ASA ACADEMIC (ISSUE 01/2019)

Page 1



วารสารสถาปัตยกรรม ของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ The Architectural Journal

of The Association of Siamese Architects Under Royal Patronage

ISSUE O1 / 2019

| Green |


วารสารสถาปัตยกรรม ของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ The Architectural Journal of The Association of Siamese Architects Under Royal Patronage ISSN : 0857-3050

คณะกรรมการบริหารสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี 2561-2563 นายกสมาคม / President อุปนายก / Vice President

อัชชพล ดุสิตนานนท์ / Ajaphol Dusitnanond เมธี รัศมีวิจิตรไพศาล / Metee Rasameevijitpisal ผศ.ดร.ธนะ จีระพิวัฒน์ / Asst.Prof.Thana Chirapiwat, Ph.D. ดร.วสุ โปษยะนันทน์ / Vasu Poshyanandana, Ph.D. ดร.พินัย สิริเกียรติกุล / Pinai Sirikiatikul, Ph.D. นายทรงพจน์ สายสืบ / Songpot Saiseub

เลขาธิการ / Secretary General นายทะเบียน / Honorary Registrar เหรัญญิก / Honorary Treasurer ปฏิคม / Social Event Director ประชาสัมพันธ์ / Public Relations Director กรรมการกลาง / Executive Committee

ปรีชา นวประภากุล / Preecha Navaprapakul พ.ต.ท.สักรินทร์ เขียวเซ็น / Pol.Lt.Col.Sakarin Khiewsen ภิรวดี ชูประวัติ / Pirawadee Chuprawat สมชาย เปรมประภาพงษ์ / Somchai Premprapapong ผศ.ดร.กมล จิราพงษ์ / Asst.Prof.Kamon Jirapong, Ph.D. เทียนทอง กีระนันทน์ / Thienthong Kiranandana ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ์ / Asst.Prof.Rattapong Angkasith, Ph.D. ชายแดน เสถียร / Chaydan Satian รุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว / Rungroth Aumkaew

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกล้านนา / Chairman of Northern Region (Lanna) ประธานกรรมาธิการสถาปนิกอีสาน / Chairman of Northeastern Region (Esan) ประธานกรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ / Chairman of Southern Region (Taksin)

อิศรา อารีรอบ / Issara Areerob ธนาคม วิมลวัตรเวที / Tanakom Wimolvatvetee นิพนธ์ หัสดีวิจิตร / Nipon Hatsadeevijit

ASA Journal Team Steering Committee Prof.Dr.Vira Inpuntung

Editor-in-Chief Asst.Prof.Dr.Supitcha Tovivich

Dr.Weeraphan Shinawatra Dr.Chalay Kunawong

Contributors

English Translators

Assistant professor Chanyaporn Bstieler, Ph.D.

Pornpimon Intraraksakul

Jaksin Noyraiphoom, Ph.D.

Tanakanya Changchaitum

Michael Paripol Tangtongchit Assistant Professor Nattawut Usavagovitwong, Ph.D.

English Advisor

Assistant Professor Pattaranan Takkanon, Ph.D.

David Fiske

Associate Professor Phanchalath Suriyothin Associate Professor Singh Intrachooto, Ph.D.

Assistant Professor Tharinee Ramasoot, Ph.D.

Art Director / Graphic Designer Werapon Chiemvisudhi


บทบรรณาธิการ / Editorial วารสารอาษากลับมาอีกครั้งในรูปแบบใหม่ที่เกิดจาก ความพยายามและความตัง้ ใจของกองบรรณาธิการทีอ่ ยากจะเริม่ เชือ่ มโลกวิชาการเข้ากับโลกวิชาชีพ เมือ่ สมาคมสถาปนิกสยามฯ ได้มอบหมายให้เป็น Editor-in-Chief ของวารสารอาษารูปแบบ ใหม่นี้ สิง่ หนึง่ ทีน่ กึ ได้กค็ อื บทความประเภทการอัพเดทความเป็น ไปต่างๆ ในแวดวง หรือบทความที่มีแต่ความคิดเห็นส่วนตัวของ ผูเ้ ขียนต่องานสถาปัตยกรรมสักชิน้ ...ไม่นา่ จะใช่คำ� ตอบทีเ่ หมาะ กับยุคสมัย เนื่องจากเป็นสิ่งที่หาอ่านได้ง่ายดายในโลกออนไลน์ อีกทัง้ ด้วยนโยบายของสมาคมฯ เองทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับการเผย แพร่องค์ความรู้เชิงวิชาการสถาปัตยกรรมไปในวงกว้าง จึงเป็น ทีม่ าของโครงการจัดท�ำวารสารอาษารูปแบบใหม่ทมี่ เี นือ้ หาสาระ เข้มขึ้น อัดแน่นด้วยเนื้อหาวิชาการ เพื่อสถาปนิกผู้ปฏิบัติการที่ อาจจะได้แรงบันดาลใจ และข้อมูลเชิงลึกต่างๆ เพือ่ น�ำไปปรับใช้ ในงานออกแบบของตนเอง บทความวิชาการในเล่มนี้ เปิดรับงาน เขียนวิชาการจากทัว่ ประเทศ ทัง้ จากสถาปนิกและนักวิชาการทุก สังกัด ผ่านกระบวนการคัดสรรอย่างเป็นขั้นตอนและมีระบบ ทั้ง การอ้างอิงทฤษฏี บทวิเคราะห์มุมมองความคิดเห็นของผู้เขียน รวมไปถึงการกลั่นกรองบทความตามหลักวิชาการ ในลักษณะ Blind Peer Review คือปกปิดรายชือ่ ผูป้ ระเมินและผูเ้ ขียนบทความ โดยส่งมอบให้ผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้นๆ เป็นผู้ตรวจสอบ โดยปกติฐานข้อมูลของบทความวิชาการนั้นมักอยู่ตาม มหาวิทยาลัย หรือช่องทางออนไลน์ส�ำหรับสมาชิกเฉพาะกลุ่ม เท่านัน้ นับเป็นโอกาสดีทวี่ ารสารอาษารูปแบบใหม่นจี้ ะน�ำเสนอ ข้อมูลเชิงวิชาการและเชิงลึกสูผ่ อู้ า่ นทีก่ ว้างขวางขึน้ วารสารเล่ม นี้อาจจะไม่ใช่ขนมหวานส�ำหรับคนที่ต้องการอ่านสนุกและอ่าน ง่าย แต่อย่างน้อยแต่ละบทความมีคาแรกเตอร์ที่ “อ่านได้” และ ไม่ยากเกินความเข้าใจ ความยาวของบทความนั้นจะสั้นกว่า บทความวิชาการปกติ เนื้อหาพยายามมุ่งไปที่ประโยชน์ต่อการ ปฏิบตั วิ ชิ าชีพหรือการเรียนการสอนสถาปัตยกรรม เหมาะส�ำหรับ ผูท้ ตี่ อ้ งการทีจ่ ะเริม่ ศึกษาข้อมูลทีล่ กึ ซึง้ ในเบือ้ งต้น เป็นการเชือ่ ม โลกวิชาการกับโลกปฏิบตั กิ ารอีกทางหนึง่ แต่ละเล่มกองบรรณธิการ คัดสรรบทความ 6 เรือ่ งต่อเล่ม และมีกำ� หนดเผยแพร่ปลี ะ 2 เล่ม ส�ำหรับเล่มทีห่ นึง่ มี Theme ร่วมกับเล่มทีส่ องและงานสถาปนิก’62 คือ“Green”ว่าด้วยการออกแบบสถาปัตยกรรมทีค่ ำ� นึงถึงสภาพแวดล้อม และความเป็นอยูข่ องธรรมชาติและผูค้ น

The return of ASA Journal comes not only with a new

design but the intention to connect the country’s architectural academia to the professional world. Having agreed to take on the responsibility as the Editor-in-Chief of the reinvented edition of ASA Journal, one thing that comes to my mind is that industry updates and articles featuring solely the authors’ point of view towards their architectural projects are not the only answers, at least not ones that are distinct and would resonate well with the current media landscape. These types of articles are now ubiquitously available online. So it is the Association’s intention to promote academic works in the field of architecture to reach a wider group of audience. The new ASA Journal will intensify academic content for architectural practitioners - not only as a source of inspiration - but also for information towards the creation and development of their own architectural works.

The academic articles featured in this issue of ASA Journal

are submitted from contributors across the country by academics and architects from different organizations. A systematic selection process has been created and the articles will be diverse, from theoretical references to critical analyses of the authors’ viewpoints. A blind peer review process is also incorporated. With the authors’ and assessors’ identities concealed, the selection process will be made objectively by experts of that particular field.

Typically, academic journals can only be accessed through

databases in universities or online systems in which the information is available to a specific group of members. It is a great opportunity for the new ASA Journal to serve as a platform where academic and in-depth information can be presented and be made accessible to a wide group of readers. It may not be for someone who is looking for an easy read, but each of the selected articles will possess a ‘readable’ characteristic that is not too hard to digest. The length of the articles will be shorter than that of most academic journals with the content aiming to contribute to architectural practice and teaching. These articles will serve as a primary source of information for those who wish to pursue more elaborate study. In a way, it will connect the academic world to the actual practice of the profession. Six articles will be selected to feature in one issue of the ASA Journal, which will be released bi-annually. For the first issue, the theme “Green” corresponds with the second issue andthe Architect Expo ’19

For those who are interested in having your articles and

ส�ำหรับผู้ท่ีสนใจส่งบทความเพือ่ พิจารณาตีพมิ พ์สามารถ สอบถามเรือ่ ง Theme ของเล่มหน้าและรายละเอียดอืน่ ๆ เพิม่ เติม details of future issues via asa.journal.academic@gmail.com ได้ท ี่ asa.journal.academic@gmail.com

writing published, do not hesitate to inquire about the themes and

ผศ.ดร.สุพิชชา โตวิวิชญ์ Editor-in-Chief


่ งบ้านและงานออกแบบ เว็บเดียวครบ จบเรือ www.asa.or.th

ค้นหาสถาปนิก ทั่วประเทศ

ค้นหางาน ในวงการสถาปนิก

“ถ้าคลิกเข้าไปในเว็บไซต์ www.asa.or.th จะเห็นว่ามี การเปลีย ่ นแปลงไปจากเดิม มีเมนูใหม่ๆ ซึง ่ เป็นไฮไลต์ เช่น ‘find an architect’ ซึง ่ สถาปนิกสามารถน�าผลงานของ บริษัท ทัง ิ โี อมาลงบนเว็บไซต์ ้ ผลงาน รูปภาพ แม้แต่วด เป็นการแนะน�าบริษท ั ส่วนบุคคลทัว่ ไปก็สามารถเข้ามาค้นหา สถาปนิ ก ได้ เป็ น การตอบโจทย์ ทั้ ง บริ ษั ท สถาปนิ ก และ ผู้บริโภคที่ต้องการสร้างบ้าน ขณะเดียวกันบุคคลหรือ บริษท ั ทัว่ ไปสามารถน�าโฆษณามาลงได้ โดยโฆษณาดังกล่าว จะแสดงผลต่อเมื่อผู้เข้าชมได้แสดงความสนใจในเนื้อหา ทีเ่ กีย ่ วเนือ ่ งกับผลิตภัณฑ์นน ้ั ๆ

ไม่พลาดทุกข่าวสาร และกิจกรรม ในแวดวงสถาปนิก

ติดตามสื่อทุกช่องทางของสมาคมสถาปนิกสยามฯ

ทั้งวารสาร ASA CREW / อาษา / จดหมายข่าว / ASA Youtube Channel / ASA แอปพลิเคชั่น / เฟซบุ๊กสมาคมฯ พร้อมสมัครสมาชิกสมาคมฯ ทางออนไลน์ได้ทันที

นอกจากนีเ้ ว็บไซต์ดง ั กล่าวยังเป็นแหล่งรวมสือ ่ ต่างๆ ของสมาคมสถาปนิกสยามฯ เช่น จดหมายเหตุ วารสาร คลิปวิดโี อ รวมถึงเฟซบุก ๊ เพื่อให้เข้าชมง่ายขึน ้ อ่านง่ายขึน ้ บนทุกอุปกรณ์ และยังสามารถสมัครเข้าเป็นสมาชิกของ สมาคมฯ ทางออนไลน์ผา่ นเว็บไซต์ได้อก ี ด้วย ่ ะได้ประโยชน์จากเว็บไซต์น ้ี กลุม กลุม ่ คนหลักๆ ทีจ ่ แรก คือ สมาชิกสมาคมสถาปนิกสยามฯ สามารถน�าผลงานมา ลงบนเว็บไซต์ได้ทั้งในรูปแบบของสมาชิกที่เป็นรูปแบบ บริษท ั และรูปแบบบุคคล เพือ ่ ให้มค ี นเข้าถึงได้มากขึน ้ รวมถึง ประกาศหางานบนเว็บไซต์กไ็ ด้

4 - อสถาปนิกทีก ่ า� ลังหางาน กลุม ่ ต่อมาคือ นักศึก-ษาหรื สามารถเข้ามาหาโอกาสการท�างานกับบริษัททีเ่ ป็นสมาชิก ของสมาคมฯ และเชือ ่ ถือได้ JULY-AUG 2017 - ISSUE 05

กลุม ่ ต่อมาคือ บุคคลทัว่ ไป สามารถเข้าถึงฐานข้อมูล เพื่อค้นหาสถาปนิกตามประเภทงาน สถานทีแ ่ ละความถนัด รวมไปถึงติดตามข่าวสารทีน ่ า่ สนใจเกีย ่ วกับวงการสถาปนิก อยากขอเชิญชวนท่านสมาชิกสมาคมฯ อัปโหลดผลงาน ข้อมูลบริษัทและข้อมูลส่วนตัวของท่านขึน ้ บนระบบเว็บไซต์ ของสมาคมฯ และรับสิทธิป ์ ระกาศหางาน ส่วนบุคคลทัว่ ไป ลองเข้าชม อ่านบทความทีน ่ า่ สนใจ รับชมสือ่ ต่างๆ ของสมาคมฯ และลองใช้เมนูใหม่ ‘find an architect’ ดู รับรองว่า ได้ประโยชน์แน่นอนค่ะ” ศิริมาศ บิ๊กเลอร์

Senior Account Director Adelphi Digital Consulting Group ผู้พัฒนาเว็บไซต์ www.asa.or.th


สารนายกสมาคมฯ / Message from the ASA President สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ เห็นความส�ำคัญของการมีพื้นที่ให้สมาชิกสมาคมฯ สถาปนิก นิสิต-นักศึกษา สถาปัตยกรรม นักวิชาการ และผูป้ ฏิบตั วิ ชิ าชีพสถาปัตยกรรมได้มพี นื้ ทีใ่ นการเผยแพร่องค์ความรูแ้ ละแนวคิดในการออกแบบ รวมถึง ผลงานค้นคว้าวิจยั ทางด้านสถาปัตยกรรม สมาคมสถาปนิกสยามฯ จึงได้มอบหมายให้ฝา่ ยวิชาการจัดท�ำวารสารอาษา (ASA Journal) เป็นวารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยในเล่มจะเป็นการรวบรวมบทความผลงานทางวิชาการ บทความผลงานวิจยั ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษทีอ่ ดั แน่นด้วยเนือ้ หาวิชาการ โดยได้มอบหมายให้ ผศ.ดร.สุพชิ ชา โตวิวชิ ญ์ เป็น บรรณาธิการ ซึง่ นับเป็นปีที่ 2 ทีไ่ ด้มกี ารจัดท�ำวารสารอาษาในรูปแบบของการรวบรวมบทความวิชาการทัง้ ทางด้าน Design Theory History Vernacular เพือ่ ให้สถาปนิก นักวิชาการ รวมถึงผูป้ ฏิบตั วิ ชิ าชีพทางด้านสถาปัตยกรรม และผูท้ สี่ นใจในศาสตร์ตา่ ง ๆ ทีเ่ กีย่ ว เนือ่ งได้เข้าถึง ตามนโยบายของสมาคมฯ ทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับการเผยแพร่องค์ความรูเ้ ชิงวิชาการสถาปัตยกรรมในวงกว้าง ทัง้ ยังสามารถ ใช้เป็นแรงบันดาลใจหรือปรับใช้ในการออกแบบ และใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงได้ นับเป็นโอกาสดีทวี่ ารสารอาษาได้เป็นช่องทางการศึกษา เพิม่ ขึน้ นอกเหนือจากต�ำราวิชาการทัว่ ไป และยังเปิดโอกาสให้สมาชิก นักวิชาการ และผูป้ ฏิบตั วิ ชิ าชีพสถาปัตยกรรมสามารถส่งบทความ เพือ่ คัดเลือกและตีพมิ พ์เผยแพร่องค์ความรูใ้ ห้เกิดประโยชน์แก่วงวิชาการ วิชาชีพสถาปนิก และน�ำไปสูก่ ารพัฒนาทีก่ ว้างขวางต่อไปใน สังคม

With the recognition in the importance of having a platform where the fellow members, architects, architecture students,

academics and architectural practitioners can present and propose their architectural projects, ideas and researches, the Association of Siamese Architects under Royal Patronage assigns its academic unit to oversee the making of ASA Journal, the association’s very own academic publication that brings together academic essays, research papers of interesting and diverse academic contents featured in both Thai and English language.

With Dr. Supitcha Tovivich appointed as the editor, the new edition of ASA Journal has now entered its second year as we

aspiringly continue to bring our readers written works that explore different aspects of architecture from theory, design, history to vernacular. The journal offers professional practitioners, academics and interested individuals an access to a growing body of knowledge in architecture and other related fields, following the association’s intention to promote architectural knowledge to reach a wider group of people. These written works also serve as sources of inspirations and references for both professional practitioners and students for ASA Journal presents itself as another source of knowledge in addition to other textbooks and academic publications. We also offer a chance for the fellow members of the association, academics and architectural professionals to submit their writings, which will be reviewed, selected and published in ASA Journal with the hope that the shared knowledge and experiences will generate greater developments for the future of architectural practice and academia, and ultimately the society we all live in.

ASA Journal presents itself as another source of knowledge in addition to other textbooks and academic publications. We also

offer a chance for the fellow members of the association, academics and architectural professionals to submit their writings to be considered, selected and published in ASA Journal in order for the knowledge to be shared and generate greater developments for the future of architectural practice and academia, and ultimately the society we live in.

อัชชพล ดุสิตนานนท์ / Ajaphol Dusitnanond นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำ�ปี 2561 - 2563 / President, The Association of Siamese Architects Under Royal Patronage


สารบัญ / Contents รูปแบบการส่องสว่างเพื่อการทำ�งานสำ�หรับคนต่างวัย

: บทเรียนจากงานวิจัยเชิงทดลองในสำ�นักงาน

คำ�สำ�คัญ: การส่องสว่างในสำ�นักงาน แรงงานต่างวัย ระบบการส่องสว่างแบบทั่วพื้นที่และแสงเฉพาะที่

หน้า / Page

10 - 21

ผศ.ดร. ธาริณี รามสูต

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / tharinee@su.ac.th

ผศ.ดร. จรรยาพร สไตเลอร์

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

/ inverselighting@gmail.com

Lighting for Different Generations in the Workplace : Lessons Learned from Experimental Research Assistant Professor Tharinee Ramasoot, PhD Faculty of Architecture, Silpakorn University / tharinee@su.ac.th

Assistant Professor Chanyaporn Bstieler, PhD

King Mongkut’s University of Technology Thonburi / inverselighting@gmail.com

อัพไซเคิล

: นิยามและความหมาย สู่กระบวนทัศน์การออกแบบอย่างยั่งยืน คำ�สำ�คัญ: อัพไซเคิล, การออกแบบอย่างยั่งยืน, ประสิทธิภาพเชิงนิเวศ

หน้า / Page

22 - 35

ดร.จักรสิน น้อยไร่ภูมิ

สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ / ma_lang_phoo@hotmail.com

รศ.ดร.สิงห์ อินทรชูโต

สาขาวิชาเทคโนโลยีทางอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ / singhman@ku.ac.th

Upcycling: Definition and Meaning to Sustainable Design Paradigm Keywords: upcycle, upcycling, sustainable design, eco-efficiency

Jaksin Noyraiphoom, Ph.D.

Faculty of Architecture and Design, Rajamangala University of Technology Rattanakosin / ma_lang_phoo@hotmail.com

Associate Professor Singh Intrachooto, Ph.D.

Faculty of Architecture, Kasetsart University / singhman@ku.ac.th

มลภาวะทางแสงกับเกณฑ์ LEED คำ�สำ�คัญ: มลภาวะทางแสง แสงส่องขึ้น แสงล่วงล�้ำ แสงแยงตา

รองศาสตราจารย์ พรรณชลัท สุริโยธิน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Light Pollution and LEED Certification Keywords: Light pollution, Uplight, Light trespass, Glare

Associate Professor Phanchalath Suriyothin Faculty of Architecture, Chulalongkorn University

หน้า / Page

36 - 47


ผลกระทบจากเรขาคณิตของเมืองต่อสภาวะทางความร้อน และการไหลของอากาศในหุบเหวถนนของกรุงเทพมหานคร

หน้า / Page

48 - 65

คำ�สำ�คัญ: ปรากฏการณ์เกาะความร้อน เรขาคณิตเมือง อัตราส่วนความสูงต่อความกว้าง

ผศ.ดร.ภัทรนันท์ ทักขนนท์

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ / pattaranan.t@ku.th

Effects of Urban Geometry on Thermal Condition and Airflow in Urban Street Canyons of Bangkok Keywords: Urban heat Island, Urban Geometry, Computational Fluid Dynamics (CFD)

Assistant Professor Pattaranan Takkanon, Ph.D. Faculty of Architecture, Kasetsart University / pattaranan.t@ku.th

การร่วมสร้างสรรค์พื้นที่สาธารณะ

: เจตคติ, กระบวนการ, และโอกาสของคนเมือง

หน้า / Page

66 - 81

คำ�สำ�คัญ: การปรับเปลี่ยนประโยชน์ใช้สอย, การอนุรักษ์สถาปัตยกรรม, อาคารเก่า, การฟื้นฟู

ผศ.ดร.ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม / nattawutu@gmail.com

Co-creating public space : Attitude, process, and opportunity

Assistant Professor Nattawut Usavagovitwong, Ph.D. School of Architecture, Sripatum University / nattawutu@gmail.com

การออกแบบเมืองและสถาปัตยกรรมในยุคเศรษฐกิจหมุนเวียน คำ�สำ�คัญ: เศรษฐกิจหมุนเวียน มนุษย์เป็นศูนย์กลาง ความยั่งยืน การพัฒนาเชิงพื้นที่ จากเปลสู่เปล

ไมเคิล ปริพล ตั้งตรงจิตร

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี / michael.par@kmutt.ac.th

City and Architecture Design in the Age of Circular Economy Michael Paripol Tangtongchit

School of Architecture and Design, King Mongkut’s University of Technology Thonburi / michael.par@kmutt.ac.th

หน้า / Page

82 - 95


รูปแบบการส่องสว่างเพือ่ การทำ�งานสำ�หรับคนต่างวัย : บทเรียนจากงานวิจยั เชิงทดลองในสำ�นักงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธาริณี รามสูต

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / tharinee@su.ac.th

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จรรยาพร สไตเลอร์

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี / inverselighting@gmail.com

บทคัดย่อ สัดส่วนของแรงงานในส�ำนักงานที่มีอายุมากมีแนวโน้มสูงขึ้นในประเทศไทย คนในวัยนี้มีความเสื่อม ของสายตาในหลายรูปแบบ เพือ่ ศึกษาว่าการส่องสว่างภายในส�ำนักงานทีเ่ หมาะสมส�ำหรับการท�ำงาน ร่วมกันระหว่างคนวัยต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมสุขภาวะของแรงงานและรักษาประสิทธิภาพในการท�ำงาน การศึกษานี้ทดสอบพนักงาน 2 กลุ่มอายุ มากกว่าและน้อยกว่า 40 ปี ภายใต้การส่องสว่าง 3 รูปแบบ เพื่อประเมินความเห็นที่มีต่อสภาพแสงสว่างโดยใช้แบบสอบถาม และประเมินความสามารถในการ ท�ำงานบนกระดาษ บนคอมพิวเตอร์ และบนกระดาษร่วมกับคอมพิวเตอร์ พบว่า ในขณะที่ความ สามารถในการท�ำงานของพนักงานทั้ง 2 กลุ่มอายุไม่เปลี่ยนไปตามรูปแบบแสงสว่าง แต่พนักงานทั้ง 2 กลุม่ อายุ มีความพึงพอใจต่อการส่องสว่างแบบทัว่ พืน้ ทีแ่ ละแสงเฉพาะที่ (Task-Ambient Lighting) ทีส่ ามารถปรับความส่องสว่างได้มากกว่าการส่องสว่างแบบทัว่ พืน้ ทีเ่ พียงอย่างเดียว (General Lighting System) ทั้งในประเด็นความชอบ ความสบายตา และความสว่าง คำ�สำ�คัญ การส่องสว่างในสำ�นักงาน แรงงานต่างวัย ระบบการส่องสว่างแบบทั่วพื้นที่และแสงเฉพาะที่

บทนำ� แสงสว่างเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ส่งผลต่อการท�ำงานในส�ำนักงานได้ถึง 3 ช่องทางด้วยกัน คือผ่านทาง ระบบการเห็น (Visual System) ระบบการรับรู้ (Perceptual System) และระบบนาฬิกาชีวิตของ ร่างกาย (Circadian System) (Boyce, 2003) แสงสว่างทีเ่ หมาะสมในส�ำนักงานนอกจากจะสามารถ ส่งเสริมความสามารถในการมองเห็น (Visual Performance) ความปลอดภัยในการท�ำงาน (Safety) และความสบายในการมองเห็น (Visual Comfort) ยังสามารถสร้างแรงจูงใจ (Motivation) ในการ ท�ำงาน และสร้างความตื่นตัว (Alertness) ในการท�ำงาน ซึ่งล้วนเป็นตัวก�ำหนดสุขภาวะของแรงงาน ผู้ปฏิบัติงาน แต่แสงสว่างที่เหมาะสมจะเป็นรูปแบบใดและมีปริมาณเท่าไรนั้น อาจแตกต่างไปตาม ปัจจัยของแต่ละบุคคล ทั้งกายภาพและภูมิหลังของบุคคลนั้น วัยก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลกระทบต่อ ความต้องการแสงสว่าง สายตาและการส่องสว่างที่เปลี่ยนไปเมื่ออายุมากขึ้น

เมือ่ อายุมากขึน้ โดยเฉพาะตัง้ แต่ 40 ปีขนึ้ ไป สายตาจะเกิดการเปลีย่ นแปลงซึง่ ท�ำให้ระดับการ มองเห็นลดลง ไม่วา่ จะเป็น กล้ามเนือ้ ตาเสือ่ มท�ำให้ความสามารถในการมองใกล้ (Accommodation) ลดลง เกิดเป็นสายตายาวในผู้สูงอายุ (Presbyopia) ความเสื่อมจะมากขึ้นไปตามอายุ จนถึงอายุ 65 ปีความสามารถในการเปลี่ยนโฟกัสของสายตาเพื่อมองใกล้แทบจะเป็นไปไม่ได้ท�ำให้ต้องใช้แว่น สายตาหรือเลนส์ในการท�ำงาน นอกจากนี้เมื่ออายุมากขึ้นรูม่านตา (Pupil size) ที่เล็กลงและความ เสื่อมของเลนส์แก้วตา (crystalline lens) ยังท�ำให้แสงที่มาตกกระทบบนจอประสาทตา (Retinal Illuminance) ลดลง ภายใต้แสงเท่า ๆ กัน มีการประมาณว่าในคนอายุ 60 ปีมีแสงตกกระทบบนจอ ประสาทตาเพียง 1 ใน 3 ของคนอายุ 20 ปีเท่านั้น และเมื่อเลนส์แก้วตามีเสื่อมจะเกิดความขุ่น การ หักเหแสงผิดปกติท�ำให้ภาพที่ตกกระทบบนจอประสาทตาขาดความคมชัด มีคอนทราสต์ลดลง 10


เลนส์แก้วตาทีเ่ หลืองขึน้ ยังลดความสามารถในการแยกแยะสีในโทนฟ้าทีม่ คี วามยาวคลืน่ สัน้ ใน ผูส้ งู อายุ (LRC, 2019; มุกดา เดชประพนธ์ และปิยวดี ทองยศ, 2557) ในภาพรวมจะเห็นได้วา่ ปัญหา สายตาจะเริม่ ปรากฏในคนอายุ 40 ปี และมีความรุนแรงมากขึน้ โดยเฉพาะในคนอายุมากกว่า 60 ปี จากรายงานผลกระทบการเปลีย่ นแปลงทางประชากรของประเทศไทย (สศช.) เนือ่ งด้วยแนว โน้มการเกิดที่ลดลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 ท�ำให้หลังปี พ.ศ. 2563 ประชากรวัยท�ำงานจะ ลดลง และมีสัดส่วนของประชากรในวัยท�ำงานที่มีอายุมากกว่า 45 ปีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ (สศช และ UNFPA, 2554) นั่นหมายความว่าส�ำนักงานจะต้องรองรับแรงงานที่มีความหลากหลายของวัยมากขึ้น ระบบแสงสว่างเพือ่ รองรับการเปลีย่ นแปลงนีค้ วรจะมีลกั ษณะอย่างไรเพือ่ ให้แรงงานทุกกลุม่ อายุและ ภาวะสายตาต่างกันสามารถท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่เนือ่ งด้วยความเสือ่ มของตานัน้ เป็นไป ได้ในหลากหลายลักษณะ ดังนัน้ ความต้องการแสงสว่างทีเ่ หมาะสมจึงอาจแตกต่างกันไปในแรงงาน คนที่มีอายุและความผิดปกติของสายตาแตกต่างกันออกไป Lindner et. al (1989) ได้ศึกษาระดับ ความส่องสว่างทีพ่ งึ ประสงค์ของกลุม่ ตัวอย่างหลายอายุและมีภาวะสายตาต่างกันโดยให้ปรับโคมไฟ ฟลูออเรสเซนต์บนเพดานพบว่า แต่ละกลุ่มมีความต้องการต่างๆกันออกไป เช่น กลุ่มอายุ 20-30 ปีที่ มีสายตาปกติ ค่ามัธยฐาน (Median) ของระดับความส่องสว่างที่ต้องการส�ำหรับแสงสี Daylight อยู่ ที่ระหว่าง 1055 ลักซ์ ในขณะที่กลุ่มอายุ 40-79 ปีที่มีสายตาปกติ ค่ามัธยฐานของแสงสีเดียวกันอยู่ที่ 315 ลักซ์ เปรียบเทียบกับ กลุ่มอายุ 40-82 ปีท่ีเป็นโรคต้อหิน จะมีค่ามัธยฐานของระดับความส่อง สว่างที่ต้องการอยู่ที่ 675 ลักซ์ ดังนั้นการส่องสว่างที่เหมาะสมน่าจะมีคุณสมบัติที่ปรับเปลี่ยนได้เพื่อ ให้คนที่มีต้องการแตกต่างกันสามารถท�ำงานในพื้นที่เดียวกันได้ ระบบการส่องสว่างแบบทั่วพื้นที่และแสงเฉพาะที่: เทคนิคการส่องสว่างในสำ�นักงานเพื่อรองรับคนต่างวัย ระ บบการส่องสว่างแบบทั่วพื้นที่และแสงเฉพาะที่ (Task-Ambient Lighting Systems) เป็น วิธีการให้แสงส�ำหรับส�ำนักงานที่ส่วนหนึ่งของค่าความส่องสว่างส�ำหรับการท�ำงาน (Required task illuminance) มาจากแสงบริเวณทัว่ ไป (Ambient lighting) และอีกส่วนหนึง่ มาจากการให้แสงเฉพาะ ที่ (Task lighting) ใกล้กับพื้นที่ท�ำงานหลัก และพื้นที่แนวดิ่งในมุมมองของผู้ใช้อาคาร เช่น ผนัง หรือ แผงกัน้ ส�ำเร็จรูป โดยค่าความส่องสว่างในบริเวณทัว่ ไปจะต�ำ่ กว่าค่าความส่องสว่างส�ำหรับการท�ำงาน เทคนิคการให้แสงแบบทั่วพื้นที่และแสงเฉพาะที่ เปิดโอกาสให้ผู้ใช้อาคารสามารถปรับค่าความส่อง สว่างในบริเวณท�ำงานของตนเองได้ตามต้องการ ต่างจากระบบการส่องสว่างแบบทั่วพื้นที่ (General Lighting Systems) ซึ่งให้แสงสว่างกระจายไปทั่วทั้งส�ำนักงานในความส่องสว่างเท่า ๆ กัน ดังนั้น ระบบการส่องสว่างแบบทั่วพื้นที่และแสงเฉพาะที่จึงมีความเป็นไปได้สูงที่จะตอบสนองพนักงาน ภายในส�ำนักงานที่มีอายุหลากหลาย วิธีการศึกษา

เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของการน�ำระบบการส่องสว่างแบบทั่วพื้นที่และแสงเฉพาะที่มาใช้ใน ส�ำนักงานเพือ่ รองรับส�ำนักงานในอนาคตทีม่ สี ดั ส่วนอายุของพนักงานสูงอายุขน้ึ เรือ่ ย ๆ ศนู ย์วจิ ยั และ นวัตกรรมการส่องสว่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ได้พฒ ั นาโคมไฟต้นแบบส�ำหรับ การให้แสงเฉพาะที่ และการเปรียบเทียบความรู้สึกและความสามารถในการท�ำงานของพนักงาน 2 กลุ่มอายุ (มากกว่า 40 ปี และน้อยกว่า 40 ปี) ภายใต้การส่องสว่าง 3 รูปแบบ (ภาพ 1) คือ 1. Base case การให้แสงแบบทั่วพื้นที่เพียงอย่างเดียว (General Lighting) ซึ่งถือเป็นกรณีฐานของ การให้แสงสว่างภายในส�ำนักงานในปัจจุบนั ประกอบด้วยการติดตัง้ โคมไฟแบบฝังฝ้า LED T5 (40W/ 4000K) จ�ำนวน 12 โคม ในระยะเท่า ๆ กัน เพื่อให้ค่าความส่องสว่างเฉลี่ยบนระนาบท�ำงาน สูงจาก พื้น 0.75 เมตร (Average illuminance) 500 ลักซ์ 2. TAL 1 ต้นแบบเทคนิคการให้แสงแบบทั่วพื้นที่และเฉพาะที่ (Task-Ambient Lighting) แบบที่ 1 ประกอบด้วยแสงแบบทั่วพื้นที่จากโคมไฟแบบฝังฝ้าเพดาน LED (20W/ 4000K) จ�ำนวน 4 โคม ให้ ค่าความส่องสว่างเฉลีย่ 250 (+/- 10%) ลักซ์ เสริมด้วย เสริมความสว่างบนผนังหลักด้วยไฟหลืบ LED (30W) และติดตั้งต้นแบบโคมไฟเฉพาะที่บนฉากกั้นโต๊ะท�ำงาน (9W) มีสวิตช์ควบคุมแบบปรับหรี่ (Dimmable) เพื่อให้ผู้ใช้สามารถปรับความส่องสว่างเพิ่มเติมได้เมื่อต้องการ 11


3. TAL 2 ต้นแบบเทคนิคการให้แสงแบบทั่วพื้นที่และเฉพาะที่ (Task-Ambient Lighting) แบบที่ 2 ประกอบด้วยแสงแบบทั่วพื้นที่จากโคมไฟแบบฝังฝ้าเพดาน LED (20W/ 4000K) จ�ำนวน 4 โคม ให้ค่าความส่องสว่างเฉลี่ย 300 (+/- 10%) ลักซ์ เสริมด้วย เสริมความสว่างบนผนังหลักด้วยไฟ หลืบ LED (30W) และติดตั้งต้นแบบโคมไฟเฉพาะที่บนฉากกั้นโต๊ะท�ำงาน (9W) มีสวิตช์ควบคุมแบบ ปรับหรี่ (Dimmable) การทดลองได้ดำ� เนินการในส�ำนักงานจ�ำลองขนาด 9.0 x 6.0 x 2.7 เมตร ทีอ่ าคาร KX (Knowledge Exchange) ใกล้สถานีรถไฟฟ้าบีทเี อสวงเวียนใหญ่ โดยมีผเู้ ข้าร่วมการทดลองในวัยท�ำงาน 81 คน มีอายุตงั้ แต่ 20 – 62 ปี (MEAN = 34.94 ปี) แบ่งเป็นผูเ้ ข้าร่วมทดลองในกลุม่ อายุตำ�่ กว่า 40 ปี จ�ำนวน 47 คน และผู้เข้าร่วมทดลองในกลุ่มอายุมากกว่า 40 ปี จ�ำนวน 34 คน รายละเอียดของการทดลอง สามารถศึกษาได้จากรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ (ศูนย์วิจัยและนวัตกรรมการส่องสว่าง, 2561)

Base Case

TAL1

TAL2

ภาพ 1 รูปแบบแสงสว่างที่ทำ�การทดสอบ ได้แก่ การส่องสว่างแบบทั่วพื้นที่เพียงอย่างเดียว (General Lighting: Base Case) การส่องสว่างแบบทั่วพื้นที่และเฉพาะที่แบบที่ 1 (TAL1) และการส่องสว่างแบบทั่วพื้นที่และเฉพาะที่แบบที่ 2 (TAL2)

แรงงานอายุมากกว่าและน้อยกว่า 40 ปี มีความชอบรูปแบบแสงสว่างอย่างไร และแตกต่างกันอย่างไร

การศึกษาได้สำ� รวจความเห็นของพนักงานต่อสภาพแสงสว่างทัง้ 3 รูปแบบในทัง้ หมด 9 หัวข้อ โดยใช้การให้คะแนนแบบ Likert scale โดยแบ่งคะแนนเป็น 5 ระดับ โดยระดับที่ 5 คือระดับทีม่ คี วาม พึงพอใจสูงสุดหรือปริมาณสูงสุด และระดับที่ 1 คือระดับที่มีความพึงพอใจต�่ำสุดหรือปริมาณต�่ำสุด แต่ในบทความนี้ ขอยกตัวอย่าง 3 หัวข้อคือ ความชอบ ความสบายในการมองเห็น และความสว่าง ซึ่งน่าจะท�ำให้เห็นแนวโน้มความรู้สึกของพนักงานอายุมากกว่า 40 ปีว่าเหมือนหรือแตกต่างกับ พนักงานในกลุ่มอายุน้อยกว่าอย่างไร (ภาพ 2) จะเห็นได้ว่า ในภาพรวมพนักงานอายุมากกว่า 40 ปี มีความนิยมในรูปแบบแสงสว่างในแนวทางเดียวกับพนักงานอายุน้อยกว่า 40 ปี กล่าวคือระหว่าง การส่องสว่างทั้ง 3 แบบที่ท�ำการทดลอง พนักงานทั้ง 2 กลุ่มอายุจะให้คะแนนการส่องสว่างแบบทั่ว พื้นที่และเฉพาะที่ (Task and Ambient Lighting) ทั้ง 2 รูปแบบ มากกว่าแบบการส่องสว่างแบบทั่ว พื้นที่ (General Lighting) ทั้งในด้าน ความชอบ ความสบายในการมองเห็น และความสว่าง

ภาพ 2 แผนภูมิเปรียบเทียบคะแนนความชอบ ความสบายในการมองเห็นและความสว่างในภาพรวมของสำ�นักงานของกลุ่ม ตัวอย่าง อายุน้อยกว่า 40 ปี และอายุสูงกว่า 40 ปี ภายใต้ การส่องสว่างแบบทั่วพื้นที่เพียงอย่างเดียว (General Lighting: Base Case) การส่องสว่างแบบทั่วพื้นที่และเฉพาะที่แบบที่ 1 (TAL1) และการส่องสว่างแบบทั่วพื้นที่และเฉพาะที่แบบที่ 2 (TAL2)

12


คะแนนจากพนักงานทัง้ 2 กลุม่ อายุ ได้นำ� มาวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance: ANOVA) เพือ่ ศึกษาความแตกต่างของความชอบแสงสว่างในส�ำนักงานภายใต้การส่องสว่างทัง้ 3 รูป แบบโดยมี รูปแบบการส่องสว่างเป็นตัวแปรชนิด Within-participant factor (Base case/TAL1/TAL2) และ กลุ่มอายุของผู้ใช้ เป็นตัวแปรชนิด Between-participant factor (น้อยกว่า 40 ปี/มากกว่า 40 ปี) ได้ผลดังตาราง 1 การวิเคราะห์ผลจากกลุ่มอายุแสดงให้เห็นว่า ไม่ว่าจะเป็นความชอบแสงสว่างใน ส�ำนักงาน, ความสบายในการมองเห็น และความสว่างในส�ำนักงานไม่มคี วามแตกต่างกันในพนักงาน 2 กลุ่มอายุอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ นั่นคือแรงงานอายุต่างกันมีความพึงพอใจแบบเดียวกัน แต่ ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจต่อแสงสว่างในส�ำนักงานของแต่ละบุคคลก็คือรูปแบบการส่องสว่าง ซึ่งคะแนนความชอบ ความสบายในการมองเห็น และความสว่างของส�ำนักงานมีความแตกต่างกัน ภายใต้รูปแบบการส่องสว่างทั้ง 3 รูปแบบอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (ความชอบ F(2,156)=17.463, p<0.001, ความสบายในการมองเห็น F(2,156)=18.020, p<0.001 และ ความสว่าง F(2,156)=5.292, p=0.006) การวิเคราะห์ผลกระทบร่วมของรูปแบบการส่องสว่างและกลุ่มอายุแสดงให้เห็นว่า ปฏิสมั พันธ์ระหว่างรูปแบบการส่องสว่างและกลุม่ อายุไม่มผี ลต่อความชอบแสงสว่างอย่างมีนยั ส�ำคัญ นั่นคือความชอบแสงสว่างในส�ำนักงานที่ต่างกันไปภายใต้รูปแบบการส่องสว่างทั้ง 3 รูปแบบไม่ได้ ต่างกันในพนักงาน 2 กลุ่มอายุ ตาราง 1 แสดงผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนของความพึงพอใจต่อแสงสว่างภายใต้การส่องสว่าง 3 รูปแบบของ พนักงานอายุน้อยกว่าและอายุมากกว่า 40 ปี

ความพึงพอใจ

df

F

รูปแบบการส่องสว่าง 2, 156 1.ความชอบ 1, 78 (ค�ำถาม: คุณชอบแสงสว่างในส�ำนักงานนีม้ ากแค่ไหน) อายุ รูปแบบการส่องสว่าง x อายุ 2,156

17.463

<0.001*

0.210

0.648

0.570

0.567

2.ความสบายในการมองเห็น รูปแบบการส่องสว่าง 2,156 (ค�ำถาม: แสงสว่างในส�ำนักงานนี้มีความสบายใน อายุ 1, 78 การมองเห็นแค่ไหน) รูปแบบการส่องสว่าง x อายุ 2,156

18.020

<0.001*

0.444

0.507

0.053

0.948

3.ความสว่างของส�ำนักงาน (ค�ำถาม: ในภาพรวมส�ำนักงานนี้ดูสว่างแค่ไหน)

ปัจจัย

p

รูปแบบการส่องสว่าง

2,156

5.292

0.006

อายุ

1, 78

2.277

0.135

รูปแบบการส่องสว่าง x อายุ 2,156

2.072

0.129

ในรูปแบบแสงสว่างที่ต่างกันแรงงานอายุมากกว่าและน้อยกว่า 40 ปี ทำ�งานได้ต่างกันอย่างไร

ภายใต้รูปแบบการส่องสว่าง 3 รูปแบบ พนักงาน 2 กลุ่มอายุได้ทดสอบความสามารถในการ ท�ำงานชนิดต่าง ๆ กัน 3 ประเภทคือ งานบนกระดาษซึ่งเป็นการเปรียบเทียบตัวเลข 2 คอลัมน์เพื่อ หาความแตกต่าง งานบนกระดาษร่วมกับคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นการพิมพ์ข้อความในกระดาษลงใน คอมพิวเตอร์ และงานบนคอมพิวเตอร์ซงึ่ เป็นการกรอกข้อมูลตัวเลขผสมกับตัวอักษรจากหน้าจอด้าน ซ้ายลงในช่องว่างบนหน้าจอด้านขวา ความสามารถในการท�ำงานจะค�ำนวณจากข้อผิดพลาดและ เวลาที่ใช้ในการท�ำงาน ซึ่งดูรายละเอียดได้ในรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ (ศูนย์วิจัยและนวัตกรรม การส่องสว่าง, 2561) ความสามารถในการท�ำงานของพนักงานอายุมากกว่า 40 ปีเปรียบเทียบกับ กลุ่มอายุน้อยกว่า 40 ปี ได้ผลดังภาพ 2

13


ความสามารถในการทำ�งานบนกระดาษ

ความสามารถในการทำ�งานบนกระดาษ ร่วมกับคอมพิวเตอร์

ความสามารถในการทำ�งานบนคอมพิวเตอร์

ภาพ 2 แผนภูมิเปรียบเทียบคะแนนความสามารถในการทำ�งานบนกระดาษ ความสามารถในการทำ�งานงานบนกระดาษร่วมกับ คอมพิวเตอร์ และความสามารถในการทำ�งานบนคอมพิวเตอร์ของพนักงาน อายุน้อยกว่า 40 ปี และอายุสูงกว่า 40 ปี ภายใต้ การ ส่องสว่างแบบทั่วพื้นที่เพียงอย่างเดียว (General Lighting: Base Case) การส่องสว่างแบบทั่วพื้นที่และเฉพาะที่แบบที่ 1 (TAL1) และการส่องสว่างแบบทั่วพื้นที่และเฉพาะที่แบบที่ 2 (TAL2)

จะเห็นได้วา่ เนือ่ งจากการศึกษานีว้ ดั ความสามารถในการท�ำงานประเภทต่าง ๆ ด้วยความเร็ว ดังนั้น ไม่น่าแปลกใจว่าในงานบนกระดาษและงานบนคอมพิวเตอร์ เมื่อท�ำการวิเคราะห์ความ แปรปรวน (ตาราง 2) จึงพบว่าพนักงานกลุ่มที่อายุมากกว่า 40 ปีมีคะแนนน้อยกว่าพนักงานใน กลุ่มอายุน้อยกว่า 40 ปีอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (งานบนกระดาษ F=14.253 (1,78), p=<0.001 และงานบนคอมพิวเตอร์ F=14.877 (1,78), p=<0.001) แต่สิ่งที่น่าสนใจก็คือเมื่อเปลี่ยนรูปแบบ การส่องสว่างไป ความสามารถในการท�ำงานในส�ำนักงานทั้ง 3 ชนิดก็ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัย ส�ำคัญทางสถิติ และแนวโน้มนี้ก็ไม่ได้แตกต่างกันทั้งในกลุ่มอายุมากกว่า 40 ปีและน้อยกว่า 40 ปี นั่นคือการเปลี่ยนการส่องสว่างจากการส่องสว่างแบบทั่วพื้นที่และแบบการส่องสว่างแบบทั่วพื้นที่ และเฉพาะที่ไม่ได้ส่งผลต่อความสามารถในการท�ำงานของพนักงานในส�ำนักงานในทุกกลุ่มอายุ ตาราง 2 แสดงผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนของความสามารถในการท�ำงานภายใต้การส่องสว่าง 3 แบบ ของพนักงานอายุน้อยกว่าและอายุมากกว่า 40 ปี

ความพึงพอใจ 1.งานบนกระดาษ

2. งานบนกระดาษร่วมกับคอมพิวเตอร์

3. งานบนคอมพิวเตอร์

ปัจจัย

df

p

รูปแบบการส่องสว่าง

2, 156

2.330

0.101

อายุ

1, 78

14.253

<0.001

รูปแบบการส่องสว่าง x อายุ 2, 156

2.087

0.127

รูปแบบการส่องสว่าง

2, 156

2.147

0.120

อายุ

1, 78

0.422

0.518

รูปแบบการส่องสว่าง x อายุ 2, 156

0.831

0.438

รูปแบบการส่องสว่าง

2, 156

2.301

0.104

อายุ

1, 78

14.877

<0.001

4.122

0.018

รูปแบบการส่องสว่าง x อายุ 2, 156

14

F


บทสรุป

แรงงานในกลุ่มอายุมากกว่า 40 ปีถึงแม้มีปัญหาสายตามากกว่า แต่ไม่ได้มีความต่างจาก แรงงานในกลุม่ อายุนอ้ ยกว่าในเรือ่ งความต้องการรูปแบบการส่องสว่างในส�ำนักงาน หากมองว่าการ ส่องสว่างในส�ำนักงานวัตถุประสงค์หนึง่ เพือ่ ความสามารถในการท�ำงานของพนักงาน ในการศึกษานี้ พบว่า รูปแบบการส่องสว่างในส�ำนักงานไม่ได้มผี ลต่อความสามารถในการท�ำงานในกลุม่ อายุมากกว่า 40 ปี หรือแม้แต่กลุ่มอายุน้อยกว่า 40 ปี เมื่อเปลี่ยนรูปแบบแสงสว่างไปความสามารถของคนทั้ง 2 กลุม่ ยังคงใกล้เคียงเดิม อย่างไรก็ตามการจะสรุปว่าแสงสว่างในส�ำนักงานไม่จำ� เป็นต้องเปลีย่ นแปลง ก็คงไม่ได้ เพราะแสงสว่างในส�ำนักงานนั้นไม่ได้มีผลต่อความสามารถในการท�ำงานเพียงอย่างเดียว ยังมีผลต่อสุขภาวะของพนักงานอีกด้วย ซึ่งเมื่อพิจารณาในเรื่องความชอบ ความสบายตา หรือความ สม�่ำเสมอของแสง รูปแบบการส่องสว่างที่พนักงานในกลุ่มอายุมากกว่า 40 ปีพึงพอใจนั้นไม่ได้ต่าง จากแรงงานในกลุ่มอายุต�่ำกว่า 40 ปี คือทั้งสองกลุ่มจะพึงพอใจรูปแบบการส่องสว่างแบบทั่วพื้นที่ และเฉพาะที่ (Task-Ambient Lighting) มากกว่าการส่องสว่างแบบทั่วพื้นที่เพียงอย่างเดียว (General Lighting) ซึ่งแสงรูปแบบทั่วพื้นที่และเฉพาะที่นี้มีจุดเด่นคือสามารถปรับระดับได้ตามความ ต้องการ กล่าวคือหากพนักงานทีม่ อี ายุมากต้องการความส่องสว่างมากขึน้ ก็สามารถปรับเพิม่ ได้ หรือ หากพนักงานคนใดต้องการลดความส่องสว่างเพือ่ ให้ลดเงาสะท้อนบนจอคอมพิวเตอร์กส็ ามารถท�ำได้ เช่นเดียวกันโดยไม่ส่งผลกระทบต่อคนอื่น ๆ ในส�ำนักงาน ท�ำให้การส่องสว่างแบบทั่วพื้นที่ร่วมกับ เฉพาะที่น่าจะเป็นรูปแบบที่เหมาะสมในสถานการณ์ปัจจุบันที่เน้นการออกแบบเพื่อการใช้งานของ คนทุกกลุ่มในสังคม (Universal Design) ที่ท�ำให้แรงงานทุกคนไม่ว่าจะอยู่ในวัยไหนใช้ส�ำนักงานได้ อย่างสบายตา สบายใจ และมีประสิทธิภาพในการท�ำงาน

บรรณานุกรม คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและกองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ(2554) ผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงทาง ประชากรในประเทศไทย สืบค้นเมือ่ วันที่ 1 มิถนุ ายน 2562 จาก https://thailand.unfpa.org/sites/default/files/pub-pdf/demographic%20thai.pdf. มุกดา เดชประพนธ์ และ ปิยวดี ทองยศ (2557) ปัญหาทางตาทีพ่ บบ่อยและการสร้างเสริมสุขภาพตาในผู้สูงอายุ. รามาธิบดีพยาบาลสาร, 20 (1), 1-9. ศูนย์วจิ ยั นวัตกรรมการส่องสว่าง (2561) รายงานฉบับสมบูรณ์ การประหยัดพลังงานสำ�หรับระบบแสงสว่างในอาคารสำ�นักงานด้วยเทคนิค การให้แสงแบบทัว่ พืน้ ทีแ่ ละเฉพาะที่ กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Boyce, P.R. (2003) Human factors in lighting. Taylor & Francis, London. Lighting Research Center (2019) The Aging eye – how does the vision change as one grows older? Retrieved from: https://www.lrc.rpi.edu/programs/lightHealth/AARP/healthcare/lightingOlder Adults/agingEye.asp [Retrieved on 1 June 2019] Waterson, R. (2009). Lindner, H., Hubnert, K., Schlote, H.W., and Rohl, F. (1989) Subjective lighting needs of the old and the pathological eye. Light. Res. Technol., 21, 1-10. The Living House: Anthropology of Architecture in Southeast Asia. Tokyo: Tuttle.

15


Lighting for Different Generations in the Workplace: Lessons Learned from Experimental Research Assistant Professor Tharinee Ramasoot, Ph.D.

Faculty of Architecture, Silpakorn University / tharinee@su.ac.th

Assistant Professor Chanyaporn Bstieler, PhD

King Mongkut’s University of Technology Thonburi / inverselighting@gmail.com

Abstract

Due to a declining birth rate, the number of Thais over the age of 45 in the workforce is increasing. As these workers get

older than 40 years old, a larger portion experience vision deterioration. This study investigates office lighting techniques to accommodates workers from different generations with different vision conditions. Workers from two age groups, over 40 years old and under 40 years old, were tested with three conditions of lighting using task-ambient lighting and general lighting techniques. The tests included subjective assessment of lighting conditions and measurement of task performance. It was found that results from two age groups followed the same trend; whereas their task performance are not significantly affected by three lighting conditions, workers preferred task-ambient lighting conditions in terms of liking, visual comfort and brightness. Keywords: lighting, office, aging workers, generation, task-ambient lighting

Introduction

Light affects how people work via three routes: visual

system, perceptual system and circadian system (Boyce, 2003). Good office lighting can ensure work safety, visual performance, visual comfort as well as promote motivation and alertness. All of that contributes to the well-being of office workers. But there is no fixed formula for good lighting. What is considered good office lighting is subjective. It is dependent on worker’s background and physical conditions, including age.

According to the report “Impact of Demographic Change

In Thailand” by NESDB and UNPF Thailand, due to a declining birth rate since 1970, the number of working age adults is declining and the proportion of the workforce older than 45 will continue to increase, particularly after 2020. Therefore, workplaces must be prepared to accommodate a workforce that includes a wide range of generations. What would be the suitable lighting technique to create efficient working environments for people with different ages and vision? Young workers may prefer different lighting from older workers. Also, since the ef-

Aging Eyes and Office Lighting

fects of aging on the eyes are varied, lighting preferences may

Around the age of 40, one’s vision starts to decline in perfor-

tions. Lindner et. al (1989) investigated the preferred illuminance

mance. Lenses reduce their elasticity, resulting in Presbyopia,

of subjects of various age groups and eye disorders using dim-

or the loss of ability to focus on nearby object. Smaller pupil

mable light from fluorescent lamps. The study found that the

dilation or senile miosis and thicker crystalline lenses make

preferred illuminance is wide-ranging. For example, for Daylight

retinal illuminance in elderly only one-third of young adults.

fluorescent lamps, the median illumination levels are 1105 lux

Cataracts in aged eyes absorb and scatter light, reducing visu-

for the 20-30 year-old subjects with normal vision, compared

al acuity and contrast sensitivity. Yellowing crystalline lenses

with 315 lux for 40-79 year-old subjects with normal vision, and

decrease colour discrimination ability in elderly, particularly

675 lux for 40-80 year-old subjects with glaucoma. Therefore,

of blue colour. (LRC, 2019) Overall, age-related visual problems

office lighting should be flexible so that people of various visu-

are more common in people over 40, and by age 60, the prob-

al needs can work in the same space.

lems get worse.

16

be different among aging workforce with different eye condi-


Task-Ambient Lighting Systems: Potential Lighting Techniques for Different Generations in Workplace Task-ambient lighting is an office lighting technique where required task illuminance is obtained from lower level lighting over general office area, or ambient lighting, and supplemented with local lighting over task areas, or task lighting. Vertical lighting may be provided on walls or partitions to balance the brightness within users’ visual field. With this technique, ambient illuminance is lower than task illuminance, enabling users to adjust the amount of lighting on their desks to suit individual needs, unlike the general lighting technique where the amount of light is spread uniformly across office space. The flexibility of the task-ambient lighting technique makes it an appealing option to serve workforces from different age groups, particularly an aging workforce.

3.TAL 2 or task-ambient lighting system condition

2. In this condition, the ambient light of 300 (+/-10%) lux was provided from four ceiling mounted LED luminaires (20W/4000K). LED linear covelights (30W) were used for vertical lighting on two walls. Similar to TAL 1 condition, task light was provided from the LRIC task lighting prototypes installed on workstation partitions and users were allowed to adjust the amount of light on their work stations.

The experiment was carried out in a 9.0m x 6.0m

x 2.7m office in KX (Knowledge Exchange) building near Wongwian Yai BTS station in Bangkok. Participants were recruited from office workforces of universities and private companies, aging between 20 and 62 years (MEAN = 34.94 years). There were 47 participants under 40 years old, and 34 participants over 40 years old. Experimental settings were described in detail in the full report of the research (LRIC, 2018).

Methods

To explore the potential of task-ambient lighting systems

in future workplaces with an increasing proportion of aging workers, Lighting Research and Innovation Centre (LRIC), King Mongkut’s University of Technology Thonburi, has developed

Base Case

a task lighting prototype to study how users respond when it is used in task-ambient lighting systems. The experiment compared work performances and subjective ratings of workers in two age groups (Over 40 years old and under 40 years old) under three lighting conditions (Figure 1).

1.Base case. General lighting which is the most common

office lighting technique in Thailand was used as the base case in this study. The average illuminance of 500 (+/-10%) lux on the work plane was achieved by using 12 ceiling mounted T5 LED luminaires (40W/4000K). The work plane height was 0.75 m above floor.

2.TAL 1 or task-ambient lighting system condition 1. In

this condition, the ambient light of 250 (+/-10%) lux was provided from four ceiling mounted LED luminaires (20W/4000K). LED linear covelights (30W) were used for vertical lighting on two walls. Task light was provided from the dimmable task lighting prototypes designed by LRIC. The 9W task lighting prototypes were installed on workstation partitions. Users were allowed to adjust the amount of task light using dimmer switches on their workstations to suit their lighting needs.

TAL1

TAL2

Fig. 1 Three lighting conditions being tested: general lighting (base case), task and ambient lighting condition 1 (TAL1) and task and ambient lighting condition 2 (TAL2).

The Preferred Lighting Technique for Older and Younger Workers During the experiment, participants were required to work under three conditions of lighting in random order and assess the lighting conditions in 9 subjective issues using a five Likert scale, with 5 being the most positive rating and 1 being the most negative rating. This paper discusses results in three following issues: liking (How do you like the lighting is this office?), comfort (How comfortable is the lighting in this office?) and brightness (Overall, how bright does the office look?).

17


The mean ratings are shown in Fig 2. It can be seen that the preference of older workers is rather similar to younger workers. Both groups of workers rated task and ambient lighting conditions higher than the general lighting condition (base case) in terms of liking, visual comfort and brightness. Task and ambient lighting condition 2 (TAL2) with ambient illuminance of 300 lx received the highest ratings in all three assessment issues discussed in this paper.

Fig. 2 Mean subjective ratings of younger (<40 years old) and older (>40 years old) workers for three lighting conditions in terms of liking, comfort and brightness.

Subjective ratings from workers were analyzed to determine whether the difference of

ratings between two age groups for three lighting conditions were statistically significant. Analysis of Variance (ANOVA) was carried out with lighting condition (Base case/TAL1/TAL2) as within-participant factor and age group (younger/older than 40 years old) as between-participant factor. ANOVA results are summarized in Table 1. It can be seen that in terms of liking, visual comfort and brightness, the main effects of age group on the subjective ratings of lighting were not statistically significant. The subjective ratings of lighting from two age groups were not statistically different. Workers under and over 40 years old like the lighting condition and judge its brightness and visual comfort in the same way. The main statistically significant effect of lighting conditions with TAL1 and TAL2 were that both were perceived to be more favorable, more comfortable and brighter than general lighting (liking F(2,156)=17.463, p<0.001, visual comfort F(2,156)=18.020, p<0.001 and brightness F(2,156)=5.292, p=0.006). The interaction effect between lighting condition and age group on ratings was not statistically significant. Table 1. ANOVA results of study on the main effect of lighting conditions and age groups, and the interaction between the lighting condition and age group on subjective ratings in terms of liking, comfort and brightness.

Subjective Assessment

Factor

df

F

p

Lighting condition

2, 156

17.463

<0.001*

Age group

1, 78

0.210

0.648

Lighting x age group

2,156

0.570

0.567

Lighting condition 2. Visual comfort (Question: How comfortable is the lighting in Age group this office?) Lighting x age groupุ

2,156

18.020

<0.001*

1, 78

0.444

0.507

2,156

0.053

0.948

Lighting condition

2,156

5.292

0.006*

Age group

1, 78

2.277

0.135

Lighting x age groupุ

2,156

2.072

0.129

1. Liking (Question: How do you like the lighting in this office?)

3. Brightness (Question: Overall, how bright does the office look?)

18


Do Younger and Ylder Workers Perform Differently under Different Lighting Conditions? In order to study the effect of lighting conditions on work performance among younger and older workers, workers were asked to perform three types of tasks: paper-based tasks (numerical verification task), paper-and-computer-based tasks (typing task) and computer-based tasks (data entry task). These tasks were chosen to simulate a variety of tasks carried out in an office environment. Details of the three tests are provided in the full research report (LRIC, 2018). Performance was calculated from accuracy and time taken to perform the tasks. The mean performance scores of workers under and over 40 years old under three lighting conditions are shown in Fig. 3.

Paper-based task performance

Paper-and-computer-based task performance

Computer-based task performance

Figure 3. Mean performance of younger (<40 years old) and older (>40 years old) workers under three lighting conditions: general lighting (base case), task and ambient lighting condition 1 (TAL1) and task and ambient lighting condition 2 (TAL2).

In order to establish whether workers performed differently under different lighting

conditions, and whether the performance of workers in two age groups difered under different lighting conditions, Analysis of Variance was carried out to study the main effects of age group and lighting condition, and the interaction effect between age group and lighting condition. ANOVA results are summarized in Table 2. As older workers may suffer from age-related eye problems and the task performance in this experiment is mainly based on speed and accuracy, it is not surprising that the performance scores of younger workers were significantly higher than those of older workers in paper-based and computer-based tasks (paper-based task F=14.253 (1,78), p=<0.001 computer-based task F=14.877 (1,78), p=<0.001). It is interesting that the performances of the three tasks being tested were not significantly different under three conditions of lighting, and that this trend is similar among two age groups. This indicates people younger and older than 40 years old both performed the three tasks similarly whether under the general lighting condition or task and ambient lighting conditions.

19


Table 2 ANOVA results to study the main effect of lighting condition and age group and the interaction between the lighting condition and age group on task performance three.

Task performance 1. Paper-based task

2. Paper-and-computer-based task

3. Computer-based task

Factor

df

F

p

Lighting condition

2, 156

2.330

0.101

Age group

1, 78

14.253

<0.001

Lighting x age group

2, 156

2.087

0.127

Lighting condition

2, 156

2.147

0.120

Age group

1, 78

0.422

0.518

Lighting x age group Lighting condition

2, 156

0.831

0.438

2.301

0.104

Age group

2, 156 1, 78

14.877

<0.001

Lighting x age group

2, 156

4.122

0.018

Conclusion

When workers are over 40 years old, their visual capabilities may be different from young-

er workers. Yet, the experiment has shown that this group preferred the same type of office lighting as younger workers. Among workers in both age groups, the task and ambient lighting system is preferred to the general lighting system commonly used in Thailand. Considering the main objective of office lighting is to promote work performance, it is important to note that task performances under task and ambient systems or general lighting systems were not significantly different. However, office lighting is not all about work performance, but also the well being of workers. The task and ambient lighting systems were perceived to be more comfortable and brighter than the general lighting system; and workers in both age groups liked task and ambient lighting systems more. Due to their adjustability, the task and ambient lighting system shows potential as user-friendly office lighting. Users, particularly aging workers, can increase the task illuminance whenever needed as well as reduce the task illuminance to avoid glare on computer screens. All of these can be done without disturbance to other workers. In today’s climate of universal design, task and ambient lighting can accommodate individual lighting preference in offices so every worker can work comfortably and efficiently, regardless of their age.

20


References Boyce, P.R. (2003) Human factors in lighting. Taylor & Francis, London. Detprapon, M., and Thongyost, P. (2014) Common Eye Problems and Eye Health Promotion in Older People. Ramathibodi

Nursing Journal, 20 (1), 1-9.

