+6-3 VOL.6 (NOVEMBER)

Page 1

ISSN 27730-2059 ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 ประจำ�เดือนพฤศจิกายน 2563

จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์


+

+ 01 Editor’s Talk

พลังเครือข่าย พลังสร้างสรรค์

02 News Update

+

ข่าวสาร กิจกรรม ความคืบหน้าการขับเคลื่อนงาน ของคณะอนุกรรมการฯ

03 คุยกับภาคี เด็กฉลาด เยาวชนรูเ้ ท่าทันสือ่ และสิทธิ

Interview 04 สร้างสื่อปลอดภัยสร้างสรรค์ เสริมพลังเครือข่ายเข้มแข็ง สื่อควรมีเนื้อหา 1. ส่งเสริมให้เกิดระบบวิธีคิดมีสติปัญญา 2. ส่งเสริมความรู้ในเรื่องวิชาการ และศาสตร์สาขาต่าง ๆ 3. ส่งเสริมการพัฒนาด้านคุณธรรม และจริยธรรม 4. ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้เกี่ยวกับทักษะชีวิต 5. ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ยอมรับ เข้าใจ และชื่นชม ความหลากหลายในสังคม 6. ส่งเสริมการพัฒนาความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล สื่อที่ต้องไม่มีเนื้อหา 1. พฤติกรรมและความรุนแรง 2. เรื่องทางเพศ 3. การใช้ภาษาที่หยาบคายและไม่เหมาะสม ตามข้ อ กำ � หนดแนวทางการจั ด ระดั บ ความเหมาะสมของรายการ โทรทัศน์ ประกาศสำ�นักคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ที่สามารถนำ�มาประยุกต์ ใช้ได้กับทุกสื่อ

Voice 06 เครือข่ายเด็ก พลังไม่เล็กรู้ทันสื่อ

Special Report 07 รู้ทันสื่อ เรื่องสำ�คัญของเด็ก และเยาวชน

08 Cover Story เครือข่าย คุมเข้มสื่อ คุ้มครองผู้บริโภค

12 Infographic รู้เท่าทันสื่อโฆษณา


พลังเครือข่าย พลังสร้างสรรค์ การสร้างนิเวศสือ่ ทีด่ ใี ห้เกิดขึน้ ในสังคมไทย นับเป็นเรือ่ งท้าทายทีต่ อ้ งอาศัยความร่วมมือ จากทุกภาคส่วน ทัง้ ภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม เพราะการจะมีนเิ วศสือ่ ทีด่ ไี ด้นนั้ คนใน สังคมต้องมีทักษะการรู้เท่าทันสื่อ ซึ่งเป็นภูมิคุ้มกันสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ตอ้ งร่วมกันสนับสนุน สือ่ ดี ให้ได้รบั การยอมรับ และมีพนื้ ทีใ่ นการน�ำเสนอ เผยแพร่มากขึน้ อีกบทบาทหนึง่ ทีท่ กุ คนสามารถช่วยกันได้คอื การท�ำหน้าที่ เฝ้าระวังสือ่ ที่ ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ กลไกการเฝ้าระวังสือ่ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ คือ พลังเครือข่าย ทีเ่ กิดขึน้ ได้จากความร่วมมือ ของคนทุกเพศ ทุกวัย และทุกพืน้ ทีส่ อื่ ร่วมกันเป็นหูเป็นตา ทัง้ ช่วยกันตรวจสอบ เตือนภัย ไม่ส่งต่อ ไม่สนับสนุนสื่อที่ไม่สร้างสรรค์ เพื่อให้สื่อร้ายเหล่านี้ลดน้อยลง และหมดพื้นที่ ในการน�ำเสนอในทีส่ ดุ พลังเครือข่ายจึงเป็นพลังสร้างสรรค์ ในการ ลดสือ่ ร้าย ขยายสือ่ ดี เพือ่ ให้สงั คมไทย ได้มนี เิ วศสือ่ ทีด่ อี ย่างยัง่ ยืน

คณะผู้จัดทำ�จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ +6-3 บรรณาธิการบริหาร นางสาวลัดดา ตัง้ สุภาชัย ประธานคณะอนุกรรมการเกีย่ วกับการเฝ้าระวังสือ่ ทีไ่ ม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ ทีป่ รึกษากองบรรณาธิการ นายธนกร ศรีสขุ ใส ผูจ้ ดั การกองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์, รศ. นพ.ชาญวิทย์ พรนภดล ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านจิตเวชศาสตร์เด็กและวัยรุน่ ผู้ช่วยบรรณาธิการ นางวรินร�ำไพ ปุณย์ธนารีย์ รองผู้จัดการกองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์, นางสุวารี เตียงพิทกั ษ์ รองผูจ้ ดั การกองทุน พัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ กองบรรณาธิการ นายวีระพงษ์ กังวานนวกุล, นางสาวคีตฌาณ์ ลอยเลิศ, นางสาวรติรตั น์ นิมติ รบรรณสาร บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ นายวีรพล เจียมวิสทุ ธิ์ ถ่ายภาพ นายเรืองศักดิ์ บุณยยาตรา, นายณรงค์ฤทธิ์ โก๋กลิน่ , ประสานงาน นางสาวมนัญญา พาลมูล, นางสาวปองรัก เกษมสันต์, นายกันตภณ ตัง้ อุทยั เรือง, นายเชาวน์เมือง เวชกามา, นายธ�ำรงค์ จิตตะปะสาทะ, นางสาวศุทธภา เพชรสุทธิ์ ส�ำนักงาน กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ เลขที่ 388 อาคารเอส.พี. (ไอบีเอ็ม) อาคารบี ชั้น 6 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทร. 0 2273 0116-8 โทรสาร 0 2273 0119 อีเมล : contact@thaimediafund.or.th website : www.thaimediafund.or.th


NEWS UPDATE

18.09.63 ในการประชุมคณะกรรมการกองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ครัง้ ที่ 5 /2563 โดยมีนายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน (วันศุกร์ที่ 18 กันยายน 2563) นายธนกร ศรีสขุ ใส ผูจ้ ดั การกองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ได้รายงานผลการพิจารณาการให้ทนุ สนับสนุนโครงการหรือ กิจกรรมประจ�ำปี 2563 วงเงินงบประมาณไม่เกิน 300 ล้านบาท จากโครงการทีย่ นื่ เสนอมา 1,460 โครงการ รวมมูลค่ากว่า 5,700 ล้านบาท ซึง่ คณะท�ำงานพิจารณาและพัฒนาข้อเสนอโครงการหรือกิจกรรมทีข่ อรับการสนับสนุนเงินจากกองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ประจ�ำปี 2563 ได้พจิ ารณาอนุมตั ขิ อ้ เสนอโครงการหรือกิจกรรม 95 โครงการ รวม 284,966,950 บาท โดยแบ่งเป็น 3 ประเภท • โครงการประเภทเปิดรับทัว่ ไป (Open Grant) จ�ำนวน 39 โครงการ รวม 89,200,100 บาท • โครงการประเภทเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Grant) จ�ำนวน 48 โครงการ รวม 180,000,000 บาท • โครงการประเภทความร่วมมือ (Collaborative Grant) จ�ำนวน 8 โครงการ รวม 15,766,850 บาท

