่�ำ ก่อนหน้านี้ นายประเวศ วะสี ปาฐกถาในงาน ประชุมประจำ�ปีสภาพัฒน์ฯ ชีน้ โยบายค่าแรงวันละ 300 บาททำ�ไม่ได้ จะทำ�ให้สินค้าไทยสู้ต่างประเทศไทยไม่ ได้ แต่หากทำ�ให้แรงงานมีทพี่ กั -อาหารพอเพียง แม้ได้ ค่าจ้างวันละ 150 บาทเงินก็เหลือและแรงงานก็อยู่ได้ หากเชื่อมโยงผู้บริโภคในเมืองกับผู้ทำ�เกษตรยั่งยืนจะ เป็นพลังขับเคลื่อนไป สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ทัง้ บุญชัยและประเวศ ล้วนเป็นผูส้ นับสนุนระบอบ อำ�มาตยาธิปไตย มักวิพากษ์ทนุ อีกฝ่ายหนึง่ ว่าเป็นทุน

สามานต์ เช่นเดียวกับ ณรงค์ เพชรประเสริฐ เจ้าทฤษฎี แห่งสำ�นักนี้ และเสนอทางแก้ไขปัญหาไม่ได้ใช้หลักวิชา ไม่ได้น�ำ งานวิจยั มาแก้ไขปัญหาค่าจ้าง แรงงานแต่อย่าง ใด ในทางกลับกันกับเสนอทางแก้เข้าข้างนายทุนทีเ่ ห็น แก่ตัวด้วยซ้ำ�ไป รากเหง้าทางความคิดของคนเหล่านี้ เป็นไปใน ทางวิธีคิดแบบเศรษฐกิจแบบพึ่งตนเอง พอเพียงผสม ผสานอยู่ในตัมันเอง หรืออีกด้านหนึ่งให้ขูดรีดตนเอง มากกว่าเรียกร้องสิทธิอันพึงมีพึงได้ของคนจน ของผู้ ใช้แรงงาน มากกว่าแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างแห่งความ เหลื่อมล้ำ�ที่หลายครั้งคนเหล่านี้พูด ถึงเพียงลมปาก เท่านั้นเอง ขณะที่นักเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก ก็เสนอให้ เศรษฐกิจเจริญเติบโตก่อน แล้วการกระจายรายได้จะ ตามมา ซึง่ ไม่รเู้ มือ่ ไหร่จะมาสักที เพราะเศรษฐกิจเติบโต แต่กลับไม่มีการกระจายรายได้ให้เห็น จากการศึกษาของผู้ใช้แรงงานพบว่า ค่าใช้จ่าย ในการดำ�รงชีพของลูกจ้างต่อวัน ซึ่งประกอบด้วย ค่า พาหนะ , ค่าอาหาร เครื่องดื่ม , ยารักษาโรค มีค่าเฉลี่ย ออกมาสูงถึง ๑๙๘ บาท ต่อวัน ค่าใช้จ่ายประจำ�เดือน ซึง่ ประกอบด้วย ค่าเช่าบ้าน ทีพ่ กั , ค่าน้�ำ ประปา กระแส ไฟฟ้า , ค่ากิจกรรมทางสังคม , ค่าเลี้ยงดูครอบครัว , ค่าใช้จ่ายในครัวเรือน และค่าใช้จ่ายในการศึกษาเรียน รู้ มีค่าเฉลี่ยออกมาสูงถึง ๗,๘๐๐ บาท ต่อเดือน

เลี้ยวซ้าย กรกฎาคม ๕๔ หน้า ๘


คณะกรรมการค่าจ้างกลางหรือบอร์ดค่าจ้าง ได้ สำ�รวจ แรงงานในพืน้ ทีก่ รุงเทพฯและจังหวัดปริมณฑล รายรอบ มีรายได้ไม่พอต่อรายจ่ายตามอัตภาพ วันละ 6.8-11 บาท และไม่พอต่อรายจ่ายตามคุณภาพชีวิต วันละ 24-25 บาท ขณะที่โดยภาพรวมรายภาคนั้น แรงงานที่อยู่ในพื้นที่ภาคกลางมีรายได้น้อยกว่า ราย จ่ายสูงที่สุด คือมีรายได้ไม่พอต่อรายจ่ายตามอัตภาพ วันละ 32.67 บาท และไม่พอต่อรายจ่ายตามคุณภาพ ชีวิต วันละ 48.81 บาท การสำ�รวจผู้ใช้แรงงานทั่วประเทศกว่า 23,194 คน ช่วง 1 เม.ย. - 31 พ.ค. 2554 เฉลี่ยค่าใช้จ่ายราย เดือนของแต่ละคนนัน้ ค่าอาหารอยูท่ ี่ 2,015 บาท, ค่าที่ พัก 1,400 บาท, ค่าพาหนะ 649 บาท, ค่าใช้จ่ายส่วน ตัว 819 บาท ซึ่งว่ากันเฉพาะค่าใช้จ่ายหลักเหล่านี้ ไม่ รวมค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด-สันทนาการ รวมแล้วก็เดือน ละ 4,883 บาท รศ.ดร.แล ดิลกวิทยรัตน์ ผอ.ศูนย์พฒ ั นาแรงงาน และการจัดการ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เคยแสดงความคิดเห็นไว้วา่ ... การสำ�รวจ อัตราค่าครองชีพกับค่าใช้จา่ ยของแรงงานในแต่ละครัง้ ผลออกมาก็ ’ไม่เคยพอกิน" ยิ่งถ้ามีหนี้สิน กู้เงินนอก ระบบมาใช้ ยิ่งมีปัญหา แรงงานต้องทำ�โอที-ทำ�งาน ล่วงเวลา

"ต้องทำ�โอทีอย่างน้อยวันละ 2-4 ชั่วโมง เพื่อ ให้ได้เงินเพิม่ การไม่พอกินทำ�ให้เกิดปัญหาสังคม ปัญหา ครอบครัวตามมา คือไม่มีเวลากลับบ้านไปหาพ่อ-แม่ ไม่มเี วลาอยูก่ บั ครอบครัว ลูกเมีย หรือไม่มเี วลาไปเรียน รู้เพิ่มเติมเพื่อพัฒนาทักษะ ศักยภาพ เพื่อให้ได้ขึ้น ค่าแรง ก็เลยต้องทำ�งานแบบย่ำ�อยู่กับที่ ไม่ได้ไปไหน ไกล" ดังนั้น กรณี ’ค่าแรงขั้นต่ำ� 300 บาท" ที่กำ�ลัง เป็นประเด็น ถึงขึ้นได้จริง ๆ "ก็ยังคง ไม่เพียงพอกับ การดำ�รงชีวติ อยูด่ ี ซึง่ แต่ละวันลูกจ้างต้องจ่ายค่ารถไป ทำ�งาน บางคนไป-กลับวันละหลายต่อ ไหนจะค่าอาหาร ค่าเช่าบ้าน ค่าสังคมต่าง ๆ บางคนมีลูกมีเมียต้องดูแล ยังไงก็ไม่มีทางพอแน่นอน" ชีวิตที่เป็นจริงของผู้ใช้แรงงานมักต้องทำ�งาน มากกว่าวันละแปดชั่วโมง ต้องทำ�โอที ต้องทำ�ฮอลลิ เดย์ ไม่มีวันหยุด ไม่มีเวลาพักผ่อน จึงไม่ได้นั่งสมาธิ จึงไม่ได้สนทนาธรรมกันทีโ่ รงแรมหรู ต้องดิน้ รนเพือ่ ให้ มีเงินพอทีต่ นเองและครอบครัวมีชวี ติ อยูร่ อด ซึง่ แน่นอน ว่า ประเวศ และบุญชัยมิได้ใช้ชีวิตดั่งผู้ใช้แรงงาน ผู้ สร้างสรรพสิ่งให้โลกใบนี้

เลี้ยวซ้าย กรกฎาคม ๕๔ หน้า ๙


สังคมใหม่

ลั่นทมขาว

การปฏิวัติเพื่อประชาธิปไตย ถ้าเราศึกษาประวัตศิ าสตร์การต่อสูท้ างชนชัน้ ทั่วโลก เราจะพบว่ามีการปฏิวัติสองประเภทคือ (1) การปฏิวัติทาง “สังคม” และ (2) การปฏิวัติทาง “การเมือง” การปฏิวัติทาง “สังคม” การปฏิวัติทาง “สังคม” คือการปฏิวัติที่ เปลีย่ นแปลงระบบเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองหมด เลย แต่ไม่ใช่ว่าเปลี่ยนในวันเดียวหรือเปลี่ยนในวัน ปฏิวตั ิ มันเป็นเรือ่ งทีส่ ะสมมานาน จากการเปลีย่ นแป ลงเล็กๆ น้อยๆ ในการผลิต และการเปลี่ยนแปลง เล็กๆ น้อยๆ ในสภาพสังคม จนถึงจุดวิกฤตทีเ่ กิดจาก การทีโ่ ครงสร้างการปกครองเก่าไม่สอดคล้องกับสภาพ เศรษฐกิจและสังคม อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลง ไม่ใช่เรือ่ งอัตโนมัตทิ เี่ กิดจากสภาพเศรษฐกิจและสังคม ที่ “ชน” กับโครงสร้างการปกครอง เหมือนกับว่า มนุษย์ไม่เกี่ยวข้องเลย เพราะโครงสร้างการปกครอง ประกอบไปด้วยผู้นำ�และเจ้าหน้าที่ที่เป็นเป็นมนุษย์ กิจกรรมทางเศรษฐกิจก็เป็นการกระทำ�ของมนุษย์ และสังคมประกอบไปด้วยมนุษย์เช่นกัน ดังนั้นการ เปลี่ยนแปลงที่มาจากความขัดแย้งที่พึ่งกล่าวถึงไป แล้วนี้ เกิดจากการรวมตัวกันต่อสูร้ ะหว่างมนุษย์อย่าง

