ASA ACADEMIC (ISSUE 01/2018)

Page 1



วารสารสถาปัตยกรรม ของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ The Architectural Journal

of The Association of Siamese Architects Under Royal Patronage

ISSUE O1 / 2018

Design | Theory | History | Vernacular


วารสารสถาปัตยกรรม ของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects Under Royal Patronage ISSN : 0857-3050

คณะกรรมการบริหารสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี 2559-2561 นายกสมาคม / President อุปนายก / Vice President

อัชชพล ดุสิตนานนท์ / Ajaphol Dusitnanond เมธี รัศมีวิจิตรไพศาล / Metee Rasameevijitpisal ผศ.ดร.ธนะ จีระพิวัฒน์ / Asst.Prof.Thana Chirapiwat, Ph.D. ผศ.สุดจิต สนั่นไหว / Asst.Prof.Sudjit Sananwai ผศ.กิจโชติ นันทนสิริวิกรม / Asst.Prof.Quijxote Nuntanasirivikrom ปรีชา นวประภากุล / Preecha Navaprapakul

เลขาธิการ / Secretary General นายทะเบียน / Honorary Registrar เหรัญญิก / Honorary Treasurer ปฏิคม / Social Event Director ประชาสัมพันธ์ / Public Relations Director กรรมการกลาง / Executive Committee

ชาติเฉลิม เกลียวปฏินนท์ / Chartchalerm Klieopatinon พ.ต.ท.สักรินทร์ เขียวเซ็น / Pol.Lt.Col.Sakarin Khiewsen ภิรวดี ชูประวัติ / Pirawadee Chuprawat ทรงพจน์ สายสืบ / Songpot Saisueb ผศ.ดร.สุรพงษ์ เลิศสิทธิชัย / Asst.Prof.Surapong Lertsithichai, Ph.D. ม.ล.วรุตม์ วรวรรณ / M.L.Varudh Varavarn ผศ.ดร.ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์ / Asst.Prof.Nattawut Usavagovitwong, Ph.D. ณคุณ กำ�นลมาศ / Nakhun Kumnolmas

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกล้านนา / Chairman of Northern Region (Lanna) ประธานกรรมาธิการสถาปนิกอีสาน / Chairman of Northeastern Region (Esan) ประธานกรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ / Chairman of Southern Region (Taksin)

ขวัญชัย สุธรรมซาว / Khwanchai Suthamsao ผศ.สุรศักดิ์ โล่ห์วนิชชัย / Asst.Prof.Surasak Lowanitchai วิวัฒน์ จิตนวล / Wiwat Chitnuan

ASA Journal Team Steering Committee Prof.Dr.Vira Inpuntung Dr.Weeraphan Shinawatra Dr.Chalay Kunawong

Editor-in-Chief Asst.Prof.Dr.Supitcha Tovivich Editorial Team Asst.Prof.Dr.Waricha Wongphyat Dr.Kreangkrai Kirdsiri

Contributors Dr.Chamnarn Tirapas Dr.Chantanee Chiranthanut Jeerasak Kueasombut Asst.Prof.Dr.Nopadon Thungsakul Asst.Prof.Dr.Waricha Wongphyat Dr.Winyu Ardrugsa Dr.Wonchai Mongkolpradit

English Translators Tanakanya Changchaitum Paphop Kerdsup Parima Amnuaywattana English Advisor Luke Yeung Art Director Werapon Chiemvisudhi Co-ordinators Isarachai Buranaut Kanlayaporn Chongphaisal


บทบรรณาธิการ / Editorial วารสารอาษากลับมาอีกครั้งในรูปแบบใหม่ที่เกิดจาก ความพยายามและความตัง้ ใจของกองบรรณาธิการทีอ่ ยากจะเริม่ เชือ่ มโลกวิชาการเข้ากับโลกวิชาชีพ เมือ่ สมาคมสถาปนิกสยามฯ ได้มอบหมายให้เป็น Editor-in-Chief ของวารสารอาษารูปแบบ ใหม่นี้ สิง่ หนึง่ ทีน่ กึ ได้กค็ อื บทความประเภทการอัพเดทความเป็น ไปต่างๆ ในแวดวง หรือบทความที่มีแต่ความคิดเห็นส่วนตัวของ ผูเ้ ขียนต่องานสถาปัตยกรรมสักชิน้ ...ไม่นา่ จะใช่คำ� ตอบทีเ่ หมาะ กับยุคสมัย เนื่องจากเป็นสิ่งที่หาอ่านได้ง่ายดายในโลกออนไลน์ อีกทัง้ ด้วยนโยบายของสมาคมฯ เองทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับการเผย แพร่องค์ความรู้เชิงวิชาการสถาปัตยกรรมไปในวงกว้าง จึงเป็น ทีม่ าของโครงการจัดท�ำวารสารอาษารูปแบบใหม่ทมี่ เี นือ้ หาสาระ เข้มขึ้น อัดแน่นด้วยเนื้อหาวิชาการ เพื่อสถาปนิกผู้ปฏิบัติการที่ อาจจะได้แรงบันดาลใจ และข้อมูลเชิงลึกต่างๆ เพือ่ น�ำไปปรับใช้ ในงานออกแบบของตนเอง บทความวิชาการในเล่มนี้ เปิดรับงาน เขียนวิชาการจากทัว่ ประเทศ ทัง้ จากสถาปนิกและนักวิชาการทุก สังกัด ผ่านกระบวนการคัดสรรอย่างเป็นขั้นตอนและมีระบบ ทั้ง การอ้างอิงทฤษฏี บทวิเคราะห์มุมมองความคิดเห็นของผู้เขียน รวมไปถึงการกลั่นกรองบทความตามหลักวิชาการ ในลักษณะ Blind Peer Review คือปกปิดรายชือ่ ผูป้ ระเมินและผูเ้ ขียนบทความ โดยส่งมอบให้ผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้นๆ เป็นผู้ตรวจสอบ โดยปกติฐานข้อมูลของบทความเชิงวิชาการนั้นมักอยู่ ตามมหาวิทยาลัย หรือช่องทางออนไลน์ส�ำหรับสมาชิกเฉพาะ กลุ่มเท่านั้น นับเป็นโอกาสดีที่วารสารอาษารูปแบบใหม่นี้จะน�ำ เสนอข้อมูลเชิงวิชาการและเชิงลึกสูผ่ อู้ า่ นทีก่ ว้างขวางขึน้ วารสาร เล่มนี้อาจจะไม่ใช่ขนมหวานส�ำหรับคนที่ต้องการอ่านสนุกและ อ่านง่าย แต่อย่างน้อยแต่ละบทความมีคาแรกเตอร์ที่ “อ่านได้” และไม่ยากเกินความเข้าใจ ความยาวของบทความนัน้ จะสัน้ กว่า บทความวิชาการปกติ เนื้อหาพยายามมุ่งไปที่ประโยชน์ต่อการ ปฏิบตั วิ ชิ าชีพหรือการเรียนการสอนสถาปัตยกรรม เหมาะส�ำหรับ ผูท้ ตี่ อ้ งการทีจ่ ะเริม่ ศึกษาข้อมูลทีล่ กึ ซึง้ ในเบือ้ งต้น เป็นการเชือ่ ม โลกวิชาการกับโลกปฏิบตั กิ ารอีกทางหนึง่ แต่ละเล่มกองบรรณธิ การคัดสรรบทความ 7-8 เรือ่ งต่อเล่ม และมีกำ� หนดเผยแพร่ปลี ะ 2 เล่ม ส�ำหรับเล่มแรกนีม้ ี Theme ร่วมของเล่มทีส่ อดคล้องกับงาน สถาปนิก’61 คือ “History-Theory-Design-Vernacular”

The return of ASA Journal comes not only with a new

design but the intention to connect the country’s architectural academia to the professional world. Having agreed to take on the responsibility as the Editor-in-Chief of the reinvented edition of ASA Journal, one thing that comes to my mind is that industry updates and articles featuring solely the authors’ point of view towards their architectural projects are not the only answers, at least not ones that are distinct and would resonate well with the current media landscape. These types of articles are now ubiquitously available online. So it is the Association’s intention to promote academic works in the field of architecture to reach a wider group of audience. The new ASA Journal will intensify academic content for architectural practitioners - not only as a source of inspiration - but also for information towards the creation and development of their own architectural works.

The academic articles featured in this issue of ASA Journal

are submitted from contributors across the country by academics and architects from different organizations. A systematic selection process has been created and the articles will be diverse, from theoretical references to critical analyses of the authors’ viewpoints. A blind peer review process is also incorporated. With the authors’ and assessors’ identities concealed, the selection process will be made objectively by experts of that particular field.

Typically, academic journals can only be accessed through

databases in universities or online systems in which the information is available to a specific group of members. It is a great opportunity for the new ASA Journal to serve as a platform where academic and in-depth information can be presented and be made accessible to a wide group of readers. It may not be for someone who is looking for an easy read, but each of the selected articles will possess a ‘readable’ characteristic that is not too hard to digest. The length of the articles will be shorter than that of most academic journals with the content aiming to contribute to architectural practice and teaching. These articles will serve as a primary source of information for those who wish to pursue more elaborate study. In a way, it will connect the academic world to the actual practice of the profession. 7 or 8 articles will be selected to feature in one issue of the ASA Journal, which will be released bi-annually. For the first issue, the theme “History, Theory, Design, Vernacular” corresponds with that of the upcoming Architect Expo ’18.

ส�ำหรับผู้ที่สนใจส่งบทความเพือ่ พิจารณาตีพมิ พ์สามารถ For those who are interested in having your articles and สอบถามเรือ่ ง Theme ของเล่มหน้าและรายละเอียดอืน่ ๆ เพิม่ เติม writing published, do not hesitate to inquire about the themes and ได้ท ี่ asa.journal.academic@gmail.com details of future issues via asa.journal.academic@gmail.com

ผศ.ดร.สุพิชชา โตวิวิชญ์ Editor-in-Chief


่ งบ้านและงานออกแบบ เว็บเดียวครบ จบเรือ www.asa.or.th

ค้นหาสถาปนิก ทั่วประเทศ

ค้นหางาน ในวงการสถาปนิก

“ถ้าคลิกเข้าไปในเว็บไซต์ www.asa.or.th จะเห็นว่ามี การเปลีย ่ นแปลงไปจากเดิม มีเมนูใหม่ๆ ซึง ่ เป็นไฮไลต์ เช่น ‘find an architect’ ซึง ่ สถาปนิกสามารถน�าผลงานของ บริษัท ทัง ิ โี อมาลงบนเว็บไซต์ ้ ผลงาน รูปภาพ แม้แต่วด เป็นการแนะน�าบริษท ั ส่วนบุคคลทัว่ ไปก็สามารถเข้ามาค้นหา สถาปนิ ก ได้ เป็ น การตอบโจทย์ ทั้ ง บริ ษั ท สถาปนิ ก และ ผู้บริโภคที่ต้องการสร้างบ้าน ขณะเดียวกันบุคคลหรือ บริษท ั ทัว่ ไปสามารถน�าโฆษณามาลงได้ โดยโฆษณาดังกล่าว จะแสดงผลต่อเมื่อผู้เข้าชมได้แสดงความสนใจในเนื้อหา ทีเ่ กีย ่ วเนือ ่ งกับผลิตภัณฑ์นน ้ั ๆ

ไม่พลาดทุกข่าวสาร และกิจกรรม ในแวดวงสถาปนิก

ติดตามสื่อทุกช่องทางของสมาคมสถาปนิกสยามฯ

ทั้งวารสาร ASA CREW / อาษา / จดหมายข่าว / ASA Youtube Channel / ASA แอปพลิเคชั่น / เฟซบุ๊กสมาคมฯ พร้อมสมัครสมาชิกสมาคมฯ ทางออนไลน์ได้ทันที

นอกจากนีเ้ ว็บไซต์ดง ั กล่าวยังเป็นแหล่งรวมสือ ่ ต่างๆ ของสมาคมสถาปนิกสยามฯ เช่น จดหมายเหตุ วารสาร คลิปวิดโี อ รวมถึงเฟซบุก ๊ เพื่อให้เข้าชมง่ายขึน ้ อ่านง่ายขึน ้ บนทุกอุปกรณ์ และยังสามารถสมัครเข้าเป็นสมาชิกของ สมาคมฯ ทางออนไลน์ผา่ นเว็บไซต์ได้อก ี ด้วย ่ ะได้ประโยชน์จากเว็บไซต์น ้ี กลุม กลุม ่ คนหลักๆ ทีจ ่ แรก คือ สมาชิกสมาคมสถาปนิกสยามฯ สามารถน�าผลงานมา ลงบนเว็บไซต์ได้ทั้งในรูปแบบของสมาชิกที่เป็นรูปแบบ บริษท ั และรูปแบบบุคคล เพือ ่ ให้มค ี นเข้าถึงได้มากขึน ้ รวมถึง ประกาศหางานบนเว็บไซต์กไ็ ด้

4 - อสถาปนิกทีก ่ า� ลังหางาน กลุม ่ ต่อมาคือ นักศึก-ษาหรื สามารถเข้ามาหาโอกาสการท�างานกับบริษัททีเ่ ป็นสมาชิก ของสมาคมฯ และเชือ ่ ถือได้ JULY-AUG 2017 - ISSUE 05

กลุม ่ ต่อมาคือ บุคคลทัว่ ไป สามารถเข้าถึงฐานข้อมูล เพื่อค้นหาสถาปนิกตามประเภทงาน สถานทีแ ่ ละความถนัด รวมไปถึงติดตามข่าวสารทีน ่ า่ สนใจเกีย ่ วกับวงการสถาปนิก อยากขอเชิญชวนท่านสมาชิกสมาคมฯ อัปโหลดผลงาน ข้อมูลบริษัทและข้อมูลส่วนตัวของท่านขึน ้ บนระบบเว็บไซต์ ของสมาคมฯ และรับสิทธิป ์ ระกาศหางาน ส่วนบุคคลทัว่ ไป ลองเข้าชม อ่านบทความทีน ่ า่ สนใจ รับชมสือ่ ต่างๆ ของสมาคมฯ และลองใช้เมนูใหม่ ‘find an architect’ ดู รับรองว่า ได้ประโยชน์แน่นอนค่ะ” ศิริมาศ บิ๊กเลอร์

Senior Account Director Adelphi Digital Consulting Group ผู้พัฒนาเว็บไซต์ www.asa.or.th


สารนายกสมาคมฯ / Message from the ASA President วารสารอาษา เป็นวารสารทางด้านสถาปัตยกรรม ทีด่ ำ� เนินการจัดท�ำโดยสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ นับได้วา่ อยู่ ควบคูก่ นั มาเป็นระยะเวลายาวนาน ซึง่ เป็นพืน้ ทีส่ ำ� หรับเผยแพร่องค์ความรูท้ างด้านสถาปัตยกรรมให้แก่สมาชิก สถาปนิก นิสติ -นักศึกษา และผู้ที่สนใจได้ศึกษา ค้นคว้า รวมถึงเสริมสร้างแรงบันดาลใจในการออกแบบ เพื่อเป็นการเน้นย�้ำให้เกิดการผลักดันและส่งเสริม บรรยากาศทางความรู้ ความคิดสร้างสรรค์อนั ใหม่ๆ วารสารอาษาฉบับนีจ้ ะมีเนือ้ หาเฉพาะด้านวิชาการเป็นหลัก โดยจะรวบรวมบทความ หรือผลงานวิชาการสถาปัตยกรรม การออกแบบและสาขาอืน่ ๆทีเ่ กีย่ วข้อง ไม่วา่ จะเป็นรูปแบบบทความผลงานวิจยั บทความปริทศั น์ บทความวิจารณ์หนังสือ-บทความ บทความแปล บทความสรุปงานสร้างสรรค์และบทความสรุปผลการบริการวิชาการรับใช้สงั คม เป็นต้น โดยเปิดโอกาสให้สมาชิก นักวิชาการ สถาปนิก นิสติ -นักศึกษาและผูท้ สี่ นใจในศาสตร์ตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับสถาปัตยกรรม สามารถน�ำ เสนอบทความเพือ่ ตีพมิ พ์เผยแพร่องค์ความรูท้ จี่ ะก่อให้เกิดประโยชน์แก่วงการวิชาการ วิชาชีพสถาปนิกและน�ำไปสูส่ งั คมในวงกว้างต่อไป

The ASA Journal is an architectural journal produced and published by the Association of Siamese Architects under Royal Patronage

(ASA). For periods of time, it has been a platform for sharing and publishing architectural knowledge to members, architects, students, and other architecture enthusiasts who wish to explore, broaden and strengthen their design inspiration. In order to encourage a positive atmosphere for knowledge sharing and new creativity, this issue of ASA Journal will focus its contents on an academic approach through the collection of academic articles in architecture, design and other related disciplines such as original research, article reviews, book reviews and critiques, translations, and articles on creative works and socially-engaged scholarship. This journal will provide an opportunity for members, academics, architects, students, and those who are interested in the art and science of architecture to submit articles and publish their knowledge that will benefit the academic community as well as the architectural profession and to contribute further towards a wider society.

อัชชพล ดุสิตนานนท์ / Ajaphol Dusitnanond นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ / President, The Association of Siamese Architects Under Royal Patronage


Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage

วารสารของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์

Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage

วารสารของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์

- FRESH START -

ISSUE 05 JULY-AUG 2017

-SOCIAL ARCHITECT-

หลังเงาพระเมรุมาศ

-1-

NOV-DEC 2017 - ISSUE 07 The Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage

วารสารของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์

The Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage

วารสารของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์

The Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage

วารสารของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์

ติดตามวารสาร ย้อนหลังได้ทาง http://asa.or.th/asa-journal-th/ ISSUE 02 JANUARY 2017 ISSUE 03 MAR-APRIL 2017

- OPEN HOUSE -

ISSUE 07 NOV-DEC 2017

-HARIPHUNCHAI DIMENSIONISSUE 04 MAY-JUNE 2017

- CORE VALUE -


สารผูอำ้ �นวยการสำ�นักบริการวิชาการ / Message from the Academic Service Office เพือ่ ให้เป็นไปตามแนวนโยบายของนายกสมาคมฯและมติของคณะกรรมการบริหารฯวาระ 2559-61 ซึง่ เล็งเห็นความส�ำคัญของ การมีพื้นที่สนับสนุนให้เหล่าสมาชิกนักวิชาการและผู้ปฏิบัติวิชาชีพด้านสถาปัตยกรรมได้มีโอกาสเผยแพร่แนวคิดในการออกแบบ และงานวิจยั ด้านสถาปัตยกรรมมากขึน้ นอกเหนือไปจากวารสารที่สถาบันการศึกษาด้านสถาปัตยกรรมต่างๆ ได้จัดท�ำขึ้น ซึ่งยังมีอยู่ ในจ�ำนวนทีไ่ ม่มากนัก จึงมอบให้ ส�ำนักบริการวิชาการ สมาคมสถาปนิกสยามฯ จัดท�ำวารสารอาษาขึน้ โดยมีกำ� หนดออกปีละ 2 ฉบับ และเป็นสองภาษา ให้เป็นอีกช่องทางหนึง่ ในการสื่อสารแนวคิดและผลงานวิจัยด้านสถาปัตยกรรมและเกี่ยวเนื่องสู่สาธารณะ ทั้งใน และนอกประเทศผ่านสือ่ ออนไลน์ ดังนัน้ ในปี พ.ศ.2561นี้ สมาคมฯโดยส�ำนักบริการวิชาการ ได้มอบหมายให้ ผศ.ดร.สุพชิ ชา โตวิวชิ ญ์ เป็นบรรณาธิการเพือ่ จัดท�ำวารสารอาษา ฉบับที่ 1และ 2 ซึ่งจะว่าด้วยเรื่อง แนวคิดในการออกแบบ และ สถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ ทัง้ นี้ ฉบับนี้นับเป็นฉบับปฐมฤกษ์ ในช่วงระยะ 2 ปีถัดจากปี 2561เป็นต้นไป จึงขอเชิญชวนให้สมาชิกและนักวิชาการด้านสถาปัตยกรรม ทุกท่านติดตามประกาศของสมาคมฯ ในการเตรียมส่งบทความที่จะแจ้งให้ทราบต่อไป เพื่อคัดเลือกลงในวารสารอาษาของสมาคมฯ ในฉบับต่อๆ ไป

To follow the Association’s policy and the Board of Executive’s 2016-2018 agenda concerning the creation of a platform for fellow members in architectural academia and professional practitioners to promote and present design concepts and researches, the ‘new’ ASA Journal is conceived to expand academic resources and publications that up to now have been limited to architectural schools and institutes.

The Office of Academic Services of The Association of Siamese Architects (ASA) has been assigned to create this ‘ASA Journal’ and

it will be a bilingual (Thai and English) and biannual magazine. The new ASA Journal will become a platform where concepts and research related to architecture and other disciplines will be made accessible to both Thai and international readers. The year 2018 reintroduces ASA Journal on the new platform to be known as ASA Journal’. Assistant Professor Dr. Supitcha Tovivich, as the Editor-in-Chief, takes the responsibility in overseeing the creation of the first and second issues, with the content of the inaugural issue to feature design concepts and thinking and vernacular architecture.

From 2018 onwards, interested members and architectural academics can follow the latest updates from the Association about the

submission of articles that will be featured in the next issues of the ASA Journal.

ดร.วีระพันธุ์ ชินวัตร /

Weeraphan Shinawatra, Ph.D.

ผูอำ ้ �นวยการสำ�นักบริการวิชาการ / Director of Academic Service Office


สารบัญ / Contents การออกแบบ อาคารเรียน

โรงเรียนประภัสสรวิทยา

หน้า / Page

ตำ�บลเสม็ด อำ�เภอเมือง จังหวัดชลบุรี

คำ�สำ�คัญ: การสร้างขอบเขตและการปิดล้อม, ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่และระบบความสัมพันธ์,

10 - 25

ภาษาและระบบการสื่อสารการใช้งานอาคาร, ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อม

จีรศักดิ์ เกื้อสมบัติ

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร | annxmf@yahoo.com

Project Information: Prapassorn Wittaya’s School Building Owner: Prapassorn Wittaya School,

Samed Sub-district, Ampuemueng Chonburi

Keywords: Boundary and Enclosure, Character and Relation of Space, Language and interpretation,

Relationship between man and environment

Jeerasak Kuesombat

Faculty of Architecture, Silpakorn University | annxmf@yahoo.com

จากบ้านชาวนา สู่กระท่อมชงชาแห่งพระราชนิเวศน์คัตทสึระ: พืน้ ทีใ่ นระหว่างในสถาปัตยกรรมญีป่ นุ่

คำ�สำ�คัญ: พื้นที่ในระหว่าง, สถาปัตยกรรมญี่ปุ่น, บ้านชาวนา, กระท่อมชงชา, พระราชนิเวศน์คัตทสึระ

หน้า / Page

26 - 47

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วาริชา วงศ์พยัต

ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | waricha.arch@gmail.com

From Farmhouses to Teahouses of Katsura Imperial Villa: The In-Between Space in Japanese Architecture

Keywords: In-between space, Japanese architecture, minka, teahouses, Katsura Imperial Villa

Assistant Professor Waricha Wongphyat, Ph.D.

Department of Architecture, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University | waricha.arch@gmail.com

ท่วงทำ�นอง กวีศิลป์-สถาปัตย์ : สะอาด สว่าง สงบ จิตตปัญญาศิลป์ พุทธประทีปมหาสถูปเจดีย์

คำ�สำ�คัญ: จิตตปัญญาศิลป์, มณฑลศักดิ์สิทธิ์, จักรวาลวิทยา, สถูปเจดีย์

ดร.วันชัย มงคลประดิษฐ

ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | w.mongkolpradit@gmail.com

Rhythm of Poetry in Architecture: Clean, Clear and Calm The Contemplative Art of The Buddhaprathip Maha Stupa-Chaitya (The Great Buddha Light Pagoda) Keywords: Contemplative Art, Mandala, Cosmology, Pagoda

Wonchai Mongkolpradit, Ph.D.

Department of Architecture, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University | w.mongkolpradit@gmail.com

หน้า / Page

48 - 71


ร่างกายในสถานที่:

การศึกษาทางทฤษฎีของการก่อร่างเชิงความคิดและการต่อรองในชีวต ิ ประจำ�วัน คำ�สำ�คัญ: ภาพตัวแทน, ลักษณะเชิงการแสดง, ความใกล้ชิดในพื้นที่เมือง, อัตบุคคล, พื้นที่ ร่างกาย สถานที่

หน้า / Page

72 - 89

ดร.วิญญู อาจรักษา

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | ardrugsa@ap.tu.ac.th

Body in Place:

A Theoretical Investigation on Conceptual Constructionand Everyday Negotiation Keywords: Representation, Performativity, Urban Intimacy, Subject, Space, Body, Place

Winyu Ardrugsa, Ph.D.

Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University | ardrugsa@ap.tu.ac.th

Critical Vernacular Architecture: กรณีศึกษาในประเทศไทย

คำ�สำ�คัญ: พื้นถิ่น, ความคุ้นเคย, ความทันสมัย

หน้า / Page

90 - 105

ดร.ชำ�นาญ ติรภาส

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | ctirapas@yahoo.com

Critical Vernacular Architecture: Case Study Thailand

Keywords: Vernacular, Familiarization, Modernism

Chamnarn Tirapas, Ph.D.

School of Architecture and Design, King Mongkut’s University of Technology Thonburi | ctirapas@yahoo.com

จากเฮือนสู่บ้าน:

เรือนพื้นถิ่นภาคอีสานกับการปรับตัวสู่สังคมร่วมสมัย คำ�สำ�คัญ: เรือนพื้นถิ่น, เรือนอีสาน, การเปลี่ยนแปลงและปรับตัวของที่อยู่อาศัย

หน้า / Page

106 - 117

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นพดล ตั้งสกุล

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น | nopthu@kku.ac.th

From “Huan” to House:

Esan’s Vernacular Homes and Adaptation to Contemporary Culture Keywords: Vernacular house, House in northeast region or Esan House, Change and Adaptation of Housing

Assistant Professor Nopadon Thungsakul, Ph.D.

Department of Architecture, Faculty of Architecture Khon Kaen University | nopthu@kku.ac.th

แนวคิดสถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ ใหม่ สูก่ ารออกแบบและสร้างด้วยตนเอง

คำ�สำ�คัญ: แนวคิดพื้นถิ่นใหม่, ค่ายอาสา, ออกแบบก่อสร้างด้วยตนเอง, ความเข้าใจบริบทและการปรับใช้

ดร.จันทนีย์ จิรัณธนัฐ

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น | wchant@kku.ac.th

From New Vernacular to Design-Build Approach Keywords: New Vernacular Concept, Design-Build, Contextual Understanding and Adaptation

Chantanee Chiranthanut, Ph.D.

Faculty of Architecture, Khon Kaen University | wchant@kku.ac.th

หน้า / Page

118 - 135


การออกแบบ อาคารเรียน

โรงเรียนประภัสสรวิทยา ตำ�บลเสม็ด อำ�เภอเมือง จังหวัดชลบุรี จีรศักดิ์ เกื้อสมบัติ, ระพีพัฒน์ รัตน์โชติ, รุทธร สุวรรณโชติ, เกรียงไกร มีลือนาม, วิศรุต ดานาพงศ์ ,พรพยงค์ ดุรงคเวโรจน์

12 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


บทคัดย่อ กระบวนการออกแบบเริม่ ต้นจากศึกษาข้อจ�ำกัดต่างๆ เช่น ข้อจ�ำกัดด้านโครงสร้าง ความหลากหลายของโปรแกรม กลุ่มผู้ ใช้สอยอาคารที่มีความแตกต่างทางด้านกายภาพ สภาพที่ตั้งและ ลักษณะภูมอิ ากาศ โดยการวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้นน�ำไปสูป่ ระเด็น การตัง้ ค�ำถามสูก่ ารออกแบบ ซึง่ แบ่งเป็น3ประเด็นหลัก ประเด็นแรก สถาปัตยกรรมสามารถสร้างให้เกิดคุณภาพของพื้นที่และสภาพ แวดล้ อ มที่ เ หมาะสมกั บ โปรแกรมการใช้ ง านที่ ห ลากหลาย ได้อย่างไร ประเด็นที่สอง ในอาคารที่มีวัตถุประสงค์การใช้งานที่ หลากหลายและผูใ้ ช้สอยอาคารทีม่ คี วามแตกต่างกันทางกายภาพ จะมีวธิ กี ารจัดการระบบความสัมพันธ์ของพืน้ ทีใ่ ห้เกิดความยืดหยุน่ ในการใช้งานได้อย่างไร ประเด็นที่สาม สถาปัตยกรรมที่รักษา สมดุลในการปกป้องผู้อยู่จากสภาพแวดล้อมที่มีปัญหา แต่ยังมี ปฏิสัมพันธ์กับบริบทที่สวยงามได้ ควรมีลักษณะอย่างไร แนวความคิดในการออกแบบเป็นขั้นตอนที่ต่อเนื่องจาก ประเด็นค�ำถามที่ตั้งไว้ในเบื้องต้น โดยได้แบ่งแนวความคิดในการ ออกแบบเป็นประเด็นต่างๆโดยเริม่ ต้นจาก “การสร้างขอบเขต และ การ ปิดล้อม (Boundary and Enclosure)” ขนาดและลักษณะการปิดล้อม จะถูกออกแบบตามลักษณะเฉพาะของการใช้พื้นที่ที่หลากหลาย ในแต่ละกิจกรรม “ลักษณะทางกายภาพของพืน้ ที่ และ ระบบความ สัมพันธ์ (Character and Relation of Space)” การลดความชัดเจน ของพืน้ ทีเ่ พือ่ ให้เกิดความยืดหยุน่ ในการใช้งาน และ การแทรกพืน้ ที่ เพื่อให้เกิดล�ำดับการใช้งานและความสัมพันธ์ของพื้นที่แบบใหม่ “ภาษา และระบบการสื่อสารการใช้งานอาคาร (Language and interpretation)” เป็นความพยายามที่จะสร้างระบบสัญลักษณ์ ง่ายๆเพื่อสื่อสารถึงพื้นที่การใช้งานในลักษณะต่างของอาคารให้ ชัดเจนยิ่งขึ้น “ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อม (Relationship between man and environment)” ผู้ใช้สามารถ รับรูส้ ภาพแวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป เพือ่ การปรับตัวในการใช้พนื้ ที่ ให้เหมาะสมกิจกรรมนั้นๆ การท�ำความเข้าใจเงื่อนไขและข้อจ�ำกัดในการออกแบบ เป็นสิ่งส�ำคัญที่จะน�ำไปสู่ประเด็นค�ำถามและการวางแนวคิดใน การออกแบบ การท�ำความเข้าใจโปรแกรมการใช้งานของอาคาร การหาวิธีการและเครื่องมือต่างๆที่น�ำมาใช้ในการออกแบบควร ท�ำงานอย่างสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการออกแบบ โดยภาพ รวมแล้วการออกแบบอาคารนี้สามารถตอบสนองความต้องการ ของผู้ใช้อาคารในแต่ละประเภทได้ดี รูปทรงของอาคารและระบบ สัญลักษณ์ที่น�ำมาสร้างความเข้าใจการใช้งานอาคารสามารถ เข้าใจได้ง่าย การออกแบบที่คำ� นึงถึงสถาพแวดล้อมส่งผลต่อการ ลดการใช้ พ ลั ง งาน แต่ มิ ไ ด้ ล ดปฏิ สั ม พั น ธ์ ผู ้ ใ ช้ ง านกั บ สภาพ แวดล้อม คำ�สำ�คัญ: การสร้างขอบเขตและการปิดล้อม, ลักษณะทางกายภาพของ พืน้ ทีแ่ ละระบบความสัมพันธ์, ภาษาและระบบการสือ่ สารการใช้งานอาคาร, ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อม

13 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


Ground Floor Plan

Secound Floor Plan

Third Floor Plan

Fourth Floor Plan

14 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


South Elevation

East Elevation

North Elevation

West Elevation

15 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ที่มาและวัตถุประสงค์ของโครงการ โรงเรียนประภัสสรวิทยามีความต้องการเพิม่ พืน้ ทีเ่ พือ่ รองรับนักเรียนนักศึกษา ทีม่ จี ำ� นวนเพิม่ ขึน้ รวมทัง้ ต้องการพืน้ ทีส่ ว่ นสนับสนุนการศึกษา พืน้ ทีน่ นั ทนาการและห้องสมุด เพือ่ เป็นแหล่งค้นหาความรู้ ด้วยตนเอง ทั้งในระดับประถมศึกษาและระดับอาชีวศึกษา อีกทั้งต้องการให้อาคารหลังนี้เป็นอาคาร ส�ำนักงานและส่วนบริหารของโรงเรียน โดยทางโรงเรียนมีวิสัยทัศน์ในการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียน การสอนด้วยการส่งเสริมปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมทางการศึกษาให้มีคุณภาพมากขึ้น ดังนั้นการ ออกแบบจึงเน้นการสร้างคุณภาพของพื้นที่ให้ตอบสนองการใช้งานของผู้ใช้เป็นหลัก ทั้งกิจกรรมที่ เกิดขึ้นภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ซึ่งจะเน้นให้เกิดความยืดหยุ่นในการใช้พื้นที่เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพในการใช้งานอาคารสูงสุด

ผังโครงการ : โรงเรียนประภัสสรวิทยา

สภาพปัญหาและข้อจำ�กัดในการออกแบบ ปัญหาในการออกแบบคืออาคารหลังนี้ได้ท�ำการออกแบบ และท�ำการตอกเสาเข็มไว้แล้ว ในลักษณะเป็นแบบ double-loaded corridor ซึง่ เป็นเงือ่ นไขหลักในการออกแบบสถาปัตยกรรมและ การออกแบบโครงสร้าง โดยอาคารทีอ่ อกแบบขึน้ ใหม่ตอ้ งสามารถอยูบ่ นโครงสร้างเสาเข็มเดิมได้มาก ที่สุด และอาคารที่สร้างขึ้นต้องเหมาะสมกับภูมิประเทศแบบ “มรสุมเขตร้อน” สอดคล้องกับสภาพ อากาศที่มีฝนตกชุก ลมแรง และ อากาศร้อนโดยอาคารจะต้องป้องกันสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวน และสามารถน�ำพลังงานทางธรรมชาติที่ดีมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในเชิงอนุรักษ์พลังงานให้กับอาคาร อาคารนีส้ ร้างขึน้ ด้วยวัตถุประสงค์เพือ่ เป็นอาคารศูนย์กลางการเรียนรูแ้ ละบริหารงานทีส่ ำ� คัญ ของโรงเรียน โดยต�ำแหน่งที่ตั้งควรอยู่ในพื้นที่เข้าถึงได้ง่ายมี ความเชื่อมต่อที่ดีกับอาคารอื่นๆ แต่ ปัญหาคือผังของโรงเรียนเดิมไม่ได้มีการวางผังไว้ ประกอบด้วยการขยายตัวของกลุ่มอาคารเป็นการ สร้างต่อกันไปเรื่อยๆ โดยเริ่มจากทางด้านหน้า จึงท�ำให้ต�ำแหน่งของอาคารมีข้อเสียในเรื่องมุมมอง จากภายนอก ซึ่งถูกบดบังจากอาคารที่อยู่โดยรอบ แต่เนื่องจากการมีพื้นที่ตั้งอาคารอยู่ติดกับ ที่ว่าง ส่วนกลางของผังจึงมีข้อดีเรื่องการเปิดมุมมองสู่กลุ่มอาคารภายในด้วยกัน อีกทั้งยังอยู่ในต�ำแหน่งที่ มีระยะใกล้กบั อาคารอืน่ ๆ และสามารถเชือ่ มต่อกับอาคารอืน่ ๆ ได้ดจี งึ ถือเป็นข้อดีในการวางผังอาคาร ประเภทโรงเรียนและสถานศึกษา ที่ต้องค�ำนึงถึงการเข้าถึง ความต่อเนื่องในการเดินทาง และความ ปลอดภัย ของนักเรียน นักศึกษาเป็นหลัก ปัจจัยทางสภาพภูมิอากาศส่งผลในระดับการวางผังอาคารเป็นอย่างมาก เนื่องจากพื้นที่ ก่อสร้างอาคารเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า วางตัวขนานไปกับแนวทิศตะวันออก และ ทิศตะวันตก ด้านหน้า ของอาคาร หันไปทางทิศใต้ซึ่งเป็นทางเข้าหลักของอาคาร และเป็นทิศที่มีปริมาณความร้อนเข้าสู่ อาคารได้มากทีส่ ดุ ซึง่ กลายมาเป็นเงือ่ นไขหลักในการออกแบบอาคารเพือ่ แก้ปญ ั หาข้อจ�ำกัดทางด้าน ที่ตั้ง ในขั้นตอนการออกแบบในล�ำดับต่อไป 16 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ประเด็นคำ�ถามสู่การออกแบบ 1. สถาปัตยกรรมสามารถสร้างให้เกิดคุณภาพของพื้นที่และสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับผู้ใช้งานที่ เป็นนักเรียนนักศึกษาได้อย่างไร 2. ในอาคารที่มีวัตถุประสงค์การใช้งานที่หลากหลาย และผู้ใช้สอยอาคารที่มีความแตกต่างกันทาง กายภาพ จะมีวิธีการจัดการความสัมพันธ์ในการใช้สอยอาคารอย่างไร 3. ในพืน้ ทีท่ มี่ สี ภาพภูมอิ ากาศทีม่ คี วามแปรปรวน ฝนตกชุก และมีลมแรงในฤดูมรสุม แต่มที ศั นียภาพ ที่สวยงามอย่างเช่นชลบุรี รูปแบบทางสถาปัตยกรรมใดที่จะรักษาสมดุลในการปกป้องผู้อยู่จาก สภาพแวดล้อมที่มีปัญหา แต่ยังมีปฏิสัมพันธ์กับบริบทที่สวยงามได้ ควรมีลักษณะอย่างไร

แนวคิดในการออกแบบ “การสร้างขอบเขต และ การปิดล้อม (Boundary and Enclosure)” แนวความคิดในการ ออกแบบพืน้ ทีใ่ ช้สอยต่างๆ ในอาคาร เริม่ ต้นจากการท�ำความเข้าใจพฤติกรรมการใช้งานไปทีละพืน้ ที่ โดยข้อมูลในการออกแบบนัน้ มาจากการสัมภาษาพูดคุยถึงเรือ่ งการใช้สอยพืน้ ที่ เช่น ครู นักเรียน และ พนักงานของโรงเรียนเป็นหลัก โดยแนวคิดของขนาดห้องเรียนถูกก�ำหนดขึน้ จากลักษณะกิจกรรมการ เรียนการสอนที่เกิดขึ้นในหลากหลายรูปแบบ เช่น การนั่งเรียนฟังบรรยาย การล้อมวงท�ำกิจกรรม ซึ่ง มาจากพฤติกรรมการเรียนการสอนที่เกิดขึ้นจริงน�ำมาเป็นเงื่อนไขในการก�ำหนดขอบเขต และ ขนาด ของห้อง โดยการปิดล้อมพื้นที่ในส่วนห้องเรียนที่ต้องการให้เกิดสมาธิสูงสุด จึงเป็นการปิดล้อมเพื่อ ปิดกั้นสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่เรียนด้วยกัน และ เลือกเปิดรับบรรยากาศภายนอกเช่น แสง และ บรรยากาศสภาพแวดล้อมภายนอก ผ่านช่องเปิดขนาดใหญ่ภายในห้องเรียน ส่วนในห้องเรียนประเภท สันทนาการ เช่น ห้องเรียนทางศิลปะที่ไม่จำ� เป็นต้องการสมาธิมาก ระดับของการปิดล้อมน้อยลงกว่า พื้นที่ห้องเรียน โดยการปิดล้อมด้วยผนังกระจกท�ำให้มองเห็นกิจกรรมที่อยู่ภายนอกห้องเรียนได้ เพื่อ ให้เกิดแรงกระตุ้นในการอยากท�ำกิจกรรม และเปิดรับธรรมชาติภายนอกเข้ามาอย่างเต็มที่ ส่วนพื้นที่ ท�ำกิจกรรมนอกห้องเรียน เช่น ลานดนตรี เป็นการสร้างขอบเขตของพื้นทีโดยการลดระดับของพื้นที่ และ อยูใ่ นต�ำแหน่งทีส่ ามารถเอือ้ ให้เกิดกิจกรรมทีต่ อ่ เนือ่ งจากภายในสู่ ภายนอกได้โดยง่าย สรุปแล้ว พืน้ ทีท่ งั้ 3 ประเภทนีผ้ ใู้ ช้งานสามารถรับรูถ้ งึ ความแตกต่างได้ผา่ นการใช้งาน และการรับรูน้ ำ�้ หนักของ การปิดล้อมที่ต่างกัน

Degree of Boundary and Enclosure

17 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


“ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ และ ระบบความสัมพันธ์ (Character and Relation of Space)” ค�ำถามที่มีต่อลักษณะการใช้พื้นที่ของอาคารเรียนทั่วไปคือ ห้องเรียนหรือพื้นที่ต่างๆ จะถูก ก�ำหนดการใช้งานไว้อย่างชัดเจนในทุกพื้นที่มากเกินไป ท�ำให้ขาดประสิทธิภาพในการใช้พื้นที่สูงสุด ดังนัน้ ในการลดความชัดเจนของบางพืน้ ทีล่ งบ้างเพือ่ ให้เกิดความยืดหยุน่ ในการใช้งาน โดยพืน้ ทีเ่ รียน กึง่ สันทนาการ ถูกออกแบบให้มลี กั ษณะเป็นพืน้ ทีโ่ ล่งและแทรกตัวอยูร่ ะหว่างห้องเรียนแบบปิดภายใน อาคาร ซึ่งเป็นพื้นที่ที่พร้อมจะปรับเปลี่ยนให้เป็นพื้นที่เรียนหรือเป็นพื้นที่ท�ำกิจกรรมและพักผ่อนของ นักเรียนก็ได้ การแทรกพื้นที่ที่ไม่ก�ำหนดไว้ชัดเจนนี้ ท�ำให้เกิดรูปแบบความสัมพันธ์แบบใหม่ที่ทำ� ให้ นักเรียนรู้สึกว่าการเรียนไม่ได้จ�ำเป็นต้องอยู่ภายในห้องเรียนเสมอไป โดยความสัมพันธ์ของพื้นที่ แบบเดิมๆ ทีห่ ากนักเรียนจะเล่นหรือท�ำกิจกรรมภายนอกห้องเรียนนัน้ อาจต้องเดินทางไปยังพืน้ ทีน่ นั้ เช่น สนามที่ถูกแยกออกจากอาคารชัดเจน โดยความสัมพันธ์ใหม่นี้พื้นที่กิจกรรมจะถูกแทรกและ กลมกลืนไปกับพื้นที่ห้องเรียน

“ภาษา และระบบการสื่อสารการใช้งานอาคาร (Language and Interpretation)” เป็น ความพยายามทีจ่ ะสร้างระบบสัญลักษณ์งา่ ยๆเพือ่ สือ่ สารถึงพืน้ ทีก่ ารใช้งานในลักษณะต่างของอาคาร โดยอ้างอิงแนวคิดที่ Herman Hertzberger ได้กล่าวถึงภาษาและการสื่อสารในสถาปัตยกรรมว่า “ภาษาทางสถาปั ต ยกรรมที่ สื อ สารผ่ า นรู ป แบบ และองค์ ป ระกอบทางกายภาพของ สถาปัตยกรรมนั้น เปรียบเทียบได้กับ ภาษาของมนุษย์ที่ใช้ตัวอักษรท�ำหน้าที่เป็นรูปลักษณ์ ทางกายภาพและมีระบบการตีความและการสือ่ สารทีส่ ามารถท�ำให้มนุษย์สามารถรับรูค้ วาม หมายได้เช่นเดียวกัน (Herman Hertzberger, Lessons for Student in Architecture, published in 1991)” โดยผู้ใช้จะรับรู้สัญลักษณ์การใช้งานพื้นที่ที่แตกต่างกันผ่านรูปแบบของเปลือกอาคาร 3 แบบ 1.ผนังทึบ แสดงสัญลักษณ์ของพื้นที่ส่วนตัว ส�ำนักงาน ห้องพักครู 2.ผนังช่องลม แสดงสัญลักษณ์ของพื้นที่กิจกรรม และห้องเรียน 3.ผนังกระจก แสดงสัญลักษณ์ของพื้นที่สาธารณะ

18

Type of Facade

วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ลักษณะพื้นที่แตกต่างผ่านการรับรู้การปิดล้อมของเปลือกอาคารแต่ละประเภท

“ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อม (Relationship Between Man and Environment)” สถาปัตยกรรมหรืออาคารทีถ่ กู ออกแบบขึน้ มีหน้าทีเ่ ป็นตัวกลางในการสร้างความสัมพันธ์ของ มนุษย์ที่เป็นผู้ใช้สอยอาคาร กับสภาพแวดล้อมที่ส่งผลโดยตรงในการด�ำรงชีวิตซึ่งพร้อมที่จะ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นอาคารจึงมีหน้าที่ให้ผู้ใช้งานสามารถรับรู้สภาพแวดล้อมที่ เปลีย่ นแปลงไป เพือ่ การปรับตัวในการใช้พนื้ ทีใ่ ห้เหมาะสมกิจกรรมนัน้ ๆ เช่น แสงทีเ่ ปลีย่ นแปลงตาม เวลาท�ำให้เกิดร่มเงาในอาคารที่เปลี่ยนไปท�ำให้กิจกรรมนั้นต้องย้ายที่ไปและในที่เดิมอาจเปลี่ยนไป เป็นกิจกรรมใหม่ทเี่ หมาะสมเข้ามาแทนที่ โดยผูใ้ ช้สามารถรับรูส้ ภาพแวดล้อมผ่านประสาทสัมผัสการ รับรู้พื้นฐาน เช่น การมองเห็น และ การสัมผัส

ปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานกับสภาพแวดล้อม ผ่านที่ว่างทางสถาปัตยกรรม

19 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


หุ่นจำ�ลองแนวความคิดในการออกแบบรูปทรงอาคาร

ที่มาของรูปทรงอาคาร รูปทรงของอาคารก่อรูปขึน้ จากแนวคิดในการออกแบบพืน้ ที่ ระบบความสัมพันธ์ และ ปฎิสมั พันธ์ ระหว่างผู้ใช้กับสภาพแวดล้อม มาวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางในการออกแบบรูปทรงของอาคาร ไป พร้อมๆ กับข้อจ�ำกัดทางด้านโครงสร้างทีจ่ ำ� เป็นต้องใช้ตำ� แหน่งของเสาเข็มเดิมให้เกิดประโยชน์ได้มาก ที่สุด โดยระบบ single-loaded corridor มีลักษณะที่เหมาะสมต่อการสร้างปฏิสัมพันธ์ผ่านมุมมอง ออกสู่สภาพแวดล้อมภายนอก มีความยืดหยุ่นต่อการวางต�ำแหน่งฟังก์ชันการใช้งานเพื่อสร้างระบบ ความสัมพันธ์พื้นที่ภายใน และเป็นรูปแบบอาคารที่สามารถระบายอากาศภายในห้องได้ดี อีกทั้งยัง สามารถน�ำแสงธรรมชาติเข้าสู่อาคารได้อย่างทั่วถึงเพื่อช่วยเรื่องคุณภาพแสงภายในห้องเรียนได้ดี นักเรียนที่เป็นผู้ใช้สอยหลักของอาคารควรมีความปลอดภัยจากการดูแลของครูอาจารย์อย่างทั่วถึง ทัง้ ในขณะเรียนและเล่น ซึง่ ในส่วนการใช้งานของพืน้ ทีส่ าธารณะต่างๆ เช่น ห้องสมุด ร้านค้าสวัสดิการ ของนักศึกษา หรือ ส�ำนักงานส่วนบริหารโรงเรียน ต้องการการรับรู้ทางกายภาพของพื้นที่ที่ง่าย และ ล�ำดับการใช้งานอาคารทีช่ ดั เจน โดยเลือกการวางผังอาคารเป็นรูปตัว S ซึง่ เป็นรูปทรงทีส่ ามารถสร้าง พื้นที่ courtyard ได้ 2 ต�ำแหน่ง โดย courtyard ที่ 1 มีพื้นที่ส่วนห้องเรียนระดับปฐมวัยล้อมรอบ และ ปิดล้อมพื้นที่ลานกิจกรรมที่อยู่ด้านใน และ courtyard ที่ 2 มีพื้นที่ส่วนพื้นที่สาธารณะ เช่น ส�ำนักงาน ห้องสมุด และร้านค้าล้อมรอบ ซึ่งทุกพื้นที่ใช้สอยอยู่ในต�ำแหน่งที่ถูกมองเห็นได้ชัดเจน และสามารถ เข้าถึงได้โดยตรงจากภายนอก โดย courtyard จะหันออกเพื่อเชื่อมต่อกับพื้นที่สาธารณะภายนอก โดยระบบ courtyard ถูกน�ำมาใช้ด้วยเหตุผลการจัดกลุ่มความสัมพันธ์ของกลุ่มการใช้งานส่วน ห้องเรียน ที่ต้องการความสงบและความเป็นส่วนตัว กับกลุ่มการใช้งานส่วนบริหาร ที่เป็นพื้นที่ สาธารณะ เพือ่ ให้เกิดความแตกต่างระหว่างความเป็นพืน้ ทีส่ ว่ นตัวและพืน้ ทีส่ าธารณะทีช่ ดั เจนมากขึน้

20 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


21 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


การออกแบบเปลือกอาคาร เปลือกอาคารนอกจากท�ำหน้าที่ห่อหุ้มกิจกรรมที่อยู่ภายในแล้ว ยังท�ำหน้าที่สื่อสารลักษณะ การใช้งานพืน้ ทีส่ ว่ นต่างๆ ผ่านสัญลักษณ์และน�ำ้ หนักของความโปร่ง ความพรุน ความทึบ ของเปลือก อาคาร โดยการแบ่งแยกให้เห็นหน่วยย่อยของพืน้ ทีเ่ ป็นก้อนๆ แล้วใช้ระดับของความทึบโปร่งแทนค่า ตามสัญลักษณ์ที่ตั้งค่าไว้ในการออกแบบ โดยภาษาของการใช้บล็อคช่องลมในอาคารหลังนี้ได้รับ อิทธิพลมาจากอาคารของโรงเรียนหลังเดิมทีม่ กี ารใช้แผงบังแดดแบบรังผึง้ ทีว่ สั ดุทำ� จากไฟเบอร์ซเี มนต์ ซึ่งยังสามารถใช้ประโยชน์ในการบังแดดบังฝนได้ดีอยู่โดยมีการใช้อยู่ในทุกอาคารซึ่งกลายเป็น สัญลักษณ์ของอาคารเรียนในการรับรูข้ องคนทัว่ ไป และสะท้อนรูปแบบของสถาปัตยกรรมยุคโมเดิรน์ ของไทยที่มักมีการออกแบบแผงกันแดดตามลักษณะดังกล่าว จึงพยายามที่จะน�ำวัตถุประสงค์ของ แผงกันแดดแบบเก่ามาประยุกต์ให้เข้ากับการใช้งานแบบใหม่ โดยออกแบบเป็นแผงผนังช่องลมความ สูงจากพื้นถึงฝ้า ที่ประกอบกันจากบล็อคคอนกรีตขนาด 25x25 เซนติเมตรประกอบกันเป็นชุดขนาด 4x4 ช่อง และ 4x8 ช่อง ใช้วธิ กี อ่ ผนังโดยการเรียงแบบบล็อคช่องลมทัว่ ไป หน้าทีข่ องผนังบล็อคช่องลม ส่วนบนท�ำหน้าที่ในการป้องกันแสงแดด และกันฝน ส่วนล่างท�ำหน้าที่เป็นระเบียงกันตก และ แผง บังตางานระบบปรับอากาศ ในบริเวณช่วงกลางของแผงเว้นว่างเป็นช่องว่างให้สมั พันธ์กบั ช่องหน้าต่าง ของห้องเรียนด้านในเพื่อให้เกิดข้อจ�ำกัดเรื่องการกีดขวางมุมมองออกสู่ภายนอก

การประเมินการออกแบบ ทางด้านการใช้งาน อาคารเป็นการวางผังด้วยรูปทรงทีเ่ รียบง่ายและมีการก�ำหนดทางเข้าออกของแต่ละพืน้ ที่ ชัดเจนจากการวางต�ำแหน่งทางเข้าของแต่ละพื้นที่ใช้งานให้แยกจากกันและแสดงสัญลักษณ์ของทางเข้าที่แตกต่าง กันผ่านรูปแบบของการปิดล้อมทีม่ คี วามแตกต่างกันชัดเจน โดยทางเข้าส่วนอาคารส�ำนักงานและส่วนนันทนาการจะ ถูกออกแบบให้เป็นลักษณะ courtyard หันออกเชื่อมต่อกับพื้นที่สาธารณะภายนอกอาคาร แต่ทางเข้าส่วนพื้นที่เรียน จะถูกออกแบบให้เป็นลักษณะ courtyard หันเข้าแล้วเจาะทางเข้าเชื่อมต่อกับพื้นที่สาธารณะเพียงเล็กน้อยเพื่อแสดง ถึงพื้นที่ที่มีความต้องการส่วนตัวในการใช้พื้นที่ ซึ่งผลคือถึงแม้อาคารจะประกอบไปด้วยการใช้งานที่หลากหลายแต่ การออกแบบช่วยลดความสับสนในการใช้งานอาคารได้ดี ในส่วนของแนวความคิดเรือ่ งการออกแบบพืน้ ทีภ่ ายในและภายนอกให้มคี วามสอดคล้องและยืดหยุน่ เข้าหา กันจากการวางผังอาคารเป็นรูปตัว S โดยให้พื้นที่ courtyard ซึ่งท�ำหน้าที่เป็นลานกิจกรรมอยู่ด้านในนั้น พบว่าพื้นที่ กิจกรรมดังกล่าวมีประสิทธิภาพในการใช้งานสูง เป็นพื้นที่สามารถสร้างความต่อเนื่องกับกิจกรรมที่อยู่ภายในอาคาร ได้ดี แต่เนื่องจากเป็นพื้นที่เปิดจึงมีข้อจ�ำกัดเรื่องการควบคุมเสียง ผลจากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมซึง่ น�ำมาสูก่ ารเลือกรูปทรงในการวางผังเป็นรูปตัว S การเจาะช่องและเว้น เป็นพืน้ ทีว่ า่ งให้ลมสามารถผ่านอาคารตามทิศทางของลมทัง้ 2 ฤดู ประกอบการเลือกใช้การวางห้องแบบ single-loaded corridor เพือ่ ให้อากาศถ่ายเทได้สะดวกและการติดตัง้ แผงบล็อคช่องลมเพือ่ ลดความร้อนเข้าสูอ่ าคารนัน้ ส่งผลถึงการ ลดการใช้พลังงานเพือ่ ระบายความร้อนได้ดี โดยแผงบล็อคช่องลมจะท�ำหน้าทีล่ ดความร้อนจากแสงแดดทีจ่ ะส่องมายัง ผนังอาคารโดยตรงได้ส่วนหนึ่ง และอากาศร้อนที่ผ่านผนังบล็อคช่องลมมาได้จะถูกระบายออกจากการพัดพาของลม ตามธรรมชาติ โดยสรุปแล้วการออกแบบสามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้อาคารในแต่ละประเภทได้ดี รูปทรงของ อาคารและระบบสัญลักษณ์ที่น�ำมาสร้างความเข้าใจการใช้งานอาคารสามารถเข้าใจได้ง่าย การออกแบบที่ค�ำนึงถึง สถาพแวดล้อมส่งผลท�ำให้เกิดการลดใช้พลังงาน ในการออกแบบอาคารประเภททีม่ คี วามต้องการใช้พนื้ ทีห่ ลากหลาย การท�ำความเข้าใจโปรแกรมการใช้งานของอาคารมีความส�ำคัญในการออกแบบเป็นอย่างยิ่ง วิธีการและเครื่องมือ ต่างๆ ทีน่ ำ� มาใช้ในการออกแบบควรท�ำงานอย่างสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของความต้องการใช้งานของผูใ้ ช้เป็นหลัก 22 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


อ้างอิง Herman Hertzberger. Lessons for Student in Architecture, published in 1991. อยากทันสมัย: สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ของไทย พ.ศ. 2510-2530 (นิทรรศการหมุนเวียน)

23 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


Project Information: Prapassorn Wittaya’s School Building Category: School Location: Samed Sub-district, Ampuemueng Chonburi Owner: Prapassorn Wittaya School

Architects: Jeerasak Kuesombat Rapeephat Suwannachote Ruthorn Meeluenam Wisaroot Danaphong Phonpayong Durongwayroj Engineer: Adinan Teeranupattana Constructor: Pavothai99 Company Limited Finish Date: 1st May 2017

Abstract

The design process begins with limitations from the structure, the program’s diversity, varying physical features of

users to the site’s location and climatic conditions. The Primary data analysis leads to the formation of design questions, which can be categorized into 3 main issues. The first involves how architecture can create a space and environment with the quality that suits the diversity of the functional program. The second issue deals with how the flexibility of spatial relationships can be managed and optimized for a multi-functional building whose users are people of varying physical features. The third issue looks into how the architecture is able to maintain the balance between its role as a shelter that protects users from the problematic environment with its ability to interact with the beautiful surrounding context

The design concept, as a continual process of the primary questions, is categorized into different issues. ‘Bound-

ary and Enclosure’ encompasses the way the space is enclosed according to specific function and activities. ‘Character and Relation of Space’ involves the minimization of the physical boundary of space to generate functional flexibility with new physical spaces emerging and allowing new spatial hierarchy and relationships to be conceived. ‘Language and interpretation’ is an attempt to create a simple system of symbols to effectively communicate a building’s functional spaces. ‘Relationship between man and environment’ involves the users’ ability to acknowledge the changing environment and adapt themselves in order to appropriately use the space for different kinds of activities. Understanding the design’s conditions and limitations is an important key that leads to new questions and conceptualization of the design including the true comprehension in the building’s functional program. It ultimately results in the finding of the most suitable design method and tools that best serve the design objectives, and in the big picture, enables the design to answer to the diverse demands of different groups of users.

Collectively, the architecture’s physical form and spaces including the incorporated signage system allow users

to easily understand the building’s usage and functional spaces. In addition, an environmentally conscious design directly contributes to the building’s efficient energy use while interactions between users and the surrounding environment is not minimized but properly maintained.

Keywords: Boundary and Enclosure, Character and Relation of Space, Language and interpretation,

Relationship between man and environment

Background and Objectives

spaces and a library, the new addition serves as a center of

The Prapassorn Wittaya School required additional

school’s elementary and vocational students. The building also

functional spaces to accommodate the growing number of

houses an office and administrative headquarters. One of the

students. Consisting of a series of educational and recreational

school’s visions is to maximize teaching and learning efficiency

24 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage

knowledge that encourages self-directed learning among the


by providing a higher quality educational environment. The design therefore emphasizes the optimization of spatial quality that best corresponds with the users’ functional inquiries and activities that take place both inside and outside of classrooms, as well as the flexibility of functional spaces that renders the

From Identifying Questions to Design Process

How can architecture generate a space of great quality

and suitable environment for users who are students from

most efficient usability.

different educational levels?

Problems and Functional Limitations

alities managed?

One of the design problems of the project is the existing

In a building of such diverse functionalities and users,

how are the relationships between different spatial function-

double loaded corridor structure, which becomes the key condition of the new intervention’s architectural and structural

design. The redesigned building must be able to stand on the

rainfall, strong winds especially during the monsoon season,

existing structure and it needs to be physically compatible with

and with the landscape and surroundings as spectacular as

the site’s tropical monsoon climate with high rainfall, strong

Chonburi province, which architectural style can maintain

winds and heat. The building has to be able to withstand erratic

the balance between protecting users from problematic

climatic conditions and utilize natural energy to maximize its

climatic conditions and interacting with the site’s beautiful

own power saving ability.

context?

Design Concept

The building is purposefully constructed to serve as

the hub of the school’s learning activities and administration.

In an area with erratic climate, high percentage of

It is situated in an easily accessible location with well facilitated

connections to other buildings within the school’s perimeter.

the design of functional space where users’ behaviors are

One problem with the school’s original program was that it

studied and gradually resolved in one space at a time. The

did not have spare space for new additions. Previous extensions

information used in the design is obtained from interviews

were constructed next to previously built structures with the

of teachers, students and the school’s staff who are the build-

front of the site being the starting point of the entire program,

ing’s primary users. The classrooms are formulated from

causing the buildings to be visually obstructed by the neigh-

different natures of actual learning activities such as lectures

boring structures, especially when viewed from the outside.

and group work, which dictate the boundary and size of the

Nevertheless, the location of the site is adjacent to the program’s

classrooms. The enclosed space of the classrooms aims to

communal space, and the benefit of such orientation is that it

create a more meditative atmosphere for students to focus

allows the building to open itself to other built structures

on their lessons. Such enclosure is created to obstruct the

within the same architectural cluster. Moreover, the fact that

physical relation between different learning spaces but at the

the new intervention is situated in a relatively close distance

same time the classrooms are designed to welcome natural

to other buildings enables physical connectivity between

light and outside surroundings via the presence of oversized

different functional spaces to be facilitated. This is considered

openings. For the recreational and art classrooms where the

to be a benefit, especially in the case of school building design,

atmosphere is more relaxed, the level of enclosure is compar-

where accessibility, connectivity of circulations and users’

atively less intense than regular classrooms. Using glass walls

safety is among the project’s top priorities.

to create the boundary and enclosure not only embraces the

“Boundary and enclosure” is the concept that involves

surrounding landscape and nature but it also allow students

Climate is the factor that significantly influences the

to see activities going on outside of the classroom and as a

space allocation of the floor plan due to the rectangular shape

result can stimulate their interest to participate. The activity

of the site that rests in parallel along the east-west orientation.

areas outside of the classrooms such as the music ground is

In addition, the front of the building facing the south is where

the result of the architect’s attempt to create a boundary by

the main entrance is located, causing it to be fully exposed to

lowering the level of space to be in the position where a flow

the sun and heat. These restrictions become the main conditions

of activities from interior to exterior can be easily facilitated.

of the design that has to resolve the many limitations of the site.