21.09.63 ส�ำนักงานกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ได้จัด ปฐมนิเทศโครงการทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนประจ�ำปี 2563 ทีโ่ รงแรม บางกอกชฎา ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพฯ ในงานดังกล่าวยังได้จดั เสวนา “ประสบการณ์และข้อสังเกตจากการติดตามและประเมินผล โครงการ” จากผูท้ รงคุณวุฒทิ มี่ คี วามรู้ ความเชีย่ วชาญ ซึง่ ต่างให้ขอ้ มูล ทีส่ อดคล้องกัน ทัง้ ปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข อีกทัง้ ได้เสนอ ข้อแนะน�ำและเทคนิค เพือ่ ให้การด�ำเนินโครงการประสบความส�ำเร็จด้วย จดหมายข่าาวคณะอนุ วคณะอนุกกรรมการเกี รรมการเกี่ย่ยวกั วกับบการเฝ้ การเฝ้าาระวั ระวังงสืสื่อ่อทีที่ไ่ไม่ม่ปปลอดภั ลอดภัยยและไม่ และไม่สสร้ร้าางสรรค์ งสรรค์ — — 02 02 จดหมายข่

12.10.63 ส�ำนักงานกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ร่วมกับคณะ อนุกรรมการเกีย่ วกับการส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของประชาชน จัดงานประชุม รับฟังความคิดเห็นเรื่องแนวทางและหลักเกณฑ์การจัดสรรทุนส�ำหรับ ปีงบประมาณ 2564 “TMF Public Hearing: Grants for Change 2021” ณ ห้องวิภาวดี บอลรูม โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ

12.10.63 กองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ จัดเวทีสง่ เสริมการมี ส่วนร่วมของประชาชน 5 ภูมภิ าค โดยเริม่ ทีภ่ าคเหนือ ณ โรงแรม ดิเอ็มเพรส จ.เชียงใหม่ เมือ่ วันที่ 22 ตุลาคม 2563 เพือ่ เผยแพร่ความรู้ และแนวคิดด้านสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ด้านการรูเ้ ท่าทันสือ่ สารสนเทศ และดิจทิ ลั ไปยังภาคีเครือข่ายและขยายเครือข่ายการท�ำงานด้านสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ โดยเวทีสง่ เสริมการมีสว่ นร่วมฯ จัดสัญจรไปยัง ทุกภูมภิ าคของประเทศต่อไป


เด็กฉลาด

คุยกับภาคี

เยาวชนรู้ เท่าทันสื่อและสิทธิ ในโลกแห่งการสือ่ สาร “สือ่ ” จะ “ปกป้อง” หรือ “ท�ำร้าย” เด็กและเยาวชนของเราได้งา่ ยๆ แค่ปลายนิว้ คลิก และเมือ่ มีการแชร์ขา่ วออกไปจึงเท่ากับเป็นการกระจายข่าวทีอ่ าจมีผลต่อจิตใจ ของเด็กในทันที และเป็นการละเมิดสิทธิเด็กโดยไม่ทนั ระมัดระวังตัว การเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจให้แก่ทกุ คนในสังคม โดยเฉพาะกลุม่ ผูป้ กครองและเด็กให้ตระหนักรูถ้ งึ สิทธิของเด็ก ผศ.นันท์มนัส จันทราศัพท์ และเยาวชนจึงเป็นเรือ่ งส�ำคัญ เป็นทีม่ าของโครงการพลังเครือข่ายเรียนรูเ้ ท่าทันสือ่ : เพือ่ ปกป้อง หัวหน้าโครงการพลังเครือข่ายเรียนรู้เท่าทันสื่อ คุม้ ครองเด็กและเยาวชนอย่างยัง่ ยืน ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดเชียงใหม่ ซึง่ ผศ.นันท์มนัส จันทราศัพท์ : เพื่อปกป้องคุ้มครองเด็กและเยาวชนอย่างยั่งยืน ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ อาจารย์ประจ�ำคณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ ในฐานะหัวหน้าโครงการ จะพาเราไปรูจ้ กั กับโครงการนีก้ นั ให้เกิดการสร้างนิเวศของสือ่ ในการคุม้ ครอง สิทธิของเด็กและเยาวชน สุดท้ายเป็นการถอด สรุปบทเรียนและแลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ว่ มกัน”

“โครงการนี้มีกระบวนการศึกษาวิจัย 5 กระบวนการด้วยกัน เริม่ จากการศึกษา รวบรวมข้อมูลสถานการณ์การละเมิดสิทธิ เด็กและเยาวชนทางสื่อ และข้อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้องกับการปกป้อง คุม้ ครองสิทธิเด็ก จากนัน้ ได้ลงพืน้ ทีเ่ ป้าหมาย เพือ่ จัดกระบวนการเสริมสร้างความรู้ ความ เข้าใจ ด้านการรู้เท่าทันสื่อและกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้องกับการปกป้อง คุม้ ครองสิทธิเด็ก ตามด้วยการจัดสนทนากลุม่ (Focus Group) 2 กลุม่ ระหว่างคณะผูว้ จิ ยั กับสือ่ มวลชนในพืน้ ทีจ่ งั หวัดเชียงใหม่ ให้มี ความรูค้ วามเข้าใจในการสร้างสรรค์สอื่ ทีไ่ ม่นำ� ไปสูก่ ารละเมิดสิทธิเด็ก และกับกลุม่ นักวิชาการ เพือ่ น�ำไปสูก่ ารขับเคลือ่ นเชิงนโยบายในการ ปรับปรุงแก้ไข กฎระเบียบ กฎหมาย ทีจ่ ะก่อ

จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 03

“ดิฉันเป็นนักวิชาการด้านกฎหมายที่ เคยท�ำงานวิจยั ในประเด็นสิทธิของคนพิการ มาก่อน ก่อนที่จะขยายมาสู่กลุ่มเด็กและ เยาวชน จากจุดนีก้ เ็ ริม่ สังเกตเห็นข่าวจากสือ่ ต่างๆ ในปัจจุบนั เด็กและเยาวชนได้ถกู ละเมิด สิทธิในลักษณะหรือรูปแบบต่างผ่านสือ่ เป็น จ�ำนวนมาก จึงได้คิดท�ำโครงการมือเล็กๆ เรียนรูเ้ ท่าทันสือ่ ในปี 2561 ก่อนจะพัฒนา มาเป็นโครงการพลังเครือข่ายเรียนรูเ้ ท่าทันสือ่ : เพือ่ ปกป้องคุม้ ครองเด็กและเยาวชนอย่าง ยัง่ ยืน ในปีทสี่ อง มุง่ เน้นให้เด็กและเยาวชน ได้รเู้ ท่าทันสือ่ และตระหนักถึงสิทธิของตนเอง ที่ได้รับการปกป้องคุ้มครองจากกฎหมาย ในโรงเรียนต้นแบบ 3 แห่งในจังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ โรงเรียน สันก�ำแพง และโรงเรียนฮอดพิทยาคม”