น้อยสองฝ่าย หรือสองชนชั้น ซึ่งไม่มีหลักประกันว่า ฝ่ายไหนจะชนะ มีแต่ “แนวโน้มความเป็นไปได้” ของ ความพ่ายแพ้หรือการชนะ ทีข่ นึ้ อยูก่ บั สภาพเศรษฐกิจ สังคม และการกระทำ�ของมนุษย์บวกกัน ยิ่งกว่านั้น การปฏิวัติไม่ได้จบลงหรือชนะในวันสองวัน บางครั้ง ใช้เวลาเป็นสิบๆ ปี การปฏิวตั ทิ าง “สังคม” เป็นการปฏิวตั ทิ เี่ ปลีย่ น ระบบการปกครองและปูทางไปสู่การเดินหน้าพัฒนา ของระบบเศรษฐกิจสังคมแบบใหม่ ตัวอย่างคือการ ปฏิวตั ทิ นุ นิยมในอังกฤษ ค.ศ. 1640-1688 ในอเมริกา ค.ศ. 1776-1861 และในฝรัง่ เศส ค.ศ. 1789-1848 หรือ การปฏิวัติสังคมนิยมในรัสเซีย ค.ศ. 1917-1928 ซึ่ง ในกรณีหลังถูกล้มโดยการปฏิวัติซ้อนของ สตาลิน ที่ ดึงทุนนิยมกลับมา ปรากฏการณ์ทมี่ กั เกิดขึน้ ท่ามกลางการปฏิวตั ิ ทาง “สังคม” ทีน่ �ำ ไปสูก่ ารสถาปนาทุนนิยมคือ นายทุน ใหญ่สุดมักจะขี้ขลาด อยากเห็นแค่การปฏิรูปเล็กๆ น้อยๆ โดยไม่แตะโครงสร้างการปกครอง ทัง้ นีเ้ พราะ นายทุนใหญ่สุดมักไปคลุกคลีเข้าสังคมกับผู้มีอำ�นาจ ในโครงสร้างเก่า เช่นพวกขุนนาง และบางครัง้ นายทุน ใหญ่ใช้เงินซือ้ ตำ�แหน่งขุนนางด้วย ในกรณีการปฏิวตั ิ

เลี้ยวซ้าย กรกฎาคม ๕๔ หน้า ๑๐


อเมริกาเพือ่ เสรีภาพจากอังกฤษ เพือ่ สถาปนารัฐชาติ ทุนนิยมของสหรัฐ นายทุนใหญ่อเมริกาที่ค้าขาย โดยตรงและได้ประโยชน์จากการปกครองของอังกฤษ จะไม่ยอมร่วมการปฏิวัติ ดังนัน้ คนทีเ่ ป็นหัวหอกในการปฏิวตั มิ กั จะเป็น คนระดับกลางๆ แต่คนพวกนี้เป็นคนส่วนน้อยของ สังคม จึงต้องพึ่งพามวลชนคนจนที่เป็นคนชั้นล่าง อย่างไรก็ตามชัยชนะของการปฏิวัติมาจากการที่มี กลุ่มก้าวหน้าและกล้าหาญเด็ดขาดในชนชั้นกลางๆ ดังกล่าว เช่นกลุ่มของ Oliver Cromwell ในอังกฤษ หรือพวก Jacobin ของ Robespierre ในฝรั่งเศส ซึ่ง พอล้มโครงสร้างอำ�นาจเก่าไปแล้ว ส่วนหลักๆ ของ ชนชั้นนายทุนใหญ่ก็ก้าวเข้ามาฉวยโอกาสยึดอำ�นาจ ในขัน้ ตอนต่อไป ในสหรัฐเมือ่ ล้มอำ�นาจอังกฤษนายทุน ใหญ่จะเพิกเฉยต่อข้อเรียกร้องของเกษตรกรรายย่อย และช่างฝีมือที่เคยเป็นกำ�ลังสำ�คัญในการปฏิวัติ ใน กรณีฝรั่งเศส Robespierre ถูกประหารชีวิตในขั้น ตอนที่นายทุนใหญ่ยึดอำ�นาจ และในกรณีอังกฤษกับ ฝรั่งเศสมีการปราบขบวนการคนจนที่เคยเป็นพลัง สำ�คัญในการปฏิวัติด้วย แต่ไม่ว่านายทุนใหญ่จะยึดอำ�นาจจากพวก

กลางๆ ทีก่ ล้าหาญสุด ถ้าไม่มพี วกนีแ้ ต่แรกการปฏิวตั ิ จะถอยหลังและไม่สามารถล้มอำ�นาจเก่าได้ จะไม่มี การประหารชีวิตกษัตริย์ หรือจะไม่มีการประกาศยก เลิกระบบฟิวเดิลแบบที่เกิดขึ้นในฝรั่งเศส ในกรณี สงครามกลางเมืองระหว่างรัฐเหนือกับใต้ในอเมริกา ในปี ค.ศ. 1861 ซึ่งถือว่าเป็นขั้นตอนที่สองของการ ปฏิวัติทุนนิยมอเมริกาที่เริ่มตั้งแต่ 1776 คนอย่าง ประธานาธิบดี Abraham Lincoln ต้องถูกกดดันให้ ประกาศยกเลิกระบบทาส ถึงจะนำ�ไปสูช่ ยั ชนะของรัฐ ทุนนิยมทางเหนือ เพราะรัฐทุนนิยมทางใต้อาศัยระบบ ทาสผิวดำ�ในไร่ขนาดใหญ่ และการประกาศยกเลิก ทาสเป็นการประกาศทำ�ลายโครงสร้างเศรษฐกิจของ รัฐใต้โดยสิน้ เชิง และชักชวนให้ทาสทัง้ หลายกบฏและ อาสาสมัครเข้ามารบในกองทัพเหนือ พูดง่ายๆ มาตรฐาน เด็ดขาดที่ทำ�ลายฝ่ายตรงข้ามสำ�คัญ กษัตริย์ การที่การปฏิวัติทุนนิยมในอังกฤษ อเมริกา หรือฝรั่งเศส จะจบลงด้วยการมีกษัตริย์หรือไม่ ไม่ใช่ ประเด็นสำ�คัญ เพราะในอังกฤษและฝรั่งเศสมีการนำ� กษัตริย์หรือจักรรพรรดิกลับมาใช้เป็นเครื่องมือภาย ใต้ระบบทุนนิยม เพียงแต่วา่ ในภายหลัง หลังการลุกฮือ

เลี้ยวซ้าย กรกฎาคม ๕๔ หน้า ๑๑


ของกรรมาชีพหลายรอบ และโดยเฉพาะในคอมมูน ปารีสปี ค.ศ. 1871 มีการยกเลิกกษัตริย์ฝรั่งเศสอย่าง ถาวร เกือบหนึ่งร้อยปีหลังการเริ่มต้นของการปฏิวัติ ฝรั่งเศส ประเด็นที่สำ�คัญกว่ารูปแบบประมุขคือ การ ปฏิวัติมันปูทางไปสู่ทุนนิยม และทุนนิยมดังกล่าวที่ เกิดขึ้นในอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือสหรัฐอเมริกา ไม่ได้ เป็นประชาธิปไตยโดยอัตโนมัติ ไม่วา่ ชนชัน้ ปกครอง จะใช้ความคิดเสรีนิยมกลไกตลาดหรือไม่ เพราะต้อง มีการต่อสู้ต่อไปของคนชั้นล่างเพื่อสิทธิในการเลือก ตั้ง เรื่องการมีหรือไม่มีกษัตริย์ยิ่งสลับซับซ้อนขึ้น ในกรณีการปฏิวตั ทิ าง “สังคม” ทีน่ �ำ ไปสูท่ นุ นิยมของ ไทยและญีป่ นุ่ เพราะกษัตริยร์ ชั กาลทีห่ า้ และจักรพรรดิ ญี่ปุ่น เป็นหัวหอกในการปฏิวัติล้มระบบศักดินาและ ระบบฟิวเดิล รูปแบบนี้คือการปฏิวัติทาง “สังคม” ที่ นำ�ไปสู่ทุนนิยม ที่เกิดจากเบื้องบนเอง เพราะชนชั้น ปกครองในสองประเทศนีเ้ ข้าใจว่าจะต้องสร้างรัฐชาติ สมัยใหม่ โดยการล้มระบบเก่า ถ้าจะยับยั้งไม่ให้ มหาอำ�นาจตะวันตกเข้ามายึดครองบ้านเมือง การปฏิวัติทาง “การเมือง” การปฏิวตั ทิ าง “การเมือง” คือการปฏิวตั ทิ ตี่ นื้ และผิวเผินกว่าการปฏิวัติทาง “สังคม” แต่นั้นไม่ได้ หมายความว่ามันไม่สำ�คัญ การปฏิวตั ทิ าง “การเมือง” เป็นการลุกฮือโดยมวลชนหรือขบวนการเพือ่ ล้มรัฐบาล และระบบการปกครอง โดยที่ไม่เปลี่ยนองค์ประกอบ หลักๆ ของเศรษฐกิจกับสังคม ตัวอย่างที่ดีคือการ ปฏิวัติล้มเผด็จการ เพื่อนำ�ประชาธิปไตยเข้ามา เช่น ในอียิปต์ กับ ตูนิเซีย ปีนี้ หรือในไทยช่วง การปฏิวัติ ๒๔๗๕ หรือการล้มเผด็จการในวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ เป็นต้น แน่นอนการปฏิวัติทาง “การเมือง” จะเปลี่ยน มากกว่าแค่รฐั บาล อาจเปลีย่ นบุคคลากรในส่วนอืน่ ๆ ของรัฐด้วย เช่นพรรคพวกของอำ�นาจเก่าในกองทัพ หรือในระบบยุตธิ รรม และในการปฏิวตั ิ ๒๔๗๕ มีการ