25 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


Relationship Between Man and Environment

In conclusion, users are able to recognize the differences between the three types of spaces on their own and the way different levels of enclosure are experienced.

A piece of architecture serves as a mediator that facilitates relationship between man (users of a building)

“Character and relation of space” questions the use

and environment, which has a direct effect on people’s way

of space of most school buildings where functional spaces

of life and its changeable nature. The building is, therefore,

are often overly determined, causing the efficiency of spatial

designed for users to experience the changing environment,

usage to be minimized. As a result, by lessening the defini-

allowing them to adjust themselves and use the space for the

tions of usage, the design generates spatial functionality that

most suitable activities. For instance, the natural light that

is more flexible and fluid. The recreational learning area is

alters through different courses of the day can create different

designed to be open and emerges between the enclosed class-

types of shade for the building’s interior, which may cause

rooms. This type of space is ready to be transformed to be

an activity to take place somewhere else as the space is used

both a learning or an activity area as well as a space where

for a different type of activity. Users are able to recognize the

students can sit back and relax. An indefinite boundary cre-

changing environment though their basic sensory perceptions

ates a new relation that allows students to have new learning

such as vision and touch.

experiences that do not restrict themselves to an ordinary classroom space. There is still conventional relation of space where students have to walk to a certain area to participate

Origin of Architectural Form

in an activity outside of classroom such as the football field,

The building’s architectural form is substantiated

which physically separates itself from the building. However,

from the design of spaces, system of relationships and

the new relation facilitates new activity areas that seamlessly

interactions between users and environment. An analysis is

emerge as a part of the classrooms.

done to obtain an approach to architectural design along with structural limitations that require the maximized use of

“Language and Interpretation” is an attempt to create

existing foundation piles. A single loaded corridor system is

a simple system of symbols to communicate different func-

the most suitable solution to the design’s attempt to facilitate

tional spaces of the building. The system references Herman

interactions through the inside-out perspective and flexible

Hertzberger’s concept about language and interpretation in

enough for the allocation of functional spaces, allowing the

architecture. “Architectural language communicated through

relation of interior space to be systematically created. It also

architectural styles and compositions can be compared to

creates a type of building with efficient interior ventilation

the human language where letters serve as physical symbols

and enhances its ability to bring in sufficient amount of natural

with system of interpretation and communication that allows

light for maximized lighting quality.

human to understand meanings. (Herman Hertzberger, Lessons for Student in Architecture , publishedin1991)” Users

are able to acknowledge the symbols of spatial usage through

thorough supervision of the teaching staff both while in their

three different types of building shells:

classrooms and during recesses. The use of public spaces

1. Dense walls symbolize private spaces such as offices

and teachers’ lounge.

2. Ventilated walls symbolize activity areas and

classrooms.

3. Glass walls symbolize public spaces.

Students, as the main users of the building, are under

such as the library, students’ shop or the school’s administration office has to be easily accessible with clear functional hierarchies. The S-shaped floor plan automatically creates

two courtyards with the first being enclosed by elementary classrooms while the court wraps itself around the activity area located further to the back. The second courtyard is surrounded by public spaces such as the office, the library and shops, which are all located in a visually accessible location and can be directly accessed from the outside. The courtyard faces out and links itself to the outdoor public

26 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


space. The courtyards help manage the functional relations of

recreational area are designed to be a courtyard with physical

the classrooms, which require greater privacy and quietness

linkage to the outdoor public space. In the meantime, the

and the more open program of the administrative office,

entrance of the classroom area opens into a courtyard facing

ultimately distinguishing private spaces from public spaces.

inward with a walkway that is partially connected to the public space, signifying a higher level of privacy. As a result, despite the building’s various functionalities, the possible confusion

Designing the Building Shell

caused by different usages of space is effectively minimized.

The building shell does not only function as a

The design concept is materialized into a corresponding

envelope for activities going on inside of the building but it

program of interior and exterior spaces where flexibility and

also communicates different characteristics of the functions

connectivity are facilitated using the S-shaped floor plan. The

through a series of architectural symbols including the level

courtyards, which function as the school’s activity grounds,

of density and openness. It reveals different sub-units of the

are the spaces of high functional efficiency. They are able to

space, dividing functional space into various masses using

maintain the flow between interior and exterior activities

altering levels of density and transparency determined by the

although being an open space that comes with the limitation

design concept. The use of ventilation blocks is the architec-

concerning noise control. The analysis of the environment

tural language influenced by the school’s old buildings and

leads to the decision to use an S-shaped floor plan while the

their beehive-shaped pattern of sun protection panels made

openings and voids allow the seasonal wind to flow through.

of cement fiber. This particular element is still perfectly

The single loaded corridor plan helps the program to be

capable of protecting the building’s interior from the rain and

naturally spacious and airy, especially when complemented

sun. In addition, in most people’s perception, these perforated

by the use of ventilation blocks that filter the heat coming

walls have become the symbol of the school’s architectural

into the interior space, which together substantially lessens

identity. This very architectural composition also reflects

the building’s energy use on the electrical cooling system.

Thailand’s modern architectural style where sun protection

The walls of the vent blocks help minimize direct sun

panel of this nature is common. The architect’s attempt to apply

exposure while the heat that comes in through the voids is

the original purpose of the old architectural composition by

pushed out by the flow of natural wind.

giving it a new functionality is achieved by the design of floor-to-ceiling walls of ventilation blocks. Built from two

modules of 25x25 cm. concrete ventilation block (4x4 and

of its different groups of users through the form and system

4x8 configuration) using a technique for the construction of

of architectural symbols that are effective and simple to com-

a common ventilation wall, the upper part of the wall protects

prehend. Environmental impacts are something the design

the space from sun and rain, while the lower part serves as a

greatly considers, leading to the attempt to efficiently reduce

railing system and partition that helps hide the air conditioning

the building’s energy use. To create a building of such diverse

system. The middle part of the wall is left open to be in physical

functional demands, understanding the program is highly

connection with the openings of the classrooms located

important to the way the design is approached and realized.

further inside, beautifully obstructing the students’ visual

Methods and tools are thoughtfully utilized for the design to

access to the outside when in the classrooms to minimize

successfully correspond with the building’s principal purpose,

distractions.

which is fulfilling users’ Methods and tools are thoughtfully

In summary, the design is able to answer to the demands

utilized for the design to successfully correspond with the

Evaluating the Design

building’s principal purpose, which is fulfilling users’ functional demands.

Function wise, the building is created out of a simple

floor plan with clear and definite exits and entrances of each area. By locating the entrances of each functional space to be physically separated, each entrance is determined by a different level of enclosure. The entrances of the office space and

27 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


จากบ้านชาวนา สูก่ ระท่อมชงชาแห่งพระราชนิเวศน์คต ั ทสึระ: พืน้ ทีใ่ นระหว่างในสถาปัตยกรรมญีป่ นุ่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วาริชา วงศ์พยัต

ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | waricha.arch@gmail.com

28

ภาพที่ 1 : บ้านชาวนา (農家 อ่านว่า nouka) มีที่มาจาก 農 แปลว่า การเกษตร และ 家 แปลว่า บ้าน

วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


บทคัดย่อ กระท่อมชงชาซึง่ มีรปู แบบทีส่ บื สายมาจากบ้านพืน้ ถิน่ หรือ บ้านชาวนา นับได้ว่าเป็นสถาปัตยกรรมที่สะท้อนแนวคิดและ สุ น ทรี ย ภาพของที่ ว ่ า งอั น เป็ น เอกลั ก ษณ์ ข องวั ฒ นธรรมญี่ ปุ ่ น อย่างไรก็ดี ความแตกต่างของประเภทผูใ้ ช้สอยและการใช้งาน ย่อม ส่งผลให้คุณลักษณะของที่ว่างทั้งในเชิงกายภาพและคุณภาพนั้น ไม่เหมือนกัน บทความนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะอ่านพัฒนาการของ สถาปัตยกรรมญี่ปุ่นทั้งสองประเภท ผ่านการตีความ “พื้นที่ใน ระหว่าง” ในแง่มุมขององค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม หน้าที่ ใช้สอยและคุณลักษณะของที่ว่าง ตลอดจนระบบความสัมพันธ์ ระหว่างพื้นที่ในระหว่างกับสถาปัตยกรรมและบริบท และกับพื้นที่ ในระหว่างด้วยกัน โดยอาศัยการทบทวนวรรณกรรมจากข้อเขียน ต่างๆ ร่วมกับการส�ำรวจอาคารกรณีศึกษา ได้แก่ บ้านชาวนาและ กระท่ อ มชงชาแห่ ง พระราชนิ เ วศน์ คั ต ทสึ ร ะ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย เก็ปปะโระ โชะคินเทอิ และโชอิเค็น วิวฒ ั นาการของพืน้ ทีใ่ นระหว่าง จาก “คุณลักษณะที่แตกต่างและแยกจากกันของระเบียงและ ส่วนพื้นดิน” ในบ้านชาวนา สู่ “การประกอบสร้างพื้นที่ในระหว่าง ในความสัมพันธ์ใหม่” ดังปรากฏในกระท่อมชงชาของพระราช นิเวศน์แห่งนี้ สะท้อนการสืบสายเอกลักษณ์และจิตวิญญาณของ สถาปัตยกรรมแบบประเพณีสู่สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ และการ ด�ำรงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมญี่ปุ่นในบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป คำ�สำ�คัญ : พื้นที่ในระหว่าง, สถาปัตยกรรมญี่ปุ่น, บ้านชาวนา, กระท่อมชงชา, พระราชนิเวศน์คัตทสึระ

บทนำ� นับตั้งแต่อดีต “พื้นที่ในระหว่าง” ในสถาปัตยกรรมญี่ปุ่น เป็นองค์ประกอบที่มีบทบาทอันหลากหลาย เป็นพื้นที่เปลี่ยนผ่าน ซึ่งช่วยเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ธรรมชาติภายนอกกับ พืน้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยภายใน เป็นส่วนขยายของพืน้ ทีใ่ ช้สอยของบ้าน และ เป็นพืน้ ทีอ่ เนกประสงค์ของครอบครัว (Kurokawa, 1988) นอกจากนี้ พื้นที่ในระหว่างยังนับเป็นรูปธรรมที่สื่อให้เข้าใจความสัมพันธ์ ระหว่างการเปลีย่ นแปลงของบริบท แนวคิดการออกแบบ แนวทาง การใช้สอยพื้นที่ กับการด�ำรงไว้ซึ่งแก่นสาระของสถาปัตยกรรม ญี่ปุ่น บทความนี้จึงมุ่งเน้นใช้พื้นที่ในระหว่างของบ้านชาวนาและ สถาปัตยกรรมที่ได้รับอิทธิพลจากบ้านชาวนาเป็นตัวแทนในการ ศึกษาและวิเคราะห์ววิ ฒ ั นาการของสถาปัตยกรรมญีป่ นุ่ โดยอาศัย การทบทวนวรรณกรรมและการส�ำรวจภาคสนาม ประกอบด้วย การสังเกตการณ์และบันทึกภาพโดยผู้เขียน ระหว่างปี พ.ศ. 2548 - 2559 การศึกษาพื้นที่ในระหว่างในสถาปัตยกรรมญี่ปุ่นแบ่งออก เป็น 2 ตอน ได้แก่ ต้นก�ำเนิดของสถาปัตยกรรมแบบประเพณี และ การก่อร่างสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ ดังรายละเอียด ต่อไปนี้

29 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ภาพที่ 2 : บ้านพ่อค้า (町家 อ่านว่า machiya) มีที่มาจาก

แปลว่า เมือง และ

แปลว่า บ้าน

Image 1: Styles of Esan Houses Source: Vichit Klangboonkrong and Pairoj Petsangharn. (1987). “Huan Esan”. Bangkok: Meka Press.

ตอนที่ 1 ต้นกำ�เนิดของสถาปัตยกรรมแบบประเพณี 1.1 บริบทที่แตกต่าง: บ้านประชาชน - บ้านชนชั้นสูง

หากใช้ “คน” เป็นเกณฑ์สำ� คัญในการท�ำความเข้าใจทีอ่ ยูอ่ าศัยญีป่ นุ่ สถาปัตยกรรมพักอาศัย ญี่ปุ่นสามารถแบ่งออกเป็น 2 สายหลัก ได้แก่ ที่อยู่อาศัยของประชาชนทั่วไป (minka) และที่อยู่อาศัย ของชนชั้นสูง (non-minka) (Itoh, 1986) ที่อยู่อาศัยของประชาชนทั่วไปหรือก็คือสถาปัตยกรรม พืน้ ถิน่ ประกอบด้วย บ้านชาวนาในชนบท (nouka) ซึง่ ผนวกพืน้ ทีป่ ระกอบกิจกรรมทางการเกษตรเข้าไว้ กับพืน้ ทีพ่ กั อาศัย และบ้านพ่อค้าหรือเรือนค้าขายในเมือง (machiya) ซึง่ ผสมผสานหน้าทีใ่ ช้สอยของ บ้านและร้านค้าเข้าไว้ด้วยกัน ส่วนที่อยู่อาศัยของชนชั้นสูง ประกอบด้วย บ้านที่มีรูปแบบชินเด็น (shinden-style architecture) และบ้านที่มีรูปแบบโชอิน (shoin-style architecture) เป็นส่วนส�ำคัญ เมือ่ พิจารณาปัจจัยทางสภาพแวดล้อมกายภาพ ได้แก่ ลักษณะภูมปิ ระเทศและภูมอิ ากาศ จะ เห็นว่าสถาปัตยกรรมอยูอ่ าศัยญีป่ นุ่ ได้รบั การออกแบบขึน้ เพือ่ แก้ปญ ั หาความเป็นอยูใ่ นช่วงฤดูรอ้ นที่ มีอุณหภูมิและความชื้นสูง ดังนั้นการยกพื้นไม้เพื่อเพิ่มการระบายอากาศและความชื้นเหนือผิวดิน จึงเป็นลักษณะร่วมของสถาปัตยกรรมพักอาศัยของทั้งขุนนางชั้นสูงและชาวบ้าน อย่างไรก็ดี สถานะ ทางเศรษฐกิจและสังคมที่แตกต่างกันของผู้อยู่อาศัยท�ำให้ความต้องการและความจ�ำเป็นในการ ใช้สอย รวมถึงวิถีการด�ำเนินชีวิตนั้นไม่เหมือนกัน ด้วยเหตุนี้ บ้านของประชาชนจึงประกอบด้วยพื้นที่ รองรับการอยู่+กินและพื้นที่รองรับการท�ำมาหาเลี้ยงชีพ ในขณะที่บ้านของชนชั้นสูงจะมีเพียงพื้นที่ รองรับการอยู่อาศัย และมักมีเรือนบริวารอยู่บริเวณใกล้เคียง ความแตกต่างกันของผู้ใช้งานและการ ใช้สอยข้างต้นส่งผลต่อลักษณะทางกายภาพของสถาปัตยกรรมพักอาศัยทัง้ 2 ประเภท กล่าวคือ บ้าน ชาวนาและบ้านพ่อค้าจะประกอบด้วยพื้นที่ 2 ส่วนหลัก ได้แก่ ส่วนพื้นไม้ยกสูงและโดะมะหรือส่วน พืน้ ดิน ในขณะทีบ่ า้ นชนชัน้ สูงมีเพียงส่วนพืน้ ไม้ยกสูงเท่านัน้ โดยพืน้ ฐานโดะมะจะเป็นส่วนทีไ่ ม่จำ� เป็น ต้องถอดรองเท้า ในขณะที่ส่วนพื้นไม้ยกสูงซึ่งรองรับการอยู่กินจะเป็นพื้นที่ที่ต้องถอดรองเท้า เมื่อ ธรรมเนี ย มการถอดรองเท้ า ก่ อ นขึ้ น เรื อ นและวั ฒ นธรรมการนั่ ง พื้ น ผนวกเข้ า กั บ ลั ก ษณะของ องค์ประกอบสถาปัตยกรรมและเครื่องเรือนเพียงน้อยชิ้น จึงท�ำให้ตัวสถาปัตยกรรมญี่ปุ่นท�ำหน้าที ่ เป็นเสมือนเครื่องเรือนชิ้นใหญ่ที่มีความอเนกประโยชน์ 30 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ภาพที่ 3 : สถาปัตยกรรมแบบชินเด็น (寝殿) มีที่มาจาก 寝 แปลว่า นอน สถาปัตยกรรมแบบชินเด็นเป็นที่พักอาศัยของราชวงศ์และขุนนางชั้นสูงในสมัยเฮอัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในศตวรรษที่ 10 สถาปัตยกรรมแบบชินเด็นมีลักษณะเป็นโครงสร้างไม้ยกพื้นและเปิดโล่ง เสาเป็นเสากลม ไม่ปิดฝ้าเพดาน มีผนังเบาซึ่งสามารถพับหรือแขวนเก็บเป็นฝาภายนอก มีม่าน ฉาก และฝาโชจิแบบทึบ เป็นฝากั้นพื้นที่ภายใน เนื่องจากอุปกรณ์กำ�หนดแบ่งพื้นที่มีน�้ำหนักเบาและไม่ได้ติดตั้งอย่างถาวรกับอาคาร บ้านแบบชินเด็นจึงมี ลักษณะคล้ายศาลา มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันระหว่างพื้นที่ภายในและภูมิทัศน์ภายนอก Image 1: Styles of Esan Houses Source: Vichit Klangboonkrong and Pairoj Petsangharn. (1987). “Huan Esan”. Bangkok: Meka Press.

ภาพที่ 4 : สถาปัตยกรรมแบบโชอิน (書院) มีที่มาจากซุ้มเขียนหนังสือของพระในวัดพุทธนิกายเซ็น สถาปัตยกรรมแบบโชอินครอบคลุมทั้งที่พักอาศัยของราชวงศ์ บ้านซามูไร และอาศรม พระในวัด บ้านที่มีรูปแบบโชอินได้รับการพัฒนาขึ้นในศตวรรษที่ 12 และได้รับความนิยมสูงสุดตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 เมื่อมีการผนวกบ้านแบบโชอิน ซึ่งมีลักษณะ พื้นที่แบบเป็นทางการ เข้ากับห้องแบบสุคิยะ (sukiya-style room) ซึ่งมีลักษณะพื้นที่แบบกึ่งทางการ และห้องชงชาโซอัน (souan) ซึ่งถือเป็นพื้นที่ไม่เป็นทางการ เข้าไว้ด้วยกัน เมื่อเปรียบเทียบกับสถาปัตยกรรมแบบชินเด็น บ้านแบบโชอินจะมีการปิดล้อมพื้นที่ที่ชัดเจนและถาวรมากกว่า Image 1: Styles of Esan Houses Source: Vichit Klangboonkrong and Pairoj Petsangharn. (1987). “Huan Esan”. Bangkok: Meka Press.

31 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


1.2 บ้านชาวนา

บ้านชาวนาหรือบ้านพืน้ ถิน่ เป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยของผูป้ ระกอบอาชีพเกษตรกรรมซึง่ เป็นประชากร ส่วนใหญ่ของประเทศ บ้านชาวนาจึงเป็นสถาปัตยกรรมที่ผนวกหน้าที่ใช้สอย 2 ประเภท ได้แก่ การอยูอ่ าศัยและการประกอบอาชีพเกษตรกรรมเข้าไว้ภายในโครงสร้างเดียวกัน ภูมทิ ศั น์การอยูอ่ าศัย ของบ้านชาวนา ประกอบด้วย กลุ่มอาคาร ได้แก่ อาคารหลัก โรงเก็บผลผลิตและเครื่องมือทางการ เกษตร รวมถึงอาคารซุ้มประตู วางตัวโอบล้อมลานกลางซึ่งเป็นพื้นที่ประกอบกิจกรรมทางการเกษตร และกิจกรรมต่างๆ ของครอบครัว บริเวณใกล้เคียงมักมีบ่อน�้ำและอาจมีศาลเจ้าหลังเล็ก เมื่อเปรียบ เทียบกับบ้านแบบชินเด็นและบ้านแบบโชอิน บ้านพืน้ ถิน่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในยุคเริม่ ต้นจะมีลกั ษณะ ค่อนข้างปิดทึบมากกว่า วัสดุก่อสร้างพื้นฐานประกอบด้วย ไม้ หญ้า และดิน โครงสร้างรับน�้ำหนัก หลังคามักเป็นไม้ท่ีไม่ได้ผ่านการแปรสภาพหรือขัดแต่งนัก ซึ่งมักมีร่องรอยของเขม่าสีด�ำอันเกิดจาก ควันจากเตาไฟฝังพื้น (irori) ปกคลุมอยู่โดยทั่วโครง หลังคามักมุงด้วยหญ้าแห้ง บางท้องถิ่นมุงด้วย กระเบื้อง รูปทรงและความชันของหลังคาเป็นสิ่งที่แสดงเอกลักษณ์ของบ้านพื้นถิ่นและสะท้อนความ แตกต่างทางสภาพภูมอิ ากาศและวิถชี วี ติ ในแต่ละท้องที่ ด้วยคุณลักษณะของความงามในความเรียบ น้อย ความอ่อนน้อมถ่อมตน การใช้วัสดุธรรมชาติที่มีความกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม และสะท้อน ร่องรอยการช�ำระล้างผ่านกาลเวลา บ้านชาวนาจึงกลายเป็นต้นแบบของสถาปัตยกรรมห้องชงชา (sukiya-style architecture) ในยุคต่อมา ภายในบ้านชาวนาประกอบด้วยพื้นที่สำ� คัญ 2 ส่วนเปิดโล่งเชื่อมโยงถึงกัน ได้แก่ (1) ส่วน พื้นไม้ยกระดับประมาณ 45 – 100 เซนติเมตร ส�ำหรับรองรับกิจกรรมการอยู่อาศัย ซึ่งสามารถแบ่ง ออกเป็น 2 พื้นที่ ได้แก่ พื้นที่รับรองแขก มีลักษณะเป็นพื้นที่ที่เป็นทางการ ตั้งอยู่ลึกจากส่วนพื้นดิน มากที่สุด พื้นไม้มักปูทับด้วยเสื่อตะตะมิ (tatami mat) ปิดฝ้าเพดาน และมีการตกแต่งประดับประดา ด้วยองค์ประกอบที่พบในบ้านแบบโชอิน เช่น ชั้นประดับ (tokonoma) หิ้งวางของ (tana) ตู้เก็บของ (oshiita) และซุ้มเขียนหนังสือริมหน้าต่าง (tsuke-shoin) และพื้นที่รองรับกิจกรรมประจ�ำวันของผู้อยู่ อาศัยซึ่งสามารถเชื่อมต่อโดยตรงได้กับส่วนพื้นดิน พื้นที่ส่วนนี้มักปูพื้นด้วยไม้ บางกรณีปูด้วยไม้ไผ่ เว้นร่องเพื่อช่วยการระบายอากาศ มีเตาไฟฝังพื้นช่วยให้ความอบอุ่นแก่สมาชิกครอบครัวและเป็น ศูนย์รวมกิจกรรมต่างๆ และ (2) โดะมะหรือส่วนพื้นดิน ส�ำหรับรองรับกิจกรรมการประกอบอาหาร กิจการอันเกี่ยวเนื่องกับอาชีพเกษตรกรรม รวมถึงเป็นที่เก็บเครื่องมือ พืชผลทางการเกษตร คอกสัตว์ และส้วม

ภาพที่ 5 : ผังบริเวณบ้านชาวนา 1 = gate house, 2 = store house, 3 = manure shed, 4 = work shed, 5 = wood shed, 6 = shrine, 7 = main building ที่มา : Boso Museum, n.d.

32 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ภาพที่ 6 : ผังพื้นบ้านชาวนา ที่มา : Boso Museum, n.d.

Image 1: Styles of Esan Houses Source: Vichit Klangboonkrong and Pairoj Petsangharn. (1987). “Huan Esan”. Bangkok: Meka Press.

ภาพที่ 7 : ภูมิทัศน์การอยู่อาศัยของบ้านชาวนา Image 1: Styles of Esan Houses

33 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ภาพที่ 8 : ส่วนพื้นไม้และส่วนพื้นดินในบ้านชาวนา Image 1: Styles of Esan Houses

1.3 ระเบียงแบบเปิดโล่ง - พื้นดินแบบปิดล้อม

เอ็นกะวะ หรือ ระเบียง (ค�ำว่า en มีที่มาจาก 縁 แปลว่า ความสัมพันธ์ หรือ ในระหว่าง) เป็น พืน้ ทีใ่ นระหว่างทีพ่ บทัง้ ในบ้านประชาชนและบ้านชนชัน้ สูง ระเบียงของบ้านทัง้ 2 ประเภทนีม้ ลี กั ษณะ ทางกายภาพ ต�ำแหน่งที่ตั้ง และคุณลักษณะของที่ว่างที่คล้ายคลึงกัน ระเบียงในอดีตมีลักษณะค่อน ข้างเปิดโล่งได้รบั แสงธรรมชาติเต็มที่ แม้ในยุคต่อมาอาจถูกปิดล้อมด้วยฝาเลือ่ นโปร่งใสและหรือบาน เลื่อนไม้สำ� หรับกันฝน ระเบียงยังคงท�ำหน้าที่เป็นตัวกลางเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อม และพื้นที่อยู่อาศัย อย่างไรก็ดี ระเบียงของบ้านทั้งสองอาจมีความแตกต่างกันในแง่มุมของกิจกรรม อันเนื่องจากผู้ใช้สอยและความต้องการการใช้งานที่ไม่เหมือนกัน โดะมะ หรือ ส่วนพื้นดินในบ้าน (ค�ำว่า do มีที่มาจาก 土 แปลว่า ดิน และ ma มีที่มาจาก 間 แปลว่า ทีว่ า่ ง) เป็นองค์ประกอบส�ำคัญในบ้านประชาชน ขนาดของโดะมะสามารถบ่งชีอ้ ายุของบ้านได้ (Hirai, 1998) พืน้ ทีใ่ นระหว่างนีม้ คี ณ ุ ลักษณะทีน่ า่ สนใจ 2 ประการ คือ เมือ่ พิจารณาจากลักษณะการ ปิดล้อม วัสดุพื้นผิว และการติดต่อกับพื้นที่ภายนอก จะเห็นว่าโดะมะมีคุณลักษณะตรงกันข้ามกับ ระเบียง กล่าวคือ โดะมะเป็นพื้นที่ภายนอกที่แทรกเข้าสู่พื้นที่ว่างภายในที่มีระดับการปิดล้อมสูง แสง ในบริเวณนี้จึงค่อนข้างสลัว ทว่า หากพิจารณาจากความสัมพันธ์และความต่อเนื่องของกิจกรรมการ ใช้สอย จะเห็นว่าแม้โดะมะมีระดับพืน้ ทีต่ ำ�่ กว่าส่วนพืน้ ไม้ แต่โดะมะมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชดิ และ เป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่อยู่อาศัยของครอบครัว

ภาพที่ 9 : ไดอะแกรมแสดงพื้นที่ในระหว่างของบ้านชาวนา Image 1: Styles of Esan Houses

34 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ตอนที่ 2 การก่อร่างสร้างสรรค์ของสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ 2.1 พระราชนิเวศน์คัตทสึระ: องค์รวมของความเปรียบต่าง

ในประวัตศิ าสตร์ญปี่ นุ่ พระราชนิเวศน์คตั ทสึระนับได้วา่ เป็นสถาปัตยกรรมทีม่ คี วามส�ำคัญซึง่ ได้รบั การยกย่องในฐานะเป็นอาคารทีบ่ กุ เบิกสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ของญีป่ นุ่ มีการวิเคราะห์ วพิ ากย์ และวิจารณ์พระราชนิเวศน์คัตทสึระผ่านข้อเขียนทางสถาปัตยกรรมโดยสถาปนิกชื่อดังจ�ำนวนมาก ทั้งชาวต่างชาติ อาทิ บรูโน เทาต์ และ มีส ฟาน เดอ โรห์ และคนญี่ปุ่น อาทิ สุเทะมิ โฮริกุจิ เค็นโซ ทังเกะ และ อะระตะ อิโซะซะคิ ตลอดจนมีการน�ำเสนอผ่านภาพถ่ายโดยช่างภาพผู้มีชื่อเสียงระดับ ประเทศอย่างเช่น ยะสุฮโิ ระ อิชโิ มะโตะ นอกเหนือจากการจัดองค์ประกอบสถาปัตยกรรมทีเ่ น้นเส้นตัง้ และเส้นนอนซึ่งเป็นที่ชื่นชอบในบรรดาสถาปนิกสมัยใหม่ การผสานการออกแบบสถาปัตยกรรมกับ สถาปัตยกรรมภายในและภูมสิ ถาปัตยกรรม ตลอดจนปรากฏการณ์ของพืน้ ทีว่ า่ งอันเกิดจากการท�ำงาน ร่วมกันระหว่างวัสดุ สี ผิวสัมผัส แสงและเงาที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์การรับรู้ที่ว่างของผู้ใช้สอย นับได้ว่าเป็นลักษณะอันโดดเด่นของพระราชนิเวศน์แห่งนี้ ลักษณะดังกล่าวเป็นผลลัพธ์ของการ สร้างสรรค์ทรี่ เิ ริม่ ขึน้ ราวต้นคริสตศตวรรษที่ 17 โดยเจ้าชายโทะชิฮโิ ตะและสืบเนือ่ งสูเ่ จ้าชายโทะชิทะดะ ผูเ้ ป็นบุตรชาย การก่อสร้างครอบคลุมระยะเวลากว่า 42 ปี และคาบเกีย่ วช่วงเวลาเปลีย่ นผ่านทางการ ปกครองและสุนทรียรสทางศิลปวัฒนธรรมและสถาปัตยกรรม ด้วยเหตุนี้พระราชนิเวศน์คัตทสึระ จึงเปรียบเสมือนข้อเขียนทีเ่ ต็มไปด้วยชัน้ ของความหมายทีม่ คี วามแตกต่าง คลุมเครือ และยากต่อการ ท�ำความเข้าใจให้เป็นเนื้อเดียวกัน (Isozaki, 2011)

ภาพที่ 10 : ผังบริเวณพระราชนิเวศน์คัตทสึระ A = Koshoin, B = Chushoin, C = Gakkinoma, D = Shingoten 12 = Shokintei, 15 = Shoiken, 16 = Gepparo ที่มา : www.commons.wikimedia.org

Image 1: Styles of Esan Houses

35 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ภายในอาณาบริเวณของคัตทสึระประกอบด้วยส่วนผสมของสถาปัตยกรรม 2 รูปแบบ คือ เรือนแบบโชอินส�ำหรับรับรองแขกเหรือ่ ซึง่ ประกอบด้วย เรือนโชอินเก่า เรือนโชอินกลาง หอดนตรี และ เรือนโชอินใหม่ จัดเรียงในลักษณะลดหลั่นเหลื่อมกันที่เรียกว่า “ฝูงห่านบิน” (geese-in-flight) เพื่อ เปิดมุมมองและรับแสงธรรมชาติอย่างเต็มประสิทธิภาพ และกระท่อมชงชาแบบสุคยิ ะส�ำหรับประกอบ พิธชี งชา ซึง่ ประกอบด้วย เก็ปปะโระ โชะคินเทอิ โชคะเทอิ และโชอิเค็น ทีป่ ลูกสร้างอยูใ่ นบริเวณต่างๆ ของพระราชนิเวศน์ เนือ่ งจากสถาปัตยกรรมแบบโชอินได้รบั การสืบทอดและพัฒนาโดยบรมครูทางการ ช่าง ร่วมกับระบบสัดส่วนคิวะริ (kiwari proportional system) จึงท�ำให้เกิดสุนทรียภาพแบบเบ็ดเสร็จ (authoritarian aesthetics) ซึ่งฉายให้เห็นบรรยากาศและชีวิตของเหล่าขุนนางและชนชั้นสูงในอดีต ในทางตรงกันข้าม สถาปัตยกรรมแบบสุคิยะซึ่งได้รับแรงบันดาลใจจากความเรียบน้อย ความดิบ ความไม่สมบูรณ์ และความเก่าขร�่ำของบ้านพื้นถิ่นอันเป็นผลจากกาลเวลานั้น เป็นการสื่อสารกัน ระหว่างเจ้าของบ้านและช่าง ก่อเกิดเป็นความงามที่แฝงไว้ด้วยความอ่อนน้อมและนุ่มนวล กล่าวกัน ว่า ห้องชงชาที่ก่อสร้างในยุคเจ้าชายโทะชิทะดะยังสื่อถึงรสนิยมของชาวเมืองและนักรบซามูไรในยุค นั้นเป็นอย่างดี (Isozaki, 2011) ส�ำหรับบทความนี้ผู้เขียนเลือกกระท่อมชงชา 3 หลัง ได้แก่ เก็ปปะโร ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศเหนือของกลุ่มเรือนโชอิน โชะคินเทอิและโชอิเค็นซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกและ ทิศตะวันตกของพระราชนิเวศน์เป็นกรณีศึกษา 2.2 กระท่อมชงชา เก็ปปะโระ

เนือ่ งจากต�ำแหน่งทีต่ งั้ ซึง่ สามารถชมภาพเงาสะท้อนของพระจันทร์บนผิวน�ำ้ ในยามค�ำ่ คืนและ มีต้นบ๊วยปลูกไว้บริเวณใกล้เคียง กระท่อมชงชาที่ก่อสร้างขึ้นเป็นหลังแรกในพระราชนิเวศน์แห่งนี ้ จึงได้ชอื่ ว่า เก็ปปะโระ ซึง่ หมายถึง กระท่อมชงชาแห่งพระจันทร์และต้นบ๊วย (Ponciroli, 2005) กระท่อม ชงชาแห่งนี้ ประกอบด้วย ห้องปูด้วยเสื่อตะตะมิจ�ำนวน 3 ห้อง ได้แก่ ห้องขนาด 7 เสื่อครึ่ง จ�ำนวน 1 ห้อง และห้องขนาด 4 เสื่อ จ�ำนวน 2 ห้อง และพื้นที่ชงชา วางตัวโอบล้อมลานดินที่มีลักษณะคล้าย โดะมะเป็นรูปตัวยู ให้ความรู้สึกเหมือนธรรมชาติไหลสู่พื้นที่ว่างภายในอาคาร เก็ปปะโระมีโครงสร้างหลังคาและเสาบริเวณพืน้ ทีช่ งชาเป็นไม้ทปี่ ราศจากการขัดแต่งผิว พืน้ ที่ ภายในทั้งหมดไม่ปิดฝ้าเพดาน แต่เผยให้เห็นโครงไม้ไผ่ที่สานกันอย่างปราณีตและวัสดุมุงหลังคาที่ ท�ำจากธรรมชาติ พื้นที่ว่างระหว่างบานเลื่อนและหลังคาเป็นช่องเปิดโล่งลักษณะคล้ายกับบ้าน พืน้ ถิน่ พืน้ ทีช่ งชาซึง่ ตัง้ ขนาบโดะมะมีพนื้ ปูดว้ ยไม้และช่องเปิดเตีย้ ให้แสงส่องผ่านเข้ามา พืน้ ทีภ่ ายใน มีอปุ กรณ์ชงชา อาทิ อ่างล้างมือและเตาแบบฝังพืน้ มีตแู้ ละชัน้ ติดตัง้ อยูเ่ พียงเล็กน้อยบนผนังด้านหนึง่ ด้วยลักษณะข้างต้น จึงท�ำให้พนื้ ทีว่ า่ งภายในของกระท่อมชงชาหลังนีม้ ลี กั ษณะกึง่ ภายในกึง่ ภายนอก และมีความเชื่อมต่อกับสภาพแวดล้อม ทั้งในเชิงแสง ลม และมุมมองโดยสมบูรณ์

ภาพที่ 11 : ผังพื้นของเก็ปปะโระ ที่มา : Matsumura, 2005

36

Image 1: Styles of Esan Houses

วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ภาพที่ 12-14: หลังคาที่เผยโครงสร้าง ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่เตรียมชา และมุมมองจากเก็ปปะโระสู่โชะคินเทอิ Image 1: Styles of Esan Houses

โชะคินเทอิ

โชะคินเทอิ ซึ่งแปลว่าเสียงของเครื่องสายโคะโตะและเสียงลมที่พัดผ่านต้นสน เป็นกระท่อม ชงชาที่ปลูกสร้างอยู่ใกล้กับ ต้นสนใหญ่ และนับเป็นกระท่อมชงชาที่มีความส�ำคัญที่สุดในพระราช นิเวศน์ (the Imperial Household Agency, n.d.) พื้นที่ใช้สอยประกอบด้วยพื้นที่ที่ปูด้วยเสื่อตะตะมิ ขนาด 11 เสื่อ และ 6 เสื่อ ห้องชงชาซึ่งปูด้วยเสื่อตะตะมิขนาด 3 เสื่อ และส่วนบริการ มีคอร์ทขนาด ย่อมบริเวณกลางอาคาร และมีพื้นที่เตรียมชาตั้งอยู่ริมขอบระเบียงไม้ที่ยื่นและหันสู่ภูมิทัศน์อันเป็น ลักษณะเด่นของอาคารหลังนี้ ถึงแม้โชะคินเทอิไม่ได้เผยให้เห็นโครงสร้างหลังคาแต่ปดิ ฝ้าเพดานและ มีแผงปิดช่องว่างเหนือบานเลือ่ นทีก่ นั้ แบ่งพืน้ ที่ ทว่า ทิวเสาทีป่ ราศจากการขัดแต่งผิวซึง่ ตัง้ อยูบ่ ริเวณ ใต้ชายคาใกล้กับพื้นที่เตรียมชา และเสาต้นโอ๊คที่บิดโค้งตามธรรมชาติในห้องพิธีชงชา แสดงให้เห็น ความสัมพันธ์อันใกล้ชิดระหว่างสถาปัตยกรรมและธรรมชาติ อันเป็นลักษณะร่วมของกลุ่มกระท่อม ชงชาในพระราชนิเวศน์แห่งนี้ 37 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ฝาฟุสุมะลายตารางหมากรุกสีฟ้าครามสลับกับสีขาวนับเป็นลักษณะเด่นอีกประการหนึ่งซึ่ง สะท้อนการออกแบบร่วมสมัยของโชะคินเทอิ ลวดลายบนบานเลื่อนนี้มีความต่อเนื่องมายังฉากหลัง ของชั้นประดับในห้องขนาด 11 เสื่อ พื้นที่เตรียมชาตั้งอยู่ริมขอบระเบียงใต้ชายคาและเปิดมุมมองสู่ ทิวทัศน์เบือ้ งหน้า ได้รบั การออกแบบให้เป็นองค์ประกอบส�ำคัญส่วนหนึง่ ในพิธกี ารเตรียมชา อ่างล้าง มือและเตาดินเผาถูกผนวกเป็นส่วนต่อเนื่องกับระเบียงไม้ และมีชั้นวางเครื่องถ้วยชามติดตั้งอยู่ที่มุม ของแผงบังสายตา บริเวณโดยรอบรายล้อมด้วยกรวด แผ่นหินทางเดิน และทิวเสาที่ปราศจากการขัด แต่งผิว พื้นที่เตรียมชาจึงมีลักษณะเป็นที่ว่างกึ่งภายในกึ่งภายนอก เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่าง สถาปัตยกรรมชงชาและภูมิทัศน์โดยรอบ ทางเข้าสู่ห้องประกอบพิธีชงชามีลักษณะเตี้ย ท�ำให้แขกผู้ มาเยือนจ�ำเป็นต้องส�ำรวมกายและน้อมตัวลงเพือ่ เข้าสูพ่ นื้ ทีพ่ ธิ ภี ายใน บริเวณกลางห้องมีเสาต้นโอ๊ค ที่บิดโค้งเป็นธรรมชาติ ฝ้าเพดานท�ำด้วยกกสาน มีโครงเป็นล�ำไม้ไผ่สีสว่างสลับกับสีมืด และมีหน้า ต่าง 8 บาน โดยหน้าต่างหนึง่ ในจ�ำนวนนัน้ ติดตัง้ อยูบ่ นฝ้าเพดานจึงมีชอื่ ว่า “หน้าต่างพระจันทร์” ด้วย ความต่อเนื่องของวัสดุพื้นของทางเดินฉ�่ำชื้น (roji) และทิวเสารูปทรงธรรมชาติที่ดูเสมือนเคลื่อนจาก ธรรมชาติสู่พื้นที่ว่างใต้ชายคา ความกลมกลืนจากการใช้โครงสีฟ้าอมเทาเขียวของแผ่นหินทางเข้าที่ คัดสรรให้เข้ากับสีสันบนบานเลื่อนซึ่งมีลวดลายต่อเนื่องไปยังชั้นประดับ รวมถึงการเจาะคอร์ทขนาด เล็กบริเวณกลางอาคาร และการติดตั้งหน้าต่างบนผนังและฝ้าเพดาน ท�ำให้พื้นที่ว่างของโชะคินเทอิ มีความเชื่อมโยงกับธรรมชาติในหลายมิติอย่างน่าสนใจ

38 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018

ภาพที่ 15 : ผังพื้นของโชะคินเทอิ ที่มา : Matsumura, 2005

Image 1: Styles of Esan Houses The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ภาพที่ 16-18: ภูมิทัศน์แวดล้อม ทัศนียภาพบริเวณพื้นที่เตรียมชา และทัศนียภาพภายในโชะคินเทอิ Image 1: Styles of Esan Houses

โชอิเค็น

โชอิเค็น ตั้งอยู่ริมเขตพระราชนิเวศน์คัตทสึระบนเนินซึ่งถูกปรับให้ลาดเอียงลงสู่บ่อน�้ำรูปร่าง สี่เหลี่ยมทางด้านหน้า มีผู้สันนิษฐานว่าบ่อน�้ำนี้น่าจะได้รับอิทธิพลจากบ่อน�้ำในพระราชวังเซ็นโต ซึง่ ก่อสร้างในช่วงปี ค.ศ. 1634 - 1636 โดยนักจัดสวนทีม่ ชี อื่ เสียงในประวัตศิ าสตร์ญปี่ นุ่ นาม โคะโบะริ เอ็นชู กระท่อมชงชารูปแบบชนบทหลังนีม้ ีลักษณะใกล้เคียงกับบ้านชาวนาที่สุดในบรรดากรณีศึกษา มีผนังท�ำจากดิน หลังคาทรงปั้นหยา มุงด้วยหญ้าแห้งซ้อนชั้นหนาราว 50 เซนติเมตร บริเวณทางเข้า มีหน้าต่างรูปวงกลมบรรจุไม้ไผ่สานเป็นตารางจ�ำนวน 6 บาน ซึ่งเป็นลักษณะเด่นของอาคาร กระท่อมชงชาโชอิเค็น ประกอบด้วย ห้องปูด้วยเสื่อตะตะมิจำ� นวน 4 ห้อง ได้แก่ ห้องขนาด 3 เสื่อ 4 เสื่อ 6 เสื่อ และ 7.5 เสื่อ และพื้นที่เตรียมชา รวมถึงเรือนบริการ อันประกอบด้วย ครัวและ ส่วนเตรียมอาหารขนาดใหญ่ แม้วา่ องค์ประกอบและทีว่ า่ งสถาปัตยกรรมของโชอิเค็นจะได้รบั การปรับ แต่งอย่างปราณีตซึง่ แตกต่างจากบ้านชาวนาทัว่ ไป และมีพนื้ ทีเ่ ตรียมชาภายในอาคารซึง่ แตกต่างกับ กระท่อมชงชากรณีศึกษาข้างต้น อย่างไรก็ดี ความต่อเนื่องของส่วนพื้นดินที่มีลักษณะคล้ายโดะมะ ที่มีแผ่นหินรูปทรงธรรมชาติวางตัวอย่างค่อยๆ ไล่ระดับจากเส้นทางสัญจรภายนอก สู่พื้นที่ว่างใต้ ชายคาและสูร่ ะเบียงไม้ ผนวกกับการเว้นช่องว่างระหว่างฝ้าเพดานกับผนังเบาทีก่ นั้ แบ่งพืน้ ทีส่ ว่ นต่างๆ ซึ่งเปิดให้แสงธรรมชาติส่องและไล้พื้นผิวฝ้าเพดานจากริมขอบสู่ภายในอาคาร ช่วยสร้างความรู้สึก เสมือนอยูท่ า่ มกลางพืน้ ทีใ่ นระหว่างขนาดใหญ่ นอกจากนี้ หน้าต่างบานใหญ่ภายในห้องขนาด 6 เสือ่ ซึง่ หันสูน่ าข้าวทางเบือ้ งหลัง ยังท�ำหน้าทีเ่ ป็นกรอบในการมองเห็นปรากฏการณ์ธรรมชาติทแี่ ปรเปลีย่ น ตามฤดูกาล น�ำสู่การรับรู้ถึงความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันระหว่างคน สถาปัตยกรรม และสภาพ แวดล้อม 39 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ภาพที่ 19 : ผังพื้นของโชอิเค็น ที่มา : Matsumura, 2005

Image 1: Styles of Esan Houses

40

ภาพที่ 20-22 : ภูมิทัศน์แวดล้อม ทัศนียภาพภายใน และมุมมองจากโชอิเค็นสู่นาข้าว Image 1: Styles of Esan Houses

วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


2.3 การประกอบสร้างพื้นที่ในระหว่างในความสัมพันธ์ใหม่: ระเบียงแบบถอยร่น – พื้นดินโอบล้อม

หากพิจารณาภาพรวมของเอ็นกะวะหรือระเบียงในบ้านชาวนาและกระท่อมชงชา จะเห็นว่า ระเบียงทั้งสองเป็นพื้นที่เปิดโล่งที่มีความเชื่อมโยงกับสภาพแวดล้อมอย่างคล้ายคลึงกัน อย่างไรก็ดี ระเบียงของกระท่อมชงชาจะมีตำ� แหน่งทีถ่ อยร่นเข้าไปจากแนวชายคาทีค่ อ่ นข้างมากกว่าระเบียงของ บ้านชาวนา ซึ่งด้วยเหตุข้างต้น ระเบียงของบ้านชาวนาในยุคต่อมาจึงมักถูกปิดล้อมด้วยอุปกรณ์กัน ฝน อาทิ ฝาเลื่อนไม้ (amado) หรือบานเลื่อนกระจกใส เมื่อเปรียบเทียบกับโดะมะของบ้านชาวนาซึ่ง มีลักษณะที่ว่างแบบปิดล้อมและค่อนข้างตัดขาดจากภายนอกในเชิงกายภาพ แต่มีความเชื่อมโยง ในแง่กจิ กรรมการใช้สอยกับพืน้ ทีภ่ ายใน ส่วนพืน้ ดินของกระท่อมชงชาทัง้ สามมีลกั ษณะพืน้ ทีค่ อ่ นข้าง เปิดโล่ง กึง่ ภายในกึง่ ภายนอก และได้รบั การออกแบบโดยค�ำนึงถึงความสัมพันธ์กบั มุมมองสูภ่ มู ทิ ศั น์ โดยรอบ ในเชิงความสัมพันธ์ระหว่างพืน้ ทีใ่ นระหว่างกับพืน้ ทีส่ ว่ นอืน่ ๆ จะเห็นว่าโดะมะของบ้านชาวนา มักไม่ติดต่อโดยตรงกับพื้นที่ที่ปูด้วยเสื่อตะตะมิ ซึ่งนับเป็นพื้นที่ที่ค่อนข้างเป็นทางการ อย่างไรก็ตาม ส่วนพื้นดินของกระท่อมชงชาทั้งสามไม่เพียงมีความใกล้ชิดสัมพันธ์กับพื้นที่เตรียมชา แต่ยังมีความ สัมพันธ์กับพื้นที่ที่ปูด้วยเสื่อตะตะมิในลักษณะที่แทรกอยู่กลางอาคาร ดังปรากฏในเก็ปปะโระ และ ลักษณะโอบล้อมอาคาร ดังพบเห็นในโชะคินเทอิและโชอิเค็น ในเชิงความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ในระหว่างด้วยกัน จะเห็นว่าระเบียงและส่วนพื้นดินของ กระท่อมชงชามีความสัมพันธ์ระหว่างกันและก่อให้เกิดความคลุมเครือในการก�ำหนดอาณาเขต ภายใน-ภายนอก ทว่า เอ็นกะวะและโดะมะของบ้านชาวนามักมีขอบเขตพื้นที่ที่ชัดเจนและพื้นที ่ ในระหว่างทั้งสองมักไม่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันโดยตรง นอกจากนี้ ความไม่สมบูรณ์ของสถาปัตยกรรม สุคิยะที่เผยให้เห็นโครงสร้างหลังคาและเปิดช่องว่างระหว่างองค์ประกอบสถาปัตยกรรม ฝ้าเพดาน หลังคา และผนัง ดังปรากฏในกรณีศกึ ษาข้างต้น ซึง่ เอือ้ ให้แสงธรรมชาติจากภายนอกลอดผ่าน ตกกระทบ และสะท้อนสู่พื้นที่ว่างภายในอาคาร ก่อให้เกิดความต่อเนื่องของที่ว่างจากภายนอกสู่ภายในอย่าง สมบูรณ์

ภาพที่ 23 : ไดอะแกรมแสดงพื้นที่ในระหว่างของเก็ปปะโระ Image 1: Styles of Esan Houses

ภาพที่ 24 : ไดอะแกรมแสดงพื้นที่ในระหว่างของโชะคินเทอิ Image 1: Styles of Esan Houses

ภาพที่ 25 : ไดอะแกรมแสดงพื้นที่ในระหว่างของโชอิเค็น Image 1: Styles of Esan Houses

41 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


พื้นที่ในระหว่างในสถาปัตยกรรมญี่ปุ่น

ไม่เพียงการประกอบสร้างความสัมพันธ์ใหม่ของระเบียงและส่วนพืน้ ดินจะท�ำหน้าทีเ่ ป็นพืน้ ที่ ในระหว่างของกระท่อมชงชาแห่งพระราชนิเวศน์คัตทสึระเท่านั้น หากพิจารณาในภาพกว้างแล้ว คุณลักษณะพิเศษต่างๆ อาทิ ระบบความสัมพันธ์แบบเกาะเกี่ยวระหว่างที่ว่างภายในและภายนอก ของอาคาร การเผยโครงสร้างหลังคาให้เกิดความเชือ่ มต่อของทีว่ า่ งภายในโดยทัว่ และการยืมทิวทัศน์ ของกระท่อมชงชาทีต่ งั้ อยูร่ มิ บ่อน�ำ้ ฝัง่ ตรงข้ามเข้ามาเป็นส่วนหนึง่ ของกรอบสถาปัตยกรรม ดังปรากฏ ในเก็ปปะโระ รวมถึงความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันระหว่างสถาปัตยกรรม พื้นที่ว่างกับองค์ประกอบ ภายในพื้นที่ และสวนโดยรอบ อันเกิดจากการรังสรรค์ความต่อเนื่องของโครงสีและการผนวกสภาพ แวดล้อมเบื้องหน้าเข้ามาเป็นส่วนส�ำคัญในพื้นที่เตรียมชา ดังเช่นกรณีของโชะคินเทอิ ตลอดจน การก�ำหนดต�ำแหน่งของช่องเปิดที่เชื่อมโยงกับภูมิทัศน์นาข้าวซึ่งสะท้อนให้เห็นวัฏฏะแห่งธรรมชาติ การออกแบบพืน้ ทีว่ า่ งภายในและช่องเว้นว่างระหว่างองค์ประกอบภายในอาคารทีเ่ ปิดให้ปรากฏการณ์ แสง-เงาแทรกซึมสู่พื้นที่ว่างภายใน น�ำให้ระดับความสว่าง-สลัวภายในพื้นที่มีการที่แปรเปลี่ยนอย่าง ค่อยเป็นค่อยไป ดังที่พบเห็นในโชอิเค็น ส่งผลให้ตัวสถาปัตยกรรมชงชาทั้งสามท�ำหน้าที่เป็นเสมือน พื้นที่ในระหว่างด้วยเช่นกัน ถึงแม้รูปลักษณ์ องค์ประกอบสถาปัตยกรรม รวมถึงวัสดุที่บ่งถึงสุนทรียะของความเรียบน้อย ไม่สมบูรณ์ และไม่จีรังของสถาปัตยกรรมกระท่อมชงชาจะมีลักษณะคล้ายคลึงกันกับบ้านชาวนา ราวกับหยิบยืมรูปแบบมาใช้โดยยึดถือแบบแบบแผนประเพณีเดิม อย่างไรก็ดี ในเชิงคุณลักษณะของ ที่ว่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ว่างในระหว่าง เห็นได้ว่า ภายใต้ภาพลักษณ์ที่มีความคล้ายคลึงกันนั้น เผยให้เห็นถึงการปรับ+แปร+เปลี่ยนของสถาปัตยกรรมกระท่อมชงชา ทั้งในเชิงระบบความสัมพันธ์ ของพื้นที่ในระหว่างและปรากฏการณ์ของที่ว่างอย่างน่าสนใจ

42 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


เอกสารอ้างอิง ชัยยศ อิษฏ์วรพันธ์. 2557. หิมะ พระจันทร์ ดอกไม้: สวนญี่ปุ่น. กรุงเทพ: สารคดีภาพ. วาริชา วงศ์พยัต. 2555. “จากเอะโดะ ถึงโตเกียว: การซ้อนทับของการอยู่อาศัย.” วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬากรณ์มหาวิทยาลัย. 61 (ธันวาคม). วาริชา วงศ์พยัต. 2560. “จากประเพณี สูว่ ถิ สี มัยใหม่: พืน้ ทีใ่ นระหว่างในการอยูอ่ าศัยญีป่ นุ่ .” วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬากรณ์มหาวิทยาลัย. 66 (ธันวาคม). Engel, H. 1985. Measure and Construction of the Japanese House. Tokyo: Tuttle Publishing. Hirai, K. 1998. The Japanese House: Then and Now. Tokyo: Ichigawa Publications. Isozaki, A. 2011. Japan-ness in Architecture. Massachusetts: The MIT Press. Itoh, T. 1986. Traditional Domestic Architecture of Japan. Tokyo: Heibonsha. Katsura Imperial Villa. (n.d.). Foundation of Cultural Hertiage Conservation. Kawashima, C. 1986. Minka Traditional Houses of Rural Japan. Tokyo: Kodansha. Kurokawa, K. 1988. Rediscovering Japanese Space. Tokyo: John Weatherhill. Ponciroli, V., ed. 2011. Katsura Imperial Villa. London: Phaidon Press. “Shinden-zukuri.” [Online]. Available: http://projects.leadr.msu.edu/traditionaleastasia/.Retrieved January 12, 2018. “Sumiya.” [Online]. Available: http://sumiyaho.sakura.ne.jp/page/english.html.Retrieved April 12, 2017.

43 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


From Farmhouses to Teahouses of Katsura Imperial Villa: The In-Between Space in Japanese Architecture Assistant Professor Waricha Wongphyat, Ph.D.

Department of Architecture, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University | waricha.arch@gmail.com

Abstract

Teahouses, which have their roots from minka, or farmhouses, are acclaimed for being manifestations of Japanese

notion of space, sensibility, and aesthetics — characteristic features of Japanese culture. Nonetheless, it is noted that different uses inevitably account for different physical and experiential qualities of space. This article aims to clarify the evolution of this Japanese architecture, particularly the concept of “in-between space”, by focusing on architectural elements, functions, and interconnections between transition spaces, architecture, and context, as well as the relationships among them. The study is based on literature reviews and field surveys of case studies, which include farmhouses and teahouses of the Katsura Imperial Villa (i.e. Gepparo, Shokintei, Shoiken). The transformation of in-between spaces — from “the clear-cut and contrasting nature of engawa, or terrace, and doma, or earthen space” of farmhouses, to “the new composition of the in-between space” as evident in the teahouses of Katsura Rikyu — aptly portrays collective attempts to inherit essential characters of the in-betweenness of Japanese architecture in an evolving context.

Keywords: In-between space, Japanese architecture, minka, teahouses, Katsura Imperial Villa Introduction

For periods of time, the ‘in-between space’ in Japanese

architecture has been regarded as an element with diverse facets — ranging from a transition space interconnecting the exterior natural space to the interior living space to a house extension and to a multifunctional area for whole families (Kurokawa, 1988). In addition, the in-between space concretely shows the relationship between the contextual, conceptual and functional changes and the inherited essence of Japanese architecture. This article aims to employ the in-between space of farmhouses and farmhouse-influenced architecture — i.e. the teahouses — as a means to examine the transformation of Japanese architecture. The study is based on literature reviews and field surveys consisting of the author’s observations and photography from 2005 to 2016. The study of in-between space in Japanese architecture is divided into two sections: the origins of traditional Japanese architecture and the creation of modern Japanese architecture.

Section 1 The Origins of Traditional Japanese Architecture 1.1 Contextual Differences: Minka – Non-Minka

Using ‘people’ as a criterion for understanding Japanese

dwellings, one can clarify Japanese residential architecture into two major lineages: folk dwellings (minka) and aristocratic mansions (non-minka) (Itoh, 1986). The folk dwellings or vernacular architecture consist of farmhouses (nouka) which integrate agricultural-related work areas into the living space and townhouses (machiya), or merchant’s houses, which combine the functionalities of the house and the retail shop together. The aristocratic mansions principally include shinden-style architecture and shoin-style architecture.1

Considering the physical factors, i.e. topography and

climate, it is evident that Japanese residential architecture was designed to solve problems affecting users in the summer such as high temperatures and humidity. The raised wooden floor, which allows air and moisture above the ground to ventilate, is thus a common feature for both the residential architectures of nobles and commoners. Nonetheless, the different socioeconomic status of residents also causes the inhabitants’ needs for usability and the lifestyle to be dissimilar. While aristocratic

44 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage

1

There are also other types of the residences such as shuden-style which developed between shinden-style and shoin-style residence.when it occurs on the ground.


mansions are comprised merely of the area to accommodate

Inside the farmhouse there are two important areas

the dwellings, which often includes a servant quarter nearby,

which can open and connect to each other. The first important

the folk dwellings consist of the space in which to live and eat

one is the wooden floor raised around 40-100 centimeters

as well as to make a living. The differences between users and

above the ground which accommodates the dwelling activities.

usability affect the physical characteristics of both dwelling

It can be divided into two parts including a guest area which

typologies. The farmhouses and townhouses — or the houses

is rather formal and situated deep inside the earthen space.

in which the majority of the country live, so to speak — are

The guest area often comes with tatami-finished timber floors

made up of two major parts: timber raised floor and doma, or

and ceilings and is decorated with some elements found in

earthen space. The noble residences, on the other hand, contain

shoin-style residences such as tokonoma or alcove, tana or

only the raised floor. Fundamentally, the raised wooden floor

shelving, and tsukeshoin or writing alcove. Another part is an

that accommodates the living space is an area where one is

area accommodating daily activities of the residents that can

required to take his or her shoes off, while the doma is an area

connect directly to the earthen space. This area is usually

that does not need to. Thus, when the custom of removing

covered with timber but in some cases it may covered with

shoes and the floor-seated culture is incorporated with the

bamboo, leaving a gap between each board in order to provide

minimalist character of the architectural elements and

ventilation. It also comes with a sunken hearth which does

equipment, Japanese architecture serves as a large piece of

not only provide warmth to the whole family but also serves

multifunctional furniture.

as the center of the house where various activities can take place. There is also a wooden sink for washing dishes installed

1.2 Farmhouses

A farmhouse or vernacular house is a dwelling in which

agricultural workers (who are the majority of the country) reside. It is the architecture that combines two functions including living and farming under the same roof. The layout

on the floor nearby. The second important area is doma or earthen space which accommodates cooking and other farmingrelated activities. This area also functions as the place where agricultural tools and equipment as well as crops and livestock are stored, and where the toilet is situated.

of the farmhouse dwellings consists of a cluster of buildings such as the main building, a barn for keeping harvest and

1.3 Opened Terrace – Enclosed Earthen Space

agricultural equipment, and an entrance building, all of which

encompass a central court which is an area where agricultural

Japanese 縁 which means a relationship or in-between) is the

and other activities of the family members take place. Situated

in-between space commonly found in both folk dwellings and

nearby is a pond and perhaps a small altar. Compared to

aristocratic mansions. The terraces of these two types of

shinden-style houses and shoin-style houses, the Japanese

residences share some analogous features such as physical

vernacular houses are rather dense and hermetic, especially

characteristics, location, and quality of space. In the past, the

in the earlier periods. Wood, straw and earth are major con-

terraces in Japanese residences were rather open allowing for

struction materials that constitute the building structure. The

natural light to filter in. Even though they may be enclosed by

roof structure is made from unfinished timber in order to

translucent sliding partitions and/or wooden sliding shutters

expose its natural texture which is usually darkened by smoke

in later times, the terraces in Japanese residences still perform

from the sunken hearth. The roof is often thatched with straw

as the area for interconnection between the exterior surroundings

or covered with roofing tiles in some regions. Its form and

and the interior living spaces. Nonetheless, they may differ in

slope angle represent the identity of the vernacular house and

usability due to the differences between different users and

reflect the differences in climate and way of life in each locality

functional requirements.