“จากการสนทนากลุม่ (Focus Group) กับกลุม่ สือ่ มวลชน คณะท�ำงานพบว่าจริงๆ แล้ว กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆทีม่ อี ยูน่ นั้ ครอบคลุมการคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพของ เด็กและเยาวชน เพียงแต่มาตรการในการบังคับใช้ ไม่ชดั เจน ขณะเดียวกันประเด็นทีจ่ ะมีสว่ นช่วยให้ ปัญหาการละเมิดสิทธิเด็กและเยาวชนจาก การน�ำเสนอข่าวทางสือ่ ลดลง คือ การเสริมสร้าง ความรูค้ วามเข้าใจให้แก่ทกุ คนในสังคม โดยเฉพาะ กลุม่ ผูป้ กครองและเด็ก ให้ตระหนักรูถ้ งึ สิทธิ ของเด็กและเยาวชน นอกจากนีย้ งั สามารถสรุปคุณลักษณะ ส�ำคัญ 3 ประการทีเ่ ด็กและเยาวชนควรมี เพือ่ ใช้ เป็นแนวทางในการรูเ้ ท่าทันสือ่ และแก้ไขปัญหา เมือ่ ถูกละเมิดสิทธิจากการน�ำเสนอข่าวทางสือ่ ได้แก่ “3 ส” (เสริมสร้าง สอดส่อง ส่งต่อ) โดย เด็กและเยาวชนต้องรูจ้ กั ตัง้ ค�ำถามว่าข่าวสารนัน้ มีจดุ มุง่ หมายเพือ่ สิง่ ใด และเป็นข่าวสารทีก่ อ่ ให้ เกิดการละเมิดสิทธิของตนเองหรือไม่ เพือ่ นกับ เพือ่ นควรจะสอดส่องดูแลซึง่ กันและกัน และเมือ่ เด็กๆ ได้รบั ผลกระทบจากการละเมิดสิทธิทาง สือ่ สามารถหาทางออกโดยการส่งต่อหรือบอก ต่อพ่อแม่ผป้ ู กครอง คุณครู หรือผูใ้ หญ่ เพือ่ ให้ เข้ามาช่วยเหลือก่อนทีป่ ญ ั หาจะบานปลาย”


INTERVIEW

สร้างสื่อปลอดภัยส เสริมพลังเครือข่าย ดร.ยุพา ทวีวฒ ั นะกิจบวร ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม

จากจุดเริม่ ต้นเมือ่ ปี 2558 กองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัย และสร้างสรรค์ถกู จัดตัง้ ขึน้ โดยอยูภ่ ายใต้การก�ำกับดูแลของ กระทรวงวัฒนธรรม(วธ.) เราจะไปสนทนากับ ดร.ยุพา ทวีวฒ ั นะ กิจบวร ในฐานะปลัดกระทรวงวัฒนธรรมคนใหม่ ถึงแนวทาง การสนับสนุนสร้างสือ่ ปลอดภัยสร้างสรรค์ และเสริมสร้าง เครือข่ายเข้มแข็งเพือ่ ให้สงั คมไทยมีระบบนิเวศสือ่ ทีด่ อี ย่าง ยั่งยืน

จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 04

วธ. มีแนวทางในการสนับสนุน และพัฒนาสื่อปลอดภัยและ สร้างสรรค์อย่างไร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรมจัดท�ำแผนพัฒนา ด้านการพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2563-2565) ซึง่ ทีป่ ระชุม

คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2563 ทีผ่ า่ นมาเพือ่ เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ให้แก่หน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้อง โดยดิฉนั ได้ประสานกับส�ำนักงานกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัย และสร้างสรรค์ เพือ่ ขับเคลือ่ นงานตามแผนดังกล่าวให้สอดรับกับนโยบาย ของรัฐบาล โดยปรับรูปแบบการท�ำงานเชิงโครงสร้างให้เกิดความคล่องตัว และมีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมถึงมีการวางแผนการท�ำงานในระยะยาว ทีผ่ า่ นมาบางครัง้ การเชือ่ มโยงการท�ำงานระหว่าง วธ. กับกองทุนพัฒนาสือ่ ฯ อาจยังไม่เพียงพอ นับเป็นเรือ่ งดีทผี่ จู้ ดั การกองทุนพัฒนาสือ่ ฯ (ดร.ธนกร ศรีสขุ ใส) เป็นผูท้ มี่ คี วามเชีย่ วชาญด้านกฎหมาย จึงมีความเข้าใจบริบทของ การท�ำงานเชื่อมโยงกันระหว่างสองหน่วยงาน ขณะเดียวกันดิฉนั ก็ทำ� งาน เกีย่ วข้องกับกองทุนพัฒนาสือ่ ฯ ตัง้ แต่วาระเริม่ แรกทีก่ องทุนพัฒนาสือ่ ฯ ยังอยู่ ในความรับผิดชอบของ วธ. มาถึงวันนีก้ ารท�ำงานจึงมีความชัดเจนมากขึน้ และเชื่อมประสานกันอย่างดี ขณะเดียวกันกองทุนพัฒนาสื่อฯ ก็มีคณะ อนุกรรมการ 3 ชุด ช่วยขับเคลื่อนงานอย่างจริงจัง ในปี 2564 กองทุน พัฒนาสือ่ ฯ จะส่งเสริมให้เกิดสือ่ ดีทปี่ ลอดภัยและสร้างสรรค์ เพือ่ สร้างระบบ นิเวศสื่อที่ดีในสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ในมุมมองของท่าน ผู้ใช้สื่อทุกคน จะช่วยสร้างนิเวศสื่อที่ดีได้อย่างไร ปัจจุบนั สือ่ มีทงั้ ทีเ่ ป็นคุณและโทษ มีทงั้ ทีเ่ ป็นข้อเท็จจริงและหลอกลวง ผู้บริโภคสื่อจึงต้องใช้วิจารณญาณ ตรวจสอบข้อมูลว่าเป็นจริงตามที่มี การน�ำเสนอหรือไม่ และบ่อยครั้งที่มีการน�ำเสนอสื่อในทางที่ไม่เหมาะสม ซึ่งกระทบต่อนิเวศสื่อและวัฒนธรรมอันดีงามของชาติ ดังนั้น หากผู้ใช้สื่อ ทุกคนรู้จักการเลือกรับปรับใช้สื่อในทางที่ปลอดภัยและสร้างสรรค์จนเกิด นิเวศสื่อที่ดี สื่อจะเป็นกลไกส�ำคัญที่ช่วยให้การขับเคลื่อนงานวัฒนธรรม บรรลุวัตถุประสงค์ทั้งในด้านการอนุรักษ์ ส่งเสริม พัฒนา ต่อยอด และ น�ำไปเป็นต้นทุนในการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจอีกด้วย