เปลี่ยนเจ้าหน้าที่ระดับต่างๆจากพวกตระกูลขุนนาง ไปเป็นคนชัน้ กลาง แต่ระบบเศรษฐกิจ และโครงสร้าง หลักของสังคมในทุกกรณียังเป็นระบบทุนนิยมเดิม การปฏิวัติ “ถาวร” การปฏิวัติทาง “การเมือง” ที่ล้มเผด็จการ มี ความสำ�คัญเพราะเปิดพืน้ ทีส่ �ำ หรับการรวมตัว จัดตัง้ และการต่อสู้ของชนชั้นกรรมาชีพและขบวนการ สังคมนิยม ถึงแม้ว่าจะไม่เป็นการล้มทุนนิยมก็ตาม อย่างที่ โรซา ลัคแซมเบอร์ค เคยอธิบาย แต่ประเด็น สำ�หรับเราที่เป็นนักสังคมนิยมคือ ในเมื่อคนชั้นล่าง เสียสละ เจ็บปวด และออกแรงในการปฏิวัติทาง “การเมือง” ที่นำ�ไปสู่ประชาธิปไตยทุนนิยม เราจะ ทนสภาพการขูดรีดและความเหลือ่ มล้�ำ ในระบบทุนนิยม ไปทำ�ไม ลองนึกย้อนกลับไปถึงสภาพสังคมก่อนการ รัฐประหาร ๑๙ กันยา ก็ได้ สภาพความเป็นอยู่ของ คนธรรมดาอาจดีกว่าภายใต้รัฐบาลประชาธิปัตย์ แต่ ค่าแรงก็ไม่เคยพอ ไม่มีความมั่นคงของรัฐสวัสดิการ และความเหลื่อมล้ำ�ระหว่างคนจนกับคนรวยสูงมาก ยิง่ กว่านัน้ ในทางการเมืองก็มอี �ำ นาจนอกรัฐธรรมนูญ สองมาตรฐาน มีการแทรกแซงการเมืองโดยทหาร และนายจ้ า งใช้ ก ฏหมายเพื่ อ สร้ า งอุ ป สรรค์ กั บ สหภาพแรงงานเสมอ ดังนั้นนักสังคมนิยมมาร์คซิสต์ จะพยายาม ชักชวนคนเสื้อแดงให้ไปไกลกว่าแค่การปฏิวัติทาง “การเมือง” คือให้ปฏิวัติ “ถาวร” ไปสู่การปฏิวัติทาง “สังคม” และล้มทุนนิยมเพือ่ สถาปนาสังคมนิยมแทน ประชาชนจะได้มีสิทธิเสรีภาพทั้งทางการเมืองและ เศรษฐกิจพร้อมกัน พูดง่ายๆ ประชาชนจะเป็นใหญ่ จริงในแผ่นดิน โดยควบคุมการเมือง เศรษฐกิจ และ สังคม นี่คือข้อเสนอที่ ลีออน ตรอทสกี เคยเสนอในปี ค.ศ. 1906 เลนิน เคยเสนอในปี 1917 และที่ คาร์ล มาร์คซ์ เคยเสนอแต่แรกในปี 1848 มันเป็นสิ่งที่เรา ต้องเสนอในไทยในปัจจุบันในขณะที่เราร่วมทำ�การ ปฏิวัติทาง “การเมือง” เพื่อประชาธิปไตย

เลี้ยวซ้าย กรกฎาคม ๕๔ หน้า ๑๒


Speak Out NTW.

วิพากษ์ “ประวัติศาสตร์ แบบไทยๆ คำ�ว่า “ประวัตศิ าสตร์”นัน้ ถ้าจะกล่าวแล้วก็คือเรือ่ ง ราวในอดีต ที่มนุษย์ได้กระทำ�ไว้ จะโดยตั้งใจหรือไม่ มันก็ คือ “ประวัติศาสตร์” ข้าพเจ้าเชื่อว่าผู้อ่านหลายท่านก็คงจะ ไม่คอ่ ยชอบวิชาประวัตศิ าสตร์มากนัก ซึง่ ก็เป็นสิทธิของตน แต่ถ้ามองในอีกด้านหนึ่งแล้ว เมื่อไม่รู้อดีต(ประวัติศาสตร์) ย่อมไม่เข้าใจปัจจุบนั และความเป็นไปของอนาคต การเรียน รู้ประวัติศาสตร์นั้นจะทำ�ให้เราเข้าใจในความดำ�รงอยู่ของ สังคมปัจจุบัน ปัญหาต่างๆ และเมื่อนำ�มาวิเคราะห์ด้วย กระบวนวิธีทางประวัติศาสตร์ ซึ่งมีเหตุผลเป็นวิทยาศาสตร์ แล้วก็จะ คาดคะเนอนาคตที่จะเกิดขึ้นได้ ว่าเป็นเช่นไร? อย่างไร? แต่ “ประวัตศิ าสตร์ไทย” นัน้ มักจะเป็นประวัตศิ าสตร์ ทีถ่ กู ตัดตอน คือเอามานำ�เสนอแค่ดา้ นเดียว เป็นประวัตศิ าสตร์ แบบ “ราชาชาตินิยม” ศูนย์กลางเรื่องอยู่ที่พระมหากษัตริย์ อยูท่ ชี่ นชัน้ ปกครอง ไม่เห็นความสำ�คัญของราษฎร ประวัตศิ าสตร์ แบบราชาชาตินิยม นี้ให้ข้อมูลแต่ด้านเดียว ประวัติศาสตร์ แบบราชาชาตินิยมนั้น มักจะได้รับการเอาใจใส่จากชนชั้น ปกครอง ให้เรียนรูป้ ระวัตศิ าสตร์เช่นเรือ่ ง เสียดินแดน ๑๔ครัง้ , เขาพระวิหารเป็นของไทย อะไรประมาณนี้ หรือแม้กระทั่ง เนื้อเพลงชาติที่ร้องกันทุกวันนี้ ถ้าตั้งคำ�ถามแล้วจะโดนหา ว่าเป็นคนไทยหรือเปล่า? ประวัตศิ าสตร์แบบนีน้ นั้ มักจะสอน ให้ซาบซึ้งและ “กล่อมประสาท” ไปวันๆ กล่อมประสาทจน ไม่มีอะไรน่าตื่นเต้น “ในขณะที่เราเรียกร้องให้ระบบการศึกษาผลิตคนที่ คิดเป็น เรากลับเรียกร้องให้เยาวชนเสพประวัติศาสตร์เป็น ยากล่อมประสาทหนักเข้าไปอีก”(ธงชัย วินิจจะกูล) การเรียนประวัตศิ าสตร์ไทยตอนนีน้ นั้ เป็นประวัตศิ าสตร์ ทีไ่ ม่เป็น “หลักวิทยาศาสตร์” สอนให้ทอ่ งจำ�อย่างเดียว และ บิดเบือนสัจจะอย่างรุนแรงในสายสำ�นักพวกอนุรักษ์นิยม ที่ เข้ามาครอบงำ�ความรูใ้ นด้านนี้ ประวัตศิ าสตร์ไทยแบบ “ราชา ชาตินิยม” นั้นสมควรจะถูกตั้งคำ�ถาม และวิพากษ์วิจารณ์ ได้ นี้ไม่ได้ขัดต่อกรอบคิด “ศีลธรรมอันดีงามของไทย” แต่