Engawa, or terrace (the word ‘en’ derived from the

of Japan. With aesthetic characteristics that are minimalist as well as sense of humbleness and use of natural materials that

Doma or earthen space (the words ‘do’ and ‘ma’ derived

blend with the environment and reflect some traces of time,

from the Japanese

the farmhouses become the archetype for teahouses or

respectively) is an important element in folk dwellings whether

sukiya-style architecture in the later times.

they are farmhouses or townhouses. The size of doma can

and

which mean earth and space,

indicate the lifespan of the residence and it has been said that 2

In some regions with strong gales such as the Southern region of the Pacific Ocean, the main building of farmhouses is often covered by two roofs: one above the timber floor which accommodates the living space and another one above the earthen floor where cooking and farming take place. This is to reduce the spread of fire when it occurs on the ground.

45 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018

Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


a house with a big size of doma is often the age-old one. (Hirai,

meanings that are different, ambiguous, and scarcely revealed

1998) This in-between space has two interesting characteristics.

by a unified interpretation (Isozaki, 2011).

On the one hand, one can see the distinctive characteristics between doma and terrace when considering the quality of

The major functions of the Katsura Imperial Villa

enclosure, texture and materials, and the connection to the

consist of two interrelated parts: the area for accommodating

exterior space without taking his or her shoes off. Doma is an

royalty and nobility, and the area for performing the tea

exterior space that infiltrates into the highly enclosed interior

ceremony. Moreover, featuring within its boundary is the

space, so the light inside is rather dim. On the other hand, it

combination of two types of architecture known as shoin, or

is evident that, when considering the relationship and continuity

guesthouses, and sukiya, or teahouses. The shoin-style archi-

of functions, even though doma is situated in a lower position

tecture of this imperial villa includes Old Shoin, Middle

than that of the timber floor, it has quite an intimate relationship

Shoin, Music Hall, and New Shoin or New Palace all arranged

with and becomes a part of the living space of the family.

in tiers resembling a flock of ‘geese in flight’ in order for one to optimally enjoy the view and to efficiently bring the natural

Section 2 The Creation of Modern Japanese Architecture 2.1 Katsura Imperial Villa: The Unity of Differences

Katsura Imperial Villa has been acclaimed as one of

the most important architectural buildings in the history of Japanese architecture. As a milestone of Japanese modern architecture, there are numerous researches on Katsura Rikyu done by renowned architects, from both out of Japan such as Bruno Taut and Mies van der Rohe and Japanese ones such as Sutemi Horiguchi, Kenzo Tange and Arata Isozaki. In addition, the Katsura Imperial Villa was also presented through the lens of the Japanese legendary photographer Yasuhiro Ishimoto.

Apart from the combination of horizontal and vertical

structures and the architectural elements such as wall frames and edges of tatami mats - which are always impressive among modern architects - the integration of architectural design, interior architecture and landscape architecture as well as the spatial phenomena caused by the cooperation between material,

light into the spaces. Since the shoin-style architecture was inherited from and developed by the great master carpenters adopting the kiwari proportional system, it simultaneously creates an “authoritarian” sense of aesthetics evoking the atmosphere of the nobility in the previous time.

By contrast, a group of teahouses, i.e. Gepparo, Shokin-

tei, Shokatei and Shoiken, represents the sukiya-style architecture. Inspired by the scarcity, rawness, incompleteness, and patina of vernacular houses, the sukiya-style architecture, which are built from the communication between proprietor and carpenter, unveils a sense of modesty and gracefulness. Generally speaking, teahouses built during the time of Prince Toshitada portray the taste of the townsfolk and samurai nobility (Isozaki, 2011). For this article, the author has selected three teahouses including Gepparo situated in the north of the shoin compound, Shokintei and Shoiken located respectively in the east and the west of Katsura Imperial Villa, to be the case studies.

color, texture, light and shadow connecting the user’s spatial

2.2 Teahouses

experience, are the idiosyncratic characteristics of the Katsura

Gepparo

Imperial Villa. Such features were widely employed among the

architecture built during that time. An exemplary building

of the moon at night with a plum tree growing nearby, the first

includes Sumiya, a famous assignation house in Shimabara,

teahouse constructed in Katsura Imperial Villa, was named

in the old red-light district of Kyoto, which was designated as

Gepparo, or the ‘teahouse of the moon and plum tree’ in

an important cultural property in 1952 (Isozaki, 2011). The

Japanese (Ponciroli, 2005). This teahouse comprises of three

construction of Katsura compound was conceived during the

tatami-matted rooms—one unit of 7.5-mat room and two units

early 17th century in the era of Prince Hachijo Toshihito and

of 4-mat room—and a tea preparation area, or tearoom, all of

his son Prince Toshitada. It took more than 42 years and

which are arranged in an U-shape around an unpaved floor

extended over shifts in political events and aesthetics in art,

resembling doma, or the farmhouse’s earthen space. It is

culture, and architecture. As a result, Arata Isozaki compared

interesting to note that this arrangement allows one to feel as

Katsura Imperial Villa to a text filled with multiple layers of

though nature flowed into the interior space.

46 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage

Owing to its location that affords an impressive view

3

The shoin-style architecture utilizes the modular system measuring the distance from the centre of each columns.

4

The sukiya-style architecture utilizes the construction system based on the spacing between successive columns.


The roof structure and columns of Gepparo are

be an integral element of the tea ceremony. This area is

constructed from unfinished timbers. The ceiling of the entire

furnished with a timber floor, tea equipment - such as a sink

interior space is not covered; instead, it reveals the exquisiteness

and clay hearth integrated as parts of the veranda - and a tea

of interwoven bamboo canes and natural roofing materials.

ware shelf installed at the corner of the blind partition.

The void between sliding partitions and roof structure resembles

Surrounded by a gravel-paved area, stepping stones, and a row

that of the vernacular house. Located next to the doma is a

of the unfinished columns, the tea preparation area acts as the

tearoom. Apart from its timber floor and a small opening

in-between space that helps interconnect the relationship

installed at the lower part of the partition that allows natural

between the architecture of tea and the surrounding landscape.

light to filter in, the tearoom is furnished with tea equipment

The tea ceremony room is 3 ¼-mat in size. A crawling-in

such as a sink, sunken hearth, and a small area of shelves and

entrance is installed at the lower part of the wall so that the

cabinets on one side of the wall. With the aforementioned

guests are required to restrain and bend themselves down

attributes, the interior space of Gepparo depicts the quality of

before entering the ceremony. In the middle of the interior

in-betweenness that helps mediate the interconnection

space lies a supporting pillar of rough oak. The ceiling is made

between architecture and its surroundings.

of woven reeds and bamboo canes colored in dark and bright

tones. Here, eight windows are installed, one of which is placed Shokintei

on the ceiling and thus called the ‘moon window.’ Through the

Built adjacent to a giant pine tree, Shokintei literally

continuity of paving elements of roji, or the passage in tea

means ‘the sound of Koto (a traditional Japanese stringed

garden, and a row of rough columns, the installation of

musical instrument) and pine tree’ in Japanese, and is acclaimed

windows on the walls and ceiling -together with the use of a

to be one of the most important teahouses at Katsura Imperial

small courtyard and grey blue-green stepping stones are

Villa (the Imperial Household Agency, n.d.). Its functions

carefully selected to match with the colors and patterns on the

consist of three tatami-matted rooms—a unit of 11-mat room,

sliding partitions that carry on to the alcove - the interior space

6-mat room, and a 3-mat tearoom—and a service area together

of Shokintei are harmoniously interconnected with the

with a small courtyard situated at the center of the building.

surrounding nature.

Along the periphery of the veranda is an area for tea preparation. Facing its surrounding landscape, the tea preparation space is

Shoiken

the distinctive feature of this teahouse. Unlike Gepparo, the

roof structure of Shintokei is concealed. The ceiling and the

Imperial Villa, Shoiken sits on an artificial hillside that is

void space underneath are covered. Yet, a row of unpolished

tilted diagonally to the pond curb at the front. It has been said

columns situated near the tea preparation area and under the

that the unique pond, with its rectangular shape suitable for

eaves of the building and the organic form of the oak pillars

docking, was influenced by the garden pond of Sento Imperial

in the tea ceremony room reflect an intimate relationship

Palace, built during 1634-1636 by the prominent Japanese

between architecture and nature — a common feature shared

gardener and tea master Kobori Enshu. Built in a country-style

among the teahouses of Katsura Imperial Villa.

farmhouse with clay walls and a 50-centimeter-thick thatched

Located along the southern boundary of Katsura

hip roof, Shoiken bears the most resemblance to the vernacular

The area between the 11-mat room, which directly

house among the three case studies. In addition, the six

connects to the tea preparation area and the 6-mat room, is

bamboo-grate circular windows situated above the entrance

partitioned off by fusuma, or sliding partitions, painted in

are the distinctive feature of this building.

white and indigo checkerboard pattern. This feature represents another idiosyncratic characteristic of Shokintei in that it

reflects a contemporary design approach. The pattern on these

rooms—a unit of 3, 4, 6 and 7.5-mat room, and a tea preparation

partitions carries on to the background of tokonoma, or

area as well as two service buildings: kitchen and food prepa-

decorative alcove, in the 11-mat room. Next to the alcove is a

ration area. The architectural elements and space of Shokiten

built-in cabinet for storing charcoal. Its panels are decorated

are deliberately configured, which subtly makes it different

with a painting drawn by the renowned Japanese artist named

from ordinary farmhouses. Unlike other case studies, the tea

Kano Tanyu. The tea preparation space located on the edge

preparation area of Shoiken is located inside the building.

of the terrace facing the distinctive landscape is designed to 5

Shokintei was referred in ‘The Wind in the Pines,’ a chapter of a classic work of Japanese literature ‘The Tale of Genji,’ written in the 11th century.

The Shoiken teahouse consists of four tatami-matted

47 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


The continuity of the doma-liked earthen space

related directly. In addition, the incompleteness as found in

accompanied by organic-shaped stepping stones, which

sukiya-style architecture—including the exposure of the roof

gradually run from an outdoor passage to an area beneath the

structure and the void between each of the architectural

eaves, integrates with the void between the ceiling and partitions

elements like the ceiling, roof and wall as seen in the case

to create an immersive feeling as though one were embraced

studies which allows for the natural light to filter in, reflect

by a sizable in-between space. Furthermore, a large window

and light up the interior — completely and continuously

of the 6-mat room which opens to the background scenery of

interconnecting the space from outside to inside.

rice fields functions as a frame to appreciate the impressive phenomena that alters throughout the year—the circle of nature which brings about a sense of unity between humans, architecture, and environment.

The In-Between Space in Japanese Architecture

The composition and relationship between terrace and

earthen spaces not only serve as the in-between space for the teahouses of Katsura Imperial Villa, but in a broader view, the

2.3 The New Composition of the In-Between Space: characteristics of the three teahouses act as the in-between Recessed Terraced – Enclosed Earthen Space spaces of the overall compound as well. The interrelationship

Considering an overview of engawa or terrace within

between the interior and exterior space of the building, the

farmhouses and teahouses, it is evident that the two terraces

exposure of roofing structure that gives connection to the

are open spaces that are similarly interconnected to the

interior space, and the borrowing of Shokintei’s scenery that

environment. The location of the terrace of teahouses is,

sits across the pond to form a part of the architecture as shown

however, more recessed into an area under the eaves than that

in Gepparo are instances of this. The other notable characteristics

of farmhouses. Therefore the terraces of farmhouses, in later

are the unity between architecture, interior space and the

times, are rather enclosed by rain protection elements such as

garden that have a continuous color scheme and the integration

amado or wooden sliding shutters and sliding glass panels.

of the surrounding landscape to be a part of the tea preparation area as shown in Shokintei. As well, the location of the openings

When compared to doma of farmhouses - which depicts

that connects to the scenery of rice fields reflecting the circle

the quality of enclosed space and separates itself physically

of nature and the design of the interior and void spaces that

from the surroundings yet connects with the interior space in

allow for light and shadow to filter in and gradually alter the

terms of function - the earthen spaces of both teahouses are

level of brightness and dimness within the space as shown in

rather open, depict the quality of in-betweenness, and are

Shoiken.

designed by taking into account the relationship of viewpoints to the surrounding landscape. In terms of the relationship

between in-between space and other spaces, one can see that

materials of the teahouses resonate with the aesthetics of

doma in farmhouses does not usually connect to the rather

minimalism, imperfectness and impermanence, and although

formal area like tatami-matted spaces. Nonetheless, the earthen

they share some characteristics similar to the farmhouses they

space of the three teahouses is not only situated closely to the

borrowed from, it is evident that in terms of the quality of

tea preparation area, but it also has a connection to the tatami-

space — the in-between space in particular - the adaptation

matted space such as the one in Gepparo that is situated in the

and transformation of the architecture of teahouses demon-

middle of the building, and another one in Shokintei and

strate a unique relationship of the in-between space and

Shoiken that encompasses the building.

spatial phenomenon in architecture.

Although the appearance, architectural elements and

In terms of the relationships among the in-between spaces,

it is evident that terraces and earthen spaces of the case study teahouses have some connection between one another and create ambiguity in determining the boundary of interior and exterior. However, there is usually a clear boundary between engawa and doma in farmhouses and both of them are not 6

Kano Tanyu, one of the founders of the Kano school, was promoted the first official painter of the Tokugawa Shogunate period. He created a number of large-scale masterpieces for various notable places such as Edo Castle, Nijo Castle, Osaka Castle, Nagoya Castle, and Nikko Toshogu Shrine.

7

The transition cited from Isavorapant, Chaiyosh. Snow, Moon and Flower: The Japanese Garden. (Bangkok: Sarakadeephab, 2014).

48 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


Bibliography Isavorapant, Chaiyosh. 2014. Snow, Moon and Flower: The Japanese Garden. Bangkok: Sarakadeephab. Wongphyat, Waricha. 2012. “From Edo to Tokyo: The Multi-Layered Dwelling.” Academic Journal of Architecture,

Chulalongkorn University. 61 (December).

Wongphyat, Waricha. 2017. “From Tradition to Modernity: The In-Between Space in Japanese Dwelling.” Academic Journal

of Architecture, Chulalongkorn University. 66 (December).

Engel, H. 1985. Measure and Construction of the Japanese House. Tokyo: Tuttle Publishing. Hirai, K. 1998. The Japanese House: Then and Now. Tokyo: Ichigawa Publications. Isozaki, A. 2011. Japan-ness in Architecture. Massachusetts: The MIT Press. Itoh, T. 1986. Traditional Domestic Architecture of Japan. Tokyo: Heibonsha. Katsura Imperial Villa. (n.d.). Foundation of Cultural Hertiage Conservation. Kawashima, C. 1986. Minka Traditional Houses of Rural Japan. Tokyo: Kodansha. Kurokawa, K. 1988. Rediscovering Japanese Space. Tokyo: John Weatherhill. Ponciroli, V., ed. 2011. Katsura Imperial Villa. London: Phaidon Press. “Shinden-zukuri.” [Online]. Available: http://projects.leadr.msu.edu/traditionaleastasia/. Retrieved January 12, 2018. “Sumiya.” [Online]. Available: http://sumiyaho.sakura.ne.jp/page/english.html.Retrieved April 12, 2017.

49 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ท่วงทำ�นอง กวีศิลป์-สถาปัตย์ : สะอาด สว่าง สงบ จิตตปัญญาศิลป์ พุทธประทีปมหาสถูปเจดีย์ ดร.วันชัย มงคลประดิษฐ

ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | w.mongkolpradit@gmail.com

50 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


บทคัดย่อ ในบทความนีจ้ ะน�ำเสนอวิวฒ ั นาการของแนวคิดทางสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะแนวคิดของสถาปัตยกรรมโลกตะวันออกทีม่ คี วามพยาม ในการสร้างพืน้ ทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ ทีเ่ อือ้ ต่อการท�ำความเข้าใจในตนทีเ่ ป็น หนึง่ เดียวกับสรรพสิง่ อันจะก่อให้เกิดความเบิกบาน เบาสบาย สงบ เย็น มีอสิ ระทางจิตวิญญาณ และปลดเปลือ้ งพันธนาการแห่งความ ทุกข์ทรมานในจิตใจของมนุษย์ ทีม่ มี าในทุกยุคทุกสมัยจนมาถึงยุค สมัยแห่งองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงได้ค้นพบหลักความจริง แห่งธรรมชาติ และวิถีทางแห่งการสิ้นทุกข์และก่อเกิดสันติสุขขึ้น ในจิตใจของผูค้ น และสามารถพัฒนามาเป็นหลักแนวความคิดทาง สถาปัตยกรรม ในการสร้างพื้นที่สัปปายะ เป็นมณฑลศักดิ์สิทธิ์ที่ เอื้อต่อการพัฒนาทางจิตวิญญาณที่พระพุทธองค์ได้ทรงชี้ทางให้ โดยสามารถปรั บ แต่ ง รู ป แบบให้ ส อดคล้ อ งกั บ วิ ถี ชี วิ ต และ วัฒนธรรมของแต่ละพืน้ ที่ ชนชาติ ความเชือ่ และแต่ละยุคสมัย ได้ อย่างไรข้อจ�ำกัด มีการน�ำเสนอตัวอย่างงานออกแบบพุทธประทีปมหาสถูปเจดีย์ อัน จะเป็นสถานที่ประดิษฐานพระบรมสารีริคธาตุ และอรหันตธาตุที่ มากที่สุดในโลก ของมูลนิธิพระบรมธาตุในพระสังฆราชูปถัมภ์ อัน จะเป็นสถานที่ ทีจ่ ะเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวพุทธ และเป็นสถาน ที่ ที่ให้ความรู้ ที่เอื้อต่อการพัฒนาอิสระภาพทางจิตวิญญาณของ คนทุกชาติทกุ ศาสนา โดยต้องการให้มคี วามยิง่ ใหญ่ ทีจ่ ะเป็นศูนย์ รวมจิตใจของคนทั้งโลก โดยจะเป็นพื้นที่และรูปลักษณ์ที่สะท้อน ความดีงามที่มีอยู่ในจิตใจของคน เป็นสถานที่สัปปายะ มีความ สมถะ ถ่อมตน เรียบง่าย งดงาม สงบเย็น และเป็นหนึ่งเดียวกับ สรรพสิ่ง คำ�สำ�คัญ: จิตตปัญญาศิลป์, มณฑลศักดิ์สิทธิ์, จักรวาลวิทยา, สถูปเจดีย์

บทนำ� ภาษาสถาปัตยกรรมได้มีการพัฒนาเรื่อยมาในแต่ละยุคสมัย ให้ สอดคล้องกับบริบทของสังคม-วัฒนธรรม ในแต่ละยุคและแต่ละ พืน้ ที่ เพือ่ คุณภาพชีวติ ในการอยูอ่ าศัย และเอือ้ ต่อการพัฒนาอิสระ ภาพทางจิตวิญญาณ ที่เราเคยเรียนกันมาในโลกตะวันตก ได้แก่ ตัง้ แต่ยคุ ศิลปะไบแซนไทน์(Byzantine Art) ต่อด้วยยุคศิลปะกอทิก (Gothic Art) ต่อมาด้วยยุคศิลปะเรอเนซองส์(Renaissance Art) และมาจนถึงยุคศิลปะโมเดิรน์(Modern Art) เป็นต้น ส่วนในโลก ตะวันออก ได้มคี ติทางจักรวาลวิทยา(Cosmology) ค�ำภีรว์ สั ดุปรุ ษุ มณฑล(Vasstu-Purusa-Mandala) ค�ำภีร์เฟงซุย(Feng-Sui) เป็นต้น จะเห็นได้ว่าในแต่ละยุคสมัย แต่ละชนชาติ แต่ละความ เชือ่ ก็มกี ารพัฒนา อันมีความเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละถิน่ ที่ แต่ละ ชนชาติความเชื่อ และแต่ละยุคสมัยที่แตกต่างกัน กล่าวคือ ยุคยุค ศิลปะไบแซนไทน์(Byzantine Art)กับยุคศิลปะกอทิก(Gothic Art) จะเน้นไปในเรือ่ งอุทศิ ตนไปอยูร่ ว่ มกับพระผูเ้ ป็นเจ้า ทีม่ พี ฒ ั นาการ ทางศิลปะสถาปัตยกรรมยุคศิลปะกอทิก(Gothic Art)ที่เข้าถึง 51 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


พระเจ้าได้มากยิ่งขึ้น มาในยุคศิลปะเรอเนซองส์(Renaissance Art) จะเน้นไปเรื่องพลังอ�ำนาจและ ความยิง่ ใหญ่ของมนุษย์และอาณาจักร ส่วนศิลปะยุคโมเดิรน์(Modern Art) จะเน้นไปในเรืองเสรีภาพ และความเสมอภาค ส่วนของโลกตะวันออกก็เช่นกันได้มีการพัฒนาการที่ก่อเกิดการพัฒนาการ ไปสู่ มณฑลศักดิ์สิทธิ์ทางพุทธศาสนา รูปแบบของมณฑลศักดิส์ ทิ ธิ์ ในคติความเชือ่ ทีแ่ ตกต่าง ในค�ำภีร์จักรวาลวิทยา(Cosmology) กล่าวโดยย่อคือ มณฑลศักดิ์สิทธิ์(Mandala) อันเป็นวิถี การด�ำเนินชีวติ ทีต่ อ้ งอุทศิ ตนให้กบั พระผูส้ ร้าง ในมิตแิ ห่งการพัฒนาชีวติ มีลำ� ดับขัน้ การพัฒนาสูช่ วี ติ ที่บริสุทธิ์ไปรวมเป็นหนึ่งเดียวกับพระผู้สร้าง เป็นความสุขขั้นที่มีด้วยกัน 3 ระดับขั้น ได้แก่ ขั้นกามภูมิ ที่เป็นความสุขที่ต้องอาศัยปัจจัยภายนอก ส่วนขั้นรูปภูมิ และ อรูปภูมิ ทั้งสองภูมิหลังนี้ไม่ต้องอาศัย ปัจจัยภายนอกอาศัยแต่ปจั จัยภายในตน จากจิตทีม่ สี มาธิตงั่ มัน่ ขึน้ ไปเป็นล�ำดับขัน้ ไปของสภาวะ หรือ ภพภูมิ จากรูปภูมิ สูอ่ รูปภูม2ิ

ภาพที่ 1 : Hidu Cosmology.1 image 1 : Hindu Cosmology.

ในค�ำภีร์ วัสดุปรุ ษุ มณฑล(Vasstu-Purusa-Mandala) ทีพ่ ดู ถึงมณฑลศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งศิวะเทพหรือ มณฑลแห่งพระผูส้ ร้าง ทีม่ หี ลักการเลือกวางมณฑลให้สอดคล้องกับวิถแี ห่งเทพเจ้า และต้องสัมพันธ์กบั เทพเจ้าแห่งพระอาทิตย์ เทพเจ้าแห่งพระจันทร์ เทพแห่งฤดูกาล และเทพแห่งดวงดาว เป็นต้น เพือ่ ให้ชวี ติ ด�ำเนินไปตามบัญชาแห่งเทพหรือบัญชาแห่งสวรรค์ ชีวติ และจิตวิญญาณก็จะได้รบั การปลดปล่อยไป อยูร่ ว่ มเป็นหนึง่ เดียวกับเทพผูส้ ร้าง3 ส่วนในค�ำภีรเ์ ฟงซุย(Feng-Sui) ก็จะพูดถึงมณฑลศักดิส์ ทิ ธิใ์ นระบบความสัมพันธ์ และความสม ดุลย์แห่งชีวติ กับธรรมชาติ ทีต่ อ้ งพยามปรับให้ตวั เองสมดุลย์ทสี่ ดุ เท่าทีเ่ ป็นไปได้ โดยค�ำนึงถึงกลไกลแห่ง ฟ้า กลไกลแห่งดิน และกลไกลแห่งวัตรจักรของชีวติ มนุษย์ ทีต่ อ้ งสร้างสัมพันธ์ให้ตวั เราสมดุลย์กนั ทัง้ ระบบฟ้า ดิน และมนุษย์ ชีวติ จึงไม่ประสบกับปัญหาหรือเลีย่ งต่อความทุกข์ยาก ความป่วยไข้ และพบ แต่ความมัง่ มี ความสุข และความส�ำเร็จ5 52 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ภาพที่ 2: Vastu Purusha

4

Image 2: Vastu-Purusha

ภาพที่ 3 : ผังพื้นฐานฮวงจุ้ย ทิศใต้ หงส์แดง ทิศตะวันตก มังกรเขียว ทิศเหนือ เต่าดำ� ทิศตะวันออก เสือขาว6 Image 3 : The Feng Sui principles: the red phoenix of the south, the green dragon of the west, the black turtle of the north and the white tiger of the east.

ดังได้กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้วา่ ในทุกยุคสมัย ทุกชาติ ทุกศาสนา ได้มหี ลักปรัชญาของการ พัฒนาชีวติ และจิตวิญญาณ และทีม่ คี วามแจ่มชัดทีส่ ดุ ก็คอื หลักธรรมค�ำสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธ เจ้า ทีไ่ ด้พสิ ตู รมาแล้วกว่า สองพันหกร้อยกว่าปีกย็ งั ไม่มหี ลักการใด และวิธกี ารใด ทีพ่ ดู ถึงการปลดปล่อย และการให้อสิ ระภาพทางจิตวิญญาณอันสูงสุด และการด�ำเนินชีวติ ทีส่ นั ติสขุ ในวิถแี ห่งธรรมชาติ ได้ดี ไปกว่า หลักธรรมค�ำสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า

Edwin L. Kerr, Ph. D., A Quest for Our Cosmic Origins The First Three Days, Copyright © 2010 Edwin L. Kerr. ดูเพิม่ เติมได้จาก Encyclopedia of Religion, Cosmology: Hindu Cosmology, COPYRIGHT 2005 Thomson Gale. 3 อ่านเพิ่มเติมได้จาก Sashikala Ananth, Viking, 1998, The Penguin guide to Vaastu The Classical Indian Science of Architecture and Design. 4 http://panchtatwa.com/vastutemples.htm, Panchtatwa 2010, 11/11/2017. 5 อ่านเพิ่มเติมได้จาก กวนจือ แซ่ตั้ง, 2541, หลักและทฤษฎีฮวงจุ้ย ไกรสร ธเนศรุ่งโรจน์ แปล, สำ�นักพิมพ์ จตุภาค. 6 อ่านเพิม่ เติมได้จาก กวนจือ แซ่ตั้ง, 2541, หลักและทฤษฎีฮวงจุ้ย ไกรสร ธเนศรุ่งโรจน์ แปล, สำ�นักพิมพ์ จตุภาค.หน้า 31-37. 1 2

53 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


มณฑลศักดิ์สิทธิ์ในคติทางพุทธศาสนา ในทางพุทธศาสนาได้พดู ถึงหลักธรรมชาติแห่งความเป็นเหตุเป็นปัจจัยแห่งการก่อเกิด และทุก สิง่ มีความแปรเปลีย่ น ไม่ได้มอี ะไรเป็นแก่นสาร พุทธองค์นยิ ามหลักธรรมชาติ ว่ามีไตรลักษณะ มีความ เป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา7 และได้เสนอแนะเพิม่ เติมในคติทางจักรวาลวิทยาว่า ในมิตแิ ห่งการพัฒนา ชีวติ มีลำ� ดับขัน้ การพัฒนาสูช่ วี ติ ทีบ่ ริสทุ ธิ์ กล่าวอย่างสรุปคือ ให้หลุดเหนือภูมทิ งั้ สามในไตรภูมทิ ที่ าง พุทธศาสนาเรียกว่าขัน้ โลกียะ ไปสูโ่ ลกุตระเป็นจิตทีอ่ สิ ระจากภพภูมใิ ดๆ (อันเป็นเหตุของความทุกข์ทงั้ ปวง)8 และยังได้นำ� เสนอแนวทางแห่งการพ้นจากการทุกข์ทรมาน ด้วยหลักแห่ง อริยสัจจ์ 4 (ทุกข์ สมุทยั นิโรธ มรรค)9 กล่าวได้วา่ หลักธรรมขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นหลักธรรมเดียวทีใ่ ห้แนวทางการ ปฏิบตั ไิ ว้ดว้ ย มรรคแห่งการเข้าถึงได้แก่สมั มาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมา สมาธิ สัมมาสติ สัมมาทิฐิ สัมมาสังกัปปะ10 หรือกล่าวโดยย่อคือ ด้วยไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา)11 ส่วนใน ค�ำภีรว์ สั ดุปรุ ษุ มณฑล(Vasstu-Purusa-Mandala) และ ดุลยภาพแห่งเฟงซุย กล่าวได้วา่ ทัง้ สองหลักคิด นีไ้ ด้เสนอให้สร้างพืน้ ทีใ่ ห้สมั พันธ์กบั พลวัตรทางธรรมชาติเช่นเดียวกัน ส�ำหรับหลักทางพุทธศานาก็ได้นำ� เสนอความสัมพันธ์กบั พลวัฒนทางธรรมชาติเช่นกันแต่ได้เปลีย่ นหลักการพัฒนาทางจิตวิญญาณ ไปสู่ วิถที างธรรมชาติทใี่ ห้อสิ ระภาพทางจิตวิญญาณได้อย่างแท้จริง อันเป็นหลักความเข้าใจถึงพลวัตรของ ธรรมชาติได้ตามความเป็นจริง อันก่อเกิดความเกือ้ กูล และสันติสขุ ขึน้ ในจิตใจ ดังจะได้อธิบาย

ภาพที่ 4 : รูปจักรวาล ในคติทางพุทธศาสนา ฝ่ายเถรวาท12 Image 4 : the Theravada Buddhist Cosmology12

จิตตปัญญาศิลป์ : พุทธธรรมสถาน เป็นภาษารูปแบบในการสร้างพืน้ ที่ อันเป็นพืน้ ทีส่ ปั ปายะทีเ่ อือ้ ต่อการพัฒนาอิสระภาพทางจิต วิญญาณ เป็นมณฑลศักดิส์ ทิ ธิภ์ ายนอกสูม่ ณฑลศักดิส์ ทิ ธิภ์ ายในตน และกลับออกสูส่ ภาพแวดล้อม เป็น วิถชี วี ติ ทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ อันเป็นวิถใี นการพัฒนาจิตวิญญาณทีเ่ อือ้ ต่อการเจริญสติและบ�ำเพ็ญปฏิบตั ภิ าวนา เพือ่ ให้เกิดปัญญาในการปลดเปลือ้ งพันธนาการแห่งความทุกข์ทรมาน สับสน ระทมทุกข์ เศร้าหมอง วุน่ วาย กระสับกระส่าย ทุรนทุราย สูค่ วามเป็นอิสระภาพทางจิตวิญญาณ ทีเ่ บิกบาน สงบเย็น เบาสบาย และทรงพลังแห่งรักและเกือ้ กูล อย่างไร้ความเห็นแก่ตนและไร้เงือ่ นไขขีดข้อจ�ำกัด อันไร้ซงึ่ กาลเวลา ปัจจุบนั อดีต และอนาคต และเป็นวิถชี วี ติ ทีส่ อดคล้องและควรค่าเหมาะแก่การงานในแต่ละขณะชีวติ ทีเ่ อือ้ ประโยชน์ตอ่ ทุกสรรพสิง่ ทีเ่ รียกได้วา่ เป็นพลังชีวติ ทีบ่ ริสทุ ธิแ์ ละศักดิส์ ทิ ธิใ์ นทีน่ จี้ ะขอเรียกว่า จิตต ปัญญาศิลป์ อันเป็นสัปปายะสถานทีเ่ อือ้ ต่อการเจริญสติเพือ่ ก่อเกิดจิตปัญญาในการด�ำเนินชีวติ แต่จะ เอือ้ ได้มากน้อยเพียงใดก็ขนึ้ อยูก่ บั สภาวะธรรมของคนๆนัน้ เป็นส่วนส�ำคัญด้วย และด้วยหลักการนี้ ได้ พัฒนามาเป็นจุดมุง่ หมายในการสร้างงานพุทธศิลป์-สถาปัตยกรรม 54 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


โดยเริม่ จากการท�ำให้ปรากฏการณ์ตา่ งๆนัน้ หยุดลง โดยท�ำสถานทีเ่ อือ้ ให้จติ ใจสงบเย็น ท�ำสถาน ทีใ่ ห้มคี วามจ�ำเพาะ และมีทที่ งี่ ดงามให้จติ ให้จดจ่อ เพือ่ ให้มศี รัทธาประสาทะ มีความปราโมทย์ ปีติ ยินดี ด้วยความสงบเย็น นิง่ เงียบ ร่มรืน่ เพือ่ ให้จติ ได้สงบระงับ(ปัสสัทธิ) แล้วเข้าสูพ่ นื้ ทีจ่ ำ� เพาะยิง่ ขึน้ ด้วยการเอือ้ สถานทีน่ อกจากความนิง่ ร่มรืน่ ยังต้องมีความละเมียดละไม ปราณีต วิจติ งดงาม เป็นระเบียบ สะอาด โดยวางตัวพืน้ ทีใ่ ห้สอดคล้องกับวิถแี ห่งพระอาทิตย์ พระจันทร์ และดวงดาว เปิดโล่ง เพือ่ สือ่ สารกับแสงเงา สายลม และมีพนื้ ทีห่ ลักอยูใ่ นต�ำแหน่งหลักของพืน้ ที่ เพือ่ เอือ้ ให้จติ จดจ่อตัง่ มัน่ มีสมาธิ เกิดสติสมั ผัสรับรูป้ รากฏการณ์กลไกลวิถแี ห่งฟ้า คือรูก้ าลเวลา ฤดูกาล วิถี แห่งลม คือปราณวิถแี ห่งธรรมชาติ และรับรูป้ รากฏการณ์แห่งดิน คือรับรูส้ ภาวะแวดล้อมทีด่ ำ� รงอยู่ และ ปรากฏการณ์เงือ่ นไขแห่งคน คือเหตุทเี่ กีย่ วข้องเผชิญของปัจจุบนั ขณะเป็นขณะๆไป และมีพนื้ ทีเ่ ว้นว่าง ไว้รอการเติมเต็ม จากจิตทีบ่ ริสทุ ธิ์ จากนัน้ ก็เข้าสูพ่ นื้ ทีจ่ ำ� เพาะยิง่ ขึน้ อีก จะเห็นว่าพืน้ ทีค่ อ่ ยๆมีขนาดเล็กลงเป็นล�ำดับ ก็ดจุ เดียวกัน กับจิตฟุง้ ไปโน่นมานี่ ทีค่ อ่ ยๆมีสมาธิ รวมมาตัง้ มัน่ อยูท่ ตี่ วั เอง การท�ำพืน้ ทีใ่ ห้คอ่ ยๆมีขนาดเล็กก็เพือ่ ให้ ความรูส้ กึ เป็นพืน้ ทีท่ พี่ อเหมาะกับตัวเองมากขึน้ และมีความมืดสลัว โดยมีจดุ ให้จติ ได้รวมศูนย์เป็นนิมติ หมาย เพือ่ ให้จติ ได้ตงั้ มัน่ อันเป็นหน่อเชือ้ ให้จติ เข้าสู่ สุข สมาธิ มีสติตนื่ รูส้ ภาวะในปัจจุบนั ขณะทีแ่ น่ว แน่ มัน่ คงยิง่ เพือ่ สือ่ สารกับจิตทีส่ ขุ สว่างอยูภ่ ายในตน เป็นการสร้างสภาวะภายนอกเพือ่ ให้เห็นเข้าสู่ สภาวะภายในตน มีสติสมั ปชัญญะเห็นถึงและเข้าใจถึง สภาวะ และเหตุแห่งสภาวะ ของปรากฏการณ์ และกาล ทีม่ กี ารเกิดดับไปตามเหตุตามปัจจัยอย่างเป็นพลวัตร และไร้ซงึ่ ความเทีย่ งแท้ คงทน ถาวร และ ความเป็นตัวตน กล่าวคือเห็นในไตรลักษณ์(อนิจจัง ทุกข์ขงั อนัตตา) จึงเกิดความเบือ่ หน่าย(นิพพิทา) ละวาง (วิราคะ) จึงหลุด ว่าง หลุดพ้น(วิมตุ )ิ ประจักษ์ในความเป็นอิสรภาพทางจิตวิญญาณจึงเกิดขึน้ (ขย ญาณ) รใู้ นพลวัตรชีวติ ทีป่ ลดเปลือ้ งสภาวะแห่งความทุกข์ และสุข เป็นพลวัตรชีวติ ทีส่ งบเย็น มัน่ คง เบิก บาน (นิพพาน) แล้วกลับมาสูพ่ น้ื ทีโ่ ล่งแจ้งเดิม ทีไ่ ม่เหมือนเดิม คือมองโลกอย่างเบิกบาน เห็นความงดงาม ใน ความเป็นพลวัตรทีเ่ ป็นกัลยณมิตรของกันและกันอย่างเป็นหนึง่ เดียวของทุกสรรพสิง่ มีความโล่งโปร่ง เบาสบาย มีปญ ั ญาในการด�ำเนินวิถหี รือกิจการงานอย่างเพือ่ งาน คือมีแต่การท�ำงานหรือท�ำหน้าทีต่ อ่ ปัจจุบนั ขณะนัน้ ๆอย่างไร้ตน เป็นพลังจากจิตทีบ่ ริสทุ ธิภ์ ายในตนออกสูภ่ ายนอกไปสูส่ ภาพแวดล้อมโดย รอบ ก่อเกิดเป็นวิถแี ห่งโพธิสตั ว์ชนไปพร้อมๆกับปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้เป็นวิถโี พธิสตั ว์ธรรมสถาน ที่ เป็นการกระท�ำและด�ำเนินไปอย่างเอือ้ ต่อสรรพสิง่ ทัง้ ปวง กล่าวคือ ในพืน้ ทีน่ มี้ พี นื้ ทีว่ า่ งเว้น ดุจกวีศลิ ป์-ส ถาปัตย์ ไว้พอให้กบั ผูใ้ ช้ในพืน้ ทีไ่ ด้ประกอบกิจการงานหรือด�ำเนินชีวติ ในวิถี ทีไ่ ม่ทำ� ร้ายเบียดเบียนผูอ้ นื่ และตนเองให้เดือดร้อน และยังเป็นประโยชน์ตอ่ ผูอ้ นื่ และตนเอง เป็นหลักส�ำคัญ13 โดยสรุปคือ หลักคิดจิตตปัญญาศิลป์ เป็นศิลปะที่มีจุดมุ่งหมายสร้างสถานพุทธศิลป์สถาปัตยกรรม ทีเ่ ป็นสถานธรรม เป็นหนึง่ กับธรรมชาติ เป็นสถานทีเ่ ห็นในความแปรเปลีย่ นแห่งธรรมชาติ ของแสงเงาและสายลมแห่งกาลเวลา และปรากฏการณ์แห่งความแปลเปลีย่ น ด้วยความนิง่ ร่มรืน่ สงบ เย็น อันก่อเกิดสมาธิ มีสติ สัมปชัญญะในวิถชี วี ติ ทีด่ ำ� เนินไปอย่างตืน่ รูข้ องชีวติ ทีเ่ ป็นธรรมชาติ และ ธรรมดา ทีพ่ ลวัตรแห่งเหตุปจั จัย(อิทปั ปัจจยตา)และเห็นถึงคุณลักษณะของธรรมชาติ ในการแปลเปลีย่ น ทนได้ยาก และไร้ความเป็นตัวตนทีเ่ ทีย่ งแท้(ไตรลักษณ์) จึงเกิดความเบือ่ หน่ายในการการไปข้องแวะ ยึดถือ จึงละวาง ว่าง จากการไปข้องแวะ กลับมาสูก่ ารรับรูโ้ ลกในปัจจุบนั ขณะแห่งการแปรเปลีย่ น ทีเ่ ป็น ความจบหยุด และเริม่ ต้น แล้วจบหยุดอีก และเริม่ ต้นอีกอย่างไม่รจู้ บ และด้วยจิตทีห่ ลุดจากพันธการ แห่งการ หยุดจบ เริม่ ต้น มีเป็น จึงว่าง วาง เบา สงบเย็น และเปลีย่ มด้วยพลังแห่งรักและเกือ้ กูลอย่างไร้ ความเห็นแก่ตน เป็นขณะๆ ค่อยๆถีย่ บิ ขึน้ จนเกิดเป็นสายธารแห่งชีวติ ในความจริง ความดี ความงาม ที่ บริสทุ ธิ์ สะอาด สว่าง สงบ อ่านเพิม่ เติมได้จาก พระธรรมปิฏก(ประยุทธ์ ปยุตโต), 2542, พุทธธรรม, โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย พิมพ์ครัง้ ที่ 8, หน้า 67–78. อ่านเพิ่มเติมได้จาก เสฐียรโกเศส กุมภาพันธ์ 2540, เล่าเรื่องในไตรภูมิ ฉบับพุทธศักราช 2540, บ.สำ�นักพิมพ์น้ำ�ฝน จำ�กัด 9 อ่านเพิ่มเติมได้จาก พระธรรมปิฏก(ประยุทธ์ ปยุตโต), 2538, พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, หน้า 181-182. 10 อ่านเพิ่มเติมได้จาก เล่มเดียวกัน, หน้า 251-252. 11 อ่านเพิ่มเติมได้จาก เล่มเดียวกัน, หน้า127. 12 สมุดภาพไตรภูมคิ าถา ฉบับกรุงศรีอยุธยา-กรุงธนบุรี เล่ม 1, 5 ธันวาคม 2543, บริษทั อมรินทร์พริน้ ติง้ แอนต์พบั ลิชชิง่ จำ�กัด (มหาชน), หน้า 34-35. 13 อ่านเพิม่ เติมได้จาก พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต) พฤษภา 2542,พุทธธรรม, โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พิมพ์ครัง้ ที่ 8, หน้า 569-616. 7 8

55 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


พุทธสถูปเจดีย์ รูปแบบของงานพุทธศิลป์-สถาปัตยกรรม มีการสร้างและพัฒนาการมาในแต่ละยุคสมัย เริม่ ต้น จากการสร้างพระสถูปเจดีย์ และพัฒนามาสร้างสิง่ ต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นอาราม วัด วิหาร เจดีย์ บ้านเรือน เมือง แว่นแคว้น เครือ่ งมือ เครือ่ งใช้ พระสถูปเจดียไ์ ด้มกี ารสร้างกันมาตัง้ แต่ครัง้ พุทธกาล แต่กอ่ นทีจ่ ะ กล่าวถึงวิวฒ ั นาการของพระสถูปเจดียจ์ ะขออธิบายค�ำศัพท์ของค�ำว่า พระสถูปเจดียก์ อ่ น ค�ำว่าสถูป คือ [สะถูบ] น. หมายถึง เป็นค�ำทีม่ าจากภาษาสันสกฤตว่า สฺตปู ภาษาบาลีใช้วา่ ถูป แปลว่า เนินดิน กองดินที่ บรรจุอฐั ธิ าตุของผูท้ สี่ นิ้ ชีวติ แล้ว (กาญจนา นาคสกุล, 2548) หรือ สิง่ ก่อสร้างทีม่ รี ปู โอคว�ำ่ ซึง่ ก่อไว้สำ� หรับ บรรจุของควรบูชามีพระบรมสารีรกิ ธาตุของพระพุทธเจ้าและพระธาตุของพระอรหันต์เป็นต้น ส่วนค�ำว่า เจดีย์ คือค�ำว่า chaitya มาจากค�ำว่า chita คือจิตใจ หรือ จิต คือพืน้ ทีแ่ ห่งการพัฒนาจิตเพือ่ ให้พน้ จาก ทุกข์ทงั้ ปวง รวมถึงวิหารและต้นไม้ศกั ดิส์ ทิ ธิด์ ว้ ย แม้พระพุทธรูปก็เป็นเจดียอ์ ย่างหนึง่ (พจนานุกรม, พ.ศ. 2542) รวมความแล้ว สถูปเจดีย์ หมายถึง สิง่ ก่อสร้างทีไ่ ว้บรรจุพระสารีรกิ ธาตุ และพระธาตุ ไว้สำ� หรับ บูชา หรือบ�ำเพ็ญจิตภาวนา(กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ, หน้า 53) พระสถูปหรือเจดียม์ มี าก่อนพุทธกาล และในสมัยพุทธกาลก็ได้มกี ล่าวไว้ ได้แก่ ครัง้ ทีพ่ ระสารีบตุ ร ผูเ้ ป็นอัครสาวกเบือ้ งขวานิพพาน หลังจากการท�ำฌาปนกิจสรีระ พระพุทธเจ้าให้จนุ ทะและคณะสร้าง เจดียเ์ พือ่ บรรจุพระธาตุของพระสารีบตุ รส่วนหนึง่ ไว้ทปี่ ระตูเชตวัน เมืองสาวัตถี ส่วนหนึง่ สร้างสถูปเจดีย์ บรรจุไว้ทเี่ มืองนาลันทาบ้านเกิด (พระวาจิสสระเถระ, หน้า 106) และเมือ่ ครัง้ พระอานนท์กราบทูลถาม ถึงวิธปี ฏิบตั ใิ นพระพุทธสรีระหลังจากปรินพิ พาน พระพุทธเจ้าตรัสตอบว่า กษัตริยผ์ เู้ ป็นบัณฑิต พราหมณ์ ผูเ้ ป็นบัณฑิต คฤหบดีผเู้ ป็นบัณฑิต เลือ่ มใส ในพระตถาคตจะพึงปฏิบตั ใิ นพระสรีระของตถาคต เหมือน ทีเ่ ขาปฏิบตั ใิ นพระสรีระของพระเจ้าจักรพรรดิ เมือ่ พระอานนท์กราบทูลถามว่า“เขาปฏิบตั ใิ นพระสรีระ ของพระเจ้าจักรพรรดิอย่างไร ?” พระพุทธองค์ตรัสตอบว่า “พวกเขาใช้ผา้ ใหม่หอ่ พระบรมศพของพระเจ้า จักรพรรดิเสร็จแล้วจึงห่อด้วยส�ำลีได้ 1,000 ชัน้ แล้วอัญเชิญพระบรมศพลงในรางเหล็กเต็มด้วยน�ำ้ มัน ใช้รางเหล็กอีกอันหนึง่ ครอบแล้ว ท�ำจิตกาธานด้วยไม้หอมล้วน แล้วถวายพระเพลิงพระบรมศพพระเจ้า จักรพรรดิ สร้างสถูปของพระเจ้าจักรพรรดิไว้ทที่ างใหญ่สแี่ พร่ง อานนท์ พวกเขาปฏิบตั ติ อ่ พระบรมศพ ของพระเจ้าจักรพรรดิ อย่างนีแ้ ล พวกเขาพึงปฏิบตั ติ อ่ พระบรมศพพระเจ้าจักรพรรดิ พึงสร้างสถูปของ ตถาคตไว้ทที่ างใหญ่สแ่ี พร่ง ชนเหล่าใดจักยกระเบียบดอกไม้ ของหอม หรือจุรณ จักอภิวาท หรือจักท�ำ จิตให้เลือ่ มใสในสถูปนัน้ การกระท�ำนัน้ จักเป็นไปเพือ่ เกือ้ กูล เพือ่ สุขแก่ชนเหล่านัน้ ตลอดกาลนาน(พระ สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย, หน้า 152) แต่ทพี่ บโบราณสถานทีย่ งั มีปรากฏให้เห็นอยูท่ เี่ ก่าแก่ทสี่ ดุ คือสถูปเจดียใ์ นสมัยพระเจ้าอโศก มหาราช ทีเ่ มือง สาญจี จาก กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพได้วเิ คราะห์รปู ทรงพระเจดียว์ า่ พิเคราะห์ดตู าม ลักษณะพระสถูปทีส่ ร้างตัง้ แต่โบราณมาตลอดกาลบัดนี้ เห็นว่าสถูปชัน้ เดิมทีเดียวก็จะเป็นแต่พลู ดินขึน้ เป็นโคกตรงทีฝ่ งั อิฐธิ าตุ (อย่างทีเ่ ราก่อพระทราย) แล้วลงเขือ่ นรอบกันดินพัง และบนโคกนัน้ ท�ำนองจะ ปักร่มหรือฉัตรให้เป็นเกียรติยศ หรือเป็นเครือ่ งหมายให้รวู้ า่ เป็นทีฝ่ งั อัฐธิ าตุทา่ นผูใ้ ด ถ้าไม่ใช่อฐั ธิ าตุคน ส�ำคัญก็จะเป็นแต่พนู ดินเป็นโคกเท่านัน้ สถูปจะท�ำเป็นขนาดใหญ่หรือขนาดน้อย และจะท�ำปราณีตบรร จงหรือจะท�ำแต่พอส�ำเร็จ ก็แล้วแต่กำ� ลังของผูส้ ร้าง แต่ชนั้ หลังมาเมือ่ นิยมนับถือพระธาตุเจดียใ์ นพระพุทธ ศาสนา จึงตกแต่งแปลงรูปพระสถูปให้งดงามวิจติ ขึน้ เช่นแต่งกองดินให้เป็นรูปทรง ท�ำเขือ่ นให้เป็นฐาน และชัน้ ทักษิณ และท�ำรูปบัลลังก์ตงั้ บนหลังโคก แล้วต่อฉัตรให้เป็นยอด (กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ, หน้า 5)

56 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ภาพที่ 5 : Great-Stupa-of-Sanchi14 Image 5 : Great-Stupa-of-Sanchi

และต่อมาได้มกี ารสร้างพระสถูปเจดียท์ ศี่ รีลงั กา ก็มรี ปู แบบทีย่ งั ยึดถือคล้ายคลึงกับสถูปเจดีย์ ในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชคือ สถูปเจดียท์ เี่ มืองอนุราธปุระ ได้แก่พระสถูปเจดียร์ วุ นั เวริสยา ซึง่ ในสมัย พระเจ้าอโศกมหาราชได้สง่ ราชบุตรบวชเป็นภิกษุ ชือ่ พระมหินทระเถระ ได้เดินทางมาเผยแผ่พทุ ธศาสนา ในประเทศศรีลงั กา ท�ำให้ชาวศรีลงั กามานับถือพุทธศาสนาอย่างแพร่หลาย มาในภายหลังซึง่ ประเทศไทย รับรับพุทธศาสนาหลักมากจากประเทศศรีลงั กา15 ดังจะเห็นได้วา่ พระสถูปเจดียข์ องไทยก็จะมีลกั ษณะ ยึดถือรูปแบบคล้ายคลึงกับทีศ่ รีลงั กา เช่นพระสถูปเจดียท์ นี่ ครศรีธรรมราช และพระสถูปเจดียท์ นี่ ครปฐม ฯลฯ เป็นต้น และพระสถูปเจดียใ์ นทีอ่ นื่ ๆอีกได้แก่ พระสถูปเจดียช์ เวดากองทีพ่ ม่า พระสถูปเจดียม์ หา โพธินาถทีเ่ นปาล ฯลฯ เป็นต้น ก็มรี ปู ทรงทีค่ ล้ายคลึงกับพระสถูปเจดียท์ สี่ าญจี สถูปเจดียท์ งั้ หมดทีก่ ล่าว มาแล้วนัน้ เป็นรูปแบบโอคว�ำ่ หรือบาตรคว�ำ่ ทัง้ สิน้ จนเป็นภาษาองค์ประกอบของเจดีย์ ตามทีพ่ ระพุทธเจ้า ทรงแสดงไว้กค็ อื รูปร่างบาตรนัน่ เอง ประเพณีความเชือ่ เช่นนี้ พระภิกษุผจู้ าริกชาวจีนนามเหีย้ นจัง ได้ บันทึกไว้วา่ พระพุทธเจ้าทรงน�ำจีวรของพุทธองค์มาพับเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ทีละผืน และทรงวางซ้อน ทับกันบนพืน้ โดยวางผืนใหญ่สดุ ไว้กอ่ นแล้ววางเรียงให้ผนื เล็กสุดอยูด่ า้ นบนสุด จากนัน้ ทรงน�ำบาตรของ พระองค์วางคว�ำ่ ไว้บนกองไตรจีวรดังกล่าว พร้อมทัง้ วางเครือ่ งใช้ในการบิณฑบาตไว้บนยอดสุด พระองค์ ตรัสว่า พระสถูปทีส่ ร้างขึน้ มาดังนี ้ และนีเ่ ป็นแบบจ�ำลองแบบแรกของพระสถูป (เอเดรียน สนอดกราส, หน้า 55.) หลักการแห่งพุทธศิลป์-สถาปัตยกรรม เป็นเสมือนดุจค�ำสอนของพุทธองค์ทเี่ อือ้ ต่อการเข้าถึง หลักธรรม สถูปเจดียจ์ งึ เป็นไปเพือ่ เป็นสัปปายะสถานทีเ่ อือ้ ต่อการเจริญสติปญ ั ญาไปสูค่ วามเป็นพุทธธะ รูปทรงขององค์ระฆังยังมีความหมายเป็นนัยยะของไข่หรือจุดก�ำเนิดของชีวติ

14 15

http://www.lostmonuments.com/monuments/monuments2/Great-Stupa-of-Sanchi-2.jpg, 11/11/2017. อ่านเพิม่ เติมได้จาก จำ�นงค์ ทองประเสริฐ, 2538, ประวัตศิ าสตร์ พุทธศาสนาในเอเชียอาคเนย์, องค์การค้าครุสภา จัดพิมพ์, หน้า 370-371.

57 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ภาพที่ 6 : วิวัฒนาการพระสถูปเจดีย์ยุคแรก16 Image 6 : Early evolution of the stupa.16

ภาพที่ 7 : วิวัฒนาการของพระสถูปเจดีย์ในที่ต่างๆ17 Image 7 : Evolution of the stupa in the world.17

ประวัติที่มาของโครงการงานออกแบบ พุทธประทีปมหาสถูปเจดีย์ ในทีน่ จี้ ะขอยกตัวอย่างการออกแบบโครงการ พุทธประทีปมหาสถูปเจดีย์ อันเป็นโครงการของ ทางมูลนิธพิ ระบรมธาตุ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ ก่อตัง้ โดยคุณ ทองดี หรรษาคุณารมณ์ เนือ่ งด้วย แรงอธิ ฐานของคุณลุงฯ เมือ่ ครัง้ เดินทางไปกราบสักการะยังสังเวชนียสถาน ณ แดนพุทธภูมิ ประเทศอินเดีย ได้ เห็นพระสถูปเจดียท์ สี่ ลักหักพัก คนเดินเหยีย่ บไปมา มีเป็นจ�ำนวนมากทัง้ ทีย่ งั มีพระสารีรกิ ธาตุ และ อรหันตธาตุอยู่ คุณลุงฯจึงนึกสักเวทใจจึงได้อธิฐานว่า “พระสารีรกิ ธาตุและพระอรหันตธาตุ ทีม่ ไิ ด้อยูใ่ น ทีอ่ นั ควรแล้วในปัจจุบนั ขอโปรดได้เสด็จมายังลูก ลูกอาสาท�ำหน้าที่ จะน�ำไปประดิษฐานยังทีอ่ นั ควรให้” หลังจากนัน้ มาด้วยอัศจรรย์เกินกว่าจะอธิบาย ได้มพี ระสารีรกิ ธาตุ และพระอรหันตธาตุ เสด็จมาทีบ่ า้ น ลุงทองดี เป็นจ�ำนวนมากอย่างไม่เคยปรากฏทีใ่ ดมาก่อน และสมเด็จพระสังฆราช (สมเด็จพระญาณ สังวร) องค์กอ่ นและและองค์ปจั จุบนั (สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ) ก็ได้รบั ไว้เป็นมูลนิธใิ นพระสังฆ ราชูปถัมภ์ เวลามีวดั ใดต้องการพระสารีรกิ ธาตุและพระอรหันตธาตุไปบรรจุประดิษฐานไว้ในเจดีย์ หรือ ในองค์พระประธาน ก็ได้มาขอกับองค์พระสังฆราช องค์พระสังฆราชก็ได้นำ� พระสารีรกิ ธาตุและพระอรหัต ธาตุทเี่ สด็จมาทีบ่ า้ นของคุณลุงทองดีนำ� ไปให้ไปประดิษฐาน ท�ำอย่างนีม้ าร่วม สามสิบกว่าปี บรรจุพระ สารีรกิ ธาตุและพระอรหันตธาตุในวัดทีส่ ำ� คัญๆมาแล้วทัว่ ประเทศ(ทีบ่ รรจุไปแล้วมีกว่า 700 เจดียพ์ ระพุทธรูป ประธานอีกกว่าพันองค์ และทุกวันนีพ้ ระสารีรกิ ธาตุและพระอรหันตธาตุกย็ งั คงเสด็จมาอยูเ่ ลือ่ ยๆ ซึง่ ยัง คงมีอยูอ่ กี เป็นจ�ำนวนมากๆ18 และคุณลุงก็อายุมากขึน้ ทุกๆปี จึงมีความคิดทีจ่ ะสร้างมหาสถูปเจดีย์ เพือ่ https: //www.okhation.net/blog/voranai, Dhammasala stupa-chaiya Dvaravati Stupas form the ancient world. Voranai Pongsachalakorn, 11/11/2017. https://www.slideshare.net/wendlingk/copy-of-buddhism-pppdf, 11/11/2017. 18 หาอ่านเพิม่ เติมได้จาก คณะกรรมการจัดพิมพ์หนังสือ พระบรมสารีรกิ ธาตุและพระอรหันตธาตุ, มูลนิธพิ ระบรมธาตุ ในพระสังฆราชูปถัมภ์, พิมพ์ครัง้ ที่ 1, 2545. 16 17


น�ำพระสารีรกิ ธาตุและพระอรหันตธาตุทง้ั หมดไปประดิษฐานยังมหาสถูปเจดียท์ จี่ ะสร้างขึน้ นี้ และจะ เป็นสถูปเจดียท์ ปี่ ระดิษฐานพระสารีรกิ ธาตุ และพระอรหันตธาตุทมี่ ากทีส่ ดุ ในโลก อันนับได้วา่ ครัง้ นี้ จะ เป็นการสร้างพระสถูปเจดีย์ ทีจ่ ะเป็นทีป่ ระดิษฐานพระบรมสารีรกิ ธาตุทมี่ ากทีส่ ดุ เป็นครัง้ ทีส่ อง

ภาพที่ 8 : ห้องพระบ้านคุณลุงทองดี ที่พระสารีริกธาตุ และอรหันตธาตุเสด็จมา Image 8 : the prayer room in Mr.Thongdee’s house where the holy relics appeared.

ภาพที่ 9 : โถทางซ้ายมือเป็นพระอรหันตธาตุ โถใหญ่ทางขวามือเป็นพระสารีริกธาตุ Image 9 : the left glass jar contained the Arahant relics and the bigger right glass jar contained the Buddha relics.

ครัง้ แรกคือตัง้ แต่สมัยพระเจ้าอาชาติศตั รู ทีภ่ ายหลังจากทีพ่ ระสัมมาสัมพุทธเจ้าปรินพิ พาน ได้ มีการเผาพระสรีระ และได้แบ่งพระบรมสารีรกิ ธาตุออกไปเป็น 8 ทนาน กระจายออกไปบรรจุตามเมือง ต่างๆ ทีม่ าขอไป19 หลังจากนัน้ พระหากัสสปะเกรงว่าในอนาคต คนจะไม่เอาใจใส่บชู าสักการะ เป็นเหตุ ให้พระบรมสารีรกิ ธาตุหายไป ไม่ปรากฏให้คนเห็น และจะท�ำให้ชาวโลกไม่ได้รบั ประโยชน์เกือ้ กูล พระ มหากัสสปะได้ถวายค�ำแนะน�ำแก่พระเจ้าอชาตศัตรูใหประกอบพิธีธาตุนิทาน (พระสุตตันปิฎก ทีฆ นิกาย,หน้า 152) คือ การฝังพระธาตุ ต�ำนาน บอกว่า ในพ.ศ. 8 พระมหากัสสปะใช้อทิ ธิฤทธิอ์ นั เชิญ พระบรมสารีริกธาตุจากเมืองต่างๆ มายังกรุงราชคฤห์ โดยที่กษัตริย์หรือเจ้าครองนครไม่ทราบ (ปฐมสมโพธิกถา, หน้า 264-266) พระเจ้าอาชาติศตั รูทรงมีพระบัญชาให้ขดุ ลุมลึก 80 ศอก ด้านทิศ ตะวันออกเฉียงใต้ (ทิศอาคเนย์) ของกรุงราชคฤห์ เอาแผ่นโลหะปูข้างล่าง สร้างเรือนขนาดเล็กด้วย ทองแดง บรรจุพระบรมสารีริกธาตุงลงในกล่องไม้จันทน์เหลือง ซ้อนกัน 8 ชั้น แล้วบรรจุลงในสถูป ไม้จนั ทน์เหลืองซ้อนกัน 8 ชัน้ แล้วบรรจุลงในกล่องงา 8 ชัน้ บรรจุซอ้ นลงในสถูปงา 8 ชัน้ บรรจุลงใน กล่องแก้ว 8 ชัน้ บรรจุลงในสถูปแก้ว 8 ชัน้ บรรจุลวในกล่องทองค�ำ 8 ชัน้ บรรจุซอ้ นลงในสถูปทองค�ำ 19

หาอ่านเพิม่ เติมได้จาก คณะกรรมการจัดพิมพ์หนังสือ พระบรมสารีรกิ ธาตุและพระอรหันตธาตุ, มูลนิธพิ ระบรมธาตุ ในพระสังฆราชูปถัมภ์, พิมพ์ครัง้ ที่ 1, 2545.