สร้างสรรค์ ยเข้มแข็ง วธ. มีวิธีการ ทำ�งานร่วมกับ ภาคีเครือข่าย ในการเฝ้าระวังสื่อ และสร้างการ รูเ้ ท่าทันสือ่ อย่าง เข้มแข็งอย่างไร

ความคาดหวังหรือเป้าหมายในการ ทำ�หน้าทีป่ ลัด วธ. ในด้านการพัฒนา สื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ในแง่ของการเปิดให้ทุนของกองทุนพัฒนาสื่อฯ ควรสร้าง ความเข้าใจกับผูท้ จี่ ะเสนอขอรับทุนให้พจิ ารณาแบบทัว่ ถึง เพือ่ ให้ได้ โครงการทีม่ คี ณ ุ ภาพและเกิดผลกระทบต่อสังคมในวงกว้าง ขณะเดียวกัน ในการท�ำงานด้านสื่อก็ต้องปรับตัวในการท�ำงานให้รวดเร็วขึ้น ซึง่ ในปี 2564 กองทุนพัฒนาสือ่ ฯ วางแผนประชาสัมพันธ์เปิดตัว การเสนอขอรับทุนเร็วกว่าทุกปี เพือ่ ให้ผสู้ นใจมีเวลาเตรียมตัว โดยจะ เปิดเวทีทั้ง 4 ภาค เน้นการให้ความรู้เสนอแนะวิธีการเขียนขอทุน การก�ำหนดประเด็นปัญหาและผลิตชิน้ งาน และชีแ้ จงข้อจ�ำกัดและ กระบวนการการเบิกจ่ายงบประมาณ เพือ่ ตัดปัญหาการทิง้ งานในอนาคต โดยกองทุนพัฒนาสื่อฯ พร้อมจะเป็นพี่เลี้ยงส�ำหรับผู้สนใจ ดิฉันอยากเห็นสังคมไทยมีการขยายสื่อดี โดยผู้ผลิตสื่อที่ มีจริยธรรม สร้างสรรค์สื่อดีที่มีคุณภาพเพิ่มมากขึ้น ประชาชนรู้ เท่าทันสื่อและใช้สื่ออย่างสร้างสรรค์ มีการบูรณาการกลไกการ ท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างการมีสว่ นร่วมจากทุกภาคส่วน รวมถึงใช้กฎหมายเป็น โดยบูรณาการการบังคับใช้กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง กับสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์

จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 05

เรามีเครือข่ายทั้งระดับองค์กร และระดับบุคคล ทัง้ ในส่วนภาครัฐและ ภาคเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิง่ เรามีคณะอนุกรรมการพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์จงั หวัด ซึง่ เป็นกลไกการท�ำงานในระดับ ภูมิภาคของคณะกรรมการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ แห่งชาติ ทีผ่ า่ นมากองทุนพัฒนาสือ่ ฯ ท�ำงานในส่วนกลางค่อนข้าง มาก ยังไม่ลงไปถึงส่วนภูมภิ าค ดิฉนั ได้หารือร่วมกับผูจ้ ดั การกองทุน พัฒนาสื่อฯ ว่า เราสามารถใช้กลไกคณะอนุกรรมการพัฒนาสื่อ ปลอดภัยและสร้างสรรค์จังหวัดเป็นเครือข่ายในการท�ำงานได้ และยังมีสำ� นักงานวัฒนธรรมจังหวัด สภาวัฒนธรรมจังหวัด มีภาคี เครือข่ายสมาคม ชมรมแต่ละภูมภิ าค ทีจ่ ะเป็นก�ำลังส�ำคัญ เช่น การจัดรณรงค์เรื่องการรู้เท่าทันสื่อ เพราะคนในพื้นที่จะรู้ปัญหา ของเขา เป็นอย่างดี โดย กองทุน พัฒนาสื่อฯ อาจจะ สนั บสนุ น งบประมาณ ในทาง กลั บ กั น ถ้าเรามีสอื่ ดี ๆ ก็ ส่ ง ผ่ า น ไปให้เ ครือข่าย เกิดการ ใ ช ้ ท รั พ ย า ก ร อย่างคุ้มค่า


VOICE

เครื อ ข่ า ยเด็ ก พลังไม่เล็กรู้ทันสื่อ

จดหมายข่ จดหมายข่ าวคณะอนุ าวคณะอนุ กรรมการเกี กรรมการเกี ่ยวกับ่ยการเฝ้ วกับการเฝ้ าระวังาสืระวั ่อทีง่ไสืม่​่อปทีลอดภั ่ไม่ปลอดภั ยและไม่ ยและไม่ สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ — 06 — 06

ปัจจุบนั เด็กและเยาวชนมีความรูเ้ รื่องสิทธิและเสรีภาพในการแสดง ความคิดเห็นและการแสดงออกในประเด็นทีส่ ง่ ผลกระทบต่อตนเองมากขึน้ อย่างไรก็ตามพบว่ามีบางส่วนที่ยังใช้สิทธิเสรีภาพเกินขอบเขตจนกระทบต่อ สิทธิเสรีภาพของผู้อื่น ขณะเดียวกันเด็กและเยาวชนต่างรูถ้ งึ ศักยภาพและความ ช�ำนาญของตนเองทีจ่ ะน�ำไปใช้ในด้านต่าง ๆ ดังนัน้ ในยุคทีข่ อ้ มูลพรัง่ พรูหลากหลายผ่านดิจทิ ลั แพลตฟอร์มซึ่งยังไม่มีกฎหมายเฉพาะกรณีทเ่ี กีย่ วข้องกับเด็ก ประกอบกับครอบครัวหรือโรงเรียนยังไม่สามารถเข้าถึงและให้ค�ำปรึกษา แก่เด็กให้เกิดความรูเ้ ท่าทัน เด็ก ๆ ก็อาจจะตกเป็นเหยื่อได้ ดังนั้นบทบาทในการคัดสรรข้อมูลของสื่อมวลชนจึงยังมีความจ�ำเป็น ส่วนเด็ก และเยาวชนก็ตอ้ งรูจ้ กั การตรวจสอบ สืบค้น วิเคราะห์เนือ้ หาต้นทางของข้อมูลว่ามีทมี่ าทีไ่ ปอย่างไร ไม่เชือ่ เพราะบอกต่อ ๆ กันมา สิง่ ส�ำคัญ ต้องตระหนักว่าการแสดงความคิดเห็นในโลกออนไลน์ยากทีจ่ ะลบออกไป กลายเป็นร่องรอยแห่งโลกดิจทิ ลั (Digital Footprint) ทีอ่ าจจะ ส่งผลต่อชีวิตในอนาคตได้ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ (พม.) มีภารกิจหลักในการส่งเสริมการพัฒนาและปกป้องคุม้ ครองเด็กและ เยาวชนในทุกมิติ ได้มกี ารส่งเสริมสนับสนุนการเปิดพืน้ ทีใ่ ห้ผแู้ ทนเด็กและเยาวชนเข้ามามีสว่ นร่วมในการแสดงความคิดเห็น ผ่านการจัด เวทีสทิ ธิเด็กและร่วมเป็นองค์ประกอบในคณะกรรมการ คณะท�ำงานชุดต่าง ๆ ให้เด็กและเยาวชนในทุกภูมภิ าคทัว่ ประเทศ ได้น�ำเสนอปัญหา ทัง้ เรือ่ งสือ่ และปัญหาอืน่ ๆ ตัง้ แต่ระดับท้องถิน่ ถึงระดับชาติ และน�ำไปสูข่ อ้ เสนอเชิงนโยบายต่อรัฐบาล นอกจากนีย้ ังเสริมหนุนเรื่องการ พัฒนาศักยภาพของสภาเด็กและเยาวชนผ่านการจัดกิจกรรม รณรงค์ ให้เด็กมีประสบการณ์เรียนรู้จากการท�ำงาน มีโอกาสท�ำงาน เชือ่ มประสานกับภาคส่วนต่าง ๆ เพือ่ ให้สามารถเป็นพลังส�ำคัญเชิงสร้างสรรค์ในการพัฒนาประเทศต่อไป

