ท่านอาจารย์ รศ.ดร.ช�ำนาญ ณ สงขลา คือปูชนียบุคคลตัวอย่างผู้น�ำการ เปลีย่ นแปลง และนักปฏิรปู การศึกษาพอเพียง , มีวสิ ยั ทัศน์กา้ วไกล , เป็นนักบูรณาการ , ผู้เชี่ยวชาญนวัตกรรมสังคมแห่งการเรียนรู้ ถือได้ว่า ได้น้อมน�ำศาสตร์พระราชามา ประยุกต์ใช้อย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ ในชีวติ ส่วนตัว , ครอบครัว , การท�ำงานในต�ำแหน่งหน้าทีร่ าชการ มุ่งเน้นการพัฒนาคน พัฒนางาน พัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ และปฏิรูปการศึกษา อย่างต่อเนื่อง สร้างสรรค์ ทั้งในและนอกระบบการศึกษา เป็นการวางรากฐานความ มั่นคงของชาติ มิติสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อย่างเป็นคุณูปการยิ่ง เป็นต้นแบบ ( Model ) นักการศึกษา และนักพัฒนาทีท่ ำ� งานด้วยกระบวนทัศน์เป็นมิตอิ งค์รวม ทุกประการ สอดคล้องกับแก่นสาระปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง* 2 เงื่อนไข 4 มิติ
5
สืบเนื่องจากแนวคิดและความตั้งใจในการจัดตั้งส�ำนักส่งเสริมและการศึกษาต่อเนื่อง เพือ่ ให้เป็นองค์กรบริการวิชาการสูส่ งั คมหลากหลายรูปแบบ ทัง้ ผูด้ อ้ ยโอกาส , บุคลากร ภาครัฐ เอกชนซึง่ ท�ำงานช่วยเหลือประชาชนในพืน้ ทีภ่ าคใต้, สตรี เยาวชน องค์กร เครือข่าย ฯลฯ ท่านอาจารย์ จึงได้ก�ำหนดให้มีหน่วยงานย่อยส�ำหรับรองรับภารกิจนี้ เริ่มจากการ จัดตั้งศูนย์อาหารโภชนาการและการพัฒนาชนบทภาคใต้ อ.จะนะ จ.สงขลา ขึ้น เป็น ทั้งศูนย์เรียนรู้ แหล่งสาธิต สถานที่บริการประชาชนในการจัดฝึกอบรมประชุม สัมมนา แบบประหยัด พอเพียง ซึ่งมีท่านอาจารย์ รศ.ดร.วัฒนา ณ สงขลา เป็นผูอ้ ำ� นวยการ ฯ ท�ำ หน้าที่จัดฝึกอบรม ประชุม สัมมนา ช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสในภาคใต้ โดยประสานความ ร่วมมือกับองค์กรต่างๆ อาทิ ศูนย์อำ� นวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ( ศอ.บต.), ส�ำนักงานพัฒนาชุมชน, ส�ำนักงานเกษตรจังหวัด, วิทยาลัยสารพัดช่าง, ศูนย์การศึกษา นอกโรงเรียน ฯลฯ * ฝึกอบรมหลักสูตรระยะสั้นส�ำหรับสตรี และเยาวชนจังหวัดชายแดนภาคใต้ อาทิ อาหารโภชนาการ , ช่างฝีมอื ต่างๆ , การพัฒนาคุณภาพชีวติ สตรีและเยาวชน , ผลิตภัณฑ์ ชุมชน , การแพทย์แผนไทย , สมุนไพรเพื่อสุขภาพ , ชุมชนเข้มแข็ง ฯลฯ * ด�ำเนินโครงการสาธิตเชิงปฏิบัติการต่างๆ เช่น ร้านอาหารสุขภาพ, ร้านจ�ำหน่าย ผลิตภัณฑ์ชมุ ชน ที่ สถานีบริการวิชาการชุมชน อ.จะนะ จ.สงขลา, ศูนย์เรียนรูก้ ารแพทย์ แผนไทย จ.ปัตตานี และภาคใต้ทสี่ ถานีบริการวิชาการชุมชน จ.ปัตตานี, ศูนย์เรียนรูท้ อ่ ง เที่ยวเชิงอนุรักษ์ ที่สถานีบริการวิชาการชุมชน อ.เทพา จ.สงขลา * ให้บริการสถานที่พัก สถานที่ประชุม อบรม สัมมนาแก่ชุมชน , องค์กร , เครือข่ายทาง สังคมในภาคใต้ ทั้งภาครัฐ ภาคประชาชน ประชาสังคม ที่สถานีบริการวิชาการชุมชน ทั้ง 3 แห่ง ( จะนะ, เทพา, ปัตตานี )