59 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


8 ชัน้ บรรจุลงในกล่องเงิน 8 ชัน้ บรรจุซอ้ นลงในสถูปเงิน 8 ชัน้ บรรจุลงในกล่องแก้วมณี 8 ชัน้ บรรจุซอ้ น ลงในสถูปแก้วมณี 8 ชัน้ บรรจุลงในกล่องแก้วแดง 8 ชัน้ บรรจุซอ้ นลงในสถูปแก้วแดง 8 ชัน้ บรรจุลงใน กล่องแก้วลาย 8 ชัน้ บรรจุซอ้ นลงในสถูปแก้วลาย 8 ชัน้ บรรจุลงในกล่องแก้วผลึก 8 ชัน้ บรรจุซอ้ นลงใน สถูปแก้วผลึก 8 ชัน้ สถูปแก้วผลึกนีจ้ ะเป็นสถูปชัน้ นอก (พระสุตตันปิฎก ทีฆนิกาย,หน้า 373) และมาใน สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ก็ได้นำ� พระสารีรกิ ธาตุ กระจายไปบรรจุตามสถูปเจดียท์ พี่ ระองค์ทรงให้ไป สร้างขึน้ ถึง 84,000 กว่าแห่ง นับจากครั้งนั้น มาในครั้งนี้นับว่าเป็นเหตุการณ์ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ของชาวพุทธ และ มนุษยชาติทจี่ ะมีการสร้างพระมหาเจดียเ์ พือ่ บรรจุพระสารีรกิ ธาตุทมี่ ากทีส่ ดุ และคงอาจจะมารวมกัน จากในอยูท่ ไี่ ม่บงั ควรอีกแล้ว กลับมาอยูร่ วมกัน เพือ่ กระจายออกไปประดิษฐานยังทีต่ า่ งๆทัว่ โลกให้เป็น ทีย่ ดึ เหนีย่ วควบคูก่ บั พระธรรมค�ำสอนของพุทธองค์อย่างกว้างขวางอีกครัง้ ก็เป็นได้ ดังนัน้ การสร้างมหา สถูปเจดียน์ ี้ โดยสถานะของโครงการ จะต้องเป็นจุดรวมใจของชาวพุทธทัว่ โลก และของคนทัง้ โลก ทีม่ ี ความหลากหลายทางสังคม-วัฒนธรรม และหลากหลายอายุ และชาติพนั ธุ์ โดยให้มหาสถูปเจดียน์ เี้ ป็น ดุจพุทธประทีปทีส่ อ่ งสว่างอยูก่ ลางใจของผูค้ น

แนวความคิดในการออกแบบ พุทธประทีปมหาสถูปเจดีย์ จากประวัตทิ มี่ าของการสร้างสถูปเจดีย์ การสร้างพุทธประทีปมหาสถูปเจดีย์ ประการทีส่ ำ� คัญ ทีส่ ดุ คือควรมีแนวความคิด ให้เป็นดุจหลักธรรมค�ำสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทีเ่ อือ้ ช่วยให้หลุด พ้นพันธนาการแห่งความทุกข์ทรมาน และก่อเกิดอิสระภาพทางจิตวิญญาณ : ทีด่ แู ล้วมีความ เรียบง่าย เบาสบาย งดงาม วิจติ ปราณีต อ่อนโยน เบิกบาน สงบเย็น ทีส่ ามารถ สือ่ สารกับจิตทีป่ ราณีตในจิตใจของผูค้ น มีรปู แบบทีอ่ ยูไ่ ด้อย่างไม่จำ� กัดกาล อันเป็นศิลปะให้ความบริสทุ ธิ์ เบิกบาน ทางจิตวิญญาณ เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวพุทธทัว่ โลก และคนทัง้ โลก ได้อย่าง เป็นธรรมชาติ และธรรมดา ด้วยเทคนิคขบวนการสร้างทีด่ ที สี่ ดุ ของยุคสมัยในศตวรรษที่ 21 ควรค่าแก่การเป็นศูนย์รวมจิตใจ ของผูค้ น สรุป กล่าวคือ รูปแบบทางสถาปัตยกรรมของงานพุทธประทีปมหาสถูปเจดีย์ มีมติ เิ ป็นตัวแทน คือ : มิตทิ างประวัตศิ าตร์แห่งยุคสมัย ทีเ่ ป็นศิลปะแห่งภูมปิ ญ ั ญา มีความเป็นศิลปะ-วัฒนธรรม ทีม่ กี าร สืบสานทางภูมปิ ญ ั ญา และความอัตลักษณ์เฉพาะถิน่ และยุคสมัย และมิตทิ เี่ ป็นดุจหลักธรรมอันบริสทุ ธิ์ ขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า อันเป็นศูนย์รวมจิตใจของผูค้ นและสังคมไปพร้อมๆกัน ดังทีพ่ ระพุทธองค์ ทรงตรัสกับพระอานนท์วา่ อานนท์! ธรรมก็ดี วินยั ก็ดี ทีเ่ ราแสดงแล้วบัญญัตแิ ล้วแก่พวกเธอทัง้ หลาย ธรรมวินยั นัน้ จะเป็นศาสดาของพวกเธอทัง้ หลายโดยกาลล่วงไปแล้วแห่งเรา อานนท์! ในกาลบัดนีก้ ด็ ี ใน กาลล่วงไปแล้วแห่งเราก็ดี ใครก็ตามจักต้องมีตนเป็นประทีป มีตนเป็นสรณะ ไม่เอาสิง่ อืน่ เป็นสรณะ ; มี ธรรมเป็นประทีป มีธรรมเป็นสรณะ ไม่เอาสิง่ อืน่ เป็นสรณะ เป็นอยู่ อานนท์! ภิกษุพวกใดเป็นผูใ้ คร่ใน สิกขา ภิกษุพวกนัน้ จักเป็นผูอ้ ยูส่ ถานะอันเลิศทีส่ ดุ แล (พระไตรปิฎก มหาปรินพิ พานสูตร, หน้า 128) ดังนัน้ งานพุทธประทีปมหาสถูปเจดีย์ จึงไม่ได้เป็นเพียงแค่ อนุสรณ์สถานหรือเป็นอนุสาวรีย์ แต่เป็นนิมติ หมาย แห่งพุทธประทีปในใจของคนแต่ละคนอย่างเป็นสรณะ เป็นหลักส�ำคัญ อันก่อให้เกิดเป็นสังคมของความ เป็นผูม้ สี นั ติสขุ -ปัญญาธรรม อันเป็นส่วนส�ำคัญสูงสุดของปรัชญาในงานพุทธศิลป์-สถาปัตยกรรมของ บรรพชน ทีต่ งั้ ใจจะเติมเต็มจิตใจ ให้ความสะอาด สว่าง สงบ เกิดขึน้ ในใจคน และสรรพชีวติ ทัง้ มวล

60 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ภาพที่ 10 : ผังบริเวณพื้นที่ทั้งหมดของโครงการพุทธประทีปมหาสถูปเจดีย์

ภาพที่ 11 : ผังองค์พุทธประทีปมหาเจดีย์

Image 10 : the planning of the Buddhaprathip Maha Stupa-Chaitya (the Great Buddha Light pagoda) project.

Image 11 : the layout features of the Buddhaprathip Maha Stupa-Chaitya (the Great Buddha Light pagoda).

ภาพที่ 12 : มุมมองจุดแรกจากถนนเข้าสู่พุทธประทีปมหาสถูปเจดีย์ Image 12 : the view from the first entrance to the Buddhaprathip Maha Stupa-Chaitya (the Great Buddha Light pagoda).

พุทธประทีปมหาสถูปเจดีย์ ดังแบบภาพทีแ่ สดง เนือ่ งจากยังอยูใ่ นขัน้ ตอนการออกแบบเบือ้ งต้น ยังไม่ได้มรี ายละเอียดอะไรทีจ่ ะแสดงให้เห็นได้มากไปกว่านี้ แต่จะขออธิบายเป็นเบือ้ งต้น ในล�ำดับขัน้ กาเข้าถึง และแนวคิดของสภาพแวดล้อมในพืน้ ทีแ่ ต่ละส่วน ก่อนอืน่ จะขอกล่าวถึงสถานทีต่ งั้ ทีจ่ ะประดิษฐานพุทธประทีปมหาสถูปเจดีย์ อยูท่ ตี่ ำ� บลบางห้วย ใหญ่ อ�ำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี เป็นทีด่ นิ ทีไ่ ด้รบั บริจากมาจากเจ้าของทีด่ นิ ทีม่ จี ติ ศรัทธา พืน้ ดิน ทั้งหมดประมาณ 360 ไร่ มีบึงน�้ำที่เป็นบึงน�้ำธรรมชาติเดิมและได้มีการขุดเพิ่มเติมเพื่อเอาน�้ำมาใช้ ประโยชน์ในการท�ำไร่ปาล์ม พืน้ ทีด่ นิ จากด้านปลายบึงน�ำ้ เป็นระดับทีต่ ำ�่ ทีส่ ดุ ของทีด่ นิ ไปถึงปลายอีก ด้านทีเ่ ป็นระดับทีส่ งู กว่า มีระดับสูงต�ำ่ ต่างกันประมาณ 10 เมตร มีทางน�ำ้ ธรรมชาติไหลจากเนินเขาด้าน หลังไกลออกไปจากทีด่ นิ ไหลลงผ่านกลางทีด่ นิ ไปยังบึงน�ำ้ ในทีด่ นิ ด้านล่าง ซึง่ จะเห็นว่ามีถงึ เข้าถึงทีด่ นิ พืน้ ทีด่ า้ นนีจ้ งึ เป็นพืน้ ทีด่ า้ นหน้าของโครงการซึง่ อยูใ่ นระดับต�ำ่ สุดของโครงการ 61 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ลักษณะการวางผัง ดังจะเห็นได้วา่ ในผังได้ทำ� บ่อน�ำ้ รับน�ำ้ จากทางน�ำ้ ธรรมชาติดา้ นปลายสุดแล้ว ให้ไหลอ้อมซ้ายขวารอบองค์พระสถูปเจดียล์ งมาผ่านวิหารกลางน�ำ้ ไปลงยังบ่อด้านล่างข้างหน้า และ พื้นที่โดยรอบของที่ดินที่จะท�ำการสร้างถนนและปลูกต้นไม้ใหญ่ เป็นดุจวงแหวนรอบมณฑลสถาน ศักดิส์ ทิ ธิ์ ซึง่ จะเห็นภาพของโครงการในต�ำแหน่งนีเ้ ป็นจุดแรก แต่สำ� หรับการเข้าสูพ่ นื้ ทีพ่ ทุ ธประทีปมหา เจดีย์ จะเริม่ ตัง้ แต่พยามกัน้ ความวุน่ วายออกจากพืน้ ทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ อันได้แก่ลานจอดรถ อาคารต้อนรับ และ จุดแลกบัตรเข้าชมสถานที่ ร้านค้าขายดอกไม้ธปู เทียนเครือ่ งสังฆภัณฑ์ ร้านขายอาหาร ร้านขายของที่ ระลึก และส่วนบริการอืน่ ๆ เช่น มีจดุ บริการเปลีย่ นชุด และห้องน�ำ ้ เป็นต้น ก่อนเข้ายังมณฑลพระมหา สถูปเจดีย์ เพือ่ ความเรียบร้อยให้กบั ผูค้ นทีม่ าเยีย่ มชมกราบสักการะพระสารีรกิ ธาตุ โดยทางด้านซ้านที่ ท�ำเป็นพืน้ ทีส่ เี ทา และจะมีการขุดคูนำ�้ และปลูกไม้ใหญ่ขนั้ ไว้กนั้ ไว้ออกจากพืน้ ทีข่ องพระมหาสถูปเจดีย์ ส่วนพืน้ ทีส่ เี ขียวด้านขวาจะท�ำเป็นพืน้ ทีป่ ลูกป่าคืนความชุมชืน้ ให้กบั ดิน และในอนาคตป่าทีป่ ลูกนีจ้ ะ เป็นพืน้ ทีป่ า่ แห่งเดียวในระแวกรอบๆพืน้ ทีโ่ ครงการ จากทีจ่ อดรถทางเข้าหลักจะเดินผ่านดงไม้ใหญ่มายังลานด้านหน้าวิหารทีเ่ ปิดโล่ง เพือ่ เปิดจิตรับ ธรรมชาติ รับรูส้ อื่ สารต่อ ท้องฟ้า แสงเงา สายลม และธรรมชาติแวดล้อม อันสงบเย็น เพือ่ เตรียมใจให้ พร้อม คือมีความสงบระงับมีความเป็นปรกติ (ความเป็นปรกติแห่งจิตก็คอื ศีล) ก่อนเข้าไปกราบพระใน วิหาร เมือ่ เข้าไปในวิหารจะเป็นโถงโล่งเรียบง่าย รับแสงลมธรรมชาติ มีหลังคาทีค่ ลุมต�ำ่ ลงมากว่าระดับ สายตา เพือ่ ตัดการมองเห็นด้านข้างโดยรอบ เพือ่ ให้จติ เกิดสมาธิขนึ้ ได้งา่ ยและจะเห็นองค์พระพุทธที่ ปลายตาประกอบกับส่วนด้านบนของหลังคาจะเป็นกระจกมองเห็นพระสถูปเจดีย์ ให้เป็นนิมติ หมายทาง ปัญญา เมือ่ กราบพระเสร็จแล้วเดินออกมาจากวิหารจะมีทางเดินด้านข้างทัง้ ซ้ายขวาเข้าสูพ่ ระสถูปเจดีย์ โดยจะผ่านคูนำ�้ และต้นไม้รอบองค์พระสถูปเจดีย์ อันเป็นประดุจเรือนแก้วอีกชัน้ หนึง่ ของมณฑลศักดิส์ ทิ ธิ์ โดยออกแบบให้พระสถูปเจดียอ์ นั ดุจเป็นดัง่ ดอกบัวทีล่ อยอยูบ่ นทะเลสังสารวัฏ โดยมีสะพานเชือ่ มเป็น ดุจสะพานสายรุง้ หรือสะพานแห่งปัญญาทีพ่ าให้พน้ จากโลกของสังสารวัฏสูโ่ ลกแห่งโลกุตระ ดังจะเห็น ว่าพืน้ ทีถ่ กู จัดวางอย่างเป็นระเบียบ เพือ่ ให้จติ สงบเย็นลงยิง่ ขึน้ มีสมาธิยงิ่ ขึน้ ด้วยพืน้ ทีท่ สี่ ะอาด เป็น ระเบียบ เรียบง่าย ร่มรืน่

ภาพที่ 13 : มุมมองภายในวิหาร จะมองเห็นพระสถูปเจดีย์ที่อยู่ด้านหลัง Image 13 : inside view of the Vihara (sanctuary) can see the Stupa-Chaitya behind.

ชัน้ เหนือขึน้ ไปเป็นสถานทีอ่ นั ได้แก่ ห้องเรียนรู้ ห้องสมุด ห้องสวดมนต์ฟงั ธรรม ห้องสัมนา ห้อง ประชุม เป็นต้น จะเห็นได้วา่ ได้ทำ� อาคารเป็นรูปร่างทีม่ มี มุ แหลม 8 ทิศทางเพือ่ แยกส่วนใช้สอย และมี การสร้างคอร์ตให้เห็นธรรมชาติ และระบายลมในเย็นสบายอีกด้วย ซึง่ ในชัน้ นีจ้ ะมีความสงบมากกว่า ส่วนใช้สอยด้านล่าง ส่วนใช้สอยในชัน้ นีต้ อ้ งการให้จติ มีความพร้อมในการเรียนรู้ กล่าวคือให้จติ ได้สงบ ระงับ เบิกบาน มีศลี สมาธิ มากขึน้ เป็นล�ำดับ นับได้วา่ เป็นส่วนเรียนรูข้ นั้ ปริยตั ิ 62 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


และเมือ่ ขึน้ ไปสูช่ นั้ ทีส่ ามอันเป็นชัน้ ทีม่ รี ปู ทรงเป็นกลีบบัว 12 กลีบ พืน้ ทีข่ องชัน้ นีเ้ ป็นพืน้ ทีแ่ ห่ง ฌานสมาธิ เป็นพืน้ ทีข่ องการปฏิบตั ธิ รรม นัง่ สมาธิ เดินจงกรม ปฏิบตั โิ ยคะ ร�ำไทเก็ก ตรงกลางของกลีบ บัวเป็นโถงฌาน และมีจดุ รอลิฟท์อยูด่ า้ นข้างๆทีจ่ ะขึน้ ไปด้านบนทีส่ งู ขึน้ ไป ในชัน้ นีม้ มี ติ ขิ องความสงบที่ สูงยิง่ ขึน้ เรียบเกลีย้ ง เพือ่ สัปปายะต่อจิตให้มสี มาธิยงิ่ ขึน้ โดยมีชานออกสูภ่ ายนอกเพือ่ สือ่ สารกับสภาพ แวดล้อม ณ ขณะนัน้ ๆอย่างมีสติยง่ิ ขึน้ ส่วนใช้สอยนีซ้ งึ่ เป็นส่วนเรียนรูด้ ว้ ยการปฏิบตั ิ เมือ่ ขึน้ ลิฟท์มาทีช่ นั้ ส่วนบน ทีต่ อ้ งการให้หลุดลอยออกจากพืน้ ล่าง ส่วนนีจ้ ำ� ลองให้เป็นพืน้ ทีแ่ ห่ง โลกุตระ จะมีเป็นสองชัน้ ชัน้ แรกเป็นทีใ่ ห้ขอ้ มูลเกีย่ วกับพระสารีรกิ ธาตุและพระอรหันตธาตุ พืน้ ทีช่ นั้ นี้ จะเป็นวงแหวนมองลงไปยังพืน้ ทีส่ ว่ นชัน้ ล่างอันสมมติให้เป็นแดนโลกียะ อันเป็นชัน้ เตรียมใจก่อนขึน้ ไป กราบสักการะบูชาพระสารีรกิ ธาตุ เมือ่ ขึน้ ไปชัน้ บนอันเป็นชัน้ รูปทรงองค์ระฆัง(ทรงโอคว�ำ่ ) หรือมณฑล อัณฑะ อันหมายถึงจุดศูนย์กลางแห่งจักรวาลชีวติ มีพระสารีรกิ ธาตุวางอยูศ่ นู ย์กลางทีถ่ กู ยกให้สงู ขึน้ เป็นประธานและพระอรหันตธาตุทลี่ ายล้อมอยู ่ โดยออกแบบให้สงบ เบาและลอยตัวอยู่ โดยให้รสู้ กึ ว่า พืน้ ลอยอยู่ ไม่เกาะอยูก่ บั ผนังองค์ระฆัง และตรงชัน้ นีจ้ ะมองเห็นขึน้ ไปถึงยอดของอาคาร ทีถ่ กู ออกแบบ ไว้ให้มแี สงดุจแก้วประกายพฤกษ์ ใสสว่างอยูต่ รงกลางล้อมด้วยวงแสงดุจเรือนแก้วล้อม 3 ชัน้ ต้องการ ให้เป็นนิมติ ของจิตทีข่ าวรอบบริสทุ ธิ์ อันเรียกได้วา่ เป็นส่วนประจักษ์ในปฏิเวท

ภาพที่ 14 : ผังพื้นแต่ละชั้นของพุทธประทีปมหาสถูปเจดีย์ Image 14 : All plans of the Buddhaprathip Maha Stupa-Chaitya (the Great Buddha Light pagoda).

ภาพที่ 15 : รูปตัดอาคารพุทธประทีปมหาสถูปเจดีย์ Image 15 : The section view of the Buddhaprathip Maha Stupa-Chaitya (the Great Buddha Light pagoda).

63

วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ส่วนรูปทรงของพระสถูปเจดีย์ ยังคงความเป็นโอคว�ำ ่ แต่ทชี่ นั้ ฐานขององค์ระฆังท�ำให้ดโู ปร่งแสง เป็นกระจก อันเนือ่ งจากวัตถุประสงค์ในการสร้างครัง้ นีต้ อ้ งการให้คนเข้าไปกราบสักการะถึงยังองค์พระ สารีรกิ ธตุและพระอรหันตธาตุภายใน ซีง่ จะมีคนจ�ำนวนมากเข้ามา จึงต้องการแสงและการระบายอากาศ สร้างให้เป็นสัปปายะสถานต่อการ เป็นแหล่งเรียนรูใ้ นหลักธรรมของพระพุทธองค์ ทัง้ ทางปริยตั ิ ปฏิบตั ิ และปฏิเวท และต้องการให้ได้รบั แสง มุมมอง และสายลม แห่งธรรมชาติ ประกอบกับรูปทรงเป็นทรง เรขาคณิตที่ เรียบง่าย สมบูรณ์ มัน่ คง และขณะเดียวกันก็เบาสบายลอยตัวอยู่ ดังจะเห็นเป็นองค์ระฆังที่ รอยตัวอยู่ อันต้องการให้เป็นแดนบริสทุ ธิข์ องพุทธภูมิ ลอยตัวอยูบ่ นฐานดอกบัว อันเป็นสัญลักษณ์ของ ความบริสทุ ธิส์ มบูรณ์ของชีวติ และมียอดเป็นดุจแก้วรัตนประกายพฤกษ์ ดุจดวงจิตทีส่ ขุ สว่าง สะอาด สงบเย็น เบิกบานเป็นอิสระ ดุจดอกบัวทีบ่ านอยูก่ ลางใจ

ภาพที่ 16 : ทัศนียภาพ รูปทรงของพุทธประทีปมหาสถูปเจดีย์ Image 16 : the perspective view of the Buddhaprathip Maha Stupa-Chaitya (The Great Buddha Light pagoda)

สรุป จะเห็นได้วา่ ขัน้ ตอนการเข้าถึงจะถูกวางให้จติ ได้ปรับให้มคี วามสงบสุขเย็นมีสมาธิขนึ้ เป็นล�ำดับขัน้ ไปถึง จุดหมายยังทีป่ ระดิษฐานพระสารีรกิ ธาตุและอรหันตธาตุ เพือ่ ให้จติ ได้ยกระดับของฌานเข้าสูป่ ญ ั ญา ญาณแห่งความรูแ้ จ้ง ในการสือ่ สารธรรม กราบสักการะ พระสารีรกิ ธาตุและอรหันตธาตุ อันเป็นเป้าหมาย ต่อการสร้างสัปปายะสถานอันเป็นมณฑลศักดิส์ ทิ ธิท์ เี่ อือ้ และทรงพลังต่อความนึกคิด ต่อจิตวิญญาณ อันให้เกิดสันติสขุ สงบเย็น เบิกบาน มีสมาธิศลี และปัญญาแห่งการรูแ้ จ้ง ในวินาทีทไี่ ด้กราบชมพระ สารีรกิ ธาตุ บางคนอาจจะได้สมั ผัสปัญญาญาณอันสุขสว่างในตนเพียงเศษเสีย้ วของวินาที แต่กเ็ ป็นเศษ เสีย้ วของวินาทีทสี่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของชีวติ อันเป็นประสบการณ์แห่งการเรียนรูแ้ ละประจักษ์ในจิตวิญญาณที่ เป็นอิสระและพ้นต่อห้วงพันธนาการแห่งความทุกข์ทรมาน และเปลีย่ นวิถชี วี ติ ทีส่ บั สน วุน่ วาย วกวน อย่างไม่รจู้ บ ไปสูว่ ถิ ขี องความเป็น ผูร้ ู้ ผูต้ น่ื ผูเ้ บิกบาน มีชวี ติ ที่ สะอาด สว่าง สงบ 64

วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


เอกสารอ้างอิง Edwin L. Kerr, Ph. D., A Quest for Our Cosmic Origins The First Three Days, Copyright © 2010 Edwin L. Kerr. Encyclopedia of Religion, Cosmology : Hindu Cosmology, COPYRIGHT 2005 Thomson Gale. Sashikala Ananth, 1998, The Penguin guide to Vaastu the Classical Indian Science of Architecture and Design, Viking, 1998. กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ, 2503, ตำ�นานพระพุทธเจดีย์, พระนคร : ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด ศิวกร, หน้า 5. กวนจือ แซ่ตั้ง, 2541, หลักและทฤษฎีฮวงจุ้ย ไกรสร ธเนศรุ่งโรจน์ แปล, สำ�นักพิมพ์ จตุภาค. กาญจนา นาคสกุล, บทความ-สารคดี, นิตยสารสกุลไทย ฉบับที่ 2638 ปีที่ 50 ประจำ�วันอังคารที่ 10 พฤษภาคม 2548 คณะกรรมการจัดพิมพ์หนังสือ พระบรมสารีริกธาตุและพระอรหันตธาตุ, มูลนิธิพระบรมธาตุ ในพระสังฆราชูปถัมภ์, พิมพ์ ครั้งที่ 1, 2545. จำ�นงค์ ทองประเสริฐ, 2538, ประวัติศาสตร์ พุทธศาสนาในเอเชียอาคเนย์, องค์การค้าครุสภา จัดพิมพ์, หน้า 370-371. น. ณ ปากน้ำ�, 2529, ความเป็นมาของสถูปเจดีย์ในสยามประเทศ, กรุงเทพ : ศูนย์การพิมพ์พลชัย, หน้า 11. ปฐมสมโพธิกถา, หน้า 264-266 และวรรณกรรมรัตนโกสินทร์, เล่ม 1 คัมภีร์มหาวงศ์ (กรุงเทพ : กองวรรณคดีและประวัติศาสตร์ กรม ศิลปากร, 2534), หน้า 369. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. พระธรรมปิฏก(ประยุทธ์ ปยุตโต), 2538, พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, พิมพ์ครั้งที่ 8, โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต) พฤษภา 2542,พุทธธรรม, โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พิมพ์ครั้งที่ 8, หน้า 569-616. พระวาจิสสระเถระ, 2511, พระคำ�ภีร์ถูปวงศ์ : ตำ�นานว่าด้วยการสร้างพระสถูปเจดีย์, พระนคร : นนทชัย, หน้า 106. พระสุตตันปิฎก ทีฆนิกาย เล่มที่ 2 มหาวรรค มหาปรินพิ พานสูตร ใน พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ (กรุงเทพฯ : ราชวิทยาลัย 2470-2503), หน้า 128,152, 373. พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาปรินพิ พาน เล่ม 10, มิถนุ ายน 2539, พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, หน้า 177-180. สมุดภาพไตรภูมิคาถา ฉบับกรุงศรีอยุธยา-กรุงธนบุรี เล่ม 1, 5 ธันวาคม 2543, บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนต์พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มหาชน), หน้า 34-35. เสฐียรโกเศส กุมภาพันธ์ 2540, เล่าเรื่องในไตรภูมิ ฉบับพุทธศักราช 2540, บ.สำ�นักพิมพ์นำ�้ ฝน จำ�กัด. เอเดรียน สนอดกราส, ภัทรพร สิริกาญจน และคณะแปล, สัญลักษณ์แห่งพระสถูป, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2537, หน้า 55. http://www.lostmonuments.com/monuments/monuments2/Great-Stupa-of-Sanchi-2.jpg, 11/11/2017. http://www.okhation.net/blog/voranai., Stupas from the ancient world, 11/11/2017. http://panchtatwa.com/vastutemples.htm, Panchtatwa 2010, 11/11/2017. https://www.slideshare.net/wendlingk/copy-of-buddhism-pppdf, Dhammasala stupa-chaiya Dvaravati, 11/11/2017.

65 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


Rhythm of Poetry in Architecture: Clean, Clear and Calm The Contemplative Art of The Buddhaprathip Maha Stupa-Chaitya (The Great Buddha Light Pagoda)

Wonchai Mongkolpradit, Ph.D.

Department of Architecture, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University | w.mongkolpradit@gmail.com

Abstract

This paper presents the evolution of architectural concepts on the construction of holy spaces to support the individuals’

understanding of harmony with all things. Revelry, delight, calmness, freedom of the mind and independence from suffering are spiritual goals to be obtained in Buddhist practice. Buddha discovered the noble truths of nature and the paths that can lead people to the cessation of suffering. This leads to calmness in the inner mind and can be further developed to become principles of architectural design suitable for construction (“Sappaya”). The holy space (“Mandala”) is one that supports the conditions to develop the inner mind in the ways that the Buddha conveyed. These principles can be adapted to different lifestyles, cultures, nations, beliefs and time periods without limitation.

The paper also shows the design of the Great Stupa of the Buddha Light that will enshrine the largest collection of Bud-

dha and Arahant relics in the world. It is the project of the Buddha Relics Foundation under the patronage of His Holiness The Sangharaja of Thailand (Supreme Patriarch). The place will be the center of Buddhism and will provide knowledge to support the development of freedom and independence from suffering. The design emphasizes the greatness of center-mindedness of people around the world. The landscape and construction focuses on the representation of goodness in the inner mind of people and will provide a suitable place or “Sappaya” where there will be simplicity, humbleness, clarity, gracefulness, peacefulness and concordance with all things.

Keywords: Contemplative Art, Mandala, Cosmology, Pagoda

Introduction

The language of architecture has evolved over time to

The Mandala (Holy Land) and the Stages of Life

reflect the society and culture of each era and region, for the

According to the Cosmology scripture, Mandala is the

physical quality and freedom of soul. This can be seen in the

way of living dedicated to the God of Creation. In life there are

Western world from the Byzantine period, the Gothic period

stages of development from the living stage to being one with

and Renaissance period and to the Modern period. In contrast,

the God of Creation. This is called the hierarchy of happiness

Eastern thought has been influenced by Cosmologic scripture,

and there are three stages: 1) Karma-Bhumi stage (the sensual

Vasstu-Purusa-Mandala scripture and Feng-Sui scripture. It can

stage) that refers to happiness from external factors; 2) Rupa-

be seen that each era, nationality, and religion have their own

Bhumi stage (the material stage); and 3) Arupa-Bhumi stage

development of art and resulting characteristics. For example,

(the immaterial stage). The last two stages comprise of achieving

in the Byzantine and Gothic periods, artistic values emphasized

happiness without influence from external factors and from

the dedication to God. In the Renaissance period, the emphasis

meditation of the mind. There are also higher stages from Rupa

was on the power and the greatness of humanity and the empire.

-Bhumi to Arupa-Bhumi.

Modern art focused on freedom and equality, whereas in the Eastern world, the development focused on the Cosmic Mandala

In the Vasstu-Purusa-Mandala scripture, the Mandala

and individuals’ spiritual consciousness.

of Shiva or the God of Creation is mentioned. The scripture lays out an arrangement relating the God of the Sun, the God of the Moon, the God of Seasons and the God of the Stars and Planets and provides a spatial arrangement for living beings to be aligned

66 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage

towards being one with God.


The Mandala is mentioned in Feng-Sui scripture in terms

These concepts can be summarized during practice

of the relationship and balance of systems between living beings

and training (Ti-Sikkha) that consists of: Morality (Sila),

and nature. Human beings are to adjust to the balance of living

Concentration (Samadhi), and Wisdom (Panna). The concepts

as much as they can by considering the atmosphere, landscape,

appear in both the Vasstu-Purusa Mandala and Feng Sui in

and human life cycle system. Balance comprises of the whole

aspects of landscape as it relates to the dynamics and balance

system of nature: climate, land, and human beings can be con-

of nature, for human own good. But Buddhism’s concept has

fronted with problems or can avoid suffering, illness and can

notable differences. The fundamental principles focus on the

achieve richness, happiness and success.

development of the spiritual mind to achieve a level of spiritual freedom to understand things as they truthfully are. These are

As mentioned above, every era, nation and religion have

their own principles of living and spiritual development. But

the principles to understand the ways of nature and towards independence and spiritual peace.

there are found that neither any principle nor methodology mentioned the way to liberating and support the highest freedom of the inner one of mind. The clearest principal is found in the Buddha teaching or Dhamma that has existed nearly two thousand and six hundred years. Not only the free form insight, Dhamma has also supported the way of living with nature. The teaching of Buddha consists as followed.

Contemplative Art: The Place for Buddhadhamma

This is the language of art form to create the place that

supports the right condition called “Sappaya” for the development of inner spiritual mandala from external to internal forces and after that, the exposure to the surrounding environment towards

The Mandala (Holy Land) in Buddhism

sacred living. It allows for deliverance from suffering, confusion,

In Buddhism mentions that the natural principal is the

be free and can be merry, peaceful, relieved and will have the

chain of phenomenal cause and effect of all anything does not

power to love and support others without selfishness and

have quintessence. The Lord Buddha has defined the principal

limitations of conditions of time with past, present or future.

nature consisting of three characteristics (Ti-lakkha.na). The

This is the way of living that complies to the duty of each

characteristics are: 1) Impermanence (Anicca) 2) Suffering (Dukkha)

person’s life cycle. It encourages benefiting from all humanity

and 3) Non-self (Anatta). Buddhism suggested further in the

and the purity of power and holiness of life. This is called “the

cosmological concept regarding the dimension of life develop-

contemplative art” that provides a suitable condition of living,

ment, there is a hierarchy of development towards achieving a

or “Sappaya”. It can help to maintain continuous mindfulness

pure life. In summary, the disengagement from the three planes

and can heighten the intelligence of living. However this is

of existences named “Lokiya” towards the Supramundane states

dependent on the individual’s natural condition. With these

named “Lokuttara” will provide spiritual freedom. Moreover,

principles, the goal of designing Buddhist art and architecture

Buddhism also provides the way to disengage from suffering.

can be developed.

joylessness, disorder, restlessness, and infirmity. The soul will

Can mention that the Buddha’s teaching is the only one that not only provided the fundamental, but also prepared the guideline

to the end of suffering, There are the Four Noble Truth principles:

around the persons’ surrounding space. A space is required

Dukkha (Suffering), Samudaya (Cause of the suffering), Nirodha

that supports a person’s peace of mind. A building for this

(Cessation of suffering), and Magga (Noble paths leading to the

purpose has to have beauty and assist in being focused on the

cessation of suffering). For the Noble Paths, or the Noble

spiritual mind. It should provide clarity of belief, exultation,

Eightfold Path, there are: Right Speech (Samma vaca), Right

delight, and gladness to peace and silence of the inner mind

Action (Samma kammanta), Right Livelihood (Samma ajiva),

and the spirit should be calm (Passaddhi).

The principles begin by ceasing any phenomenon

Right Effort (Samma vayama), Right Concentration (Samma samadhi), Right Mindfulness (Samma sati), Right Understanding (Samma ditthi), and Right Thought (Samma sankappa).

67 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


Then, the person enters into a more suitable space that

would need to be delicate, beautiful, regular and clean in its

area for working and living without encroaching another and themselves and it is the utility for another and oneself.

design. The setting up of this space should comply with the ways of the Sun, the Moon and the Stars and would be open to

In conclusion, the principal of “poetry art-architecture”

communication with light, shadow, and wind. The major space

is the art that focuses on developing the area of the Buddhist

in the main location of the building would need to support the

art and architecture where the building and nature is as one.

focusing of the inner mind on meditation and intelligence. The

The building can incur the understanding of changing of

space will recall a sense of time, seasons, the path of wind,

nature, light, and wind of the time and any kind of changing

respiration and land and create awareness of the current situation

phenomenon with peace and pleasantness that cause of

of life. Then, it will recall the condition of the person who

concentration, attention, and comprehension of the way of

encounters the current moment and is free in their minds to

living. There is the awareness of normal life that is the result of

fill with pure spiritual thoughts.

the conditionality or the dependent origination (Causality) and the understanding in the characteristic of nature regarding

After that, there will be more specific areas that are

changing, non-durable and existence less that is the three

gradually smaller in size. The space will gradually smaller as

characteristics inherent (Ti-lakkhana). It is the result of disgust

well as dimmer. This will assist in creating a point of focusing

or weariness of the adherence in all the things. It will leave

on the “superconscious” which supports the mental state to be

behind and incur the freedom of spirit and return to the

more aware of happiness, meditation and recognition of the

current world moment of changing which is the end of all

present and to take control of the mind in order to become

things. After that, it will begin and then stop again like an

peaceful and focused. It is the formation of a clear inner mind

endless cycle. One will become peaceful with the full power of

in one’s self that will create a sense of insight. This is a sensory

love and compassion without selfishness. This will gradually

perception and awareness known as apperception in the inner

occur with more frequency until the person belongs to the

mind that is able to access the cause of a state of phenomenon

path of true life consisting purely of kindness and beauty that

and time. This will support the discovery of the three main

will be clean, clear and peaceful.

characteristics of existence (Ti-lakkha.na) that consists of: 1) Impermanence or change (Anicca); 2) Suffering or Unsatisfactoriness (Dukkha); and 3) Not-self or Insubstantiality (Anatta).

The Buddha Stupa-Chaitya

When Dispassion (Nibbida) and Detachment (Viraga) happens,

one will discover the path of Deliverance (Vimutti) and then

period of time. The style began with the building of the

the Freedom of Mind (Khayanana) to attain the knowledge of

Stupas-Chaitya and then developed to incorporate many styles

life and deliverance from both suffering and happiness. The

and scales of building such as monasteries, temples, sanctuaries,

person becomes peaceful and focused, there is an extinction of

houses, towns, states, etc.. The Buddhist stupas and pagodas

all defilements and suffering, and then Nirvana is achieved.

were built ever since Buddha era. Before discussing the evo-

The architectural style of Buddhism differs within each

lution of the Buddhist pagoda (Stupa-Chaitya), the terminology

After that stage, the person can return to the open

of the word “stupa” is required. Stupa is from the Sanskrit word

space where he or she will have a different perception from

“stupa” and in Pali the term “thupa” means a conical heap

before. The vision of the world will be one that is happy and

where enshrines relics of humans who pass away (Kanchana

associated with virtuousness and that is created by love and

Naksakul, 2005). In other words, it refers to a mound-like or

unity. There is clarity, light, comfort and intelligent of life or the

hemispherical structure enshrining the relics of the Buddha

real job. It means perceiving at the present moment that is not

and Buddha saints (Arhats). The word “chedi” is derived from

only influenced by the external surrounding environment.

“chitya”. That word derived from the root “chita” which means

This sense resembles the Bodhisattva way of life with awareness

“mind” or “thoughts” that is the space of development of spiritual

of the environment to the way of the Bodhisattva-Dhamma

for freedom from suffering. The Chedi is not only the interior

-Sadana (the holy place of compassion) which can support all

space but it also includes the surrounding sanctuary, sacred

aspects of life. It can be said that the empty space is like “poetry

trees, and Buddha statues (Dictionary, 1999). In conclusion,

art-architecture” where preparing for the human who used the

the Stupa-Chaitya is the structures enshrining the relics of the

68 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


Buddha and Buddha saints for worship and spiritual development

of construction was more exquisite. For example, shaping on a

(Krom Phraya Damrong Rachanuphap, page 53).

mound of earth, created dam to serve as a base and the upper ground, placed square structure of fence (harmika) on the top

Stupas-Chaitya was built before Buddha era. During

Buddha’s time, the stupa was described as the following: ‘While

of the dome and mounted mast-shaft and umbrella or chatra’ (Damrong Rajanubhab, page 5).

Sariputra who was the right chief disciple of the Buddha, passed away and after cremated his body, the Buddha had

In a later period in Sri Lanka, stupas that were built had

asked Juntha and team to build the stupa for enshrined the

taken the shape similar to the stupa in the time of Emperor

relics of Sariputra. One part of his relics was enshrined at the

Ashoka the Great, and Ruwanwelisaya Stupa-Chaitya, the

gate of Jetavana in Savatthi and another part was comprised in

pagoda in Anuradhapura. In the time of the great King Ashoka,

the stupa in Nalanda where is his hometown (Phra Wachissara

he had sent his son, Mahinda, who later became a Bhikkhu and

Thera, page 106). And when Ananda, the Lord Buddha closest

a Buddhist missionary to Sri Lanka to introduce Buddhism.

monastic disciple, inquired further into details about the

This was the reason for the spread of Buddhism in Sri Lanka.

principle of treatment of Buddha’s body after he has passed

After that time, Thailand was influenced by Buddhism from

into nirvana (parinirvana). The Buddha explained that ‘the

Sri Lanka. The shape of stupas in Thailand has shapes similar

way people cremate their king’s. Do the same. Then Ananda

to the Sri-Lankan style, such as the stupa in Nakhon Sri Dham-

said, ‘But how, Lord, do they act respecting the body of their

maraja and the Phra Pathom Chaitya in Nakhon Pathom.

king?’ and the Blessed One said: ‘They will bundle the king’s

Furthermore, there are stupas in other places including the

body with a new cloth, absorb with cotton, do these 1,000 layers.

Shwedagon Pagoda that located in Yangon, Myanmar and the

Then place the body of the monarch inside an iron oil vessel,

Maha Bodhinarda Stupa in Nepal, that have shapes similar to

which is enclosed in another iron vessel. The funeral pyre was

the Sanchi stupa. All of these stupas have a bell shape or hemi-

built with all kinds of fragrant woods. Finally, take the king’s

spherical dome. This is an important component of the stupa

cremains to the stupa, located at the center of four crossroads.

that follows the words of the Buddha, in that the shape of the

Ananda, there were the way people cremate their king’s, so

stupa was to be in the shape of the alms-bowl. According to the

should it be done with the body of the monarch also a stupa

record of the Chinese pilgrim Hiuen Tsang, the Buddha took

should be raised for the Tathagata at a crossroads. For people,

his outer robe and folded it in a square shape and placed it

whosoever shall bring to that place garlands or incense or sandal

down on the floor. He laid the biggest fabric first and then

paste, or pay reverence, and whose mind becomes calm there,

placed the smaller fabric until the smallest was on the top of all

it will be to their wellbeing and happiness for a long time.‘ (The

square robes. Then he took his alms- bowl, turned it upside

Suttanta Pitaka Digha Nikaya, page 152)

down, and placed it on top of the robes. Then on the top of alms-bowl, he placed the objects for the alms and said “Make a

The oldest archaeological site that still exists is the

stupa like this”. So, this becomes the original instructions of the

Great Stupa built in the era of Emperor Ashoka the Great at

stupas. (Adrian Snodgrass, page 55) The fundamental principles

Sanchi. His late Royal Highness, Prince Damrong Rajanubhab,

of Buddhist art and architecture are like the teaching of the

analyzed the structure of the stupa and said the following:

Buddha that gives the way conducive to the principle of Dhamma.

‘Consideration of the structure of the stupa that was built since

Therefore the stupa is the “Suppaya” or suitable place that

ancient times, found that the initial stupa was a mound of

supports the development of intelligence to becoming a

earth covered them up and placed over a relics burial. (similar

Buddha The form of the bell shape could represent the form of

the sand mounds). Then it was surrounded by a small dam

egg which means the origin of life form.

preventing soil from destroyed. On the top of the stupa, the umbrella or a parasol-like structure symbolizing high rank (chatra) were mounted as a symbol of honor and respect for person’s ash that was enshrined. The stupa that was built either small or big shape and either exquisite or rough construction, it relies on the affluence of supporter. Later, when stupas were popularly respected and worshiped in Buddhism, the building

69 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


Background of the Buddhaprathip Maha Stupa-Chaitya (the Great Buddha Light Pagoda)

Mahakasyapa feared that in the future if it will have been not

As mentioned above on stupas, this paper will present

that should have processed to sourcing of the relics of the Bud-

the initial idea of the project design “The Great Stupa of the

dha (The Suttanta Pitaka Digha Nikaya, page 152). This was

Buddha Light.” This is a project of the Buddha relics foundation

called the embedding of the sacred relics. According to the

that is under the patronage of His Holiness the Sangharaja of

myth in 8 B.E. said that the Venerable Mahakasyapa used su-

Thailand (Supreme Patriarch) and founded by Mr. Thongdee

pernatural powers to invite the separated Buddha’s relics from

Hansakunarom. Mr. Thongdee visited India to pay respects

various place back to Rajgir and the king had not known

and to worship the holy places of Buddhism. During these

(Pathomsombodhikatha, page 264-266). Then king Ajatashatru

trips he found that many remaining stupas were in ruins, and

was ordering to dig the hole depth 40 meters located in the

people trampled around the ancient Buddhist place. He sensed

southwest of Rajgir. Then placed the metal plate on the ground

that deep in the ground there were many Buddha and Arahants

of the hole. Created the small house from copper and con-

relics and he felt a deep sadness that these relics were seemingly

tained 8 layers of the yellow sandalwood boxes that containing

forgotten. Thus Mr. Thongdee made a wish for “The Buddha

the Buddha relics, enclosed with 8 layers of the yellow sandal-

and Arahants relics in wherever unsuitable place, please come

wood stupa, 8 layers of the ivory stupa, 8 layers of the glass box,

to my place and I will care and dedicate my life to the preservation

8 layers of the glass stupa, 8 layers of the golden box, 8 layers of

and care in suitable place.” As a result, there is a large collection

the golden stupa, 8 layers of the silver box, 8 layers of the silver

of Gautama Buddha and Arahants relics appeared at Mr.

stupa, 8 layers of the gem box, 8 layers of the gem stupa, 8 lay-

Thongdee house that has never seen in anywhere before. His

ers of the red glass box, 8 layers of the red glass stupa, 8 layers

Holiness Somdet Phra Nyanasamvara Somdet Phra Sangharaja

of the pattern glass box, 8 layers of the pattern glass stupa, 8

and the late Supreme Patriarch and His Holiness Somdet Phra

layers of the crystal glass box and closed with 8 layers of the

Ariyavangsagatayana Somdet Phra Sangharaja, the Supreme

crystal glass stupa from outside. (The Suttanta Pitaka Digha

Patriarch, agreed to support a foundation under the patronage

Nikaya, page 373). In the time of Emperor Asoka, the Buddha

of the Supreme Patriarch. It was specified that if any Buddhist

relics was redistributed and enshrined in 84,000 stupas.

considering, respecting and worship, may cause of the relics losing that people will not get the benefit and become even worst for the religion. So, he then suggested King Ajatashatru

temple needs a holy relic for enshrining in the stupa or in the main Buddha statue, they will come to request to the Supreme

Apart from this first time of enshrining the Buddha relics,

Patriarch and then His Holiness will bring the relics from Mr.

the construction of the Maha Stupa will mark another important

Tongdee’s house to be consecrated. This happened over thirty

event in the history of Buddhism and mankind that will perform

years ago and relics were enshrined from many important

construction of the great stupa. In addition, this may the joining

temples from around the country (over seven hundred stupas

of the sacred relics of the Buddha from unsuitable places and

and more than one thousand Buddha statues) at present, the

may spread out around the world again for worship and respect

holy relics are from Mr. Thongdee’s house. Mr.Thongdee would

that parallel to the Buddha’s teaching. Thus, the building of

like to build a great pagoda (Maha Stupa-Chaitya) to enshrine

the Great Stupa (Maha Stupa) aims to become the center of

all of the Gautama Buddha and Arahants relics from his house.

Buddhism and Buddhist people from around the world that

This great pagoda will contain the most amounts of the relics

diverse in the individual society, cultures, age, and nationality.

of the Buddha and Arahants in the world and it is the second

And the stupa will be like the light that always bright in the

time in the history of enshrining the most amounts of the

center of the human mind.

Gautama Buddha relics.

The first time that the relics of Gautama Buddha were

enshrined was during the time of King Ajatashatru. After the Gautama Buddha entered Parinirvana, his body was cremated and the ashes were divided into eight parts and were carried back to each kingdom. It was said that: Then the monk

70 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage

Design Concept of The Buddapathip Maha Stupa-Chaitya (the Great Buddha Light Pagoda).

The most important point in the construction of the

Great Stupa is the design concept relating to the Buddhadhamma


and supporting deliverance from suffering and towards

The Great Stupa of the Buddha Light will be located in Tam-

freedom of the spirit. Therefore the Great Stupa of the Buddha

bon Hoyyai, Bang Lamung District, Chonburi Province. The

Light should contain the following:

land owner donated the land the size of 360 rais or approxi-

The place is like the Buddha’s teaching, in order to

mately 144 acres. The land is a natural swamp as well as a man-

support freedom from suffering and lead to freedom from the

made pool that was dug to supply water for palm farming.

inner mind.

There are different levels, with the ground at the end of the

The place is simple, soundless, beautiful, delicate,

land its lowest part and the opposite area higher by 10 meters.

exquisite, kindly, peaceful, serene and can interact with the

There is a natural water path that runs through from the back

minds of people.

hill outside the site and passes through the center of the site

and down to the swamp. So, the entrance is located at the front

There is a timelessness of place that exudes pure

spirituality

area of the project that is in the lowest part of the site.

The place is to be a center for Buddhists and other

people around the world where consist the simple and natural.

The planning arrangement is shown in the plan. The

The place will have the best technical construction

swamp located at the end of the land is kept to retain natural

from the 21 centuries that can valuable for being the center of

water and allow water encircling the right and left sides to

the minds.

surround the stupa and then pass through the water temple to the lower pool in the front of the land. There will be a road

In summary, the architectural style of the Great Stupa

surrounding of the land that is planted with big trees. The trees

of the Buddha Light is a representation of these characteristics:

surround the holy areas of the site. Outside of the holy area

1) History of the time that embodies the art of wisdom; 2)

there will be a parking lot, reception building, exchange ticket

Cultural art that inherits the heritage of wisdom and identity of

area flower and the offering shop, souvenir shop, other services,

place and period; and 3) Pure representation of the Buddha’s

dress exchange service and toilets etc. This is for decency

teaching, which will be the center of people’s minds and society.

before passing through the holy space. The left side will have a

As the Lord Buddha said to Ananda: “Ananda - whatever

pool and plants with big trees to divide the space from the stupa.

Dhamma and Vinaya I have rendered to you and all monks,

The right side will be a forest planting area to give moisture to

the disciplines of Dhamma will as a substitute of me when I

the area and in the future, this forest will be the only one of the

have passed away. Ananda, at this time and after I passed away,

green area around the project.

uphold the Dhamma as the refuge, do not have anything else to rely on: the Dhamma is the light and the protection, do not

From the parking in the main path, users will pass a

have anything, Ananda! any Bhikkhus who had the desire for

dense forest and then on to the open space in front of the

virtue, they will be the greatest status” (The Pali Tipitaka the

sanctuary. This point is meant to open the mind to perceive

Maha-parinibbana Sutta, page 128). The Great Stupa of the

nature and communicate with the sky, shadow, wind and

Buddha Light project is therefore not only a monument or

surrounding peaceful environment. It will be spiritual prepa-

memorial but also the manifestation of the Buddha in peoples’

ration to receive peacefulness before entering into the internal

minds and it will be a refuge for relevant disciplines. It will

rooms to pay respect to the Buddha statue. The ground of the

reflect a peaceful society and Dhamma that is an important

open area is simple and receives natural light and wind. The

part of Buddhist art and architecture and to fill the inner mind

roof will be placed to be lower than the eye level to minimize

of people with clarity, brightness and peacefulness.

the views from the surroundings. The space supports the inner mind for meditation and one can see the Buddha statue at the

The design of the Great Stupa of the Buddha Light

end. The top of the roof is transparent glass so one can see out

shown in the above figures is in the initial design stage and

and towards the stupa. When the user finishes paying respects

does not yet have details. In this paper, the author will explain

to the Buddha statue, the user will walk out from the sacred

the initial spatial sequence upon entering the site and the envi-

place to the path on the right and left sides passing into

ronmental concept in each part of the site.

the stupa. These paths pass through the moat and trees that surround the stupa. There is also a wall which acts as a protective layer for the sacred space. The design of the stupa is in the form

71 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


of a lotus. There is a connection to the bridge that is mean like

The shape of the Great Stupa of the Buddha Light is a

the rainbow bridge of intellectual that convinces people the

mound-like or hemispherical structure. However, the Great

way of freedom from transmigration into the world of Lokuttara.

Stupa of the Buddha Light will have glass to allow people to see

And the arrangement of the spaces is designed to calm the

and pay respect and worship the holy relics that are located

mind and provide concentration. The area is designed to be

inside. People will be allowed to visit inside, so more lighting

clean, constant, simple and shady.

and control of airflow is required in order to be a suitable place or “Sappaya” place. Moreover, this place is designed to be the

The upper floor consists of the knowledge room,

knowledge center of the Buddha Dhamma and related scrip-

library room, and chanting rooms, seminar room and meeting

tures and practice, so it would require sunlight, views, and nat-

room. This building will have eight corners that separate each

ural wind to pass through. In addition, the stupa shape will

space and will have a court yard to create natural views and

have a geometry that is simple, complete, and static. One can

allow wind to pass through. This area is designed to be more

see in the floating design of the hemispherical structure stupa

peaceful than on the lower floor. The utility space on this floor

which represents the pure land of the Buddha Bhumi and also

is designed to prepare to open the user’s inner mind to learning

the lotus base that symbolizes pure and complete life. The top

with peace, joyfulness, spirituality and being ready to morality

is like the gem of the Daystar that expresses brightness, peace,

and concentration more respectively that is the state for the

joyfulness and spiritual freedom, like the lotus blooming in the

scriptures study.

midst of the inner mind.

space of this floor is arranged to be a space fora state of serene

Conclusion

contemplation. It will be used for Dhamma practice, meditation

practice, walking meditation, Yoga and Taijiquan practice. At

of this building reflects the process of adjusting the inner mind

the center of the lotus petals is the “chamber of ecstasy” where

in order to achieve peace and meditation until reaching the

has the elevator will pass through to the upper floor. The third

place where the sacred relics are enshrined. The connections

floor is more peaceful and smoother place. It will be suitable

between Dhamma and paying respect to and worshipping the

(“Sappaya”) for practicing meditation, for more concentration

holy relics is the goal of the design. The aim is to create a holy

and consciousness with the surrounding environment at the

space to support and empower the spiritual mind, to create

present moment. This space will be a part of learning and practice.

peace, composure and allow for concentration on the Buddhist

The third-floor is shaped like twelve lotus petals. The

In summary, the process of experiencing the design

canon and intellectual enlightenment. It is hoped that during

The upper floor is a simulation of the “Lokuttara”. There

the worship of the sacred relics, people could obtain a

are two levels: the first level is the location of the Buddha statue

profound sense of happiness – even if only for a momentary

and provides information about the Buddha and Arahant

period of time. Knowledge and clarity of the inner mind will

relics. This floor is circular-shaped and users can see down to

allow for freedom from suffering and can change from the

the space below that represents the “Lokiya” or the mundane

endless entanglement life to the way of knowing, awareness

world. From this floor, people can prepare their inner minds

and joyfulness that comes from a clean, clear, and composed life.

before passing through to pay respect to the holy relics. The shape of the room is a mound-like or hemispherical structure and it signifies the center of the universe of life. The sacred relics are placed in the center. The Buddha relics are enshrined at the center and are surrounded with the Arahant relics. The floor is designed to seem like it is floating and do not touch the walls of the stupa. From this floor the users can see the top of the building, with the Daystar inspiring the design and shining brightly from the center. It is like the three-temple glass representing the spirit of attainment.

72 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


Bibliography Chamnong Thongprasert, 1995, The history of Buddhism in Southeast Asia, Kurusapa Business Organization, page 370-371 Edwin L. Kerr, Ph. D., A Quest for Our Cosmic Origins The First Three Days, Copyright © 2010 Edwin L. Kerr. Encyclopedia of Religion, Cosmology: Hindu Cosmology, COPYRIGHT 2005 Thomson Gale. Guanchu Sae-tang, 1998, Feng Shui Principle and theory, Translated by Kraisorn Tanetroongroj, Chatupak publishing. Sashikala Ananth, 1998, The Penguin guide to Vaastu The Classical Indian Science of Architecture and Design, Viking, 1998. Phra Dhamma- pitaka (Prayudh Payutto), 1999, The Buddha-dharma, Mahachulalongkom Buddhist. University Press,

Bangkok, Thailand, 8th edition page 67-78.

Phra Dhamma- pitaka (Prayudh Payutto), 1995, Dictionary of Buddhism, Mahachulalongkom Buddhist. University Press,

Bangkok, Thailand, 8th Edition, page 569-616.

Sathira koses February 1997, The story of Tri-bhumi, volume published in 1997, Namphon Publishing. Tri-Bhumi photobook, version Ayutthaya-Dhonburi, book 1, 5 December 2000, Amarin printing and publishing co., ltd.

Page 34-35.

The Book Publishing Board, The Buddha and Arahants relics. the foundation under the patronage of the Supreme

Patriarch, 1st Edition, 2002. The Pali Tipitaka, Sutta Pitaka, Digha Nikaya, book 2 Mahavarka, Maha-parinibbana Sutta in Tipitaka version Siamrath,

(Bangkok : Rajavityalai 1827-1960), page 128, 152, 373.

The Pali Tipitaka, Sutta Pitaka, Digha Nikaya, the Maha-parinibbana Sutta. volume 10, June 1996, The pali canon Thai

version, Mahachulalongkom Buddhist. University Press, Bangkok, Thailand, page 177-180

Dhammasala stupa-chaiya Dvaravati Stupas form the ancient world. Voranai Pongsachalakorn, www.okhation.net/blog/voranai http://www.lostmonuments.com/monuments/monuments2/Great-Stupa-of-Sanchi-2.jpg, 11/11/2017. http://www.okhation.net/blog/voranai., Stupas from the ancient world, 11/11/2017. http://panchtatwa.com/vastutemples.htm, Panchtatwa 2010, 11/11/2017. https://www.slideshare.net/wendlingk/copy-of-buddhism-pppdf, Dhammasala stupa-chaiya Dvaravati, 11/11/2017.

73 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ร่างกายในสถานที:่

การศึกษาทางทฤษฎีของการก่อร่างเชิงความคิด และการต่อรองในชีวต ิ ประจำ�วัน ดร. วิญญู อาจรักษา

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | ardrugsa@ap.tu.ac.th

74 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage

ภาพที่ 1 : โบสถ์ Lumen URC ภายหลังการปรับปรุง ที่มา : ภาพถ่ายโดย Nick Kane


บทคัดย่อ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และพื้นที่ซึ่งถูกประกอบสร้าง ขึน้ นัน้ ไม่ใช่สงิ่ ทีม่ แี บบแผนตายตัว เราสามารถสร้างรูปแบบใหม่ๆ ขึน้ มาได้ผา่ นการท�ำความเข้าใจและเปลีย่ นแปลงโครงสร้างความ สัมพันธ์ทถี่ กู สถาปนาขึน้ บทความนีไ้ ด้อภิปรายแนวคิด “ลักษณะ เชิงการแสดงต่อเนื่อง (performative)” ของ Judith Butler ในการ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง “ร่างกาย (body)” และ “สถานที่ (place)” โดยเลือกประเด็น “ความใกล้ชิดในพื้นที่เมือง (urban intimacy)” เป็นกรอบในการขยายการศึกษาไปยังแนวคิดที่เกี่ยว ข้องอื่นๆ ของ Anne-Marie Fortier, Michel de Certeau และ David Sibley โดยการอภิปรายในแต่ละส่วนนี้ได้แบ่งออกเป็น 2 ขัน้ ตอนคือ การอภิปรายในฐานะ “สิง่ ประกอบสร้าง (construction)” และ “การต่อรอง (negotiation)” เพื่อให้เห็นถึงทั้งข้อจ�ำกัดและ โอกาสทีแ่ ฝงอยูใ่ นชุดความคิดต่างๆ นอกจากการศึกษาเชิงทฤษฎี ผู้เขียนได้เลือกโบสถ์ Lumen United Reformed Church ในกรุง ลอนดอนเป็นกรณีศึกษาถึงสถาปัตยกรรมที่ค่อนข้างเปิดกว้างใน เชิงผูใ้ ช้งานและมีความยืดหยุน่ ในเชิงพืน้ ที่ สะท้อนถึงความเป็นไป ได้ในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและสถานที่อันแตก ต่างออกไปจากกรอบที่เรามีความคุ้นเคยอยู่เดิม ซึ่งนี่หมายถึง โอกาสที่ จ ะท� ำ ให้ เ รามองเห็ น และท� ำ ความเข้ า ใจลั ก ษณะเชิ ง อั ต บุ ค คลและลั ก ษณะเชิ ง พื้ น ที่ ซึ่ ง มี ค วามหลากหลายและอยู ่ นอกกรอบการสร้างภาพตัวแทนใดๆ (representations) คำ�สำ�คัญ: ภาพตัวแทน, ลักษณะเชิงการแสดง, ความใกล้ชดิ ในพืน้ ทีเ่ มือง, อัตบุคคล, พื้นที่, ร่างกาย, สถานที่

ความนำ� [Architecture] is not only considered as an element in space, but is especially thought of as a plunge into a ‘field of social relations’ in which it brings about some specific effects Michel Foucault.1 การออกแบบสภาพแวดล้อมสรรค์สร้างคือการออกแบบ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และพื้นที ่ ด้วยกระบวนการท�ำความ เข้าใจต่างๆ เราผลิตและใช้ภาพตัวแทน (representations) ในการ ก�ำหนดความสัมพันธ์เหล่านั้น ในมุมหนึ่ง นี่ถือเป็นการควบคุมวิถี ชีวิตของผู้คนโดยที่สถาปนิกหรือผู้มีอ�ำนาจในสังคมอาจไม่ได้ ตระหนักถึง ในบทสัมภาษณ์ Space, Knowledge and Power ข้างต้น นักปรัชญา Michel Foucault ได้กล่าวถึงความจ�ำเป็นที่ สถาปัตยกรรมต้องถูกพิจารณาเป็นส่วนหนึ่งกับบริบทและปัจจัย ทางสังคมต่างๆ แนวคิดของ Foucault เป็นการปฏิเสธซึง่ ธรรมชาติ การด�ำรงอยูข่ องสรรพสิง่ ในเชิงภววิทยา (ontological) และเน้นการ ศึกษาการก่อร่างเชิงวาทกรรมรูปแบบต่างๆ (discursive formations) ซึ่งในมุมที่เกี่ยวข้องกับสถาปัตยกรรมและเมือง แนวคิดดังกล่าว สามารถน�ำไปสู่ความเข้าใจที่เฉพาะเจาะจงต่อสภาพแวดล้อม ต่างๆ ในมิตเิ ชิงสังคมและการเมืองได้2 Foucault ย�ำ้ ว่าเราสามารถ ค้นหาความเชื่อมโยงระหว่างงานออกแบบและโครงข่ายความ สัมพันธ์เชิงอ�ำนาจไปพร้อมๆ กับการท�ำความเข้าใจในตัวบุคคล หรือกลุม่ บุคคลผ่านปฏิบตั กิ ารเชิงพืน้ ทีต่ า่ งๆ (spatial practices) 3 Foucault, “”Space, Knowledge, and Power,” Interview with Paul Rabinow”, 437-438.