อสมท ได้ร่วมกับกองทุนพัฒนาสื่อฯ ต่อยอดศูนย์ชวั ร์กอ่ นแชร์ มาเป็นโครงการนักสืบสายชัวร์ ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์เยาวชนขึ้น ซึ่งเด็กและเยาวชน เป็นกลุม่ ทีม่ ศี กั ยภาพในการใช้เทคโนโลยีได้ดี จึงเป็นบุคคลทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ ที่ควร ได้รบั การปลูกฝังทักษะรูเ้ ท่าทันสือ่ เพราะภัยคุกคามทีเ่ กิดจากความรู้ไม่เท่าทันสือ่ ส่วนใหญ่ ก็มาจากเทคโนโลยีการสือ่ สารทีส่ ง่ ต่อและแพร่กระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ขณะเดี ย วกั น เด็ ก และเยาวชนก็ ไ ด้ ใ ช้ ศั ก ยภาพของตนเอง เพิ่ ม พู น การรู ้ เท่าทันสือ่ ให้กบั สังคมดิจทิ ลั โดยหลักสูตรนักสืบสายชัวร์ฯ จะชีแ้ นะแนวทางว่าเด็ก ๆ ต้อง รู้ตัวเองเป็นคนส�ำคัญ และเป็นกุญแจส�ำคัญในการสร้างความรู้เท่าทันสื่อให้สังคม ในยุคนี้ ทัง้ ในระดับครอบครัวและประเทศ เมือ่ เด็กและเยาวชนมีความรูแ้ ละตระหนักแล้ว เขาสามารถเป็นนักตรวจสอบข้อเท็จจริงประจ�ำบ้านได้ เหมาะสมที่จะเป็นผู้น�ำในการรู้เท่าทันสื่อให้กับครอบครัว โรงเรียน และชุมชน ซึ่งเด็ก สามารถเรียนรู้เทคนิคการเป็นผู้ตรวจสอบได้รวดเร็ว เด็กและเยาวชนจึงเป็นเครือข่ายที่มีศักยภาพในการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัย และไม่สร้างสรรค์ และขยายความรูเ้ ท่าทันสื่อให้กับสังคมได้ด้วย


SPECIAL REPORT

และเยาวชน

ผู้อำ�นวยการกลุ่มบริหารยุทธศาสตร์การต่างประเทศ ศูนย์อำ�นวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้

ซึง่ กลุม่ จิตอาสาทีล่ งไปท�ำกิจกรรมนัน้ ทุกคนต้องผ่านกระบวนการ อบรมความรูท้ ถี่ กู ต้องจากองค์กรทีเ่ ชือ่ ถือได้มาก่อนแล้ว นอกจากนี้ ในการท�ำกิจกรรม ต้องไม่ตดั สินเด็ก ไม่ควรต�ำหนิหากเขาจะหยิบยก ข้อมูลในอินเทอร์เน็ตมาอ้างถึง หรือชีว้ า่ เขาผิดทีเ่ ชือ่ ข้อมูลเหล่านัน้ แต่ควรให้ขอ้ มูลทีถ่ กู ต้อง สร้างบรรยากาศการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ วิเคราะห์ปญ ั หา ตัง้ ค�ำถาม และขบคิดร่วมกัน วิธีการดังกล่าวนั้น พ่อแม่ผู้ปกครองสามารถใช้พูดคุยกับ บุตรหลานในครอบครัว หรือจะรวมกลุ่มกันเป็นรูปแบบจิตอาสา ท�ำกิจกรรมเสริมทักษะให้กับเด็กในชุมชนเตรียมพร้อม ดังนี้

1

รอบรู้เรื่องรู้ทันสื่อ

2

มีขอ้ มูลทีถ่ กู ต้องน่าเชือ่ ถือ

3

ใช้สื่อเป็น

4

รับฟังอย่างจริงใจ

หาความรู ้ โ ดยข้ อ มู ล ต้ อ งมาจากองค์ ก รที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้ หรือประสานขอข้อมูลกับหน่วยงานที่รับผิดชอบในเรื่องนั้น ๆ โดยตรง เมือ่ หยิบยกเรือ่ งใดขึน้ มาพูดคุยกัน ควรมีขอ้ มูลทีถ่ กู ต้อง และน่าเชื่อถือในเรื่องนั้นมาแลกเปลี่ยน

ใช้สอื่ ทีห่ ลากหลายในการท�ำกิจกรรมหรือพูดคุยกับบุตรหลาน โดยอาจยกตัวอย่างได้ทงั้ คลิปวิดโี อ เพลง ภาพ บทความ เพราะ เด็ก ๆ มีโอกาสใช้สื่อทุกประเภท เปิ ด พื้ น ที่ ใ ห้ เ ด็ ก ได้ แ สดงความเห็ น หรื อ สะท้ อ นถึ ง กิจกรรมทีท่ ำ� ร่วมกัน นอกจากจะได้รสู้ งิ่ ทีเ่ ด็กคิดแล้ว ยังท�ำให้เขา รู้สึกว่าได้รับการยอมรับด้วย