อย่างใด ในเรื่องการวิพากษ์วิจารณ์ “ถ้าประกาศปวารณาตนเป็นพุทธศาสนิกชน และ ไม่สามารถยอมรับวัฒนธรรมวิพากษ์วิจารณ์และการตั้ง คำ�ถามได้แล้ว ถือว่านับถือมายา เดรัจฉานวิชชา มิจฉาทิฐิ หาเป็นพุทธศาสนิกชนไม่”(ตามทัศนะข้าพเจ้า) ศาสนาพุทธนั้น ผู้คนมักอ้างว่าเป็นศาสนาแห่ง เหตุ-ผล แล้วถ้ามิอาจวิพากษ์วิจารณ์ได้แล้ว สังคมไทยที่ อ้างว่าเป็นพุทธนัน้ ก็มใิ ช่พทุ ธ(หรืออาจเป็น พุทธแบบไทยๆ) แต่เป็นมิจฉาทิฐิ(ความเห็นที่ผิด)” และก็ยังทำ�ให้พระบรม ศาสดาทีต่ วั เองยกย่องนับถือนักหนาแปดเปือ้ นหรือไม่จริง? “ประวัติศาสตร์แบบที่ “ไม่ต้องคิด” เป็นส่วนหนึ่ง ของจารีตประเพณีอันดีงามของไทยประวัตศิ าสตร์ทบี่ อกว่า “รัฐก่ออาชญากรรม” “ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์” ทำ�ให้ คนบ้าคลัง่ เสียสติเหมือนคนเสพยาบ้า แล้วฆ่าคนอืน่ ได้อย่าง ทารุณ(ดูภาพเหตุการณ์ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙) (ธงชัย วินิจจะ กูล) สุดท้าย แล้วขอฝากข้อความจากปัญญาชน ๓ ท่าน เพือ่ สะท้อนสังคมในปัจจุบนั ได้ดี และเตือนใจให้พวกอนุรกั ษ์ นิยมเลิก “คลั่งชาติ” มานิยม “มนุษยชาติ”แทนจะดีกว่า ไหม? “ สิง่ ใดบังคับให้เทิดทูนสักการะ สิง่ ใดลวงให้ซาบซึง้ น้ำ�ตาไหล สิ่งใดถูกตั้งคำ�ถามและตรวจสอบมิได้ สิ่งนั้นคือ มายา-อวิชชา-มิจฉาทิฐิ” (มุกหอม วงษ์เทศ) “การศึกษาประวัติศาสตร์ตามจารีตของไทยไม่ได้มี ไว้เพื่อยกระดับการคิดการใช้สมองของประชากร ไม่ได้มุ่ง หมายผลิตปัจเจกชนทีอ่ สิ ระ หัวแข็ง ไม่ยอมเชือ่ อะไรง่ายๆ” (ธงชัย วินิจจะกูล) “ก็มนุษย์นั้น ถ้าไม่มั่นในสัจจะ และไม่มุ่งในความ ยุติธรรมเสียแล้ว อาจเลวกว่าเดรัจฉานก็ได้ มิใช่หรือ” (สุลักษณ์ ศิวรักษ์)

เลี้ยวซ้าย กรกฎาคม ๕๔ หน้า ๑๓


จัดตั้ง

สมุดบันทึกสีแดง

ก้าวที่สองของพวกเราเสื้อแดง หลังการเลือกตั้ง ผลการเลือกตัง้ มันเป็นความยินดี มันเป็นความสะใจ มันเป็นการตบหน้าอำ�มาตย์ทงั้ ตัวเล็กและตัวใหญ่ในสถาบัน ต่างๆ นอกเหนือมากไปกว่านั้นคือ ความมั่นใจของคนเสื้อ แดง ความมัน่ ใจในพละกำ�ลังของคนธรรมดาทีใ่ ช้อดุ มการณ์ การเมืองแบบประชาธิปไตย อุดมการณ์การเมืองทางชนชัน้ แยกเขาแยกเราที่เขย่าทุกเสาหลักของโครงสร้างการเมือง ไทยให้เหลือแต่ความจริงอันน่าเกลียดน่ากลัว ผลงานครั้งนี้ มันจะทำ�ให้ฝ่ายอำ�มาตย์มันอ่อนแอลงและพวกเราสามารถ กวาดพวกอำ�มาตย์ออกไปจากวงจรทางการเมืองได้ระดับ หนึ่ง จำ�นวนตัวเลขที่น่าทึ่ง 265 ที่นั่ง เป็นจำ�นวนที่พรรค เพื่อไทยสามารถตั้งรัฐบาลได้โดยไม่ต้องพึ่งพรรคการเมือง พรรคอืน่ ๆ ปฏิเสธไม่ได้วา่ นีค่ อื ปรากฏการณ์ลงโทษอำ�มาตย์ ลงโทษพวกทีท่ �ำ ลายประชาธิปไตย อย่างไรก็ตามพรรคเพือ่ ไทย เป็นพรรคที่เล่นการเมืองกระแสหลัก ภายใต้กติกาที่ไร้ ความยุติธรรมเขียนกฎโดยอำ�มาตย์ ภาพของรัฐบาลที่มี หลายพรรคเหล่านี้เป็นภาพที่ไม่น่าแปลกใจ แต่ที่เราควรจะ เอะใจและถามอยู่ตลอดเวลาคือ นักการเมืองเหล่านี้จะถอย ห่างออกจากอุดมการณ์ของคนเสือ้ แดงหรือไม่ แน่นอนพรรค เพื่อไทยมีวันนี้ได้ เพราะคนเสื้อแดงปกป้องและให้การ สนับสนุนพรรคเพื่อไทย โครงสร้างหลักๆทุกตัวของระบบ ล้วนแต่สร้างขึ้นมาเพื่อทำ�ลายพรรคเพื่อไทย ความจริงข้อนีไ้ ม่ควรกลับหัวกลัวหาง อย่างไรก็ตาม 4-5 ปีที่ผ่านมา ฝ่ายรัฐบาลอำ�มาตย์มันไม่ทำ�อะไรนอกจาก สะสมทับถมปัญหาไปเรื่อยๆ ฉะนั้น ณ เวลานี้ คำ�ถามต่างๆ

จึงหลัง่ ไหลพรัง่ พรูออกมาเหมือนน้�ำ ทีแ่ ตกออกมาจากเขือ่ น ไม่วา่ คำ�ถามจะเยอะขนาดไหนพวกเราก็จะต้องร่วมกันตอบ คำ�ถามทีพ่ วกเรากำ�ลังถาม เป็นคำ�ถามเดียวกันกับประชาชน คนธรรมดาในหลายประเทศที่กำ�ลังมีการต่อสู้กับเผด็จการ เช่น ในกรณีของ อียิปต์ ตะวันออกกลางหลายประเทศ ส่วน ในยุโรปประเด็นที่เด่นชัดคือ วิกฤติเศรษฐกิจซึ่งลามมาสู่ วิกฤติทางการเมืองเพราะนักการเมืองส่วนใหญ่เลือกที่จะ ทรยศประชาชน (รายละเอียดดูในบทความอื่นๆ ของเลี้ยว ซ้ายในประเด็นวิกฤติในยุโรป) เช่น กรีซ สเปน อังกฤษ และ ฝรั่งเศส คาดว่าจะมีการนัดหยุดงานใหญ่จนถึงการนัดหยุด งานทั่วไป ในฤดูใบไม้ร่วงในช่วงตุลาคมที่จะถึงนี้ ในกรณีของอียิปต์ประชาชนอยู่ภายใต้การกดขี่ของ เผด็จการทหารมากกว่า 30 ปี หลังจากที่เด็ดหัวเผด็จการ ตัวพ่อไปแล้ว สถานการณ์ไม่จบ ยกแรกเป็นยกที่ประชาชน เป็นฝ่ายชนะ ความฝัน ความหวัง และกำ�ลังใจ ของคน ธรรมดา ได้กลายเป็นกลไกสำ�คัญทีท่ �ำ ให้อดุ มการณ์ทางการ เมืองมันพัฒนาต่อไป เช่น อุตสาหกรรมและโครงสร้างพื้น ฐานต่างๆ ถูกแปรรูปให้ไปเป็นของเอกชนหมด ภายใต้ตระกูล ใหญ่ไม่กี่ตระกูล ตอนนี้ข้อเรียกร้องของประชาชน คือ ต้อง นำ�ของเหล่านั้นกลับมาเป็นของรัฐ และจัดการดำ�เนินการ บริหารโดยคนธรรมดา เพื่อคนธรรมดา ความคิดเช่นนี้เมือ สองปีก่อนคนส่วนใหญ่มองว่าเป็นเรื่องของการฝันกลางวัน แต่วันนี้ภายใต้ความมั่นใจของประชาชนพวกเขาฝันไปไกล มากกว่าทีเ่ คยฝัน และพร้อมทีจ่ ะทำ�ให้มนั เป็นความจริง พวก เขามีความมั่นใจในการบริหารประเทศ คนธรรมดาๆต่างรู้ดี