1

2

อ้างแล้ว

Michel Foucault, “About the Beginnings of the Hermeneutics of the Self: Two Lectures at Dartmouth,” in Self and Subjectivity, ed. Kim Atkins (Oxford: Blackwell Publishing, 2005), 214.,

3

ดูเพิ่ม Michel Foucault, “Technologies of the Self,” in Technologies of the Self: A Seminar with Michel Foucault eds. Huck Gutman and Patrick H. Hutton Luther H. Martin (London: Tavistock, 1988), 18.


นอกจากนี้ การศึกษารูปแบบสภาวะ “การควบคุมและการต่อรองต่างๆ (domination and negotiation)” ยังท�ำให้เราเข้าใจรูปแบบของลักษณะเชิงพื้นที่ (spatiality) และรูปแบบของลักษณะเชิงอัตบุคคล (subjectivity) ว่าไม่ได้เป็นปรากฏการณ์ทมี่ มี าแต่ดงั้ เดิม (fundamentals) และไม่อาจถูกน�ำเสนอผ่าน ภาพตัวแทนต่างๆ ได้โดยสมบูรณ์ (representations) ซึ่งในบทความนี้ผู้เขียนได้น�ำเสนอการศึกษา สภาวะดังกล่าวผ่านโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและสถานทีด่ ว้ ยแนวคิดการแสดงต่อเนือ่ ง (performativity) เพือ่ ศึกษาถึงโอกาสในการเปลีย่ นแปลงความสัมพันธ์ดงั กล่าวและน�ำไปสูค่ วามเข้าใจ ในลักษณะเชิงพื้นที่และอัตบุคคลที่หลากหลายมากขึ้น 1. ความสัมพันธ์ระหว่าง “ร่างกาย” และ “สถานที่” ตามการศึกษาหลายชิ้นของ Foucault เราจะพบว่าการสถาปนาลักษณะเชิงอัตบุคคลและ ลักษณะเชิงพื้นที่เป็นการก่อร่างผ่านความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและสถานที่ ซึ่งจนปัจจุบันมีงาน เขียนหลายชิน้ ทีข่ ยายการศึกษานีไ้ ปในแง่มมุ ต่างๆ อาทิ หนังสือ Mapping the Subjects: Geographies of Cultural Transformation ทีม่ ี Steve Pile และ Nigel Thrift เป็นบรรณาธิการ ได้ศกึ ษาความสัมพันธ์ ระหว่างลักษณะเชิงอัตบุคคลและลักษณะเชิงพื้นที่ต่างๆ ผ่าน “ปฏิบัติการที่แตกต่างของร่างกาย (different practices of body)” รวมถึง “สถานทีอ่ นั แตกต่างและพืน้ ทีข่ องการแสดง (different places – performed space)”4 ส่วนหนังสือ Places through the Body บรรณาธิการ Heidi J. Nast และ Steve Pile ได้อธิบายไว้อย่างน่าสนใจว่าการศึกษา “ร่างกายต่างๆ และสถานที่ต่างๆ นั้นจ�ำเป็นต้อง เป็นอิสระจากทัง้ ตรรกะทีร่ ะบุวา่ ทัง้ คูเ่ ป็นสิง่ ทีม่ คี วามเป็นสากล (universal) และทีร่ ะบุวา่ เป็นสิง่ ทีโ่ ดด เด่นไม่เหมือนสิง่ อืน่ ๆ (unique) โดยจะเป็นการดีกว่าทีจ่ ะศึกษาถึงแนวทางเชิงพืน้ ทีแ่ ละเชิงสังคมต่างๆ ทีจ่ ะพยายามเข้าใจ ผลิต และเชือ่ มโยงร่างกายและสถานทีเ่ ข้าด้วยกัน เพราะว่านีเ่ ป็นรูปแบบซึง่ มนุษย์ เราใช้ชีวิต คือผ่านร่างกายและผ่านสถานที่”5 หนังสือเล่มนี้ยังน�ำเสนอกรณีศึกษาที่น่าสนใจอย่าง หลากหลาย ตั้งแต่ บ้าน พิพิธภัณฑ์ ฟิตเนส หรือแม้แต่ฮาเร็ม Intimate Metropolis: Urban Subjects in the Modern City โดยบรรณาธิการ Vittoria Di Palma, Diana Periton และ Marina Lathouri เป็นหนังสืออีกเล่มที่ได้รวบรวมบทความเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนและพื้นที่อันหลากหลาย ซึ่งล้วนเป็นกรณีศึกษาถึง “ความใกล้ชิดในพื้นที่ เมือง (urban intimacy)”6 หนังสือเล่มนี้ได้อธิบายสภาวะ “ความใกล้ชิด” ว่าเกี่ยวข้องกับทั้งสรรพสิ่ง และแนวคิดที่เราดึงเข้าไว้ใกล้ตัว โดยอาจจะเป็นสิ่งที่เราสวมใส่ กิจกรรมที่เราท�ำกับคนใกล้ชิด สิ่ง ที่อยู่ภายในจิตใจ หรือการเปิดเผยตัวตนของเรา โดยไม่ได้เป็นเพียงเรื่องราวของคนหนึ่งคน แต่ยัง เกี่ยวข้องกับกลุ่มคนหรือชุมชนที่มีลักษณะเฉพาะด้วย ในส่วนของค�ำว่า “มหานคร” หนังสือเล่มนี้ได้ อธิบายว่าหมายถึงพื้นที่ชุมชนเมืองที่มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง และเป็นการรวมตัวของผู้คนซี่งมี นัยยะส�ำคัญมากกว่าความเป็นรัฐในเชิงนามธรรม หรือลักษณะทีข่ าดพลวัตของเมืองในก�ำแพงแบบ ในอดีต7 การเชือ่ มประเด็นความใกล้ชดิ เข้ากับความเป็นเมือง เป็นจุดตัดทีม่ คี วามเฉพาะเจาะจง ผูเ้ ขียน จึงได้ใช้ประเด็น “พื้นที่ของความใกล้ชิด (spatiality of intimacy)” นี้เป็นแว่นในการส�ำรวจความ สัมพันธ์ระหว่างร่างกายและสถานที่อันมีความซับซ้อนมากขึ้น หากมองอย่างผิวเผินแล้ว ชุดความสัมพันธ์ “อัตบุคคล-พื้นที่” และ “ร่างกาย-สถานที่” ดูจะมี ความเกี่ยวข้องกันอย่างค่อนข้างตรงไปตรงมา เพราะร่างกายและสถานที่เป็นสิ่งที่แลดูจับต้องได้ มี ทัง้ คุณลักษณะเชิงวัตถุและเชิงสัญญะทีร่ องรับการก่อร่างของอัตบุคคลและการก่อรูปเชิงพืน้ ที ่ อย่างไร ก็ตาม การพิจารณาความสัมพันธ์ของทั้งคู่นั้นมีความซับซ้อนทั้งในระดับกรอบความคิด (concept) หรือภาพตัวแทน (representation) และในระดับองค์ประกอบจริงๆ ซึง่ เกีย่ วข้องกับร่างกายของเราไป จนถึงสถานที่ต่างๆ ซึ่งเมื่อพิจารณาตามที่ Foucault ได้ให้ความส�ำคัญกับการปฏิบัติการ อาจกล่าว ได้ว่า พื้นที่เมือง (urban space) และชีวิตประจ�ำวัน (everyday life) เป็นฉากส�ำคัญในการพิจารณา ความสัมพันธ์ดงั กล่าว ซึง่ ในทีน่ ี้ มีงานเขียนส�ำคัญอย่าง Rhythmanalysis โดย Henri Lefebvre8 และ The Practice of Everyday Life โดย Michel De Certeau9 ที่ได้พยายามหาจุดตัดระหว่างบริบท เมืองและชีวิตประจ�ำวัน โดยผู้เขียนจะได้ศึกษาถึงความเชื่อมโยงในแนวคิด ระดับ และการปฏิบัติ ต่างๆ ตามที่กล่าวมานี้ในหัวข้อถัดไป

76 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


2. การก่อร่างเชิงความคิดและการต่อรองในชีวิตประจำ�วัน (Conceptual Construction and Everyday Negotiation) มนุษย์มกั พยายามสร้าง “ภาพตัวแทน” เพือ่ อธิบายแนวคิดหรือตีกรอบความเข้าใจต่อสิง่ ต่างๆ รอบตัว ซึ่งนี่รวมถึงความเข้าใจในลักษณะเชิงอัตบุคคล และลักษณะเชิงพื้นที่ การสร้างภาพตัวแทน ในที่นี้ไม่ได้หมายถึงการน�ำเสนอแนวความคิดดังกล่าวเป็นภาพเขียนในทางทัศนศิลป์โดยตรง แม้ว่า เราจะสามารถตรวจสอบแนวคิดหรือความเข้าใจใดๆ ผ่านงานศิลปะประเภทนี้ได้ก็ตาม ภาพตัวแทน ในทีน่ คี้ อื “การก่อร่างเชิงความคิด” ซึง่ ถูกสร้างขึน้ ผ่านกรรมวิธซี งึ่ มีความหลากหลาย และด�ำรงอยูต่ รง กลางระหว่างมนุษย์และความเป็นไปของสิ่งต่างๆ ภาพตัวแทนเหล่านี้มีบทบาทกับการด�ำเนินชีวิต ของมนุษย์มากน้อยต่างกันไป ภาพตัวแทนบางชุดอาจได้รับการเผยแพร่หรือใช้เป็นกรอบอ้างอิงจน ยากที่จะเปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตาม ภาพตัวแทนหรือชุดความคิดเหล่านี ้ ก็ไม่สามารถเป็นตัวแทน ทีส่ มบูรณ์ให้กบั ความซับซ้อนของวิถชี วี ติ ประจ�ำวันทีเ่ ดินไปในบริบทเมืองทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา ได้ นอกจากนี้ ภาพตัวแทนยังอาจถูกท้าทายจากความเป็นไปได้ต่างๆ ในการใช้ร่างกายของเราเข้า สร้างหรือเปลี่ยนแปลงความหมายของสถานที่ซึ่งถูกจ�ำกัดเอาไว้ ผู้เขียนเรียกความเป็นไปได้เหล่านี้ ว่า “การต่อรองในชีวติ ประจ�ำวัน” ซึง่ สามารถทีจ่ ะน�ำไปสูล่ กั ษณะเชิงบุคคลและลักษณะเชิงพืน้ ทีซ่ งึ่ มี ความแตกต่างได้ 2.1 ความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและสถานที่ในเชิงการแสดงต่อเนื่อง (Performative Body-Place Relationships)

ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และพืน้ ทีใ่ นลักษณะผ่านภาพตัวแทนควรต้องได้รบั การศึกษาลงไป ในระดับของกรอบแนวคิดระหว่างร่างกายและสถานที่ที่ถูกวางไว้และด�ำรงอยู่ด้วย ทั้งนี้เพราะเป็น เสมือนตัวกลางในการถ่ายทอดแนวความคิดในระดับภาพตัวแทนลงมาสูส่ ถานการณ์ตา่ งๆ ทีด่ ำ� เนินไป ในที่นี้ผู้เขียนได้ใช้กรอบแนวคิด “การแสดงต่อเนื่อง” เข้ามาเชื่อมโยงกับการศึกษาเชิงพื้นที่ ทั้งนี้เพื่อ ให้เกิดความเข้าใจในรายละเอียดว่าความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายของเราและสถานที่ต่างๆ นั้นมี ลักษณะเป็นสิ่งประกอบสร้างที่ถูกผลิตและด�ำเนินไปในอย่างไร นอกจากนี้ ผู้เขียนยังได้ย้อนกลับไป ยังแนวคิด “พื้นที่ของความใกล้ชิด” ในการขยายประเด็น performativity ต่อไปยังการต่อรองสร้าง พื้นที่ดังกล่าวขึ้นในบริบทเมือง ลักษณะการแสดงต่อเนื่อง (performativity)

แนวคิดความเป็นการแสดงต่อเนือ่ งนีไ้ ด้รบั การพัฒนาอย่างมากในเพศสภาพศึกษา (Gender Studies) โดยเฉพาะงานของ Judith Butler โดยเป็นแนวคิดที่เผยให้เห็นถึงการประกอบสร้างทาง สังคมของอัตลักษณ์ทางเพศ Butler ได้อธิบายไว้ในหนังสือ Gender Trouble: Feminism and the Subversion of Identity ว่า “อิทธิพลจากการแบ่งเพศนั้นถูกผลิตผ่านกระบวนการสร้างรูปแบบ (stylization) ให้ร่างกายของเรา ดังนั้นเราควรเข้าใจว่านี่เป็นวิธีซึ่งท่าทางต่างๆ ของร่างกาย การ เคลื่อนไหว และรูปแบบอื่นๆ อีกมากมายได้สร้างให้เกิดภาพลวงตาของเพศสภาพที่เรายึดถืออยู่”10 อัตลักษณ์ทางเพศในทีน่ ไี้ ม่ได้หมายถึงทัง้ การแสดงออกตามธรรมชาติหรือการสวมบทบาท แต่หมาย ถึงอัตลักษณ์ทถี่ กู ก�ำหนดเป็นเพศสภาพตามวิถหี รือรูปแบบในการใช้รา่ งกายของเรา เช่น การแต่งกาย การเดิน การกิน และอื่นๆ โดยนอกจากเป็นการประกอบสร้างแล้วยังมีลักษณะของการผลิตซ�้ำไป เรือ่ ยๆ (iteration)11 แม้วา่ แนวคิดนีจ้ ะเกีย่ วข้องกับอัตลักษณ์ทางเพศเป็นหลัก ผูเ้ ขียนพบว่าเราสามารถ โยงกรอบของแนวคิดการแสดงต่อเนือ่ งนีใ้ ห้สมั พันธ์กบั กรอบแนวคิดเกีย่ วกับร่างกายของเราและความ เป็นสถานที่แบบต่างๆ ได้ โดยผู้เขียนจะได้อภิปรายแนวคิดที่เกี่ยวข้อง คือ ความสัมพันธ์ที่ถูกร่วม สร้างขึ้นโดยชุมชน ตามแนวคิด “Terrain of Belonging” ของ Anne-Marie Fortier และที่ถูกตีกรอบ ไว้โดยบุคคลหรือองค์กรซึ่งมีอำ� นาจ ซึ่งคือแนวคิด “Proper Place” ของ Michel de Certeau โดย ความสัมพันธ์ทั้ง 2 รูปแบบนี้ยังสามารถขยายไปในบริบทที่กว้างขึ้นได้ผ่านแนวคิด “Geographies of Exclusion” ของ David Sibley Pile and Thrift, eds., Mapping the Subject, 50, 374.

4

Heidi J. Nast and Steve Pile, “Introduction: Making Places Bodies,” in Places through the Body, eds. Heidi J. Nast and Steve Pile (London and New York: Routledge, 1998), 1.

5

Vittoria Di Palma, Diana Periton, and Marina Lathouri, eds., Intimate Metropolis: Urban Subjects in the Modern City (London and New York: Routledge, 2009).

6

อ้างแล้ว, 1

7

8

Henri Lefebvre, Rhythmanalysis: Space, Time and Everyday Life, trans. Stuart Elden and Gerald Moore (London and New York: Continuum, 2004).

9

Michel de Certeau, The Practice of Everyday Life, trans. Steven Rendall (Berkeley, Los Angeles, London: University of California Press, 1984), 97, 95, 93.

10

Judith Butler, Gender Trouble, Feminism and the Subversion of Identity, Routledge Classics ed. (New York and London: Routledge, 2006), 191.

11

Judith Butler, Bodies That Matter: On the Discursive Limits Of “Sex” (New York: Routledge, 1993), 95.

Bodies That Matter: On the Discursive Limits Of “Sex”, 12-16.

ควรต้องบันทึกไว้ดว้ ยว่า Butler ได้พฒ ั นาแนวคิด iterability มาจากแนวคิด citationality ของ Jacques Derrida. Butler,


อาณาบริเวณแห่งการเป็นส่วนหนึ่ง (Terrain of Belonging)

แนวคิดลักษณะการแสดงต่อเนือ่ งสามารถเชือ่ มโยงกับลักษณะสถานทีซ่ งึ่ ความเป็นส่วนหนึง่ ถูกก่อร่างผ่านกรอบการปฏิบัติร่างกายของเราในสถานที่นั้นๆ (bodily practices) โดยในบทความ Re-Membering Places and the Performance of Belonging(s)12 , นักสังคมศาสตร์ Anne-Marie Fortier ได้ท�ำการศึกษาประเพณีประจ�ำปีของชุมชนผู้มีเชื้อสายอิตาเลียนในกรุงลอนดอน ซึ่งเกิดขึ้น ในโบสถ์ St.Peter’s และบริเวณโดยรอบ โดยพบว่าการสวดมนต์ แต่งกายและการแสดงออกเชิง ร่างกายในสถานที่และในพื้นที่ชุมชนได้มีมิติมากกว่าการสืบสานทางวัฒนธรรม แต่เป็นการปฏิบัติ เชิงสัญญะ (signifying practice) ภายใต้กรอบของความเป็นการแสดงต่อเนือ่ งทีเ่ สริมลักษณะเชิงอัต บุคคลและยืนยันการเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน ซึ่งในกรณีศึกษาเฉพาะของ Fortier นี้หมายถึงประเด็น เพศสภาพชาย-หญิง และชาติพนั ธุข์ องสมาชิกในชุมชน ในทีน่ คี้ ำ� ว่า terrain of belonging ที่ Fortier ใช้ จึงมีความหมายทัง้ ในมิตทิ างสังคมและทางกายภาพ ตัวโบสถ์และอาณาบริเวณโดยรอบได้กลายเป็น พื้นที่ของชุมชนผ่านกรอบความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและสถานที่ ความเหมาะสมในสถานที่ (Proper Place)

ความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและสถานที่นั้นไม่ได้มีลักษณะของการก่อรูปจากล่างขึ้นบน เท่านั้น แต่ยังอาจเกิดจากการก�ำหนดไว้แบบบนลงล่างของมาตรการต่างๆ ที่เกิดขึ้นซ�้ำและต่อเนื่อง โดยนักปรัชญา Michel de Certeau มีแนวคิดว่า สถานทีแ่ ต่ละแห่งนัน้ อาจมีลกั ษณะเป็นสภาพแวดล้อม ที่ถูกควบคุมเอาไว้ ทั้งนี้เพราะอัตลักษณ์ของสถานที่และการด�ำเนินการต่างๆ ในสถานที่นั้นๆ อาจถูก ก�ำหนดไว้ดว้ ย “กลยุทธ์ (strategy)” ในการควบคุมให้มี “ความเหมาะสม (proper)”13 โดย De Certeau อธิบายเพิม่ เติมว่านีค่ อื การตีกรอบความเป็นเจ้าของในสถานทีห่ นึง่ ๆ ซึง่ รวมถึงการจัดการความสัมพันธ์ กับสิ่งต่างๆ ภายนอกด้วย14 ในทางหนึ่งนี่คือการสร้างพื้นที่ขึ้นตามประสงค์ของผู้มีอำ� นาจ เช่น การ เกิดขึ้นของแนวการปฏิบัติต่างๆ ที่สัมพันธ์กับโอกาสและสถานที่ ซึ่งในที่นี้อาจกล่าวได้ว่าผู้ที่มีส่วน ในการก�ำหนดความเหมาะสมของสถานที่ประกอบไปด้วย เจ้าหน้าที่รัฐ นักวางผัง เจ้าของธุรกิจ หรือ แม้แต่สถาปนิก ซึ่งมีบทบาทในการริเริ่ม ออกแบบ ควบคุม และสร้างภาพตัวแทนของพื้นที่ในขนาด ต่างๆ ตัง้ แต่หอ้ งๆ หนึง่ อาคารสถานที่ จนถึงงานวางผัง ประเด็นนีม้ คี วามเกีย่ วข้องกับแนวคิด performativity ของ Butler เพราะอาจเป็นการก�ำหนดรูปแบบผู้ใช้งานกลุ่มต่างๆ หรือกรอบแนวทางการ ปฏิบัติต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับร่างกายของผู้ใช้ ขณะเดียวกันก็เป็นการบริหารจัดการความเหมาะสมเชิง พื้นที่ไปพร้อมๆ กันด้วย ภูมิศาสตร์ของการกีดกัน (Geographies of Exclusion)

นอกเหนือจากความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและสถานทีด่ งั ทีไ่ ด้กล่าวมาข้างต้น ความสัมพันธ์ ดังกล่าวจ�ำต้องได้รับการกล่าวถึงในระดับของเมืองด้วย ในที่นี้ผู้เขียนพบว่าแนวคิด “ภูมิศาสตร์ของ การกีดกัน” ของนักภูมิศาสตร์มนุษย์ David Sibley มีศักยภาพที่จะเป็นกรอบในการมองถึงความ สัมพันธ์ระหว่างร่างกายและสถานทีใ่ นเชิงพืน้ ทีแ่ ละเครือข่ายทีม่ ขี นาดใหญ่ขนึ้ ได้15 โดย Sibley เชือ่ ว่า เราสามารถอ่านภูมทิ ศั น์ของเมืองและสังคมเป็นภูมทิ ศั น์ของการกีดกันได้ ซึง่ นีห่ มายถึงพืน้ ที่ สถานที่ อาณาบริเวณ หรือเครือข่ายต่างๆ อันมีเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์เฉพาะ ส่งผลให้คนบางกลุ่มเข้าถึงได้ หรือเป็นเจ้าของได้ ในขณะที่คนบางกลุ่มถูกกันออกไป แม้แนวคิดนี้จะยืนอยู่บนหลักการของทฤษฎี จิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis) ในการสะท้อนความแตกต่างระหว่างตนเองและผูอ้ นื่ (self and others) จนก่อให้เกิดการแบ่งแยกและกันออก เราสามารถพิจารณาการยกเว้นในทีน่ ผี้ า่ นกรอบการจ�ำแนกลักษณะ เชิงอัตบุคคลกลุ่มต่างๆ ซึ่งก่อร่างผ่านกรอบแนวคิดเชิงร่างกายตามแนวทางของ Butler ได้อีกด้วย เช่น เชื้อชาติ การแต่งกาย พิธีกรรม ฯลฯ นอกจากนี้สิ่งที่น่าสนใจในการศึกษาของ Sibley คือความ หลากหลายของขอบเขตพื้นที ่ ตั้งแต่ บ้าน ชุมชน จนถึงรัฐชาติ ซึ่งท�ำให้เห็นว่าภูมิศาสตร์ของการ กีดกันนั้นเกี่ยวข้องกับจุดตัดระหว่างร่างกายและสถานที่อย่างหลากหลาย 12

13

Anne-Marie Fortier, “Re-Membering Places and the Performance of Belonging(s),” in Performative and Belonging, ed. Vikki Bell (London, Thousand Oaks, and New Delhi: SAGE, 1999), 41-64. Michel de Certeau, The Practice of Everyday Life, trans. Steven Rendall (Berkeley, Los Angeles, London: University of California Press, 1984), xx, 36, 100.

14

อ้างแล้ว, 35-36.

15

David Sibley, Geographies of Exclusion (London and New York: Routledge, 1995).

78 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


การออกแบบสถาปัตยกรรมและเมืองมีสว่ นในการก�ำหนดความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและ สถานที ่ ในหัวข้อนี้ ผูเ้ ขียนได้ตรวจสอบรูปแบบต่างๆ ของความสัมพันธ์ดงั กล่าวทีถ่ กู ก่อรูปผ่านแนวคิด Terrain of Belonging, Proper Place และ Geographies of Exclusion โดยในสภาวะต่างๆ เหล่านี้ แนวคิดหรือแนวปฏิบตั เิ ชิงร่างกายและสถานทีไ่ ด้ถกู รักษาไว้และส่งอิทธิพลออกมาสูผ่ คู้ นและวิถชี วี ติ อย่างต่อเนือ่ ง จนเราอาจมองว่านีเ่ ป็นปรากฏการณ์ทเี่ ป็นสามัญและเป็นธรรมชาติ หรือเราอาจไม่เห็น ถึงความเป็นไปได้ในการตั้งค�ำถามกับชุดความสัมพันธ์เหล่านี้ 2.2 การประกอบสร้างใหม่ของความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและสถานที่ (Reconstructing Body-Place Relationships)

ความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและสถานที่ในฐานะสิ่งประกอบสร้างนั้นไม่ได้ด�ำรงอยู่ใน ลักษณะถาวรวัตถุ โดยในหัวข้อนี้ผู้เขียนได้ชี้ให้เห็นถึงโอกาสที่ซ่อนตัวอยู่ในกรอบของวาทกรรมที่ดู ผิวเผินแล้วไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ความเป็นไปได้นี้เกิดจากการพิจารณารูปแบบการใช้ชีวิต ประจ�ำวันทีห่ ลากหลายของผูใ้ ช้สอยสถาปัตยกรรม รวมถึงผูค้ นกลุม่ ต่างๆ ภายในบริบทเมือง โดยผูเ้ ขียน ยังได้ใช้แนวคิดการแสดงต่อเนื่อง หรือ performativity ของ Butler ในการเชื่อมโยงกับประเด็นพื้นที่ ของความใกล้ชดิ ทัง้ นีเ้ พือ่ เผยให้เห็นถึงช่องว่างในโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและสถานที่ ในมุมกลับกัน การโค่นล้มเชิงการแสดงต่อเนื่อง (performative subversions)

เมื่ออัตลักษณ์เป็นสิ่งประกอบสร้าง อัตลักษณ์จึงสามารถที่จะถูกรื้อถอนลงและสร้างขึ้นใหม่ ได้เช่นกัน โดย Butler ใช้ค�ำว่า “การโค่นล้มเชิงการแสดงต่อเนื่อง” ซึ่งรวมถึงค�ำว่า “การแสดงออก ของร่างกายเชิงการโค่นล้ม (subversive bodily acts)” ในการสื่อถึงการปฏิบัติการผ่านร่างกายที่มี เป้าหมายในการสัน่ คลอนกรอบอัตลักษณ์ ซึง่ ในมุมของ Butler คืออัตลักษณ์ทางเพศและระบบสองเพศ ที่ถูกวางไว้16 แม้ค�ำว่า subversion จะมีความหมายในเชิงขบถรุนแรง ผู้เขียนมองว่าเป็นแนวคิดที่มี ศักยภาพในการตรวจสอบโอกาสการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและสถานที่ เพราะ ไม่ได้เป็นแนวคิดทีน่ ำ� เอาสิง่ ใหม่เข้ามาซ้อนทับลงไป แต่เป็นกลยุทธ์ในการเปลีย่ นแปลงความสัมพันธ์ ผ่านองค์ประกอบ โครงสร้าง และกระบวนการทีถ่ กู วางไว้เดิม ในทีน่ ผี้ เู้ ขียนจะได้ยอ้ นกลับไปพิจารณา ถึงแนวความคิดเชิงพื้นที่ทั้ง 3 แนวคิดที่ได้กล่าวไว้เบื้องต้นร่วมกับประเด็นการต่อรองสร้างพื้นที่แห่ง ความใกล้ชดิ โดยน�ำไปสูค่ วามเป็นไปได้ในการท้าทายกรอบความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและสถานที่ อันถูกสถาปนาไว้เดิม อาณาบริเวณของการเป็นส่วนหนึ่งอันหลากหลาย (Terrain of Belonging(s))

แม้ว่าความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งกับชุมชนหรือความใกล้ชิดกับสถานที่อาจเกิดจากกิจกรรมและ การปฏิบัติร่างกายของเราตามกรอบที่ถูกวางไว้ในเบื้องต้น Fortier ชี้ว่าจริงๆ แล้วอาจปรากฏซึ่ง รูปแบบอันแตกต่างในความเป็นส่วนหนึ่งนั้น โดยได้ใช้ค�ำว่า “การเป็นส่วนหนึ่งอันหลากหลาย (belonging(s))” ซึ่งเป็นรูปพหูพจน์ในการแสดงนัยยะดังกล่าวเอาไว้ Fortier ได้กล่าวถึงโบสถ์ St.Peter’s ในกรุงลอนดอนว่าเป็น “สถานทีแ่ ห่งการก่อร่างความเป็นสมาชิก (place of re-membering)” ซึ่งรวมถึงความขัดแย้งระหว่างวิถีปฏิบัติในแบบที่เป็นของชุมชน (communal body) และแบบที่ต่าง ออกไปตามรายบุคคล (individual bodies)17 เมือ่ ผนวกประเด็นนีเ้ ข้ากับแนวคิด performative subversions ของ Butler แล้ว กิจกรรมต่างๆ เช่น การแต่งตัว การวางท่าทาง การสวดมนต์ หรือการกระท�ำอืน่ ๆ แม้จะ ถูกแสดงออกมาให้มคี วามแตกต่างจากแบบแผนเพียงเล็กน้อยก็หมายถึงความสัมพันธ์ระหว่างร่างกาย และสถานทีร่ วมทัง้ ความรูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ ซึง่ มีพลวัตมากขึน้ ซึง่ อาจกล่าวได้วา่ นีเ่ ป็นกระบวนการสร้างความ แตกต่างแก่ลักษณะเชิงอัตบุคคลและลักษณะเชิงพื้นที่ด้วย Judith Butler, Gender Trouble, Feminism and the Subversion of Identity, Routledge Classics ed. (New York and London: Routledge, 2006), 175, 187-189, 192-193.

16

17

Anne-Marie Fortier, “Re-Membering Places and the Performance of Belonging(s),” in Performative and Belonging, ed. Vikki Bell (London, Thousand Oaks, and New Delhi: SAGE, 1999), 59.

79 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


สถานที่ผ่านการปฏิบัติ (Practiced Place)

ตามความคิดของ De Certeau อัตลักษณ์ของสถานทีซ่ งึ่ ถูกสถาปนาและถูกควบคุมไว้อาจได้รบั การเปลีย่ นแปลงผ่านการใช้งานจริงหรือการสร้างสรรค์ในชีวติ ประจ�ำวัน ซึง่ เรียกว่า “ยุทธวิธตี า่ งๆ ของ การปฏิบตั ิ (tactics of practice)” เขากล่าวว่า ยุทธศาสตร์ตา่ งๆ เป็นสิง่ ทีค่ วบคุมความเหมาะสมและ แสดงความเป็นเจ้าของเหนือสถานที่ อย่างไรก็ตาม เขาก็เน้นด้วยว่า “ยุทธวิธีต่างๆ (tactics)” เป็นสิ่ง ทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ ชิงพืน้ ที่ (space)18 และสามารถถูกใช้หรือแสดงออกโดยทีไ่ ม่ได้เป็นเจ้าของสถานทีน่ นั้ ๆ เพราะยุทธวิธีเป็นสิ่งที่ด�ำเนินไปโดยอิงกับมิติเวลา มีความยืดหยุ่น และอาจไม่เป็นไปตามกรอบที่ผู้มี อ�ำนาจหน้าที่ได้ก�ำหนดไว้ ไม่ว่าจะเป็นเจ้าของโครงการ สถาปนิก หรือผู้บริหารอาคารก็ตาม De Certeau ยกตัวอย่างจากกิจกรรมที่ธรรมดาสามัญอย่างการเดิน โดยการเดินไปในสถานที่ต่างๆ ในเมืองอาจจะเป็นไปตามระบบระเบียบทีถ่ กู วางไว้ หรืออาจจะเกิดกฎหรือความเป็นไปได้ใหม่ๆ ตาม การตัดสินใจ “เลือก” ของผู้เดิน19 ตามตัวอย่างนี้ ความหมายที่เหมาะควร (proper meaning) และ พื้นที่เรขาคณิต (geometric space) ก็ไม่มีลักษณะที่ตายตัวเพราะกลายรูปเป็น practiced place หรือสถานทีซ่ งึ่ คุณสมบัตเิ ปลีย่ นไปตามการใช้สอย การสร้างพืน้ ทีข่ องความใกล้ชดิ ด้วยวิธตี า่ งๆ อาทิ การใช้พนื้ ทีบ่ นั ไดหนีไฟในการสวดมนต์ของชาวมุสลิม การใช้พนื้ ทีห่ วงห้ามโดยกลุม่ ผูเ้ ล่นเสก็ตบอร์ด หรือการย้ายจุดขายสินค้าไปมาของหาบเร่ จัดอยูใ่ นขอบข่ายนีเ้ ช่นกัน ในทางนี้ เราอาจเปรียบแนวคิด ของ De Certeau ได้กบั แนวคิด performative subversions ของ Butler เพราะนักคิดทัง้ สองคนได้กล่าว ถึงกิจกรรมที่เกิดขึ้นโดยมีร่างกายเป็นตัวกลาง20 นอกจากนี้ทั้งคู่ยังกล่าวถึงการสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างร่างกายและสถานที่แบบใหม่ผ่านการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ชุดเดิม ภูมิศาสตร์ของการรวมเข้า (Geographies of Inclusion)

David Sibley กล่าวว่าสภาพแวดล้อมทีถ่ กู สร้างขึน้ รอบๆ ตัวเรา อาจแฝงไว้ทงั้ แนวคิดของการ กันออก (exclusion) และการรวมเข้า (inclusion)21 ในด้านหนึง่ นีห่ มายถึงกรอบความสัมพันธ์ระหว่าง ร่างกายและสถานทีซ่ งึ่ ถูกควบคุมไว้โดยผูม้ อี ำ� นาจจนก่อให้เกิดการปฏิเสธความสัมพันธ์ทหี่ ลากหลาย ระหว่างทั้งสองสิ่งนี้ และน�ำไปสู่การกีดกันการเข้าถึงสถานที่โดยกลุ่มบุคคลซึ่งไม่ได้ถูกค�ำนึงถึงไว้ ตัง้ แต่แรก ในอีกด้านหนึง่ เราจ�ำเป็นต้องวิเคราะห์ถงึ ความเป็นไปได้ในการท้าทายกรอบความสัมพันธ์ แบบนี้ผ่านการต่อรองจากกลุ่มคนที่ถูกยกเว้นเอาไว้ เช่นเดียวกับเครือข่ายของพื้นที่แห่งการกีดกันที่ อาจเกิดขึ้นได้ในขนาดต่างๆ ตั้งแต่พื้นที่ของเก้าอื้หนึ่งตัวจนถึงเขตแดนระหว่างประเทศ พื้นที่ซึ่งถูก ก่อร่างเพือ่ สร้างความใกล้ชดิ ให้เกิดขึน้ หรือเพือ่ ต่อรองกับการกีดกันออก ก็มคี วามหลากหลายของทัง้ รูปแบบการแสดงออกเช่นกัน และในความเกี่ยวข้องกับแนวคิด performative subversions ของ Butler เราพิจารณาถึงต�ำแหน่งกิจกรรมเชิงการต่อรองที่เกิดขึ้นในพื้นที่เมือง ซึ่งเราอาจพบรูปแบบ เครือข่ายที่ซ่อนตัวอยู่ และอาจกลายเป็นโครงข่ายเชิงภูมิศาสตร์ของการสร้างพื้นที่การรวมเข้าไว้ ที่ซ้อนทับกับพื้นที่ของการกันออกอย่างมีนัยยะส�ำคัญ ในหัวข้อนี้ ผูเ้ ขียนได้ชถี้ งึ ความเป็นไปได้ตา่ งๆ ทีก่ รอบความเข้าใจแบบตายตัวระหว่างร่างกาย และสถานทีจ่ ะถูกท้าทายและเปลีย่ นแปลงได้ ทงั้ นีเ้ มือ่ เราเข้าใจโครงสร้างของการแสดงต่อเนือ่ งของ หลักการบางอย่าง เมือ่ นัน้ เราจะสามารถสัน่ คลอนแนวคิดนัน้ ได้ดว้ ยการปรับเปลีย่ นความสัมพันธ์เชิง โครงสร้างชุดเดิม การประกอบสร้างใหม่ของความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและสถานที่ ผ่าน กระบวนการซึง่ ท�ำให้เกิดความหลากหลายในรูปแบบของการเป็นส่วนหนึง่ การปฏิบตั กิ ารเชิงยุทธวิธี และการรวมเข้าไว้ ได้สะท้อนถึงกระบวนการก่อร่างของตัวตนผ่านการต่อรองเชิงพื้นที่ซึ่งไม่สามารถ ถูกน�ำเสนอเป็นภาพตัวแทนได้ง่ายดายนัก

18

19

20

De Certeau, The Practice of Everyday Life, 37.

อ้างแล้ว, 98. อ้างแล้ว, XIX.

Sibley, Geographies of Exclusion, XI.

21

80 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


3. กรณีศึกษา: Lumen United Reformed Church Lumen URC เป็นโบสถ์หลังหนึง่ ในย่าน Bloomsbury ของกรุงลอนดอน ซึง่ ได้รบั การปรับปรุงใหม่ และถือเป็นตัวอย่างของงานสถาปัตยกรรมที่รองรับซึ่งความหลากหลายของผู้คนและการใช้ชีวิต ลักษณะที่เอื้อเฟื้อนี้มีความแตกต่างจากกรอบลักษณะเชิงอัตบุคคลและลักษณะเชิงพื้นที่ของความ เป็นศาสนสถานซึ่งถูกสถาปนาขึ้นแต่อดีต ในเชิงประวัติศาสตร์สังคม เราสามารถศึกษาเรื่องราวอัน ยาวนานของโบสถ์หลังนี้ได้ตั้งแต่ ค.ศ. 182722 โดยเป็นโบสถ์ที่จัดตั้งขึ้นภายใต้ Church of Scotland ส�ำหรับชาวสก็อตที่เข้ามาท�ำงานและอยู่อาศัยในลอนดอน อย่างไรก็ตาม ในทางสถาปัตยกรรม จุด เปลี่ยนส�ำคัญเกิดขึ้นเมื่อตัวอาคารในรูปแบบสถาปัตยกรรมโกธิคได้รับความเสียหายอย่างหนักจาก การทิง้ ระเบิดในช่วงปลายสงครามโลกครัง้ ที่ 2 และได้รบั การสร้างขึน้ อีกครัง้ ด้วยรูปแบบสถาปัตยกรรม สมัยใหม่ในปี 1965 โดยรองรับชาวคริสเตียนหลากกลุ่มมากขึ้น แม้พื้นที่ภายในโบสถ์จะมีความ เรียบง่ายของโครงสร้างและการตกแต่ง องค์ประกอบต่างๆ ของการใช้สอยภายในยังได้รับการ จัดเตรียมและแสดงออกถึงพื้นที่แห่งพิธีกรรมที่สืบเนื่องมาอย่างชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นไม้กางเขน ธรรมาสน์ แท่นบูชา แถวเก้าอี้ไม้ขนาดใหญ่ และอื่นๆ ขณะเดียวกัน รูปลักษณ์ภายนอกก็ดูหนักและ ทึบตันน่าเกรงขาม อาจกล่าวได้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและสถานที่ถูกสร้างขึ้นตามกรอบ ทางศาสนาอย่างเข้มแข็ง

ภาพที่ 2-3 : สถาปัตยกรรมดั้งเดิมของโบสถ์ในรูปแบบโกธิค ที่มา : โดยความอนุเคราะห์จาก Lumen URC และ Theis and Khan Architects

22

De Certeau, The Practice of Everyday Life, 37.

81 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ภาพที่ 4-5 : สถาปัตยกรรมสมัยใหม่นิยมของโบสถ์ที่ก่อสร้างแล้วเสร็จในปี ค.ศ. 1965 ที่มา : โดยความอนุเคราะห์จาก Theis and Khan Architects และ Lumen URC)

ภาพที่ 6: โครงสร้างรูปทรงโคน ‘ช่องแห่งแสง’ เป็นองค์ประกอบสำ�คัญในการปรับปรุงอาคาร ที่มา : ภาพถ่ายโดย Nick Kane

82 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


เมือ่ ก้าวสูศ่ ตวรรษที่ 21 จุดเปลีย่ นส�ำคัญได้เกิดขึน้ อีกครัง้ เมือ่ คณะกรรมการของโบสถ์ตดั สินใจ ทีจ่ ะท�ำการปรับบทบาทของโบสถ์และอาคารสถานทีใ่ ห้สอดคล้องกับบริบททีเ่ ปลีย่ นไปทัง้ ในด้านสังคม และเศรษฐกิจ แนวคิดนี้มีความสอดคล้องอย่างยิ่งกับความเปลี่ยนแปลงของพื้นที่โดยรอบ ซึ่งไม่ได้ เป็นย่านชานเมืองที่มีเฉพาะคนอังกฤษหรือสก็อตแลนด์อยู่อาศัยเช่นในอดีต โดยเป็นย่านศูนย์กลาง การศึกษาทีแ่ วดล้อมไปด้วยมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาต่างๆ มากมาย มีนกั ศึกษาหลากเชือ้ ชาติจากทั่วโลกเข้ามาเรียนและอาศัยอยู่ นอกจากนี้ในพื้นที่รอบๆ โบสถ์ยังมีชุมชนผู้อพยพอาศัยอยู่ ไม่นอ้ ย ขณะเดียวกันก็เป็นพืน้ ทีซ่ งึ่ ใกล้กบั สถานีรถไฟขนาดใหญ่อย่าง St. Pancras และ King’s Cross ที่ก�ำลังถูกพัฒนาพื้นที่โดยรอบให้เป็นศูนย์กลางธุรกิจระดับโลกแห่งใหม่ ภายใต้บริบทเหล่านี้ผู้ท่ีเข้า มารับหน้าทีก่ ารออกแบบเชิงกายภาพให้กบั ตัวโบสถ์คอื ส�ำนักงานสถาปนิก Theis and Khan Architects โดยมีโจทย์สำ� คัญคือการต้อนรับผูค้ นทุกกลุม่ และทุกความเชือ่ ให้เข้ามาใช้งานในลักษณะศูนย์ชมุ ชน ขณะเดียวกันพื้นที่ก็ต้องมีความยืดหยุ่นในการรองรับกิจกรรมต่างๆ เพื่อสร้างรายได้ ซึ่งในปี ค.ศ. 2009 โบสถ์ Regent Square Presbyterian Church แห่งนี้ก็ได้เปิดใช้งานอีกครั้งภายใต้ชื่อใหม่ว่า Lumen URC

ภาพที่ 7 : ผังพื้นชั้นล่างของโบสถ์ ที่มา : โดยความอนุเคราะห์จาก Theis and Khan Architects

แนวคิดหลักของ Patrick Theis และ Soraya Khan ในการปรับปรุงอาคารคือการสร้างพื้นที่ ซึง่ มีความเป็นกลาง (neutral spaces) ในการรองรับผูค้ นทีห่ ลากหลาย23 โดยนอกเหนือจากการสร้าง กล่องกระจกเป็นส่วนต้อนรับที่ด้านหน้า การท�ำทางเข้าใหม่รองรับคนพิการ การย้ายแผงกระจกสีไป ด้านในแล้วแทนที่ด้วยกระจกใส การวางร้านกาแฟเป็นพื้นที่ดึงดูดผู้คน การใช้เฟอร์นิเจอร์ลอยตัว ในบริเวณท�ำพิธีเพื่อความยืดหยุ่นในการจัดพื้นที่ การเชิญศิลปินเข้ามาติดตั้งงานศิลปะ การท�ำทาง เดินให้เป็นพืน้ ทีจ่ ดั นิทรรศการไปพร้อมกัน การเตรียมห้องเอนกประสงค์ไว้ 2 ห้อง และการแทนทีพ่ นื้ ที่ จอดรถด้านหลังด้วยสวนแล้ว สิ่งที่น่าสนใจที่สุดในการปรับเปลี่ยนอาคารหลังเดิมคือรูปทรงกรวย เอียงสีขาวขนาดใหญ่ซงึ่ สถาปนิกบรรจุลงไปกลางโบสถ์ องค์ประกอบกึง่ ประติมากรรมทีส่ งู จรดเพดานนี้ ไม่ใช่รูปทรงตัน เพราะภายในเป็นห้องที่มีปริมาตรค่อยๆ สอบขึ้นไปสู่ช่องแสงที่อยู่เหนือขึ้นไปราว 11 เมตร สถาปนิกเรียกว่าพื้นที่ส่วนนี้ว่า “ช่องแห่งแสง (Shaft of Light)” โดยท�ำหน้าที่เป็นตัวกลาง ทีแ่ บ่งพืน้ ทีส่ ว่ นพิธกี รรม (congregation space) และพืน้ ทีก่ งึ่ สาธารณะของคาเฟ่ออกจากกัน ในขณะ เดียวกันก็เป็นพื้นที่ของความใกล้ชิดเล็กๆ ที่เกิดขึ้นในบริบทของเมืองใหญ่ การปรับปรุงอาคารหลังนี้ ได้รับรางวัลชนะเลิศจาก Royal Institute of British Architects (RIBA) เมื่อ ค.ศ. 200924 Lumen United Reformed Church by Theis and Khan Architects, 2008, in, www.dezeen.com/2008/12/12/lumen-united-reformed-church-by-theis-and-khan-architects/ (accessed 2017)

23

24

Lumen URC, 2008, in, www.theisandkhan.com/project/lumen-urc/ (accessed 2017)


ภาพที่ 8-10 : Shaft of Light ภายในโบสถ์ ที่มา : ภาพถ่ายโดย Nick Kane

การแทรกพื้นที่ Shaft of Light ส่วนนี้ลงไปในพื้นที่โบสถ์ได้กลายเป็นองค์ประกอบที่ท้าทาย พืน้ ทีเ่ ชิงสถาบันแบบเดิม ในทีน่ คี้ อื สถาปัตยกรรมทางศาสนาแบบใหม่ซงึ่ กรอบความสัมพันธ์ระหว่าง ร่างกายและสถานที่แบบเดิมได้ถูกเปลี่ยนแปลงไป แม้บางครั้งสถาปนิกจะเรียกพื้นที่ส่วนนี้ว่าเป็น พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ แต่ก็เป็นพื้นที่ซึ่งปราศจากสัญลักษณ์ทางศาสนา ตัวโบสถ์เองนั้นได้เรียกพื้นที่นี้ต่าง ออกไปอย่างมีนัยยะส�ำคัญว่า “พื้นที่แห่งความเงียบ (Quiet Space)” ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นพื้นที่ซึ่งด�ำรง อยู่อย่างค่อนข้างเป็นกลางและขึ้นอยู่กับการใช้งานของผู้คน โดยไม่จ�ำเป็นต้องเกี่ยวกับประเด็นทาง ศาสนา ในการเป็นผูใ้ ช้งานอาคารหลังนี ้ ผเู้ ขียนพบว่าพืน้ ทีน่ มี้ กี ารใช้งานค่อนข้างหลากหลาย ตงั้ แต่ การเป็นพื้นที่นั่งพักผ่อน การเป็นพื้นที่นอนดูความเปลี่ยนแปลงของแสง การเป็นพื้นที่ท�ำสมาธิ การ เป็นพื้นที่สวดมนต์ของผู้คนต่างศาสนาในชุมชน หรือแม้แต่การเป็นพื้นที่ซึ่งแม่สามารถให้นมลูก เมื่อ ชุดความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและสถานที่แบบเดิมได้ถูกตัดต่อหรือเปลี่ยนแปลงอย่างมีชั้นเชิงให้ เอื้อต่อการแทรกความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและสถานที่แบบใหม่ๆ ลงไป อาจกล่าวได้ว่าโบสถ์ Lumen URC ได้กลายเป็นสถานที่ซึ่งรองรับการต่อรองเชิงพื้นที่และการก่อร่างเชิงอัตบุคคลได้อย่าง ยืดหยุ่นและเปิดกว้าง บทสรุป ลักษณะเชิงอัตบุคคลและลักษณะเชิงพืน้ ทีอ่ นั ถูกสถาปนาขึน้ ผ่าน “ภาพตัวแทนต่างๆ” นัน้ ไม่ได้ เป็นเพียงสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างไม่เป็นธรรมชาติแต่ยังด�ำรงอยู่อย่างจ�ำกัด ผู้เขียนพบว่าเราสามารถตั้ง ค�ำถามต่อแนวคิดหรือโครงการที่เป็นภาพตัวแทนผ่านการตรวจสอบความเชื่อมโยงระหว่างร่างกาย และสถานที ่ โดยประยุกต์แนวคิด “ความเป็นการแสดงต่อเนือ่ ง” ในการส�ำรวจและวิเคราะห์โครงสร้าง ความสัมพันธ์ดังกล่าว ผู้เขียนได้ศึกษาว่ากรอบความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและสถานที่ได้ถูก “ประกอบสร้างขึน้ ” อย่างไร และอาจเกิดการ “ต่อรอง” ในการสร้าง “พืน้ ทีข่ องความใกล้ชดิ ” ได้อย่างไรบ้าง ในการประยุกต์ใช้การศึกษานี ้ ผเู้ ขียนเสนอว่าความเกีย่ วเนือ่ งในเชิงการแสดงต่อเนือ่ งระหว่างร่างกาย และสถานทีน่ นั้ เป็นหนึง่ ในกรอบความคิดทีม่ ศี กั ยภาพในการใช้วเิ คราะห์สภาพแวดล้อม ไม่วา่ จะเป็น ในด้านการออกแบบภายใน งานสถาปัตยกรรม งานภูมิสถาปัตยกรรม และการออกแบบชุมชนเมือง โดยช่วยเผยให้เห็นมิติทางสังคมและการเมืองที่แฝงเป็นส่วนส�ำคัญในการค้นคว้าและรังสรรค์ สภาพแวดล้อมของสถาปนิก เราสามารถมองเห็นปัจเจกบุคคลหรือกลุม่ บุคคลทีม่ วี ถิ ปี ฏิบตั ทิ อี่ ยูน่ อก ความเข้าใจที่คลุมเครือของค�ำว่า “ลูกค้า” “ผู้ใช้งาน” “ชุมชน” หรือ “ประชาชน” และเราจะเห็นโอกาส ในการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมและเมืองอันอยู่นอกเหนือค�ำว่า “พื้นที่ขาย” “พื้นที่ใช้สอย” หรือ “พืน้ ทีส่ าธารณะ” ทีเ่ ราคุน้ เคย ความเป็นไปได้ทเี่ ฉพาะเจาะจงเหล่านีเ้ ป็นกระบวนการอันอยูน่ อกเหนือ การสร้างภาพตัวแทนที่ตายตัวใดๆ

84 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


เอกสารอ้างอิง Judith Butler, Bodies That Matter: On the Discursive Limits Of “Sex” (New York: Routledge, 1993). ———, Gender Trouble, Feminism and the Subversion of Identity, Routledge Classics ed (New York and London:

Routledge, 2006).

Michel de Certeau, The Practice of Everyday Life, Translated by Steven Rendall (Berkeley, Los Angeles, London: University

of California Press, 1984).

Anne-Marie Fortier, “Re-Membering Places and the Performance of Belonging(S),” in Performative and Belonging, ed.

Vikki Bell (London, Thousand Oaks, and New Delhi: SAGE, 1999), 41-64.

Michel Foucault, “Space, Knowledge, and Power,” Interview with Paul Rabinow,” in Architecture Theory since 1968, ed.

and New York: Continuum, 2004).

Lumen A Source for All, 2008, in, https://www.lumenurc.org.uk/index.htm (accessed 2017) Lumen URC, 2008, in, www.theisandkhan.com/project/lumen-urc/ (accessed 2017) Lumen United Reformed Church by Theis and Khan Architects, 2008, in, www.dezeen.com/2008/12/12/lumen-united-

reformed-church-by-theis-and-khan-architects/ (accessed 2017)

Heidi J. Nast and Steve Pile, ed. Places through the Body (London and New York: Routledge, 1998). Vittoria Di Palma, Diana Periton, and Marina Lathouri, eds., Intimate Metropolis: Urban Subjects in the Modern City

Patrick H. Hutton Luther H. Martin (London: Tavistock, 1988), 16-49.

Henri Lefebvre, Rhythmanalysis: Space, Time and Everyday Life, Translated by Stuart Elden and Gerald Moore (London

K. Michael Hays (Massachusetts, London: The MIT Press, 2002), 428-439.

———, “Technologies of the Self,” in Technologies of the Self: A Seminar with Michel Foucault ed. Huck Gutman and

(London and New York: Routledge, 2009).

Steve Pile and Nigel Thrift, ed. Mapping the Subject (London and New York: Routledge, 1995). David Sibley, Geographies of Exclusion (London and New York: Routledge, 1995).

85 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


Body in Place:

A Theoretical Investigation on Conceptual Construction and Everyday Negotiation Winyu Ardrugsa, Ph.D.

Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University | ardrugsa@ap.tu.ac.th

Abstract

Constructed relationships between humans and spaces are not fixed structures. We can create new patterns through

investigating and transforming an established relationship. This article discusses theoretical connections between ‘body’ and ‘place’ through Judith Butler’s concept of ‘performativity’. The issue of ‘urban intimacy’ is specifically taken to expand the study to other relevant concepts proposed by Anne-Marie Fortier, Michel de Certeau and David Sibley. The discussion is divided into two stages which are ‘construction’ and ‘negotiation’ to reveal limitations and opportunities that lie within these concepts. In addition, Lumen United Reformed Church in London is studied as an architectural case of openness considering users and flexibility. The architecture reflects possibilities to reconstruct body-place relationships that are different from familiar conceptions. This ultimately means an opportunity to discover and understand diverse forms of subjectivity and spatiality which exist out of any representational frame.

Keywords: Representation, Performativity, Urban Intimacy, Subject, Space, Body, Place

Introduction

[Architecture] is not only considered as an element

‘domination’ and ‘negotiation’ would also allow us to under-

in space, but is especially thought of as a plunge into

stand that forms of spatiality and subjectivity are not funda-

a field of social relations’ in which it brings about

some specific effects Michel Foucault.

1

mentally given and cannot be completely conceptualized through representations. In this article, the conditions are investigated through the performative relationship between

To shape the built environment is to shape relationships

body and place to seek for possibilities of alteration and to

between humans and spaces. Through various forms of

pave ways towards a diverse understanding of subjectivity and

conceptualization and representation, we try to prescribe such

spatiality.

relationships. It is nevertheless a particular act of control placed on ways of life which architects and people in power might have not thought deeply about. In the interview Space, Knowledge and Power quoted above, the philosopher Michel

1. The Relationships between ‘Body’ and ‘Place’

Foucault states the necessity that architecture be considered

in relation to context and social factors. He rejects the

that forms of subjectivity and spatiality are established through

ontological nature of things while emphasizing the excavation

relationships between body and place. There are also other

of discursive formations of various influences. In connection

researches which expand such finding in specific aspects and

with architecture and the city, such approach can lead to

cases. The book Mapping the Subjects: Geographies of

specific understandings of social and political dimensions of

Cultural Transformation edited by Steve Pile and Nigel Thrift

the built environment. Foucault suggests that we can discover

investigates relationships between the subject and space

relationships between design projects and power relations in

through “different practices of body” and “different places –

parallel to investigating spatial practices of the subject or

performed space”.4 Following on this, Places through the Body,

social groups. Moreover the study of relevant conditions of

by editors Heidi J. Nast and Steve Pile, interestingly argues that

2

3

In Foucault’s studies on social institutions, we found

Foucault, “”Space, Knowledge, and Power,” Interview with Paul Rabinow”, 437-438. Ibid. 3 Michel Foucault, “About the Beginnings of the Hermeneutics of the Self: Two Lectures at Dartmouth,” in Self and Subjectivity, ed. Kim Atkins (Oxford: Blackwell Publishing, 2005), 214., See Michel Foucault, “Technologies of the Self,” in Technologies of the Self: A Seminar with Michel Foucault eds. Huck Gutman and Patrick H. Hutton Luther H. Martin (London: Tavistock, 1988), 18. 4 Pile and Thrift, eds., Mapping the Subject, 50, 374. 1 2


“bodies and places need to be freed from the logic that says

place connections of different perspectives, scales, and

that they are either universal or unique. Instead, it would be

practices will be brought forward.

better to think of the ways in which bodies and places are understood, how they are made and how they are interrelated, one to the other – because this is how we live our lives – through places and through the body.”5 The book presents a variety

2. Conceptual Construction and Everyday Negotiation

of critical case studies including a house, museum, gym and

even the harem.

explain their understandings of things. This includes their

Human beings always use ‘representation’ to frame and

understandings of forms of subjectivity and spatiality. This

In addition to the list, Intimate Metropolis: Urban

‘representation’ however does not merely mean a form of

Subjects in the Modern City edited by Vittoria Di Palma,

visual arts even we can interpret forms of subjectivity and

Diana Periton and Marina Lathouri is another book that

spatiality through produced artworks. Representations in fact

compiles articles on the diverse relationships between people

are ‘conceptual constructions’ formed through various processes

6

and place but focuses more specifically on ‘urban intimacy’.

and exist between humans and things. In return, these repre-

It explains the intimate condition “in conjunction with objects

sentations play different roles and have different effects on our

and ideas that are held close – ones that are worn next to the

life. Some sets of representations may be strongly established

skin, or that lie within the recesses of the mind or heart. But

and be difficult to alter. Nevertheless, no representations can

it also implies an unveiling of the self, a sharing of hopes and

completely substitute the complexity of everyday life that

fears with a selected few. Something intimate is not restricted

constantly changes in the urban context. Moreover, represen-

to a single person; the word connotes instead of a community,

tations can be challenged by possibilities of using our body to

a republic of initiates who are brought together by their

intervene and alter given concepts of place. I suggest that these

common participation in rare and selective acts.” For

possibilities are understood as ‘everyday negotiation’ which

‘Metropolis’, this refers specifically to the modern configuration

can lead to differentiation of forms of subjectivity and spatiality.

of the city “conceptualized as a continuously growing agglomeration of people, rather than as an abstract political entity, or as a static object rigidly demarcated and defined by

2.1 Performative Body-Place Relationships

walls.”7 To bridge the issue of intimacy with that of urbanity

is to create a specific intersection. Here, ‘spatiality of intimacy’

spaces should be studied further towards the relationship

is used as lenses to investigate the complex relationship

between body and place that is provided and continued. Body-

between body and place.

place interplay can be considered a medium that transfers

Any representational relationship between humans and

representational concepts to actual situations. In this article,

The relationship models of subject-space and body-

I make connections between the notion of ‘performativity’ and

place seems to relate to each other in a straightforward manner.

spatial investigation. The purpose is to obtain a detailed

Because the body and place are tangible elements containing

understanding in the construction and operation of relation-

both materiality and signification, they support the formations

ships between body and place

of subjectivity and spatiality. However, the study of the relationships is indeed complex as this touches not only on the conceptual or representational level but also actual

‘Performativity’

elements which involve our bodily features and place’s designs.