เมือ่ เด็กมีทกั ษะการรูเ้ ท่าทันสือ่ ก็เท่ากับมีภมู คิ มุ้ กัน และยังสามารถเป็นเครือข่าย ที่ช่วยสร้างความเข้าใจในกลุ่มเพื่อนวัยเดียวกันในโลกออนไลน์ได้อย่างมีพลัง นอกจากนี้พ่อแม่ควรสร้างบรรยากาศการแลกเปลี่ยนความเห็นกันอย่างสร้างสรรค์ ให้เกิดขึ้นในครอบครัว ซึ่งจะท�ำให้หยิบยกมาพูดคุยกันได้ทุกเรื่องโดยไม่เกิดความ แตกแยก และอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข

จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 07

โลกปัจจุบันก�ำลังเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของมนุษย์ให้แตกต่าง ไปจากในอดีต ทัง้ จากการแพร่ระบาดของโควิด-19 และการพัฒนา ของเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ทีส่ ง่ ผลให้ผคู้ นปรับพฤติกรรมหันไปใช้บริการ ออนไลน์ สร้างเครือข่าย และมีชมุ ชนอยูใ่ นโซเชียลมีเดียมากขึน้ โดยเฉพาะ เด็กและเยาวชนทีเ่ ติบโตมาพร้อมกับโลกดิจทิ ลั โลกออนไลน์กลายเป็น พืน้ ทีท่ ี่มีข้อมูลหลากหลายจ�ำนวนมหาศาลให้รับรู้ การสร้างทักษะการรูเ้ ท่าทันสือ่ (Media Literacy) ให้กบั เด็ก และเยาวชนจึงเป็นเรือ่ งส�ำคัญ เพือ่ ให้เขามีทกั ษะในการเข้าถึงการ วิเคราะห์ การประเมินเนือ้ หา การสร้างสรรค์และการมีสว่ นร่วม สามารถ ประเมินได้วา่ ข้อมูลทีไ่ ด้มาถูกต้องหรือไม่ ใครเป็นคนให้ขอ้ มูล และมี จุดมุง่ หมายในการสือ่ สารอย่างไร เพราะนอกจากข้อมูลทีไ่ ม่ถกู ต้องแล้ว กระแสในโลกโซเชียลก็สามารถโน้มเอียงให้เด็กคล้อยตามไปในทาง ทีไ่ ม่เหมาะสมได้เช่นกัน ซึง่ พ่อแม่หรือผูใ้ หญ่ทกุ คนสามารถเป็นผูแ้ นะน�ำ วิธกี ารและเสริมสร้างทักษะการรูเ้ ท่าทันสือ่ ให้กบั บุตรหลานได้ จากประสบการณ์การเข้าร่วมโครงการจิตอาสา โดยการจัด กิจกรรมสร้างทักษะรู้เท่าทันสื่อ พร้อมกับปลูกฝังถึงความส�ำคัญ ของสถาบันหลักของชาติให้กับนักเรียน ระดับมัธยม สิ่งส�ำคัญส�ำหรับผูท้ จี่ ะท�ำหน้าทีส่ ร้างทักษะ ให้กบั เด็ก ๆ คือ ความรู้

ดร.ประภาพร จันทรัศมี


COVER STORY

จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 08

นายพิฆเนศ ต๊ะปวง รองเลขาธิการคณะกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภค หนึ่งในคณะอนุกรรมการเฝ้าระวังสื่อที่

ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและ สร้างสรรค์ เปรียบเทียบพลังของ “เครือข่าย” ให้เห็นภาพ จากการ ท�ำงานใน ส�ำนักงานคณะกรรมการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค หรือ สคบ. ทีต่ อ้ งท�ำหน้าทีต่ รวจสอบและรับเรือ่ งร้องเรียนจากประชาชน เมื่อ ผู้บริโภคถูกละเมิดสิทธิ ลองมาฟังวิธีการท�ำงานร่วมกับเครือข่าย ของ สคบ. ทีท่ ำ� ให้ภารกิจให้ความคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านการโฆษณา ของ สคบ. มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น


รู้จัก สคบ.

สคบ.

“สคบ. มีหน้าที่คุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค ตามทีก่ ฎหมายคุม้ ครองผูบ้ ริโภคระบุไว้ 5 ประการ ได้แก่ 1.สิทธิทจ่ี ะได้รบั ข่าวสารทีถ่ กู ต้องและเพียงพอ 2.สิทธิทจี่ ะได้อสิ ระในการเลือก หาสินค้าหรือบริการ 3.สิทธิทจี่ ะได้รบั ความปลอดภัยจากการใช้สนิ ค้าหรือบริการ 4.สิทธิทจี่ ะ ได้รบั ความเป็นธรรมในการท�ำสัญญา และ 5.สิทธิทจี่ ะได้การพิจารณาและชดเชยความเสียหาย ซึง่ พร่องถ่ายมาเป็นภารกิจหน้าทีข่ อง สคบ. คือ 1.รับเรือ่ งราวร้องทุกข์จากผูบ้ ริโภค 2.ติดตาม สอดส่องผู้ประกอบธุรกิจ 3.สนับสนุนการศึกษาและวิจัยปัญหา 4.ส่งเสริมและสนับสนุนให้ ผู้บริโภคได้รับรู้และตระหนักถึงสิทธิเพื่อเลือกหาสินค้าอย่างถูกต้อง 5.การประสานเครือข่าย ภาครัฐและเอกชน เพื่อให้มาร่วมกันในการปกป้องสิทธิ อย่างไรก็ตาม สคบ. มีหน้าที่ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นส่วนเสริม หากเรื่องที่ร้องเรียนมีหน่วยงานหรือกฎหมายที่ เกีย่ วข้องโดยตรง ก็ตอ้ งใช้กฎหมายนัน้ ในการควบคุมดูแลเป็นหลัก เช่น เรือ่ งร้องเรียนเกีย่ วกับอาหาร ก็ตอ้ งให้สำ� นักงานคณะกรรมการอาหารและยาเป็นผูร้ บั ไปดูแล แต่ สคบ. ต้องรับการร้องเรียนไว้ ทุกเรือ่ ง แล้วประสานไปยังหน่วยงานทีก่ ำ� กับดูแลเรือ่ งเหล่านีโ้ ดยตรงเพือ่ ให้ดำ� เนินการต่อ แต่หาก เรื่องไหนไม่มีกฎหมายหรือหน่วยงานดูแลโดยตรง สคบ. จึงจะเข้าไปดูแล”