เลี้ยวซ้าย กรกฎาคม ๕๔ หน้า ๑๔


ว่าการปฏิวตั ขิ องประชาชนเพิง่ เริม่ ต้น ในขณะทีช่ นชัน้ กลาง ซึ่งถือว่าเป็นกลุ่มคนส่วนน้อยของขบวนการแต่ร่วมใน ขบวนการ เริ่มไม่แน่ใจในก้าวต่อไป รวมทั้งเรียกร้องให้มี การยุติการต่อสู้เพราะทุกอย่างดูเหมือนจะโอเคแล้ว แต่ ประชาชนชาวอียิปต์ต้องการไปมากกว่านั้น แม้วา่ หัวของเผด็จการจะถูกเขีย่ ออกไป แต่โครงสร้าง เน่าๆ ยังอยู่ รวมถึงซีกอนุรกั ษ์นยิ ม เช่น องค์กรพีน่ อ้ งมุสลิม ของขบวนการซึง่ ไม่เคยกล้าเข้าร่วมเต็มที่กบั ประชาชนชาว อียิปต์ ตอนนี้เริ่มตั้งตัวเองเป็นตัวกลางต่อรอง ก็เริ่มทำ� หน้าทีเ่ ป็นตำ�รวจคอยห้ามการต่อสูข้ องมวลชน ซึง่ ผลทีต่ าม มาสร้างความไม่พอใจให้กับสมาชิกรากหญ้าจำ�นวนมากที่ ได้หนั หลังให้องค์กรพีน่ อ้ งมุสลิม และมองว่าแกนนำ�บริหาร ขององค์กรพีน่ อ้ งมุสลิมมีจดุ ยืนอยูต่ รงกันข้ามกับประชาธิปไตย และตั้งองค์กรขึ้นมาใหม่ภายใต้อุดมการณ์ที่ไปไกลกว่าเดิม บางส่วนของพวกอำ�มาตย์อยี ปิ ต์ได้พยายามจะกลับเข้ามามี อำ�นาจในโครงสร้าง เช่น ตำ�รวจ แต่โดนต่อต้านจากประชาชน อย่างหนัก ประชาชนนับพัน ไปล้อมสถานีตำ�รวจ ไปขูต่ �ำ รวจ ไม่ให้ออกมาปราบปรามประชาชน ในสเปนพรรคการเมืองหลัก ทรยศประชาชนโดย เลือกดำ�เนินนโยบายตามแนว IMF ซึง่ ทำ�ให้ท�ำ ให้อตั ราการ ว่างงานสูงมากในบางเมืองสูงเกือบ 30% และปล่อยให้พวก นายธนาคารมีอำ�นาจ ซึ่งผลที่ออกมามีการออกมาประท้วง ในหลายเมืองเป็นจำ�นวนมาก จากนัน้ เริม่ มีการจัดตัง้ องค์กร คุยเรื่องการเมือง และมองว่านักการเมืองเหล่านี้ไม่มีความ เป็นประชาธิปไตยเพราะไม่ได้สะท้อนความต้องการของ ประชาชน ท่ามกลางกระแสสูงของการต่อสู้พวกเขาคุยว่า พวกเขาต้องการให้การเมืองเป็นอย่างไร เป็นแบบไหน ผู้ เขียนลงรายละเอียดขนาดนี้ทำ�ไม? ในความเห็นส่วนตัว ผู้เขียนมองว่าพวกเราคนเสื้อ แดง ได้กา้ วเข้าสูเ่ ฟสใหม่ของการเดินทางในการเปลีย่ นแปลง และพวกเราเผชิญหน้ากับคำ�ถามชนิดเดียวกันกับทีป่ ระชาชน ในประเทศอื่นเขาเผชิญกันอยู่ ฉะนั้นเราควรจะดูว่าเขาเจอ “ตอหรืออุปสรรค” อะไรบ้าง ตัวอย่างข้างต้นมีจุดร่วมคือ พรรคการเมืองกระแสหลักมีขีดจำ�กัดในการเปลี่ยนแปลง โครงสร้าง แต่ประชาชนคนธรรมดา คนที่อยู่ข้างล่าง คือ บุคคลทีเ่ ปลีย่ นแปลงและปรับปรุงระบบการเมือง ....... ศึกษา บทเรียนเหล่านั้นไว้ก็ไม่เสียหาย คำ�ถามแรกๆ ภารกิจเร่งด่วนเฉพาะของนักการเมือง เพื่อไทย คืออะไร ในมุมมองของผู้เขียนคือ การยกเลิกการ

เซ็นเซอร์แทรกแซงสื่อของพวกอำ�มาตย์ รวมถึงกฎหมาย มาตรา 112 จากนั้นต้องปล่อยนักโทษการเมืองเสื้อแดงทุก คนอย่างไม่มีเงื่อนไข แน่นอนพรรคเพื่อไทยบริหารประเทศ ภายใต้กฎหมายของพวกอำ�มาตย์ไม่ได้ ฉะนัน้ ต้องมีการนำ� รัฐธรรมนูญปี 40 กลับมาใช้ และร่างใหม่ให้มีความเป็น ประชาธิปไตยมากกว่าเดิม ฯลฯ ประเด็นที่คนเสื้อแดงควรจะวิพากษ์วิจารณ์อย่าง กว้างขวางคืออะไร ภารกิจเร่งด่วนของพรรคเพือ่ ไทยไม่ควร ที่จะไปกระจุกตัวอยู่แค่เฉพาะผลประโยชน์เฉพาะหน้าของ นักการเมือง เพราะถ้าทำ�เช่นนั้นมันเป็นการ “กัน” คนเสื้อ แดงออกไป ซึ่งเป็นเรื่องผิดไม่ควรทำ� และ เลือกที่จะเล่น การเมืองอยูใ่ นวงจรอุบาทว์แบบเดิม ซึง่ ก็จะเป็นการนับถอย หลังเพื่อปล้นอำ�นาจประชาชนรอบใหม่เท่านั้นเอง วินาทีนี้ พวกเราต้องการหนีให้พ้นจากวงจรทางการเมืองอันอุบาทว์ อันนี้ อนึง่ พรรคเพือ่ ไทยควรจะจดจำ�ว่าคนเสือ้ แดงก้าวผ่าน ข้อกล่าวหาต่างๆ จากฝ่ายอำ�มาตย์อย่างไม่แยแสว่าเป็นผู้ ก่อการร้ายฯ ผูล้ ม้ ล้างสถาบันฯ ซึง่ เป็นแนวความคิดสกปรก ของฝ่ายขวา ฉะนัน้ พรรคเพือ่ ไทยไม่ควรใช้ความคิดชุดเดียว กับอำ�มาตย์ คนเสื้อแดงจะต้องส่งเสียงเตือนสติพรรคเพื่อ ไทยในความจริงข้อนี้ตลอดเวลา คำ�ถามที่สองคือ จะใช้อุดมการณ์ทางการเมืองแบบ ไหน ถ้าพรรคเพื่อไทยเลือกที่จะใช้กรอบความคิดแบบเดิม ชุดเดิม กับที่อำ�มาตย์มันใช้ ก็จะเป็นสัญญาณที่ไม่ดี พวก เราต้องวิพากษ์วจิ ารณ์ อุดมการณ์ของพวกเราคนเสือ้ แดงก็ ต้องพัฒนาต่อยอดของพวกเราไป เช่น เรื่องการปฏิรูป กระบวนการยุตธิ รรม ความเท่าเทียมกันของความเป็นมนุษย์ การเข้าถึงทรัพยากรของสังคมอย่างเท่าเทียม เป็นต้น คำ�ถามที่สามคือ เราจะเรียกร้องความยุติธรรมให้ วีรชนคนเสือ้ แดงทีส่ ญ ู เสียชีวติ ไปในแต่ละเหตุการณ์อย่างไร จะจัดการกับพวกนายพลมือเปือ้ นเลือดแต่ละคนอย่างไร การ เสียเลือดเนือ้ ของคนเสือ้ แดง ไม่ได้เป็นการเสียเลือดเนือ้ เพือ่ ให้มีความรุนแรงป่าเถื่อนชนิดเดิมๆ รอบใหม่ พวกเราคนเสื้อแดง ไม่ควรกลัวที่จะตั้งคำ�ถามเหล่า นี้ เราต้องถามกับเพื่อนๆ ของเรา ในกลุ่มของเรา ในพรรค ที่เราลงคะแนนเสียงให้ นักการเมืองกับประชาชนจะต้องมี ค่าเท่าเทียมกัน เราต้องตั้งคำ�ถามเพื่อที่จะสร้างคำ�ตอบดีๆ ให้กับคนรุ่นต่อไป ดีใจมากๆ ที่ผลการเลือกตั้งมันตบหน้าอำ�มาตย์ ^O^….