Following Foucault’s emphasis on ‘practice’, it can be said that

developed in the field of Gender Studies, particularly in the

‘city space’ and ‘everyday life’ are important settings to study

works of Judith Butler. It is a concept which exposes sexual

such relationships. In this aspect, seminal writings that discuss

identity as a social construct. Butler explains in Gender Trouble:

intersections between the urban and the quotidian are

Feminism and the Subversion of Identity that “the effect of

Rhythmanalysis by Henri Lefebvre and the Practice of

gender is produced through the stylization of the body and,

Everyday Life by Michel De Certeau. In what follows, body-

hence, must be understood as the mundane way in which

8

9

5 6 7 8 9

The concept of performativity has been significantly

Heidi J. Nast and Steve Pile, “Introduction: Making Places Bodies,” in Places through the Body, eds. Heidi J. Nast and Steve Pile (London and New York: Routledge, 1998), 1. Vittoria Di Palma, Diana Periton, and Marina Lathouri, eds., Intimate Metropolis: Urban Subjects in the Modern City (London and New York: Routledge, 2009). Ibid., 1 Henri Lefebvre, Rhythmanalysis: Space, Time and Everyday Life, trans. Stuart Elden and Gerald Moore (London and New York: Continuum, 2004). Michel de Certeau, The Practice of Everyday Life, trans. Steven Rendall (Berkeley, Los Angeles, London: University of California Press, 1984), 97, 95, 93.


bodily gestures, movements, and styles of various kinds

governmental officers, planners, developers or even architects,

constitute the illusion of an abiding gendered self”. Here, sexual

take parts in controlling propriety in place. They are respon-

identity means neither natural expression nor role-play but

sible for inception, design, control and creation of represen-

identity as prescribed through the ways we practice our body

tation of places at various scales, from room to building and

such as dressing, walking, eating, etc. It must be understood

master planning. This issue is partly related to Butler’s concept

that this form of construct is sustained through the process of

of performativity as the processes involve not only the desig-

iteration. Although the concept of performativity is chiefly

nation of user groups but also the provision of code of users’

related to sexual identity, it can be used in relation to other

bodily practices. At the same time, it is a management of fa-

concepts on body and place. Here, I discuss the body-place

cilities to ensure spatial propriety.

10

11

relationship as constituted by community through the concept ‘Terrain of Belonging’ by Anne-Marie Fortier and the relationship as framed by authority through the notion ‘Proper Place’ by Michel de Certeau. These two ideas can be related to a broader context through the discussion of ‘Geographies of

‘Geographies of Exclusion’

Besides the body-place relationship discussed at the

level of specific locations above, the relationship should be discussed further in relation to the city. In this regard, the

Exclusion’ by David Sibley.

notion ‘geographies of exclusion’, studied by the human

‘Terrain of Belonging’

to observe the relationship between body and place in larger

Butler’s performativity can be expanded to understand

spaces and networks.15 Sibley believes that “the human land-

place where its identity and people’s senses of belonging are

scape can be read as a landscape of exclusion”. This means

formulated through bodily practices. In the article ReMembering

specific locations, places, territories or networks which are

Places and the Performance of Belonging(s) , sociologist

established and operated under specific conditions and

Anne-Marie Fortier investigates the annual ritualistic practices

regulations. This results in accessibility or ownership of

of a community of Italian émigrés in London at St. Peter’s

specific groups of people while other groups are excluded.

Church. She found that particular forms of bodily enactments

Even though Sibley’s investigation is mainly informed by

such as blessing, dressing and other expressions in community

psychoanalytic theories concerning spatial divisions established

space is more than just cultural performances but also ‘signifying

through self-others differentiation processes, we can consider

practices’, prescribing identities which are at once gendered

exclusionary practices through the categorization of the subjects

and ethicized. Here the phrase ‘terrain of belonging’ used by

as objects through concepts formulated in relation to the body.

Fortier reflects both social entity and physical setting. The

This includes bodily ethnic appearances, dresses, rituals,

church and its surroundings become communal through

activities, etc. Moreover, what is interesting in Sibley’s study

prescribed body-place relationships.

is the diversity of territorial concerns, from house, community

geographer David Sibley, is a capable conceptual framework

12

‘Proper’ Place

The relationship between body and place does not only

to nation state. The concept of geographies of exclusion is in fact related to diverse body-place intersections.

emerge from a bottom-up process but also from repetitive and

Design executions in architectural and urban projects

continuous top-down operations. According to the philosopher

are crucial in shaping relationships between body and place.

Michel de Certeau, place can be considered a controlled

In this section, the relationships were investigated through the

environment as its identity and operation are prescribed by

notions ‘Terrain of Belonging’, ‘Proper Place’, and ‘Geographies

‘strategies’ to produce a ‘proper’ place.13 By ‘strategies’ de Certeau

of Exclusion’. Under these understandings, influences of

means “the calculation (or manipulation) of power relationships”,

prescribed bodily practices and place operations on people

which “postulates a place that can be delimited as its own and

and everyday life are emphasized. The prescriptions can

serve as the base from which relations with an exteriority […]

become highly established and naturalized until possibilities

can be managed”.14 This is a form of prescription on practices

to question such instructions become impossible.

in place and occasions which is maintained by those in power. It can be argued that a group of professionals, including 10 11

12 13 14 15

Judith Butler, Gender Trouble, Feminism and the Subversion of Identity, Routledge Classics ed. (New York and London: Routledge, 2006), 191. Judith Butler, Bodies That Matter: On the Discursive Limits Of “Sex” (New York: Routledge, 1993), 95. It should be noted that Butler develops the concept of iterability from Jacques Derrida’s citationality. Butler, Bodies That Matter: On the Discursive Limits Of “Sex”, 12-16. Anne-Marie Fortier, “Re-Membering Places and the Performance of Belonging(s),” in Performative and Belonging, ed. Vikki Bell (London, Thousand Oaks, and New Delhi: SAGE, 1999), 41-64. Michel de Certeau, The Practice of Everyday Life, trans. Steven Rendall (Berkeley, Los Angeles, London: University of California Press, 1984), xx, 36, 100. Ibid, 35-36. David Sibley, Geographies of Exclusion (London and New York: Routledge, 1995).


2.2 Reconstructing Body-Place Relationships

‘Practiced Place’

According to De Certeau, identity of place can be

The status of the body-place relationship as constructs

does not stay as an unalterable object. The hidden opportunities

transformed through actuality and creativity of uses in every-

lie within the discourses themselves. By considering differences

day life which he calls ‘tactics of practice’. For him, while

in the everyday life of buildings’ users and the city’s inhabitants,

‘strategies’ govern over ‘proper’ and ‘owned’ places, ‘tactics’ are

the impossible can become possible. Butler’s concept of

carried out spatially and possess no place.18 Because ‘tactics’

performativity still plays a role here, particularly in connection

are time-based operations, they are flexible and do not

with spatiality of intimacy, to inversely reveal fractures

necessarily follow frameworks prescribed by people in power

hidden within the structured body-place relationship.

whether they are developers, architects or facility managers. De Certeau raises the very mundane bodily practice such as

‘Performative Subversions’

As identity is a fabricated entity, it can be torn down

walking in the city can be either following provided sequences

and reconstructed. Butler uses the terms ‘performative sub-

or instead producing new rules and possibilities depending

versions’ as well as ‘subversive bodily acts’ in communicating

on ‘selections’ of the inhabitants. With this example, the ‘proper

bodily practices enacted to destabilize identity prescription

meaning’ and ‘geometric space’ of place take no permanent

and continuation, which in her case means sexual identity and

form as they become ‘practiced place’. The production of

compulsory heterosexuality.16 Although the concept sounds

intimate spatiality through various situations and methods

extremely radical, it has potential to open up opportunities

such as the use of a fire exit stair for prayer by Muslims, the

for reconstituting body-place relationships. Interestingly, it

appropriation of a restricted area by a group of skateboarders

does not seek to superimpose new components. Rather it is a

or the constant relocations of costermongers fall under this

strategy to alter the established relationships through existing

tactical practices. In a sense, de Certeau’s notion of ‘tactic’ is

elements, structures and processes. The previous three spatial

comparable to Butler’s notion of ‘subversive bodily acts’ as

concepts will be re-discussed in relation to the negotiation

both employ bodily practice as medium.19 Moreover, they

for intimate spatiality to challenge established body-place

similarly argue for a new construction of body-place

relationships.

relationship through the transformation of existing relationship.

walking as it escapes full conceptualization. The pattern of

Geographies of ‘Inclusion’ David Sibley suggests that the built environment in fact

‘Terrain of Belonging(s)’

Although the sense of belonging or intimate relationship

carries both exclusion and inclusion conditions.20 On one hand,

with specific places can emerge from bodily activities and

this means the body-place framework which is specified and

practices performed following prescription, Fortier points out

controlled by those in power and thus has the effect of rejecting

that there appears to be differentiated forms of belonging. The

other forms of relationships. It may lead to the exclusion of

plural form ‘belonging(s)’ used suggests this understanding.

certain groups of people who were not taken into account

Fortier explains that London’s St. Peter’s Church is a place of

in the first place. On another hand, we need to analyze the

‘re-membering’ which includes differences, or even conflicts,

possibility to challenge this framework through forms of

in forms of practices between communal body and individual

negotiation by excluded groups in order for them to be included.

bodies. Bridging this with Butler’s performative subversions,

Similar to the diverse scales of network of exclusionary spaces,

the tiny deviations in the ways members dress, move, pray, etc.

ranging from a chair to the national border, the intimate

all signify relationship dynamics between body and place. It can

spaces of inclusion can be more diverse. In relation to Butler’s

be argued that this is a differentiation process of forms of

performative subversions, we can look at emerging locations

subjectivity and spatiality.

of negotiating practices in the city. By doing so, we may

17

discover significant formations of inclusive networks which exist in parallel to or overlap with the network of exclusionary places. 16 17 18 19 20

Judith Butler, Gender Trouble, Feminism and the Subversion of Identity, Routledge Classics ed. (New York and London: Routledge, 2006), 175, 187-189, 192-193. Anne-Marie Fortier, “Re-Membering Places and the Performance of Belonging(s),” in Performative and Belonging, ed. Vikki Bell (London, Thousand Oaks, and New Delhi: SAGE, 1999), 59. De Certeau, The Practice of Everyday Life, 37. Ibid, XIX. Sibley, Geographies of Exclusion, XI.


In this section, possibilities to challenge and transform

urban development to become the city’s new world-class

the fixed understanding of body-place relationship are discussed.

business district. With these changes, Theis and Khan Architects

Only when the constructs are understood in their performative

took the commission to physically redesign the church. The

operation can destabilization become possible. The reconstruction

main task is to welcome people from all walks of life to use

of body-place relationship through diversification processes

the place as a kind of community center. Another important

of belonging, tactical and inclusionary practices reflect inter-

task is to create flexibility to facilitate various activities which

plays between subject formation and spatial negotiation which

could generate incomes. From the formerly known Regent

cannot be easily framed by any representation.

Square Presbyterian Church, the building is reopened again in 2009 under the new name Lumen URC.

3. Case Study: Lumen United Reformed Church

The main design concept of Patrick Theis and Soraya

Khan is to create a series of ‘neutral spaces’ for visitors. These include the new transparent façade decorated with a wireframe

The Lumen United Reformed Church (Lumen URC)

sculpture, the construction of a glass box as the building’s new

is a church in Bloomsbury, London. With its recent renovation,

entrance, the provision for disabled access, the initiation of a

it can be considered an architectural project which welcomes

local café, the use of movable furniture in the church’s hall, the

diverse individuals and social groups. The current inviting

reprogramming of the corridor as exhibition space, the prepa-

characteristic is in fact quite the opposite to the forms of

ration of two multipurpose community rooms and the sub-

religious subjectivity and spatiality established when the

stitution of the car park into a courtyard garden. The most

church was originally inaugurated in 1827. In terms of social

interesting execution however is the insertion of a white

history, the church was founded as a sister church of the

inclined conical form in the church’s hall. This sculptural

established Church of Scotland to serve Scottish people coming

element is not a solid form. In fact, it is a floor-to-ceiling room

to live and work in London.21 In terms of its architecture, the

with glass panel mounted 11 meters above. The architect calls

turning point came when the Gothic style building was severely

this space ‘Shaft of Light’. From the outside, it functions as a

damaged by bombing near the end of the Second World War

separation between congregation space and the café. From the

and completely replaced by a Modernist architectural style in

inside, it is a small intimate space filled with light that emerges

1965. From this period, the church became a congregational

within the context of a large city. The renovation of Lumen

space for broader groups of Christians. Even though the

URC won an award from Royal Institute of British Architects

church’s new structure and decoration reflect simplicity in

(RIBA) in 2009.

design, other interior components were prepared and organized as traditional worship spaces comprising of the crucifix, pulpit,

Indeed, the idea of the Shaft of Light is a critical in-

altar, rows of large wooden bench and others. Its external

tervention that transforms the institutional space. Here is a

appearance also seems massive and solid. It can be said that

case of renewing religious architecture with a transformed

the relationship between body and place was strongly estab-

relationship between the body and place. Although the archi-

lished following religious instruction.

tect occasionally refers to the room as a sacred space, it is free from any religious symbol. For the church, it has been named

Entering the 21st century, another important turning

differently as ‘Quiet Space’ which reflects the neutral existence

point was when the church’s committee decided to reposition

of the room. It is open for wide interpretations and usage which

and refurbish the church to coincide with changing social and

are not necessarily related to religious matters. As a visitor to

economic conditions. The idea is aptly correlated with the

Lumen URC, I found that the space is capable of absorbing a

church’s transforming context. Bloomsbury today is no longer

set of varied activities such as sitting on the bench to rest,

a suburb of old London where only English and Scottish people

lying on the floor to observe changes of light, praying under

reside. The area has become a center of education filled with

different religious traditions, or even baby feeding. These

various colleges, institutions and universities. There is an influx

possibilities manifest a subversive reconstruction that allows

of students of diverse nationalities from around the world as

insertions of new body-place relationships. It can be said that

well as immigrant communities. The nearby neighborhood of

Lumen URC becomes a place that yields to various forms of

St. Pancras and King’s Cross stations is also undergoing a large

spatial negotiation and subject formation.

21 22 23

Lumen A Source for All, 2008, in, https://www.lumenurc.org.uk/index.htm (accessed 2017) Lumen United Reformed Church by Theis and Khan Architects, 2008, in, www.dezeen.com/2008/12/12/lumen-united-reformed-church-by-theis-and-khan-architects/ (accessed 2017) Lumen URC, 2008, in, www.theisandkhan.com/project/lumen-urc/ (accessed 2017)


Conclusion Forms of subjectivity and spatiality as established through ‘representations’ are not only unnatural but also restricted. We can question representational concepts and projects through extracting embedded body-place relationships. The concept of ‘performativity’ can be used to analyze the interplay. Focusing on the issue of intimacy, this study looks at different theoretical positions on how relationships between body and place can be ‘constructed’ and how ‘negotiation’ can be practiced. For the application of this study, I suggest that performative construction and operation of body and place relationship is a framework of great potential to be used in analyzing our built environment covering interior, architecture, landscape and urban design projects. Social and political dimensions would also be revealed as a critical part of architectural research and practice. It allow us to see individuals and groups which produce life patterns that exist beyond the common concepts of ‘clients’, ‘users’, ‘communities’ or ‘people’. We can see opportunities to create architectural and urban places that exist out of the inadequate categories of ‘saleable area’, ‘functional space’ or ‘public space’. These possibilities go beyond any fixed form of representation.

Bibliography Judith Butler, Bodies That Matter: On the Discursive Limits Of "Sex" (New York: Routledge, 1993). ———, Gender Trouble, Feminism and the Subversion of Identity, Routledge Classics ed (New York and London: Routledge, 2006). Michel de Certeau, The Practice of Everyday Life, Translated by Steven Rendall (Berkeley, Los Angeles, London: University of California Press, 1984). Anne-Marie Fortier, "Re-Membering Places and the Performance of Belonging(S)," in Performative and Belonging, ed. Vikki Bell (London, Thousand Oaks, and New Delhi: SAGE, 1999), 41-64. Michel Foucault, "Space, Knowledge, and Power," Interview with Paul Rabinow," in Architecture Theory since 1968, ed. K. Michael Hays (Massachusetts, London: The MIT Press, 2002), 428-439. ———, "Technologies of the Self," in Technologies of the Self: A Seminar with Michel Foucault ed. Huck Gutman and Patrick H. Hutton Luther H. Martin (London: Tavistock, 1988), 16-49. Henri Lefebvre, Rhythmanalysis: Space, Time and Everyday Life, Translated by Stuart Elden and Gerald Moore (London and New York: Continuum, 2004). Lumen A Source for All, 2008, in, https://www.lumenurc.org.uk/index.htm (accessed 2017) Lumen URC, 2008, in, www.theisandkhan.com/project/lumen-urc/ (accessed 2017) Lumen United Reformed Church by Theis and Khan Architects, 2008, in, www.dezeen.com/2008/12/12/lumen-united-re formed-church-by-theis-and-khan-architects/ (accessed 2017) Heidi J. Nast and Steve Pile, ed. Places through the Body (London and New York: Routledge, 1998). Vittoria Di Palma, Diana Periton, and Marina Lathouri, eds., Intimate Metropolis: Urban Subjects in the Modern City (London and New York: Routledge, 2009). Steve Pile and Nigel Thrift, ed. Mapping the Subject (London and New York: Routledge, 1995). David Sibley, Geographies of Exclusion (London and New York: Routledge, 1995).

91 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


Critical Vernacular Architecture: กรณีศึกษาในประเทศไทย ดร.ชำ�นาญ ติรภาส

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | ctirapas@yahoo.com

92

ภาพที่ 1 : บรรยากาศถนนที่เป็นที่สาธารณะและเป็นสถานที่ที่ผู้คนมีปฏิสัมพันธ์กัน

(Holston, 1989)

Image วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิ กสยาม 1 : The atmosphere of a street where is a public space for people to interact. ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018

The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


บทคัดย่อ ภายใต้สังคมโลกที่เชื่อมต่อกันด้วยเทคโนโลยี ผู้คนแชร์ กิจกรรมผ่านโลกออนไลน์ จนหลายสังคมมีไลฟ์สไตล์ ค่านิยมและ อุดมการณ์บางอย่างเหมือนกัน แต่ในทางตรงข้ามก็เกิดแนวคิด ทีแ่ ตกต่างซึง่ มองเห็นว่าเอกลักษณ์ อัตลักษณ์และความหลากหลาย มีความจ�ำเป็นต่อการพัฒนาสร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ๆ และเป็นการแสดง ความเป็นตัวตน นักออกแบบและนักวางผังซึ่งเป็นผู้สร้างสรรค์ สิง่ แวดล้อมจึงมีความจ�ำเป็นในการเป็นตัวแทนในการตัง้ ค�ำถามว่า แนวคิดใดที่เป็นแนวทางในการออกแบบสถาปัตยกรรมที่แสดง ตัวตนภายใต้กระแสการเปลีย่ นแปลงของโลกทีเ่ ป็นไปอย่างรวดเร็ว บทความนี้น�ำเสนอแนวคิดผ่านมุมมอง Critical Vernacularism ที่มองย้อนกลับไปในยุคล่าอาณานิคมเพื่อยกตัวอย่างการปรับตัว เองหรือการเปลีย่ นแปลงสิง่ แวดล้อมของผูอ้ ยูใ่ ต้อาณานิคมให้เข้า กับสิง่ แวดล้อมใหม่จากอิทธิพลแนวคิดของเจ้าอาณานิคม แนวคิด นีไ้ ด้พฒ ั นาต่อเป็นแนวคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมทีเ่ รียกว่า Critical Vernacular Architecture โดยสถาปนิกมีสติและจิตส�ำนึก ที่จะสร้างที่ว่างที่คนท้องถิ่นมีความคุ้นเคยแต่ยังคงภาษาการ ออกแบบตามแนวคิดสมัยใหม่ เพราะได้คำ� นึงถึงความสัมพันธ์และ ตอบสนองต่อเงื่อนไขของสภาพเศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยีของสภาพสังคมนั้น ๆ สถาปนิกได้น�ำองค์ประกอบ ของสถาปัตยกรรมท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นรายละเอียด ระบบการ ก่อสร้าง และแก่นของทีว่ า่ งเพือ่ สร้างสถาปัตยกรรมทีไ่ ม่ใช่เพียงน�ำ รูปแบบหรือองค์ประกอบสถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ มาใช้ หรือท�ำซ�ำ้ หรือ เป็ น ภาพลั ก ษณ์ แต่ ส ถาปั ต ยกรรมนั้ น ได้ ส อดประสาน ประวัติศาสตร์ ภาพลักษณ์ของท้องถิ่นกับความคิดต่าง ๆ เพื่อน�ำ เสนอรูปแบบและที่ว่างใหม่ ๆ และในขณะเดียวกันคนท้องถิ่นก็มี ความคุ้นเคย ผ่านตัวอย่างกรณีศึกษาทั้งสถาปัตยกรรมในเอเชีย และภายในประเทศไทย คำ�สำ�คัญ: พื้นถิ่น, ความคุ้นเคย, ความทันสมัย

93 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ปัจจุบนั ทีส่ งั คมโลกเชือ่ มต่อกันด้วยเทคโนโลยี ความคิดว่าโลกหลอมรวมกลายเป็นหนึง่ ดูเหมือนจะ ชัดเจนมากขึน้ เรือ่ ย ๆ เราเห็นได้จากการทีผ่ คู้ นแชร์กจิ กรรมและการใช้ชวี ติ ร่วมกับผูอ้ นื่ สิง่ เหล่านีเ้ กิดขึน้ ผ่านโลกดิจิตอลและส่งผลกระทบต่อเราในหลากหลายแง่มุมทั้งในระดับบุคคลและระดับสังคม เช่น การเลียนแบบไลฟสไตล์ มีแนวคิดเรื่องความงามเหมือน ๆ กัน เราดูรายการแบบเดียวกัน มีค่านิยม ร่วมกันมากขึน้ รวมไปถึงงานออกแบบสถาปัตยกรรมทีเ่ กิดขึน้ ด้วย เช่น เราอาศัยอยูใ่ นอาคารสูง ห้องเล็ก ๆ หรือบ้านเดี่ยวในรูปแบบที่ไม่แตกต่างกัน หากมองย้อนกลับไปในประวัตศิ าสตร์ กระแสทีโ่ ลกเชือ่ มต่อกันนัน้ เคยเกิดขึน้ มาตลอดเวลา หลายพันปีที่ผ่านมา ผ่านกระบวนการค้าขายของทั้งบุคคล บริษัท และองค์กรต่างi โดยเฉพาะในยุค ล่าอาณานิคมผ่านแนวคิดขบวนล่าอาณานิคม (Colonization) แนวคิดขบวนการท�ำให้เป็นตะวันตก (Westernization) แนวคิดขบวนการท�ำให้เป็นอุตสาหกรรม (Industrialization) จากโลกฝั่งตะวันตก แนวคิดเหล่านี้ส่งผลต่อการพัฒนาและค่านิยมที่เปลี่ยนไปในหลายประเทศให้เป็นไปในทิศทาง เดียวกัน ทัง้ จ�ำยอมและยินยอม ในทางตรงข้ามก็สร้างให้เกิดแนวคิดทีเ่ ห็นต่าง และมองว่าเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และความหลากหลายมีความจ�ำเป็น เพือ่ การสร้างสรรค์ใหม่ ๆ และแสดงตัวตนว่าเราเป็นใคร นักออกแบบและนักวางผังซึ่งเป็นผู้สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมมีหน้าที่ส�ำคัญในการตั้งค�ำถาม และช่วยสังคมหาแนวทางว่าจะตอบสนองอย่างไรต่อกระบวนการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วนี้ ค�ำถาม คือ ด้วยแนวคิดใดทีส่ ามารถให้พนื้ ทีใ่ นการแสดงความเป็นเอกลักษณ์และวัฒนธรรม และตอบสนอง ต่อความเปลี่ยนไปของกระแสโลก สะท้อนแนวคิดผ่านการออกแบบสถาปัตยกรรมในรูปแบบใดใน สถานการณ์ของโลกปัจจุบัน ช่องทางหนึ่งที่น่าสนใจคือการมองกลับไปที่รากฐานทางวัฒนธรรมของ แต่ละพืน้ ที่ เพือ่ ค้นหาอัตลักษณ์และคุณค่าทางวัฒนธรรมของสังคมนัน้ เพือ่ ต่อยอดและพัฒนาความ คิดในการออกแบบ แม้ในปัจจุบนั จะมีการศึกษาสถาปัตยกรรมไทยประเพณีหรือสถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ อย่างเป็น ระบบและหลากหลายมากขึ้น เราเห็นได้ว่าการศึกษาเป็นไปในรูปแบบการศึกษาเชิงรูปแบบและ สัญลักษณ์ (Typology) การศึกษาการใช้งานและความหมายของพื้นที่ผ่านวัฒนธรรมพื้นถิ่นนั้นๆii iii และการศึกษาการเปลี่ยนแปลงวัสดุโครงสร้าง และวิธีการก่อสร้างของอาคารพื้นถิ่นเดิมรวมกับ วัสดุใหม่iv หากเรายังไม่เห็นการศึกษาทีเ่ สนอแนวคิดหรือหลักการในการประยุกต์ลกั ษณะท้องถิน่ อัตลักษณ์ หรือวัสดุท้องถิ่นมาปรับใช้ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับการออกแบบสถาปัตยกรรมร่วมสมัย บทความนี้มีความตั้งใจในการน�ำเสนอแนวคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมหรือการวาง ผังที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม ความเชื่อของสังคมไทยที่เรามีความคุ้นเคย และแนวคิดนี้สามารถปรับ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ กระแสการเปลี่ ย นแปลงของโลก โดยวิ เ คราะห์ ผ ่ า นตั ว อย่ า งงานออกแบบ สถาปัตยกรรมร่วมสมัยในประเทศไทย ผลกระทบของแนวคิดสมัยใหม่ต่อพื้นที่ในยุคอุตสาหกรรม ก่อนทีผ่ เู้ ขียนจะอธิบายถึงแนวคิดทีว่ า่ นีว้ า่ คืออะไร คงต้องขอย้อนกลับไปในยุคแนวคิดสมัยใหม่ ที่มี The Congres Internationaux d’ Architecture Moderne (CIAM) เป็นองค์กรหลักในการผลัก ดันแนวคิดสมัยใหม่ CIAM เป็นองค์กรทีจ่ ดั ตัง้ ระหว่าง 1928-1959v มีจดุ ประสงค์เพือ่ การเปลีย่ นแปลง สังคม สร้างแนวคิดการใช้ชีวิตรูปแบบใหม่ให้กับสังคมในยุคนั้น ผ่านกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่ล้มล้างรูปแบบ ไลฟสไตล์ที่คุ้นชินของอภิสิทธิ์ชน และลดความเหลื่อมล�้ำของบรรทัดฐาน คุณค่า ความสุนทรีย์ที่คุ้น เคยของสังคมvi เพื่อให้บรรลุจุดประสงค์นี้ แนวคิดสมัยใหม่ได้พยายามท�ำลายประวัติศาสตร์ ละทิ้ง อดีตและเชิดชูอนาคตและการเปลีย่ นแปลงวิถชี วี ติ ใหม่ให้กบั สังคมโดยหวังว่าทุกคนในสังคมมีความ เท่าเทียมกันvii ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการน�ำแนวคิดนี้มาใช้ในการวางผังและออกแบบ คือ การท�ำให้คนรู้สึก ไม่คุ้นเคยและปฏิเสธ เพราะแนวคิดนี้ละทิ้งความต้องการดั้งเดิมส่วนบุคคล พฤติกรรมที่มาจาก วัฒนธรรม ประเพณี และคุณค่าของสังคม ที่ส�ำคัญส่งผลกระทบอย่างมากต่อวิถีชีวิตของผู้คน เช่น การท�ำให้พื้นที่สาธารณะอย่างถนนหายไปจากเมือง มีการจัดระเบียบที่ท�ำให้ปัจเจกไม่สามารถท�ำ กิจกรรมทีเ่ ป็นประโยชน์สว่ นตัวอย่างทีเ่ คยท�ำได้ เพราะเมืองคือพืน้ ทีส่ าธารณะ ทีบ่ คุ คลใดบุคคลหนึง่ ไม่ควรท�ำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์เฉพาะส่วนบุคคลได้ ซึ่งขัดแย้งกับวิถีชีวิตของสังคมในยุคก่อนหน้า 94 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ผลกระทบที่เห็นได้ชัดเจนจากการออกแบบเมือง Brasilia หรือ Chandigarh ที่ได้น�ำแนวคิด สมัยใหม่มาใช้วางผังเมือง ส่งผลให้รูปแบบกิจกรรมหรือวิถีดั้งเดิมของผู้คนบนท้องถนนหายไปviii เมืองยุโรปในยุคก่อนอุตสาหกรรม ถนนคือสถานทีท่ เี่ กิดปฏิสมั พันธ์ระหว่างผูค้ น แลกเปลีย่ นความคิด และข่าวสาร ด�ำเนินธุรกิจ และแสดงตัวตนและเรือ่ งราวต่าง ๆ ของคนและเมือง ถนนจึงมีความหมาย มากกว่าการเดินทางของรถ แต่มันคือสถานที่ที่สร้างรูปแบบทางสังคมขึ้นมา (ดูรูปที่ 1) อีกตัวอย่างหนึง่ คือ ประเทศสิงคโปร์ ในสมัยยุคอาณานิคม พืน้ ทีห่ น้าตึกแถวซึง่ มีหลังคาคลุม ทางเท้าท�ำให้เจ้าอาณานิคมไม่สามารถก�ำหนดพื้นที่สาธารณะหรือส่วนตัวได้อย่างชัดเจน พื้นที่ส่วน นี้เองที่คนสิงค์โปร์ใช้ประกอบธุรกิจและกิจกรรมส่วนตัวix กลายเป็นปัญหาความขัดแย้งระหว่าง เจ้าอาณานิคมกับชาวสิงคโปร์ โดยชาวสิงค์โปร์พยายามขัดขืนและปรับการใช้พื้นที่ให้สอดคล้องกับ วิถีปฏิบัติในชีวิตประจ�ำวันของตน “การทำ�ให้คุ้นเคยอีกครั้ง” ขบวนการเปลีย่ นเป็นสูค่ วามทันสมัยของประเทศไทยเองก็ไม่ได้แตกต่างจากประเทศอืน่ ๆ การ ต่อรองระหว่างโครงสร้างทางสังคม เศรษฐกิจ ศิลปะ และสถาปัตยกรรมสู่สังคมสมัยใหม่ผ่านการ เปลี่ยนแปลงแนวคิดและนโยบายในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวx เช่น การสร้าง ถนนหลายเส้นเพือ่ รองรับการเปลีย่ นแปลงและค�ำเรียกร้องของชาวตะวันตกxi การสร้างสถาปัตยกรรม รูปแบบผสมอย่างพระที่นั่งจักรีมหาปราสาทที่เป็นส่วนผสมระหว่างอาคารรูปทรงตะวันตกกับหลังคา แบบไทยราชประเพณี ที่ ณ ปัจจุบันได้รับการยอมรับว่างดงามหลังหนึ่งของประเทศไทย (ดูรูปที่ 2) หรือวัดเบญจมบพิตรดุสติ วนาราม ซึง่ ออกแบบโดยสมเด็จเจ้าฟ้า กรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ์ ทีผ่ งั อุโบสถ์ เป็นแนวแกนตามแนวคิดตะวันตก และน�ำวัสดุหินอ่อนจากอิตาลีมาใช้ การท�ำหน้าต่างกระจกสี (stained glass) เหมือนโบสถ์ตะวันตก แต่ยงั คงมีองค์ประกอบอาคาร ลวดลายไทยตามแบบประเพณี เช่นเดิมxii (ดูรูปที่ 3) และไม่ท�ำให้คนท้องถิ่นรู้สึกถึงความแปลกแยก หรือไม่คุ้นเคยแต่อย่างใด นีเ้ ป็นการแสดงให้เห็นการยอมเปลีย่ นแปลงตัวเองเพือ่ ให้เกิดการยอมรับจากอ�ำนาจใหม่ และอิทธิพล ทางความคิดที่มีอิทธิพลต่อชนชั้นปกครอง จากตัวอย่างในประเทศศรีลงั กา สิงคโปร์ และประเทศไทย Nihal Perera ได้เรียกขบวนการนีว้ า่ “การท�ำให้เป็นท้องถิ่น” (Indigenization) และนิยามไว้ว่า คือ “รูปแบบการสร้างความกลมกลืนหรือ ต่อต้านอย่างต่อเนื่องจากมุมมองของแต่ละบุคคลต่อการสร้างสรรค์รูปแบบวิถีปฏิบัติแบบใหม่หรือ แบบลูกผสม”xiii เราเห็นได้วา่ การปรับตัวเกิดได้สองลักษณะ หนึง่ คือการปรับตัวของผูค้ นให้รสู้ กึ สบาย หรือคุณเคยกับสภาพแวดล้อมใหม่ ๆ หรือ สอง คือเราปรับพืน้ ทีแ่ ละสภาพแวดล้อมใหม่ให้เหมาะสมกับ ความต้องการและความสบายของเราแทน

ภาพที่ 2 : พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทซึ่งเป็นตัวอย่างงานออกแบบที่ผสมผสาน รูปสถาปัตยกรรมแบบจารีตและแบบตะวันตก ที่มา : http://www.thapra.lib.su.ac.th/ratanagosin/grand_palace10.htm Image 2 : Chakri Throne Hall is a good example of combination of Thai traditional and Western architecture.


ภาพที่ 3: เบญจมบพิตรดุสิตวนารามอีกสถาปัตยกรรมที่ผสมผสาน การวางและงานออกแบบรูปแบบสถาปัตยกรรมจารีตและแบบตะวันตก ที่มา : http://watbenchama.com/history/

Image 3 : Benchamabophit Temple is another good example of combination of Western planning layout and Thai traditional architecture.

Critical Vernacularism Perera น�ำเสนอแนวคิด Critical Vernacular Architecture ซึ่งอธิบายถึงสถาปัตยกรรม ที่สถาปนิกมีสติและจิตส�ำนึกในการสร้างที่ว่างที่คนท้องถิ่นคุ้นเคย แต่ยังคงภาษาการออกแบบตาม แนวคิดสมัยใหม่ เพราะได้คำ� นึงถึงความสัมพันธ์และการตอบสนองต่อเงือ่ นไขของสภาพเศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยีของสภาพสังคมนั้น ๆ สถาปนิกได้น�ำองค์ประกอบของ สถาปัตยกรรมท้องถิน่ เช่น รายละเอียด ระบบการก่อสร้าง และแก่นของทีว่ า่ งเพือ่ สร้างสถาปัตยกรรม ทีไ่ ม่ใช่เพียงน�ำรูปแบบหรือองค์ประกอบสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นมาใช้ ท�ำซ�้ำหรือสร้างภาพลักษณ์ แต่ สถาปัตยกรรมนัน้ ได้สอดประสานประวัตศิ าสตร์ ภาพลักษณ์ของท้องถิน่ กับความคิดต่าง ๆ เพือ่ น�ำเสนอ รูปแบบและที่ว่างใหม่ ๆ และในขณะเดียวกันคนท้องถิ่นก็มีความคุ้นเคยด้วยxiv

ภาพที่ 4: อาคารสตาร์บัคส์สาขากาดฝรั่ง เชียงใหม่-หางดง ใช้รูปแบบสถาปัตยกรรมแบบล้านนาอย่างตรงไปตรงมาจนไม่สามารถเข้าใจถึงการใช้งานที่แท้จริงได้ ที่มา : http://chiangmai.siamdot.com/starbucks-style-lanna-thailand/

Image : The Starbucks coffee shop at Kad Farang, Chianmai-Hang Dong, Imitate Lanna Architecture which is undistinguishable of its building function.

96 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


Critical Vernacular Architecture พิจารณาจาก “ความรู้สึกคุ้นเคย” ของที่ว่างนั้นเป็นหลัก แนวคิดนี้ดูคล้ายคลึงกับ Regionalism แต่ Alan Colquhoun ได้อธิบายแนวคิดนีว้ า่ เป็นการท�ำซ�ำ้ ของ รูปแบบสถาปัตยกรรมท้องถิ่น หรือรักษารูปลักษณ์ขององค์ประกอบ แต่ไม่ได้คงไว้ซึ่งความหมายที่ ส�ำคัญxv ตวั อย่างทีน่ า่ สนใจคืออาคาร สตาร์บคั ส์สาขากาดฝรัง่ เชียงใหม่-หางดง ทีน่ ำ� รูปแบบสถาปัตยกรรม แบบล้านนามาใช้ซ�้ำ ซึ่งหากมองจากภายนอกแล้ว องค์ประกอบเหล่านีค้ ล้ายอาคารศาสนาสถาน แต่ภายในคือร้านกาแฟ (ดูรูปที่ 4) Critical Vernacularism มีลกั ษณะส�ำคัญ 3 อยูอ่ ย่าง 1) สถาปัตยกรรมนัน้ ต้องมีความเฉพาะทาง วัฒนธรรม 2) มีความเฉพาะของสถานที่ 3) รองรับความต้องการของวิถที นั สมัยได้ ดังนัน้ สถาปัตยกรรม ตามแนวคิดนี้ต้องตอบสนองต่อความต้องการของยุคสมัยและให้ค วามสะดวกสบายของสั ง คม ยุคใหม่ได้ และน�ำแนวคิดทางวัฒนธรรมและเงื่อนไขทางสภาพแวดล้อมของท้องถิ่นต่างๆ มาเป็น แนวทางในการออกแบบ หรือพูดง่าย ๆ คือ ท�ำให้ความเป็นพื้นถิ่นเข้ากันได้กับความทันสมัยxvi ตัวอย่างสถาปนิกที่มีงานสถาปัตยกรรมที่สอดคล้องกับแนวคิดนี้มีหลายท่านด้วยกัน เช่น Hassan Fathy ชาวอียปิ ต์ Charles Correa ชาวอินเดีย และ Geoffrey Bawa ชาวศรีลังกา สถาปนิก เหล่าได้ประสานองค์ประกอบของสถาปัตยกรรม และระบบการก่อสร้างของท้องถิ่นในการออกแบบ โดยการน�ำที่ว่างในสถาปัตยกรรมท้องถิ่นหรือในประวัติศาสตร์ของพื้นที่นั้นมาปรับใช้กับพื้นที่ใช้งาน สมัยใหม่ เช่น Geoffrey Bawa น�ำระบบและวัสดุก่อสร้างท้องถิ่น ชาน และลานภายในมาเป็น องค์ประกอบหลักในการออกแบบซึ่งสะท้อนแนวคิดของ Critical Vernacularism ได้เป็นอย่างดี

ภาพที่ 5 : ลานโล่ง ชานและระเบียงที่เป็นพื้นที่เชื่อมต่อระหว่าง ภายในและภายนอกอาคาร ที่มา : Bawa and Tayler, 1986 Image 5 : courtyard, terrace and corridor are the connection between inside and outside of the building.

ภาพที่ 6: ระเบียงรอบอาคารรัฐสภาศรีลังกา ออกแบบโดย Bawa ที่ช่วยกันแสงแดดและความร้อน และเป็นพื้นที่เชื่อมต่อระหว่างพื้นที่ภายในกับสิ่งแวดล้อมภายนอก ที่มา : Bawa and Tayler, 1986 Image 6: Terraces around the Sri Lankan Parliament by Bawa which protects the sunlight and heat and are a transitional space between interior spaces and outdoor environment.

งานออกแบบของ Geoffrey Bawa เป็นตัวอย่างทีด่ มี ากในการแสดงแนวคิดนี้ หลักการออกแบบ ส�ำคัญของ Bawa คือการถ่ายทอดเอกลักษณ์เฉพาะของสถาปัตยกรรมศรีลงั กาเพือ่ รองรับการอยูอ่ าศัย แบบสมัยใหม่ ด้วยศรีลงั กายึดถือหลักปรัชญาพุทธศาสนา ซึง่ ให้เกียรติธรรมชาติ เชือ่ ว่าสถานทีม่ คี วาม ศักดิ์สิทธิ์ สิ่งต่างๆ มีเพื่อการแบ่งปันและการใช้ทรัพยากรอย่างอ่อนโยน เพื่ออนาคตที่ยั่งยืน Bawa ได้น�ำหลักการนี้ปรับมาใช้ในการออกแบบส�ำนักงานออกแบบ ซึ่งปัจจุบันได้กลายมาเป็นคาเฟ่ ชื่อ 97 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


The Gallery Café สร้างในปี 1961 อาคารหลังนีม้ ลี านโล่งอยู่ 3 แห่ง และมีชานโดยรอบซึง่ ท�ำให้มกี าร ระบายอากาศและความร้อนทีด่ ี เหมาะสมกับสภาพอากาศร้อนชืน้ อีกทัง้ ยังสร้างพืน้ ทีร่ ะหว่างภายในและ ภายนอกอาคารอีกด้วย (ดูรูปที่ 5) ชานมีลักษณะเหมือนชานหน้าบ้านของบ้านที่ศรีลังกา ที่ใช้ส�ำหรับ นั่งคุยและพบปะกันของผู้คน มีการใช้วัสดุท้องถิ่นคือต้นมะพร้าวและกระเบื้องดินเผาซึ่งเป็นวัสดุที่ ใช้ในการก่อสร้างท้องถิ่น ทั้งหมดนี้ให้ความรู้สึกที่คนท้องถิ่นคุ้นเคย แม้การใช้งานภายในเป็นพื้นที่ ส�ำนักงานหรือคาเฟ่แล้วก็ตาม งานอีกชิน้ ทีม่ คี วามสนใจคือ อาคารรัฐสภาของศรีลงั กาที่ Bawa ได้ออกแบบให้ระเบียงอาคาร เป็นทางเดินรอบนอกเพือ่ กันแดดและความร้อน และสร้างให้เกิดพืน้ ทีเ่ ปลีย่ นถ่ายระหว่างพืน้ ทีภ่ ายในและ ภายนอก นอกจากนีย้ งั มีพนื้ ทีห่ ลังคาส�ำหรับพืน้ ทีส่ เี ขียวทีช่ ว่ ยลดขนาดของอาคาร แต่ให้ความรูส้ กึ สัมพันธ์ กับธรรมชาติ และแม้อาคารมีขนาดใหญ่และแสดงถึงอ�ำนาจในการวางผัง แต่อาคารกับสอดคล้องกับสิ่ง แวดล้อมและไม่ท�ำให้รู้สึกถึงการถูกกดหรือครอบง�ำด้วยอ�ำนาจxviii (ดูรูปที่ 6) ผลงานของของสถาปนิก Charles Correa เป็นตัวอย่างการออกแบบตามแนวคิดนีด้ ว้ ยเช่นกัน งาน ออกแบบของ Correa แสดงแนวคิดเรื่อง “เปิดสู่ท้องฟ้า” แนวคิดนี้มาจากลักษณะสถาปัตยกรรม อินเดียที่มีการสัมผัสกับธรรมชาติ โดยแนวคิดนี้ได้น�ำไปใช้กับองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม เช่น หลังคา ชายคา แนวเสาระเบียงและลาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ลานโล่งซึง่ ถูกใช้สำ� หรับกิจกรรมทีส่ อดคล้อง กับวิถชี วี ติ เช่น ท�ำอาหาร นอนและพักผ่อน โดย Correa ตัง้ ใจอย่างมากในการน�ำลานมาใช้ในหลากหลาย ขนาดและลักษณะxviii ตัวอย่างงานทีน่ า่ สนใจคือ Incremental Housing ทีเ่ มือง บอมเบย์ เป็นโครงการ ที่พักอาศัยรวมส�ำหรับผู้มีรายได้น้อย โครงการได้จดั สรรพืน้ ทีล่ าน ขนาด 8x8 ตร.ม. ทีใ่ ช้รว่ มกันของ ครอบครัว 7 ครอบครัว ซึง่ แต่ละครอบครัวก็มพี นื้ ทีล่ านส่วนตัวของ ตัวเองด้วยเช่นกัน พืน้ ทีล่ านสาธารณะนี้ สร้างโอกาสให้ผู้อยู่อาศัยได้พบปะและสร้างปฏิสัมพันธ์ต่อกันxix (ดูรูปที่ 7)

ภาพที่ 7: ลานส่วนตัวและส่วนรวมขนาดต่างๆ ที่รองรับการใช้งานในชีวิตประจำ�วันในโครงการ Incremental Housing ที่มา : www.posts.architecturelive.in Image 7 : Variety of courtyard sizes for private and public use to serve daily activities in the Incremental Housing.

98 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


Thai Critical Vernacular Architecture จากการเปลีย่ นแปลงตัวเองตามกระแสโลก ประเทศไทยได้รบั อิทธิพลจากแนวคิดตะวันตกมา พัฒนาบ้านเมืองและสร้างค่านิยมใหม่ให้กับสังคมผ่านสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ด้วยเช่นกัน ค่านิยม การมีบ้านเดี่ยวหน้าตาเหมือนอาคารกรีกโรมัน มีโถงใหญ่ ๆ หลังคาโดม เพื่อแสดงสถานะของผู้อยู่ อาศัย หรือแม้อาคารตึกแถวทีพ่ ยายามเอารูปแบบหลังคามาตกแต่งด้านหน้าเพือ่ ให้ผอู้ ยูอ่ าศัยได้รสู้ กึ ถึงความเป็นบ้านในทางภาพลักษณ์ เหล่านี้เป็นเพียงการลอกเลียนแบบแต่ไม่ได้ตอบสนองต่อ วัฒนธรรมเดิมและสภาพแวดล้อมท้องถิ่นแต่อย่างใด

ภาพที่ 8 : การนำ�วัสดุธรรมชาติที่หาได้ในท้องถิ่นมาใช้ในการออกแบบหลังคาอาคารสนามบินนานาชาติสมุย ที่มา : https://www.manager.co.th/asp-bin/viewgallery.aspx?newsid=9520000088304&imageid=1298297 Image 8 : Samui International Airport uses local materials to design the airport’s roof.

เพื่อน�ำแนวคิด Critical Vernacular Architecture มาอธิบายให้เข้าใจได้มากขึ้น บทความนี้ จึงยกตัวอย่างงานออกแบบที่ผู้เขียนได้พบเห็นได้น�ำองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของไทย มาใช้กบั งานออกแบบงานร่วมสมัยผ่านแนวคิด Critical Vernacularism เช่น การออกแบบทีส่ อดคล้อง กับลักษณะท้องถิ่น การน�ำวัสดุท้องถิ่นมาเป็นวัสดุก่อสร้าง และมีลักษณะที่ว่างที่คนท้องถิ่นมีความ คุ้นเคย ตัวอย่างที่น�ำมาเสนอ คือ สนามบินนานาชาติสมุย โรงเรียนนานาชาติกรุงเทพ (ISB) บ้าน อาจารย์บัณฑิต จุลาสัย มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตเมืองทองธานี และกุฏิวัดเขาพุทธโคดม สนามบินนานาชาติสมุย ก่อนปรับปรุงซึ่งออกแบบโดย Habita Archtiect เป็นตัวอย่างการ เล่นกับสัดส่วนของอาคาร วัสดุทอ้ งถิน่ และการออกแบบโดยสร้างบ่อน�ำ้ ขึน้ เพือ่ ใช้ในการแบ่งโซนและ การใช้งาน อาคารมีขนาดที่ให้ความรู้สึกคล้ายอาคารที่พักอาศัยมากกว่าสนามบิน สถาปนิกใช้ต้น มะพร้าวมาเป็นโครงสร้างอาคารซึ่งท�ำให้รู้สึกเหมือนอาคารท้องถิ่นที่ให้ความคุ้นเคยกับพื้นที่ภาคใต้ และทะเล การออกแบบยังใช้ระบบแบบธรรมชาติ ไม่ตดิ เครือ่ งปรับอากาศ และบ่อน�ำ้ ยังช่วยให้ความ เย็นและความชุ่มชื้นแก่ผู้โดยสาร สิ่งที่น่าสนใจส�ำหรับอาคารหลังนี้คือการเลือกใช้วัสดุหลังคาที่เป็น หลังคามุงใบไม้แบบธรรมชาติ (ดูรูปที่ 8) อาคารมีความชัดเจนในการใช้วัสดุท้องถิ่นและสอดคล้อง กับสภาพแวดล้อมของท้องถิ่น

99 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


โรงเรียนนานาชาติกรุงเทพ (ISB) เป็นตัวอย่างที่น�ำองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมไทย เช่น รูปแบบหลังคา พื้นที่ชายคา ระเบียงทางเดินและองค์ประกอบของน�ำ ้ มาท�ำให้โครงสร้างอาคารเรียน มีความรู้สึกเบา ซึ่ง ดร.สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยาได้แนะน�ำไว้ว่าเป็นหนึ่งในลักษณะสถาปัตยกรรมไทย นอกจากเสาลอยรอบอาคารท�ำให้อาคารมีความเบาแล้ว เสาเหล่านี้ยังท�ำให้พื้นที่บริเวณนี้มีลักษณะ คล้ายพื้นที่ใต้ถุน และใช้เป็นพื้นที่พบเจอและท�ำกิจกรรมของนักเรียนและอาจารย์ (ดูรูปที่ 9) พื้นที่นี้ เป็นลักษณะทีเ่ ป็นเอกลักษณะอย่างหนึง่ ในการสร้างพืน้ ทีท่ างสังคมทีผ่ คู้ นมีปฏิสมั พันธ์กนั และคุน้ เคย อาคารตัวอย่างหลังต่อไปคือ บ้านพักของอาจารย์บัณฑิต จุลาสัย ผู้เขียนได้รับโอกาสจาก อาจารย์เข้าไปสัมภาษณ์รว่ มกับนักศึกษาอเมริกาทีม่ าทัศนศึกษาในสมัยทีผ่ เู้ ขียนยังศึกษาปริญญาโท อยู่ที่อเมริกา อาจารย์ได้กล่าวถึงแนวคิดว่าเป็นการน�ำลักษณะอาคารตึกแถวสูง 7 ชั้น ที่เชื่อมต่อกัน ด้วยพื้นที่โล่งระหว่างอาคาร ผลที่ได้ท�ำให้รู้สึกเหมือนเรามีใต้ถุนบ้านอยู่ทุกๆ ชั้น และได้พื้นที่ระหว่าง ภายในภายนอกทีน่ กั เรียนมักมาท�ำงานและปรึกษางาน และท�ำกิจกรรมกับอาจารย์ดว้ ยxx และพืน้ ทีน่ ี้ ได้กลายเป็นเหมือนสวนลอยฟ้าส�ำหรับการอยู่ในเมืองอย่างกรุงเทพ ซึ่งเป็นการแนะน�ำแนวคิดการ อยูบ่ นอาคารสูงให้กบั สังคมเมืองอย่างกรุงเทพฯ และเมืองใหญ่ในประเทศได้เป็นอย่างดี (ดูรปู ที่ 10) แนวคิดการออกแบบนีต้ อบสนองต่อวิถชี วี ติ และสภาพเศรษฐกิจของเมืองใหญ่ทที่ ดี่ นิ มีราคาแพงและ มีความหนาแน่นสูง

ภาพที่ 9: พื้นที่ระหว่างทางเดินอาคารที่สร้างให้เกิดความรู้สึกเหมือนใต้ถุนอาคาร และเป็นพื้นที่กิจกรรม พบปะของนักเรียนและอาจารย์

ทีม่ า : http://justinandkatieinthailand.blogspot.com/2006/09/isb-international-school-of-bangkok.html Image 9: Corridor around the building gives a sense of “Taitun” and serves students and teachers as a meeting and common areas.

ภาพที่ 10: บรรยากาศชานของอาคารบ้านพัก 7 ชั้น ของอาจารย์บัณฑิต ที่ให้ความรู้สึกเหมือนใต้ถุนบ้าน และเป็นตัวอย่างการออกแบบที่พักอาศัยทางตั้งในเมือง ที่มา : Art4D, Feb, 2000

Image 10 : An atmosphere of “Taitun” on the terrace of 7-storey house of Prof. Bundit. This is a good example of vertical living in the city.

อีกหนึ่งโครงการที่น่าสนใจคือ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตเมืองทองธานี อาคารหลังนี้ได้ ใช้แนวคิดของบ้านเรือนไทยอย่างชัดเจน พื้นชั้นล่างมีการยกสูงเพื่อให้เป็นพื้นที่ส�ำหรับกิจกรรมของ นักศึกษาและสิง่ อ�ำนวยความสะดวกอืน่ ๆ ซึง่ มีลกั ษณะเหมือนพืน้ ทีใ่ ต้ถนุ เรือน ระเบียงทางเดินอาคาร ไม่เพียงแต่ป้องกันแดดและความร้อนได้ แต่ยังสร้างความรู้สึกเหมือนชานที่นักศึกษาสามารถพบปะ แลกเปลี่ยนกันระหว่างรอเข้าห้องเรียน (ดูรูปที่ 11) ความโปร่งเบาเป็นอีกลักษณะหนึ่งที่รู้สึกได้จาก อาคารหลังนี้โดยสะท้อนให้เห็นจากการใช้โครงสร้างเหล็กและบ่อน�้ำทั้งภายในและรอบๆ นอกจากนี้ วิธีการก่อสร้างยังสะท้อนแนวคิดเรื่องความไม่ถาวรในการออกแบบ เพราะมีความตั้งใจให้อาคาร สามารถรื้อถอนได้ภายหลัง แนวคิดนี้เป็นอีกลักษณะหนึ่งที่ของเรือนไทยเช่นกัน และด้วยการใช้พื้น คอนกรีตส�ำเร็จรูปแบบไม่ปกปิดเพือ่ ให้เห็นแนวของแผ่นท�ำให้รสู้ กึ เหมือนเป็นแผ่นกระดานพืน้ ไม้เพียง แต่มีขนาดใหญ่กว่าเท่านั้น ลักษณะของสถาปัตยกรรมบ้านเรือนไทยมาปรับใช้กับอาคารเรียนร่วม สมัยหลังนี้เปลี่ยนความหมายเดิมมาสู่บริบทใหม่ของการใช้พื้นที่แต่ยังคงความคุ้นเคยให้กับผู้ใช้ อาคาร 100 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ภาพที่ 11 : ระเบียงทางเดินที่ออกแบบให้กันแดดและความร้อน และสามารถเป็นที่ให้นักเรียนได้พบปะพูดคุยระหว่างรอเข้าเรียน พื้นสำ�เร็จรูปยังให้ความรู้สึกเหมือนกระดานไม้ของเรือนไทยอีกด้วย ที่มา : http://www.baanlaesuan.com/71566/design/silpakorn-city-campus/ Image 11 : The corridor is designed to protect the sunlight and heat and serve students’ meeting while waiting for classes. Floor structure offers a sense of wooden floorof Thai traditional house.

101 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ตัวอย่างสุดท้ายคือผลงานของสถาปนิกสุรยิ ะ อัมพันศิรริ ตั น์ อาคารกุฏวิ ดั เขาพุทธโคดม จังหวัด ชลบุรี กุฏิวัดที่คุณสุริยะได้ออกแบบได้ถอดความหมายจากหลักธรรมแห่งพุทธศาสนา ในเรื่องการ อยู่อย่างสมถะ ลด ละและสละสิ่งของภายนอก แม้อาคารใช้วัสดุสมัยใหม่ เช่น เหล็ก ปูน ไม้ และวัสดุ สมัยใหม่ตา่ งๆ หากแต่ทำ� ให้นอ้ ยและเรียบง่าย ซึง่ ท�ำให้เรา “เข้าใจ” และ “เข้าถึง” ปรัชญาพุทธศาสนา ได้อย่างชัดเจน อีกทัง้ กุฏแิ ต่ละหลังยังแทรกตัวและออกแบบให้อยูก่ บั สิง่ แวดล้อมโดยรอบอย่างเรียบง่าย แต่โดดเด่นด้วยสีทขี่ บั เน้นรูปทรงอาคารท่ามกลางธรรมชาติสเี ขียว (ดูรปู ที่ 12) มุมมองหนึง่ ทีน่ า่ สนใจ ส�ำหรับแนวคิดของสถาปนิก คือการที่สถาปนิกมีมุมมองต่อการออกแบบจากพื้นที่นั้นๆ อย่างแท้จริง เหมือนการปลูกดอกไม้ที่โตขึ้นจากที่ใดที่หนึ่ง ก็ย่อมมาจากสิ่งแวดล้อมที่มันเติบโตมาอย่างเฉพาะ เจาะจงด้วยxxi แนวคิดนีส้ อดคล้องกับแนวคิดของ Critical Vernacularism ทีใ่ ห้ความสนใจกับเงือ่ นไข ของท้องถิ่น สิ่งแวดล้อม ข้อจ�ำกัดต่างๆ ของพื้นที่ และที่ส�ำคัญสถาปัตยกรรมนั้นให้ความคุ้นเคยต่อ ผู้คนในท้องถิ่นได้

ภาพที่ 12: วัสดุสมัยใหม่ที่สถาปนิกนำ�มาใช้ในการสร้างกุฏิ ที่สะท้อนปรัชญาทางศาสนาได้อย่างลึกซึ้ง ที่มา : http://malangphoo.com/?p=289 Image 12 : The architect uses modern materials to construct the monk’s cell which profoundly reflects the Buddhism philosophy.

บทสรุป แนวคิดสมัยใหม่มอี ทิ ธิพลต่อการอยูอ่ าศัยของคนมากมายในหลากหลายพืน้ ทีข่ องโลก ด้วยการ บังคับผ่านการล่าอาณานิคมหรือการยินยอมอยูภ่ ายใต้อทิ ธิพลก็ตาม แนวคิดนีก้ ส็ ร้างความแปลกใหม่ ไม่คุ้นเคย และไม่เป็นที่ยอมรับของพื้นที่อื่นๆ แต่ด้วยการปรับตัวหรือปรับพืน้ ทีผ่ า่ นกระบวนท�ำให้เป็น ท้องถิน่ (indigenization) แม้ในยุคปัจจุบนั สถาปนิกถูกท้าทายว่าอะไรคือความเหมาะสมต่อความเป็น อยูท่ ี่มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกจากเทคโนโลยีใหม่ๆ มากมายและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ในขณะ เดียวกันยังคงรักษารากฐานวัฒนธรรม และเงื่อนไขสภาพแวดล้อมของเราไปพร้อมๆ กัน ในอดีตเราได้เห็นตัวอย่างการปรับตัวและยอมรับอิทธิพลแนวคิดใหม่ เพื่อพัฒนารูปแบบ สถาปัตยกรรมทีย่ งั คงรูปแบบทีป่ ระสานแนวคิดแบบจารีตกับแนวคิดสมัยใหม่ เช่น พระทีน่ งั่ จักรีมหา ปราสาทหรือวัดเบญจมบพิตรดุสติ วนาราม หากด้วยแนวคิด Critical Vernacularism เราสามารถน�ำ หลักการมาเป็นแนวทางในการออกแบบสถาปัตยกรรมร่วมสมัย เพือ่ พัฒนาการออกแบบทีม่ ลี กั ษณะ เฉพาะส�ำหรับท้องถิน่ ทีผ่ คู้ นสามารถคุน้ เคย สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยูแ่ ละการใช้งานใหม่ๆ ของ สังคมในแต่ละช่วงเวลาได้ ดังเห็นได้จากตัวอย่างและแนวทางในการออกแบบของสถาปนิกระดับโลก และสถาปนิกไทยที่ได้พยายามหาแนวทางการตอบโจทย์ปัจจุบันจากรากวัฒนธรรมและเงื่อนไขของ สภาพแวดล้อมท้องถิ่น 102 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


Critical Vernacular Architecture: Case Study Thailand

Chamnarn Tirapas, Ph.D.

School of Architecture and Design, King Mongkut’s University of Technology Thonburi | ctirapas@yahoo.com

Abstract

In the present day, technologies connect the world together. Having shared daily activities and knowledge via social network

and online media, people are affected by the ways they live on both individual and societal level. This kind of sharing occurs on an international level and affects values both knowingly and involuntarily. At the same time, there is antagonism against “sameness”; uniqueness, local identity, and diversity are necessary for individuals and for generating new creativity. As environmental creators, architects and urban planners play important roles in questioning local cultures and identities while responding to global changes in contemporary architecture. This article presents an approach of “Critical Vernacular Architecture” where architects have a level of attitude and awareness to create spaces or architecture that local users are familiar with by using modern architectural language. It is not only about responding to modern architectural design, local economical, cultural and environmental issues but also technological conditions. Architects need to create architecture that not only reuses or mimics traditional or vernacular architectural styles, ornaments, or images, but need to use historical and vernacular images with the intention to offer new images and spaces which modern context and local people can be associated with. These concepts can be adapted to respond to global changes. The article also investigates ideas through specific examples of Asian and Thai contemporary architecture designed by Asian and Thai architects. Keywords: Vernacular, Familiarization, Modernism

Technologies connect the world together today. The need

contemporary architecture. One of the approaches is to search

to connect to others in the world is facilitated by digital

at the root of each culture to find identities and values from

technologies. Sharing daily activities and knowledge via social

which aspects could be built up and developed.

networks and online media have affected peoples’ lifestyles, ideas and norms. Through these activities, people share their values

Even though Thai traditional and vernacular architecture

and cultures. Architecture also reflects these situations. For

have been systematically and increasingly studied, most analyses

example, we live in high-rises consisting of small spaces and

focus on typological and symbolical studiesii, functional and

similar residential design ideas.

meaning of elements of Thai vernacular architectureiii, and structural and constructional evolution of material usageiv. There

In the past, the world has also been connected through

trade, colonization, westernization, and industrialization. These i

are seldom studies to adapt these elements to suit contemporary architectural design.

occurrences affected the development and values of society, whether by choice or not. Sometimes there is resistance against

This article intends to propose an architectural design

possessing the same point of view or values. Uniqueness, identity,

and planning idea to adapt and apply local cultures and beliefs

and diversity are necessary for individuals and creative freedom.

in which Asian and Thai people are familiar to the designs. The concepts can then be adapted to respond to global changes. The

Architects and urban planners are creators of the built

article also investigates ideas through examples of Asian and

environment, therefore, it is important for them to question and

Thai contemporary architecture designed by Asian and Thai

seek creative solutions to respond to impacts of globalization.

architects.