กับการเฝ้าระวังสือ่

“ภารกิจตามกฎหมายคุม้ ครองผูบ้ ริโภค ระบุวา่ ต้องให้ความคุม้ ครอง ผูบ้ ริโภคในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านการโฆษณา การคุม้ ครอง ผูบ้ ริโภคด้านฉลาก การคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านสัญญา การคุม้ ครองผูบ้ ริโภค ด้านขายตรงและตลาดแบบตรง และการบริการ ให้ค�ำปรึกษาแก่ผู้บริโภค ซึ่งการคุ้มครองผู้บริโภคด้านการโฆษณานั้นเกี่ยวข้องกับสื่อ ผู้ประกอบ ธุรกิจต้องให้ขอ้ มูลทีถ่ กู ต้องเพียงพอแก่ผบู้ ริโภค สคบ. จึงต้องเข้าไปก�ำกับ การโฆษณา การสือ่ สารต้องไม่เป็นเท็จ ไม่เกินความจริง ไม่ทำ� ให้เข้าใจผิด ไม่ผิดศีลธรรม ไม่ผิดกฎหมาย หรือไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนร�ำคาญ แก่ประชาชน เมือ่ เราตรวจพบก็ตอ้ งตรวจสอบและแจ้งให้ผปู้ ระกอบการแก้ไข โดยการพิจารณาเรือ่ งร้องเรียนต่าง ๆ จะด�ำเนินการในรูปของคณะกรรมการ ทุกเรื่อง ส่วนของการเฝ้าระวังโฆษณา สคบ. มีกองคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านการ โฆษณา ทั้งรับเรื่องร้องเรียนและตรวจสอบโดยการมอนิเตอร์สื่อด้วย เจ้าหน้าที่ในสื่อ 3 ประเภทหลัก คือ 1.สื่อสิ่งพิมพ์ 2.สื่อวิทยุ โทรทัศน์ และ 3.สื่อออนไลน์ โดยมีเจ้าหน้าที่อยู่ประมาณ 10 คน เมื่อตรวจสอบ พบว่ามีการโฆษณาทีอ่ าจไม่เป็นธรรมกับผูบ้ ริโภค จะเรียกเจ้าของธุรกิจมา ชีแ้ จง หากชีแ้ จงแล้วมีเหตุทตี่ อ้ งทดสอบพิสจู น์วา่ ท�ำได้ตามโฆษณาหรือไม่ ก็ต้องพิสูจน์ และน�ำผลการพิสูจน์เข้าสู่คณะกรรมการ หากท�ำไม่ได้ตาม โฆษณาก็ต้องกลับไปแก้ไขโฆษณาให้ถูกต้อง แต่ด้วยก�ำลังคนที่มีจ�ำกัด สคบ. จึงต้องท�ำงานร่วมกับเครือข่าย แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลัก ๆ ได้แก่ เครือข่ายภาครัฐ เครือข่ายภาคเอกชน และเครือข่ายภาคประชาสังคม


เครือข่ายภาครัฐ เราจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ขึน้ มา โดยเชือ่ มโยงบูรณาการกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง 28 หน่วยงาน โดยแต่ละหน่วยงานจะเห็นข้อมูลซึง่ กันและกัน สามารถแลกเปลีย่ น และถ่ายโอนข้อมูลเรือ่ งร้องเรียนไปยังหน่วยงานทีต่ อ้ งรับผิดชอบ โดยตรงได้ทนั ที เพราะบางครัง้ ผูบ้ ริโภคร้องเรียนไม่ตรงกับหน่วยงาน ทีต่ อ้ งรับผิดชอบ หน่วยงานเครือข่ายทัง้ 28 จะส่งต่อให้กนั ภายใน ระบบโดยผูบ้ ริโภคไม่ตอ้ งไปร้องเรียนใหม่ และท�ำได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้เรายังมีแอปพลิเคชันชื่อว่า OCPB Connect บริการ ประชาชน 4 ด้านหลัก ร้องทุกข์ เตือนภัย ตรวจสอบใบอนุญาต และ สถิติ เพือ่ ให้ประชาชนไม่ถกู ละเมิด เพราะเป็น แอปพลิเคชันที่ช่วยคัดกรองสินค้า และบริการที่เชื่อถือได้

เครือข่ายภาคเอกชน สคบ. ประสานกับสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย เพือ่ ให้ความรูเ้ รือ่ งต่าง ๆ กับผูป้ ระกอบการ เพือ่ ให้ดำ� เนินการให้ถกู ต้องตามกฎหมาย และจัด มอบโล่รางวัล สคบ. Consumer Protection Guarantee ให้กับผู้ประกอบการที่ 1.ท�ำถูก กฎหมาย 2.มีธรรมาภิบาล 3.มีระบบการ เยียวยา ซึ่งเป็นรางวัลที่สามารถน�ำไปแสดงให้ ผู้บริโภคดูได้ว่า สินค้าของคุณได้รับรางวัลจาก สคบ. ซึง่ เรามอบรางวัลมาแล้วประมาณ 4 ปี รางวัล จะมีอายุ 2 ปี เป็นการยกย่องผูป้ ระกอบการและ เชิญชวนให้เข้ามาร่วมเป็นเครือข่ายกับเรา

จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 010


เครือข่ายภาคประชาสังคม สคบ. จัดอบรมให้ความรู้อาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภครายบุคคลหลักสูตร 2 วัน เมื่อผ่านการทดสอบ ก็ออกวุฒบิ ตั รให้เป็นอาสาสมัครคุม้ ครองผูบ้ ริโภค อีกรูปแบบหนึง่ คือ สคบ. จัดอบรมให้ความรูเ้ กีย่ วกับกฎหมาย การคุม้ ครองผูบ้ ริโภคให้กบั อาสาสมัครในรูปองค์กร โดยหน่วยงานรวมตัวกันประมาณ 10 องค์กรมาขอรับอบรม จาก สคบ. ได้ ใช้เวลาอบรม 10 วัน อบรมแล้วมีการสอบและมอบวุฒบิ ตั รให้ ซึง่ เรามี ชมรมคุม้ ครองผูบ้ ริโภค กรุงเทพฯ ประจ�ำทัง้ 50 เขต รวมตัวกันเรียกว่า สมาพันธ์ชมรมคุม้ ครองผูบ้ ริโภคกรุงเทพฯ (อสคบ.) สมาชิก เป็นอาสาสมัครทั้งหมด เป็นเครือข่ายผู้บริโภคที่เข้มแข็งมาก ทั้งช่วยน�ำความรู้ไปกระจายต่อในพื้นที่ และ เป็นหูเป็นตาดูแลป้ายสื่อและโฆษณา เช่น ป้ายไวนิล จอ LCD ที่กระจายอยู่ทั่ว กทม. เมื่อพบการท�ำผิด อาสาสมัครเหล่านี้จะส่งพิกดั ท�ำรายงานเข้ามาให้ ท�ำให้ขอ้ จ�ำกัดเรือ่ งก�ำลังคนของเราลดลง รวมทั้งอาสาสมัคร ผูบ้ ริโภคจะหมุนเวียนกันเข้ามาช่วยรับเรือ่ งร้องเรียนที่ สคบ. ทุกวัน บางเรือ่ งสามารถแก้ปญ ั หาได้โดยอาสาสมัคร ต่อสายให้ผู้บริโภคกับผู้ประกอบการตกลงกัน แต่หากเป็นภาครัฐไกล่เกลี่ยบางกรณีต้องดูว่ามีอ�ำนาจท�ำได้ หรือไม่”