Lighting Research and Innovation Centre. (2561) Final Research Report: Task-Ambient Lighting Techniques for Energy Savings

in Office Applications. Bangkok: King Mongkut’s University of Technology Thonburi.

Lighting Research Center. (2019) The Aging eye – how does the vision change as one grows older? Retrieved from:

https://www.lrc.rpi.edu/programs/lightHealth/AARP/healthcare/lightingOlder Adults/agingEye.asp

[Retrieved on 1 June 2019]

Lindner, H., Hubnert, K., Schlote, H.W., and Rohl, F. (1989) Subjective lighting needs of the old and the pathological eye.

Light. Res. Technol., 21, 1-10.

Office of the National Economic and Social Development Board and United Nations Population Fund. (2011) Impact of

Demographic Change in Thailand. Retrieved from: https://thailand.unfpa.org/sites/default/files/pub-pdf/demographic

%20thai.pdf [Retrieved on 1 June 2019]

21


อัพไซเคิล : นิยามและความหมาย สูก ่ ระบวนทัศน์การออกแบบอย่างยัง่ ยืน ดอกเตอร์จักรสิน น้อยไร่ภูมิ

สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ / ma_lang_phoo@hotmail.com

รองศาสตราจารย์ ดอกเตอร์สิงห์ อินทรชูโต

สาขาวิชาเทคโนโลยีทางอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ / singhman@ku.ac.th

ภาพที่ 3 ผลิตภัณฑ์เฟอร์นิเจอร์จากเศษวัสดุเหลือใช้

22https://www.sarakadee.com/2014/10/21/osisu/., 29 May 2019. ที่มา: (Online)


บทคัดย่อ ค�ำว่า “อัพไซเคิล” นั้น เป็นค�ำศัพท์ใหม่ที่เพิ่งถูกบัญญัติขึ้น ในช่วงปลายทศวรรษที่ 1990 และได้รบั การยอมรับอย่างแพร่หลาย จนหลายภาคส่วนมีการน�ำกระบวนการอัพไซเคิลไปประยุกต์ใช้ โดยเฉพาะในแวดวงของการออกแบบและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ที่ มีการน�ำกระบวนการอัพไซเคิลมาประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลาย หาก แต่ด้วยความที่ค�ำค�ำนี้เป็นค�ำใหม่ ที่ไม่ได้มีการบัญญัติอย่างเป็น ทางการ ท�ำให้มีการให้ค�ำจ�ำกัดความไว้อย่างหลากหลายท�ำให้ผู้ ที่น�ำไปใช้อาจเกิดความสับสน บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ รวบรวมนิยามนิยามของกระบวนการอัพไซเคิล ท�ำความเข้าใจ และ สร้างนิยามของกระบวนการอัพไซเคิลทีช่ ดั เจน สามารถน�ำไปต่อย อดสู่กระบวนการออกแบบในขั้นต่อๆ ไปได้ โดย กระบวนการอัพไซเคิล นั้น หมายถึง การน�ำวัสดุที่ไม่ สามารถใช้ประโยชน์ได้แล้วมาท�ำให้มีมูลค่าหรือใช้ได้ดีกว่าเดิม เป็นกระบวนการที่ท�ำให้วัสดุหรือผลิตภัณฑ์ ที่ไม่สามารถใช้งาน ตามหน้าทีเ่ ดิมให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ทมี่ คี ณ ุ ภาพและมีมลู ค่า สูงขึ้น และมีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กระบวนการอัพไซเคิล ยังกระบวนการที่เป็นการผสมกันระหว่างการ Reuse ซึ่งหมายถึง การน�ำวัสดุมาหมุนเวียนใช้ใหม่โดยผ่านกระบวนการที่ไม่ซับซ้อน และได้วัสดุใหม่ที่มีคุณภาพสูงขึ้นหรือไม่ต่�ำลง (ตรงข้ามกับ Infrause)กับการ Recycle ซึ่งหมายถึงการน�ำวัสดุมาหมุนเวียนใช้ ใหม่โดยผ่านกระบวนการทีซ่ บั ซ้อน และได้วสั ดุใหม่ทมี่ คี ณ ุ ภาพสูง ขึ้นหรือไม่ต�่ำลง (ตรงข้ามกับ Infracycle) ซึ่งทั้งการ Reuse และ Recycle นั้น ถือเป็นวิธีในการจัดการกับเศษวัสดุ ในขณะที่มีเศษ วัสดุเกิดขึน้ แล้ว เพราะกระบวนการขัน้ Reduce นัน้ เป็นการป้องกัน ล่วงหน้าในกรณีที่ยงั ไม่เกิดเศษวัสดุขนึ้ จริง กระบวนการอัพไซเคิล ซึง่ รวมแนวทางทัง้ Reuse และ Recycle เข้าไว้ดว้ ยกัน จึงถือเป็นก ระบวนการจัดการเศษวัสดุที่มีประสิทธิภาพและมีความเป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมสูง ในกรณีที่มีเศษวัสดุเกิดขึ้นจริงแล้ว และแปรรูป ให้กลายเป็นวัสดุใหม่ที่มีคุณภาพสูงขึ้น คำ�สำ�คัญ: อัพไซเคิล, การออกแบบอย่างยัง่ ยืน, ประสิทธิภาพเชิง

นิเวศ

23


บทนำ� จากสถานการณ์ในช่วงทศวรรษทีผ่ า่ นมา การเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว และการจัดการ ทรัพยากรทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพ ได้สง่ ผลให้เกิดการบริโภคทรัพยากรอย่างมากมาย ท�ำให้หลายภาคส่วน ของสังคมมีความพยายามที่จะลดผลกระทบด้านลบที่มนุษย์ได้กระท�ำต่อสิ่งแวดล้อมและธรรมชาติ ส�ำหรับในแวดวงที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ ไม่ว่าจะเป็น สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ์ ฯลฯ หนึง่ ในแนวทางส�ำคัญทีไ่ ด้รบั การน�ำมาใช้อย่างแพร่หลายคือ การน�ำกลยุทธ์ “ประสิทธิภาพเชิงนิเวศ” (Eco Efficiency) หรือ 3Rs ซึ่งได้แก่ การลดการใช้ทรัพยากรในการผลิต (Reduce) น�ำทรัพยากรที่ใช้แล้วมาหมุนเวียนใช้ซ�้ำ (Reuse) และน�ำทรัพยากรที่ใช้แล้วมาผ่านการ แปรรูปเพื่อสร้างเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ (Recycle) สะท้อนถึงแนวคิดที่พยายามจะลดผลกระทบด้านลบ ที่มนุษย์มีต่อต่อธรรมชาติ อันน�ำมาซึ่งความยั่งยืนทางสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศทางธรรมชาติ แม้เมื่อมองเบื้องต้นแล้วการน�ำหลัก 3Rs มาใช้ในการผลิตนั้นจะเป็นแนวคิดที่ดี หากแต่ในความเป็น จริง กลยุทธ์ 3Rs ยังส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม เนื่องจากเป็นหลักการที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานแนวคิดของ การ “ผลิตให้มากขึน้ โดยใช้วตั ถุดบิ ให้นอ้ ยลง” ซึง่ นอกจากจะไม่ใช่หนทางแก้ปญ ั หาทีแ่ ล้ว ยังเป็นการ สร้างปัญหาเพิ่มเติมให้กับสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศทางธรรมชาติโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์อีกด้วย (Braungart and McDonough, 2008) ตัวอย่างเช่น การน�ำวัสดุกลับมาแปรรูปใช้ใหม่ หรือรีไซเคิล (Recycle) ทีค่ นทัว่ ไปเข้าใจ ซึง่ ในความเป็นจริง ควรเรียกกระบวนการนีว้ า่ ดาวน์ไซเคิล (Downcycle) มากกว่า (Braungart and McDonough, 2008) เนื่องจากผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้มีคุณภาพต�่ำลง การ รีไซเคิลจะต้องมีการใช้พลังงานเพิ่ม ซึ่งหากไม่มีการจัดการที่ดี อาจสร้างปัญหาแก่สภาพแวดล้อมได้ เช่นกัน (สิงห์, 2552) นอกจากนีใ้ นการรีไซเคิลจะต้องเสียค่าใช้จา่ ยมากกว่าการผลิตวัสดุขนึ้ ใหม่ เพราะ ผลิตภัณฑ์เหล่านั้นผลิตขึ้นจากวัสดุที่ไม่ได้ถูกออกแบบมาให้สามารถน�ำกลับมาผลิตใหม่ได้เหมือน เดิม ตามอุดมคติของการรีไซเคิล และเพื่อที่จะลดจุดด้อยของการรีไซเคิล (Recycle) แบบเดิม จึง กลายเป็นที่มาของนวัตกรรมการผลิตแบบใหม่ ที่เรียกว่า “อัพไซเคิล” (Upcycle) กระบวนการ “อัพไซเคิล” : นิยามและความหมาย ค�ำว่า “Upcycle” หรือ “Upcycling” นั้น เริ่มปรากฏครั้งแรกในปี ค.ศ.1994 ในสื่อสิ่งพิมพ์ SALVO โดยปรากฏอยู่ในบทสัมภาษณ์ของ Reiner Pilz ในบทสัมภาษณ์นั้น Pilz ได้ให้ทัศนะต่อการ รีไซเคิล ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ 3Rs ว่าเป็นการท�ำให้คุณภาพของวัสดุต�่ำลง ซึ่งน่าจะเรียกว่า Down-cycling มากกว่า และได้เสนอแนวทางว่าจ�ำเป็นที่จะต้องมีการ Upcycling เพื่อให้คุณภาพของวัสดุสูง ขึ้น (Kay, 1994) ต่อมา ค�ำว่า อัพไซเคิล เริ่มเป็นที่รู้จักในวงกว้างครั้งแรก จากหนังสือ Cradle to Cradle: Remaking the Way We Make Things โดย Michael Braungart และ William McDonaugh ตีพมิ พ์ครัง้ แรกในปี ค.ศ.2002 หลังจากนัน้ เป็นต้นมา ค�ำค�ำนีจ้ งึ เริม่ ถูกน�ำมาใช้กนั อย่างแพร่หลายเพิม่ มากขึ้น และมีการให้ค�ำจ�ำกัดความไว้อย่างหลากหลาย Braungart และ McDonough (2008) ได้ให้ค�ำจ�ำกัดความของค�ำว่า อัพไซเคิล เอาไว้ว่า “การน�ำวัสดุทไี่ ม่สามารถใช้ประโยชน์ได้แล้วมาท�ำให้มมี ลู ค่าหรือใช้ได้ดกี ว่าเดิม” เป็นกระบวนการที่ ท�ำให้ผลิตภัณฑ์เก่ามีคณ ุ ค่าเพิม่ ขึน้ ไม่ใช่นอ้ ยลงเหมือนอย่างเช่นการรีไซเคิล ทีเ่ ป็นกระบวนการทีล่ ด คุณภาพของวัสดุลง ซึ่งเหมาะสมเฉพาะกับการน�ำไปประยุกต์ในคุณค่าที่ต�่ำลง (Braungart, McDonough and Bollinger, 2007) ซึ่งในปัจจุบันนั้น มีการนิยามค�ำนี้และค�ำที่เกี่ยวเนื่องไว้อย่างหลาก หลาย Upcycling ยังเป็นกระบวนการที่ท�ำให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพ ความคงทน และมูลค่าทาง เศรษฐกิจที่สูงขึ้น (Chini, 2007) เป็นการท�ำให้ผลิตภัณฑ์หรือวัสดุที่ถูกทิ้ง มาสู่วงจรชีวิตใหม่ของ ผลิตภัณฑ์ (Richardson, 2011) ในขณะที่ Postell และ Gesimondo (2011) มองว่าการอัพไซเคิล เป็นกระบวนการกึง่ หนึง่ ของ การรีไซเคิล และหันไปใช้วัตถุดิบที่ต้องน�ำไปก�ำจัดทิ้งหรือฝังกลบ โดยเป็นการประกอบวัสดุหรือ ผลิตภัณฑ์ขนึ้ ใหม่ ทีส่ ามารถใช้กบั วัสดุใดก็ได้ โดยยังรักษาคุณสมบัตขิ องวัสดุเดิมหรือพัฒนาให้ดขี นึ้ คล้ายคลึงกับ สิงห์ (2559) ที่มองว่าอัพไซเคิล นั้นคล้ายกับรีไซเคิล ซึ่งเป็นการเปลี่ยนเศษวัสดุให้เป็น วัสดุหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ หากแต่อัพไซเคิลนั้น เป็นการเปลี่ยนเศษวัสดุด้วยกระบวนการที่ไม่ซับซ้อน ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งการรีไซเคิล คือมีการใช้พลังงานในการแปรรูปเศษวัสดุเป็นสิ่งใหม่ ซึ่งอาจเปลี่ยน คุณสมบัติของวัสดุไปโดยสิ้นเชิง หรือเป็นได้ ทั้งการรียูส หรือการน�ำวัสดุกลับมาใช้ซ�้ำ 24


โดยไม่ลดคุณภาพของวัสดุ (สิงห์, 2556) เช่นเดียวกับ Vefago และ Avellaneda (2013) ที่ได้มีการ ให้นิยามของ อัพไซเคิล และ รียูส เอาไว้ว่า รีไซเคิล นั้นหมายถึง กระบวนการแปรรูปวัสดุที่ต้องมีการ ผ่านกระบวนการเคมีอย่างน้อยหนึง่ ครัง้ และมีการเปลีย่ นโครงสร้างวัสดุหรือสถานะทางกายภาพของ วัสดุ ได้วสั ดุหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ทมี่ คี ณ ุ สมบัตทิ ใี่ กล้เคียงของเดิม และไม่จำ� เป็นต้องเปลีย่ นการใช้งาน จากเดิม ส่วนรียสู นัน้ เป็นกระบวนการแปรรูปทีไ่ ม่ผา่ นกระบวนการเคมี และไม่มกี ารเปลีย่ นโครงสร้าง วัสดุหรือสถานะทางกายภาพของวัสดุ ได้วัสดุหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงของเดิม และไม่จำ� เป็นต้องใช้งานในฟังก์ชนั่ เดิม นอกจากนีย้ งั ได้นยิ ามค�ำศัพท์ทคี่ ล้ายคลึงกันอีกสองค�ำนัน่ คือ อินฟรา-ไซเคิล (Infracycled) และ อินฟรา-ยูส (Infraused) ซึง่ ทัง้ สองค�ำมีความหมายใกล้เคียงกับค�ำ ว่า รีไซเคิล และ รียสู ตามล�ำดับ หากแต่วัสดุหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ได้จะมีคุณภาพลดลง ตารางที่ 1 สรุปนิยามค�ำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการอัพไซเคิล คำ�ศัพท์

กระบวนการ

คุณภาพ

คุณสมบัติ

มูลค่า

Reuse

ไม่ผ่านกระบวนการเคมี

เท่าเดิม หรือ ต�่ำลง

หน้าที่ใช้สอยเดิมหรือ เปลี่ยนหน้าที่ใช้สอย

เท่าเดิมหรือลด ลง

Recycle

ผ่านกระบวนการเคมี

เท่าเดิม หรือ ต�่ำลง

หน้าที่ใช้สอยเดิมหรือ เปลี่ยนหน้าที่ใช้สอย

เท่าเดิมหรือลด ลง

Upcycle

ผ่านหรือไม่ผ่าน กระบวนการเคมี

สูงขึ้น

หน้าที่ใช้สอย

สูงขึ้น

จากค�ำนิยามทั้งหมดนั้น สามารถสรุปเป็นนิยามของกระบวนการอัพไวเคิล ตามตารางที่ 1 ได้ ว่า กระบวนการอัพไซเคิล หมายถึง การน�ำวัสดุที่ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้แล้วมาท�ำให้มีมูลค่าหรือ ใช้ได้ดีกว่าวัสดุเดิมเดิม เป็นกระบวนการที่ท�ำให้วัสดุหรือผลิตภัณฑ์ ที่ไม่สามารถใช้งานตามหน้าที่ เดิมให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีคุณภาพและมีมูลค่าสูงขึ้นจากคุณสมบัติเดิมของวัสดุหรือผลิต ภัณฑ์นนั้ ๆ และมีกระบวนการทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ซึง่ อาจเป็นได้ทงั้ การน�ำมาใช้โดยตรง (Reuse) หรือผ่านกระบวนการแปรรูป (Recycle) ท�ำให้ได้วัสดุหรือผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีกว่าเดิม และเพิ่ม มูลค่าเศษวัสดุ นอกจากนี้ วัสดุหรือผลิตภัณฑ์อพั ไซเคิลจะต้องมีคณ ุ ภาพและเหมาะสมต่อการใช้งาน ใกล้เคียงกับการรีไซเคิล และรียูส ของ 3Rs แต่การอัพไซเคิลจะมุ่งเน้นที่การเพิ่มคุณภาพและมูลค่า ให้สูงขึ้น ในขณะที่ การรีไซเคิล และรียูส ไม่ได้มุ่งเน้นในจุดนี้

25


ภาพที่ 1 นิยามของกระบวนการอัพไซเคิล

กระบวนการอัพไซเคิลในมิติของการจัดการเศษวัสดุ กระบวนการอัพไซเคิลนั้น สัมพันธ์โดยตรงกับการใช้ “เศษวัสดุ” เนื่องจากเป็นกระบวนการที่ มุ่งเน้นการน�ำเศษวัสดุมาพัฒนาเป็นวัสดุหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ และจากนิยามของกระบวนการอัพไซ เคิลทีส่ ามารถเป็นได้ทงั้ การรียสู และ รีไซเคิล กระบวนการอัพไซเคิลจึงถือเป็นอีกหนึง่ วิธใี นการจัดการ กับเศษวัสดุ ที่อยู่ภายในล�ำดับศักดิ์ของการจัดการเศษวัสดุ (Waste Management Hierarchy) ซึ่ง ประกอบด้วยขั้นตอน 5 (Department for Environment, Food & Rural Affairs, 2011)

ภาพที่ 2 ลำ�ดับศักดิ์ของการจัดการเศษวัสดุ (Waste Management Hierarchy) ที่มา: Department for Environment, Food & Rural Affairs (2011: 3)

26


จากภาพที่ 2 ล�ำดับศักดิ์ของการจัดการเศษวัสดุ จะไล่เรียงจากขั้นบนสุดซึ่งถือเป็นวิธรการ จัดการที่มีประสิทธิภาพสูงสุด และลดหลั่นกันลงมาในแต่ละล�ำดับขั้น จนถึงขั้นสุดท้ายในชั้นล่าง สุด ที่เป็นวิธีการจัดการที่มีประสิทธิภาพต�่ำที่สุด โดยในขั้น Prevention ถือเป็นวิธีการที่จัดการได้ มีประสิทธิภาพสูงสุด เน้นการใช้วัสดุน้อย เพื่อลดอัตราการเกิดขยะและของเสีย เป็นการป้องกัน การเกิดของเสียล่วงหน้า ทีม่ คี วามเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมสูงสุด และเกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม น้อยที่สุด ถัดลงมาคือขั้น Preparing for re-use เป็นการน�ำเศษวัสดุมาหมุนเวียนใช้ใหม่ โดยผ่าน กระบวนการแปรรูปที่ไม่ซับซ้อน วิธีนี้มีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากที่สุดเป็นล�ำดับสอง เนือ่ งจากมีการใช้พลังงานเล็กน้อยและมีของเสียเกิดขึน้ น้อย ถัดมาขัน้ Recycling เป็นการแปรรูป เศษวัสดุโดยน�ำมาผ่านกระบวนการทางเคมีที่ซับซ้อน วิธีนี้มีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมรองลง มาจากการขัน้ Preparing for re-use เนือ่ งจากมีการใช้พลังงานมากกว่า และในกระบวนการแปรรูป ยังเกิดของเสียมากกว่า ขั้นต่อมา Other recovery เป็นการน�ำเศษวัสดุหรือขยะมาแปรรูปเป็น พลังงาน วิธีการนี้จะมีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมรองลงมาจากขั้น Recycling เพราะต้องใช้ พลังงานมากกว่า และเกิดของเสียออกสู่สิ่งแวดล้อมมากกว่า ขั้นสุดท้าย ขั้น Disposal 8nvการน ำเศษวัสดุหรือขยะมาท�ำการก�ำจัดทิ้ง เช่น การน�ำไปฝังกลบ หรือเผาท�ำลาย วิธีการนี้เป็นวิธีการที่ สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากที่สุด เนื่องจากสร้างของเสียจ�ำนวนมาก ที่ไม่สามารถก�ำจัดทิ้ง ได้ ส่งผลต่อความสมดุลของระบบนิเวศทางธรรมชาติ กระบวนการอัพไซเคิล ถือเป็นกระบวนการที่เป็นการผสมกันระหว่างขั้น Preparing for re-use หรือการรียูส กับขั้น Recycling หรือการรีไซเคิล ซึ่งทั้งการรียูสและรีไซเคิลนั้น ถือเป็นวิธีใน การจัดการกับเศษวัสดุ ในขณะทีม่ เี ศษวัสดุเกิดขึน้ แล้ว เพราะกระบวนการขัน้ Prevention หรือการ รีดิวส์นั้น เป็นการป้องกันล่วงหน้าในกรณีที่ยังไม่เกิดเศษวัสดุขึ้นจริง กระบวนการอัพไซเคิล จึงถือ เป็นกระบวนการจัดการเศษวัสดุที่มีประสิทธิภาพและมีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมสูงที่สุด ใน กรณีที่มีเศษวัสดุเกิดขึ้นจริงแล้ว การนำ�กระบวนการอัพไซเคิลมาประยุกต์สู่การออกแบบ ในปัจจุบนั ผลิตภัณฑ์ทผ่ี า่ นกระบวนการอัพไซเคิล กลายเป็นผลิตภัณฑ์ทมี่ ศี กั ยภาพทางการ ตลาดเพิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง และเริม่ มีผปู้ ระกอบการจ�ำนวนมากทีไ่ ด้นำ� แนวคิดการอัพไซเคิล มา ใช้ในการประกอบธุรกิจกันอย่างแพร่หลาย เช่น บริษัท Patagonia ที่น�ำขวดพลาสติกมาพัฒนา เป็นผลิตภัณฑ์สงิ่ ทอ บริษทั Hermes ทีน่ ำ� เสือ้ ผ้าหรือเศษหนังทีเ่ หลือใช้จากการผลิตมาตัดเย็บเป็น ผลิตภัณฑ์ตกแต่งบ้าน หรือบริษทั Osisu ทีน่ ำ� เศษวัสดุเหลือทิง้ จากภาคอุตสาหกรรมมาพัฒนาเป็น เฟอร์นเิ จอร์หลากหลายรูปแบบ เป็นต้น ปัจจุบนั อัพไซเคิลได้กลายเป็น Green Trend ทีก่ ำ� ลังเติบโต ทั่วโลก ท�ำให้เกิดธุรกิจขนาดย่อมจากนักออกแบบและผู้ประกอบการรายย่อยมากขึ้นอย่างเห็นได้ ชัด (สิงห์, 2559) ส�ำหรับในประเทศไทยนั้น ถือได้ว่าเป็นผู้น�ำด้านการพัฒนาสินค้าอัพไซเคิลใน ภูมภิ าคเอเชีย (สิงห์, 2559) โดยเริม่ ปรากฏในภาคธุรกิจ เมือ่ ประมาณปี พ.ศ.2549 จากนัน้ แนวคิด อัพไซเคิลจึงเริม่ แพร่กระจายสูแ่ วดวงธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) และเริม่ มีผปู้ ระกอบ การหลายรายที่หันมาสนใจแนวคิดนี้ และได้พัฒนาสินค้าและผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุขึ้น และยัง เกิดเครือข่ายของผูป้ ระกอบการและนักออกแบบจ�ำนวนมาก เช่น ร้าน Scrap Shop ร้าน Ecoshop ชมรม Eco Design Thaiๆ หรือกลุ่ม Upcycling Thailand ที่มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุ จนกลายเป็นกระแสสังคม ท�ำให้ผลิตภัณฑ์อัพไซเคิลเริ่มกลายเป็นที่สนใจในวงกว้างขึ้น นอกจาก นี้ประเทศไทยยังเป็นประเทศแรกในอาเซียนที่ริเริ่มระบบรับรองและฉลากอัพไซเคิล ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 (สิงห์, 2559) และยังเป็นประเทศแรกของโลกทีม่ กี ารพัฒนาระบบรับรองและฉลากอัพไซเคิล คาร์บอนฟุตพริ้นท์ (UPCYCLE Carbon Footprint) ในปี พ.ศ.2557 โดยน�ำมาใช้กับวัสดุหรือ ผลิตภัณฑ์ใช้กระบวนการอัพไซเคิลในการผลิต (กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม, 2557)

27


ภาพที่ 3 ผลิตภัณฑ์เฟอร์นิเจอร์จากเศษวัสดุเหลือใช้ ที่มา: (Online) https://www.sarakadee.com/2014/10/21/osisu/., 29 May 2019.

จะเห็นได้วา่ กระบวนการอัพไซเคิล ได้รบั ความสนใจอย่างมากในประเทศไทยในหลายภาคส่วน ของสังคมและมีแนวโน้มว่าจะกลายเป็นกระบวนทัศน์ในการออกแบบที่ส�ำคัญและได้รับการยอมรับ อย่างแพร่หลายมากขึน้ เนือ่ งจากมีความสอดคล้องกับสถานการณ์ดา้ นทรัพยากรและสิง่ แวดล้อมใน สภาวะปัจจุบัน ซึ่งการน�ำกระบวนการอัพไซเคิลมาประยุกต์สู่การออกแบบมีแนวทาง เช่น ออกแบบ โดยมุง่ เน้นการใช้วสั ดุทมี่ อี ยูแ่ ล้วให้มากทีส่ ดุ เพือ่ ลดการผลิตวัสดุใหม่ซงึ่ สิน้ เปลืองพลังงานและสร้าง ผลกระทบด้านลบต่อสิ่งแวดล้อม หรือออกแบบโดยค�ำนึงถึงการน�ำกลับมาหมุนเวียนใช้ใหม่ หรือ ปรับเปลี่ยนการใช้งานจากเดิม รวมทั้งค�ำนึงถึงการใช้วัสดุที่สามารถใช้งานได้นาน เพื่อลดการผลิต วัสดุใหม่โดยไม่จ�ำเป็น เป็นต้น สรุป กระบวนการอัพไซเคิล ถือเป็นกระบวนทัศน์ส�ำคัญที่มักถูกน�ำมาใช้ในการออกแบบ ทั้ง สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบวัสดุ โดยมีจดุ มุง่ หมายส�ำคัญเพือ่ ลดผลกระทบในด้านลบที่มนุษย์มีต่อสิ่งแวดล้อม และสร้างความยั่งยืนให้กับสภาพแวดล้อมทาง ธรรมชาติ โดยมุง่ เน้นการน�ำวัสดุทไี่ ม่สามารถใช้ประโยชน์ได้แล้ว มาท�ำให้มมี ลู ค่าหรือใช้ได้ดกี ว่าเดิม กลายเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีคุณภาพและมีมูลค่าสูงขึ้น โดยใช้กระบวนการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยถือเป็นกระบวนการจัดการเศษวัสดุที่มีประสิทธิภาพและมีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมสูง และ แปรรูปให้กลายเป็นวัสดุใหม่ที่มีคุณภาพสูงขึ้น ซึ่งในปัจจุบันได้มีการน�ำกระบวนทัศน์ การอัพไซเคิล มาประยุกต์ในการออกแบบที่หลากหลาย โดยผลิตภัณฑ์ที่ผ่านกระบวนการอัพไซเคิล กลายเป็น ผลิตภัณฑ์ทมี่ ศี กั ยภาพทางการตลาดเพิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง จนเริม่ มีผปู้ ระกอบการจ�ำนวนมากทีไ่ ด้ น�ำแนวคิดการอัพไซเคิล มาใช้ในการประกอบธุรกิจกันอย่างแพร่หลาย และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูง ยิ่งขึ้นในอนาคต การอัพไซเคิล จึงถือเป็นกระบวนทัศน์ใหม่ที่มีความส�ำคัญ และเป็นทิศทางใหม่ใน การออกแบบ ในยุคที่ความยั่งยืนทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นประเด็นที่ไม่สามารถจะละเลย ได้อีกต่อไป 28


บรรณานุกรม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. 2557. ข้อกำ�หนดระบบรับรองและฉลากอัพไซเคิลคาร์บอนฟุตพริ้นท์. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริม คุณภาพสิ่งแวดล้อม. สิงห์ อินทรชูโต. 2552. Reuse ศิลปะการคืนชีวิตให้ขยะ. กรุงเทพฯ: บริษัท พาบุญมา. _____________. 2556. Upcycling พัฒนาเศษวัสดุอย่างสร้างสรรค์. ปทุมธานี: สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. _____________. 2559. Upcycle Design อัพไซเคิลด้วยการออกแบบเชิงสร้างสรรค์. ปทุมธานี: สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ. Braungart, M., and McDonough, W. 2008. Cradle to cradle: remaking the way we make things. 2nd edition. United Kingdom: Vintage books. Braungart, M., McDonough, W., Bollinger, A. 2007. “Cradle-to-cradle design: creating healthy emissions – a strategy for eco-effective product and system design.” Journal of Cleaner Production. 15 (13-14): 1337–1348. Chini, AR. 2007. General issues of construction materials recycling in USA : Sustainable construction Materials and practice: challenges for the new Millennium. Florida, USA: IOS press. Department for Environment, Food & Rural Affairs. 2011. Guidance on applying the Waste Hierarchy. London, UK: Department for Environment, Food & Rural Affairs. Kay, T. 1994. “Salvo in Germany - Reiner Pilz.” SalvoNEWS. 99: 14. Postell, J., and Gesimondo, N. 2011. Materiality and Interior Construction. New Jersey, USA: John Wiley & Sons. Richardson, M. 2011. Design for Reuse: Integrating Upcycling into Industrial Design Practice (Online).; 2011. http://www. academia.edu/1052431/Design_for_Reuse _Integrating_Upcycling_Into_Industrial_Design_ Practice., 12 February 2017. SMILE Resource Exchange. 2012. Trash or Treasure? Survey results indicate Upcycling is becoming the Growing Green Trend(Online).http://www.smileexchange.ie/news/trash-or-treasure-survey-results-indicate-upcycling-is-becoming -the-growing., 11 February 2017. Vefago, L., and Avellaneda, J. 2013. Recycling concepts and the index of recyclability for building materials.” Resources, Conservation and Recycling. 72: 127–135.

29


Upcycling: Definition and Meaning to Sustainable Design Paradigm Jaksin Noyraiphoom, Ph.D.

Faculty of Architecture and Design, Rajamangala University of Technology Rattanakosin / ma_lang_phoo@hotmail.com

Associate Professor Singh Intrachooto, Ph.D.

Faculty of Architecture, Kasetsart University / singhman@ku.ac.th

Abstract

The term ‘upcycling’ is a comparatively new term that first came into existence in the late 1990s. Since then, the word

has garnered widespread recognition and been adopted by several sectors and industries, particularly design and other related disciplines. However, despite the upcycling process being popularly applied, it has not yet been officially defined, leading to a multitude of definitions being created and used to provide a better understanding of the concept. This has resulted in confusion about what ‘upcycling’ actually means. Therefore, this article aims to bring together the various definitions of the upcycling process, and it attempts to better understand and define the term in order for it to be further developed and applied to other possible stages within the design process.

Upcycling simply refers to a process of transforming unwanted products or waste materials into new materials or

products of higher quality and better functional, commercial and environmental value. The upcycling process is an integration between ‘reuse’, which refers to the reusing of used materials through uncomplicated processes that result in a new product of higher or equal quality (the opposite of Infrause), and ‘recycling’, which involves more complicated processes of using unwanted or waste materials to create new materials that possess higher or equal quality or value to their original form (the opposite to Infracycle). Both Reuse and Recycling are processes developed to effectively manage unwanted materials, whereas ‘reduce’ is more of a preemptive approach focusing primarily on reducing the production of waste materials. The upcycling process, which integrates both the ‘reuse’ and ‘recycle’ methods, is considered to be an effective and highly eco-friendly approach to waste management in the scenario where unwanted materials have already been produced. Products created as a result of upcycling processes possess higher physical properties, functional, commercial and environmental values.