7
* พบปะ เยี่ยมเยียน เสริมพลัง จัดอบรม สนับสนุนการจัดตั้งกลุ่มต่างๆในชุมชน, สนับสนุนการรวมกลุ่มแก้ไขปัญหาในชุมชน เช่น กลุ่มผ้าบาติค บ้านปอซัน อ.ยะรัง จ.ปัตตานี, สมาคมแพทย์แผนไทย จ.ปัตตานี, กลุ่มแม่บ้านธรรมาธิปไตย อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี, ชุมชนกะมิยอ อ.เมือง จ.ปัตตานี * ร่วมมือกับ องค์กรภาครัฐ , เอกชน , ภาคประชาสังคม ในการขับเคลื่อนภารกิจแก้ไข ปัญหาต่างๆของภาคใต้ อาทิ * รว่ มมือกับส�ำนักงานกองทุนเพือ่ การลงทุนทางสังคม ( Social Investment Fund หรือ SIF) ซึ่งสนับสนุนงบประมาณโดยธนาคารโลก ช่วยแก้ปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจสังคม ชายแดนใต้ ยุค IMF รับเป็นคณะติดตามประเมินผล ( พศ.2543 ถึง 2545 ) * บุคลากรร่วมเป็นวิทยากร , วิทยากรกระบวนการ , อาจารย์พเิ ศษ , เป็นคณะท�ำงาน , ที่ปรึกษาแก่องค์กรภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม ชุมชน เครือข่ายทางสังคม เช่น ศอ.บต. , ค่ายอิงคยุทธบริหาร , กอ.รมน.ภาค 4 ส่วนหน้า , ส่วนราชการทหาร ต�ำรวจ พลเรือน , สถาบัน ชุมชนท้องถิ่นพัฒนา, ส�ำนักงานวิจัยเพื่อท้องถิน่ ภาคใต้ ( สกว. ), โรงเรียนนายร้อยต�ำรวจ สามพราน จ.นครปฐม, ศูนย์บรู ณาการพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ กอ.รมน. ภาค 4 ส่วนหน้า, เครือข่ายผู้น�ำเยาวชนชายแดนภาคใต้ , ส่วนราชการ , ภาครัฐ เอกชน ภาค ประชาสังคม ภาคประชาชนอีกมากมาย ซึ่งเป็นองค์กรที่มีภารกิจช่วยแก้ไขปัญหา สถานการณ์การไอเอ็มเอฟ, สถานการณ์ชายแดนใต้ * วิจยั ปฏิบตั กิ ารเสริมพลังความมัน่ คงของชาติ มิตสิ งั คมและความมัน่ คงของมนุษย์ เรือ่ ง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : ธรรมาธิปไตยในพระองค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช (ความร่วมมือกับส�ำนักงานช่วยเหลือทางวิชาการ เขต 12 สงขลา กระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ , คณะสิง่ แวดล้อม มหาวิทยาลัย มหิดล ศาลายา จ.นครปฐม , ศูนย์บรู ณาการพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษ 5 จชต. กอ.รมน.ภาค 4 ส่วนหน้า , องค์กรภาคประชาชนเพือ่ สันติและเศรษฐกิจพอเพียงชายแดนใต้ : พศ.2550 ถึง 2551)
9