สืสร้่อางสรรค์ ปลอดภั ย สร้างได้อย่างไร “การรู้เท่าทันสื่อเราต้องมี ‘ความรู้’ ซึ่งสื่อที่ไม่ปลอดภัยและ ไม่สร้างสรรค์มักใช้หลักการของอารมณ์ กิเลส เพื่อยั่วยุ ท�ำให้ สมองส่วนที่เป็นเหตุผลหายไป และการได้รับผลกระทบจากสื่อ ไม่เหมือนการซือ้ สินค้า เป็นความเสียหายทีอ่ าจไม่เป็นรูปธรรมทันที เราต้องย้อนกลับไปจุดแรกทีส่ ถาบันการศึกษา คณะทีอ่ อกมาท�ำสือ่ คือ เด็กวารสารศาสตร์ นิเทศศาสตร์ ซึง่ เด็กกลุม่ นีอ้ นาคตจะอยูใ่ น ภาคเอกชน อยู่ในภาครัฐ หรืออยู่ในภาคประชาสังคม เด็กกลุ่มนี้ จึงต้องมีความรูเ้ รือ่ งการสร้างสือ่ และจริยธรรมสือ่ เข้าไปค้นหาผูน้ ำ� และน�ำมาขยายผลเพื่อพัฒนาคนต่อเป็นเครือข่าย สุดท้ายต้องมี การยกย่องเชิดชูคนที่ท�ำสื่อดีและสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดก�ำลังใจ นอกจากนี้ในการท�ำโฆษณาหรือสื่อ มีคนอยู่ในห่วงโซ่หลายคน หากมีคนคิดโฆษณาทีท่ ำ� สือ่ ไม่ดี เจ้าของสินค้าปฏิเสธการโฆษณา ทีไ่ ม่ดี และผูบ้ ริโภคก็ไม่ซอื้ สินค้าทีม่ โี ฆษณาล่อแหลม พลังเครือข่าย แบบนี้ คือสิ่งที่เราอยากเห็น หรือมีองค์กรที่มีพลังสามารถชี้น�ำ สังคมด้วยความรู้ที่พิสูจน์ได้ ทั้งทางวิทยาศาสตร์หรือพฤติกรรมที่ มีการส�ำรวจจริง ไม่ใช่การกล่าวอ้างความเห็นของตัวเอง อย่างไรก็ตามเรือ่ งการเฝ้าระวังสือ่ สคบ. มีการท�ำงานทีเ่ ข้มแข็ง กับกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ซึ่งก�ำกับดูแลโดย

กระทรวงวัฒนธรรม โดยร่วมอยู่ในคณะอนุกรรมการเฝ้าระวังสื่อ ทีไ่ ม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ ซึง่ กองทุนพัฒนาสือ่ ฯ มีทงั้ สนับสนุน การสร้างสื่อดี และให้ความรู้เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันกับประชาสังคม เชื่อว่าหากองค์กรต่าง ๆ ร่วมกันท�ำงาน โดยมีประชาชนร่วมเป็น เครือข่ายภาคประชาสังคม สื่อและโฆษณาที่ไม่ปลอดภัยและ ไม่สร้างสรรค์ก็จะลดน้อยลงและหมดไปจากสังคมไทย”


รูเ ทาทันสือ่ โฆษณา ผูบ ริโภครอง สคบ.ดานโฆษณา อันดับตน ๆ

การโฆษณาตอง ไม ไม ขัดตอศีลธรรมและกฎหมาย ไม ทําใหเกิดอันตรายตอสุขภาพและจิตใจ ไม กอใหเกิดความรําคาญ

เรือ่ งรองเรียน ป 2551 ผานกองการโฆษณา 2563 ทัง้ สิน้ 29,352 กรณี อยูร ะหวางดําเนินการ 6,172 กรณี ยุตเิ รือ่ ง 23,180 กรณี

1 2 3

สัง่ ซือ้ สินคาแลวไมไดรบั สินคา การโฆษณาเปนเท็จ/เกินจริง ตรวจสอบการใหบริการ

โทษ โฆษณาชวนเชือ่ -เกินจริง จําคุกไมเกิน 6 เดือน

ปรับไมเกิน 100,000 บาท หรือ ทัง้ จําทัง้ ปรับ

ทําผิดซํา้ จําคุกไมเกิน 1 ป

ปรับไมเกิน 200,000 บาท หรือ ทัง้ จําทัง้ ปรับ จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 012

BUY NOW

พบปญหา รองสายดวน สคบ.

1166

SELECT -50 Buy! shop

-70

shop

ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค(สคบ.) ต.ค. 2563

shop


กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสรางสรรค เสริมพลังผูรับทุนจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู

14 ผลงานสื่อสรางสรรค เพื่อปฏิรูปการศึกษาสําหรับเด็กและเยาวชน YouTube YouTube

Search

Next YouTube

Search

Search

Next Next 10:52

Video Title

10:52

UserAccount123 • 2 M views • 3 months ago

Video Title

10:52

UserAccount123 • 2 M views • 3 months ago

Video Title

UserAccount123 • 2 M views • 3 months ago

Thai Media Fund

UserAccount123 • 2 M views • 3 months ago

SUBSCRIBE 3.4 M

Thai Media Fund 10:52

UserAccount123 • 2 M views • 3 months ago

Video Title

SUBSCRIBE 3.4 M

Thai Media Fund

10:52

UserAccount123 • 2 M views • 3 months ago

Video Title

SUBSCRIBE 3.4 M

10:52

Video Title

UserAccount123 • 2 M views • 3 months ago

UserAccount123 • 2 M views • 3 months ago

UserAccount123 • 2 M views • 3 months ago

ผูรับทุน 14 โครงการประเภทเชิงยุทธศาสตร ป 2561 กับ 3

กลุมผลงาน : “สื่อเพื่อการปฏิรูปการศึกษาไทย”

“ตะเกียบหลายคูมัดรวมกันก็สามารถเปนขาเกาอี้ได”

เปนคําพูดที่สะทอนถึงพลังของเครือขายที่เขมแข็งไดเปนอยางดี

ครั้งนี้เราอยากฟงความเห็นของคุณถึงความสําคัญของภาคีเครือขาย

วามีสวนสําคัญอยางไรในการเฝาระวังสื่อและสรางการรูเทาทันสื่อ สแกน QR Code เขาไปตอบคําถามสัน้ ๆ ภายในวันที่ 15 ธันวาคม 2563 เทานัน้ สําหรับผูที่เขาไปตอบคําถาม 10 คนแรก รับไปเลย! หนากากอนามัยเก ๆ ไวใสปองกันโควิดกันคะ


กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ เลขที่ 388 อาคารเอส.พี. (ไอบีเอ็ม) อาคารบี ชั้น 6 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทร. 0 2273 0116-8 โทรสาร 0 2273 0119 อีเมล : contact@thaimediafund.or.th website : www.thaimediafund.or.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.