Keywords: upcycle, upcycling, sustainable design, eco-efficiency Introduction

While the incorporation of 3Rs in the manufacturing

process initially seems like a promising approach, in reality,

The world has witnessed fast economic expansion

the strategy leads to certain negative effects on the environment

coupled with inefficient management of natural resources and

due to the principle being based on the ‘production of more

uncontrolled consumption. It has caused several sectors of

by using less raw materials’. Such an approach is unlikely the

society to attempt to minimize the negative effects humans

most suitable solution to the dilemma, as it can add more

have brought upon the environment and nature. For the de-

problems to the environment and natural eco-systems (Braun-

sign-related industries, such as architecture, interior architec-

gart and McDonough, 2008). For instance, according to most

ture, product design, etc., one of the most popular approach-

people’s understanding, recycling is carried out as more of a

es developed as an attempt to sort out these issues is

downcycling process (Braungart and McDonough, 2008),

‘eco-efficiency’, or 3Rs, which encompasses the reduction of

whereas the products created from such processes are of less-

resource usage in the manufacturing process. It includes the

er quality than the original. Recycling demands more energy

reuse of used resources and the recycling of unwanted mate-

consumption, and if without proper management, can ulti-

rials for the making of new products. The concept reflects the

mately be a cause of environmental problems (Intrachooto,

aim to diminish the negative effects humans have caused on

2552). In addition, recycling often requires higher expenses

nature, leading to greater sustainability of the environment

than the production of an entirely new product, as most prod-

and natural eco-systems.

ucts used in recycling processes are made of materials that are

30


not directly designed for reuse. To follow the recycling ideol-

where there is a use of energy to convert waste materials into

ogy and eliminate the weak points of the conventional concept

a new product with entirely different physical qualities, or the

of recycling, a new manufacturing innovation was developed

less complicated ‘reuse’ process of unwanted materials in which

known as the upcycling process.

Upcycling: Definitions and Meanings

the quality of the material remains the same (Intrachooto,

The term ‘upcycle’, or ‘upcycling’, was first used in

cling and reuse by explaining how recycling refers to the

Reiner Pilz’s 1994 published interview in SalvoNEWS. In this

process in which a material is transformed by having to go

particular interview, Pilz gave an interesting observation on

through at least one chemical process. It results in the chang-

recycling, which is considered a part of the 3Rs approach, and

es of the material’s chemical structure or physical properties,

how the process lowered the quality of materials, and in his

which give birth to a new product with relatively similar

view, should have been referred to as ‘Down-cycling’ instead.

qualities and functional ability. Reuse, however, does not re-

He proposed the idea of upcycling as a method to help improve

quire any chemical process, and the material’s physical struc-

the quality of materials (Kay, 1994). The term and the concept

ture and property is not changed in any way. The new mate-

then became widely known from the book, Cradle to Cradle:

rial or product still contains similar quality to the original, but

Remaking the Way We Make Things, by Michael Braungart

it does not necessarily have to offer the same functionality.

and William McDonaugh, first published in 2002 before it had

Vefago and Avellaneda (2013) also define two other relevant

been popularly recognized and discussed, and predating sev-

terms, infracycle and infraused, as something with relatively

eral other definitions and meanings that would ensue.

close meanings to recycling and reuse, respectively, with the

only difference being the lesser quality of the new product

Braungart and McDonaugh (2008) defined upcycling

as the conversion of waste materials into new materials or

2556). Similarly, Vefago and Avellaneda (2013) define upcy-

created as a result of the processes.

products of better quality or higher environmental value. The process adds greater value to an old, unwanted material, not lessening it like recycling, which is only suitable for the production of products of lower-quality or lower-value (Braungart, McDonough and Bollinger, 2007). Today, the definitions of upcycling and other relevant terms have become incredibly diverse. Upcycling is still considered a process that converts useless materials into a product of higher quality, durability and commercial value (Chini, 2007), as well as the transformation of waste or unwanted materials into a new product with a new and better life cycle (Richardson, 2011).

Postell and Gesimondo (2011) view the upcycling

process as half recycling for the way it transforms materials that would have otherwise been incinerated or buried in landfills into a new material or product, and also the process of reusing any type of material while still being able to maintain or improve the quality of the original product. The definition is similar to that provided by Intrachooto (2559) who views upcycling as a similar process to recycling, which is essentially the transformation of waste materials into a new material or product. In the meantime, upcycling is the transformation of waste materials using uncomplicated processes. One of its definitions can be associated to the recycling process

31


Table 1 Summary of definitions related to upcycling process

Term

ssecorp

ytilauq

ytreporp

eulav

Reuse

does not require chemical process

o emasrressel

wen ro emas ytilanoitcnuf

ressel ro emas

Recycle

requires chemical process ressel ro emas

wen ro emas ytilanoitcnuf

ressel ro emas

Upcycle

require or does not require chemical process

ytilanoitcnuf

rehgih

rehgih

From the aforementioned definitions summarized in Table 1, the upcycling process can be

explained as the transformation of unwanted materials into a product of higher commercial, functional and environmental value. It is the process that enables a waste material or product to be converted into a new product of higher quality. The transformation process has to be environmentally friendly, and the process can be either a direct reuse or a more complicated recycling process. The result has to be a new material or product with higher physical quality and value. In addition, an upcycled material or product needs to have the quality and functional abilities that are relatively similar to the 3Rs definition of recycling and reuse. The upcycling process, however, emphasizes the increase of the new product’s value and quality, while recycling and reuse tend to focus less on attaining such a result.

Waste materials Does not require chemical process Higher quality

New functionality

Higher value

Require chemical process

Lesser quality

Same functionality

Lesser value

Higher quality

New functionality

Higher value

Lesser quality

Same functionality

Lesser value

Image 1: Definition of upcycling from the aspect of waste material management

32


Upcycle: From the aspect of waste material management

Upcycling processes directly relate to the use of waste

materials, as it is the process that aims to transform unwanted materials into new products. The earlier mentioned definitions of upcycling encompass both the reuse and recycling process. It is considered a method of waste material management and a part of the 5 stages of the Waste Management Hierarchy.

Image 2 Waste Management Hierarchy Source: Department for Environment, Food & Rural Affairs (2011: 3)

From Image 2, the hierarchy of waste management

‘Other Recovery’ is the method in which waste materials or

shows the most efficient method at the top and the least efficient

trash are transformed into energy. The method is less friend-

method at the bottom of the inverse pyramid. The ‘Prevention’

ly to the environment than recycling, as it consumes a greater

stage is listed as the most efficient approach for minimizing

amount of energy and produces more waste into the environ-

materials use, which consequently reduces the production of

ment. ‘Disposal’ is the least efficient method, which is essen-

waste. Such methods prevent waste from ever being produced,

tially the elimination of waste through processes such as

making it the most environmentally friendly approach with

landfills and incineration. It is considered the most environ-

the least effect on the environment. The next most efficient

mentally damaging method, as the vast amount of waste

method is ‘Preparing for re-use’, which is essentially the reuse

cannot be efficiently eliminated, increasing the impact it

of waste materials through an uncomplicated process. The

causes on the balance of natural eco-systems.

method is the second most eco-friendly method due to its

minimal use of energy and waste production. The ‘Recycling’

re-use and Recycling. Both waste management methods are

stage is the transformation of waste materials using complex

developed to handle the scenario where waste has already been

chemical processes. While it is the most environmentally

created, whereas the prevention or reduce approach is more

friendly-process next to the ‘Preparing for re-use’ stage, recycling

preemptory in the way it stops waste materials from being

consumes more energy and produces more waste in the process.

produced in the first place. Upcycling therefore allows waste

Upcycling is the process that combines Preparing for

materials to be managed in the most efficient and environmentally friendly manner, particularly when the waste has already been produced and needs proper management.

33


Application of Upcycling Processes to Design

Upcycled products have gained higher marketing values in this day and age with an

increasing number of entrepreneurs now incorporating the concept and method to their business operations. Patagonia develops a product line of textiles made of plastic bottles, while Hermes turns its leftover fabrics and leathers into home decoration products. Osisu develops a collection of furniture products using leftover industrial materials, as well. Upcycling has become a green trend, and its popularity is growing globally, giving birth to several businesses by designers and small to medium sized entrepreneurs (Intrachooto, 2016). Thailand is considered one of the leading developers of upcycled products in Asia (Intrachooto, 2016), with the concept being adopted by the business sector back in 2006. The concept has later been picked up by local SMEs with a greater number of entrepreneurs becoming more interested in the approach, and an increasing number of new products developed as a result. This was followed by a network of entrepreneurs and designers, including concept stores and clubs such as Scrap Shop, Ecoshop, ReMaker, More Loops, including the ‘Upcycling Thailand’ a design collective whose development of products from waste materials has gained promising interest from the general public. Thailand is also the first country in ASEAN to implement the Upcycling Certification and Label since 2006 (Intrachooto, 2016?), and the first country in the world to develop the UPCYCLE Carbon Footprint System and Label, in 2014, to certify products or materials produced from the upcycling process (Department of Environmental Quality Promotion, 2014).

Image 3: a collection of furniture products using leftover industrial materials

It is evident that upcycling processes have been increasingly recognized in Thailand as

an answer to the current scenario of natural resource and environmental crisis, with several sectors already adopting the concept as an integral and significant part of the design process. There are several approaches to incorporate the upcycling process in design as a way to maximize efficiency of material usage and reduce the production of new materials, a major cause of energy consumption and negative environmental impacts. The design process can enable the reuse of waste materials or application of the materials’ original functionalities, including the extending of the materials’ shelf life in order to minimize the production of new materials.

34


Conclusion Upcycling is an important paradigm in the realm of design,

for it brings a better lifecycle to waste materials. The upcycling

from architecture, interior architecture to product design,

process has been applied to different fields of design, and

material design, etc. Its most highlighted objective is to reduce

created, as a result, are upcycled products of higher marketing

the negative impacts human activities and consumption be-

potential. More entrepreneurs are now beginning to adopt the

haviors have on the environment in order to bring greater

concept and method into the development of their products

sustainability to the natural environment. It emphasizes the

and business operations with the tendency of the trend to be

transformation of unwanted materials into products of higher

even more popular in the future. Upcycling is, therefore, a

and better quality and value while using environmentally

prominent paradigm and promising trajectory for the design

friendly processes. Upcycling is considered to be a highly

industry in the time when natural and environmental

efficient and eco-friendly waste management process,

sustainability is an issue that can no longer be neglected.

References Braungart, M., and McDonough, W. 2008. Cradle to cradle: remaking the way we make things. 2nd edition. United Kingdom:

Vintage books.

Braungart, M., McDonough, W., Bollinger, A. 2007. “Cradle-to-cradle design: creating healthy emissions – a strategy for

eco-effective product and system design.” Journal of Cleaner Production. 15 (13-14): 1337–1348.

Chini, AR. 2007. General issues of construction materials recycling in USA : Sustainable construction Materials and practice:

challenges for the new Millennium. Florida, USA: IOS press.

Department for Environment, Food & Rural Affairs. 2011. Guidance on applying the Waste Hierarchy. London, UK: Department

for Environment, Food & Rural Affairs.

Intrachooto, S. (2009) Reuse: the Art of Reclaim, Pbm Publications: Bangkok. Intrachooto, S. (2013) Upcycling: Creative Development of Waste Materials. Pathumthani. The National Science and Technology

Development Agency.

Intrachooto, S. (2016) Upcycle Design: Upcycling through Creative Design. Pathumthani. The National Science and Technology

Development Agency.

Kay, T. 1994. “Salvo in Germany - Reiner Pilz.” SalvoNEWS. 99: 14. Postell, J., and Gesimondo, N. 2011. Materiality and Interior Construction. New Jersey, USA: John Wiley & Sons. Richardson, M. 2011. Design for Reuse: Integrating Upcycling into Industrial Design Practice (Online).; 2011. http://www. academia.edu/1052431/Design_for_Reuse _Integrating_Upcycling_Into_Industrial_Design_ Practice., 12 February 2017. SMILE Resource Exchange. 2012. Trash or Treasure? Survey results indicate Upcycling is becoming the Growing Green

Trend (Online).http://www.smileexchange.ie/news/trash-or-treasure-survey-results-indicate-upcycling-is-

becoming-the-growing., 11 February 2017.

Vefago, L., and Avellaneda, J. 2013. Recycling concepts and the index of recyclability for building materials.” Resources,

Conservation and Recycling. 72: 127–135.

35


มลภาวะทางแสงกับเกณฑ์ LEED รองศาสตราจารย์ พรรณชลัท สุริโยธิน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

บทคัดย่อ “การลดการสร้างมลภาวะทางแสง” เป็นหัวข้อหนึ่งในหมวดของที่ตั้งอาคารที่ยั่งยืนในเกณฑ์ การรับรองอาคารเขียว LEED แม้จะเป็นหัวข้อที่มีคะแนนค่อนข้างต�่ำ แต่ก็มีความส�ำคัญต่อสภาพ ธรรมชาติและสิ่งมีชีวิตที่ได้รับผลกระทบ ทั้งยังเกี่ยวข้องกับสถาปนิกและนักออกแบบการส่องสว่าง โดยตรง ความเข้าใจในความส�ำคัญของการออกแบบการส่องสว่างเพื่อลดมลภาวะทางแสง จะช่วย ให้ได้ผลการออกแบบตามวัตถุประสงค์และอยู่ในเกณฑ์ที่จะได้คะแนนด้วย คำ�สำ�คัญ : มลภาวะทางแสง แสงส่องขึ้น แสงล่วงล�้ำ แสงแยงตา

บทนำ� ในวงการสถาปัตยกรรมปัจจุบนั การออกแบบอาคารเขียวเพือ่ ความยัง่ ยืนมีอยูห่ ลายแนวทาง จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความต้องการของเจ้าของโครงการหรือผู้ลงทุนด้วย ไม่ใช่การน�ำเสนอแนว ความคิดของสถาปนิกเพียงฝ่ายเดียวจะท�ำให้เกิดความส�ำเร็จได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งส�ำหรับอาคาร เพือ่ การพาณิชยกรรมหรือบริการธุรกิจประเภทต่าง ๆ หากผูอ้ อกแบบมีความรูค้ วามเข้าใจและสามารถ อธิบายถึงเหตุผลความจ�ำเป็นในการออกแบบเพือ่ ความยัง่ ยืนกับเจ้าของโครงการได้ยอ่ มท�ำให้ได้ผล งานที่สนองประโยชน์อย่างเต็มที่ทั้งด้านการใช้สอยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม LEED (Leadership in Energy and Environmental Design) เป็นระบบการประเมินอาคาร เขียวระดับนานาชาติที่ด�ำเนินการโดยองค์กร U.S. Green Building Council (USGBC) ในประเทศ สหรัฐอเมริกา ส�ำหรับอาคารหลากหลายประเภท ตั้งแต่อาคารที่ก่อสร้างใหม่ไปจนถึงการจัดพื้นที่ ใช้สอยภายใน รวมทั้งการดูแลรักษาอาคาร โดยมีเป้าหมายให้ผู้ร่วมท�ำโครงการมีกรอบในการ สร้างสรรค์อาคารที่มีประสิทธิภาพ ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการใช้ทรัพยากร ลดผลกระทบด้านลบต่อสิ่ง แวดล้อมและสร้างสุขอนามัยให้กับผู้ใช้อาคาร (USGBC, n.d.). ในบทความนี้ ผู้เขียนขอเน้นเฉพาะการส่องสว่างในเวลากลางคืนเพื่อลดการสร้างมลภาวะ ทางแสง ซึ่งอยู่ในหมวดของที่ตั้งอาคารที่ยั่งยืน (Sustainable Sites) ใน LEED Version 4 for Building Design and Construction (เกณฑ์การรับรองอาคารเขียว LEED version ปัจจุบัน) ถึงแม้ว่าเมื่อ ผ่านเกณฑ์ข้อนี้จะได้เพียงหนึ่งคะแนน แต่ก็มีความส�ำคัญต่อสภาพธรรมชาติและสิ่งมีชีวิตที่ได้รับ ผลกระทบ ทั้งยังเกี่ยวข้องกับสถาปนิกและนักออกแบบการส่องสว่างโดยตรง ความเข้าใจในความ ส�ำคัญของการส่องสว่างและปัจจัยต่าง ๆ ของการออกแบบทัง้ สภาพแวดล้อมและคุณสมบัตทิ างแสง ของดวงโคม จะช่วยให้ผลการออกแบบการส่องสว่างเป็นไปตามวัตถุประสงค์อนั ได้แก่ เพือ่ เพิม่ โอกาส ในการมองเห็นท้องฟ้าและเพิ่มทัศนวิสัยในเวลากลางคืน รวมทั้งลดผลกระทบที่เกิดจากการพัฒนา โครงการต่าง ๆ ต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ (USGBC, n.d.)

36


แม้ว่าจะต้องการประหยัดพลังงานในการส่องสว่าง แต่การให้ความสว่างกับอาคารและพื้นที่ โดยรอบยังคงมีความจ�ำเป็นอยู่ในหลายกรณี เพราะการส่องสว่างสภาพแวดล้อมยามค�่ำคืนนั้นมี วัตถุประสงค์หลายประการ หลัก ๆ คือช่วยให้ผใู้ ช้อาคารหรือผูท้ สี่ ญ ั จรผ่านมามองเห็น ช่วยน�ำสายตา และช่วยก�ำหนดทิศทางการสัญจร ตลอดจนให้ความปลอดภัยและความรู้สึกมั่นคงในชีวิตและ ทรัพย์สิน (เดชา บุญค�้ำ, ม.ป.ป.) จึงเกิดค�ำถามว่า “ควรออกแบบการส่องสว่างอาคารและสภาพ แวดล้อมอย่างไรจึงจะไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางแสง ?” ทำ�ไมจึงต้องลดการสร้างมลภาวะทางแสง ในอดีตเมือ่ โลกยังไม่เจริญก้าวหน้า กลางคืนเป็นช่วงเวลาของการพักผ่อนนอนหลับให้รา่ งกาย ได้ซอ่ มแซมส่วนทีส่ กึ หรออย่างเต็มที่ ทัง้ ยังได้ชนื่ ชมความงามของฟากฟ้าและดวงดาว ต่างจากปัจจุบนั ทีเ่ มืองส�ำคัญของโลกมีแสงสว่างไสวทัง้ จากถนนหนทางและตัวอาคารทีม่ กี ารแข่งขันกันตกแต่งประดับ ประดาด้วยแสงไฟ ในย่านธุรกิจใจกลางเมืองก็มักจะเต็มไปด้วยป้ายไฟหลายรูปแบบ รวมทั้งการ ตกแต่งหน้าอาคารด้วยแอลอีดที สี่ ว่างจ้าและมีสสี นั จัดจ้านก็จะยิง่ มีสว่ นในการสร้างปัญหากับผูส้ ญ ั จร และผู้ที่อยู่อาศัยในอาคารข้างเคียง การส่องสว่างเกินความจ�ำเป็นในสภาพแวดล้อมกลางคืนนับเป็นการใช้พลังงานที่สิ้นเปลือง หลายคนคงเคยเห็นภาพถ่ายดาวเทียมจากองค์กรนาซ่าที่ the International Dark Sky Association (IDA) น�ำมาเผยแพร่ในสื่อต่าง ๆ บริเวณที่มีแสงส่องขึ้นท้องฟ้าจนเห็นออกไปถึงนอกโลกนั้น ท�ำลาย บรรยากาศอันงดงามของท้องฟ้าและก่อให้เกิดท้องฟ้าเรืองแสงในเวลากลางคืน ซึง่ ท�ำให้สตั ว์โลกบาง ชนิดเกิดความสับสนในการด�ำรงชีวติ และส่งผลต่อระบบนิเวศ เพราะแสงเป็นหนึง่ ในปัจจัยทีม่ ผี ลกระทบ ต่อสัตว์ที่มีวิถีชีวิตในเวลากลางคืน บางชนิดถึงกับเดินทางสู่ความตาย เช่น นกอพยพย้ายถิ่นอาจจะ พุ่งชนอาคารเพราะเข้าใจผิดว่าแสงจากหลอดไฟภายในผนังกระจกเป็นแสงดาวที่ใช้น�ำทาง หรือเต่า ทะเลที่เดินเข้าฝั่งเพื่อวางไข่บนหาดทรายเมื่อฟักเป็นตัวแล้ว ลูกเต่าจ�ำนวนมากเดินไปหาแสงสว่างที่ ถนนริมชายหาดและถูกรถทับตาย แทนที่จะเดินทางกลับสู่ทะเลเพราะเกิดความเข้าใจผิดคิดว่าเป็น แสงจันทร์ที่ส่องสะท้อนน�้ำ ส�ำหรับมนุษย์ แสงสว่างก็ก่อให้เกิดปัญหาได้เช่นกัน ผู้ที่สัญจรบนท้องถนนหากขับขี่ยวดยาน พาหนะสวนทางกับแหล่งก�ำเนิดแสงขนาดใหญ่อาจท�ำให้ตาพร่ามัวไปชั่วขณะ แสงที่ส่องเกินบริเวณ ที่ต้องการออกไป อาจท�ำให้เกิดความเดือดร้อนร�ำคาญต่อผู้ใช้งานในพื้นที่ข้างเคียง เช่น แสงไฟจาก บริเวณหลังบ้านที่ส่องเกินแนวรั้วผ่านหน้าต่างของเพื่อนบ้านเข้าไปในห้องนอน หรือแสงท�ำให้เกิด ผลกระทบต่อระบบการพักผ่อนนอนหลับของร่างกายหากต้องท�ำงานกะดึกเป็นประจ�ำ รวมทั้งแสงสี ฟ้าจากหลอดแอลอีดที คี่ วามยาวคลืน่ ในช่วงนีฟ้ งุ้ กระจายในดวงตาได้มากกว่าช่วงสีอนื่ และอาจส่งผล เสียถึงกับท�ำลายเรตินา (retina) ในดวงตา เป็นต้น ส�ำหรับนักดาราศาสตร์แล้ว แสงที่ส่องขึ้นท้องฟ้าเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาดวงดาวหรือวัตถุ อืน่ ในท้องฟ้า เนือ่ งจากแสงทีส่ อ่ งเกินขึน้ ไปบนท้องฟ้าเมือ่ ชนกับก้อนเมฆจะฟุง้ กระจายในบรรยากาศ และสะท้ อ นกลั บ ลงมาบนพื้ น ดิ น ท� ำ ให้ ท ้ อ งฟ้ า ยามค�่ ำ คื น ในเขตชุ ม ชนเมื อ งดู ส ว่ า งขึ้ น เรี ย ก ปรากฏการณ์นี้ว่า ท้องฟ้าเรือง (sky glow) ซึ่งบดบังการมองเห็นดวงดาว ส่วนแสงแยงตาหรือแสงจ้า (glare) หมายถึง แสงสว่างมากเกินไปทีท่ ำ� ให้รสู้ กึ ไม่สบายตาและบางครัง้ อาจมีสว่ นท�ำให้เกิดอุบตั เิ หตุ และแสงล่วงล�ำ ้ (light trespass) ซึง่ หมายถึง แสงทีส่ อ่ งลงไปในบริเวณทีไ่ ม่ได้ตงั้ ใจหรือไม่จำ� เป็น ก่อ ให้เกิดความเดือดร้อนร�ำคาญ รวมไปถึง แสงที่สร้างความสับสน (clutter) ซึ่งหมายถึง กลุ่มของดวง โคมจ�ำนวนมากที่สว่างจ้าเกินไป หรือส่องอย่างไม่รู้ทิศทางจนเกิดความสับสน แสงที่ส่องเกินจ�ำเป็น เหล่านี้ยังท�ำให้สิ้นเปลืองทั้งพลังงานและเงินลงทุนอีกด้วย จากทีก่ ล่าวมาจึงสรุปได้วา่ มลภาวะทางแสง หมายถึง การใช้แสงประดิษฐ์ซงึ่ ส่วนใหญ่หมาย ถึงแสงไฟฟ้าอย่างไม่เหมาะสมหรือมากเกินไป ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรงทั้งต่อ มนุษย์ สัตว์ป่า และสภาพภูมิอากาศ

37


การประเมินการลดมลภาวะทางแสงด้วยเกณฑ์ LEED ส�ำหรับหัวข้อการลดมลภาวะทางแสงในเกณฑ์ LEED นัน้ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ เพิม่ การมองเห็น ท้องฟ้าและดวงดาวในยามค�ำ่ คืน ปรับปรุงทัศนวิสยั ในเวลากลางคืนและลดผลกระทบของการพัฒนา ทีม่ ตี อ่ มนุษย์และสัตว์ปา่ อาคารทีผ่ า่ นเกณฑ์จะต้องได้รบั การประเมินในเรือ่ งของแสงส่องขึน้ (uplight) แสงล่วงล�้ำและแสงแยงตา (light trespass and glare) จากสองทางเลือก โดยทางเลือกที่ 1 ใช้วิธี การที่เรียกว่า BUG rating หรือทางเลือกที่ 2 ใช้วิธีการค�ำนวณ ซึ่งมลภาวะแต่ละแบบอาจจะเลือกใช้ วิธีการประเมินที่แตกต่างกันได้ “BUG” เป็นชือ่ ย่อของรูปแบบการส่องสว่างทีส่ ง่ ผลต่อมลภาวะทางแสงจาก 1) แสงทีส่ อ่ งย้อน ไปข้างหลัง (Backlight) 2) แสงส่องขึ้น (Uplight) และ 3) แสงแยงตาหรือแสงจ้า (Glare) ซึ่งพัฒนา ขึ้นโดยองค์กร Illuminating Engineering Society (IES) และ International Dark Sky Association (IDA) เพือ่ ค�ำนวณหาแสงทีเ่ กินจากบริเวณทีต่ อ้ งการใช้งานจริงจากดวงโคมทีใ่ ช้กลางแจ้งว่าจะท�ำให้ เกิดมลภาวะมากน้อยอย่างไร

ภาพที่ 1 แสดงตัวอย่างแสงภายนอกที่ใช้ประโยชน์ได้และมลภาวะทางแสงในกรณีต่าง ๆ

ภาพที่ 1 แสดงตัวอย่างแสงภายนอกที่ใช้ประโยชน์ได้และมลภาวะทางแสงในกรณีต่าง ๆ ซึ่ง ได้แก่ แสงทีส่ อ่ งย้อนไปข้างหลัง (backlight) แสงส่องขึน้ (uplight) และแสงทีส่ อ่ งไปข้างหน้า (forward light) ที่ท�ำให้เกิดแสงแยงตา (glare) ทั้งสามส่วนนี้แบ่งออกเป็นโซนของการกระจายแสงที่มีการจัด อันดับความเป็นมลภาวะโดยนับจากจ�ำนวนลูเมน (maximum zonal lumens) และก�ำหนดค่าความ รุนแรงตามผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม BUG จึงเป็นวิธีการประเมินที่ช่วยให้บรรลุเป้าหมายในการ ควบคุมแสงจ้าและแสงล่วงล�ำ้ หรือแสงทีไ่ ม่พงึ ประสงค์สำ� หรับแสงภายนอกอาคาร โดยสามารถอธิบาย ความหมายในแต่ละกรณีได้ดังนี้ 1) แสงที่ส่องไปข้างหลัง (backlight) หมายถึงแสงทั้งหมดที่ล่วงล�้ำไปทางด้านหลังของดวง โคมลงมาจนถึงระดับพืน้ ดิน ส่วนใหญ่เป็นบริเวณทีไ่ ม่ได้ตงั้ ใจให้สว่าง แสงไฟทีไ่ ม่พงึ ประสงค์จากดวง โคมนี้สามารถป้องกันได้โดยใช้อุปกรณ์กันแสงแยงตา (glare shield) หรือใช้แผ่นสะท้อนแสงเพื่อให้ แสงตกลงมาทางด้านหน้าของดวงโคมในบริเวณที่ต้องการใช้งาน 2) แสงส่องขึ้น (uplight) เป็นมลภาวะทางแสงที่ท�ำให้ไม่สามารถเห็นดวงดาวได้อย่างชัดเจน ในเวลากลางคืนจากปรากฏการณ์ท้องฟ้าเรือง (skyglow) ที่เกิดจากแสงส่องขึ้นฟ้า IDA พยายามที่ จะหาวิธกี ารลดปัญหาจากแสงส่องขึน้ นี้ เพือ่ ให้สามารถมองเห็นและศึกษาดวงดาวได้ การใช้ดวงโคม ทีม่ กี ารส่องแสงขึน้ ไปสูท่ อ้ งฟ้านับว่าท�ำให้สนิ้ เปลืองเงินและพลังงานมาก การลดแสงส่องขึน้ สามารถ ท�ำได้โดยใช้การติดตัง้ อุปกรณ์หรือเกล็ดกันแสงแยงตา (hood หรือ baffle) เพือ่ ควบคุมให้แสงกระจาย หรือส่องลงสูพ่ นื้ ดิน ดวงโคมทีม่ กี ารป้องกันอย่างเต็มที่ (fully shielded luminaires) จะมีความสามารถ ในการลดปัญหาท้องฟ้าเรืองได้เป็นอย่างดี 38


3) แสงแยงตาหรือแสงจ้า (glare) หมายถึงแสงสะท้อนหรือแสงที่ส่องตรงมายังผู้มองซึ่งลด ความสามารถในการมองเห็นลงหรืออาจจะท�ำให้ตาบอดไปชั่วขณะ บริเวณลานจอดรถและบน ทางด่วนนั้นค่อนข้างจะมีความเสี่ยงต่อปัญหานี้เพราะเมื่อมีแสงจ้าสูงอาจท�ำให้ผู้ขับขี่เกิดอุบัติเหตุ เพราะต้องหรีต่ าลงเพือ่ ลดแสงแยงตา ดังนัน้ ในบริเวณลานจอดรถจึงควรสร้างบรรยากาศแสงเพือ่ การ ขับขี่ที่ปลอดภัย รวมทั้งเมื่อมีการสัญจรทางเท้าที่ตัดกับถนนด้วย การลดความสว่างและใช้ดวงโคมที่ มีการกระจายแสงที่เหมาะสมจะช่วยลดแสงแยงตาได้ การพิจารณาเรื่องการส่องสว่างเพื่อลดมลภาวะทางแสงของ LEED ส�ำหรับดวงโคมกลาง แจ้งทีต่ ดิ ตัง้ ภายในขอบเขตของโครงการ (ไม่รวมถึงข้อยกเว้นทีท่ าง LEED ยินยอมหากอธิบายเหตุผล ได้) ขึน้ อยูก่ บั การวัดปริมาณแสงและการกระจายแสงของแต่ละดวงโคม เมือ่ ติดตัง้ ในทิศทางเดียวกัน และปรับมุมเอียงไปในทิศทางหรือส่องไปยังต�ำแหน่งที่ผู้ออกแบบระบุไว้ รวมทั้งพิจารณาโซนสภาพ แวดล้อมทางแสงของทีต่ งั้ ของโครงการ (Illuminating Engineering Society, n.d.) การจ�ำแนกสภาพ แวดล้อมทางแสง (lighting zone) ว่าจะเป็นโซนใดนัน้ ให้พจิ ารณาตามที่ IES และ IDA ระบุไว้ในคูม่ อื Model Lighting Ordinance (MLO) ซึ่งแบ่งลักษณะของการส่องสว่างออกได้เป็น 5 โซน ตั้งแต่ 1) โซน LZ0 ที่ไม่ต้องการการส่องสว่างเลย เช่น ในเขตอุทยานแห่งชาติหรือเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 2) โซน LZ1 ที่มีค่าความส่องสว่างโดยรอบอยู่ในระดับต�่ำ 3) โซน LZ2 ที่มีค่าความส่องสว่างโดยรอบอยู่ ในระดับปานกลาง 4) โซน LZ3 ที่มีค่าความส่องสว่างโดยรอบอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างสูง เช่น ย่านธุรกิจหรือย่านพาณิชยกรรมในเมืองใหญ่ ไปจนถึง 5) โซน LZ4 ที่มีค่าความส่องสว่างโดยรอบอยู่ ในระดับสูง เช่น ย่านธุรกิจบันเทิงในเมืองที่มีการส่องสว่างมากเป็นพิเศษ แต่ไม่ยอมให้มีแสงส่องขึ้น ฟ้าเลยในทุกโซน การประเมินโดย BUG rating ต้องใช้ข้อมูลจาก IES TM-15-11 (Luminaire Classification System for Outdoor Luminaires), Addendum A โดยแบ่งส่วน (section) ของแสงจากดวงโคม ออกเป็น แสงที่ส่องไปด้านหลัง (Backlight rating) แสงส่องขึ้น (Uplight rating) และแสงแยงตา (Glare rating) ดังภาพที่ 1