เลี้ยวซ้าย กรกฎาคม ๕๔ หน้า ๑๕


บทความพิเศษ ใจ อึ๊งภากรณ์

ประชาชนปฏิเสธเผด็จการ มือเปื้อนเลือดอย่างชัดเจน การเลือกตั้งครั้งนี้พิสูจน์อย่างเถียงไม่ได้เลย ว่า ประชาชนไทยส่วนใหญ่ มีวุฒิภาวะและอุดมการณ์ ประชาธิปไตย เพียงพอที่จะปฏิเสธเผด็จการมือเปื้อน เลือดของอำ�มาตย์ และสิง่ ทีน่ า่ มหัศจรรย์คอื มันเป็นชัยชนะ ของพรรคเพือ่ ไทยภายใต้สถานการณ์ทยี่ ากลำ�บาก เพราะ ฝ่ายอำ�มาตย์ปิดกั้นสื่อ และกลั่นแกล้งสร้างอุปสรรค์ให้ กับเพื่อไทยและคนเสื้อแดงมาตลอด แต่ค�ำ ถามสำ�คัญหลังการเลือกตัง้ คือ รัฐบาลพรรค เพือ่ ไทยจะมีวฒ ุ ภิ าวะและอุดมการณ์ประชาธิปไตยทีเ่ ท่า เทียมกับประชาชนผูเ้ ลือกหรือไม่ และจะเดินหน้าพัฒนา สิทธิเสรีภาพกับประชาธิปไตย หรือจะประนีประนอมแบบ สกปรกกับฝ่ายเผด็จการ ผลการเลือกตัง้ ครัง้ นี้ พิสจู น์วา่ รัฐบาลประชาธิปตั ย์ ทีก่ อ่ ตัง้ ในค่ายทหาร หลังการยุบพรรคพลังประชาชน ไม่ เคยได้รับการสนับสนุนจากประชาชนส่วนใหญ่เลย และ ประชาชนส่วนใหญ่สนับสนุนขบวนการเสือ้ แดงมาตลอด มันพิสูจน์อีกว่าพวกชนชั้นกลาง สื่อมวลชน เอ็นจีโอ เหลือง และพวกพันธมิตรฯ โกหกเวลาพยายามแสวงหา ความชอบธรรมกับการทำ�รัฐประหาร ๑๙ กันยา ภายใต้ อคติหลอกลวงว่า “มีการโกงการเลือกตั้งในอดีตโดย ไทยรักไทย” หรือ “ประชาชนส่วนใหญ่เข้าไม่ถึงข้อมูล และไม่เข้าใจประชาธิปไตย” สรุปแล้ว พวกที่สนับสนุน รัฐประหาร ๑๙ กันยา สนับสนุนพันธมิตรฯ สนับสนุน การปราบปรามคนเสื้อแดง หรือสนับสนุนการฉีกทิ้ง รัฐธรรมนูญปี ๒๕๔๐ ล้วนแต่เป็นคนส่วนน้อย ที่โกหก

บิดเบือนความจริงเกี่ยวกับสังคมไทย เพื่อปกป้องผล ประโยชน์ของคนชั้นสูง ซึ่งตรงข้ามโดยสิ้นเชิงกับผล ประโยชน์ของประชาชนคนจน นอกจากนี้ การเลือกตัง้ พิสจู น์วา่ ประชาชนปฏิเสธ พวกนายพลเผด็จการ อย่าง ประยุทธ์ อนุพงษ์ หรือสนธิ ที่แทรกแซงการเมือง ทำ�ลายประชาธิปไตย และเข่นฆ่า คนเสือ้ แดง ดังนัน้ มันถึงเวลาแล้วทีส่ งั คมไทยจะต้องมาท บทวนบทบาทของกองทัพ และปลดนายพลที่แทรกแซง การเมืองออกจากตำ�แหน่ง รัฐบาลของอภิสทิ ธิ์ ทีพ่ งึ่ แพ้การเลือกตัง้ ครัง้ นี้ ไม่ เคยชนะการเลือกตัง้ เลย แต่แย่กว่านัน้ ผลงานของรัฐบาล นี้ มีแต่สิ่งเลวร้ายคือ ปกปิดข้อมูลและเซ็นเซอร์สื่ออย่าง รุนแรง เพิ่มจำ�นวนนักโทษการเมืองในคดี 112 อย่างสุด ขั้ว เข่นฆ่าประชาชนผู้รักประชาธิปไตย เกือบ 90 ศพ ด้วยทหารสไนเปอร์ และสร้างความตึงเครียดทีช่ ายแดน เขมรจนเกิดการยิงกันอย่างไร้เหตุผลโดยสิน้ เชิง สรุปแล้ว รัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์ได้ลากสังคมไทยให้ถอยหลัง ลงคลองอย่างเดียว และโกหกเพื่อหลอกลวงประชาชน ไทยและชาวโลกอีกด้วย .... แต่คนส่วนใหญ่ไม่ได้ถูก หลอกแต่อย่างใด การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นก้าวแรกที่สำ�คัญในการกู้ ประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพกลับมา... อย่างไรก็ตามการเลือกตัง้ อย่างเดียวแก้วกิ ฤตไทย ไม่ได้ และที่สำ�คัญคือ การแก้วิกฤตจะไม่สำ�เร็จถ้ามีการ “ปรองดอง” หรือ “ประนีประนอม” กับฝ่ายเผด็จการ

เลี้ยวซ้าย กรกฎาคม ๕๔ หน้า ๑๖


เพราะภาระสำ�คัญของชาวประชาธิปไตย คือการสร้าง มาตรฐานสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพ ผ่านการรือ้ ถอนพิษ ภัยของเผด็จการทัง้ หมด ในเรือ่ งนีผ้ มไม่ได้เสนอให้ “แก้ แค้น” ใคร แต่เราต้องไม่ปล่อยให้คนที่กระทำ�ความผิด ลอยนวล และปล่อยให้มีการละเมิดเสรีภาพเกิดขึ้นซ้ำ� แล้วซ้ำ�อีก ดังนัน้ ภาระเร่งด่วนของชาวประชาธิปไตยคือ 1. ต้องปล่อยนักโทษการเมืองทุกคนทันที และ การยกเลิกคดีการเมือง อันนี้รวมถึงการปล่อยนักโทษ เสื้อแดงในทุกจังหวัด และนักโทษคดี 112 อีกด้วย 2. ต้องปลด ผบ.ทบ. ประยุทธ์ ออกจากตำ�แหน่ง ในฐานะทีแ่ ทรกแซงการเมืองในช่วงหาเสียง และในฐานะ ที่ออกมาแสดงความเห็นคัดค้านนโยบายของพรรคเพื่อ ไทย เพราะ ผบ.ทบ. ต้องไม่มีอำ�นาจพิเศษ ต้องรับใช้ รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งอย่างเดียว ตามกติกา ประชาธิปไตยสากล 3. ต้องนำ� นายอภิสิทธิ์ นายสุเทพ นายประยุทธ์ และนายอนุพงษ์ ขึน้ ศาลในคดีฆา่ ประชาชนทีผ่ า่ นฟ้าและ ราชประสงค์ 4. ต้องยกเลิกรัฐธรรมนูญปี ๕๐ ของทหาร และ นำ�รัฐธรรมนูญปี ๔๐ กลับมาใช้ชั่วคราว ก่อนที่จะร่าง รัฐธรรมนูญใหม่ที่เป็นประชาธิปไตยมากกว่านี้ 5. ต้องยกเลิกการเซ็นเซอร์สอื่ มวลชน อินเตอร์เน็ต และวิทยุชมุ ชนทันที เพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพในการเข้า ถึงข้อมูลของประชาชน

6. ต้องยกเลิกกฎหมาย 112 และ พรบ. คอมพิวเตอร์ เพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพในการแสดงออก และในระยะยาว สังคมไทยจะต้องเริม่ กระบวนการ ปฏิรปู กองทัพอย่างถอนรากถอนโคน เพือ่ ลดงบประมาณ ทหาร นำ�กองทัพออกจากสื่อ และลดบทบาทกองทัพใน การแทรกแซงการเมือง นอกจากนีต้ อ้ งทบทวนและปฏิรปู ระบบยุตธิ รรมทีม่ ปี ญ ั หาสองมาตรฐานมาตลอด และต้อง มีการพัฒนาสังคมไทยสู่รัฐสวัสดิการ ในรูปแบบ “ถ้วน หน้า-ครบวงจร-ผ่านการเก็บภาษีจากคนรวย” เพือ่ เพิม่ ความเท่าเทียมและความเป็นธรรมทางสังคม สิ่งเหล่านี้จะเป็นเครื่องชี้วัดความจริงใจและ อุดมการณ์ประชาธิปไตยของรัฐบาลใหม่ เพราะแค่การ หมุนนาฬิกากลับไปก่อนรัฐประหาร ๑๙ กันยา และการ “ลืม” อาชญากรรมของฝ่ายอำ�มาตย์ จะต้องถือว่าเป็น ความล้มเหลว ภาระทั้งหมดอันสำ�คัญเหล่านี้ เราคงเดาได้ว่า พรรคเพือ่ ไทยคงจะไม่มเี จตนาในการผลักดันหรือกระทำ� แต่อย่างใด ดังนั้นขบวนการเสื้อแดงจะต้องรวมตัวกัน และเคลือ่ นไหวอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ กดดัน หรือ “ช่วย” ให้ รัฐบาลกระทำ�ในสิ่งที่ถูกต้อง เสื้อแดงสำ�คัญอย่างยิ่งใน ช่วงนี้ เพราะเราจะต้องไม่ปล่อยให้คนเสื้อแดงที่เสียสละ และออกมาสู้เพื่อประชาธิปไตยโดนทอดทิ้งหรือหักหลัง

เลี้ยวซ้าย กรกฎาคม ๕๔ หน้า ๑๗


จดหมายเปิดผนึกถึงรัฐบาล : กรณีการดำ�เนินคดีทางการเมืองและคดีอื่นที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ทางการเมือง