One of the questions is how to approach and express local cultures and identities while responding to global changes in

103 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


Modernism Impacts on Pre-Industrial Spaces

The Congres Internationaux d’ Architecture Moderne

(CIAM) was a major organization established from 1928 to 1959 that pushed forward the ideals of Modernism.v It aimed to introduce new lifestyles and values for society that were more egalitarian and to reduce social inequity.vi The movement emphasized the future over the past with the intention to establish new norms for social equity.vii

Victorian Italian style of architecture in combination with a Thai traditional roof (see image : 2). It is considered to be a good mixture of two styles of architecture. Benchamabophit Temple is also a good example in terms of its architectural layout. The layout of Benchamabophit was designed by Princess Naris. The temple’s layout applied the western axis concept and Italian marbles were used for the finishing materials. In addition, the windows were stain glass which was similar to western church elements (see image : 3).xii However, the overall design possessed

In some cases however, implementing these ideals into

architectural design and planning prevented use of public places for people. Modernist ideals abandoned individual preferences and previous social norms, traditions, and values. This negatively

Thai traditional elements. These two designs are very good examples of adapting influences of western architectural designs in Thai architecture. Most importantly, Thai people are familiar and can relate with these designs.

impacted peoples’ daily lives with a loss of street activities and

denying public space usages for personal benefit.

this process as ‘indigenization’ and defines that ‘indigenization

In Sri Lanka, Singapore and Thailand, Nihal Perera calls

is simultaneously a form of assimilation and resistance: a way

This can be clearly seen from the planning ideas of

of assuming a subject position through the creation of new and

Brasilia and Chandigarh. Peoples’ activities were curtailed from

hybridized cultural (and spatial) practices’.xiii It can be defined

the streets because Modernism viewed that public spaces in

by two characteristics; people adapting themselves to the new

cities are not just for one particular person’s use. This contradicted

spaces and environments, and on the other hand, spaces or

with the preindustrial city in which people could use public

environments adapting to the needs of the people.

viii

spaces more freely. In Europe, many preindustrial cities’ streets were places where people could interact, make relationships, exchange information, do businesses, and express their personal and city’s identities. The streets have more meaning than just for car transportation but it is the place where civilians can be connected. (see image : 1)

Critical Vernacular Architecture was introduced by

Nihal Parera. He explains that architecture can possess local and familiar attributes even with the use of modern architectural language. Design can not only respond to modern architectural,

Another example is in Singapore. During the colonial

period, the space in front of shop houses have eaves that do not clearly define private or public use. These spaces had been used for private and business purpose by the shop house owners while the colonial authority viewed this as a problematic issue of civil orders.ix

local economic, culture, environmental values, but also technological conditions. Architects can bring local architectural elements, details, construction methods, and essences of traditional and vernacular spaces to create architecture that not only reuse or mimic traditional or vernacular architectural styles, ornaments, or images, but combine historical and vernacular images with ideas to offer new spaces which modern context and local people can be associated with.xiv

Refamiliarizing Spaces

Critical Vernacularism

For Thailand, modernization progressed along the same

Critical Vernacular Architecture can be seen as a way to

level of development compared to other countries. Traditional

create a “feeling of familiarization” in spaces. This concept may

and modern society, economics, arts, and architecture had

seem similar to Regionalism but there are differences. Alan

evolved since King Rama V’s policies.

Colquhoun explains that many architectural designed categorized

x

New roads were xi

constructed to respond to requests from westerners in Bangkok.

as Regionalism have produced by using local and historical

Many significant Thai traditional buildings had also applied

elements or motifs to represent the local and traditional

the western style of architectural elements and ideas. Two good

architecture.xv On the other hand, they do not emphasize the

examples are Chakri Throne Hall at King Palace and Benchama-

creation of spaces where people can be familiar with. One example

bophit Temple. The Chakri Throne Hall was designed with the

is the Starbuck’s cafe at Chiangmai-Hangdong which

104 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage

reproduces Lanna Architectural


motifs and styles. From the outside the building seems to be a

Another architect is Charles Correa. His concept expresses

temple while inside the function is a coffee shop (see image : 4).

the “open to sky” idea. This concept is derived from Indian architecture which is related to the nature. This idea applies

The main three characteristics of Critical Architecture

many architectural elements such as roof, terrace, and colonnade

are: 1) architecture must have cultural specificity; 2) must be

and courtyard. The courtyard in particular is used for multiple

place specific; 3) must respond to the needs of modern lifestyles.

activities and serve peoples’ daily lives such as cooking, napping,

Therefore, according to these characteristics, the critical ver-

and relaxing.xviii Correa designs courtyards in different sizes

nacular architecture has to respond to the specific time and

and characteristics. An interesting example is a low-income

period, offer a comfortable feeling to people and merge the

housing project called Incremental Housing in Mumbai. The

traditional and local conditions in to the designs.

project provides a courtyard of 8x8 square meters for 7 families

xvi

to share. Each family has their own small courtyard while the

Examples of architects who have associated their ideas

with Critical Vernacular Architecture are Hassan Fathy (Egyptian),

main courtyard is publicly available for residents to meet and mingle (see image : 7).xix

Charles Correa (Indian), and Geoffrey Bawa (Sri Lankan). These architects merged the vernacular architectural elements and local construction methods to create their architectural designs.

Thai Critical Vernacular Architecture

In addition, they applied traditional and vernacular architectures

to adapt to suit modern uses. For example, Bawa merged the

The country’s developments have been influenced by western

construction methods with the local materials, verandahs, and

ideas especially in architectural design. Single houses have

courtyards to be his design language which well reflects Critical

applied a style of classic Greek columns and huge Roman domes

Vernacularism.

to express an image of rich and high-class taste. Shop houses

Thailand had also changed with Westernization’s impacts.

also express themselves with varieties of façade designs;

Bawa’s works are very good illustration of this idea.

however, they often mimic traditional and vernacular styles and

Bawa’s design approaches translate the Sri Lankan architectural

ornaments to express an individual image but do not respond

identity to serve modern living. Sri Lankans hold on to Buddhist

to the local culture and context. In order to explain the Critical

beliefs which honors nature, sacred places, sharing with others,

Vernacular Architecture in Thailand, an investigation of Thai

and using nature gently for a sustainable future. Bawa applied

architects who have applied or shared Critical Vernacularism

these ideas to his designs, particularly his own office built in

through their contemporary designs have been made. The

1961 which now is converted into The Gallery Café. This café

cases are Samui International Airport, International School

has 3 courtyards for ventilation and cooing which suits the

Bangkok (ISB), Chulasai’ house, Silapakorn City Campus at

Sri Lankan climate (see image : 5). There are also verandahs

Muang Thong Thani, and monk’s house at Kao Buddha Kodom

providing connecting spaces between outside and inside, similar

Temple.

to many Sri Lankan houses where people socially within their neighborhoods. Moreover, Bawa utilized local coconut trees as

materials and clay tiles for building materials. These spatial

Architect. It is a good example of an appropriate scale of building,

components and materials are common known to Sri Lankan

use of local materials and natural elements not only for passive

people.

design purpose but also for airport zoning. The scale of the

Samui International Airport is designed by Habita

building is more relatable to a residential building than a typical

Another design example of Bawa’s design is the Sri

airport. The architect referenced the coconut tree as part of the

Lankan Parliament. The building provides terraces around

airport structure so it offers an environment which people can

building. They are used as circulation and heat protection for

perceive the identity of the island and southern part of Thailand.

the building. The terraces provide the connection between

The design employs a passive design system by providing water

indoor and outdoor spaces. Even though the overall building

features around the airport to give cool wind and moisture for

scale is massive, the green terrace roof reduces the building

the passengers. In addition, the roof is composed of tree leaves

proportion and sense of the authority to the people (see image : 6).

to form part of its roof tiles (see image : 8).

xvii

105 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


The International School Bangkok applies the Thai

traditional architecture in the building. The roof, verandah, terrace, and water feature have been applied to create a sense of lightness that the architect Sumeth Jumsai suggested as elements of Thai architecture. Moreover, the columns around the terrace not only create a sense of lightness, but also provide a sense of Tai Tun, translated as the space underneath a Thai central

monks’ cells are placed within a green area but outstanding with its colors. An interesting issue is his view toward his architectural design. He believes that architecture is like a flower where you grow it from its environment.xxi It will be unique in its place. This view is correlative with Critical Vernacularism that emphasizes on the conditions of the place and local people can associate and familiar with.

traditional house. This space becomes a meeting place for students’ and teachers’ activities (see image : 9).

Another case is the house of Bandit Chulasai. The author had a chance to visit the private house when studying his master degree in the USA. Chulasai told the author that the idea was to design a 7-storey shop house with a courtyard in between them on every floor. This creates a sense of Tai-Tun and verandahs on every floor. These verandahs have become places where his students come for activities and consult the projects with him.xx Chulasai’s house is a very good case of a multi-story residential building where there is a nice outdoor garden for every unit (see image : 10). Another interesting project is the Silapakorn City Campus at Muang Thong Thani. The building design concept strongly applies the Thai traditional house characteristics. The ground floor is raised up and open for students’ activities and facilities where it is similar to Tai-Tun. The corridors of the building not only offer shade and heat prevention, but also create a sense of a terrace space for students to meet and interact while they wait for classes (see image : 11). The lightness of the building is represented with the design of steel structure and a water feature within and around the building. Furthermore, the method of construction also shares the concept of impermanence in design. It intends to be temporary use; therefore, the removable components are the key. This is the same concept of Thai traditional house. The unfinished floor structure, concrete planks, expresses its feeling of a wooden house but in the larger scale. The last case study is the design of monks’ cells at Kao Buddha Kodom, Chonburi by Suriya Amphansirirat. Amphansirirat designed the monks’ cells based on the Buddhism concept which people should live simply, reduce and give away unnecessary things. This building applies a very simple form, minimal and pure materials (see image : 12). The design reflects a way to understand the Lord Buddha’s lessons. The 106 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage

Conclusion

Modernism has influenced the way of living for people

around the world voluntarily and involuntarily. It has created places that are some times unfamiliar to people and are therefore rejected. Architects, as environmental creators, have been challenged to answer what should be best to balance new technologies along with local cultures and environmental conditions.

In Thai history, there have been many examples of

architecture that remain traditional while responding to modern ideas such as the Chakri Throne Hall and Benchamabophit temple. It is now possible to adapt traditional and vernacular architecture as well as truly responding to the new needs of society. With Critical Vernacularism, contemporary architectural design can strengthen local identities that people are familiar with. At the same time, it can respond to evolving trends, contemporary activities, and peoples’ lifestyles. This can be seen in the cases studies and architecture in both the global and regional level.


เอกสารอ้างอิง / Bibliography i Globalization 101, “What is Globalization?” The Levin Institute, The State University of New York, retrieved: Nov. 20, 2017 from http://www.globalization101.org/what-is-globalization/ ii อรศิริ ปาณินท์. (2539). บ้านและหมูบ่ า้ นพืน้ ถิน่ . หนังสือสถาปัตยกรรมชุดอาษากาญจนภิเษก. กรุงเทพมหานคร: สมาคมสถาปนิกสยาม. iii กาญจนา ตันสุวรรณรัตน์. (2560). สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นโคราชบ้านเอง. นครราชสีมา: เลิศศิลป์ สาส์ณ โฮลดิ้ง. iv Poomchai PUNPAIROJ. (2013). “The Changing Use of Materials in Construction of the Vernacular Thai House.” Ph.D., Department of Architecture and Civil Engineering. University of Bath. v https://en.wikipedia.org/wiki/Congr%C3%A8s_Internationaux_d%27Architecture_Moderne vi James, HOLSTON. (1989). “The Modernist city: An Anthropological Critique of Brasilia”. Chicago: The University of Chicago Press. vii Ibid. viii Ibid. ix Brenda S.A. YOEH. (1996). “Contesting Space: Power Relations and the Urban Built Environment in Colonial Singapore”. Kuala Lumpur: Oxford University Press. x John, HOSKIN. (1995). “Bangkok by Design: Architectural Diversity in the City of Angles”. Bangkok: Post Books. xi เทพชู ทับทอง. (2537). “กรุงเทพในอดีต”. กรุงเทพฯ. สุขภาพใจ. xii Clarence AASEN. (1998). “Architecture of Siam: A Cultural History Interpretation”. Kuala Lumpur; New York: Oxford University Press. xiii Nihal PERERA. (2002). “Indigenizing the Colonial City: Late-nineteenth Century Colombo and Its Landscapes”. In Lilly Kong and Lisa Law (Eds.). Urban Studies: On Contesting Landscapes, Asia Cities (Special issue). 1703-1721. xiv Ibid. xv Alan COLQUHOUN. (1997). “The Concept of Regionalism”. In Gulsum Baydar Nalbantoglu and Cheng Thai Wong (Eds.). Postcolonial Space(s). New York: Princeton Architectural Press. xvi Nihal PERERA. (1998). “Society and Space: Colonialism, Nationalism, and Postcolonial Identity in Sri Lanka”. Boulder Co: West View Press. xvii Geoffrey BAWA, and Brian Brace TAYLER,. (1986). “Geoffrey Bawa”. Singapore: Concept Media. xviii Kenneth FRAMPTON. (1996). “The Work of Charles Correa”. In Charles Correa (Ed.). Charles Correa. London: Thames & Hudson. xix Charles CORREA. (2000). “Housing and Urbanization”. New York: Thames & Hudson. xx High Rise. (2000, February). Art4d, No.57, 46-49. xxi จักรสิน น้อยไร่ภูมิ. (2558). “สถาปัตยกรรม (ยั่งยืน) ในมุมมองพุทธปรัชญา”. http://malangphoo.com/?p=289 107 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


จากเฮือนสู่บ้าน:

เรือนพืน้ ถิน่ ภาคอีสานกับการปรับตัวสูส่ งั คมร่วมสมัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นพดล ตั้งสกุล

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น | nopthu@kku.ac.th

ภาพที่ 1 : รูปแบบเรือนอีสานแบบดั้งเดิม ที่มา : ภาพลายเส้น วิชิต คลังบุญครองและไพโรจน์ เพชรสังหาร (2530), เฮือนอีสาน. กรุงเทพ: เมฆาเพรส.

108 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018

Image 1 : Styles of Esan Houses Source : Vichit Klangboonkrong and Pairoj Petsangharn. (1987). “Huan Esan”. Bangkok: Meka Press.

The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


บทคัดย่อ ภายใต้กระแสแห่งการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วของปัจจัย แวดล้อมด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ท�ำให้เรือนพื้นถิ่นใน ภาคอีสานมีการคลี่คลายและปรับเปลี่ยนเพื่อให้สามารถคงอยู่ได้ อย่างเหมาะสมในปัจจุบนั การสืบค้นเอกสารทีศ่ กึ ษาเกีย่ วกับเรือน อีสานทีผ่ า่ นมาในบทความนี้ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ท�ำความเข้าใจการ เปลีย่ นแปลงของเรือนพืน้ ถิน่ ในภาคอีสาน เป็นเสมือนกับการ กลับ ไปทบทวนแบบแผนทีอ่ ยูอ่ าศัย วิถคี วามเป็นอยูแ่ ละสภาพแวดล้อม ในอดีตที่เปลี่ยนแปลงจากมูลเหตุหลายประการ จนส่งผลให้เกิด การผสมผสานข้อจ�ำกัดและเงือ่ นไขด้านบริบทแวดล้อม ท�ำให้เกิด การปรับตัวและเปลี่ยนแปลงจาก “เฮือนอีสาน”แบบเดิม สู่ “บ้าน อีสาน” ที่ตอบรับความต้องการทั้งด้านรูปแบบและความหมายที่ สอดคล้องกับผู้คนในปัจจุบัน คำ�สำ�คัญ: เรือนพื้นถิ่น, เรือนอีสาน, การเปลี่ยนแปลงและปรับตัวของ ที่อยู่อาศัย

ความนำ� ลั กษณะทางกายภาพที่ แ สดงออกผ่ า นรู ปแบบที่ห ลาก หลายของเรือนพักอาศัยพืน้ ถิน่ ภาคอีสานในปัจจุบนั ท�ำให้คนทัว่ ไป ได้รบั รูถ้ งึ การเปลีย่ นแปลงของเรือนพืน้ ถิน่ ทีเ่ ป็นไปอย่างรวดเร็ว เริม่ จากการลดจ�ำนวนลงของเรือนมีใต้ถนุ สูงทีป่ ลูกสร้างด้วยไม้ทงั้ หลัง เป็นการเพิม่ ขึน้ ของอาคารพักอาศัยทีส่ ร้างด้วยโครงสร้างคอนกรีต และมีรปู ร่างภายนอกไม่แตกต่างจากบ้านจัดสรรในพืน้ ทีย่ า่ นชาน เมืองใหญ่ๆ จนท�ำให้เป็นที่เข้าใจทั่วไปว่า แบบแผนที่อยู่อาศัยใน ท้องถิน่ ในทีส่ ดุ จะถูกกระแสแห่งความเป็นเมืองครอบง�ำจนหมดสิน้ บทความนี้ เขียนขึน้ ภายใต้แนวความคิดทีว่ า่ การศึกษาทาง กายภาพของสถาปัตยกรรมสามารถบ่งบอกเนื้อหาด้านพฤติกรรม และสังคมของผู้คนที่ใช้ชีวิตภายในเรือนได้ และเชื่อว่า การ เปลีย่ นแปลงจากปัจจัยภายนอกไม่สามารถเปลีย่ นลักษณะท้องถิน่ ได้อย่างเบ็ดเสร็จ บทความนี้จึงเป็นการรวบรวมเอกสารที่ศึกษา เกี่ยวกับเรือนพื้นถิ่นในภาคอีสานเพื่อสืบค้นเกี่ยวกับเรือนแบบ ดัง้ เดิม และน�ำเสนอแนวโน้มการเปลีย่ นแปลงของเรือนอีสานผ่าน ผลการศึกษาจากงานวิจยั ในพืน้ ทีภ่ าคอีสานของผูเ้ ขียนจากปี พ.ศ. 2544 ถึงปัจจุบัน ที่ท�ำการศึกษาและรวบรวมข้อมูลรูปแบบเรือน ตั้งแต่แบบดั้งเดิม แบบประยุกต์จนถึงแบบร่วมสมัย รวมถึงข้อมูล ด้านสภาพแวดล้อมการอยู่อาศัยภายในเรือน เพื่อใช้ในการตรวจ สอบความสัมพันธ์กับรูปร่างภายนอกที่หลากหลาย โดยที่เนื้อหา จะบทความจะแบ่งเป็นสามตอน ได้แก่ (1) เรือนอีสานแบบดัง้ เดิม หรือทีเ่ รียกกันทัว่ ไปว่า เฮือนอีสาน (2) บ้านอีสานในปัจจุบนั (เรือน อีสานร่วมสมัย) และ (3) แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของที่อยู่อาศัย ในภาคอีสาน

109 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


เฮือนอีสาน: เรือนอีสานแบบดั้งเดิม เอกสารทางวิชาการเกีย่ วกับเรือนอีสานตามแบบแผนเดิมทีถ่ อื ได้วา่ มีการใช้อา้ งอิงอยูบ่ อ่ ยครัง้ หากมีการกล่าวถึงเรือนอีสานนัน้ มักจะเป็นงานเขียนของวิชิตและไพโรจน์ (2530) เรื่อง เฮือนอีสาน ซึ่งได้กล่าวถึงรูปแบบเรือนพืน้ ถิน่ ในภาคอีสาน ประกอบด้วย เรือนเกย เรือนแฝดและเรือนโข่ง โดยใช้ ลักษณะภายนอกและรูปแบบของโครงสร้างในการจ�ำแนกประเภทเรือน ซึ่งในงานศึกษาอื่นๆอาจมี การใช้ชอื่ เรียกแตกต่างกันออกไป อาทิ สมชาย (2530) วิโรฒ (2536) และสุวิทย์ (2545) แต่มักพบว่า แบบแผนของรูปแบบเรือนอีสานแบบดั้งเดิมก็จะไม่ต่างออกไปจากนี้มากเท่าใดนัก ถึงแม้ว่าในระยะ หลัง มีการศึกษาเกีย่ วกับเรือนอีสานแบบเฉพาะเจาะจงด้านขอบเขตพืน้ ทีศ่ กึ ษาเพือ่ หาลักษณะเฉพาะ ของแต่ละพืน้ ทีใ่ นภาคอีสานจ�ำนวนมากขึน้ รวมทัง้ ทีม่ กี ารศึกษาตามแนวทางมานุษยวิทยาโดยศึกษารูป แบบสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นตามกลุ่มชาติพันธุ์ แต่ก็พบว่าเรือนของแต่ละกลุม่ ชาติพนั ธุม์ ลี กั ษณะร่วม ทางกายภาพที่คล้ายคลึงกัน ทั้งนี้เนื่องจาก เหตุผลด้านการใช้งานและวิถีชีวิตที่ตอบสนองสังคม เกษตรกรรมเหมือนกัน และผลสืบเนื่องจากการตั้งถิ่นฐานของแต่ละกลุ่มผู้คนที่มีการถ่ายเท-ปรับ เปลี่ยนทางสังคม-วัฒนธรรม โดยเฉพาะอิทธิพลจากกลุ่มหลักอย่างไทลาว จนส่งผลต่อการปรับตัว ให้ผสานกลมกลืนกับวัฒนธรรมหลัก กลายเป็นแบบแผนที่อยู่อาศัยส�ำคัญของภาคอีสาน

ภาพที่ 2 : แบบแผนการกำ�หนดพื้นที่ในเรือนอีสานแบบดั้งเดิม Image 2 : Patterns of spatial allocation of traditional Huan Esan

การศึกษาเกีย่ วกับเรือนอีสานในระยะหลังจะเน้นการเจาะลึกรายละเอียดตามพืน้ ทีศ่ กึ ษาเป็น กรณีศกึ ษาแต่ละพืน้ ทีห่ รือตามกลุม่ ชาติพนั ธุ ์ ทำ� ให้พบว่า แบบแผนดัง้ เดิมของเรือนพืน้ ถิน่ ในภาคอีสาน แท้ จ ริ ง แล้ ว มี ค วามหลากหลายและมี อั ต ลั ก ษณ์ ที่ แ ตกต่ า งกั น ในแต่ ล ะพื้ น ที่ ซึ่ ง ขึ้ น อยู ่ กั บ ว่ า ประวัติศาสตร์ในพื้นที่ การตั้งถิ่นฐานและกลุ่มผู้คนที่เป็นผู้หล่อหลอมรูปแบบเหล่านั้นมาจากที่ใด ตัวอย่างเช่น เรือนไทยเลยและเรือนไทยโคราช เป็นรูปแบบเรือนทีเ่ ป็นการสร้างสรรค์ทผี่ สมผสานจาก หลากหลายปัจจัยแวดล้อม โดยเฉพาะปัจจัยทางวัฒนธรรมในพื้นที่ที่หล่อหลอมให้เกิดอัตลักษณ์ที่มี ลักษณะเฉพาะของแบบแผนที่อยู่อาศัยที่แตกต่างจากวัฒนธรรมหลักในพื้นที่ภาคอีสาน (คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2556 และ 2560) ดังนั้น การกล่าวถึงเรือนใน “ภูมิภาค”อีสานที่แบ่งตามขอบเขตด้านพื้นที่การปกครองเป็นหลัก อาจต้องมีการกล่าวถึงความเป็น “พื้นที่อีสาน” ที่มีความเฉพาะเจาะจงมากขึ้น เนื่องจากปัจจัยแวดล้อมของแต่ละท้องถิ่นแตกต่างกัน

110 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ภาพที่ 3 : เรือนไทยเลย Image 3 : Huan Thai Loei

ภาพที่ 4 : เรือนไทยโคราช ที่มา : ปาลชาติ ปรีชาลัย

Image 4 : Huan Thai Korat Source : Palchart Preechalai

111 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


เรือนอีสานแบบดัง้ เดิมทีย่ งั หลงเหลืออยูใ่ นปัจจุบนั มีรปู แบบทีส่ อดคล้องกับข้อมูลทีน่ กั วิชาการ รุ่นบุกเบิกได้ท�ำการศึกษาและบันทึกไว้ มักจะมีอายุเรือนประมาณไม่เกิน 120 ปี ซึ่งส่วนใหญ่รูปแบบ ที่พบจะเป็นแบบเรือนเกย และพบเรือนหลังคาจัว่ คู(่ เรือนโข่งและเรือนแฝด)บ้าง แต่กม็ จี ำ� นวนไม่มากนัก ซึ่งถือว่าเป็นแบบแผนหลักของเรือนที่ได้รับอิทธิพลจากกลุ่มไทลาว เรือนเหล่านี้ผ่านกระบวนการ ก่อสร้างที่แต่เดิมเป็นชาวบ้านร่วมกันสร้างเอง โดยการใช้วัสดุที่หาได้จากภูเขาหรือท้องนาใกล้ชุมชน เป็นหลัก เช่น ไม้ ไม้ไผ่ หญ้า เป็นต้น รวมทัง้ มีการใช้วสั ดุแบบถาวรอย่างไม้เนือ้ แข็งในการปลูกสร้างเรือน สัดส่วนเรือนเป็นผลสืบเนื่องจากคติความเชื่อในการเลือกวัสดุปลูกสร้างเรือนและการใช้โสก(โฉลก) เป็นมาตราส่วนในการก่อสร้างได้กอ่ ให้เกิดระบบในการวัดทีม่ าจากสัดส่วนของร่างกายของเจ้าของเรือน และ ส่งผลต่อสัดส่วนของเรือนในชนบท ซึง่ ได้สะท้อนถึงความสัมพันธ์ของเรือนและผูเ้ ป็นเจ้าของเรือนได้เป็น อย่างดี ส�ำหรับการก�ำหนดพืน้ ทีภ่ ายในเรือนอีสานแบบเดิมมีสว่ นในเรือนกับพืน้ ทีก่ งึ่ เปิดโล่ง(เกยหรือโข่ง) และครัว ภายในเรือนไม่กนั้ ฝาผนัง ประกอบด้วย พืน้ ทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ(์ เปิงหรือฮอง)และส่วนนอนของลูกชาย พืน้ ทีน่ อนของพ่อแม่ผเู้ ป็นเจ้าของเรือนและพืน้ ทีน่ อนของลูกสาว(ส่วม)ซึง่ เป็นเพียงส่วนเดียว ทีม่ กี ารปิด ล้อมด้วยการกัน้ ห้อง การครอบครองพืน้ ทีม่ กี ารจัดระบบตามความเชือ่ โดยเน้นการให้ความส�ำคัญกับ เพศชายในส่วนหน้า ส่วนเพศหญิงจะล�ำดับอยูด่ า้ นหลังเรือน ตัวเรือนหันสกัดเรือนไปในแนวทิศตะวัน ออก-ตะวันตก มกี ารก�ำหนดพืน้ ทีโ่ ดยวางทิศทางสอดคล้องทัง้ การใช้งานในระดับครัวเรือนและ มีความ สัมพันธ์กับคติความเชื่อในระดับชุมชนและบริบทแวดล้อมในการตั้งถิ่นฐาน อาทิ การเน้นความ ส�ำคัญของการหันจั่วของหลังคาที่ขนานไปกับแนวของแหล่งน�้ำธรรมชาติ การจัดวางทิศทางของ หัวนอนตีนนอน เป็นต้น

ภาพที่ 5 : รูปแบบเรือนอีสานในปัจจุบัน ที่มา : ธนิศร์ เสถียรนาม (2560). ความหลากหลายของการสืบสานเรือนพื้นถิ่นในภาคอีสานของประเทศไทย. ขอนแก่น: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. Image 5 : Different styles of contemporary Huan Esan Source : Thanit Satiennam. (2017). A Diversity Of Vernacular House Inheritance in the Isaan Region of Thailand. Khon Kaen: The Faculty of Architecture, Khon Kaen University.

112 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


บ้านอีสานในปัจจุบนั : เรือนอีสานร่วมสมัย นอกจากความหลากหลายด้านรูปแบบเรือนอีสานแบบเดิมที่ปรากฏจากการศึกษาที่ผ่านมาแล้ว ยัง พบว่า เรือนอีสานตามแบบเดิม(เรือนที่ได้รับอิทธิพลจากกลุ่มไทลาว)ก็มีการปรับเปลี่ยนด้านรูปแบบ เช่นเดียวกัน ทั้งนี้เนื่องจากข้อจ�ำกัดด้านทรัพยากรในท้องถิ่น และการลดลงของทรัพยากรที่จะใช้ ก่อสร้างตามแบบแผนเดิม ซึ่งในระยะหลังมีวัสดุเฉพาะที่ผลิตส�ำเร็จรูปจากโรงงานและวางจ�ำหน่าย ในร้านค้าในตัวอ�ำเภอหรือร้านใกล้หมู่บ้านจึงท�ำให้มีการปรับวิธีการก่อสร้างมาใช้โครงสร้างหลัก เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก ผนังก่ออิฐฉาบปูนเรียบ ชัน้ ล่างมักปิดล้อมเกือบทัง้ หมด และหันมาใช้รปู แบบ บ้านเรือนตามสมัยนิยม การเปลี่ยนแปลงการใช้วัสดุสมัยใหม่ เช่น การใช้เสาคอนกรีตหล่อส�ำเร็จรูป หรือใช้โครงสร้างหลักเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก ท�ำให้เกิดสัดส่วนของอาคารทีส่ งู ใหญ่ ขนาดกว้างกว่า เรือนอีสานแบบเดิมเป็นอันมาก วัสดุที่ใช้ก็มีความทนถาวรมากขึ้น เช่น พื้นปูกระเบื้องเซรามิค ผนัง ก่ออิฐมอญ/คอนกรีตบล็อก ฉาบปูน หลังคากระเบื้องคอนกรีต เป็นต้น การเลือกใช้วัสดุในการ ก่อสร้าง ส่งผลโดยตรงต่อลักษณะของเรือน ทั้งด้านขนาดและสัดส่วน ความชันหลังคา ความกว้าง ของช่วงเสา ปริมาณวัสดุที่ใช้ ซึ่งมีผลต่อภาวะน่าสบายในการอยู่อาศัยภายในเรือนโดยตรง

ภาพที่ 6 : การกำ�หนดพื้นที่ในเรือนอีสานจากเรือนรูปแบบดั้งเดิม และเรือนในปัจจุบันที่รูปแบบปรับเปลี่ยนตามสมัยนิยม Image 6 : The changes in spatial allocation between traditional and contemporary Huan Esan

การก�ำหนดพื้นที่ภายในเรือนนั้น พบว่า จากที่เคยเปิดโล่งไม่มีการกั้นผนังภายในเรือนนอน มีการเพิม่ ผนังเพือ่ กัน้ เป็นห้องให้มคี วามเป็นสัดส่วนมากขึน้ มกี ารปิดล้อมมากขึน้ ทัง้ ส่วนบนเรือนและ ชั้นล่าง บันไดถูกปรับเปลี่ยนให้อยู่ภายในเรือนด้วยเหตุผลด้านความปลอดภัย จากเดิมบนเรือนจะ เป็นพื้นที่ใช้งานหลัก ปัจจุบันหันมาใช้พื้นที่ใต้ถุนแทนเนื่องจากการใช้วัสดุสมัยใหม่มุงหลังคาท�ำให้ สภาวะสบายบนเรือนเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม บนเรือนจึงกลายเป็นที่เก็บของแทนการใช้อยู่อาศัย ส�ำหรับการวางทิศทางของเรือนนั้น ปัจจุบันหันด้านหน้าเข้าหาถนน เน้นความสะดวกในการเข้าถึง จากถนนเป็นหลัก และมักจะเป็นด้านสกัดของอาคาร ทั้งนี้เนื่องจากมีการแบ่งแปลงที่ดินที่ขนาดเล็ก ลง จงึ มีขอ้ จ�ำกัดในการจัดวางเรือนลงในแปลงทีด่ นิ แม้วา่ คติความเชือ่ เรือ่ งการวางทิศทางของเรือน จะลดความเคร่งครัดลง แต่อย่างไรก็ตามพบว่า ผูค้ นในพืน้ ทีย่ งั คงมีความเชือ่ เกีย่ วกับการหันทิศทาง ของหัวนอนและล�ำดับการจัดต�ำแหน่งของการนอน โดยที่ภายในส่วนเรือนนอนของคนในครอบครัว จะให้ความส�ำคัญกับทิศหัวนอนด้านตะวันออกและหันหัวนอนไปผนังด้านทีม่ หี งิ้ พระหรือหิง้ บรรพบุรษุ 113 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของที่อยู่อาศัยในภาคอีสาน ภาคอีสานเป็นพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากแผนพัฒนาประเทศทั้งระดับภาคและระดับจังหวัด โดยเฉพาะจากโครงการขยายเครือข่ายการคมนาคมขนส่ง ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลให้สภาพทางกายภาพและสังคมของชุมชนเดิมเปลี่ยนไป หมู่บ้านที่ เดิมเคยอยูไ่ กลถนนเข้าไปไม่ถงึ ในปัจจุบนั ได้มกี ารเชือ่ มโยงเส้นทางเข้าหาชุมชนใกล้เคียง ส่วนหมูบ่ า้ น ที่เดิมมีถนนอยู่แล้วก็มีการ “พัฒนา” ขยายขนาดและปรับปรุง โครงสร้างเดิมให้ติดต่อกับทางหลวง จังหวัด เพื่อให้สามารถเดินทางเข้าสู่ศูนย์กลางของจังหวัดได้ง่ายขึ้น และจากเดิมที่ไม่มีไฟฟ้าและ ประปา ก็เริ่มมีการติดตั้งระบบสาธารณูปโภคเข้าสู่บ้านเรือนเพื่ออ�ำนวยความสะดวกสบายตามแนว วิถีชีวิตของคนสมัยใหม่ การพัฒนาโดยเล็งเห็นการขยายตัวทางโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ เป็นหลักได้สง่ ผลกระทบต่อลักษณะทางรูปแบบอาคารพักอาศัยและลักษณะทางสังคมและชีวติ ความ เป็นอยู่ของคนในชุมชนภาคอีสาน โดยเฉพาะตามชนบทถือว่าเป็นพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วและเห็นได้อย่างชัดเจนที่สุด การเปลี่ยนแปลงของผังชุมชนอีสานในภาพรวม มักเกิดจากแผนพัฒนาในพื้นที่ชนบทเพื่อ รองรับความเป็นเมืองโดยเฉพาะการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานซึ่งมักส่งผลกระทบต่อผังชุมชน โดยตรง ตัวอย่างเช่น มีการตัดถนนแบบตารางขึ้นใหม่ โดยซ้อนทับทางเดินเชื่อมระหว่างกลุ่มเรือน ที่ ตัง้ กระจายอยูต่ ามพืน้ ทีช่ มุ ชน ส่วนใหญ่มกั จะเป็นตามกลุม่ เครือญาติเดียวกัน ดว้ ยขนาดถนนภายใน ชุมชนที่กว้างขึ้นกว่าเดิม ประกอบกับมีจำ� นวนยานพาหนะเพิ่มขึ้น พร้อมกับสิ่งแวดล้อมที่ไม่คุ้นเคย และเสี่ยงต่ออันตรายมากขึ้น ท�ำให้เกิดการแบ่งเขตครอบครองเรือนแต่ละหลังโดยใช้รั้วมากขึ้น อย่างไรก็ตามพบว่า ผู้คนในชุมชนยังนิยมจะเดินสัญจรไปมาหาสู่กันโดยการใช้ทางเดินระหว่างเรือน แต่ละหลังมากกว่าการใช้ถนนหลักที่ตัดขึ้นใหม่ (มนสิชา, 2547) ข้อมูลจากการศึกษาพบว่าการปรับเปลีย่ นรูปทรงภายนอกของเรือนเป็นการสะท้อน “เปลือก” แห่งความต้องการภาพลักษณ์ที่ปรับเปลี่ยนให้ทันกับสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคมที่ เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา (นพดล, 2545) ในทางตรงข้าม “แก่น” ส�ำคัญที่สะท้อนออกมาใน พฤติกรรมการใช้พนื้ ทีภ่ ายในเรือนยังคงแฝงไว้ดว้ ยการจัดระบบทางสังคมทีเ่ กิดจากการสืบทอดอย่าง เป็นแบบแผนที่ยังคงยึดเหนี่ยวจิตวิญญาณแห่งความเป็นตัวตนซึ่งถูกแสดงออกเฉพาะกับการรับรู้ ด้วยพฤติกรรมภายในเท่านัน้ จึงเป็นเสมือนภาพทีเ่ น้นความชัดเจนของแนวความคิดทีว่ า่ ลักษณะพืน้ ถิน่ ไม่อาจถูกลบเลือนไปได้โดยง่ายดาย แต่เป็นการปรับเปลี่ยนให้สอดประสานกับสภาพแวดล้อม โดยรอบเพือ่ ความเหมาะสมตามกาลเวลา บทสรุปการตัง้ ข้อสังเกตในการศึกษาครัง้ นี้ น่าจะเป็นส่วนหนึง่ ของภาพทีส่ ะท้อนถึง การเปลีย่ นแปลงของสถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ ว่า มีความคล้ายคลึงหรือแตกต่างกัน อย่างไรในภาพรวมของทั้งประเทศได้ นอกจากนี้ การทบทวนศึกษาลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางรูปแบบเรือนพื้นถิ่นในภาคอีสาน ได้ชี้ให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและทางสังคมของชุนชนและที่อยู่อาศัยแบบดั้งเดิม ซึ่ง ปรากฏการณ์ดงั กล่าวมีลกั ษณะทีใ่ กล้เคียงกันในหลายพืน้ ที่ โดยเฉพาะแนวทางในการพัฒนาชนบท ของประเทศไทย บทความนี้จึงเป็นเพียงจุดเริ่มต้นในการที่จะติดตามผลการศึกษาในมิติอื่นๆ เช่น ศึกษาพฤติกรรมการใช้ที่ว่าง แนวความคิดด้านรสนิยมต่อรูปแบบอาคารพักอาศัย เป็นต้น หรือเป็น แนวทางในการศึกษาในการศึกษาชุมชนอื่นๆเพื่อขยายผลและหาข้อสรุปที่สามารถน�ำไปดัดแปลง และปรับปรุง เพือ่ ให้เกิดประโยชน์ในการวางแผนพัฒนาประเทศโดยเฉพาะแผนพัฒนาชุมชนในชนบท ให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนในท้องที่ได้ดียิ่งขึ้นในอนาคต

114 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


เอกสารอ้างอิง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (2556). โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดการความรู้เรื่องที่อยู่อาศัยและวิถีการอยู่อาศัย ผ่านภูมิปัญญาท้องถิ่น (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) กรณีศึกษาพื้นที่ลุ่มน�ำ้ เลย. ขอนแก่น: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (2560). โครงการศึกษาวิจยั เพือ่ จัดการความรูเ้ รือ่ งอัตลักษณ์และภูมปิ ญ ั ญาด้านทีอ่ ยู ่ อาศัยของท้องถิ่น กรณีศึกษาพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือบริเวณลุ่มน�้ำมูล-ล�ำพระเพลิง. ขอนแก่น: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ทรงยศ วีระทวีมาศและคณะ. (2548). สถาปัตยกรรมสิง่ แวดล้อมในเรือนพืน้ ถิน่ ไท-ลาวในภาคอีสานของประเทศไทยและใน สปป.ลาว. รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์ ในโครงการ ภูมปิ ญ ั ญา พัฒนาการและความสัมพันธ์ระหว่างกันของเรือนพืน้ ถิน่ ไท-ไทย: คุณลักษณะ สถาปัตยกรรมสิ่งแวดล้อมในเรือนพื้นถิ่น. ขอนแก่น: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์. ธนิศร์ เสถียรนาม. (2560). ความหลากหลายของการสืบสานเรือนพื้นถิ่นในภาคอีสานของประเทศไทย. ดุษฎีนิพนธ์. หลักสูตรปรัชญา ดุษฎีบัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ธิติ เฮงรัศมีและคณะ. (2535). รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบบ้านพักอาศัยในชนบทอีสานแถบลุ่มน�ำ้ ชี. ขอนแก่น: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. นพดล ตั้งสกุล. (2545). การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของอาคารพักอาศัยและปัจจัยทางสังคมที่เกี่ยวข้อง กรณีศึกษาบ้านเขวา อ�ำเภอ มัญจาคีรี จังหวัด ขอนแก่น. ใน วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น: หจก. โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา. 2545. หน้า 29-37. นพดล ตั้งสกุลและคณะ. (2554). เคหะชนบทแบบบูรณาการ ภาคอีสานตอนบน. ขอนแก่น: หจก. โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา. มนสิชา เพชรานนท์. (2547). โครงการวิจัย มิติทางสังคมและวัฒนธรรมและความหมายของพื้นที่ในชุมชนหมู่บ้านผู้ไท. ขอนแก่น: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วิชติ คลังบุญครองและไพโรจน์ เพชรสังหาร. (2530). “เฮือนอีสาน”. ใน กรรมาธิการสถาปนิกอีสาน (บรรณาธิการ). สถาปัตยกรรมอีสาน. กรุงเทพฯ: เมฆาเพลส. วิโรฒ ศรีสุโร. (2536). “เรือนไทยในภาคอีสาน.” ใน เรือนไทย. กรุงเทพฯ: ฉลองรัตน. หน้า 119-156. สมชาย นิลอาธิ. (2530). “เรือนอีสานและประเพณีการอยู่อาศัย.” ใน สถาปัตยกรรมอีสาน. กรุงเทพฯ : เมฆาเพรส. หน้า 137-140. สุวิทย์ จิระมณี. (2545). ศิลปสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นอีสานในวัฒนธรรมไทย-ลาว. ชลบุรี: คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

115 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


From Huan to House:

Esan’s Vernacular Homes and Adaptation to Contemporary Culture Asst. Prof. Nopadon Thungsakul, Ph.D.

Department of Architecture, Faculty of Architecture Khon Kaen University | nopthu@kku.ac.th

Abstract

Due to rapid changes in economic and socio-cultural factors, vernacular houses in the Northeast of Thailand or Esan area

have been extensively changed and modified to meet the needs of local people today. This article aims to understand the evolution of vernacular houses in Esan by reviewing documents from previous studies. The patterns of vernacular houses and their contexts from traditional to current houses are explored and the results show that Esan vernacular houses have been adapted and transformed from a mixture of constraints and changes in living conditions. The original “Huan Esan” has adapted into “Baan Esan” with forms and meanings responding to today’s society

Keywords:

Vernacular house, House in northeast region or Esan House, Change and Adaptation of Housing

Introduction

The physical characteristics expressed in a variety of

Esan’; (2) Esan houses in the present time (contemporary Huan

today’s Esan houses reflect the rapid changes that this type of

Esan; and (3) the change in residential trends in the Esan region.

vernacular architecture is going through. Initially it can be seen in the reduction of traditional houses with elevated floors that are constructed entirely with wood. In its place are the increase

Huan Esan: Traditional Esan House

in residential buildings with concrete structures and a physical

appearance that resembles houses in suburban housing estates.

traditional Huan Esan is that of Wichit and Pairoj’s “Huan Esan’

It is now commonly understood that the predominant

(2530), which details and categorizes the architectural styles of

pattern of local living will eventually be replaced by the sprawl

traditional Esan houses into Huan Goei, Huan Fad and Huan

of urbanization.

Khong. The categorization is done based on the houses’ physi-

One of the most referenced academic documents about

cal appearances and structural characteristics. Different names

The article is written under the notion that physical study

are used when referring to these houses in other studies such

of architecture can identify behavioral and societal dimensions

as Somchai (2530), Wirote (2536) and Suwit (2545), but it is

of people living in these Esan houses, with the belief that chang-

often found that the patterns of traditional Esan houses bear no

es brought about by external factors cannot ultimately and

significant difference from the aforementioned terms. While

entirely change the pre-existing local characteristics. This article

there have been an increasing number of studies about Esan

is a review of previous literature that focuses on vernacular

houses with site specific approaches that aim to attain charac-

houses in the Esan region. It presents the changes of “Huan

teristics of the architecture in different areas of the region, in-

Esan” through the study of the author’s own fieldwork research

cluding anthropological approaches to the study of vernacular

conducted between the year 2000 and present, which explored

architecture defined by ethic groups, it is discovered that these

and collected data encompassing different types of Esan hous-

houses contain certain common physical characteristics. There

es, from authentically traditional houses to newer residential

are similarities in functional factors and users’ agricultural way

structures with more contemporary functions and esthetics.

of life as well as the settlement of these ethic groups, which

Environmental information concerning the dwellers’ quality of

result in the socio-cultural circulation and changes, particular-

living is also obtained and used to examine its relationship with

ly the influence from the dominant Tai-Laos ethic group . These

diverse physical characteristics of the houses. The three parts of

factors lead to the locals’ adaptation to the bigger cultural group

this article include: (1) traditional Esan houses known as ‘Huan

and eventually the conception and development of the region’s residential pattern.

116 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


The studies about Esan houses in recent years focus more

located at the back of the house. The house is located in the

on the in-depth details of architecture in a particular area by

east-west orientation with a spatial layout that corresponds with

presenting a case study in each locality or according ethic group,

the house’s functions for both the household and community

revealing a great diversity of the traditional pattern of local

scale. It also considers factors surrounding the locals’ beliefs

houses in the region with each area containing its own identity.

within the settlement and house construction such as the direction

The formation and evolution of architectural characteristics are

of the gable, which ideally, should be parallel with nearby natural

derived from local history and the settlement of people who live

sources of water, the position of the bed and other factors.

in that particular area. For instance, the Loei and Korat houses have an architectural style that sees a creative mix of different factors. The cultural elements, in particular, contribute to the formulation of a highly distinctive architectural identity with specific residential patterns that differentiate itself from the region’s parent culture (Faculty of Architecture , Khon Kaen University, 2556 and 2560). As a result, to discuss ‘house’ in the context of Esan region, which is physically divided by administrative boundaries, it is necessary to reference ‘Esan’ in a more specific sense due to the differences in each area’s governing factors.

The remaining traditional Esan houses today possess

architectural characteristics that correspond with information studied and provided by the pioneering academics. From these previous studies, the documented maximum age of these houses is up to 120 years old, with the majority of them being the ‘Koei’ type. Double gable roofs (of Khong and Fad house) are sporadically found but not that many in number. While their architectural compositions are influenced by Tai-Laos culture, these houses have gone through the construction process originally carried out by locals using locally available materials such as wood, bamboo, grass, as well as more permanent materials such as hardwood. The use of Esan’s ‘soke’ (cha-loke) as the measurement tool for the construction gives birth to the measurement system that incorporates the dweller’ body proportions, which

Esan House Today: Contemporary Huan Esan In addition to the diversity of styles, the traditional Esan Huan in past studies (particularly the ones influenced by Tai-Laos culture) shows particular details in the elevation. Their adaptation is the result of the reduced availability of traditional materials and resources. In their place are readyto-use, factory-made materials that are now available in local shops and establishments. Such changes lead to adaptation in the construction process that incorporates the use of reinforced concrete and concrete-cladded brick walls such as for the enclosure of the entire ground floor. Among the changes in materials is the use of precast concrete columns and reinforced concrete for the house’s primary structure. This shift leads to a much larger structure with proportionally wider spans compared to the traditional Esan houses. The materials are more durable as in the case of ceramic tiles for flooring, walls constructed of brick/concrete blocks, with their smooth concrete-cladded surface, Cepac tiles used for the roof construction, among other changes. These materials affect the house’s compositional characteristics and architectural esthetics such as the size, proportion, column span and to the amount of materials used. Collectively, these changes also have a direct effect on the house’s thermal comfort.

ultimately affects the proportion of the house and reflect the relationship between the house and its owner.

The allocation of the interior spaces sees more enclosure.

Traditionally, sleeping areas are an unobstructed open space, For the spatial allocation, a traditional Esan house is

but in the more contemporary houses, walls and partitions are

made up of interior and semi-outdoor space (Koei or Khong)

added to give greater privacy to the dwellers. More enclosures

and the kitchen. The interior space does not have partitions and

can be seen with both the ground and upper floors, with the stair

on the sacred ground (Perng or Hong) and the sleeping area for

relocated to the inside of the house for safety purposes. The role

the son(s), the parents and the daughter(s), with the latter part

of the elevated floor originally used as the primary functional

being the only section of the house that is partitioned. The space

space is now replaced with the ground floor area. The use of

is hierarchically allocated, following the patriarchal culture in

modern construction materials for the roof causes the thermal

Esan, with the male members of the family occupying the front

comfort of the elevated floor to change, and as a result, the

part of the house while the female members are given the space

upper floor is now used mainly as a storage area. In terms of

117 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


orientation, modern-day Esan houses face their front, usually

the new, unfamiliar and more dangerous environment. Fences

the end wall, to the street to facilitate an access to the public

are utilized to indicate the physical boundaries between houses.

road. While today’s houses are located on lands that are com-

Nevertheless, it is found that the locals still prefer to use the

paratively smaller, which leads to other limitations in building

original roadways and walkways for their daily commute more

orientation, and despite the less strict traditional belief in facing

than the new roads (Monsisha, 2547).

the house a certain direction, it is still common for people in Also found from these studies is the way the adaptation

the region to follow the belief concerning the direction of the

bed as well as the hierarchy of the each member’s sleeping area.

of the houses’ physical appearance is a reflection of the owners’

The bed head is still popularly positioned to face the east

desire to create a ‘shell’; an image that is more relevant and

where the Buddhist or ancestral shrine is located.

better corresponds the changing economic and social climate (Noppadol, 2545). On the contrary, the ‘core’ reflected in the

Tendency and changes in Esan living culture

way people use and interact with functional spaces in their houses still portrays the social hierarchy that has been systematically transmitted. These beliefs still serve as the spiritual

Esan is a region that has been affected by the national

foundation of the identity expressed exclusively through

development plan in both the regional and provincial levels,

people’s innate behaviors. It paints a clear picture that the

particularly from the expansion of transportation networks,

local identity cannot be easily erased. What is happening is an

public utility systems and infrastructures. Such changes have

attempt to adapt to the changing environment brought about

led to the transformation of the physical characteristic of local

by time and progress. The conclusion of this study can serve

communities and societies. Villages that used to be inaccessible

to reflect the changes in vernacular architecture including the

by public roads are now connected to neighboring communities

differences it has and the common ground it shares with

while the villages with public roadways already now see greater

vernacular architecture in other parts of the country.

development in both size and quality of the original infrastructure, facilitating commuter linkages to the city center of

In addition, the reexamination of the changes in the

the province. The areas that once had no access to electricity

architectural characteristics of Esan houses pinpoints the

and clean water are now granted the convenience of these

transformation of physical and societal change of the region’s

public utility services as people’s way of life becomes more

local communities and homes. Such phenomenon bears

modernized. The developmental approaches that highlights

similarities to what has been happening in several other

the expansion of infrastructure have influenced the physical

localities, especially rural areas included in the country’s

characteristics of residential buildings as well as the societal

developmental approaches and plans. This article is, therefore,

and living conditions of people in the Esan region, particularly

just a beginning for other different dimensions of the study,

in remote and rural areas, where the most rapid and significant

from the dwellers’ behaviors and usage of architectural space,

changes could be seen.

including their preferences and tastes towards different styles of residential buildings. It can also be used as a guideline for

The change in Esan’s community map often derives

the studies on other communities to achieve new findings and

from the developmental plans implemented on the rural areas

conclusions that can be applied and improved to generate the

as a tool that help prepare the local communities to urbanization,

highest benefits to the country’s developmental plans, partic-

especially the development of infrastructural systems, which

ularly the development of rural communities in the rural areas.

often have direct effects on the local communities. One of the

Ultimately, these studies can ultimately create more efficient

examples is when a plan for the construction of new roadways

and truly locally derived solutions in the future.

is announced. There are cases where the expanding infrastructure overlaps the internal roadways. These roadways connect different living units in a community (where most dwellers are relatives), with the size of the road that is physically bigger, bringing about an increasing number of vehicles, including

118 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


Bibliography The Faculty of Architectue, Khon Kaen University. (2013). A Study for Knowledge Management on Local Wisdom through

Traditional Housing and People’ Way of Life (North-east Region). Khon Kaen: The Faculty of Architecture,

Khon Kaen University.

The Faculty of Architecture, Khon Kaen University. (2017). Knowledge Management of Thai Identity and Local Wisdom on

Housing Development in Northeastern Region: A Case study of the Mun-Phra Pleng River Basin in Korat Basin.

Khon Kaen: The Faculty of Architecture, Khon Kaen University.

Songyot Weerataweemat et al. (2005). Sustainable Qualities in Tai-Lao Vernacular Houses of the Northeast Thailand and

Lao PDR. The complete research paper as a part of Wisdoms, Developments, and Relationships between Tai-Thai

vernacular houses project: Characteristics of environmental architecture in vernacular houses. Khon Kaen:

The Faculty of Architecture, Khon Kaen University.

Thanit Satiennam. (2017). A Diversity Of Vernacular House Inheritance in the Isaan Region of Thailand. Dissertation. Doctor

of Philosophy (Architecture) Khon Kaen University.

Dhiti Hengrasmee et al. (1992). Architectural Development for Housing in Rural Esan. (Chi River Basin). Khon Kaen:

The Faculty of Architecture, Khon Kaen University.

Nopadon Thungsakul. (2002). Changes of Style of Residential Buildings and Related Social Factors: A Case Study of Bann

Khwao Community. Khon Kaen. In Academic Journal of The Faculty of Architecture, Khon Kaen University.

Khon Kaen: Klang Nana Wittaya Publishing House Limited Partnership. (2002). Page 27-37.

Nopadon Thungsakul et al. (2011) Integrated Approach on Rural Housing Design in the Upper Part of North-eastern Region.

Khon Kaen: Klang Nana Wittaya Publishing House Limited Partnership.

Monsicha Bejaranada. (2004). Social and Cultural Dimensions and the Meaning of Space in Phu Thai Village Community.

Khon Kaen: The Faculty of Architecture, Khon Kaen University.

Vichit Klangboonkrong and Pairoj Petsangharn. (1987). “Huan Esan”. In Esan Architectural Commission (Editorial). Esan

Architecture. Bangkok: Meka Press.

Wirote Sisuro. (1993). “Huan Thai in Esan.” In Huan Thai. Bangkok: Chalongrat. Page 119-156. Somchai Nilathi. (1987). “Huan Esan and the Living Traditions.” In Esan Architecture. Bangkok: Meka Press. Pge 137-140. Suwit Jiramanee. (2002). The Art of Esan Vernacular Architecture in Tai-Lao Culture. Chonburi: The Faculty of Fine and

Applied Arts, Burapha University.

119 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


แนวคิดสถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ ใหม่ สูก่ ารออกแบบและสร้างด้วยตนเอง ดร.จันทนีย์ จิรัณธนัฐ

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น | wchant@kku.ac.th

ภาพที่ 1 : ความหลากหลายของวัสดุและรูปแบบของรูปแบบการใช้งานของเรือนในกัมปงพลก กัมพูชา ซึ่งมีทั้ง วัสดุธรรมชาติและวัสดุในระบบอุตสาหกรรม ที่หาซื้อได้ง่ายและมีอายุการใช้งานนาน ที่มา : ถ่ายภาพโดย จันทนีย์ จิรัณธนัฐ, 2559

120

ตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม Image 1 : วารสารสถาปั The variety of construction materials, both natural materials and long-lasting manufactured materials, easily found in today’s hardware stores, ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural of Theto Association of Siamese Architects were Journal applied the vernacular architecture at the village of Kompong Phluk in Cambodia. Source : Chantanee Chiranthanut, 2016 under the Royal Patronage


บทคัดย่อ แนวคิดการสร้างสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นมีความน่าสนใจที่ ความเป็นสากลและทันสมัย ความเข้าใจและการใช้สิ่งที่มีอยู่รอบ ตัว ปรับตัวทันกับสมัย ทัง้ ต่อสถานการณ์ ตลอดจนบริบทแวดล้อม และการแก้ปัญหาที่เหมาะสมกับเวลานั้น การท�ำงานภายใต้ข้อ จ�ำกัดทัง้ เวลา งบประมาณ แรงงาน ความเชีย่ วชาญในเชิงช่าง ซึง่ มี แนวทางการท�ำงานโดยการเรียนรู้ทักษะต่างๆ ผ่านการลงมือท�ำ ด้วยตนเอง หรือ Learning by Doing มาเสมอ ท�ำให้สถาปัตยกรรม พื้นถิ่นนั้นมีพลวัต เกิดสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นใหม่ที่มีรูปแบบแตก ต่างไปจากแบบแผนและระบบในอดีตอยูเ่ สมอ ในท�ำนองเดียวกัน แนวคิดเหล่านีม้ คี วามคล้ายกับแนวคิดและแนวทางในการท�ำงาน ออกแบบและลงมือก่อสร้างเอง หรือทีเ่ ราทราบกันในชือ่ ว่า Design-Build ทีส่ ามารถสะท้อนให้เห็นถึงแนวคิดพืน้ ถิน่ ใหม่ได้ดี บทความนีแ้ สดง มุ ม มองการเรี ย นการฝึ ก ฝนทางสถาปั ต ยกรรมผ่ า นโครงการ DesignBuild ซึ่งมีรูปแบบการเรียนรู้แบบ Learning by Doing ที่ ผู้เขียนได้ร่วมท�ำกิจกรรมกับค่ายอาสาพัฒนาของนักศึกษาและ มองเห็นถึงความสอดคล้องของแนวความคิดในการท�ำงานและการ สร้างงานสถาปัตยกรรมระหว่างโครงการ DesignBuild กับแนวคิด ในการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นใน 4 ประเด็น คือ 1) การใช้ วัสดุทอ้ งถิน่ กับความเหมาะสมในการใช้งาน 2) ความเข้าใจบริบท และข้อจ�ำกัด 3) การน�ำกลับมาใช้ใหม่ 4) การบริหารจัดการ การ ั หาและการประยุกต์ โดยโครงการพยายามน�ำแนวคิดเหล่านัน้ แก้ปญ มาศึกษาและประยุกต์ใช้ โดยเฉพาะในการจัดการกับข้อจ�ำกัดและ เงือ่ นไขจ�ำนวนมาก ภายในระยะเวลาทีจ่ ำ� กัด ซงึ่ เป็นการลองตัง้ ค�ำถาม ในการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมที่เหมาะสมกับพื้นถิ่นที่บริบท แปรเปลี่ยนไปว่ามีคำ� ตอบและแนวทางเป็นไปอย่างไรได้บ้าง คำ�สำ�คัญ: แนวคิดพื้นถิ่นใหม่, ค่ายอาสา, ออกแบบก่อสร้างด้วยตนเอง, ความ เข้าใจบริบทและการปรับใช้

ความนำ� สถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ ในช่วงแรกได้ถกู น�ำเสนอผ่านภาพถ่าย จากการเดินทางท่องเที่ยวมาตั้งแต่ก่อนปลายศตวรรษที่ 19 และ กระตุน้ ให้มกี ารศึกษาอย่างจริงจังในเวลาต่อมา หนึง่ ในนักวิชาการ แวดวงสถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ คือ Paul Oliver ทีไ่ ด้รบั การยอมรับใน วงกว้าง Oliver พร้อมด้วยนักวิชาการจากทัว่ โลกท�ำการศึกษาและ เก็บรวบรวมสถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ ในมุมต่าง ๆ ของโลก และได้ตพี มิ พ์ หนังสือ Encyclopedia of Vernacular Architecture of the World ในปี 1997 ซงึ่ ท�ำให้เราได้รบั ทราบถึงความหมายและเข้าใจภาพรวม ความเป็นสถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ รวมไปถึงได้ชใี้ ห้เห็นปัจจัยทีห่ ล่อหลอม ท�ำให้สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นแต่ละพื้นที่มีรูปแบบและคุณลักษณะ ต่างกันไป ตอ่ มามีการศึกษาในวงกว้างและวิจยั ในเชิงลึกมากขึน้ ท�ำให้ มีมุมมองเกี่ยวกับคุณค่าสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นที่นอกเหนือไปจาก เปลือกภายนอกทีม่ องเห็นแล้ว แม้วา่ รูปลักษณ์ทางสถาปัตยกรรม ภายนอกของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นจะเป็นแนวทางเดียวกัน ก็อาจ มีความแตกต่างด้านมิตทิ างความเชือ่ และการแลกเปลีย่ นวัฒนธรรม ภายนอกทั้งทางตรงและทางอ้อม จนกระทั่งเกิดแบบแผนทาง สถาปัตยกรรมทีห่ ลากหลาย1 ทงั้ นี้ สาระส�ำคัญของสถาปัตยกรรม พืน้ ถิน่ คือ สถาปัตยกรรมทีถ่ กู ก่อรูปภายใต้แนวคิดของการปรับตัว ให้ตอบสนองต่อข้อจ�ำกัดของบริบทและปัจจัยเกี่ยวเนื่องในขณะ นั้นเป็นหลักส�ำคัญ 121 อรศิริ ปาณินท์ และคณะ. (2551). เรือนพื้นถิ่นไทย-ไท. ม.ป.พ.: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และ Chantanee Chiranthanut. (2011). Consideration on Spatial Formation and Tranformation of Tai-Lao Villages and Dwellings in the Central Basin Mekong Basin, Thailand and Laos (Doctoral Dissertation). Japan: University of Shiga Prefecture.