ภาพที่ 2 การแบ่งส่วน (section) ของแสงจากดวงโคมเพื่อการประเมินโดยใช้ BUG rating

ดังนั้น ผู้ออกแบบจึงต้องมีความเข้าใจทั้งในเรื่องของที่ตั้งโครงการและบริบท โดยสามารถ พิจารณาเลือกโซนสภาพแวดล้อมทางแสงได้อย่างเหมาะสม เช่น โครงการในย่านธุรกิจกลาง กรุงเทพมหานครควรจะอยูใ่ นโซน LZ3 ทีม่ คี า่ ความส่องสว่างโดยรอบอยูใ่ นระดับปานกลางค่อนข้างสูง เป็นต้น นอกจากนี้จะต้องพิจารณาถึงระยะห่างของอาคารกับขอบเขตที่ดิน รูปแบบ ต�ำแหน่งติดตั้ง และการเล็งล�ำแสงของดวงโคมทีใ่ ช้ภายนอกอาคาร รวมทัง้ คุณสมบัตดิ า้ นการกระจายแสงของดวงโคม ตามที่ระบุไว้ใน IES TM-15-11, Addendum A เพื่อให้แสงสว่างที่ออกมาจากดวงโคมกระจายลงสู่ พื้นที่ใช้งานได้ตามความประสงค์ 39


การประเมินมลภาวะทางแสงมีอยู่สองทางเลือกดังที่กล่าวไปข้างต้นแล้ว ทางเลือกที่ 1 พิจารณาจาก BUG rating ไม่ว่าจะเป็นแสงส่องขึ้น แสงล่วงล�้ำหรือแสงแยงตา ทางเลือกที่ 2 โดยวิธี การค�ำนวณ ซึง่ จะต้องพิจารณารายละเอียดในตารางทีก่ ำ� หนดทีข่ นึ้ อยูก่ บั โซนสภาพแวดล้อมทางแสง และรูปแบบของดวงโคม ดังนี้ 1) ส�ำหรับแสงส่องขึน้ ทางเลือกที่ 1 หาค่า Uplight rating สูงสุดของดวงโคมทีใ่ ช้ โดยพิจารณา จ�ำนวนลูเมนในแต่ละส่วนของแสงจากดวงโคมที่เป็นแสงส่องขึ้นฟ้า (UH และ UL) หรือทางเลือกที่ 2 เป็นการค�ำนวณหาเปอร์เซ็นต์ของจ�ำนวนลูเมนสูงสุดจากดวงโคมทั้งหมดในโครงการที่อาจส่องขึ้น เหนือระนาบแนวนอนในแต่ละโซนสภาพแวดล้อมทางแสง ว่าจะมีคา่ เกินไปจากเกณฑ์ทกี่ ำ� หนดหรือ ไม่อย่างไร เช่น ที่โซน LZ2 และที่โซน LZ3 ยอมให้เปอร์เซ็นต์ของจ�ำนวนลูเมนสูงสุดไม่เกิน 1.5 เปอร์เซ็นต์และ 3 เปอร์เซ็นต์ของจ�ำนวนลูเมนทั้งหมดที่อาจส่องขึ้นเหนือระนาบแนวนอนหรือขึ้นฟ้า ตามล�ำดับ ตัวอย่างของแสงส่องขึ้นแสดงในภาพที่ 3 2) ส�ำหรับแสงล่วงล�้ำหรือแสงแยงตา ทางเลือกที่ 1 หาค่า Backlight and Glare rating สูงสุด ของดวงโคมทีใ่ ช้ โดยพิจารณาต�ำแหน่งติดตัง้ ดวงโคมและจ�ำนวนลูเมนในแต่ละส่วนของแสงจากดวง โคมที่อาจท�ำให้เกิดการส่องย้อนมาทางด้านหลังโคม (BVH BH BM และ BL) และส่องไปข้างหน้าที่ ท�ำให้เกิดแสงแยงตา (FVH FH FM และ FL) สิ่งส�ำคัญคือการพิจารณาขอบเขตของล�ำแสงว่าล่วงล�้ำ เข้าไปในเขตที่ดินข้างเคียงหรือไม่อย่างไร โดยในคู่มือ LEED จะมีรายละเอียดปลีกย่อยให้พิจารณา เป็นกรณี ๆ ไป หรือทางเลือกที่ 2 เป็นการค�ำนวณหาค่าความส่องสว่างแนวตั้งสูงสุด (maximum vertical illuminance) ที่แนวเขตที่ดินในแต่ละโซนสภาพแวดล้อมทางแสงในกรณีต่าง ๆ ว่ามีค่าเกิน ไปจากเกณฑ์ทกี่ ำ� หนดหรือไม่อย่างไร เช่น ทีโ่ ซน LZ2 และทีโ่ ซน LZ3 ยอมให้คา่ ความส่องสว่างสูงสุด ไม่เกิน 1 ลักซ์และ 2 ลักซ์ ที่ขอบเขตที่ดินหรือขอบเขตแสงที่ก�ำหนด ตามล�ำดับ ตัวอย่างของแสงล่วง ล�้ำแสดงในภาพที่ 4 นอกจากนี้ ผู้ออกแบบยังสามารถใช้โปรแกรมสร้างแบบจ�ำลองสภาพแสงสว่าง โดยก�ำหนดตัวอาคาร ต�ำแหน่งติดตั้งดวงโคม และแนวเขตที่ดิน เพื่อค�ำนวณหาค่าความส่องสว่าง แนวตั้งสูงสุดที่แนวเขตที่ดินเทียบกับเกณฑ์ได้เช่นกัน

ภาพที่ 3 ตัวอย่างการส่องผนังอาคารแบบส่องขึ้น

ภาพที่ 4 ตัวอย่างการส่องพื้นที่รอบอาคารแบบส่องลง

บทสรุป เกณฑ์การรับรองอาคารเขียว LEED ในหัวข้อการลดการสร้างมลภาวะทางแสงมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ 1) ไม่ทำ� ให้เกิดปัญหาแสงล่วงล�ำ้ ทีส่ ร้างความเดือดร้อนร�ำคาญกับเพือ่ นบ้านหรืออาคารข้างเคียง 2) การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ 3) ช่วยรักษาท้องฟ้าให้มดื เพือ่ เพิม่ ทัศนวิสยั ในเวลากลางคืน และ 4) ช่วยสร้างเสริมสุขภาวะของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ ดังนั้น หลักการง่าย ๆ ของการส่องสว่างเพื่อป้องกันปัญหามลภาวะทางแสงส�ำหรับดวงโคม ภายนอกอาคาร คือ 1) เปิดไฟเมื่อต้องการใช้งาน 2) ส่องเฉพาะในบริเวณที่ต้องการ 3) ไม่ส่องสว่าง เกินความจ�ำเป็น 4) ลดการปล่อยแสงสีน�้ำเงิน 5) ใช้ดวงโคมที่ออกแบบมาเพื่อสามารถบังแสงที่จะ ส่องขึ้นด้านบนได้ทั้งหมด ซึ่งหากผู้ออกแบบและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลอาคารสถานที่และสภาพ แวดล้อมภายนอกอาคาร รวมทั้งผู้ใช้อาคารร่วมกันปฏิบัติตามหลักการดังกล่าว ย่อมจะช่วยลด มลภาวะทางแสงได้ไม่มากก็น้อย 40


เอกสารอ้างอิง สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย. คู่มือแนวทางการออกแบบการส่องสว่างภายนอกอาคาร. กรุงเทพฯ: อินดัสทรีเมท, 2561. เดชา บุญค้ำ�. “ภูมิสถาปัตยกรรม.” กรุงเทพฯ: ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม ศูนย์ตำ�ราและเอกสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, (ม.ป.ป.). (เอกสารสำ�เนา). American Medical Association. “AMA Adopts Guidance to Reduce Harm from High Intensity Street Lights.” Accessed May 20, 2019. https://www.ama-assn.org/press-center/press-releases/ama-adopts-guidance-reduce-harm- high-intensity-street-lights. Cruz, J. S. “What Is a BUG Rating?” Accessed May 15, 2019. https://blog.1000bulbs.com/home/what-is-a-bug-rating. Drake, N. “Our Nights are Getting Brighter, and Earth is Paying the Price.” Accessed May 22, 2019. https://www.national geographic.com/science/2019/04/nights-are-getting-brighter-earth-paying-the-price-light-pollution-dark-skies/. Falchi, F., Cinzano, P., Duriscoe, D., Kyba, C. C. M., Elvidge, C. D. and Baugh, K. “The New World Atlas of Artificial Night Sky Brightness.” Accessed May 15, 2019. https://www.researchgate.net/publication/ 303900724_The_ new_world_atlas_of_artificial_night_sky_brightness. Illuminating Engineering Society. “Addendum A for IES TM-15-11.” Accessed May 18, 2019. https://www.ies.org/wp- content/uploads/2017/03/TM-15-11BUGRatingsAddendum.pdf. International Dark Sky Association. “Eyes In The Sky: Exploring Global Light Pollution With Satellite Maps.” Accessed May 18, 2019. https://www.darksky.org/eyes-in-the-sky-exploring-global-light-pollution-with-satellite-maps/. International Dark Sky Association. “Light Pollution.” Accessed May 15, 2019. https://www.darksky.org/light-pollution/. Joint IDA – IES. “Model Lighting Ordinance (MLO) with User’s Guide.” Accessed May 15, 2019. https://www.darksky.org/ wp-content/uploads/bsk-pdf-manager/16_MLO_FINAL_JUNE2011.PDF. “Losing the Dark.” Accessed May 15, 2019. https://www.youtube.com/watch?v=dd82jaztFIo. The Society of Light and Lighting. The SLL Lighting Handbook. London: The Society of Light and Lighting, 2019. USGBC. LEED v4 for Building Design and Construction. Accessed May 10, 2019. https://www.usgbc.org/resources/leed-v4-building-design-and-construction-current-version.

USGBC. “What is LEED?.” Accessed August 28, 2019. https://www.usgbc.org/help/what-leed.

41


Light Pollution and LEED Certification Associate Professor Phanchalath Suriyothin Faculty of Architecture, Chulalongkorn University

Abstract

“Light Pollution Reduction” is one of the components of LEED certification. Despite only scoring one point of

LEED credits, light pollution reduction does have significant effects on the environment and living creatures. Developing solutions to effectively minimize light pollution directly involves architects and lighting designers, and their understanding of the importance of lighting design is vital in order to create works that truly serve the intent of, and receive eligibility for, LEED credits.

Keywords: Light pollution, Uplight, Light trespass, Glare

Introduction

In the contemporary architectural industry, there are

the lives of both humans and wildlife. Architects and lighting

several approaches to ‘green’ building design for sustainability.

designers play an important role in providing the most effective

The degree or level of ‘green’ that is achieved, is determined

and appropriate solutions. These professional practitioners’

not only by the concept proposed or presented by architects

comprehensive and in-depth understanding in the significance

but the intention of owners or investors, particularly when

of lighting and other related factors of lighting design, such as

related to buildings constructed to accommodate commercial

the surrounded environment and the optical properties of the

activities and other business operations and services. The

luminaires can allow the design to serve intention of this

architect’s knowledge and understanding contribute a great deal

credit; to increase night sky access, improve nighttime visibility,

in communicating and explaining the purposes and benefits of

and reduce the consequences of development for wildlife and

sustainable design to a project’s owners and investors, enabling

people (USGBC, n.d.).

works that encompass both functional and environmental aspects.

While energy conservation is a top priority, the role of

lighting design to sufficiently provide the needed illumination

LEED (Leadership in Energy and Environmental Design)

to a built structure and functional space is still very much

is the most widely used green building rating system in the

necessary. Nighttime illumination serves several purposes,

world, developed by the United States Green Building Coun-

primarily to provide building users and passersby greater

cil (USGBC). Available for virtually all building project types,

visibility of the surrounding environment, allowing them to

from new construction to interior fit-outs and operation &

have visual access to traffic ways, as well as ensuring the safety

maintenance, LEED provides a framework that project teams

and security of their well-being and property (Decha Boonkam,

can apply to create healthy, highly efficient, and cost-saving

n.d.). The ensuing question is, ‘how to design lighting for a

green buildings (USGBC, n.d.).

building or built environment without causing light pollution?”

In this article, the focus will be put specifically on light

pollution reduction of nighttime illumination. This credit is in the Sustainable Sites category of the LEED version 4 for Building Design and Construction (the current version of LEED certification), and despite offering only one point, the credit titled ‘Light Pollution Reduction’ contributes a great deal to the improvement of surrounding environments, and

42


Why the need to reduce light pollution?

In the past, when the world was less technologically

neighbor’s bedroom. Light can also have an impact on humans’

advanced, nighttime provided humans a better environment

physical health when one is forced to work overtime on a reg-

than today for resting their bodies and minds, allowing their

ular basis, as it leads to the disruption in the time where one’s

deteriorated physical and mental strength to more fully

body should be resting. Not only that, LED’s blue light can

recuperate. The nighttime also allowed humans to better

cause irreparable damage to the cells in the eye’s retina.

appreciate the beauty of the night sky and stars. As the world has become more urbanized, big cities around the world have

been lit up with streetlights and buildings that compete to attract

into the atmosphere is a major obstruction of their studies of

people’s attention with increasingly elaborate illumination.

the stars and other celestial objects and phenomena. When

Business districts have seen the birth of copious amounts of

excessive light is directed towards the sky, it disperses in the

all types of illuminated signage while building façades are

atmosphere and is reflected back to the ground, causing

designed to have striking visuals with bright LED lights of

increased night sky brightening that can be seen even from

vibrant colors, all affecting and disturbing the lives of daily

large distances. The phenomenon, known as ‘skyglow’, can

commuters and inhabitants living in nearby buildings and

significantly obstruct the visibility of stars and the night sky.

areas

Another effect caused by excessive illumination is ‘glare’, which

For astronomers, the artificial light propagating upward

is a strong, dazzling light that results in one’s visual discomfort,

Over illumination in nighttime environments is

sometimes causing road accidents. A further type of light

considered a wasteful use of energy. Satellite images taken by

pollution is ‘light trespass’, which is defined as light that

NASA, published by the International Dark-Sky Association

illuminates in unwanted or unnecessary areas, causing

(IDA), and reported by several media outlets, depict the areas

discomfort and annoyance. ‘Clutter’ refers to an excessive

where the luminance caused by artificial lighting is so bright that

amount of light sources that generate over-illumination, or

it is observable from outer space. It proves how over-illumination

disoriented light direction that leads to visual confusion. These

is the main cause of the ‘skyglow phenomenon’ that damages

excessive light sources do not only consume a greater amount

the natural beauty of the night sky and the visibility of stars.

of energy but are also an unnecessary waste of a project’s

The phenomenon can disrupt the lives of certain living

investment capital.

creatures and nocturnal animals, ultimately affecting the world’s ecosystems in a negative way. The effects can be lethal

in some cases, such as when migrating birds are misguided by

pollution refers to inappropriate or excessive use of artificial

the illumination of buildings, confusing them into thinking

lighting, which can ultimately have severe impacts on the

they are the stars that guide their migration route. As a result,

environment, humans, animals, and climate.

From the aforementioned, it can be concluded that light

a growing number of birds have been killed from mistakenly flying towards lights, resulting in their collision with built structures. There is also the case of sea turtles coming ashore to lay eggs and their newborns risking being run over by cars. Some of these baby turtles sadly mistaken the light of street lamps along beachfront roadways with the reflected moonlight on the seawater they are naturally meant to follow.

For humans, over-illumination can be the cause of

physical health concerns. Commuters traveling on roads can be exposed to the over-illumination of large-scale light sources, sometimes leading to temporarily blurred vision. Excessive illumination can disturb the lives of others, as well. For instance, a house’s backyard lighting shines directly into the space of a

43


LEED credit for light pollution reduction

The ‘Light Pollution Reduction’ was developed to help improve the visibility of night

sky and nighttime vision, as well as to reduce the effects the built environment has upon humans and wildlife. To meet the LEED credit, the building project has three requirements to comply with which are ‘uplight’, ‘light trespass’ and ‘glare’. It can be evaluated by either (1) BUG rating or (2) a specific calculation.

‘BUG” is the acronym used to represent the different types of illumination that cause

light pollution, 1) Backlight 2) Uplight and 3) Glare, developed by the Illuminating Engineering Society (IES) and International Dark-Sky Association (IDA), the method is used to calculate the total lumens of the outdoor luminaires that are out of the required area, which is then used to determine the level of light pollution.

Image 1: Example of the usable illumination of outdoor lighting and different cases of light pollution

Image 1 illustrates usable illumination and different cases of light pollution, such as back-

light, uplight, and forward light. These three types of obtrusive light can be divided into different light distribution zones depending on each solid angle. The number of maximum zonal lumens is used to determine the stages of pollution and the severity of their environmental impacts. BUG rating is a tool to evaluate luminaire that enables effective control of the amount of glare and light trespass in outdoor spaces. The terms ‘BUG’ can be defined as followed:

1) Backlight refers to all the light trespassing towards the back of a luminaire to the ground

level. In most cases, the backlight illuminates an area that is not intended to be illuminated. This unwanted backlight can be prevented by using a glare shield or a reflector, which allows the light to be reflected towards the front of the luminaire and onto the actual designated area.

2) Uplight is the type of light pollution that obstructs the visibility of stars and night sky,

or the so-called skyglow phenomenon, which is created by artificial lighting propagating into the

44


atmosphere with an upward-directed trajectory. IDA attempts

The BUG evaluation rating requires the data provided

to solve the uplight effect, bringing back greater visibility to

by IES TM-15-11 (Luminaire Classification System for Outdoor

the stars and night sky, and supporting the further study of

Luminiares), Addendum A, which divides the section of light

astronomy to be carried out. A luminaire that generates uplight

distribution of a luminaire into backlight ratings, uplight

of such strong intensity is a waste of both money and energy.

ratings and glare ratings, as shown in Image 2.

The reduction of uplight can be achieved by the installation of a hood or a baffle, to control the light distribution, or direct the light towards the ground. Fully shielded luminaires are capable of minimizing the skyglow effect.

3) Glare refers to the light reflected or directed to one’s

line of sight, which can deteriorate one’s visual perception, and even cause temporary blindness. Parking spaces and expressways are areas that are prone to the risk caused by glares. Excessive amounts of light can lead to accidents, as it forces drivers to involuntarily squint their eyes in order to adjust to overexposure to the glare. Special consideration should be put in the illumination of parking areas, crosswalks and pavements to ensure the safety of both drivers and pedestrians. Minimizing

Image 2: Evaluation diagram of a luminaire depicting

the brightness of the light source and illuminating with

backlight, uplight, and glare zones for BUG rating

appropriate luminaire and light distribution can effectively reduce glare.

should be categorized as the LZ3 zone, with moderately high

LEED requirements of light pollution reduction for

ambient lighting levels. In addition, further consideration

outdoor luminaires (excluding the exemptions) focus on the

should be put on the distance between the building and the

measurement of the photometric characteristics of each

perimeter of the site, the type of luminaires, mounting height

luminaire when mounted in the same orientation and tilt as

and aiming point, as well as the photometric data of the lumi-

specified in the project design. (Illuminating Engineering

naires as indicated in IES TM-15-11, Addendum A, to control

Society, n.d.). Consideration should also be put on the lighting

the optical performance and, ensuring that it actually illumi-

zone of the project property. The categorization of each lighting

nates the intended area.

zone can be carried out based on IES and IDA’s Model Lighting Ordinance (MLO) User’s Guide. The User’s Guide categorizes

The evaluation of light pollution can be carried out

5 different lighting zones: 1) LZ0 is the zone where absolutely

using the two aforementioned methods. The first utilizes the

no ambient lighting is required, such as national parks or

BUG rating to determine the level of backlight, uplight, and

wildlife sanctuaries; 2) LZ1 is the zone with generally low

glare, whereas the second method uses a calculation that

ambient lighting levels; 3) LZ2 is the zone with moderate

requires the details included in the provided table, which

ambient lighting levels; 4) LZ3 is the zone with moderately

includes lighting zones and types of luminaires, as follows.

high ambient lighting levels, such as business or commercial districts in big cities; and, 5) LZ4 is the zone with high ambient

1) For uplight, the first method is used to calculate the

lighting levels, such as high-density entertainment districts.

maximum uplight rating of a luminaire using the number of

For the zones from LZ0 to LZ4 are all restricted to uplight

lumens found in each section of a luminaire that is considered

control.

UH and UL. The second method is the calculation for the percentage of the total lumens of all luminaires on-site emitted

As a result, architects and designers need to have a

above the horizontal plane in each lighting zone, calculating

true understanding of the location and context of the site, such

whether the result exceeds the maximum percentage allowed.

as a building situated in Bangkok’s central business district

For instance, the LZ2 and LZ3 zones allow the maximum

45


percentage of lumens emitted above the horizontal plane, or upward, to not exceed 1.5% and 3%, respectively, as shown in Image 3.

2) For light trespass and glare, the first method is used

to calculate the maximum total lumens of backlight and glare rating of the luminaire, considering the mounting position of each luminaire and the total lumens of the light emitted from each section can be the cause of backlight (BVH, BH, BM, and BL) and forward light (FVH, FH, FM, and FL). The important thing is the mounting location and the lighting boundary whether it trespasses nearby properties or not. The LEED

Image 4: Examples of downward light

certification handbook provides further details about different

Conclusion

cases of light trespass. The second method is a calculation

for the maximum vertical illuminance within the perimeter of sites in different lighting zones, and whether the vertical illuminance at the boundary exceeds the indicated value in each zone. For instance, buildings in LZ2 and LZ3 zones allow the maximum illuminance at 1 and 2 lux, respectively, at the perimeter of the site, or the designated boundary in which the light is allowed to emit. Examples are shown in Image 4. In addition, designers and architects are able to use 3D modeling programs to simulate illuminance by indicating the building, position of the luminaires, and perimeter of the site to calculate the maximum vertical illuminance and compare the result to the value provided in the handbook.

The light pollution reduction credit in LEED certification

aims to 1) protect community members from the disturbance and annoyance caused by light pollution 2) efficiently reduce energy usage 3) improve the visibility of the night sky and 4) improve the well-being of humans and wildlife.

The simple lighting design that can help reduce light

pollution caused by outdoor luminaires include 1) turn on the light only when it is needed, 2) illuminate only within the designated area, 3) keep the illumination level moderate, 4) reduce the emission of blue light, and 5) use designed luminaire to shield uplight entirely. If architects, designers, or whomever is involved in the design, maintenance of buildings and outdoor environments, as well as occupants, follow the principles mentioned above, the severity of light pollution can be minimized.

Image 3: Examples of upward light

46


Bibliography American Medical Association. “AMA Adopts Guidance to Reduce Harm from High Intensity Street Lights.” Accessed May

20, 2019. https://www.ama-assn.org/press-center/press-releases/ama-adopts-guidance-reduce-harm-high-

intensity-street-lights. Boonkam, D. “Landscape Architecture.” Bangkok: Department of Landscape Architecture. Textbook and Academic

Document Center, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University. (Photocopied).

Cruz, J. S. “What Is a BUG Rating?” Accessed May 15, 2019. https://blog.1000bulbs.com/home/what-is-a-bug-rating. Drake, N. “Our Nights are Getting Brighter, and Earth is Paying the Price.” Accessed May 22, 2019. https://www.nationalgeographic.com/science/2019/04/nights-are-getting-brighter-earth-paying-the-price-light- pollution-dark-skies/. Falchi, F., Cinzano, P., Duriscoe, D., Kyba, C. C. M., Elvidge, C. D. and Baugh, K. “The New World Atlas of Artificial Night

Sky Brightness.” Accessed May 15, 2019. https://www.researchgate.net/ publication/303900724_The_new_world_

atlas_of_artificial_night_sky_brightness. Illuminating Engineering Association of Thailand. Guidelines for Indoor Lighting Design. Bangkok: Industry Mate, 2018. Illuminating Engineering Society. “Addendum A for IES TM-15-11.” Accessed May 18, 2019. https://www.ies.org/wp-content/ uploads/2017/03/TM-15-11BUGRatingsAddendum.pdf. International Dark-Sky Association. “Eyes In The Sky: Exploring Global Light Pollution With Satellite Maps.” Accessed May

18, 2019. https://www.darksky.org/eyes-in-the-sky-exploring-global-light-pollution-with-satellite-maps/.

International Dark-Sky Association. “Light Pollution.” Accessed May 15, 2019. https://www.darksky.org/light-pollution/. Joint IDA – IES. “Model Lighting Ordinance (MLO) with User’s Guide.” Accessed May 15, 2019. https://www.darksky.org/ wp-content/uploads/bsk-pdf-manager/16_MLO_FINAL_JUNE2011.PDF. “Losing the Dark.” Accessed May 15, 2019. https://www.youtube.com/watch?v=dd82jaztFIo. The Society of Light and Lighting. The SLL Lighting. London: The Society of Light and Lighting, 2019. USGBC. LEED v4 for Building Design and Construction. Accessed May 10, 2019. https://www.usgbc.org/resources/ leed-v4-building-design-and-construction-current-version. USGBC. “What is LEED?.” Accessed August 28, 2019. https://www.usgbc.org/help/what-leed.

47


ผลกระทบจากเรขาคณิตของเมืองต่อสภาวะทางความร้อนและ การไหลของอากาศในหุบเหวถนนของกรุงเทพมหานคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดอกเตอร์ ภัทรนันท์ ทักขนนท์

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ / pattaranan.t@ku.th

ภาพที่ 1. ย่านของพื้นที่ศึกษา

48


บทคัดย่อ กรุงเทพมหานครเผชิญกับสภาวะความร้อนสูงเกินไปและ เพิ่มเติมด้วยปรากฏการณ์เกาะความร้อนในเมือง ซึ่งเป็นผลจาก ความหนาแน่นประชากรที่เพิ่มขึ้นและการเปลี่ยนแปลงรูปทรง เรขาคณิตของเมือง เรขาคณิตของเมืองนี้เกิดจากความสัมพันธ์ ระหว่างความสูงอาคารกับความกว้างถนน หรือทีเ่ รียกว่า อัตราส่วน ความสูงต่อความกว้าง มีผลส�ำคัญต่อสภาวะทางความร้อนและ การกระจายตัวของลมในเมือง การวิจัยนี้มุ่งศึกษาผลกระทบของ อัตราส่วนความสูงต่อความกว้างในหุบเหวถนนต่อการเพิม่ ขึน้ ของ ความเข้มของปรากฏการณ์เกาะความร้อนและการไหลของอากาศ ในเมือง เพือ่ เสนอแนวทางการออกแบบทีจ่ ะช่วยลดความร้อน และ ส่งเสริมการไหลของอากาศในเมืองเพื่อผลทางด้านความเย็น การวิ จั ย ได้ ใ ช้ วิ ธี ก ารตรวจวั ด ในพื้ น ที่ แ ละการจ� ำ ลองอุ ณ ห พลศาสตร์ของไหลเพื่อศึกษาการไหลของอากาศที่ระดับคนเดิน ถนนในพื้นที่ 9 ย่าน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าอัตราส่วนความ สูงต่อความกว้างระดับปานกลาง คือ ช่วง 0.5-1.1 มีศักยภาพที่จะ ส่งเสริมการกระจายตัวของลมในพื้นที่กว้างโดยเฉพาะเมื่อถนนมี ความกว้างรวมระยะถอยร่นเป็น 34, 64, และ 94 เมตร อย่างไร ก็ตามหุบเหวที่ลึกควรหลีกเลี่ยงเนื่องจากอาจกักเก็บความร้อนใน เวลากลางคื น อั น เนื่ อ งจากกระแสลมวนคงที่ เ มื่ อ มี ก ารระบาย อากาศทีไ่ ม่ดนี กั อัตราส่วนความสูงต่อความกว้างทีแ่ นะน�ำคือช่วง 0.5-2 โดยความกว้างถนนไม่ควรน้อยกว่า 12 เมตร และขนาดไม่ ต�่ำกว่า 34 เมตรเป็นระยะที่เหมาะสมที่สุด คำ�สำ�คัญ: ปรากฏการณ์เกาะความร้อน เรขาคณิตเมือง อัตราส่วน

ความสูงต่อความกว้าง

49


บทนำ� การกลายเป็นเมืองมีผลกระทบส�ำคัญต่อการก่อรูปของเมือง พื้นที่ก่อสร้างที่หนาแน่นเก็บ กักความร้อนไว้ภายใต้ระดับความสูงที่ต�่ำกว่าหลังคาชั้นเรือนยอดเมือง (Urban Canopy) เป็นเหตุ ให้สภาพแวดล้อมในเมืองมีอุณหภูมิสูงกว่านอกเมือง โดยเฉพาะในเวลากลางคืน ปรากฏการณ์นี้ เป็นที่รู้จักกันในนาม ปรากฏการณ์เกาะความร้อนในเมือง (Urban Heat Island หรือ UHI) มีตัวแปร หลายตัวที่มีผลต่อ UHI รวมทั้งลักษณะเรขาคณิตของหุบเหวเมือง คุณสมบัติทางความร้อนของ วัสดุ ความร้อนจากกิจกรรมมนุษย์ที่มีทั้งการเผาไหม้และกระบวนการเผาผลาญ และการขาดแคลน พื้นที่สีเขียว [1] กรุงเทพมหานครเป็นหนึ่งในเมืองหลวงที่ก�ำลังเผชิญกับการกลายเป็นเมืองอย่างรวดเร็ว และมีปัญหาสภาพภูมิอากาศก่อนปีพ.ศ. 2573 กรุงเทพมหานครจะกลายเป็นเมืองใหญ่ระดับ มหานครและในปี พ.ศ. 2573 คาดการณ์ว่าจ�ำนวนประชากรจะมากกว่า 10 ล้านคน [1] ด้วยการ วางผังเมืองเพียงเล็กน้อย ปัญหาสภาพอากาศจึงเพิ่มมากขึ้น ความหนาแน่นสูงและการขาดแคลน พื้นที่สีเขียวท�ำให้อุณหภูมิสูงขึ้น มีการบดบังลม และเกิดภาวะมลพิษทางอากาศในตัวเมืองของ กรุงเทพมหานคร การศึกษาที่ผ่านมาได้พิสูจน์ให้เห็นการมีอยู่ของปรากฏการณ์เกาะความร้อนใน กรุงเทพมหานคร [3],[4],[5] ปัจจุบันกรุงเทพมหานครก�ำลังด�ำเนินแผนปฏิบัติการของแผนแม่บท กรุงเทพมหานครว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2556-2566 ผลกระทบจากพื้นที่ ก่อสร้างในกรุงเทพมหานครจึงควรได้รับการศึกษาอย่างถ่องแท้และใช้เป็นข้อพิจารณาในการ ด�ำเนินการตามแผนแม่บท การทบทวนวรรณกรรม 1) ผลทางด้านความเย็นจากการเคลื่อนที่ของอากาศต่อสภาวะน่าสบาย ส�ำหรับสภาพภูมิอากาศเขตร้อนชื้น การเคลื่อนที่ของอากาศมีความส�ำคัญมากต่อการสร้างผลทาง ด้านความเย็น เนื่องจากช่วยเพิ่มการระเหยเหงื่อจากผิวหนัง ความเร็วลมที่ผิวที่ต้องการอยู่ระหว่าง 1-1.5 เมตรต่อวินาที หรือไม่เกิน 2 เมตรต่อวินาที [6] ผลจากการศึกษาในพื้นที่เขตภูมิอากาศกึ่งโซน ร้อนของฮ่องกงในช่วงฤดูร้อนชี้ให้เห็นว่าความเร็วลมช่วง 1.0-1.5 เมตรต่อวินาทีมีแนวโน้มท�ำให้ผู้ใช้ อาคารร้อยละ 80 พึงพอใจต่อสภาวะทางความร้อน [7] แม้เพียงความเร็วลมเพียงเล็กน้อยก็ช่วยเพิ่ม อุณหภูมคิ วามสบายได้หากความเร็วลมสูงกว่า 0.3 เมตรต่อวินาที ซึง่ เป็นค่าแนะน�ำจากการศึกษาใน พื้นที่เขตภูมิอากาศแบบร้อนชื้นของบังคลาเทศ [8] ทั้งนี้การตรวจวัดในระดับคนเดินถนนควรท�ำที่ ความสูง 1.5-2 เมตรจากพื้นดิน 2) อัตราส่วนความสูงต่อความกว้างและการไหลเวียนของลมในเมือง พื้นที่ที่มีความหนาแน่นสูงมีแนวโน้มที่หุบเหวถนนจะมีอัตราส่วนความสูงต่อความกว้างสูง หุบเหว ถนนที่มีค่าอัตราส่วนความสูงต่อความกว้างประมาณ 1 โดยไม่มีช่องเปิดหลักๆ บนผนัง เรียกว่า มีค่า อัตราส่วนความสูงต่อความกว้างปกติ หุบเหวถนนทีม่ ีค่าอัตราส่วนความสูงต่อความกว้างต�ำ่ กว่า 0.5 คือ หุบเหวตื้น และหากอัตราส่วนความสูงต่อความกว้างมีค่า 2 จะบ่งบอกถึงหุบเหวลึก [9] สภาพลมในเมืองสามารถถูกปรับปรุงให้ดีขึ้นได้โดยการจัดให้มีเส้นทางการระบายอากาศ การผสมผสานความสูงของอาคาร และการเพิ่มความสูงของอาคารโดยลดขนาดพื้นที่อาคารปกคลุม ดิน ซึ่งกลยุทธ์สุดท้ายนี้พบว่ามีประสิทธิภาพที่สุดเพราะสามารถเพิ่มความเร็วลมได้มากถึง 2.4 เท่า ของสถานการณ์จริง [10] การสังเกตในสิงคโปร์แสดงให้เห็นว่าการจัดวางหอของอาคารสูง 2-3 อาคาร จะช่วยเพิม่ การไหลของอากาศในหุบเหว จึงช่วยลดอุณหภูมอิ ากาศ อัตราส่วนความสูงต่อความกว้าง ของหุบเหวทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ สามารถเพิม่ ความเร็วลมได้รอ้ ยละ 35 และลดอุณหภูมสิ มดุลทางสรีรวิทยา (Physiologically Equivalent Temperature, PET) ได้ถึง 0.7 oC [11] Oke, T. R. (1982). The energetic basis of the urban heat island. Quarterly Journal of the Royal Meteorological Society, 108, 1-24. Arifwidodo, S. D. (2015). Factors Contributing to Urban Heat Island in Bangkok, Thailand. ARPN Journal of Engineering and Applied Sciences, 10(15), 6435-6439. [4] Boonjawat, J., Niitsu, K., & Kubo, S. (2000). Urban heat island: Thermal pollution and climate change in Bangkok. Journal of Health Science, 9(1), 49-55. [5] Takkanon, P. (2016). A study of height to width ratios and Urban Heat Island Intensity of Bangkok. In: Ic2UHI-4th International Conference on Countermeasures to Urban Heat Island, National University of Singapore, Singapore. 30 May-1 June 2016. [6] Szokolay, S. V. (2004). Introduction to architectural science: the basis of sustainable design. Oxford: Architectural Press. [7] Ng, E. (2009). Policies and technical guidelines for urban planning of high-density cities – air ventilation assessment (AVA) of Hong Kong. Building and Environment, 44, pp. 1478-1488. [8] Mallick, F. H. (1996). Thermal comfort and building design in the tropical climates. Energy and Buildings, 23, pp. 161-167. [9] Vardoulakis, S., Fisher, B. E. A., Gonzalez-Flesca, N. (2003). Modelling air quality in street canyons: a review. Atmospheric Environment, 37, pp. 155-182. [10] Guo, F., Fan, Y., Zhang, H., (2015). Natural Ventilation Performance in a High Density Urban Area Based on CFD Numerical Simulations in Dalian. In: ICUC9 - 9th International Conference on Urban Climate jointly with 12th Symposium on the Urban Environment. Météo, France, 15 June 2015. [11] Priyadarsini, R., Wong, N. H., Cheong, K. W. D. (2008). Microclimatic modeling of the urban thermal environment of Singapore to mitigate urban heat island. Solar Energy, 82, pp. 727-745. [1] [3]