รองศาสตราจารย์ ดร.ช�ำนาญ ณ สงขลา (นามสกุลเดิม ประทุมสิ นธุ์) เป็นปูชนียบุคคลตัวอย่างผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง และนักปฏิรูป การศึกษา ของภาคใต้ ผู้มีความพอเพียง มีวิสัยทัศน์ก้าวไกล เป็น นักบูรณาการ ผูเ้ ชีย่ วชาญนวัตกรรมสังคมแห่งการเรียนรู้ ซึง่ ได้สร้าง คุณูปการที่แผ่ขยายสร้างคุณค่าต่อสังคมอย่างต่อเนื่อง และส่งต่อ คุณค่าแห่งชีวิตให้รุ่นต่อไปในหลายหลายมิติอย่างต่อเนื่อง รองศาสตราจารย์ ดร.ช�ำนาญ ณ สงขลา ศิษย์เก่าโรงเรียนมหาวชิราวุธ ผู ้ ส อบชิ ง ทุ น ตั ว แทนภาคใต้ ไ ปศึ ก ษาวิ ช าการศึ ก ษาที่ วิ ท ยาลั ย บ้านสมเด็จ และเป็นนักการศึกษาชัน้ น�ำด้านภูมศิ าสตร์ ทีไ่ ด้ทนุ ฟูล ไบรท์ไปศึกษาต่อทีม่ หาวิทยาลัยอินเดียนา ในระดับปริญญาโท และ จบระดั บ ปริ ญ ญาเอกสาขาการศึ ก ษาจากมหาวิ ท ยาลั ย มิ ซ ซู รี่ ประเทศสหรัฐอเมริกา นอกเหนือจากการก่อตัง้ คณะศึกษาศาสตร์
11
12
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และ โอนย้ายจากวิทยาลัย วิชาการศึกษา ประสานมิตร มา รับต�ำแหน่งเป็นคณบดีคนแรกเมือ่ ปี 2517 แล้ว อาจารย์ชำ� นาญได้ขยายงานในคณะ ศึกษาศาสตร์ให้มีโปรแกรมที่หลากหลาย อีกทั้งได้จัดตั้งโปรแกรมโรงเรียนสาธิต มัธยมศึกษาส�ำหรับนักเรียนไทยมุสลิม โปรแกรมฝึกอบรมเยาวชนจังหวัดชายแดน ภาคใต้ ด้วยวิสัยทัศน์ที่มองเห็นบริบทแห่งความยั่งยืน นอกจากนี้ ด้วยปณิธานในการ สร้างบริการทางวิชาการที่ทรงคุณค่าแก่สังคมและประชาชน อาจารย์ช�ำนาญได้จัดตั้ง ส� ำ นั ก ส่ ง เสริ ม และการศึ ก ษาต่ อ เนื่ อ ง รวมทั้ ง จั ด ตั้ ง ศู น ย์ พั ฒ นาเยาวชนภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และได้บูรณาการความร่วมมือหลากหลายภาคส่วนรวม ถึงได้รับเกียรติเป็นที่ปรึกษาศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ รองศาสตราจารย์ ดร.ช�ำนาญ ณ สงขลา ได้รเิ ริม่ จัดท�ำโครงการศึกษาศาสตร์เพือ่ พัฒนา ชุมชน โดยความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย มิซซูรี่ ประเทศสหรัฐอเมริกาจนกระทั่งคณะ สามารถจัดตัง้ โปรแกรมปริญญาโท สาขาศึกษาศาสตร์เพือ่ พัฒนาชุมชน และมีโครงการ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยมิซซูรี่ เพือ่ พัฒนาบุคคลากรระดับปริญญาเอกให้แก่มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ และได้รบั เกียรติ จากมหาวิทยาลัยมิซซูรี่ ให้รบั ปริญญาเอกดุษฎีบณ ั ฑิต กิตติมศักดิ์ สาขามนุษยธรรมอีกด้วย
13