ที่มา เวปไซต์ สำ�นักกฎหมายราษฎรประสงค์ สำ�นักกฎหมายราษฎรประสงค์ขอแสดงความยินดีกับสังคมไทยที่สามารถก้าว ผ่านการเลือกตั้งเมื่อวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๕๔ มา ได้อย่างเรียบร้อย และกำ�ลังจะได้รับรัฐบาลชุดใหม่ที่มาจากการเลือกตั้งโดยเสียงส่วนใหญ่ของประชาชนทั้งประเทศ ซึ่งได้ให้คำ�มั่นว่าจะ เข้ามาแก้ไขปัญหา มิได้เข้ามาเพื่อแก้แค้นผู้ใด จากเหตุการณ์ทางการเมืองที่เกิดขึ้นในห้วงเวลา ๔- ๕ ปีที่ผ่านมา ทำ�ให้เกิดความสูญเสียทั้งแก่ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของ ประชาชนจำ�นวนมาก รวมทั้งยังนำ�พาประเทศถอยหลังเข้าสู่การละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างกว้างขวางมาก เป็นประวัติการณ์ ทั้งนี้ ได้เกิด ความแตกแยกของประชาชน และรัฐบาลได้ใช้อำ�นาจอย่างป่าเถื่อน และใช้ความรุนแรงกับประชาชน จับกุมคุมขังประชาชนผู้มีความเห็น ต่างทางการเมือง และดำ�เนินคดีกับประชาชนจำ�นวนมาก ซึ่งปัจจุบัน ยังมีประชาชนถูกขังในเรือนจำ�ต่างๆ ในคดีการเมืองทั่วประเทศ หลายร้อยคน และมีประชาชนผู้ได้รับความเสียหายจากเหตุการณ์ทางการเมืองที่ยังไม่ได้รับ การเยียวยาจากรัฐจำ�นวนมากเช่นกัน สำ�นักกฎหมายราษฎรประสงค์ ในฐานะเป็นองค์กรทีใ่ ห้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนผูไ้ ด้รบั ผลกระทบ จากเหตุการณ์ ทางการเมือง ขอเสนอแนวทางการแก้ปัญหา และเรียกร้องต่อรัฐบาล ดังต่อไปนี้ ๑. ให้รัฐบาลประสานกับสำ�นักงานอัยการสูงสุดเพื่อดำ�เนินการถอนฟ้องจำ�เลยในคดีที่ เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ทางการเมืองทั้งหมด ซึง่ อยูใ่ นชัน้ พิจารณาของศาล สำ�หรับคดีทอี่ ยูใ่ นชัน้ ของพนักงานอัยการให้มคี �ำ สัง่ ไม่ฟอ้ งคดี และคดีทอี่ ยูใ่ นชัน้ สอบสวนก็ให้พนักงานสอบสวน มีคำ�สั่งไม่ฟ้อง รวมทั้งร้องขอต่อศาลให้เพิกถอนหมายจับสำ�หรับผู้ต้องหาตามหมายจับ ตามพระราชบัญญัติองค์กรอัยการและพนักงานอัยการ พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๒๑วรรคสอง บัญญัติว่า “ถ้าพนักงานอัยการเห็นว่าการ ฟ้องคดีอาญาจะไม่เป็นประโยชน์แก่สาธารณชนหรือจะ มีผลกระทบต่อความปลอดภัยหรือความมัน่ คงของชาติ หรือต่อผลประโยชน์อนั สำ�คัญ ของประเทศให้เสนอต่ออัยการสูงสุด และอัยการสูงสุดมีอำ�นาจสั่งไม่ฟ้องได้ ทั้งนี้ ตามระเบียบที่สำ�นักงานอัยการสูงสุดกำ�หนด โดยความ เห็นชอบของ ก.อ.” ซึ่ง เป็นการให้อำ�นาจแก่พนักงานอัยการการในการมีคำ�สั่งไม่ฟ้องคดี ในกรณีที่พิจารณาแล้วเห็นว่าไม่เป็นประโยชน์แก่ สาธารณชน หรือจะมีผลกระทบต่อความปลอดภัย หรือความมั่นคงของชาติ หรือต่อผลประโยชน์อันสำ�คัญของประเทศ และต่อมาสำ�นักงาน อัยการสูงสุดได้ออกระเบียบชื่อ “ระเบียบสำ�นักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการสั่งคดีอาญาที่จะไม่เป็นประโยชน์ต่อ สาธารณชน หรือจะมีผลก ระทบต่อความปลอดภัยหรือความมั่นคงของชาติ หรือต่อผลประโยชน์อันสำ�คัญของประเทศ พ.ศ.๒๕๕๔” ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๔ และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๔ โดยได้กำ�หนดหลักเกณฑ์อันเป็นสาระสำ�คัญสำ�หรับการ ใช้ดุลพินิจของพนักงานอัยการ เอาไว้อย่างครบถ้วนแล้ว สำ�นักกฎหมายราษฎรประสงค์เห็นว่า การดำ�เนินคดีกับประชาชนในเหตุการณ์ทางการเมืองหาได้เป็นประโยชน์แก่สาธารณะไม่ ซ้�ำ ยังก่อให้เกิดความเกลียดชังและแค้นเคืองกันในหมูป่ ระชาชนทัง้ สองฝ่าย กล่าวโดยเฉพาะคือ จากเหตุการณ์ทางการเมืองทัง้ ฝ่ายพันธมิตร ประชาชนเพื่อประชาธิปไตยและแนวร่วมประชาชนต่อต้านเผด็จการแห่งชาติก็ล้วนแต่เป็นการแสดงออกทางการเมือง และถูกกระทำ�จากรัฐ ทีเ่ ป็นขัว้ ตรงข้ามของทัง้ สองฝ่ายทัง้ สิน้ ผูไ้ ด้รบั ผลกระทบทัง้ ถูกดำ�เนินคดี หรือได้รบั ความเสียหายอืน่ ๆ ส่วนใหญ่กเ็ ป็นประชาชนทีเ่ ป็นมวลชน ซึง่ มีเจตนาอันบริสทุ ธิใ์ นการแสดงออกทาง การเมือง รวมทัง้ ในหลายกรณีกไ็ ม่ได้รบั ความเป็นธรรมในกระบวนการยุตธิ รรมโดยถูกกลัน่ แกล้ง จากฝ่ายการเมืองซึ่งมีอุดมการณ์ทางการเมืองตรงข้ามกัน การกระทำ�ที่มีมูลเหตุจูงใจทางการเมืองจนเป็นเหตุให้ถูกดำ�เนินคดีจึงถือว่ามี ลักษณะพิเศษในทางอาชญวิทยา ที่ผู้ต้องหา หรือจำ�เลยหาได้มีแนวคิดที่มุ่งแสวงหาประโยชน์ส่วนตน และถือเป็นการกระทำ�ทางการเมือง ซึ่งควรได้รับการผ่อนปรนในการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อความสงบของสังคม (เทียบคำ�สั่งไม่ฟ้องคดีกรณีเหตุการณ์ตากใบ) สำ�นักกฎหมายราษฎรประสงค์เห็นว่า ในปัจจุบันมีกฎหมายที่สามารถใช้เป็นทางออกให้สังคมอย่างเพียงพอแล้วดังที่ได้เรียนข้าง ต้น และ ไม่เห็นด้วย กับการออกกฎหมายนิรโทษกรรมอันจะทำ�ให้ความศักดิ์สิทธิของกฎหมายถูกสั่นคลอน และทำ�ให้หลัก “นิติรัฐ” อัน เป็นหัวใจของสังคมสูญสิ้นไปรวมทั้งจะเป็นเงื่อนไขที่อาจก่อให้เกิดความวุ่นวายทางการเมืองในภายภาคหน้า สำ�นักกฎหมายราษฎรประสงค์เห็นว่า บรรดาคดีที่มีการกระทำ�อันมีมูลเหตุจูงใจทางการเมืองทั้งหมด ซึ่งรวมทั้งคดีหมิ่นพระบรม เลี้ยวซ้าย กรกฎาคม ๕๔ หน้า ๑๘