50


3) การจ�ำลองอุณหพลศาสตร์ของไหลเชิงค�ำนวณ กว่าสองทศวรรษ เทคนิคคอมพิวเตอร์ก้าวหน้าและเป็นที่นิยมใช้เพื่อการแก้ปัญหาแบบจ�ำลองทาง คณิตศาสตร์โดยเฉพาะส�ำหรับปัญหางานขนาดใหญ่ การจ�ำลองอุณหพลศาสตร์ของไหล (Computational Fluid Dynamics หรือ CFD) สามารถแก้สมการของไหลในพื้นที่เมืองหลายสมการในเวลา เดียวกัน โดยรวมสมการการอนุรักษ์มวล Potential Temperature (อุณหภูมิที่ความดันอากาศ 100 kPa) โมเมนตัม และสปีชี่ส์ (ปฏิกิริยาไอน�้ำและเคมี) [12] การจ�ำลองลมโดยใช้ CFD นี้มีการใช้อย่าง กว้างขวางส�ำหรับการศึกษาตัวแปรเพื่อพิจารณาสาเหตุและผลของตัวแปรเดี่ยวและกลุ่มที่มีอิทธิต่อ สภาวะการไหลของอากาศ [13] วัตถุประสงค์งานวิจัย งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ข้อ จากการพิจารณาว่าเรขาคณิตของหุบเหวมีผลต่อการดูดซับ ความร้อนและการไหลของอากาศในหุบเหว การศึกษานี้จึงมุ่งเน้นที่ 1) ผลของอัตราส่วนความสูงต่อความกว้างของหุบเหวถนนต่อการเพิม่ ขึน้ ของความเข้มของ ปรากฏการณ์เกาะความร้อนในเมือง ซึง่ เห็นได้จากความแตกต่างของอุณหภูมริ ะหว่างพืน้ ทีเ่ มืองและ พื้นที่ชนบท 2) ผลของอัตราส่วนความสูงต่อความกว้างต่อการไหลของอากาศที่ระดับคนเดินถนน ระเบียบวิธีวิจัย การท�ำงานใช้กระบวนการตรวจวัดในพื้นที่และการจ�ำลองอุณหพลศาสตร์ของไหล มีพื้นที่ ศึกษาในเมือง 9 ย่าน ได้แก่ ศาลาแดง สามย่าน อโศก บางจาก วงเวียนใหญ่ ดอนเมือง มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสุวินทวงศ์ ย่านเหล่านี้เป็นตัวแทนพื้นที่ที่มีระดับความ หนาแน่น การจราจร และอุณหภูมิผิวต�่ำ ปานกลาง และสูง 1) วิธีวิจัยส่วนงานตรวจวัดในพื้นที่ การท�ำงานนี้มุ่งศึกษาปรากฏการณ์เกาะความร้อนที่ระดับใต้หลังคาเรือนยอดของเมือง โดยใช้วิธี ส�ำรวจด้วยรถยนต์ เพือ่ ศึกษาสภาวะทางความร้อนในหุบเหวถนนในเมืองเปรียบเทียบกับพืน้ ทีช่ นบท นอกเมือง ซึ่งในที่นี้คือบริเวณท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เพื่อทราบระดับความเข้มของปรากฏการณ์ เกาะความร้อนในเมือง ข้อมูลปรากฏการณ์เกาะความร้อนถูกเก็บในช่วงเวลากลางคืนของเดือน พฤศจิกายนและธันวาคม พ.ศ.2558 และมีนาคม 2559 เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างตามฤดูกาล การเดินทางเก็บข้อมูลอยู่ในช่วง 22:00 น. ถึง 1:00 น. ดังที่การศึกษาผลของ UHI ช่วงเวลากลางคืน เสนอแนะว่าควรเป็นช่วงเวลา 3-5 ชั่วโมงหลังดวงอาทิตย์ตก [14] เครื่องมือที่ใช้คือ สถานีอากาศ มี เครือ่ ง HOBO-H21 data logger ส�ำหรับเก็บข้อมูลทุก 5 วินาที รถกระบะทีใ่ ช้ได้ตดิ ตัง้ เครือ่ งวัดความเร็ว และทิศทางลม Part# S-WCAM003 โดยเส้นทางเป็นดังภาพที่ 1 อัตราส่วนความสูงต่อความกว้างเฉลี่ยของแต่ละพื้นที่ได้รับการค�ำนวณโดยใช้ข้อมูล สารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS) และข้อมูลจากการส�ำรวจในพืน้ ที่ แต่ละพืน้ ทีศ่ กึ ษาครอบคลุม 100 ตาราง กิโลเมตร ใช้ตารางพิกัดขนาด 1000 เมตร x 1000 เมตร ค่าอัตราส่วนความสูงต่อความกว้างสูงสุดที่ ได้รบั อนุญาตตามกฎหมายคือ 2 ขณะทีร่ ะยะความกว้างถนนแตกต่างกันตัง้ แต่ 6 ถึง 90 เมตร เนือ่ งจาก เรขาคณิตของเมืองโดยทั่วไปมักไม่สม�่ำเสมอ ขึ้นกับความสูงของอาคารต่างๆ จึงจ�ำเป็นต้องหาค่า เฉลีย่ ของความสูงอาคารตามแนวถนนทีศ่ กึ ษา ความกว้างถนนซึง่ หลากหลายในผังพืน้ ขึน้ อยูก่ บั ระยะ ถอยร่นของแต่ละอาคารได้รบั การถ่วงน�ำ้ หนักเป็นร้อยละของระยะความยาวถนน 1000 เมตร จากนัน้ จึงค�ำนวณอัตราส่วนความสูงต่อความกว้างเฉลี่ยได้โดยปรับความสูงอาคารหารด้วยค่าความกว้าง ถนนถ่วงน�้ำหนัก ภาพที่ 2 แสดงตัวอย่างการตัดถนนแต่ละสายเพื่อหาอัตราส่วนความสูงต่อความ กว้างถ่วงน�้ำหนักตามแนวพิกัดถนน

Mirzaei, P. A., Haghighat, F. (2010). Approaches to study Urban Heat Island - abilities and limitations. Building and Environment, 45, pp. 2192-2201. Builtjes, P. (2003). The Problem - Air Pollution. In: Zannetti, P. (ed.) AIR QUALITY MODELING -Theories, Methodologies, Computational Techniques, and Available Databases and Software. EnviroComp Institute and Air & Waste Management Association. [14] Chandler, T. J. (1976). Urban Climatology and its Rele6ance to Urban Design. WMO Technical Note No. 4, WMO NO. 438. Geneva: World Meteorological Organisation. [12] [13]

51


ภาพที่ 2. ตัวอย่างการตัดถนนหลักย่านศาลาแดงเพื่อหาค่าอัตราส่วนความสูงต่อความกว้าง

2) วิธวี จิ ยั ส่วนงานจ�ำลองอุณหพลศาสตร์ของไหล การจ�ำลองอุณหพลศาสตร์ของไหลท�ำเป็นชุดการจ�ำลองเพือ่ ศึกษาสภาวะการไหลของอากาศทีไ่ ด้รบั ผลก ระทบจากอัตราส่วนความสูงต่อความกว้างทีแ่ ตกต่างกัน มีทงั้ หมด 95 กรณีทเี่ ป็นไปได้ของอัตราส่วน ความสูงต่อความกว้างตามกฏหมายของไทย โดยเริม่ ทดลองจากค่า 0.1 ถึง 2 ความกว้างถนนมีระยะ 12, 18, 24, 34, 64 และ 94 เมตรตามล�ำดับ ระยะความกว้างนีไ้ ด้รวมความกว้างถนนแท้จริงและระยะ ถอยร่นทีเ่ ป็นไปได้ 2-6 เมตรแล้วแต่กรณี จากนัน้ ความสูงอาคารจึงได้รบั การค�ำนวณจากความสัมพันธ์ ระหว่างอัตราส่วนความสูงต่อความกว้างและความกว้างถนน

52


ตารางที่ 1. กรณีศึกษาโดยการจำ�ลองแบบ ความกว้างถนนรวมระยะถอยร่น (เมตร)

อัตราส่วน ความสูงต่อ ความกว้าง (H/W ratio)

12

0.1

-

-

-

0.2

-

-

0.3

-

0.4

18

24

34

64

94

-

6.4

9.4

-

6.8

12.8

18.8

-

7.2

10.2

19.2

28.2

-

7.2

9.6

13.6

25.6

37.6

0.5

6

9

12

17

32

47

0.6

7.2

10.8

14.4

20.4

38.4

56.4

0.7

8.4

12.6

16.8

23.8

44.8

65.8

0.8

9.6

14.4

19.2

27.2

51.2

75.2

0.9

10.8

16.2

21.6

30.6

57.6

84.6

1

12

18

24

34

64

94

1.1

13.2

19.8

26.4

37.4

70.4

-

1.2

14.4

21.6

28.8

40.8

76.8

-

1.3

15.6

23.4

31.2

44.2

83.2

-

1.4

16.8

25.2

33.6

47.6

89.6

-

1.5

18

27

36

51

96

-

1.6

19.2

28.8

38.4

54.4

-

-

1.7

20.4

30.4

40.8

57.8

-

-

1.8

21.6

32.4

43.2

61.2

-

-

1.9

22.8

34.2

45.6

64.6

-

-

2

24

36

48

68

-

-

ความสูงอาคารจากการคำ�นวณ (เมตร)

โปรแกรมจ�ำลองอุณหพลศาสตร์ของไหล DesignBuilder ถูกน�ำมาใช้ในการค�ำนวณเนือ่ งจากมี ความแม่นย�ำส�ำหรับงานวิจยั [15] แบบจ�ำลองทางคณิตศาสตร์มคี วามสม�ำ่ เสมอภายในเขตพิกดั 1000 เมตร × 1000 เมตร พืน้ ทีท่ พี่ จิ ารณาคือบริเวณทางแยกเพือ่ ให้หบุ เหวถนนเหมือนกันทัง้ ในทิศทางขนาน และทิศทางตัง้ ฉากกับลมประจ�ำในพืน้ ที่ กลุม่ อาคารและตัวแปรถูกระบุไว้ในภาพที่ 3 ก�ำหนดให้ลมมา จากทางทิศใต้ ค่าความเร็วลมอ้างอิงคือ 1.7 เมตรต่อวินาทีโดยเป็นค่าความเร็วลมเฉลีย่ ทีร่ ะดับความสูง 10 เมตรเหนือพืน้ ดินของกรุงเทพมหานคร ขอบเขตการค�ำนวณทางคอมพิวเตอร์ใช้ k-ℇ ซึง่ เหมาะส�ำหรับ แบบจ�ำลองลมปัน่ ป่วน พืน้ ทีพ่ จิ ารณาในผังอยูท่ รี่ ะดับ 1.5 เมตรเหนือพืน้ ดินเพือ่ สังเกตการไหลของ อากาศทีร่ ะดับคนเดินถนน ส่วนพืน้ ทีใ่ นแนวตัดของหุบเหวใช้เพือ่ สังเกตความเร็วและลักษณะของกระแส ลมวน รวมถึงกระแสลมปัน่ ป่วนในด้านใต้ลมและด้านเหนือลมดังระบุไว้ในภาพที่ 4

[15] Wasilowski, H. A. and Reinhart C. F. (2009). Modelling an Existing Building in DesignBuilder/ EnergyPlus: Custom versus Default Inputs. In: 11th International IBPSA Conference. Glasgow, Scotland, 27-30 July 2009.

53


ภาพที่ 3. กลุ่มอาคารและตัวแปร

ภาพที่ 4. บริเวณที่พิจารณาในการศึกษา

ผลการวิจย ั 1) ผลจากการตรวจวัดในพืน้ ที่ การตรวจวัดในพืน้ ทีพ่ บว่าในทุกกรณีอณ ุ หภูมอิ ากาศในเมืองสูงกว่าอุณหภูมอิ ากาศทีว่ ดั ได้นอกเมือง เสมอ ค่าความเข้มของปรากฏการณ์เกาะความร้อน ได้แก่ 6.33 K, 6.70 K และ 4.54 K ส�ำหรับวันตัว แทนฤดูฝน ฤดูหนาว และฤดูรอ้ น ตามล�ำดับ ความเข้มของปรากฏการณ์เกาะความร้อนทีส่ งู ทีส่ ดุ ประมาณ 8 K พบในฤดูฝนและฤดูหนาวซึง่ ชัดเจนกว่าฤดูรอ้ น ผลบ่งชีว้ า่ มีความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มของ ปรากฏการณ์เกาะความร้อนและอัตราส่วนความสูงต่อความกว้างถนน ค่าสัมประสิทธิก์ ารตัดสินใจ (R2) มีคา่ 0.35, 0.31 และ 0.24 ส�ำหรับวันตัวแทนฤดูฝน ฤดูหนาว และฤดูรอ้ น ตามล�ำดับ อัตราส่วนความ สูงต่อความกว้างถนนมีผลบางส่วนต่อสภาวะเวลากลางคืนทีแ่ สดงความเข้มของปรากฏการณ์เกาะความ ร้อนของกรุงเทพมหานคร

54


พืน้ ทีท่ มี่ คี วามเข้มของปรากฏการณ์เกาะความร้อนสูง ได้แก่ ศาลาแดง สามย่าน อโศก บางจาก (ถนนหลัก) และดอนเมือง (ถนนรอง) โดยถนนส่วนมากกว้าง 30 เมตรยกเว้นถนนเส้นรองของดอนเมือง ซึ่งกว้างเพียง 6 เมตร อย่างไรก็ตามถนนทั้งหมดนี้มีค่าอัตราส่วนความสูงต่อความกว้างถนนระดับ ปานกลาง ระหว่าง 0.47 ถึง 0.95 ถนนส่วนใหญ่วางแนวตะวันตกเฉียงใต้-ตะวันออกเฉียงเหนือ พื้นที่ ที่มีความเข้มของปรากฏการณ์เกาะความร้อนระดับปานกลาง ได้แก่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดอนเมือง (ถนนหลัก) สุวินทวงศ์ (ถนนหลัก) โดยมีอัตราส่วนความสูงต่อความกว้างต�่ำ ระหว่าง 0.06 ถึง 0.25 ส่วนถนนรองของวงเวียนใหญ่มีค่าอัตราส่วนความสูงต่อความกว้างสูงกว่าเล็กน้อยคือมีค่า 0.73 หุบเหวถนนที่มีสภาวะทางความร้อนเพียงเล็กน้อยได้แก่ ถนนเส้นหลักของวงเวียนใหญ่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และถนนรองของสุวนิ ทวงศ์ โดยมีอตั ราส่วนความสูงต่อความกว้างในช่วง 0.06 ถึง 0.29 (ตารางที่ 2) ตารางที่ 2. อัตราส่วนความสูงต่อความกว้าง (H/W ratio) เฉลี่ยและความเข้มของปรากฏการณ์เกาะความร้อน (HII) ตามฤดูกาล ความกว้างถนน (เมตร)

H/W ratio (เฉลี่ย)

5 พ.ย. 2558 HII (K)

25 ธ.ค. 2558 HII (K)

10 มี.ค. 2559 HII (K)

ศาลาแดงหลัก

30

0.95

7.46

7.87

5.25

ศาลาแดงรอง

12

0.81

7.08

7.49

5.20

สามย่านหลัก

34

0.45

7.49

4.97

4.88

สามย่านรอง

10

0.74

7.19

7.51

4.77

อโศกหลัก

30

0.61

7.33

7.20

4.69

อโศกรอง

30

0.91

7.65

7.47

4.76

บางจากหลัก

30

0.24

7.46

7.84

5.01

บางจากรอง

15

0.25

5.77

6.64

4.74

วงเวียนใหญ่หลัก

70

0.18

5.53

5.36

3.85

วงเวียนใหญ่รอง

6

0.73

5.41

5.69

4.67

ดอนเมืองหลัก

90

0.06

5.83

5.61

4.32

ดอนเมืองรอง

6

0.47

6.21

7.49

6.61

เกษตรหลัก

16.5

0.09

4.70

5.92

5.34

เกษตรรอง

6

0.29

5.16

5.57

4.19

ธรรมศาสตร์หลัก

10.5

0.12

6.12

6.36

3.98

ธรรมศาสตร์รอง

9

0.08

5.83

7.22

3.43

สุวินทวงศ์หลัก

30

0.06

6.46

5.88

2.94

สุวินทวงศ์รอง

8

0.22

4.59

5.57

3.05

เฉลี่ย

24.6

0.40

6.33

6.70

4.54

ต่ำ�สุด

6

0.06

4.59

5.36

2.94

สูงสุด

90

0.95

7.99

7.97

6.61

55


จากช่วงของค่าอัตราส่วนความสูงต่อความกว้างที่ค�ำนวณส�ำหรับการศึกษานี้ สามารถแบ่ง อัตราส่วนความสูงต่อความกว้างเป็น 3 ระดับ คือ ต�่ำ (H/W < 0.36) ปานกลาง (0.36 =H/W < 0.65) และสูง (H/W >= 0.65) เพื่อบ่งชี้ว่าเป็นหุบเหวถนนตื้น ปกติ และลึกตามล�ำดับ อย่างไงก็ตาม แม้ว่า อัตราส่วนความสูงต่อความกว้างทีส่ งู จะมีแนวโน้มเพิม่ ความแตกต่างของอุณหภูมิ กลับพบความเข้ม ของปรากฏการณ์เกาะความร้อนมากทีส่ ดุ ในกรณีทอี่ ตั ราส่วนความสูงต่อความกว้างอยูใ่ นระดับปาน กลางเสมอ ซึง่ อาจเป็นผลรวมจากการบังแดดและการระบายอากาศในหุบเหวถนน ทัง้ นีโ้ ดยไม่คำ� นึง ถึงความกว้างแท้จริงของถนน หุบเหวที่มีค่าอัตราส่วนความสูงต่อความกว้างระดับปานกลางมีแนว โน้มที่จะสะสมความร้อนและมีการระบายอากาศไม่เพียงพอ 2) ผลจากการศึกษาด้วยการจ�ำลองอุณหพลศาสตร์ของไหล กระแสอากาศปัน่ ป่วนและความเร็วลมไม่ตำ�่ กว่า 0.3 เมตรต่อวินาทีเป็นสิง่ ทีค่ าดหวังเพือ่ การผสมของ อากาศ ส่งเสริมการระบายมลพิษ และสร้างความเย็นสบาย ผลจากการจ�ำลองทางอุณหพลศาสตร์ ของไหลแสดงให้เห็นว่าอัตราส่วนความสูงต่อความกว้างในช่วงปานกลางถึงมากมีแนวโน้มต่อการ เพิ่มขึ้นของค่าความเร็วลม และการเกิดกระแสลมปั่นป่วนภายในหุบเหวซึ่งส่งเสริมการระบายความ ร้อนให้ในระดับคนเดินถนน ไม่ว่าจะมีอัตราส่วนความสูงต่อความกว้างและความกว้างแท้จริงของ ถนนเท่าใด พื้นที่ด้านเหนือลม (Windward) จะมีการกระจายลมได้ดีกว่าพื้นที่ด้านใต้ลมในหุบเหว (Leeward) ที่มีค่าความเร็วลมต�่ำและมีโอกาสเกิดการสะสมมลพิษทางอากาศได้มากกว่า ช่วง อัตราส่วนความสูงต่อความกว้างระดับปานกลาง 0.5-1.1 มีแนวโน้มท�ำให้ค่าความเร็วลมและการก ระจายตัวของลมกินพื้นที่เป็นบริเวณมากกว่า และโดยเฉพาะเมื่อถนนมีความกว้างมากๆ ขนาด 34, 64 และ 94 เมตร อย่างไรก็ตาม ควรหลีกเลี่ยงลักษณะหุบเหวที่ลึกเกินไปซึ่งจะกักเก็บความร้อนใน เวลากลางคืนและมีกระแสลมวนคงทีโ่ ดยการระบายอากาศไม่ดนี กั อัตราส่วนความสูงต่อความกว้าง ของหุบเหวถนนทีแ่ นะน�ำ คือ 0.5-2 โดยความกว้างถนนไม่ควรน้อยกว่า 12 เมตร และขนาดไม่ตำ�่ กว่า 34 เมตรเป็นระยะที่เหมาะสมที่สุด ตารางที่ 3 ตัวอย่างผลการจำ�ลอง" H/W Ratio = 0.1; H = 6.4 m.; W = 64 m.

H/W Ratio = 0.5; H = 47 m.; W = 94 m.

H/W Ratio = 1.5; H = 96 m.; W =64 m

56

ผังพื้น

รูปตัด


การสรุปผล ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าอัตราส่วนความสูงต่อความกว้างของหุบเหวถนนในระดับปาน กลางถึงสูงมีแนวโน้มทีจ่ ะเพิม่ ความเร็วลมและสร้างกระแสลมปัน่ ป่วนในหุบเหว ซึง่ จะช่วยส่งเสริมให้ เกิดผลทางด้านความเย็นต่อคนเดินถนน ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ที่จะส่งเสริมการพัฒนาเมืองที่มี ความหนาแน่น แต่ตอ้ งรักษาสมดุลระหว่างอัตราส่วนความสูงต่อความกว้างและความกว้างถนนเพือ่ มิให้เกิดหุบเหวลึกทีก่ กั เก็บความร้อนไว้ในเวลากลางคืน อัตราส่วนความสูงต่อความกว้างของหุบเหว ถนนที่แนะน�ำ คือ 0.5-2 โดยความกว้างถนนไม่ควรน้อยกว่า 12 เมตร และระยะที่เหมาะสมที่สุดคือ ไม่ต�่ำกว่า 34 เมตร

บรรณานุกรม Oke, T. R. (1982). The energetic basis of the urban heat island. Quarterly Journal of the Royal Meteorological Society, 108, 1-24. United Nations, Department of Economic and Social Affairs, & Population Division. (2015). World Urbanization Prospects: The 2014 Revision, (ST/ESA/SER.A/366). Arifwidodo, S. D. (2015). Factors Contributing to Urban Heat Island in Bangkok, Thailand. ARPN Journal of Engineering and Applied Sciences, 10(15), 6435-6439. Boonjawat, J., Niitsu, K., & Kubo, S. (2000). Urban heat island: Thermal pollution and climate change in Bangkok. Journal of Health Science, 9(1), 49-55. Takkanon, P. (2016). A study of height to width ratios and Urban Heat Island Intensity of Bangkok. In: Ic2UHI-4th International Conference on Countermeasures to Urban Heat Island, National University of Singapore, Singapore. 30 May-1 June 2016. Szokolay, S. V. (2004). Introduction to architectural science: the basis of sustainable design. Oxford: Architectural Press. Ng, E. (2009). Policies and technical guidelines for urban planning of high-density cities – air ventilation assessment (AVA) of Hong Kong. Building and Environment, 44, pp. 1478-1488. Mallick, F. H. (1996). Thermal comfort and building design in the tropical climates. Energy and Buildings, 23, pp. 161-167. Vardoulakis, S., Fisher, B. E. A., Gonzalez-Flesca, N. (2003). Modelling air quality in street canyons: a review. Atmospheric Environment, 37, pp. 155-182. Guo, F., Fan, Y., Zhang, H., (2015). Natural Ventilation Performance in a High Density Urban Area Based on CFD Numerical Simulations in Dalian. In: ICUC9 - 9th International Conference on Urban Climate jointly with 12th Symposium on the Urban Environment. Météo, France, 15 June 2015. Priyadarsini, R., Wong, N. H., Cheong, K. W. D. (2008). Microclimatic modeling of the urban thermal environment of Singapore to mitigate urban heat island. Solar Energy, 82, pp. 727-745. Mirzaei, P. A., Haghighat, F. (2010). Approaches to study Urban Heat Island - abilities and limitations. Building and Environment, 45, pp. 2192-2201. Builtjes, P. (2003). The Problem - Air Pollution. In: Zannetti, P. (ed.) AIR QUALITY MODELING -Theories, Methodologies, Computational Techniques, and Available Databases and Software. EnviroComp Institute and Air & Waste Management Association. Chandler, T. J. (1976). Urban Climatology and its Rele6ance to Urban Design. WMO Technical Note No. 4, WMO NO. 438. Geneva: World Meteorological Organisation. Wasilowski, H. A. and Reinhart C. F. (2009). Modelling an Existing Building in DesignBuilder/ EnergyPlus: Custom versus Default Inputs. In: 11th International IBPSA Conference. Glasgow, Scotland, 27-30 July 2009. 57


Effects of Urban Geometry on Thermal Condition and Airflow in Urban Street Canyons of Bangkok Assistant Professor Pattaranan Takkanon, Ph.D. Faculty of Architecture, Kasetsart University / pattaranan.t@ku.th

Abstract

Bangkok suffers from overheating and additional ‘Urban Heat Island’ (UHI) effect as a result of its increasing density and

changing geometry. Urban geometry, which is formed by the relationship between building height and street width, or height-towidth ratio (H/W ratio), has a significant impact on thermal condition and wind distribution in the city. This current study focuses on the effects of H/W ratios of street canyons on increasing Urban Heat Island Intensity (UHII) and urban airflow in order to propose design guidelines to reduce urban heat and promote airflow for cooling effect. The research employed field measurement and Computational Fluid Dynamics (CFD) methods to study airflow at the pedestrian level in 9 selected areas. Results show that moderate H/W ratios ranging from 0.5-1.1 potentially promote wind distribution in a wider area, especially when associated with wide roads and setbacks: 34, 64, and 94 meters. However, deep canyon should be avoided, since it could trap heat during the night as vortices steadily occur with poor ventilation. The recommended H/W ratios range from 0.5-2. Road width should not be less than 12 meters, and not less than 34 meters is preferable.

Keywords: Urban heat Island, Urban Geometry, Computational Fluid Dynamics (CFD)

Introduction

Literature Review

1) Cooling Effect of Air Movement for Thermal Comfort

Urbanization has a significant impact on shaping the

city. The densely built-up areas trap heat within the urban can-

opy, causing urban environments to be warmer than their

for producing physiological cooling effects since it increases

surroundings, especially during the nighttime. This phenome-

evaporation from the skin. The desirable wind speed at body’s

non is known as Urban Heat Island (UHI). There are many

skin is 1-1.5 m/s or within the limit of 2 m/s [6]. Results from

factors contributing to UHI, including canyon geometry, ther-

field studies in the sub-tropical climate of Hong Kong under

mal properties of materials, anthropogenic heat released from

summer conditions also indicate that air velocity of 1.0-1.5 m/s

combustion and metabolism, and lack of green spaces [1].

would likely satisfy 80% of building occupants thermally [7].

Bangkok is one of the capital cities currently facing

Even little air velocity can increase comfort temperature as air

rapid urbanization, as well as climatic problems. Before 2030,

velocities greater than 0.3 m/s are suggested from field studies

Bangkok will become a megacity in the tropical region, and

in the warm and humid climate of Bangladesh [8]. The assess-

by 2030, its population is expected to surpass 10 million [1].

ment height for pedestrian level is 1.5-2 meter above ground.

With very little urban planning, the climatic problems are emphasized. High density and lack of green space increase temperature, wind shelter, and air pollution in the urban area of Bangkok. Previous studies have proved the presence of UHI in Bangkok [3],[4],[5]. At present, Bangkok is in the process of implementing a master plan on climate change 2013-2023. The effects of built-up urban areas in Bangkok should be thoroughly studied and taken into consideration for the implementation of the master plan.

58

For hot-humid climates, air movement is very important


2) H/W Ratio and Urban Wind Circulation

Densely built-up areas tend to have street canyons with

high aspect ratios. A canyon with an aspect ratio approximately equal to 1, and without major openings on the walls, is called regular. An avenue canyon that has aspect ratio below 0.5 is defined shallow, while a value of 2 represents the deep canyon [9].

Urban wind flow conditions can be improved by pro-

viding ventilation paths, mixing building heights, and increasing building height while decreasing land coverage. The latter

Research Objectives

The research has 2 objectives. By considering that canyon

geometry affects heat absorption and airflow in the canyon, the study focuses on 1) effect of height-to-width (H/W) ratios of street canyon on increasing Urban Heat Island Intensities (UHII), which is shown by temperature difference between urban areas and rural areas; and 2) effect of height-to-width (H/W) ratios on airflow at the pedestrian level.

strategy was found most efficient as it can increase wind ve-

Research Methodology

locities by up to 2.4 times of the real case [10]. An investigation

in Singapore shows that placing a few high-rise towers will enhance the airflow inside the canyon, thereby reducing the air temperature. An optimum H/W ratio for the canyons can increase the velocity by up to 35% and reduce the corresponding PET by up to 0.7 oC [11]. 3) CFD Numerical Simulation

Over the past two decades, computational techniques

have advanced and become more popular for solving mathematical models, especially for large scale problems. Computational Fluid Dynamics (CFD) can simultaneously solve governing equations of fluid inside urban areas, including conservation of mass, potential temperature, momentum, and species (water vapour and chemical reaction) [12]. Air modelling using CFD is widely used for parametric studies in order to determine cause and effect from individual and combined parameters influencing airflow conditions [13].

The work adopts field measurement and Computation-

al Fluid Dynamics (CFD) methods. There are 9 selected urban areas, namely, Sala Daeng, Sam Yan, Asoke, Bang Chak, Wongwian Yai, Don Mueang, Kasetsart University, Thammasat University, and Suwinthawong. They represent low, medium and high levels of density, traffic, and surface temperatures. 1)

Research method for field investigation

The current work focuses on the canopy layer heat island by using car-traverse method to study thermal conditions in the urban canyons compared with those from one rural site, Suvarnabhumi Airport area, in order to study UHII in Bangkok. UHI condition data were collected during the night hours of November 2015, December 2015, and March 2016 to find seasonal variations. The road trips were taken during 22:00 to 1:00, as nocturnal effects of UHI should be investigated 3–5 hours after sunset [14]. HOBO-H21 weather station data logger was set to collect data at 5 second intervals. The van was mounted with wind speed and direction smart sensors (Part# S-WCAM003). Routes are presented in Figure 1.