รองศาสตราจารย์ ดร.ช�ำนาญ ณ สงขลา เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ และได้กระท�ำ ประโยชน์ยิ่งแก่การพัฒนาการศึกษาของภาคใต้ เป็นผู้อุทิศตนต่อส่วนรวมอย่างแท้จริง และยังได้สร้างชื่อเสียงแก่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์โดยได้รับ พระกรุณาโปรดเกล้า เป็นวุฒิสมาชิก ในสมัยนายกรัฐมนตรี ชวน หลีกภัย สิ่งใดท�ำให้ รองศาสตราจารย์ ดร. ช�ำนาญ ณ สงขลา ซึ่งปัจจุบัน อายุ 92 ปี สามารถ เป็นผู้ที่ส่งต่อคุณค่าที่ส�ำคัญยิ่งต่อสังคม ซึ่งยังสามารถแผ่ขยายสร้างคุณค่าในหลายมิติ อย่างต่อเนื่อง สิ่งใดเป็นบทเรียนรู้จากสุภาพบุรุษผู้น�ำซึ่งสร้างความแตกต่างด้วยความ รักผูกพัน สิง่ ใดเป็นแรงบันดาลใจให้คนรุน่ ต่อไปสานต่อ ในบทความนี้ ทายาทของ อาจารย์ ได้รวบรวมมุมมองที่ได้สังเกตท่านอาจารย์มาตลอดชีวิตในฐานะลูกชาย ศิษย์ และ คนรุ่นต่อไปไว้ดังนี้
14
15
1. พลังของ รองศาสตราจารย์ ดร. ช�ำนาญ ณ สงขลา ก�ำเนิดจากปณิธานที่ท่านตั้งมั่น ในการสร้างสรรค์ภาคใต้บา้ นเกิดของท่าน ให้มีความรักผูกพัน และความภาคภูมิใจ ในการสร้างสรรค์ประชาชนคุณภาพให้กบั ประเทศไทย ปณิธานนีเ้ ป็นสิง่ ทีท่ า่ นเฝ้าคิด อยูท่ กุ วันตัง้ แต่พวกเราจ�ำความได้ จวบจน ทุกวันนี้ และพลังที่บริสุทธิ์จากปณิธาน ของท่านได้ส่งต่อมาถึงพวกเราในรูปแบบ ต่างๆตลอด 60 ปีในวัยท�ำงานของท่าน รวม ถึงอีกกว่าสามสิบปี ในการใช้ชีวิตและยัง เปี่ยมพลังให้ผู้อื่นในการเดินหน้าต่อไป
16
2.
3.
จากวัยเด็กในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ด้วยการเลีย้ งดูของคุณแม่ รองศาสตราจารย์ ดร.ช�ำนาญ ณ สงขลา เป็นผู้ที่สร้างตัวเอง ด้วยสองมือและความศรัทธาในศักยภาพ ของตนเอง ตลอดเส้นทางที่ยากล�ำบาก แม้ชาติก�ำเนิดของท่านจะปรากฎว่าท่าน เป็นบุตรคนที่ 10 ของ พระยาอภิรกั ษ์ราช อุทยาน (ทิตย์ ณ สงขลา) เจ้ากรมสวนหลวง ผูร้ บั พระราชทานนามสกุล ณ สงขลา และ องค์มนตรีในล้นเกล้ารัชกาลที่ 6 และ 7 อาจารย์ชำ� นาญ มีความถ่อมตัวและศรัทธา อย่างยิ่งในการสร้างศักยภาพ และสร้าง ความภาคภูมิใจ ด้วยสองมือของตนเอง ตลอดชี วิ ต การท� ำ งานของท่ า น ซึ่ ง ใช้ นามสกุลประทุมสินธุ์ ซึง่ เป็นนามสกุลของ คุณแม่ ความศรัทธาในศักยภาพตนเองนี้ เป็นบทเรียนรู้ส�ำคัญ
รองศาสตราจารย์ ดร.ช�ำนาญ ณ สงขลา เป็นผู้ที่ใช้ชีวิตด้วยแก่นความรัก ความ กตัญญู ท่านวางแผนชีวิตอย่างสม�่ำเสมอ และมี แ ผ่ น กระดาษที่ ค อยเขี ย นถึ ง ก้ า ว ต่างๆในชีวิต ของท่าน การวางแผนชีวิต ด้วยแก่นความรักความกตัญญู ท�ำให้ท่าน มีความกล้าหาญและรอบคอบพร้อมกันไป การตัดสินใจครัง้ ส�ำคัญของท่านทีโ่ ยกย้าย ครอบครัวทั้งหมด จากโอกาสในกรุงเทพ มหานคร มาทีม่ หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี้ เป็นก้าวส�ำคัญทีข่ บั เคลือ่ น ด้วยความรักความกตัญญู ซึง่ ท่านเดินหน้า ลงมือท�ำตามแผนชีวติ อย่างกล้าหาญ และ ยืนหยัดเพือ่ ปณิธานการสร้างสรรค์ภาคใต้ ด้วยทุกหยดพลังของท่าน
17