เดชานุภาพด้วย สมควรได้รับการถอนฟ้องหากคดีอยู่ในชั้นพิจารณาของศาล หรือมีคำ�สั่งไม่ฟ้องหากอยู่ในชั้นพิจารณาของพนักงานอัยการ หรือชั้นสอบสวนของ พนักงานสอบสวน และเพิกถอนหมายจับในกรณีที่ถูกดดำ�เนินการออกหมายจับ ทั้งนี้เพื่อให้สังคมสามารถเดินหน้าต่อ ไปได้และเพื่อความปรองดองในสังคมที่แท้ จริง ๒. ให้รฐั บาลดำ�เนินการเยียวยาประชาชนผูไ้ ด้รบั ความเสียหายอันเกิดจากเหตุการณ์ ทางการเมืองทัง้ หมด รวมทัง้ ดำ�เนินการเจรจา เพือ่ รับผิดในกรณีทผี่ ไู้ ด้รบั ความเสียหายได้ยนื่ ฟ้อง หน่วยงานของรัฐให้รบั ผิดจากการทีเ่ จ้าหน้าทีร่ ฐั กระทำ�ความผิดในเหตุการณ์ทาง การเมือง จากจำ�นวนผูเ้ สียชีวติ และบาดเจ็บจากเหตุการณ์ทางการเมืองและความรับผิดชอบของรัฐบาลทีผ่ า่ นมา สำ�นักกฎหมายราษฎรประสงค์ เห็นว่า รัฐบาลยังไม่สามารถเยียวยาความเสียหายได้อย่างเพียงพอแต่อย่างใด จะเห็นได้จากการทีผ่ เู้ สียหายบางส่วนยังมีการดำ�เนินการฟ้อง ร้องเพือ่ ให้รฐั บาลรับผิดชอบต่อความเสียหายทัง้ จากการบาดเจ็บและเสียชีวติ รวมทัง้ ผูไ้ ด้รบั บาดเจ็บบางส่วนทีไ่ ม่สามารถเข้าถึงกระบวนการ ยุติธรรมทางกฎหมายได้ก็ยังไม่ได้รับการเยียวยาแต่อย่างใด เพื่อเป็นการแสดงความรับผิดชอบในนามของรัฐบาล สำ�นักกฎหมายราษฎร ประสงค์จึงขอ เรียกร้องให้รัฐบาลดำ�เนินการเยี่ยวยาผู้ได้รับความเสียหายอย่างเต็มที่ และสำ�รับกรณีที่ผู้เสียหายได้ยื่นฟ้องเป็นคดีต่อศาล หากปรากฏข้อมูลเบื้องต้นว่าเป็นผู้เสียหายจากเหตุการณ์ทางการเมืองจริง รัฐบาลควรเข้าเจรจาเพื่อรับผิดในความเสียหายและชดใช้ความ เสียหายอย่างเต็ม ที่มิควรต่อสู้คดี หรือประวิงคดีให้ล่าช้าเพื่อปัดความรับผิดชอบแต่อย่างใด ๓. ให้รฐั บาลตรวจสอบความจริงของเหตุการณ์ทางการเมือง และนำ�เสนอความจริงนัน้ ต่อสังคม รวมทัง้ นำ�ตัวผูท้ เี่ ป็นผูก้ ระทำ�ความ ผิดในนามรัฐมาลงโทษตามกฎหมาย สำ�นักกฎหมายราษฎรประสงค์เห็นว่า ความรับผิดของประชาชนกับความรับผิดของรัฐนั้นมีความแตกต่างกัน กล่าวคือ ประชาชน เป็นผู้ถูกบังคับใช้กฎหมายโดยรัฐ ส่วนรัฐนั้นเป็นผู้บังคับใช้กฎหมายและมี “หน้าที่พิเศษ” ในการคุ้มครองประชาชน ดังนั้น ตามข้อเรียกร้อง ในข้อ ๑. ทีเ่ สนอมิให้ด�ำ เนินคดีกบั ประชาชนจึงมิได้รวมถึงการกระทำ�ผิดโดยรัฐและผูอ้ ยู่ เบือ้ งหลังรัฐแต่อย่างใด ทัง้ นีจ้ ะเห็นได้จากเหตุการณ์ ทางการเมืองหลายครั้งที่ผ่านมา บุคคลที่เป็นผู้สั่งการให้เจ้าหน้าที่รัฐกระทำ�การต่อประชาชนทั้งการสลายการชุมนุม การฆ่าโดยเจตนา หรือ การจับกุมคุมขังโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ล้วนแต่ไม่ได้ถูกดำ�เนินคดีทั้งสิ้น ซึ่งทำ�ให้เจ้าหน้าที่รัฐและผู้อยู่เบื้องหลังสั่งการได้กระทำ�การอัน โหดร้าย ต่อประชาชนซ้ำ�แล้วซ้ำ�อีก รวมทั้งเหตุการณ์ทางการเมืองในปี ๒๕๕๓ ด้วย สำ�นักกฎหมายราษฎรประสงค์จึงขอเรียกร้องให้รัฐบาลดำ�เนินการตรวจสอบความจริง และดำ�เนินการเพื่อนำ�ผู้สั่งการให้สลายการ ชุมนุม เข่นฆ่าประชาชน รวมทั้งการจับกุมคุมขังโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย มาลงโทษตามกฎหมายเพื่อมิได้บุคคลเหล่านั้นได้มีโอกาสกระทำ� ความผิดอีก และเพื่อป้องปรามการใช้อำ�นาจของเจ้าหน้าที่รัฐในภายภาคหน้าด้วย ๔. ให้รัฐบาลยกเลิกหรือแก้ไขกฎหมายที่ละเมิดต่อสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกฎหมายที่ถูกนำ�มาใช้เป็นเครื่องมือทางการ เมือง สำ�นักกฎหมายราษฎรประสงค์เห็นว่า “กฎหมาย” เป็นเครือ่ งมือทีร่ ฐั ใช้ในการละเมิดสิทธิของประชาชนอย่างกว้างขวางใน เหตุการณ์ ทางการเมือง ซึง่ กล่าวโดยเฉพาะคือกฎหมายหมิน่ พระบรมเดชานุภาพ (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๑๑๒) และพระราชกำ�หนดการบริการ ราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ รวมทั้งกฎหมายหมายที่ให้อำ�นาจพิเศษอื่นแก่รัฐด้วย สำ�นักกฎหมายราษฎรประสงค์เห็นว่า กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพเป็นเสมือนเครื่องมือที่รัฐใช้เพื่อปกปิดความจริง และปิด กัน้ การแสดงความคิดเห็นทางการเมือง รวมทัง้ ใช้เป็นเครือ่ งมือเพือ่ กลัน่ แกล้งประชาชนผูเ้ ห็นต่างทางการเมืองมา โดยตลอด อันเป็นกฎหมาย ที่ละเมิดสิทธิของประชาชนอย่างกว้างขวาง และบทบัญญัติของพระราชกำ�หนดการบริการราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ ใน หลายมาตรายังเปิดโอกาสให้เจ้าหน้าที่รัฐใช้อำ�นาจเกินกว่าความจำ�เป็น เป็นผลให้เกิดการละเมิดสิทธิของประชาชน รวมทั้งลิดรอนเสรีภาพ ตามระบอบประชาธิปไตย เช่น การให้อำ�นาจพนักงานเจ้าหน้าที่ปิดสื่อ สั่งห้ามการชุมนุมอันเป็นเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ จับกุมคุมขังตาม อำ�เภอใจ จำ�กัดสิทธิในการกระบวนการยุติธรรมของประชาชน และอื่นๆอีกหลายประการ การที่รัฐยังคงให้มีกฎหมายดังกล่าวอยู่จึงเสมือน “การเลี้ยงงูพิษไว้เฝ้าบ้าน” สำ�นักกฎหมายราษฎรประสงค์เห็นว่า รัฐบาลชุดนี้มี ความชอบธรรมในการยกเลิกหรือแก้ไขกฎหมายดังกล่าวเพราะเป็น รัฐบาลทีไ่ ด้รบั เสียงจากประชาชนผูเ้ ป็นเจ้าของอำ�นาจอธิปไตยทัง้ ประเทศ รัฐบาลจึงควรใช้โอกาสนีย้ กเลิกหรือแก้ไขกฎหมายดังกล่าวเพือ่ ให้สงั คมและประชาชนมีเสรีภาพมากขึน้ รวมทัง้ ก้าวเข้าสูค่ วามเป็นประชาธิปไตย ที่สมบูรณ์ ด้วยข้อเรียกร้องทั้ง ๔ ประการข้างต้น สำ�นักกฎหมายราษฎรประสงค์หวังว่าจะได้รับการตอบรับจากรัฐบาลชุดใหม่นี้ ซึ่งได้รบั เสียง สนับสนุนจากประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ และเชื่อมั่นว่ารัฐบาลจะนำ�พาประเทศก้าวไปสู่ความเป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ แท้จริงใน ไม่ช้า เชื่อมั่นและศรัทธา สำ�นักกฎหมายราษฎรประสงค์ เลี้ยวซ้าย กรกฎาคม ๕๔ หน้า ๑๙


ร่วมกันสร้างองค์กรสังคมนิยม

เพื่อ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และประชาธิปไตย - สังคมนิยมเป็นระบบที่ตอบสนองความต้องการของคนส่วนใหญ่ผ่านการวางแผนร่วมกัน ในรูปแบบประชาธิปไตย - สังคมนิยมต้องสร้างโดยมวลชนกรรมาชีพ จากล่างสู่บน สร้างโดยอภิสิทธิ์ชนไม่ได้ - เรางต้องมีพรรคการเมืองของกรรมาชีพและคนจน เพื่อเคลื่อนไหวทางการเมือง - สมาชิกทุกคนต้องจ่ายค่าบำ�รุง 1 % ของรายได้ (50 บาท / เดือนขั้นต่ำ�) - สมาชิกต้องอ่านและช่วยกันขายหนังสือพิมพ์ของพรรคเพื่อขยายสมาชิก และอิทธิพลทางความคิด รายละเอียดเพิ่มเติม : อีเมล : pcpthai@gmail.com ติดต่อกองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ : turnleft2008@gmail.com เวปไซต์ www.turnleftthai.blogspot.com เฟซบุ๊ค www.facebook.com/turnleftthai ที่อยู่ไปรษณีย์ : ตู้ ป.ณ. 123 ไปรษณีย์คลองจั่น บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.