Oke, T. R. (1982). The energetic basis of the urban heat island. Quarterly Journal of the Royal Meteorological Society, 108, 1-24. Arifwidodo, S. D. (2015). Factors Contributing to Urban Heat Island in Bangkok, Thailand. ARPN Journal of Engineering and Applied Sciences, 10(15), 6435-6439. [4] Boonjawat, J., Niitsu, K., & Kubo, S. (2000). Urban heat island: Thermal pollution and climate change in Bangkok. Journal of Health Science, 9(1), 49-55. [5] Takkanon, P. (2016). A study of height to width ratios and Urban Heat Island Intensity of Bangkok. In: Ic2UHI-4th International Conference on Countermeasures to Urban Heat Island, National University of Singapore, Singapore. 30 May-1 June 2016. [6] Szokolay, S. V. (2004). Introduction to architectural science: the basis of sustainable design. Oxford: Architectural Press. [7] Ng, E. (2009). Policies and technical guidelines for urban planning of high-density cities – air ventilation assessment (AVA) of Hong Kong. Building and Environment, 44, pp. 1478-1488. [8] Mallick, F. H. (1996). Thermal comfort and building design in the tropical climates. Energy and Buildings, 23, pp. 161-167. [9] Vardoulakis, S., Fisher, B. E. A., Gonzalez-Flesca, N. (2003). Modelling air quality in street canyons: a review. Atmospheric Environment, 37, pp. 155-182. [10] Guo, F., Fan, Y., Zhang, H., (2015). Natural Ventilation Performance in a High Density Urban Area Based on CFD Numerical Simulations in Dalian. In: ICUC9 - 9th International Conference on Urban Climate jointly with 12th Symposium on the Urban Environment. Météo, France, 15 June 2015. [11] Priyadarsini, R., Wong, N. H., Cheong, K. W. D. (2008). Microclimatic modeling of the urban thermal environment of Singapore to mitigate urban heat island. Solar Energy, 82, pp. 727-745. [12] Mirzaei, P. A., Haghighat, F. (2010). Approaches to study Urban Heat Island - abilities and limitations. Building and Environment, 45, pp. 2192-2201. [13] Builtjes, P. (2003). The Problem - Air Pollution. In: Zannetti, P. (ed.) AIR QUALITY MODELING -Theories, Methodologies, Computational Techniques, and Available Databases and Software. EnviroComp Institute and Air & Waste Management Association. [14] Chandler, T. J. (1976). Urban Climatology and its Rele6ance to Urban Design. WMO Technical Note No. 4, WMO NO. 438. Geneva: World Meteorological Organisation. [1] [3]

59


Figure 1. Locations of selected areas of study

Mean H/W ratios of each area are calculated using data from GIS and field investigation.

Each selected area is studied within 100 sq.km. using a grid of 1000 m x 1000 m. The maximum H/W ratio permitted by law is 2, while road widths vary from 6 to 90 meters. Since urban geometries are generally non-uniform due to various building heights, it is important to find average values of building heights along selected roads. Road widths which are varied in plan, depending on setback distance of each building, are also weighted in percentage of 1000 m road length. The average H/W ratios are then calculated by using adjusted building heights divided by weighted road widths. Figure 2 shows an example of how cross-sections of each road were provided to find weighted H/W ratios along the street grid.

Figure 2. An example of cross-sectional lines for finding H/W ratios on main road of Sala Deang

60


2) Research method for CFD study

There are a series of CFD simulations run to study airflow conditions affected by dif-

ferent H/W ratios. It consists of 95 simulation cases possible for H/W ratios allowed by Thai regulations. H/W ratios, or aspect ratios, for testing range from 0.1 to 2 are the maximum permitted by Thai regulation. Road widths are 12, 18, 24, 34, 64, and 94 meters, respectively. These widths include the actual road width and possible 2 to 6-meter setback distance. Building heights are then calculated according to the relationship between H/W ratios and road widths.

Table 1. 1st Series Simulation cases H/W ratio

Road width (m) 12

18

24

34

64

94

Calculated building height (m) 0.1

-

-

-

-

6.4

9.4

0.2

-

-

-

6.8

12.8

18.8

0.3

-

-

7.2

10.2

19.2

28.2

0.4

-

7.2

9.6

13.6

25.6

37.6

0.5

6

9

12

17

32

47

0.6

7.2

10.8

14.4

20.4

38.4

56.4

0.7

8.4

12.6

16.8

23.8

44.8

65.8

0.8

9.6

14.4

19.2

27.2

51.2

75.2

0.9

10.8

16.2

21.6

30.6

57.6

84.6

1

12

18

24

34

64

94

1.1

13.2

19.8

26.4

37.4

70.4

-

1.2

14.4

21.6

28.8

40.8

76.8

-

1.3

15.6

23.4

31.2

44.2

83.2

-

1.4

16.8

25.2

33.6

47.6

89.6

-

1.5

18

27

36

51

96

-

1.6

19.2

28.8

38.4

54.4

-

-

1.7

20.4

30.4

40.8

57.8

-

-

1.8

21.6

32.4

43.2

61.2

-

-

1.9

22.8

34.2

45.6

64.6

-

-

2

24

36

48

68

-

-

61


The commercial CFD simulation program, DesignBuilder, was employed for calculation

due to its accuracy for research [15]. The numerical models are uniform within the 1000 m Ă— 1000 m domain. Areas considered are at intersections providing identical street canyons on the direction parallel and perpendicular to prevailing wind. The building blocks and parameters are presented in Figure 3. The wind direction is set to come from the south. The reference wind velocity is 1.7 m/s as it is the average wind velocity at 10 meters above ground in Bangkok. The computational domain is k-ď Ľ, which is for turbulence modeling. Areas for consideration on the horizontal plane is 1.5 meters above ground to investigate airflow at pedestrian level, while sectional area across the canyon is made vertically to investigate air velocities, characteristics of vortices, and turbulence on leeward and windward sides, as specified in Figure 4.

Figure 3. Building block and parameters

Figure 4. Areas for investigation

62


Results

The areas with high UHII were Sala Daeng, Sam Yan,

Asoke, Bang Chak (main road), and Don Mueang (side road).

1) Results from field investigation

It is found that in all cases, the urban air temperatures are always

Most of these are 30 m wide, except for the side road in Don

higher than those obtained from the rural area. UHII values are

Muaeng, which is 6 m wide. However, all of these street canyons

6.33 K, 6.70 K and 4.54 K for the days representing rainy season,

have medium to high H/W ratios ranging from 0.47 to 0.95.

winter, and summer, respectively. The biggest UHII, which is

Most roads are of SW-NE and NW-SE orientation. The areas

around 8 K, is found in rainy season and winter, and it is more

with medium UHII were Thammasat University, Don Mueang

distinct than that in summer. Results indicate the relationship

(main road), and Suwinthawong (main road). Their H/W

between the UHII and mean H/W ratios. R2 values are found

ratios were small, ranging from 0.06 to 0.25, except for the side

as 0.35, 0.31, and 0.24 for rainy season, winter, and summer,

road in Wongwian Yai of which H/W ratio was slightly high-

respectively. H/W ratios have some effects on nocturnal urban

er at 0.73. The canyons that have little thermal condition were

heat island intensity of Bangkok.

the main road of Wongwian Yai, Kasetsart University, and the side road of Suwinthawong. They have small H/W ratios ranging from 0.06 to 0.29 (Table 2).

Table 2. Average H/W ratios and the seasonal variations of UHII of the selected areas Road width (m)

H/W ratio (average)

5 Nov 2015 HII (K)

25 Dec 2015 10 Mar 2016 HII (K) HII (K)

Sala Daeng (main)

30

0.95

7.46

7.87

5.25

Sala Daeng (side)

12

0.81

7.08

7.49

5.20

Sam Yan (main)

34

0.45

7.49

4.97

4.88

Sam Yan (side)

10

0.74

7.19

7.51

4.77

Asoke (main)

30

0.61

7.33

7.20

4.69

Asoke (side)

30

0.91

7.65

7.47

4.76

Bang Chak (main)

30

0.24

7.46

7.84

5.01

Bang Chak (side)

15

0.25

5.77

6.64

4.74

Wongwian Yai (main)

70

0.18

5.53

5.36

3.85

Wongwian Yai (side)

6

0.73

5.41

5.69

4.67

Don Mueang (main)

90

0.06

5.83

5.61

4.32

Don Mueang (side)

6

0.47

6.21

7.49

6.61

Kasetsart Univ. (main)

16.5

0.09

4.70

5.92

5.34

Kasetsart Univ. (side)

6

0.29

5.16

5.57

4.19

Thammasat Univ.(main)

10.5

0.12

6.12

6.36

3.98

Thammasat Univ.(side)

9

0.08

5.83

7.22

3.43

Suwinthawong (main)

30

0.06

6.46

5.88

2.94

Suwinthawong (side)

8

0.22

4.59

5.57

3.05

Average

24.6

0.40

6.33

6.70

4.54

Min

6

0.06

4.59

5.36

2.94

Max

90

0.95

7.99

7.97

6.61 63


Within range of H/W ratios calculated for this study, there could be 3 levels of H/W

ratios: low (H/W < 0.36), medium (0.36 =H/W < 0.65), and high (H/W >= 0.65) to define street canyon as shallow, regular, and deep, respectively. Even though high H/W ratios tend to increase temperature differences, the biggest UHI intensities are always found in cases of medium H/W ratios. This could be the combined effects of shading and ventilation provided by street canyon. The medium H/W canyon, regardless of actual road width, tends to collect heat and provide insufficient ventilation.

2) Results from CFD study

Turbulence and wind speed not less than 0.3 m/s are expected for mixing air, promoting air pollution dispersion, as well as enhancing cooling effects. Results from CFD show that medium to high H/W ratios tend to increase air velocities and create turbulence in the canyon, thus promoting a cooling effect at pedestrian level. Regardless of H/W ratio and road width, windward side always shows wind distribution better than leeward side, which tends to have low wind speed, therefore it is likely to collect polluted air on this side. Moderate H/W ratios ranging from 0.5-1.1 potentially promote wind distribution in a wider area, especially when associated with wide roads: 34, 64, and 94-meter. However, deep canyon should be avoided since it could trap heat during the night while vortices steadily occur with poor ventilation. Recommended H/W ratios for the street canyon range from 0.5-2, while roads should not be less than 12 meters, and a width of not less than 34 meter is optimum.

Table 3. Examples of Simulation Results Plan H/W Ratio = 0.1; H = 6.4 m.; W = 64 m.

H/W Ratio = 0.5; H = 47 m.; W = 94 m.

H/W Ratio = 1.5; H = 96 m.; W =64 m

64

Section


Conclusion

Results from the study show that medium to high H/W

H/W ratio and road width to avoid a deep canyon that traps

ratios tend to increase air velocities and create turbulence in the

heat during the night. The recommended H/W ratios range

canyon, thus promoting a cooling effect for pedestrians. There-

from 0.5-2, while road width should not be less than 12 meters,

fore, it is possible to promote high density development for

and preferably not less than 34 meters.

Bangkok. Nonetheless, it is required to balance between high

References Oke, T. R. (1982). The energetic basis of the urban heat island. Quarterly Journal of the Royal Meteorological Society, 108, 1-24. United Nations, Department of Economic and Social Affairs, & Population Division. (2015). World Urbanization Prospects: The 2014 Revision, (ST/ESA/SER.A/366). Arifwidodo, S. D. (2015). Factors Contributing to Urban Heat Island in Bangkok, Thailand. ARPN Journal of Engineering and Applied Sciences, 10(15), 6435-6439. Boonjawat, J., Niitsu, K., & Kubo, S. (2000). Urban heat island: Thermal pollution and climate change in Bangkok. Journal of Health Science, 9(1), 49-55. Takkanon, P. (2016). A study of height to width ratios and Urban Heat Island Intensity of Bangkok. In: Ic2UHI-4th International Conference on Countermeasures to Urban Heat Island, National University of Singapore, Singapore. 30 May-1 June 2016. Szokolay, S. V. (2004). Introduction to architectural science: the basis of sustainable design. Oxford: Architectural Press. Ng, E. (2009). Policies and technical guidelines for urban planning of high-density cities – air ventilation assessment (AVA) of Hong Kong. Building and Environment, 44, pp. 1478-1488. Mallick, F. H. (1996). Thermal comfort and building design in the tropical climates. Energy and Buildings, 23, pp. 161-167. Vardoulakis, S., Fisher, B. E. A., Gonzalez-Flesca, N. (2003). Modelling air quality in street canyons: a review. Atmospheric Environment, 37, pp. 155-182. Guo, F., Fan, Y., Zhang, H., (2015). Natural Ventilation Performance in a High Density Urban Area Based on CFD Numerical Simulations in Dalian. In: ICUC9 - 9th International Conference on Urban Climate jointly with 12th Symposium on the Urban Environment. Météo, France, 15 June 2015. Priyadarsini, R., Wong, N. H., Cheong, K. W. D. (2008). Microclimatic modeling of the urban thermal environment of Singapore to mitigate urban heat island. Solar Energy, 82, pp. 727-745. Mirzaei, P. A., Haghighat, F. (2010). Approaches to study Urban Heat Island - abilities and limitations. Building and Environment, 45, pp. 2192-2201. Builtjes, P. (2003). The Problem - Air Pollution. In: Zannetti, P. (ed.) AIR QUALITY MODELING -Theories, Methodologies, Computational Techniques, and Available Databases and Software. EnviroComp Institute and Air & Waste Management Association. Chandler, T. J. (1976). Urban Climatology and its Rele6ance to Urban Design. WMO Technical Note No. 4, WMO NO. 438. Geneva: World Meteorological Organisation. Wasilowski, H. A. and Reinhart C. F. (2009). Modelling an Existing Building in DesignBuilder/ EnergyPlus: Custom versus Default Inputs. In: 11th International IBPSA Conference. Glasgow, Scotland, 27-30 July 2009. 65


การร่วมสร้างสรรค์พื้นที่สาธารณะ : เจตคติ กระบวนการ และโอกาสของคนเมือง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดอกเตอร์ ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม / nattawutu@gmail.com

บทคัดย่อ พื้นที่สาธารณะเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ส�ำคัญภายใต้เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) โดยที่ผ่านมาภายใต้บริบทประเทศไทยนั้น การได้มาซึ่งพื้นที่สาธารณะเพื่อคนเมืองมีข้อจ�ำกัด นานัปการเนือ่ งด้วยรัฐในฐานะผูจ้ ดั หาบริการนัน้ มักผูกโยงการจัดให้มพี นื้ ทีส่ าธารณะเข้ากับกรรมสิทธิ์ ที่ดินของรัฐท�ำให้การสร้างสรรค์พื้นสาธารณะเกิดขึ้นได้ยากยิ่ง บทความนี้ได้สะท้อนภาพการ สร้างสรรค์พนื้ ทีส่ าธารณะขึน้ ผ่านกรณีศกึ ษา 4 แห่ง ทีส่ ามารถสร้างกระบวนการให้เกิดการสร้างสรรค์ พื้นที่สาธารณะที่ดีได้ โดยเอื้อให้เกิดการใช้สอยและการสร้างโปรแกรมที่ดี โดยการเปลี่ยนทัศนะการ มองพืน้ ทีส่ าธารณะ 2 ด้าน คือ 1) จากการมองพืน้ ทีส่ าธารณะแบบตายตัวสูก่ ารมองแบบปรับตัวและ ยืดหยุ่นได้ (Fluid public space) 2) จากการก�ำหนดผลลัพธ์การใช้พื้นที่แต่แรกเริ่มสู่การเน้น กระบวนการสร้างโปรแกรมทีด่ ผี า่ นการร่วมสร้างสรรค์ (Co-creation) โดยพบปัจจัยทีก่ อ่ รูปโอกาสใน การสร้างสรรค์พื้นที่สาธารณะที่ดี ประกอบด้วย 1) ปณิธานระดับนโยบาย/หน่วยงาน 2) การได้มาซึ่ง ที่ดินเพื่อใช้เป็นพื้นที่สาธารณะ 3) วิธีการก�ำหนดกิจกรรมที่เน้นการมีส่วนร่วมแบบปรึกษาหารือ 4) กระบวนการที่ท�ำให้เกิดพื้นที่สาธารณะที่ดีด้วยวิธีการที่ Inclusive และ 5) การสร้างระบบกลไกใน บริการจัดการพื้นที่สาธารณะ คำ�สำ�คัญ: พื้นที่สาธารณะ การร่วมสร้างสรรค์ คุณภาพชีวิต ความสำ�คัญของการสร้างสรรค์พื้นที่สาธารณะ

การสร้างสรรค์โอกาสของพื้นที่เมืองเพื่อการใช้ประโยชน์ร่วมกันจนเกิดเป็นพื้นที่สาธารณะ (Public Space) เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ส�ำคัญของเมืองที่ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี เพื่อรองรับ ความต้องการที่หลากหลายในเมือง เมืองที่ดีต้องให้ความส�ำคัญต่อสุขภาวะของผู้คนและเอื้อให้เกิด ชีวิตชีวา UN-Habitat (2015) ได้ระบุหลักการพื้นฐานของการมีพื้นที่สาธารณะที่ดี ที่ควรต้องผนวก กับการวางผังเมืองและการออกแบบพื้นที่สาธารณะในเมือง โดยมีหลักการและความส�ำคัญคือ (1) เป็นพืน้ ทีส่ าธารณะทีม่ ชี วี ติ ชีวา มีกจิ กรรมทีห่ ลากหลาย หมายถึงการทีเ่ มืองหนึง่ ๆ สามารถเอือ้ อ�ำนวย ให้ เกิ ด กิ จ กรรมสาธารณะที่หลากหลายเพื่อ ส่งเสริม ให้ ผู้ คนออกมาใช้ พื้นที่ ภายนอกและสร้ าง ปฏิสมั พันธ์กนั (2) เอือ้ ให้เกิดการสัญจรโดยการเดินเท้าในเมือง หมายถึงการทีเ่ มืองหนึง่ ๆ เอือ้ อ�ำนวย ให้เกิดพืน้ ทีส่ าธารณะเพือ่ การเดินเท้าในเมือง โดยเฉพาะในเขตเมืองชัน้ ในและย่านพาณิชยกรรม และ บริเวณการเชือ่ มต่อพืน้ ทีเ่ มืองกับบริการขนส่งมวลชนสาธารณะและสาธารณูปการต่างๆ และ (3) เข้า ถึงได้โดยกลุ่มคนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจแตกต่างกัน หมายถึงการที่เมืองหนึ่งๆ เพิ่มโอกาสในการที่ กลุ่มคนทุกสถานะทางสังคม สามารถเข้าถึงพื้นที่สาธารณะได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย จากการศึกษางานวิจัยบางส่วนที่รวบรวมงานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1990-2010 จ�ำนวน 87เรือ่ ง ซึง่ แสดงความเชือ่ มโยงความสัมพันธ์ระหว่างพืน้ ทีส่ าธารณะกับสุขภาวะ ทีด่ ี พบว่างานวิจยั เหล่านีไ้ ด้สะท้อนผลเชิงประจักษ์ถงึ ประโยชน์ของพืน้ ทีส่ าธารณะทีม่ ตี อ่ สุขภาวะทีด่ ี 4 ประการ ได้แก่ 1) ประโยชน์ต่อสุขภาพกาย (อาทิ จากการออกก�ำลังกายโดยตรง) 2) ประโยชน์ต่อ สุขภาพจิตและคุณภาพชีวิต (อาทิ การสร้างปฏิสัมพันธ์ของคนในชุมชน และยึดโยงระบบสังคมกลุ่ม ย่อยๆ) 3) ประโยชน์ดา้ นสังคม-เศรษฐกิจ (อาทิ การเพิม่ โอกาสในความเท่าเทียมจากการเข้าถึงกิจกรรม ทางกายของผูม้ รี ายได้นอ้ ย) และ 4) ประโยชน์ดา้ นสิง่ แวดล้อม (อาทิ การสร้างสมดุลของพืน้ ทีธ่ รรมชาติ และพื้นที่ปลูกสร้างในเมือง) โดยข้อค้นพบนี้ได้แสดงให้เห็นรูปธรรมของการมีพื้นที่สาธารณะที่ดีว่า มีผลต่อสุขภาวะของคนเมืองอย่างมีนัยส�ำคัญ (Lee and Maheswaran, 2011: 212-222) 66


ภายใต้บริบทขอจ�ำกัดของประเทศไทยทีป่ ระเด็นกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ มักเป็นข้อจ�ำกัดส�ำคัญในการ สร้างสรรค์พนื้ ทีส่ าธารณะ อย่างไรก็ตามหากอาศัยการมองพืน้ ทีส่ าธารณะเป็นพืน้ ทีท่ ไี่ หลเลือ่ น ไม่ได้ จ�ำกัดอยูก่ บั โปรแกรมใดโปรแกรมหนึง่ ตายตัว หากแต่สามารถปรับเปลีย่ นกิจกรรมได้อย่างเหมาะสม ตามช่วงเวลา ก็จะมีพื้นที่สาธารระในเมืองเพิ่มขึ้นได้ (Madanipour,.2018: 1093-1110) ดังนั้นการ สร้างสรรค์พนื้ ทีส่ าธารณะในเมืองให้เกิดจึงไม่ได้เน้นความส�ำคัญของการครอบครองและได้มาซึง่ ทีด่ นิ เท่านั้น แต่หมายถึงการเปลี่ยนบทบาท ท่าทีของการคิดถึงหลักการของประโยชน์ร่วมกันที่ได้จากการ สร้างสรรค์พื้นที่สาธารณะ อันน�ำไปสู่บทสนทนา (Dialogue) ที่ก่อให้เกิดกระบวนการสร้างสรรค์พื้นที่ สาธารณะได้อย่างเป็นรูปธรรม บทเรียนจากกรณีศึกษาในประเทศไทย

ผูเ้ ขียนสะท้อนโอกาสในการสร้างสรรค์พนื้ ทีส่ าธารณะผ่านการถอดบทเรียนกรณีศกึ ษา 4 แห่ง ในฐานะตัวแทนของลักษณะพืน้ ทีส่ าธารณะทีแ่ ตกต่างกัน โดยได้สะท้อนภาพการณ์ของการสร้างสรรค์ พื้นที่สาธารณะภายใต้บริบทเมือง เงื่อนไข/องค์ประกอบ และโครงสร้างเมืองที่ต่างกัน ทั้งในเรื่องการ สร้างมุมมองและโอกาส กระบวนการร่วมสร้างสรรค์ผ่านการออกแบบ การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ เสีย และการสร้างระบบการบริหารจัดการที่ยั่งยืน ผู้เขียนน�ำเสนอให้เห็นมิติของความเปลี่ยนปลง ใน 4 ด้าน ได้แก่ 1) กลไกการขับเคลื่อน 2) ขั้นคอนและกระบวนการ 3) ปัจจัยความส�ำเร็จ และ 4) ข้อ จ�ำกัด/อุปสรรค โดยได้อภิปรายผลของการก่อเกิดการปฏิบตั ขิ องพืน้ ทีส่ าธารณะทีด่ ี ทีไ่ ด้รเิ ริม่ สร้างสรรค์ พื้นที่ขึ้นมาแม้ว่าจะไม่มีนโยบายที่สนับสนุน อันมีรายละเอียดดังนี้ 1.) Public space as Street: พื้นที่ริมแม่น�้ำน่าน เทศบาลนครพิษณุโลก

ความเป็นมา: เทศบาลนครพิษณุโลกมีเป้าหมายและเจตจ�ำนงเชิงนโยบายในการสร้างคุณภาพชีวิต ที่ดีแก่ชาวเมือง โดยหนึ่งในการเพิ่มคุณภาพชีวิต ได้แก่ การสร้างพื้นที่สาธารณะ โดยเทศบาลได้ให้ ความส�ำคัญกับสวนสาธารณะเพือ่ พักผ่อนหย่อนใจ สวนริมน่านเป็นพืน้ ทีส่ าธารณะริมแม่นำ�้ น่าน โดย ได้ประสานกิจกรรมหลากหลายรูปแบบที่ต่อเนื่องกันตลอดความยาวสองฝั่งแม่น�้ำกว่า 4 กิโลเมตร อาทิ พืน้ ทีว่ งิ่ ออกก�ำลังกาย พืน้ ทีน่ งั่ พักผ่อนหย่อนใจ ลานแอโรบิค พืน้ ทีพ่ าณิชยกรรมริมน�ำ ้ ท�ำให้พนื้ ที่ ดังกล่าวตอบสนองกิจกรรมที่หลากหลายของคนในเมือง ในแต่ละช่วงเวลา และช่วงวัย กลไกการขับเคลือ่ น: เทศบาลเป็นผูข้ บั เคลือ่ น (Actor)หลัก มีเจตนารมณ์และมีแนวนโยบายเรือ่ งพืน้ ที่ สาธารณะ คุณภาพชีวติ และเมืองสุขภาวะชัดเจน โดยผ่านกลไกการจัดท�ำแผนประจ�ำปี ฝ่ายการเมือง มีเสถียรภาพสูงท�ำให้การด�ำเนินงานพัฒนาพื้นที่สาธารณะเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ขัน้ ตอนและกระบวนการ: ออกแบบโดยสถาปนิกเทศบาลในลักษณะ welfare กล่าวคือเทศบาลศึกษา รูปแบบ แล้วพัฒนาโปรแกรมการก�ำหนดกิจกรรมชองพื้นที่โดยใช้กระบวนการผู้เชี่ยวชาญมากกว่า กระบวนการมีส่วนร่วม ปัจจัยความส�ำเร็จ: ความแน่วแน่ในเจตนารมณ์และวิสัยทัศน์ทางนโยบายที่มุ่งให้เกิดคุณภาพชีวิต จากสภาพแวดล้อม / ความมีเสถียรภาพของผู้บริหารเทศบาล / ความสามารถในการบริหารจัดการ ข้อจ�ำกัด / อุปสรรค: เทศบาลมีภาระค่าใช้จ่ายจากการเพิ่มขึ้นของพื้นที่สาธารณะเหล่านี้ ช่องว่างทางนโยบาย: ไม่สามารถก�ำหนดแผนระยะยาวเชิงกายภาพของพืน้ ทีส่ าธารณะอย่างเป็นองค์ รวมได้ เนื่องจากมีข้อจ�ำกัดในการได้มาซึ่งที่ดิน

ภาพที่ 1 การพบปะผู้บริหารท้องถิ่นเทศบาลนครพิษณุโลกและพื้นที่สาธารณะในเมือง ที่มา: ผู้เขียน

67


2.) Public space as open space: หาดบางแสน

ความเป็นมา: เทศบางเมืองแสนสุข ได้จดั ระเบียบชายหาดเพือ่ เพิม่ การเข้าถึงพืน้ ทีร่ มิ หาดโดยไม่มคี า่ ใช้จ่าย ให้คนทุกระดับชั้นสามารถเข้าถึงพื้นที่สาธารณะเพื่อการนันทนาการได้มากขึ้น นอกจากนี้ยัง เพิม่ พืน้ ทีส่ าธารณะอืน่ ๆ เพือ่ เป็นส่วนหนึง่ ของการสร้างเมืองกิจกรรมทางกีฬา ในลักษณะเทศกาลการ ท่องเที่ยวด้านกีฬา อาทิ แข่งวิ่งมาราธอน แข่งรถ โดยใช้กิจกรรมเหล่านี้สัมพันธ์ไปกับพื้นที่สาธารณะ ที่ออกแบบและจัดเตรียมรองรับโดยเป็นลักษณะที่ปรับเปลี่ยนพื้นที่ได้ โดยเกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจ ไปพร้อมกัน กลไกการขับเคลื่อน: เทศบาลเป็น actor หลักในการขับเคลื่อน มีเจตนารมณ์และมีแนวนโยบายเรื่อง พื้นที่สาธารณะ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต และเมืองสุขภาวะชัดเจน เป็นการขับเคลื่อนใน ลักษณะบนลงล่างเบ็ดเสร็จ (top-down) สิ่งที่ส�ำคัญของการออกแบบพื้นที่สาธารณะนั้นต้องอาศัย กลไก 2 ส่วนคือ โครงสร้างส่วนบน และโครงสร้างส่วนล่าง ถ้าจะสร้างพื้นที่สาธารณะให้ส�ำเร็จ โครงสร้างส่วนบนและโครงสร้างส่วนล่างจะต้องเห็นพ้องต้องกัน ขัน้ ตอนและกระบวนการ: จุดเริม่ ต้นของการพัฒนาพืน้ ทีส่ าธารณะทีห่ าดบางแสน เกิดจากผูส้ นับสนุน หลายๆฝ่าย ได้แก่ สถาปนิก ภาคเอกชน และเทศบาล จึงเกิดเป็นการศึกษาโดยน�ำเอาแผนนโยบาย ไปท�ำเป็นแผนกายภาพ ควรจะปรับเปลีย่ นพืน้ ทีอ่ ย่างไรเพือ่ ให้ตอบโจทย์ความต้องการของคนในพืน้ ที่ โดยอาศัยกระบวนการออกแบบพื้นที่สาธารณะแบบมีส่วนร่วม ซึ่งให้ตัวแทนจากหลายภาคส่วน เช่น ผู้น�ำชุมชน ประชาชน ท้องถิ่น เป็นต้น มานั่งออกแบบร่วมกัน นโยบายขับเคลื่อนจากท้องถิ่นลงสู่การ พัฒนาพืน้ ทีส่ าธารณะ เพือ่ แก้ปญ ั หาการเข้าถึงพืน้ ทีส่ าธารณะเพือ่ ทุกคน โดยไม่มคี า่ ใช้จา่ ยในการใช้ พื้นที่ริมหาด เพื่อสร้างการดึงดูด กระตุ้นให้เกิดกิจกรรมที่หลากหลาย ปัจจัยความส�ำเร็จ: การเมืองเข้มแข็ง มีเสถียรภาพสูง / มีแผนที่น�ำทาง (Roadmap) ที่จะพัฒนาพื้นที่ สาธารณะชัดเจนในภาพรวม / มีฐานเศรษฐกิจที่ดี ข้อจ�ำกัด / อุปสรรค: กระบวนการมีส่วนร่วมที่กว้างขวางยังมีน้อย เป็นการขับเคลื่อนในลักษณะผู้ เชี่ยวชาญ / มีที่ดินซึ่งเป็นพื้นที่สาธารณะจ�ำกัด ช่องว่างทางนโยบาย: ไม่ได้ดำ� เนินการโดยครอบคลุมการสร้างโปรแกรมพืน้ ทีส่ าธารณะทีค่ ำ� นึงถึงผูม้ ี ส่วนได้เสียอื่นๆ เช่น ผู้สูงอายุ ผู้พิการ เน้นแต่เพียง นักท่องเที่ยวภายนอกและพื้นที่เศรษฐกิจ