1

วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018

The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


บริบทในความเชื่อมโยงกับสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นนี้หมายรวมทั้งภูมิอากาศและภูมิประเทศ (Conditions of Context and Environment) อันสอดคล้องกับการใช้วสั ดุทมี่ อี ยูแ่ ล้วหรือหาได้สะดวก ในพื้นที่ (Local Materials) ซึ่งส่งผลต่อเนื่องไปกับการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าและเทคนิคการก่อสร้าง ทีเ่ หมาะสมของคนในท้องถิน่ นัน้ เอง รวมถึงความสามารถและความถนัดของช่างท้องถิน่ (Local Skills) ซึง่ ความยัง่ ยืนโดยเป้าหมายหรือผลลัพธ์คอื เพือ่ สนองต่อความต้องการเฉพาะ การแก้ปญ ั หาและปรับ ตัวของผูส้ ร้างทีต่ า่ งสถานทีต่ า่ งสถานการณ์สง่ ผลต่อรูปทรงภายนอก ทีอ่ าจเกิดทัง้ ความพ้องและความ ต่างกันไปในแต่ละบริบท และที่ส�ำคัญสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นที่แท้ คือ สถาปัตยกรรมที่มีการ เปลี่ยนแปลงได้ เพราะสาระที่แท้คือตอบสนองความต้องการได้ดีที่สุดในเวลานั้น ๆ เพราะเมื่อเวลา ผ่านไป สิง่ หนึง่ ซึง่ เคยเหมาะสมในอดีต อาจไม่สอดคล้องกับปัจจุบนั แล้ว ทัง้ ในแง่การใช้งาน เศรษฐกิจ และมุมมองสุนทรียภาพ2 หากเราไม่ได้ยึดโยงความเป็นพื้นถิ่นเอาไว้กับรูปแบบและรูปทรงแบบในอดีต ความน่าสนใจ เกีย่ วกับสถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ ยังมีหลายประเด็น หนึง่ ในนัน้ คือความเป็นสากลและทันสมัยของแนวคิด การสร้างสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น โดยความทันสมัยนี้หมายถึงความเข้าใจและการใช้สิ่งที่มีอยู่รอบตัว โดยการปรับตัวให้ทนั กับสมัย ทัง้ ต่อสถานการณ์ ตลอดจนบริบทแวดล้อม และการแก้ปญ ั หาทีเ่ หมาะ สมกับเวลานั้น แนวคิดนี้ถูกสะท้อนทั้งในทางเทคนิคและรูปแบบภายนอก เราสามารถเรียนรู้และน�ำ แนวคิดเหล่านีม้ าประยุกต์ใช้ได้ โดยเฉพาะในประเด็นการท�ำงานภายใต้ขอ้ จ�ำกัดทัง้ เวลา งบประมาณ แรงงาน ความเชี่ยวชาญในเชิงช่าง ทั้งนี้ สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นที่ผ่านกระบวนการเหล่านี้อาจมีความ แตกต่างไปจากแบบแผนและระบบในอดีตไม่มากก็นอ้ ย หรืออาจกลายเป็นสถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ ใหม่ แนวคิดดังกล่าวนีม้ คี วามคล้ายกับแนวคิดและแนวทางในการท�ำงานออกแบบและลงมือก่อสร้างเอง หรือที่เราทราบกันในชื่อว่า Design-Build ที่สามารถสะท้อนให้เห็นถึงแนวคิดพื้นถิ่นใหม่ได้ดี ตั้งแต่ ประเด็นการปรับตัว การตอบสนองต่อบริบท การใช้วัสดุที่มีอยู่เดิมและวัสดุใหม่ การแก้ปัญหาหน้า งาน การประเมินความสามารถแรงงานและความเชี่ยวชาญของตนเอง ความสอดคล้องกับความ ต้องการใช้งาน พฤติกรรมผู้ใช้งาน ความทนทานและความยั่งยืน โครงการ DesignBuild ซึ่ ง เป็ น กิ จ กรรมหนึ่ ง ของนั ก ศึ ก ษาคณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีแนวทางการท�ำงานโดยการเรียนรูท้ กั ษะต่าง ๆ ผา่ นการลงมือท�ำด้วยตนเอง หรือ Learning by Doing ซึ่งครรลองของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นก็ผ่านกระบวนการในลักษณะเช่นนี้มา ตลอด โดยมีแนวคิดคล้ายกับแนวคิดของ Rural Studio ที่ก่อตั้งโดย Samuel Mockbee สถาปนิก และนักวิชาการชาวอเมริกนั ช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1990 Rural Studio เปิดโอกาสให้นกั เรียนสถาปัตย์ ได้เข้าร่วมท�ำงานพร้อมเรียนรู้ ผ่านการลงมือก่อสร้างจริงให้แก่คนยากจนในพื้นที่ชนบท ผลงานของ Rural Studio นั้นนอกจากจะมีรูปแบบสถาปัตยกรรมที่สร้างความประทับใจและสร้างแรงบันดาลใจ ในการสร้างงานเพื่อสังคมแล้ว ยังเป็นงานที่ตอบสนองกับบริบทด้วยงบประมาณที่ไม่สูงนัก และมัก ใช้วัสดุที่หาได้ทั่วไป แต่ถึงอย่างนั้นก็ตาม งานจาก Rural Studio กลับมีความโดดเด่นที่มุมมองการ ใช้วัสดุ โดยเฉพาะวัสดุเหลือใช้ รวมทั้งการน�ำเทคนิคใหม่ ๆ เข้ามาผสมผสานกับเทคนิคการก่อสร้าง ที่ คุ ้ น เคย ตามระบบการเรี ย นการสอนทั่ ว ไป ส� ำ หรั บ โครงการ DesignBuild ของคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้เริ่มสร้างครั้งแรกช่วงปี พ.ศ. 2544 เป็นอาคารศาลา รอรถหน้าคณะสถาปัตย์นนั้ เอง ตอ่ มาได้ขยายพืน้ ทีท่ ำ� กิจกรรมออกไปนอกมหาวิทยาลัย ผ่านโครงการ ค่ายอาสา ที่เป็นการออกไปบริการสังคม โดยใช้ความรู้ที่ได้เรียนมาออกไปปฏิบัติงานจริง ทั้งนี้ นับ จากเริ่มต้นจนถึงปัจจุบัน (ปี พ.ศ. 2560) นับเป็นค่ายที่ 19 บทความนีแ้ สดงมุมมองการเรียนการฝึกฝนทางสถาปัตยกรรมผ่านโครงการ DesignBuild ซึง่ มีรูปแบบการเรียนรู้แบบ Learning by Doing ซึ่งผู้เขียนเคยร่วมกิจกรรมของโครงการแรกในปี พ.ศ. 2544 จนกระทัง่ ต่อมาได้กลับมาร่วมกิจกรรมนีอ้ กี ครัง้ หนึง่ ในปี พ.ศ. 2555 แล้วจากนัน้ ได้ทำ� กิจกรรม อย่างต่อเนื่องกันตลอดระยะเวลา 6 ปี จากปี พ.ศ. 2555 ถึงปี พ.ศ. 2560 จากการท�ำงานที่ผ่านมา พบว่ากิจกรรมนี้มีส่วนในการส่งเสริมการพัฒนาทักษะของนักเรียนสถาปัตยกรรมได้ด ี ทั้งนี้กิจกรรม เปิดโอกาสให้นักศึกษาทุกชั้นปีเข้าร่วมได้ โดยแต่ละคนมีหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบต่างกันไปตามความ รู้ความสามารถ อาคารแต่ละหลังของโครงการ DesignBuild ได้ถูกออกแบบภายใต้แนวคิด Chantanee Chiranthanut. (2011). Consideration on Spatial Formation and Tranformation of Tai-Lao Villages and Dwellings in the Central Basin Mekong Basin, Thailand and Laos (Doctoral Dissertation). Japan: University of Shiga Prefecture. และ จันทนีย์ จิรัณธนัฐ. (2555). “รูปแบบชุมชนกับเรือนพื้นถิ่นและการเปลี่ยนแปลง กรณีศึกษาบ้านปากชี เมืองหลวงพระบาง”. ใน วารสารสังคมลุ่มน�้ำโขง. ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555.

2

จู เหลียง เหวิน. งามพรรณ เวชชาชีวะ, แปล. 2536. ชนชาติไต: สถาปัตยกรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีไตในสิบสองพันนา. สุริวงศ์บุ๊คเซนเตอร์: เชียงใหม่. หน้า 98-99.

3


สถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ ใหม่และความร่วมสมัย เพราะอาคารส่วนใหญ่สร้างในชุมชนต่าง ๆ ทีม่ ขี อ้ จ�ำกัด และบริบทต่างกันไป การท�ำงานช่วยเปิดมุมมองสถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ ภายใต้ความร่วมสมัยในปัจจุบนั อีกทั้งยังส่งเสริมการท�ำงานแบบที่ไม่จ�ำกัดทิศทางของแนวทางการแก้ไขปัญหา และการประยุกต์ใช้ สิ่งที่มีอยู่แล้ว เพื่อสร้างงานที่เหมาะสมกับบริบทและช่วงเวลา นอกจากนี้ประสบการ์ในการท�ำงาน ร่วมกับโครงการ DesignBuild ทีผ่ า่ นมา ยังท�ำให้มองเห็นถึง ความสอดคล้องของแนวความคิดในการ ท�ำงานและการสร้างงานสถาปัตยกรรมในโครงการ DesignBuild กับแนวคิดในการสร้างสรรค์ สถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ ใน 4 ประเด็น คือ 1) การใช้วสั ดุทอ้ งถิน่ กับความเหมาะสมในการใช้งาน 2) ความ เข้าใจบริบทและข้อจ�ำกัด 3) การน�ำกลับมาใช้ใหม่ 4) การบริหารจัดการ การแก้ปัญหาและการ ประยุกต์ 1) การใช้วัสดุท้องถิ่นกับความเหมาะสมในการใช้งาน แม้วา่ ภาพลักษณ์ของสถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ นัน้ คือการใช้วสั ดุธรรมชาติ แต่ความจริงแล้วพบว่า แนวคิดสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นหรือสถาปัตยกรรมที่ท�ำกันมาโดยตลอดนั้น ไม่ได้จ�ำเพาะไว้เพียงวัสดุ ธรรมชาติเท่านัน้ หากแต่ยงั มีการเลือกใช้วสั ดุทหี่ าได้สะดวก และมีการปรับเปลีย่ นการใช้งานไปตาม ความเหมาะสมอยูเ่ สมอ ซึง่ เราสามารถพบการต่อเติมพืน้ ทีห่ รือการใช้วสั ดุตา่ ง ๆ ทีห่ ลากหลายนับแต่ อดีตจนถึงปัจจุบันอยู่แล้ว ตัวอย่างเช่น เรือนพื้นถิ่นของกลุ่มผู้พูดภาษาตระกูลไตในสิบสองปันนา ในอดีตนั้นเคยมีข้อจ�ำกัดในการก�ำหนดวัสดุเฉพาะส�ำหรับเจ้านายเท่านั้น ที่สามารถใช้วัสดุที่มีความ คงทน เช่น ไม้ ในการก่อสร้างบ้านเรือนได้ ในขณะทีเ่ รือนของประชาชนทัว่ ไปใช้วสั ดุประเภทไม้ไผ่และ หญ้าเป็นหลัก แต่ภายหลังที่ข้อจ�ำกัดนั้นหมดลงไปพร้อมกับระบบศักดินาที่ถูกยกเลิกไป3 และการ พัฒนาเส้นทางคมนาคมจากเมืองสูพ่ นื้ ทีช่ นบทอย่างทัว่ ถึง ทงั้ นีก้ ารขนส่งวัสดุใหม่เข้าไปยังพืน้ ทีต่ า่ งๆ มีความสะดวกมากขึน้ ท�ำให้วสั ดุกอ่ สร้างในระบบอุตสาหกรรมถูกน�ำเข้าไปกระจายในชนบท ปจั จุบนั จะพบว่ามีการเลือกใช้วัสดุก่อสร้างหลากหลาย ตั้งแต่โครงสร้างและเปลือกอาคาร รวมไปถึงวัสดุมุง เช่น ไม้ไผ่ ไม้เนื้อแข็ง คอนกรีต อิฐก่อและปูนฉาบ ดินดิบ หญ้า ดินเผา คอนกรีต สังกะสี ซึ่งเกิดจาก ความเชี่ยวชาญของผู้ก่อสร้าง และความต้องการของเจ้าของเอง ที่อาจมาจากความพึงพอใจในแง่ ความงาม หรืออาจมาจากความสะดวกและความยั่งยืนในแง่ความทนทาน ที่ช่วยให้ไม่ต้องมีการ ซ่อมแซมบ่อยครัง้ (ภาพที่ 2) ในท�ำนองเดียวกัน บ้านเรือนทีท่ ะเลสาบอินเล ประเทศเมียนมาร์ (ภาพที่ 3) และบ้านเรือนที่กัมปงพลก ประเทศกัมพูชา (ภาพที่ 1) ที่ในอดีตใช้วัสดุธรรมชาติ จ�ำพวกไม้และไม้ไผ่ เป็นวัสดุหลักในการก่อสร้าง ปัจจุบันมีการใช้วัสดุที่หลากหลายมากขึ้น จะเห็นได้ว่า สถาปัตยกรรม พืน้ ถิน่ นัน้ ไม่ได้หยุดนิง่ หากแต่มคี วามร่วมสมัย อันมีความเหมาะสมกับความต้องการและหน้าทีข่ อง วัสดุตามยุคสมัยด้วยเสมอ

ภาพที่ 2: เรือนพื้นถิ่นในสิบสองปันนา แสดงให้เห็นการใช้วัสดุใหม่ และการเกิดรูปแบบใหม่ที่แตกต่างไปจาก แบบแผนเดิม ที่มา : ถ่ายภาพโดย จันทนีย์ จิรัณธนัฐ,

2559

Image 2 : The photo shows that the application of new construction materials to the traditional vernacular dwellings has, to some extent, changed architectural characteristics of the traditional architecture of the Tai people in the Sip Song Panna area. Source : Chantanee Chiranthanut, 2016


ภาพที่ 3 : การใช้วัสดุใหม่กับวัสดุธรรมชาติแบบดั้งเดิมในเรือน ที่ทะเลสาบอินเล เมียนมาร์ ที่มา : ถ่ายภาพโดย จันทนีย์ จิรัณธนัฐ, 2559 Image 3 : The application of both traditional and contemporary materials on vernacular houses at the Inle Lake in Myanmar. Image Source: Chantanee Chiranthanut, 2016

ในขณะที่สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในอดีตมีรายละเอียดสวยงามและมีความประณีตในการ ก่อสร้าง โดยใช้เวลาว่างจากฤดูเพาะปลูกในแต่ละปีค่อย ๆ สร้างจนเสร็จ โครงการ DesignBuild มักมีระยะเวลาในการก่อสร้างจ�ำกัด โดยเฉลี่ย 10-15 วัน โดยบางโครงการมีเวลาประมาณ 10 วัน ท�ำให้เวลากลายเป็นเป็นปัจจัยต้น ๆ ทีต่ อ้ งน�ำมาพิจารณาร่วมกับรูปแบบงาน ควบคูไ่ ปกับการประเมิน ความสามารถทางเชิงช่างและโอกาสในการเรียนรูเ้ ทคนิคต่าง ๆ ในการก่อสร้างจริง ซึง่ วัสดุกบั เทคนิค การก่อสร้างรวมถึงความเชีย่ วชาญทางเชิงช่าง ก็ถอื ได้วา่ มีสว่ นส�ำคัญในการก�ำหนดทิศทางการท�ำงาน ในลักษณะนี้อย่างมาก ปัจจุบันงาน DesignBuild น�ำวัสดุก่อสร้างประเภทเหล็กมาใช้ในงานมากขึ้น ทัง้ นีเ้ นือ่ งด้วยเมือ่ เทียบงานเหล็กกับงานไม้และงานปูนแล้ว งานเหล็กสามารถปฏิบตั งิ านได้รวดเร็วกว่า และงานโครงสร้างเหล็กสามารถรองรับช่วงเสาทีก่ ว้างกว่า อีกทัง้ นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ยังมีความเชี่ยวชาญในงานเหล็ก เพราะได้มีโอกาสในการฝึกฝนใช้อุปกรณ์ อย่างต่อเนื่องในการท�ำกิจกรรมต่างๆ ในคณะฯ เช่น การก่อสร้างเวทีส�ำหรับการแสดงละคร คณะสถาปัตย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งเวทีการแสดงที่ถูกสร้างขึ้นในแต่ละปีนั้นใช้โครงสร้างเหล็ก เป็นโครงสร้างพื้นฐาน เป็นต้น ในขณะที่งานไม้ต้องการความประณีตและแม่นย�ำสูง จึงต้องใช้เวลา ในการท�ำงานยาวนานกว่า สว่ นงานปูนก็ตอ้ งใช้เวลาในการรอบ่มคอนกรีตและปูนฉาบให้ได้ความแข็งแรง จึงจะสามารถท�ำงานส่วนต่อเนือ่ งกันได้ นอกจากนี้ ในปัจจุบนั มีวสั ดุมากมายในท้องตลาดทีส่ ามารถ จัดหาได้ง่ายในท้องถิ่นต่าง ๆ เช่น ปูน เหล็ก สังกะสี แผ่นเหล็ก กระเบื้อง และเมื่อเปรียบเทียบกัน หลายๆ ด้านแล้ว การใช้วัสดุดั้งเดิมในอดีต เช่น ไม้ ซึ่งนอกจากในปัจจุบันจะมีราคาสูงเมื่อเทียบกับ ปริมาตรวัสดุที่เท่ากันแล้ว ไม้ยังต้องการการดูแลรักษาอย่างสม�่ำเสมอ นอกจากนี้ สิ่งส�ำคัญในการ เลือกใช้วัสดุก่อสร้าง คือ ความเข้าใจในคุณสมบัติของวัสดุแต่ละอย่างที่น�ำมาใช้ ซึ่งมีผลต่อสภาพ แวดล้อมและบรรยากาศของการรับรูท้ แี่ ตกต่างกันด้วย ดังนัน้ การปลูกสร้างงานสถาปัตยกรรมในพืน้ ถิ่นของวันนี้ น่าจะใช้แนวคิดในการใช้วัสดุซึ่งหาได้ง่ายในท้องถิ่น และควรเปิดกว้างให้มีความร่วม สมัยกับปัจจุบัน โดยสามารถน�ำแนวคิดนี้มาพิจารณาเพื่อใช้ ทั้งในงานสถาปัตยกรรมในโครงการ DesignBuild และในสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นใหม่ด้วย 124 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


2) ความเข้าใจบริบทและข้อจำ�กัด กิจกรรมโครงการ DesignBuild เป็นการลงไปท�ำงานในพื้นที่ต่าง ๆ จึงสามารถน�ำแนวคิด สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น ว่าด้วยประเด็นในการท�ำความเข้าใจบริบทเป็นหัวใจส�ำหรับการออกแบบและ วางแผนในการแก้ปญ ั หาด้านต่าง ๆ โดย “บริบท” ทีว่ า่ นี้ มีความหมายรวมถึง สภาพพืน้ ทีต่ งั้ โครงการ สภาพพืน้ ทีเ่ ดิม ว่าเป็นอาคารก่อสร้างใหม่ หรือเป็นโครงการทีต่ อ้ งเริม่ ต้นก่อสร้างตัง้ แต่ฐานราก ระยะ เวลา งบประมาณ ความยากง่ายในการก่อสร้าง ความเข้าใจเชิงช่าง จ�ำนวนแรงงาน ความเชี่ยวชาญ ของช่างชุมชน ที่เข้ามาช่วยให้ค�ำแนะน�ำและร่วมก่อสร้างในบางโครงการ วัสดุและอุปกรณ์ที่มีทั้ง ในพืน้ ที่ และส่วนทีส่ ามารถจัดหาได้เพิม่ เติม ความสามารถในการน�ำอุปกรณ์ทใี่ ช้ในการก่อสร้างเข้าไป ในพื้นที่ เนื่องด้วยบางแห่งเป็นภูเขาและอยู่ลึก (ภาพที่ 4) การเดินทางเข้าถึงไม่สะดวกในการขนส่ง ทั้งอุปกรณ์และวัสดุก่อสร้าง อีกทั้งยังมีความยากล�ำบากในการเข้าและออกจากพื้นที่ เพื่อจัดซื้อวัสดุ เพิ่มเติมในภายหลัง เพราะควรต้องค�ำนึงถึงโอกาสในการจัดหาวัสดุซ่อมแซมอาคารโดยคนในชุมชน เองในภายหลัง ซึ่งจะท�ำให้เกิดความยั่งยืน และในท้ายที่สุดแล้วงานที่สร้างนั้นต้องตอบโจทย์ในด้าน ประโยชน์ใช้สอย และสอดรับกับพฤติกรรมของผู้ใช้งานอีกด้วย

ภาพที่ 4 : ทางเข้าที่ตั้งโครงการ DesignBuild ออกแบบก่อสร้างสนามเด็กเล่นให้แก่โรงเรียนบ้านหินโง่น สาขาสักง่า ต.ศิลา อ.หล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์ ที่มา : ถ่ายภาพโดย จันทนีย์ จิรัณธนัฐ, 2556 Image 4 : The trail to the DesignBuild project that designed and constructed a playground for Ban Hin-Ngon School in the SakNga area, Sak Nga Sub-Dsitrict, Lom Kao District, Phetchabun Province. Image : Chantanee Chiranthanut, 2013

3) การนำ�กลับมาใช้ใหม่ แนวคิดการน�ำกลับมาใช้ใหม่ถกู น�ำมาปรับใช้กบั งานโครงการ DesignBuild ได้อย่างดี ส่วนหนึง่ เป็นเพราะความจ�ำกัดด้านงบประมาณ และการส่งเสริมการเรียนรูใ้ นการมองมุมใหม่ จากการทดลอง ความเป็นได้ ที่จะใช้วัสดุในรูปแบบที่หลากหลาย ทั้งนี้การท�ำความเข้าใจศักยภาพของที่ตั้งโครงการ และความพร้อมของวัสดุเป็นสิ่งแรกๆ ที่ต้องน�ำมาพิจารณา ตัวอย่างเช่นโครงการ DesignBuild ที่ค่ายอาสาได้ออกแบบและก่อสร้าง แล้วมอบอาคารให้เป็นสาธารณะสมบัติแก่โรงเรียนประถม บ้านหินเหิบศิลาทิพย์ จ.ขอนแก่น (ภาพที่ 5-6) โครงการนี้มีระยะเวลาในการก่อสร้าง 10 วัน โรงเรียน มีความต้องการปรับเปลีย่ นศาลาโปร่งทีห่ น้าโรงเรียนให้เป็นห้องสมุดเด็กและสหกรณ์ จากการส�ำรวจ พบว่าตัวศาลาเดิมมีโครงสร้างเสาและหลังคาอยูแ่ ล้ว และในห้องเก็บของทีโ่ รงเรียนมีไม้เก่าและกระบะ ไม้เก่า รวมทัง้ มีบานหน้าต่างเก่าเหลือใช้อยูจ่ ำ� นวนหนึง่ หลังจากออกแบบผังพืน้ แบ่งการใช้งานศาลา เดิมเป็นสองส่วน และเพิ่มพื้นที่นั่งๆ นอนๆ ส�ำหรับเด็กๆ บริเวณใต้ต้นไม้ด้านหลังอาคารแล้ว การ ออกแบบกรอบอาคารได้นำ� กระบะไม้เก่าและไม้เก่าเหลือใช้มาดัดแปลงเป็นช่องลมในลักษณะต่างๆ เพื่อให้อาคารโล่งและมีการระบายอากาศได้ดีตลอดวัน โดยท�ำการจัดวางช่องลมเหล่านี้ผสมผสาน ไปกับหน้าต่างเก่าและผนังโครงเบา 125

วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ภาพที่ 5 : DesignBuild สร้างห้องสมุดและสหกรณ์โรงเรียน มอบให้แก่โรงเรียนบ้านหินเหิบศิลาทิพย์ จ. ขอนแก่น เป็นโครงการที่บริบทเดิม มีโครงสร้างส่วนเสาและหลังคาแล้ว ที่มา : ถ่ายภาพโดย จันทนีย์ จิรัณธนัฐ, 2557 Image 5 : The DesignBuild project for Ban Hin Hoeb Sila Thip School turned the existing open-wall shelter, with a roof and posts, into a library and a school cooperative. Source : Chantanee Chiranthanut, 2014

ภาพที่ 6 : กระบะไม้และวัสดุเหลือใช้นํามาใช้กับช่องเปิด

ที่มา : ถ่ายภาพโดย จันทนีย์ จิรัณธนัฐ, 2557

Image 6 : Wooden containers and other remaining materials found on site were salvaged and used for grilled openings.

126 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage

Source : Chantanee Chiranthanut, 2014


ส�ำหรับโครงการ DesignBuild ที่ค่ายอาสาได้ออกแบบและก่อสร้างห้องสมุดและศาลา อเนกประสงค์ แล้วมอบให้เป็นสาธารณะสมบัตแิ ก่โรงเรียนประถมบ้านตาดฟ้าดงสะคร่าน จ.เพชรบูรณ์ (ภาพที่ 7) มีที่ตั้งโครงการเป็นที่ราบแคบ ๆ ขนานไปกับภูเขาที่อยู่ด้านหลัง จากด้านหน้ามองลงไป เห็นสนามฟุตบอลของโรงเรียนกับโรงอาหารที่มีป่าไผ่ล้อมยาวต่อเนื่องกันไป โครงการนี้เป็นการ ก่อสร้างตัง้ แต่ฐานรากถึงหลังคา ซึง่ มีระยะเวลาในการท�ำงานรวมประมาณ 16 วัน โครงเหล็กจากเวที ละครคณะสถาปัตย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ถูกน�ำมาปรับใช้ในหน้าทีใ่ หม่เป็นองค์ประกอบส่วนต่าง ๆ ของอาคาร และแผงบังแดดเก่าทีไ่ ม่ได้ใช้งานแล้วจากอาคารคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น ถูกน�ำมาปรับใช้เป็นผนังระบายอากาศได้สำ� หรับห้องสมุด (ภาพที่ 8)

ภาพที่ 7 : DesignBuild สร้างห้องสมุดและศาลาอเนกประสงค์ มอบให้แก่โรงเรียนบ้านตาดฟ้า ต.ดงสะคร่าน จ.ขอนแก่น ที่มา : ถ่ายภาพโดย จันทนีย์

จิรัณธนัฐ, 2558

Image 7 : The design and construction of a tiny library with a multi-purpose area for the DesignBuild project at Ban Dat Pha Dong Sakran School, Phetchabun Province. Source : Chantanee Chiranthanut, 2015

ภาพที่ 8 : DesignBuild สร้างห้องสมุดและศาลาอเนกประสงค์ ที่ได้นำ�แผงบังแดดที่เหลือทิ้งมาปรับใช้เป็นผนังห้องสมุด โรงเรียนบ้านตาดฟ้า ต.ดงสะคร่าน ที่มา : ถ่ายภาพโดย จันทนีย์ จิรัณธนัฐ, 2558 Image 8 : The design and construction of a tiny library with a multi-purpose area –for the DesignBuild project at Ban Dat Pha Dong Sakran School, Phetchabun Province—reused the old building facade fins taken from the Khon Kaen University School for the ventilation wall of the library. Source : Chantanee Chiranthanut, 2015

127

วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ภาพที่ 9 : การบริหารจัดการวัสดุและการออกแบบแก้ไขหน้างานแบบ 1:1 ที่มา : ถ่ายภาพโดย จันทนีย์ จิรัณธนัฐ, 2555-2560 Image 9 : Material and construction management was simultaneously achieved through a full-scale arrangement of available materials on site to help solve some unforeseen issues. Source : Chantanee Chiranthanut, 2017

4) การบริหารจัดการ การแก้ปัญหาและการประยุกต์ ความน่าสนใจของการออกแบบและก่อสร้างด้วยตนเองนัน้ คือ การทดลองปรับแก้ไขได้ทนั ที โดยการทดลองจัดวางวัสดุต่างๆ ในสัดส่วน 1:1 (ภาพที่ 9) ถูกน�ำมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของขั้นตอนการ ท�ำงานเสมอ เพือ่ ช่วยในการบริหารจัดการวัสดุหน้างาน และเป็นการรับมือกับรายละเอียดการก่อสร้าง ในบางจุดทีห่ น้างานมีปญ ั หาได้ โดยเฉพาะการแก้ปญ ั หาสถานการณ์เฉพาะหน้ากับงาน ทัง้ นี้ ด้วยเหตุที่ สถานทีต่ งั้ โครงการ DesignBuild ส่วนใหญ่อยูไ่ กลจากเส้นทางคมนาคม ท�ำให้ไม่สะดวกในการขนส่ง วัสดุกอ่ สร้างมาเพิม่ เติม หรือไม่มงี บประมาณจัดซือ้ เพิม่ เติมได้ ในบางครัง้ วัสดุทตี่ ระเตรียมมาไม่เพียงพอ ซึง่ อาจเกิดจากความผิดพลาดในการควบคุมการใช้วสั ดุทมี่ ปี ริมาณจ�ำกัด รวมถึงในบางโครงการมีการ เพิ่มเติมพื้นที่ก่อสร้างมากกว่างานที่ออกแบบไว้แต่แรก เมื่อเกิดปัญหาเช่นนั้น วัสดุต่าง ๆ ที่อยู่รอบ ตัวจึงกลายเป็นทางเลือก ที่แม้ไม่ดีที่สุดแต่สามารถน�ำมาเป็นทางเลือกหนึ่งที่ถูกน�ำมาใช้แก้ปัญหา เฉพาะหน้าได้ โดยในการนี้ จะต้องพิจารณาถึงคุณสมบัติของวัสดุเป็นส�ำคัญ เช่น ในกรณีที่งาน โครงการ DesignBuild บางงาน มีเหล็กตะแกรงพื้น (Wire Mesh) ส�ำหรับงานคอนกรีตเสริมเหล็กไม่ เพียงพอ จึงมีการทดลองใช้ไม้ไผ่เหลาสานเป็นตารางแทน ซึง่ ใช้กบั ส่วนทีไ่ ม่ได้รบั น�ำ้ หนักมาก เช่น ใน บางกรณีเป็นการเทพื้นเพื่อเก็บพื้นที่หน้างาน พื้นทางเดินนอกอาคาร และรางระบายน�้ำอย่างง่าย เป็นต้น ไม้ไผ่เหลาที่น�ำมาใช้ทดแทนเหล็กตะแกรงพื้นนั้น ยังคงหน้าที่ของการเป็นตัวยึดเกาะเนื้อปูน 128 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


ทัง้ หมดเข้าไว้ดว้ ยกัน โดยสิง่ ทีเ่ รียนรูจ้ ากสถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ กับการใช้ไม้ไผ่ คือ ต้องคอยตรวจสอบ ต�ำแหน่งการหนุนของลูกปูนให้ยกไม้ไผ่ให้ลอยขึ้นท�ำให้เนื้อปูนหุ้มไม้ไผ่ไว้ทั้งหมด เพื่อยืดอายุไม้ไผ่ และลดการผุของเนือ้ ไม้ลงระดับหนึง่ (ภาพที่ 10) สำ� หรับงานในส่วนของผนังตกแต่งนัน้ เลือกใช้ไม้ไผ่ ที่ขึ้นอยู่ตามธรรมชาติใกล้ที่ตั้งโครงการ โดยค�ำนึงถึงอายุของวัสดุที่ต้องมีการออกแบบรายละเอียด ที่สามารถเปลี่ยนวัสดุได้ในภายหลังด้วย

ภาพที่ 10 : การแก้ไขปัญหาหน้างานเมื่อตะแกรงเหล็กพื้นขาดแคลนในงาน DesignBuild ที่มา : ถ่ายภาพโดย จันทนีย์ จิรัณธนัฐ, 2555 Image 10 : When the DesignBuild project ran out of wire mesh for cement reinforcement, it used bamboo available around the site as an alternative to wire meshes. Source : Chantanee Chiranthanut, 2012

บทสรุปมุมมองสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นใหม่ แนวคิดสถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ ว่าด้วยเรือ่ งของการท�ำความเข้าใจและปรับตัวไปกับบริบทตาม กรอบเวลานัน้ แม้เป็นแนวคิดทีธ่ รรมดา แต่มคี วามเป็นสากลและทันกับสมัย ซึง่ หมายความว่าเหมาะสม กับสมัยนัน้ ๆ หากไม่จำ� กัดกรอบมองความเป็นพืน้ ถิน่ ไว้กบั รูปลักษณ์ภายนอกแล้ว สถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ ทีส่ ร้างโดยชาวบ้านนัน้ แท้จริงแล้วมีความโอนอ่อน และถูกปรับตัวอยูเ่ สมอ ทัง้ ทางตรงและ ทางอ้อม ทั้งนี้อาจเกิดจากความต้องการใหม่ รวมถึงจากความเชื่อที่อาจผ่อนคลายหรือการรับวัฒนธรรมอื่น เข้ า มาผสมผสาน อั น ท� ำ ให้ เ กิ ด แนวทางใหม่ ๆ ในการสะท้ อ นความต้ อ งการที่ เ ปลี่ ย นไปผ่าน สถาปัตยกรรมในแต่ละสมัย ซึ่งด�ำเนินมาเช่นนี้ นับแต่อดีตแล้ว และยังคงด�ำเนินต่อไป คุณค่าของ องค์ความรู้เกีย่ วกับสถาปัตยกรรมพืน้ ถิ่นนัน้ เหลือคณานัป กิจกรรมโครงการ DesignBuild เป็นเพียง ส่ ว นหนึ่ ง ในการท� ำ ความเข้ า ใจสาระและแนวคิ ด ในการด� ำ เนิ น และพั ฒ นาปรั บ เปลี่ ย นของ สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น โดยโครงการพยายามน�ำแนวคิดเหล่านั้นมาศึกษาและประยุกต์ใช้ โดยเฉพาะ ในการจัดการกับข้อจ�ำกัดและเงือ่ นไขจ�ำนวนมาก ภายในระยะเวลาทีจ่ ำ� กัดมาก เป็นการลองตัง้ ค�ำถาม ในการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น ที่สนองต่อบริบทที่เปลี่ยนไป ว่าสามารถมีค�ำตอบอย่างไร ได้อีกบ้าง

129 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


Bibliography จันทนีย์ จิรณ ั ธนัฐ. (2555). “รูปแบบชุมชนกับเรือนพืน้ ถิน่ และการเปลีย่ นแปลง กรณีศกึ ษาบ้านปากชี เมืองหลวงพระบาง”. ใน วารสาร สังคมลุ่มน้ำ�โขง. ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555. จู เหลียง เหวิน. งามพรรณ เวชชาชีวะ, แปล. 2536. ชนชาติไต: สถาปัตยกรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีไตในสิบสองพันนา. สุรวิ งศ์ บุ๊คเซนเตอร์: เชียงใหม่. อรศิริ ปาณินท์ และคณะ. (2551). เรือนพื้นถิ่นไทย-ไท. ม.ป.พ.: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. Andrea Oppenheimer Dean. 2002. Rural Studio : Samuel Mockbee and an Architecture of Decency. Princeton Architectural Press: New York. Chantanee Chiranthanut. (2011). Consideration on Spatial Formation and Transformation of Tai-Lao Villages and Dwellings in the Central Basin Mekong Basin, Thailand and Laos (Doctoral Dissertation). Japan: University of Shiga Prefecture. Paul Oliver. 1997. Encyclopedia of Vernacular Architecture of the World: Vol 1. London: Cambridge University Press. Mete Tulan, Editor. 1990. “Vernacular Know-How”. Vernacular Architecture: Paradigms of Environmental Response. Avebury: Gower Publishing Company.

130 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


From New Vernacular to Design-Build Approach Chantanee Chiranthanut, Ph.D.

Faculty of Architecture, Khon Kaen University | wchant@kku.ac.th

Abstract

The concept of vernacular architecture is interesting for its understanding and utilization of local materials and resources.

It has been developed to adapt itself to contemporary conditions as well as the surrounding context by providing solutions that are derived from characteristics of the place and time it is located in. Vernacular architecture has always been a product of efficient execution under the limitations of time, budget, labor and construction proficiency as it evolves through the learning-bydoing approach. These fundamental issues have contributed to the unique dynamic of vernacular architecture including the conception of new styles and forms that differentiate themselves from past conventions and systems. The concept bears certain similarities to the architectural approach known as ‘Design-Build’, which in its own way reflects the notion of ‘new’ vernacular architecture. What this article proposes is an aspect of architectural study and training through a ‘Design-Build’ project where the ‘learning-by-doing’ approach plays a significant part. Having participated in student voluntary rural development activities, the author discovers corresponding concepts between Design-Build projects and vernacular architecture both in the aspect of execution and conceptualization. It was found that common characteristics can be concluded to be: 1) Use of local materials and their functional suitability; 2) Understanding of context and limitations; 3) Recyclability; and 4) Management, problemsolving and adaptation. The project attempts to study and apply such concepts to efficiently manage limitations and conditions within a restricted time frame of a construction of architecture. At the same time, it questions the creation of locally conceived architecture within the changing context in order to create possible new answers and approaches. Keywords: New Vernacular Concept, Design-Build, Contextual Understanding and Adaptation

Introduction

Before the late 19th century, vernacular architecture was

Vernacular architecture is influenced by its context, such

revealed through travel photographs that later became primary

as climatic conditions, and geographical settings. It also relies

sources for vernacular study. Paul Oliver, one of the eminent

on the use of existing indigenous materials and local labor and

scholars on the subject of vernacular architecture, studied and

skills that affect not only construction methods and techniques

collected vernacular architecture traditions of different cultures

but also improvised solutions and challenging conditions. In

around the world. His 1997 publication Encyclopedia of

addition, having inherent sustainable characteristics, vernacular

Vernacular Architecture of the World delivers a holistic under-

architecture is built to fit particular needs and solutions.

standing and meaning of vernacular architecture. His work

Developed by local builders and inhabitants in response to

points out factors that contribute to vernacular styles and

different locations and unique situations, practical construction

characteristics differing from region to region. Later on, the

solutions and adaptations influence architectural forms of

study of the vernacular became more extensive, and a number

vernacular structures that may be similar to or different from

of in-depth studies on vernacular architecture had been carried

one another within a particular context. Most importantly,

out. Perspectives on values of vernacular structures have reached

taking into account economic viability aspects and aesthetic

beyond visual perception of architectural envelopes. There are

and functional purposes, true vernacular architecture tends to

a wide range of vernacular architectural traditions such that

evolve over time to best suit the changing needs of different eras.2

even seemingly similar architecture in fact stems from a different set of beliefs and based on both direct and indirect cultural interactions.1 Indeed, the essence of vernacular architecture reflects the evolution of architectural traditions and styles in response to conditions of context and environment. Panin, Ornsiri, et al., Ruen Puen Thin Thai-Tai. (In Thai) [Vernacular House of Thai–Tai]. Bangkok: Silpakorn University, 2008. Chiranthanut, Chantanee. Consideration on Spatial Formation and Transformation of Tai-Lao Villages and Dwellings in the Central Basin Mekong Basin, Thailand and Laos (Doctoral Dissertation). Japan: University of Shiga Prefecture, 2011.

1

Chiranthanut, Chantanee. Consideration on Spatial Formation and Transformation of Tai-Lao Villages and Dwellings in the Central Basin Mekong Basin, Thailand and Laos (Doctoral Dissertation). Japan: University of Shiga Prefecture, 2011.

2

131

วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


One of the interesting aspects of vernacular architecture,

campus to encourage community service participation and to

if viewed beyond architectural forms and styles of the past, is

take classroom knowledge and skills into the realm of work.

its means of building architecture with a universal and progressive

Since then, the program has carried out nineteen projects in

approach towards design and construction practices by way of

total (the nineteenth project was organized in 2017).

understanding and utilizing local construction materials. For this article, the writer observes architectural training

Construction techniques and built forms in vernacular archi-

tecture manifest practical solutions and adaptations to fit

through a learning-by-doing educational approach of the

particular situations, time periods, and contexts. In other words,

DesignBuild Program. After joining the first DesignBuild

contextual restrictions that influenced vernacular architecture

Project in 2001 and having opportunities to participate in this

led to innovative notions of design and construction from which

program six times consecutively from the year in 2012 to 2017,

new builders can later learn in order to work within constraints

the author, as a result, noticed that the Program’s activities helped

of time, budget, labor, and craftsmanship. Consequently,

develop architecture students’ skills. The program gave students

through a knowledge innovation process, vernacular buildings

from different academic years opportunities to work together,

evolve through time. New buildings may, to some extent, look

and they were assigned to specific tasks depending on their

different from those traditional ones of the past and may

knowledge and skills. Each of the building projects under the

eventually represent new forms of vernacular architecture. The

DesignBuild program was designed with the concept of con-

philosophy of vernacular architecture is similar to the holistic

temporary vernacular architecture as there were several projects

approach of the Design-Build concept in that the builder integrates

constructed in different communities with different constraints

design and construction. The Design-Build concept exemplifies

and contexts. The project work broadened the participants’

the methodology of vernacular architecture that is responsive

perspective of vernacular architecture within a contemporary

to related contexts while based on new and existing materials

context. Moreover, it encouraged a receptive solution-focused

available as well as on construction solutions on site. Moreover,

mindset for work and supported the adaptation of existing

the Design-Build practice includes: assessing both labors’ competency

construction materials and components for building architecture

and skilled workers’ know-how; understanding occupants’

within a specific context and time frame. In the end, the author

activities and behaviors; and attaining buildings’ sustainability

sees that there are similarities between the design-build approach

and durability.

taken by the DesignBuild projects and the methodology of vernacular architecture including: 1) the use of practical and

The DesignBuild Program led by the Khon Kaen Uni-

local materials; 2) the understanding of contexts and constraints;

versity School of Architecture provides architecture students

3) the reuse of materials and resources; and 4) the management

with a hands-on learning experience, which is the vernacular

through context-based solutions and adaptations.

architecture approach, known as learning-by-doing. The concept of this project is similar to the philosophy of the Rural Studio founded by Samuel Mockbee, an American architect and

1) Use of Practical and Local Materials

academic. Started during the 1990s, the Rural Studio program

gave architecture students opportunities to learn through hands-on

characterized by the use of natural materials, the construction

practice and to contribute to people living in poverty in a rural

methods that have recently been practiced in vernacular archi-

community. Besides its remarkable and inspirational architecture,

tecture have used not only natural materials but also sustainable

the Rural Studio’s work is contextually responsive and affordable.

materials and resources available in close proximity to the site.

Even though it used ordinary materials available within the

The use of construction materials have been adapted as needed

community, it is exceptional for its striking material choices, in

from time to time. Several additions using a variety of construction

particular salvaged materials. In addition, it combined new

materials have been found on a number of vernacular buildings.

techniques with common construction practices learned in

In the past, the architectural materials of the dwellings of the Tai

school. As for the DesignBuild Program by the School of

people in the Sip Song Panna (Xishuangbanna) area reflected

Architecture at the Khon Kaen University, it was initiated in the

tribal hierarchy. For example, based on their ancestral notion

year 2001, and its first project built a passenger waiting shelter

that wood is more durable than bamboo, houses of the tribal

in front of the School. Later, the projects were taken place off

notables were made of wooden planks and timbers while those

132 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage

Although traditional vernacular architecture is typically


of common people were constructed of bamboo; however,

for construction through the time they spent building the

this practice was revoked after the fall of feudalism. Later, the

performance stage for the School’s annual stage play. In fact,

development of transportation infrastructure connecting the

today, a wide variety of construction materials, such as cement,

capital to the suburbs made the distribution of industrial

steel, zinc coated galvanized steel, sheet metal, and tile, are also

construction materials to rural areas possible and convenient.

available from local suppliers while traditional material like

Today, various choices of building and construction materials

wood becomes scarce. Lastly, for the use of building materials,

for structure, roof, and façade are available —such as softwood,

it is important to understand physical and structural properties

hardwood, bamboo, concrete, brick, terracotta, clay, straw bale,

of common construction materials, and the impact of con-

and zinc coated galvanized steel. The factors related to the use

struction materials on the environment as well as on the

of materials include the builder’s skills and necessities as well as

overall atmosphere of a place. To build today’s vernacular

the occupant’s preferences, which depend on the aesthetic

buildings, it is essential to consider using common contemporary

characteristics, sustainability, availability, and durability of

materials that can be locally found, and this approach can be

materials as well as on their ease of installation and maintenance.

applied to both construction projects by the DesignBuild program

(image : 2) For instance, the application of new materials on

as well as to contemporary vernacular architecture practices.

3

vernacular buildings can also be found at the vernacular settlement at the Inle Lake in Myanmar (image : 3) as well as at the village of Kompong Phluk in Cambodia. (image : 1) In the past, the

2) Understanding of Contexts and Constraints

dwellings of these vernacular settlements were mainly constructed

of wood and bamboo; however, due to the variability of materials

in different local communities. Each project could apply the

available today, the use of industrial construction materials is

contextual approach, which includes the principles of vernacular

commonly found on these vernacular houses. In other words,

architecture, to create design concepts and contextual sensitivity

the vernacular building has evolved and become innovative and

solutions. The contextual approach is a key role in a problem-

contemporary.

solving and design process. The “contexts” mentioned here

The DesignBuild program carried out previous projects

refers to the conditions and factors that play a part in the quality

In the past, vernacular buildings had charming archi-

and completion of the project. The first factor is the building

tectural details as the builders delicately built them during their

site and setting condition. Second, the design of the project

free time when the planting season was over. On the contrary,

building itself also influences the construction process. What

the DesignBuild projects must first consider time constraints,

should be taken into account is that the project is to build a

because of the project’s tight time frame of only 10-15 days. The

whole new construction or to renovate an existing building or

projects considered architectural design, crew’s competency,

structure. Besides the building scope, other influences on the

and opportunities for students to practice on-site. Moreover,

construction process include: time limitation; budget; construction

under such significant time constraints, it was also essential to

difficulty; craftsmanship; workforce; skills of local workers; and

take into account construction materials, techniques, and skills.

available materials and equipment. The road access and road

The recent projects of the DesignBuild program chose steel for

conditions have a significant impact on the transportation of

the main construction over other materials, such as wood and

construction equipment and materials as well as on future

concrete, due to quick assembly and easy installation. Besides,

involvement of the community in maintenance work on a

steel structure and components can also support a longer span.

sustainable basis. Poor road infrastructure can limit construction

On the other hand, wood and concrete constructions are

crew’s access to the site. For the construction site that is located

time-consuming. Concrete needs time to develop strength.

on a far-away hillside (image : 4), there could also be some

Also, time and craftsmanship are the very soul of woodworking

difficulties in site access for future delivery of additional

and wood construction. In addition, it is not only that wood

materials for the maintenance of the building. Last but not least,

needs proper and regular maintenance but that the price of

it is essential that the design and construction respond not

wood is a drawback when considering the cost of material per

only to functional purposes but also to the building user’s

volume. As another reason for choosing steel for the Design-

behavior and way of life.

Build project is that the architecture students at the Khon Kaen University are likely to have been familiar with the use of steel Liangwen, Zhu. Chonchāt Tai : Sathāpattayakam Læ Khanop Thamnīam Praphēnī Tai Nai Sipsōngphannā. (In Thai) [The Dai or the Tai and Their Architecture and Customs in South China]. Trans. Ngarmpan Vejjajiva. Chiang Mai: Suriwong Book Centre, 1993. p. 98-99.

3

133

วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


3) Reuse of Materials and Resources

The DesignBuild projects applied the concept of reuse

4) Management Through Context-based Solutions and Adaptations

of building material because of the project’s limited budget. This

The design-build concept is fascinating for its experimental

method also helped participants to gain new perspectives

practice and improvised adaptation to accommodate unexpected,

through the experiment in the creative reuse of existing building

challenging conditions. During the DesignBuild project, for

materials. For this concept, it was important to perceive the

example, material and construction management was often

unseen potential of the site location and the remaining materials.

simultaneously achieved through a full-scale arrangement of

For the case of the DesignBuild program, this idea was applied

available materials on site to help solve some unforeseen issues

to the project at Ban Hin Hoeb Sila Thip School, a primary

(image : 9). The DesignBuild sites were usually located in remote

school in the Khon Kaen province. It was a 10-day project that

areas with poor transportation routes causing difficulties for

altered the existing open-wall shelter in front of the School to

the delivery of additional construction materials to the sites.

accommodate a library and a school cooperative as the School’s

Consequently, site access constraints, together with poor material

needs (image : 5-6). At the time, the site survey not only showed

management, sometimes caused the project with a tight budget

the existing structure, consisting of roof and posts, to be worked

to run short of construction materials. Moreover, some projects

on, but also found some remaining wooden storage along with

ran out of materials before the projects were completed because

old wooden boards, studs, and windows in the School’s store-

there were some design changes during the construction in

room. The design divided the existing plan of the shelter into

order to accommodate more functional area. Then, to solve

two parts and added some space for kids to sit and lie down

such problems, the just-good-enough material found on site

under the tree at the back of the building. The old wood and

became the most efficient alternative material readily available

wooden boxes were salvaged and reused for wall studs and

around the site. In this case, physical properties and characteristics

frames as well as for grilled openings of various sizes. Along

of the available materials were taken into account. When the

with the salvaged windows, the wooden grilled openings were

DesignBuild project ran out of wire mesh for cement reinforcement,

set into the drywall to provide the rooms with a light, airy space

it used bamboo available on site as an alternative. The bamboo

and good ventilation.

was split and stripped into sticks to make grid reinforcement for light load bearing reinforced concrete components, such as

In another example, the DesignBuild project at Ban Dat

slabs on ground, sidewalks, and ground gutters. Bamboo mesh

Pha Dong Sakran School - a primary school in Phetchabun

was used as a substitute of wire mesh for providing a framework

province - was the design and construction of a tiny library with

for cement to bond to. Learned from the traditional knowledge

a multi-purpose area (image : 7-8). The construction site was

of vernacular construction, woven bamboo mesh must sit

on a narrow strip of land with a knoll on the back side. At the

fittingly on tiny cement blocks used as supporting spacers.

front of the site surrounded by bamboo woods were the School’s

Doing so allows concrete to completely cover the bamboo mesh

soccer field and the canteen. The project work was to design-build

in order to ensure the longevity of the bamboo mesh. Therefore,

the entire construction – from foundation to roof – within

it is important to carefully check whether the cement blocks

sixteen days. The building was built of remaining construction

were precisely placed (image : 10). In addition, bamboo available

materials from the Khon Kaen University School of Architecture.

in the vicinity of the site can also be used for wall decorative

The steel frames taken apart from the Architecture School’s old

elements that should be delicately designed for easy replacement

performance stage were used for several architectural components

if needed.

of the project’s building, and the old dismantled façade fins of the Architecture School building—were salvaged and reused to build the ventilation wall of the library.

134 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


Summary

The common idea of vernacular architecture about contextual understanding and adaptation has been such a universal

and up-to-date concept over time. Perceived beyond its architectural façade, vernacular architecture that was created by the layperson has stood humbly and creatively in its contexts. Direct and indirect adaptations—due to changing needs, compromised traditions, and cultural interactions—have contributed a new approach to architectural design and construction. The diverse and changing needs of society have been and will always be revealed in architecture in the course of time. In fact, inherited architectural wisdom of vernacular architecture is so invaluable, and the DesignBuild program is just a small resource of knowledge about vernacular architecture and its indigenous knowledge of adaptation. The program has strived to adapt and apply the understanding of such knowledge to architectural practices for managing time and contextual constraints. The DesignBuild Program is aimed to answer the question, “What are the ways to create today’s vernacular architecture in contemporary and changing contexts?”

Bibliography Andrea Oppenheimer Dean. Rural Studio: Samuel Mockbee and an Architecture of Decency. New York: Princeton Architectural Press, 2002. Chiranthanut, Chantanee. Consideration on Spatial Formation and Transformation of Tai-Lao Villages and Dwellings in the Central Basin Mekong Basin, Thailand and Laos (Doctoral Dissertation). Japan: University of Shiga Prefecture, 2011. Chiranthanut, Chantanee. “Roob Bab Chum Chon Kub Ruen Puen Thin Lae Kan Plean Koranee Suksa Ban Paksy Mueng

Luamg Prabang.” (In Thai) [“Spatial Formation and Transformation of Tai-Lao Villages and Dwellings in Paksy

Village, Luang Prabang, Laos”]. The Journal of Mekong Societies. Vol. 8 No. 1: January - April, 2012.

Liangwen, Zhu. Chonchāt Tai : Sathāpattayakam Læ Khanop Thamnīam Praphēnī Tai Nai Sipsō̜ngphannā. (In Thai) [The Dai or the Tai and Their Architecture and Customs in South China]. Trans. Ngarmpan Vejjajiva. Chiang Mai: Suriwong Book Centre, 1993. p. 98-99. Panin, Ornsiri, et al., Ruen Puen Thin Thai-Tai. (In Thai) [Vernacular House of Thai–Tai]. Bangkok: Silpakorn University, 2008. Paul Oliver. Encyclopedia of Vernacular Architecture of the World: Vol 1. London: Cambridge University Press, 1997. Mete Tulan, Editor. “Vernacular Know-How.” Vernacular Architecture : Paradigms of Environmental Response. Avebury: Gower Publishing Company, 1990.

135 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 Academic Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


เปิดรับพิจารณาบทความเพื่อตีพิมพ์ใน วารสารอาษา (ASA Journal) ฉบับประจำ�ปีพ.ศ.2562 ที่มาและความสำ�คัญ สมาคมสถาปนิกสยามฯ ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการเผยแพร่องค์ความรู้ทางด้านสถาปัตยกรรมสังคม และเพื่อเป็นการ ผลักดันให้ผลงานทางวิชาการและนวัตกรรมทางสถาปัตยกรรมเป็นทีร่ จู้ กั มากขึน้ ทัง้ ในและนอกประเทศ ในการนี้ สมาคมสถาปนิกสยามฯ ได้จัดท�ำ “วารสารอาษา (ASA Journal)” เพื่อสนับสนุนให้เกิดการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการและผลงานและนวัตกรรมทาง สถาปัตยกรรมอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง และเพื่อเป็นการเสริมสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ การถ่ายทอดความรู้ และความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ใหม่ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับสาขาสถาปัตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง โดยเนื้อหาความรู้ที่เผยแพร่สู่ สาธารณชนมุ่งหวังให้เกิดประโยชน์แก่นักเรียน นิสิต นักศึกษา คณาจารย์ นักวิชาการ และนักปฏิบัติวิชาชีพสาขาสถาปัตยกรรม รวมถึง สาขาวิชาชีพอื่นๆ และประชาชนทั่วไปที่สนใจได้รับรู้ความก้าวหน้าและสาระทางวิชาการทางสถาปัตยกรรม เพื่อสามารถน�ำไปพัฒนา หรือประยุกต์ใช้องค์ความรูเ้ ข้ากับการปฏิบตั วิ ชิ าชีพและด�ำเนินชีวติ ทัง้ ส่วนบุคคลและส่วนชุมชนโดยรวมต่อไป อนั จะเป็นการเสริมความ เข้มแข็งแก่วงวิชาการ และวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ต่อไป สมาคมสถาปนิกสยามฯ ขอเชิญผู้ที่สนใจร่วมส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ เผยแพร่ใน “วารสารอาษา (ASA Journal)” โดยเปิดรับพิจารณาบทความ (Full Paper) ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ.2561

หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอาษา

๐ วารสารอาษา (ASA Journal) รับพิจารณาบทความวิจยั บทความวิชาการ บทความปริทศั น์ บทความวิจารณ์หนังสือ-บทความ บทความแปล บทความสรุปผลงานการสร้างสรรค์ และบทความสรุปผลการบริการวิชาการรับใช้สังคม ด้านสถาปัตยกรรมศาสตร์ แขนงต่างๆ ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ตามหมวดหมู่ดังต่อไปนี้ คือ - ทฤษฎีทางสถาปัตยกรรม และการออกแบบสถาปัตยกรรม - ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม ศิลปสถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย - สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น และสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม - เทคโนโลยี และนวัตกรรมทางสถาปัตยกรรม - การบริหารจัดการ และการอนุรักษ์สถาปัตยกรรม - การออกแบบชุมชนเมือง ภูมิสถาปัตยกรรม และการผังเมือง - การพัฒนาที่อยู่อาศัย - การเรียนการสอนทางสถาปัตยกรรม ๐ ต้นฉบับบทความ ความยาวเฉพาะข้อความ (ไม่รวมรูป) ไม่เกิน 2,500 ค�ำ พร้อมบทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อม ค�ำส�ำคัญภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในรูปแบบของไฟล์ MS-Word ๐ ในกรณีที่บทความมีรูปภาพประกอบ ให้แทรกรูปลงในเนื้อหาบทความตรงตําแหน่งที่ต้องการอธิบาย พร้อมใส่คําอธิบายว่า ภาพที่ หมายเลขรูปภาพ: เนื้อหาที่ต้องการอธิบาย ตัวอย่าง ภาพที่ 1: แสดงแผนผังพื้นที่ใช้สอยภายใน

136 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


๐ การเตรียมไฟล์รูปภาพประกอบ ต้องบันทึกไฟล์รูปภาพในแฟ้ม (Folder) ตั้งชื่อภาพประกอบ และตั้งชื่อไฟล์รูปภาพโดยใช้ชื่อ ภาษาอังกฤษของผู้เขียน_หมายเลขรูปที่สัมพันกับเนื้อหา ทั้งนี้ไฟล์รูปภาพต้องมีความละเอียดไม่น้อยกว่า 300 dpi ในรูปแบบของล์ นามสกุลใด ก็ได้ดังต่อไปนี้ .JPG .PSD .PNG .TIF .BMP ตัวอย่าง Isarachai_01

๐ รูปภาพ แผนภูมิ แผนผัง แบบสถาปัตยกรรม แผนที่ แผนภาพ ที่น�ำมาใช้ประกอบบทความต้องไม่มีการละเมิดลิขสิทธิ์

๐ บทความที่เป็นงานแปลหรือเรียบเรียงต้องอ้างอิงที่มาโดยละเอียด และต้องได้รับอนุญาตจากต้นฉบับ

การประเมินบทความจากผู้ทรงคุณวุฒิ

กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการคัดเลือกด�ำเนินการส่งบทความเพื่อรับการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่มีความ เชี่ยวชาญจ�ำนวน 2 ท่าน และหากผลประเมินไม่เป็นเอกฉันท์จะส่งให้ผู้ทรงคุณวุฒิท่านที่ 3 ร่วมพิจารณา ทั้งนี้ การประเมินบทความ จะด�ำเนินการในลักษณะ Double Blind โดยกองบรรณาธิการจะด�ำเนินการส่งผลการประเมินกลับไปให้ทางผู้เขียนผ่านช่องทางอีเมล ภายใน 10 วันหลังจากได้รบั ผลการประเมินจากผูท้ รงคุณวุฒคิ รบถ้วน หลังจากทีไ่ ด้รบั การแจ้งผลจากกองบรรณาธิการ ขอให้ผเู้ ขียนด�ำเนินการ ปรับแก้ไขบทความตามค�ำแนะน�ำของผู้ประเมิน และส่งไฟล์ท่ีแก้ไขกลับมายังกองบรรณาธิการทางอีเมล asa.journal.academic@ gmail.com ภายในระยะเวลา 15 วัน

ค่าตอบแทนผู้ตีพิมพ์บทความ

บทความภาษาไทย บทความ 2 ภาษา(ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)

เป็นเงิน 4,000 บาท เป็นเงิน 7,000 บาท

เปิดรับการพิจารณาบทความ (Full Paper) ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ.2561

ส่งบทความ (Full Paper)

หรือติดต่อสอบถามได้ที่ asa.journal.academic@gmail.com หรือโทร 02-319-6555

ที่อยู่

สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ (วารสารอาษา) 248/1 พระรามgซอย 17 ถนนพระราม 9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

137 วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ์ Issue 01 / 2018 The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage


วารสารสถาปัตยกรรม ของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์

The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects Under Royal Patronage ISSN : 0857-3050




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.