ภาพที่ 2 ตัวอย่างพื้นที่สาธารณะในเมืองบางแสน ที่มา: ผู้เขียน

68


3.) Public space as public facility: วัดบันดาลใจ

ความเป็นมา: “วัดสุทธิโมเดล” เป็นจุดเริม่ ต้นแนวคิดการบูรณาการวัดร่วมกับชุมชน โดยเจ้าอาวาสวัด สุทธิวรารามในช่วงปี 2555 ซึง่ มีแนวคิดอยากสร้างวัดให้อยูค่ กู่ บั ชุมชน โดยมีเป้าหมายเพือ่ การพัฒนา วัดให้เกิดประโยชน์แก่สังคมมากที่สุด จากนั้นทางวัดสุทธิวรารามจึงเข้าร่วมโครงการวัดบันดาลใจ โดยโครงการ“วัดบันดาลใจ” เป็นโครงการที่เริ่มตั้งแต่ปี 2557 มีจุดเริ่มต้นมาจากแนวคิดการพัฒนา พืน้ ทีว่ ดั ให้เป็นพืน้ ทีส่ ขุ ภาวะ เป็นสถานทีท่ ปี่ ระชาชนมาใช้บริการแล้วเกิดความสุข เป็นศูนย์กลางของ ชุมชน จึงน�ำมาสู่การปรับปรุงพื้นที่วัดให้กลายเป็นพื้นที่สาธารณะและพื้นที่สุขภาวะของเมือง กลไกการขับเคลือ่ น: วัดสุทธิวราราม เป็นหนึง่ ในวัดทีเ่ ข้าร่วมโครงการวัดบันดาลใจ ซึง่ ได้มกี ารพัฒนา พื้นที่ทั้งในเชิง กายภาพของวัดให้เป็นพื้นที่ส�ำหรับคนเมือง มีการปรับภูมิทัศน์ของวัดให้มีพื้นที่สีเขียว มากขึ้น รื้ออาคารที่ไม่ได้ใช้งานเปลี่ยนให้เป็นพื้นที่โล่ง และปรับพื้นที่ศาลาของวัดให้เข้ากับวิถีชีวิต ของคนเมือง ตลอดจนเป็นพื้นที่อเนกประสงค์เพื่อดึงดูดผู้คนที่หลากหลายในเมืองให้เข้ามาร่วมท�ำ กิจกรรม และใช้ประโยชน์จากพืน้ ทีร่ ว่ มกัน ส�ำหรับรูปแบบกิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ ในพืน้ ทีว่ ดั นัน้ ได้เริม่ พัฒนาบริเวณ อุโบสถให้มีภาพจิตรกรรมและจัดกิจกรรมทางศาสนา นอกจากนี้ยังมีอีกหลายกิจกรรมที่เกิดขึ้น เช่น การจัดกิจกรรมฉายหนังในอุโบสถ การเปิดศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ร้านกาแฟเด็กวัด ห้องประชุม อเนกประสงค์และห้องรับรอง ขณะทีก่ ารบริหารจัดการพืน้ ทีว่ ดั จะมีเจ้าหน้าทีข่ องวัดและพระสงฆ์เป็น ผู้ดูแล เช่น การติดต่อเจ้าหน้าที่วัดก่อนขอเข้าใช้ห้องประชุมและห้องรับรอง การติดต่อทางวัดเพื่อเข้า มาจัดกิจกรรมต่างๆ รวมไปถึงการดูแลลานจอดรถโดยเจ้าหน้าทีข่ องทางวัด ซึง่ เหตุผลส�ำคัญของการ บริหารจัดการพื้นที่วัดโดยเจ้าหน้าที่และพระสงฆ์ก็เพื่อป้องกันปัญหากลุ่มผู้มีอิทธิพลและผู้เข้ามา แสวงหาประโยชน์ในวัด รวมไปถึงได้อาศัยความร่วมมือจากชาวบ้านในชุมชนให้เข้ามาร่วมกันดูแล ขั้นตอนและกระบวนการ: โครงการวัดบันดาลใจได้อาศัยความร่วมมือจากหน่วยงานหลายภาคส่วน โดยเริม่ จากความร่วมมือของสถาบันอาศรมศิลป์ กับหอจดหมายเหตุพทุ ธทาส อินทปัญโญ และเหล่า ภาคีเครือข่ายต่างๆ โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อฟื้นฟูและปรับเปลี่ยนกายภาพของวัดให้ กลายเป็นพื้นที่กิจกรรมทางสังคม ให้ประชาชนสามารถใช้พนื้ ทีด่ งั กล่าวเพือ่ พบปะสังสรรค์และเกิดการแลกเปลีย่ นเรียนรูใ้ นชุมชน ส�ำหรับ การพัฒนาและปรับเปลีย่ นเชิงกายภาพของวัดนัน้ ได้รบั การสนับสนุนจากสถาปนิกและนักออกแบบ ซึง่ ปัจจุบนั มีวดั ทีเ่ ข้าร่วมโครงการทัง้ สิน้ 9 แห่ง ได้แก่ วัดสุทธิวราราม วัดนางชีโชติการาม วัดชลประทาน รังสฤษฏ์ วัดภูเขาทอง วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร วัดป่าโนนกุดหล่ม วัดศรี ทวี และมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ปัจจัยความส�ำเร็จ: ปัจจัยเชิงบุคคล ผู้น�ำที่เป็นหลักในการขับเลื่อน ได้แก่ เจ้าอาวาส ปัจจัยเชิงบริบท ได้แก่ สถาบันการศึกษา หน่วยงานที่สนับสนุน การสร้างแรงสั่นสะเทือนในการด�ำเนินงานหลายพื้นที่ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในวงกว้าง ข้อจ�ำกัด / อุปสรรค: ความคิดเห็นที่แตกต่างกันระหว่างพระสงฆ์ภายในวัดต่อการด�ำเนินโครงการ / กิจกรรมส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมปิด เป็นกิจกรรมเฉพาะกลุ่มคน ช่องว่างทางนโยบาย: การสนับสนุนให้เปลี่ยนพื้นที่วัดเป็นพื้นที่พื้นที่สาธารณะเป็นสิ่งที่ไม่เคยมีนโย บายมาก่อน ปัจจัยด้านการได้มาซึ่งการอนุญาตให้เกิดการใช้พื้นที่เพื่อเป้าหมายเป็นพื้นที่สาธารณะ เป็นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ แบบปัจเจก เนือ่ งจากพืน้ ทีว่ ดั เป็นพืน้ ทีซ่ งึ่ นโยบายแทรกแซงได้ยาก ส่งผลให้การขยาย ผลขึ้นอยู่กับปัจจัยเชิงบุคคลสูง

69


ภาพที่ 3 พื้นที่สาธารณะที่เพิ่มขึ้นในวัดสุทธิวราราม ที่มา: ผู้เขียน

4.) Public space as public facility: ลานกีฬาพัฒน์ 1

ความเป็นมา: เดิมพื้นที่ลานกีฬาพัฒน์ 1 เป็นพื้นที่ป่ารกร้างและแหล่งมั่วสุม เป็นพื้นที่ที่อยู่ภายใต้ ความรับผิดชอบของการเคหะแห่งชาติ จากนัน้ การเคหะแห่งชาติได้สง่ มอบพืน้ ทีใ่ ห้กบั ส�ำนักงานทรัพย์ สินฯ รัชกาลที่9 ได้เล็งเห็นถึงปัญหาและมีความประสงค์จะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพชีวิต ที่ดี มีสุขภาพที่ดี และสร้างชุมชนที่เข้มแข็ง จึงมีพระราชด�ำริให้สร้างพื้นที่ลานกีฬาส�ำหรับคนเมือง แล้วให้ดำ� เนินการท�ำประชาพิจารณ์ความต้องการของชุมชน ส�ำหรับงบประมาณช่วงเริ่มต้นโครงการ มาจาก 2 ส่วนคือ 1).งบประมาณจากสนง.ทรัพย์สินฯ และ 2).เงินบริจาค นอกจากนี้ยังมี สสส. ได้เข้า มาดูแลเรือ่ งการออกแบบและผลักดันการมีสว่ นร่วมของชุมชน ขณะทีก่ ารออกแบบพืน้ ทีล่ านกีฬา ได้ ด�ำเนินการโดยสถาบันอาศรมศิลป์ ร่วมกับบริษัท ฉมาโซเอ็น และด�ำเนินการก่อสร้างโดยบริษัท อิตาเลียน-ไทย กลไกการขับเคลื่อน: ภายหลังจากเกิดลานกีฬาพัฒน์ 1 แล้ว ทางส�ำนักราชเลขาธิการได้เล็งเห็นถึง ความส�ำคัญของชุมชน ต้องการให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการพื้นที่ จึงชักชวนให้ สถาบันอาศรมศิลป์เข้ามาร่วมพูดคุยและให้ความรูก้ บั ชุมชน จนน�ำไปสูก่ ารจัดตัง้ คณะกรรมการชุมชน ขึน้ มาเพือ่ ช่วยกันดูแลชุมชน ขณะเดียวกันคณะกรรมการชุมชนดังกล่าวก็เป็นตัวแทนของชุมชนเข้าไป อยู่ในคณะท�ำงานของส�ำนักงานเขตบางกะปิ ซึ่งทางชุมชนจะต้องจัดท�ำแผนพัฒนาชุมชนรายปี โดย เสนอต่อ 2 ส่วนคือ แผนพัฒนาชุมชนที่แจ้งให้ส�ำนักงานเขตฯทราบ และแผนพัฒนาชุมชนที่เสนอ สถาบันอาศรมศิลป์เพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ ขัน้ ตอนและกระบวนการ: ส�ำหรับการด�ำเนินงานส่วนใหญ่ได้รบั การสนับสนุนงบประมาณจากสถาบัน อาศรมศิลป์ ซึ่งสถาบันอาศรมศิลป์ได้รับการสนับสนุนงบประมาณอีกทอดหนึ่งจาก สสส. นอกจากนี้ ยังมีการกีฬาแห่งประเทศไทย เข้ามาให้การสนับสนุนจัดซื้ออุปกรณ์การกีฬาให้กับชุมชน ขณะที่ส�ำนักงานเขตบางกะปิ เข้ามาดูแลบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานไฟฟ้า-ประปา-การ จัดการขยะ-จัดส่งเจ้าหน้าที่รปภ.เข้ามาดูแลพื้นที่ลานกีฬาพัฒน์ 1 แต่ก็พบปัญหาเรื่องงบประมาณ ของส�ำนักงานเขตฯ ไม่เพียงพอที่จะจัดสรรลงในแผนงบประมาณ อีกทั้งพื้นที่ลานกีฬาพัฒน์ 1 ไม่ใช่ พื้นที่ของกทม.โดยตรง ดังนั้นการซ่อมแซมบ�ำรุงและบริหารจัดการจึงต้องด�ำเนินการโดยชุมชนเอง ชุมชนรับเหมา/จิตอาสาซ่อมแซมกันเอง ส�ำหรับกิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ ในลานกีฬาพัฒน์ 1 มีหลายกิจกรรม เช่น การออกก�ำลังกายโดยใช้ผ้าขาวม้า มวยไทย กิจกรรมดนตรีในสวน กีฬาผู้สูงอายุ ฟุตบอล/ฟุต ซอล เปตอง โยคะ ซึ่งในแต่ละกิจกรรมก็จะมีจิตอาสาจากในชุมชนมาเป็นผู้สอน ปัจจัยความส�ำเร็จ: เนื่องจากเป็นโครงการที่สนับสนุนโดยราชเลขาธิการ ยังผลให้เกิดการสานต่อของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง / เกิดจากความต้องการและการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน และเกิดการเปิดให้ มีการมีส่วนร่วม อีกทั้งยังมีกลไกรับรองบทบาทของชุมชนในการบริหารจัดการพื้นที่ โดยไม่ใช่การ บริการโดยรัฐแต่ถ่ายเดียว

70


ข้อจ�ำกัด / อุปสรรค: - ปัญหาเรื่องงบประมาณ : ชุมชนยังไม่มีงบประมาณเพื่อใช้ส�ำหรับการบริหารจัดการพื้นที่ที่เป็นรูปธรรม ยังไม่มีการจัดตั้งกองทุนของชุมชนเอง จึงท�ำให้การด�ำเนินงาน/กิจกรรมต่างๆ ต้องรอรับงบประมาณจาก หน่วยงาน - ปัญหาโครงสร้างงบประมาณของกทม. : เนื่องจากพื้นที่ลานกีฬาพัฒน์ 1 ไม่ใช่พื้นที่ของกทม.โดยตรง ท�ำให้มีปัญหาเรื่องการจัดสรรงบประมาณเพื่อการซ่อมบ�ำรุงพื้นที่ การเสนอแผน/กิจกรรมของชุมชนจะ ต้องถูกผลักเข้าไปอยูใ่ นแผนของส�ำนักงานเขตฯ จึงจะได้รบั การสนับสนุน แต่แผนดังกล่าวก็เป็นเพียงแผน ในระดับเขตพื้นที่เท่านั้น ไม่ใช่แผนของกทม.โดยตรง ดังนั้นเมื่อเขตพื้นที่รับแผนแล้วเสนอแผน/กิจกรรม ของชุมชนต่อไปยังกทม. ก็อาจถูกปฏิเสธหรือสนับสนุนแผนดังกล่าวก็ได้ (ซึง่ ในความเป็นจริงแล้วกทม.ควร ที่จะให้อ�ำนาจเขตในการตัดสินใจ) - ปัญหาการใช้พนื้ ทีส่ าธารณะร่วมกัน : บริเวณโดยรอบลานกีฬาพัฒน์ 1 มีพนื้ ทีส่ าธารณะหลายแห่ง พืน้ ที่ แต่ละแห่งอยู่ภายใต้การดูแลของหน่วยงานภาครัฐคนละหน่วยงาน ซึ่งหากจะใช้พื้นที่ร่วมกันจะต้องท�ำ หนังสือขออนุญาต ช่องว่างทางนโยบาย: การเกิดขึน้ ของพืน้ ทีเ่ ป็นสิง่ ทีเ่ ฉพาะกรณี สะท้อนให้เห็นว่ากลไกระดับนโยบายทัง้ รับชาติและระดับท้องถิน่ ยังขาดการสนับสนุนให้เกิดพื้นที่เหล่านี้ ทั้งด้านการส่งเสริมและการวางแผน

ภาพที่ 4 กระบวนการสร้างโปรแกรมของลานกีฬาพัฒน์ 1 โดยเน้นการมีส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้เสีย ที่มา: สถาบันอาศรมศิลป์

71


72

องค์ประกอบ

Software - การจัดกิจกรรมประจำ�ปี Art&Music / วันพ่อ / วันปีใหม่ / วันเด็ก

จัดตั้งคณะกรรมในการ ออกแบบสนามกีฬา

จัดทำ�คู่มือถอดบทเรียน

สร้างเครือข่ายวัดที่ต้องการ การพัฒนาพื้นที่ให้มีความสัป ปายะมากขึ้น

กลุ่มภาคเอกชน และภาครัฐ

เทศบาลนคร พิษณุโลก

นายกเทศมนตรี เทศบาลบางแสน

บุคคลสำ�คัญ

ข้อจำ�กัดของเจ้าของโครงการไม่ สามารถทำ�ได้เยอะ

อำ�นาจที่มีจำ�กัดของเทศบาล และวัตถุประสงค์ขององค์กร ทำ�ให้ไม่สามารถพัฒนาพื้นที่ สาธารณะได้อย่างเต็มที่

ขาดพื้นที่สาธารณะเนื่องจากถูก จับจองไปด้วยภาคเอกชนส่วน พื้นที่รัฐก็ไม่สามารถทำ�เรื่องขอ มาพัฒนาได้

ขั้นตอนในการของบประมาณมี ความซับซ้อน

ปัญหา/อุปสรรค

ต้องการพัฒนาภาพลักษณ์ ของวัด งบประมาณในการบริหาร โครงการ

เชื่อมความสัมพันธ์ของชุมชน ข้อจำ�กัดเรื่องเงินและนโยบาย ด้วยกีฬาพัฒนาศักยภาพทั้ง งบประมาณในการดูแลสวน ทางกายและทางใจ

เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่ชุมชน มีส่วนร่วม

เทศบาลต้องการผลักดัน เรื่องสภาพความเป็นอยู่ของ คนในเทศบาล จึงมีเป้าหมาย พัฒนาพื้นที่สาธารณะและ สุขภาพของคนในเทศบาล

กระตุ้นเศรษฐกิจโดยการ ดึงดูดนักท่องเที่ยวผ่าน กิจกรรมกีฬาและการท่อง เที่ยว

แรงกระตุ้น

สสส. / อาศรมศิลป์ / เครือข่ายพุทธ การสร้างพื้นที่สัปปายะสถาน เพื่อให้คนเปลี่ยนมุมมอง ศาสนา / กลุ่มผู้ Software - พัฒนากิจกรรมในวัดให้มีความเหมาะสมกับ เกี ่ยวกับวัด และเข้าวัดมาก ออกแบบ / วัด ยุคสมัยมากขึ้น และดึงดูดคนให้เข้าวัด ขึ้น (พัฒนาพุทธศาสนา)

จัดตั้งกลุ่มเครือข่ายของทีม Hardware – พัฒนาพื้นที่ให้มีความเป็นสัปปายะสถาน งานออกแบบและวิชาชีพต่างๆ เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม

Hardware - การจัดพื้นที่ตามความต้องการของคนใน ชุมชนผ่านกระบวนการ การมีส่วนร่วม การสร้างพื้นที่สุข ภาวะให้กับชุมชน

Software - จัดให้มีพื้นที่สาธารณะหลากหลายประเภท เพื่อกระตุ้นให้คนออกมาใช้พื้นที่สาธารณะ เช่น ทาง จักรยาน สวน ห้องสมุด และศูนย์การเรียนรู้

ทำ�เส้นทางจักรยาน

Hardware จัดปฏิรูปที่ดินให้มีความเหมาะสมมากขึ้น เพิ่มพื้นที่สาธารณะ ให้กับคนเมือง เช่น ริมแม่น้ำ�น่าน (สวนชมน่าน) และสวนเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว เฉลิมพระชนมพรรษา

Software -จัดกิจกรรมที่กระตุ้นเศรษฐกิจในเชิงกีฬา เช่น การวิ่งมาราธอน ไตรกีฬา การแข่งรถ เพื่อปลูกฝังให้ คนในพื้นที่รักการออกกำ�ลังกาย

การปรับพื้นที่บนลานริมทะเลให้เหมาะสมกับการออก กำ�ลังกายในพื้นที่

มีการจัดตั้งกลุ่มผู้ดูแลลาน กีฬา

ใช้อำ�นาจของเทศบาลในการ สร้างพื้นที่สาธารณะ

มีแนวทางการพัฒนาพื้นที่ ชัดเจน การท่องเที่ยว+กีฬา เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ

จัดให้มีกลุ่มเครือข่ายผู้ใช้พื้นที่ Hardware จัดพื้นที่ให้เหมาะสมกับกิจกรรมของนักท่อง สาธารณะ เที่ยว และชุมชน เช่นการจัดพื้นที่ริมหาด

สิ่งที่เกิดขึ้น

ตารางที่ 1 สรุปภาพรวมของกลไกการก่อเกิดพื้นที่สาธารณะที่ดี

วัดบันดาลใจ

ลานกีฬา พัฒน์ 1

เทศบาลนคร พิษณุโลก

บางแสน

สถานที่

การหาอาสาสมัครมาร่วมทำ� โครงการ

การดึงคนเข้ามามีส่วนร่วมในการ บริหารต้องการกลุ่มผู้ไม่แสวงหา ผลกำ�ไร

เงินในการจัดกิจกรรมไม่สามารถ หาเองได้ ต้องรับการสนับสนุน จากภาครัฐ

การพัฒนาบางโครงการของ เทศบาลทำ�แล้วไม่ประสบความ สำ�เร็จ เนื่องจากพัฒนาจากฝั่งผู้ บริหารด้านเดียว

มีคนบ่น เพราะเน้นพัฒนาการท่อง เที่ยวมากเกินไป จนลืมคนในพื้นที่

ผู้ได้รับผลกระทบทางลบ

ถ้าสามารถพัฒนาเป็นเครื่อง มือในการออกแบบได้ จะช่วย พัฒนาวัดได้มาก

เป็นต้นแบบพื้นที่ในการพัฒนา พื้นที่ที่มีการใช้กระบวนการมี ส่วนร่วมจากหลายภาคส่วน

การพัฒนาพื้นที่สาธารณะ ของ เทศบาลประสบความสำ�เร็จค่อน ข้างดี ทำ�ให้การพัฒนาพื้นที่ใน อนาคตได้รับความเชื่อถือจาก คนในพื้นที่

มีพื้นที่รัฐหลายแปลงริมหาด ถ้าสามารถนำ�มางานได้ ก็จะ สามารถพัฒนาพื้นที่สาธารณะ เพื่อประโยชน์ของประชาชนใน พื้นที่ได้

ความเป็นไปได้


จากการรวบรวมข้อมูลกรณีศึกษาในลักษณะ Good Practice จากเอกสารต่างๆในต่าง ประเทศ และการเก็บข้อมูลและติดตามผลลัพธ์ของพืน้ ทีส่ าธารณะทัง้ 4 กรณีศกึ ษา โดยสอบถามและ ประเมินจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนข้อมูลที่ได้จากการแลกเปลี่ยนของผู้มีส่วนได้เสียในเวที สาธารณะ และการประชุมกลุ่มย่อย 4 ครั้ง ผู้เขียนพบประเด็นและองค์ประกอบส�ำคัญในการก่อรูป พื้นที่สาธารณะที่ดี โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1) ปณิธานระดับนโยบาย/หน่วยงาน จุดเริ่มต้นของกรณี ศึกษาทีด่ ที งั้ หมดล้วนแต่เกิดจากความริเริม่ ของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องทีม่ อี ำ� นาจในการสร้างและบริหาร จัดการพืน้ ทีส่ าธารณะ โดยเฉพาะจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ 2) การได้มาซึง่ ทีด่ นิ เพือ่ ใช้เป็นพืน้ ที่ สาธารณะ เป็นข้อจ�ำกัดใหญ่ทสี่ ำ� คัญในการเพิม่ โอกาสให้เกิดพืน้ ทีส่ าธารณะ ภายใต้ประเด็นนีพ้ บว่า พื้นที่สาธารณะที่ส�ำคัญในลักษณะนี้คือ พื้นที่ทางสัญจร และพื้นที่เปิดโล่งสาธารณะ บาทวิถี ตรอก ซอย ทางจักรยาน ริมน�้ำ ชายหาด พื้นที่รกร้าง หากมีกลไกที่ (1) ให้อ�ำนาจองค์กรปกครองส่วนท้อง ถิ่นในการดูแลและส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมสาธารณะในพื้นที่ และ (2) สร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานทั้ง รัฐและเอกชนอนุญาตให้ใช้พนื้ ทีเ่ พือ่ ประโยชน์ในกิจกรรมสาธารณะ ก็จะสามารถเกิดทางเลือกในการ ได้พนื้ ทีส่ าธารณะได้มากขึน้ 3) วิธกี ารก�ำหนดกิจกรรมทีเ่ น้นการมีสว่ นร่วมแบบปรึกษาหารือ จากกรณี ศึกษาพบว่าเงือนไขหนึ่งที่ท�ำให้เกิดผลลัพธ์ในเชิงโปรแกรมที่เหมาะสมของการก�ำหนดกิจกรรมบน พืน้ ทีส่ าธารณะนัน้ จ�ำเป็นต้องมีการเอือ้ ให้เกิดการมีสว่ นร่วมของผูม้ สี ว่ นได้เสีย เพือ่ ให้พนื้ ทีต่ อบสนอง ต่อความต้องการทีแ่ ท้จริง ดังนัน้ ควรจะต้องมีกลไกทีเ่ อือ้ ให้เกิดการได้มาซึง่ โปรแกรมทีเ่ หมาะสม โดย อาศัยองค์ประกอบอย่างน้อย 3 ฝ่าย ได้แก่ ภาครัฐ/ท้องถิน่ /เจ้าของทรัพยากรทีด่ นิ ประชาคมผูไ้ ด้-เสีย ประโยชน์ในกิจกรรมบนพื้นที่สาธารณะ และภาควิชาการ/ผู้เชี่ยวชาญในสายวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง 4) กระบวนการทีท่ ำ� ให้เกิดพืน้ ทีส่ าธารณะทีด่ ี กระบวนการสร้างเนือ้ หาของกิจกรรมทีด่ ขี องพืน้ ทีส่ าธารณะ ควรเป็นกระบวนการที่เปิดกว้าง และให้พื้นที่แก่ผู้มีส่วนได้เสีย ได้แสดงความคิดเห็น ความต้องการ นอกจากนี้ยังรวมถึงการสร้างขั้นตอนทางเทคนิค อาทิ การจัดซื้อจัดจ้าง การได้มาซึ่งโปรแกรม การ สร้างกลไกร่วมระหว่างหน่วยงานท้องถิ่น ประชาคม และสถาบันการศึกษาในพื้นที่ และ 5) การสร้าง ระบบกลไกในบริการจัดการพื้นที่สาธารณะ ลักษณะที่ด�ำรงอยู่ของการจัดการพื้นที่สาธารณะเป็น บทบาทของรัฐแต่ถา่ ยเดียว ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั วิสยั ทัศน์ของผูน้ ำ� ท้องถิน่ หากมีการจัดตัง้ คณะกรรมการร่วม กับหลายฝ่ายเพื่อเอื้ออ�ำนวยให้เกิดการจัดการร่วมกันของคนในพื้นที่

บรรณานุกรม Lee, A., C. and Raheswaran, M. (2011) The health benefits of urban green spaces: A review of the evidence. Journal of Public Health 33(2): 212-222. Madanipour, A. (2018) Temporary Use of Space: Urban Processes between Flexibility, Opportunity and Precarity. Urban Studies. 55(5): 1093-1110. World Health Organization. Health Promotion Glossary, 1998. UN-Habitat. Global Public Space Toolkit. 2015 ไชยยันตร์ กัมปนาทแสนยากร. 2538. เมืองน่าอยู่ (Healthy Cities) . กรุงเทพมหานคร : รุ่งเรืองสาส์น การพิมพ์ สำ�นักการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. โครงการส่งเสริมท้องถิ่นสู่สังคมสีเขียว.กระทรวง ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม, 2559 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และมูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย. คู่มือประเมินเทศบาลน่าอยู่อย่างยั่งยืน. พ.ศ. 2555. (Online). http://www.tei.or.th/w_lc/Municipal

73


Co-Creating Public Space: Attitude, Process, and Opportunity Assistant Professor Nattawut Usavagovitwong, Ph.D. School of Architecture, Sripatum University / attawutu@gmail.com

Abstract

Public space is one of the crucial elements of the United Nations’ Sustainable Development Goals (SDGs). In the past, and

within the context of Thailand, the creation of public space for the urban population has met with numerous limitations. The state, as the provider, often associates the provision of public space with state-owned lands, causing major difficulties in the development of public space. This essay is written to reflect the process in which public spaces are created through the use of four different case studies, each exemplifying the creative processes behind quality public spaces. These processes enable the development of efficient functionality and the formation of public space programs, changing two aspects of how a public space is typically viewed: 1) from inflexible to a more fluid public space, and 2) from determining the results of the space’s usability to focusing on the development of a quality program achieved through a co-creation process. The factors that contribute to the creation of a quality public space encompass: 1) resolution at the policy making stage / organizational level, 2) the acquisition of land to be developed into a public space, 3) activities highlighting the importance of participatory and brainstorming processes, 4) an inclusive process devised for the development of quality public space, and 5) the creation of public space management mechanisms.

Introduction: The Importance of Co-Creating Public Space

and well-being. This research reveals empirical results that reflect

e.g., exercise), 2) mental health and quality of life (e.g., positive

Facilitating the development of public spaces is one of

the important elements of a good city. Public spaces do not only enable a better quality of life for its residents, but they also help accommodate the diverse demands of urban living. A good city prioritizes the well-being of its inhabitants and works to enhance livability. UN-Habitat’s Global Public Space Toolkit (2015) outlines the basic principles of quality urban public spaces. They combine efficient urban planning with well-designed and managed public spaces under the following principles: 1) a space that enhances livability and accommodates a vast array of activities, referring to a city’s ability to facilitate diverse public

the beneficial effects of quality public space on human health and well-being, ranging from 1) physical health (direct results, interactions between members of a community taking place within a loosely constructed small social system), 3) social and economic benefits (e.g., increased opportunity for low income earners to have equal access to physical activities), and 4) environmental benefits (e.g., improved balance between natural and built environment). The findings illustrate the tangible benefits of quality urban public spaces and their significant impacts on the well-being of urban inhabitants (Lee and Maheswaran, 2011: 212-222).

activities, encouraging people’s interactions through their use

1) Within the context of Thailand, land ownership is

of public spaces. 2) Sufficient and adequate provision of public

one of the major limitations and obstacles that prevents the

spaces that facilitate public transport, encourage walking, par-

development of public space. However, if public space were to

ticularly in the inner city areas and commercial districts, in-

be viewed as a fluid space that does not restrict itself to a

cluding the areas where the transit between urban spaces,

specific type of program, being adjustable to the varying na-

public transport systems, and public facilities takes place 3) a

tures of human activities and times, the number of public

space accessed by all, referring to the city’s ability to increase

spaces could actually be increased (Madanipour,.2018: 1093-

the chance for every member of the society, despite different

1110). To create a quality urban public space, the emphasis

economic status, to have equal and free access to public spaces.

should not be put only on the possession and acquisition of land, but also on shifting roles and attitudes to be based more

The review of 87 published research studies in interna-

on public interests and the benefits in which public space is

tional academic journals between 1990 and 2010 finds that there

able to offer. This could lead to the kind of dialogue that enables

is a connection between quality public space and human health

the tangible birth and development of public spaces.

74


This article presents the synthesis of the fieldwork

commercial spaces, collectively corresponding with the activi-

studies of Tai Yai Vernacular Architecture (Rawiwan Oranrat-

ties of different groups of users that vary at different times of

namee and Chaowalit Saicharoent, 2014: Rawiwan Oranrat-

day.

manee, 2015). The studies focus on vernacular architectures of

Driving mechanism: The municipality served as the key actor.

Tai Yai, a large and long-existing ethnic group with an expansive

Developed from the municipality’s intention, policies were

area of settlement in upper Southeast Asia, Southern China and

implemented to improve the quality of public spaces and people’s

Northeastern India. The continuing studies have been conducted

lives, following the ‘wellness city’ concept. The mechanism works

from 2011 to present with three fieldworks done outside of

in the form of annual development plans, while the stability of

Thailand in Tai Yai’s settlement in India (the area around the

local administration enables tangible and consistent develop-

basin of Brahmaputra river in Assam and Arunachal Pradesh),

ment of the city’s public spaces to take place.

Myanmar (Shan State) and China (Dehong Autonomous

Steps and process: Designed by the municipality’s in-house

Prefecture). The article features some of the lessons acquired

architect using the welfare approach, the process requires the

from the fieldworks carried out in Myanmar and India from the

municipality to study and develop the design and program.

rules in orientation, composition, size, and scale including

The process highlights the role of professional experts as the

structural and construction systems, which can be applied to

key contributor rather than adopting the participatory process.

modern architectural design.

Factors for success: The determination and visions expressed

Thailand: A Case Study

through the formulated and implemented policies were to

urban environment, the stability of the municipal administra-

Presented in this essay, through 4 different case studies,

bring better quality of life through the improved quality of the

are a number of opportunities that enabled the creation of

tion, and the ability to deliver efficient management.

public spaces. Each case study was chosen to represent a differ-

Limitations/Obstacles: The municipality’s increased financial

ent type of public space. The birth of these public spaces is re-

burdens as a result of the growing number of public spaces.

flected through the varying urban contexts, conditions/elements,

Policy loopholes: The inability to develop a long-term and

structures, as well as attitudes, opportunities, co-creation process

collective plan for the physical condition of the public park

achieved through design and participation of stakeholders,

due to the limitations of land acquisition

including the formulation of a sustainable management system. Also presented in this essay are 4 dimensions of change 1) driving mechanism 2) steps and process 3) factors for success 4) limitations/obstacles. A discussion is made using the results of well-designed and managed urban public spaces created without any support from implemented governmental policies. The details are as follows:

1.) Public Space as Street: The Public Space along Nan River in Phitsanulok Municipality Background: The Phitsanulok Municipality’s goals and policies were initially developed with the determination to improve the quality of life of its people. One of the approaches identified to lead to the achievement of such improvement was the creation of public space. The municipality put an emphasis on the development of riverfront land along the two sides of Nan River into a public park, accommodating both recreational areas and

Image 1: Meeting with the executive officers of Phitsanulok Municipality and the city’s public space facilities. Source: Author

activities. The four-kilometer-long public space houses running lanes, recreational grounds, aerobic facilities and riverfront

75


2.) Public Space as Open Space: Bang Saen Beach

Limitations/Obstacles: The process involves little participation

Background: Saen Suk Municipality implemented a policy

into public space.

aiming to reregulate Bang Saen Beach in order to grant everyone equal and free access to the town’s public space. Other facilities were added to the program as a part of the municipality’s attempt to develop Bang Saen into a sports activity town, hoping to welcome sports-related events such as marathons and car races. The public spaces are designed to correspond with the prospec-

from stakeholders with assigned experts still working as the key contributor, and a limited amount of land that can be developed Policy loopholes: The process was carried out without thoroughly including the participation of other stakeholders in the development of the program, such as senior citizens and the disabled population, while the highlight was put primarily on outside visitors and the local economy.

tive activities with a program that is flexible to and enhances different economic activities. Driving mechanism: The municipality serves as the key actor with resolutions and policies implemented to improve the quality of public spaces and people’s lives under the ‘wellness city’ concept. The mechanism works in the top-down process, however, the design and development of public space requires two different parts of the mechanism: the top and the bottom. To successfully develop and create a quality public space, the top and bottom part of the structure need to correspond well with each other. Steps and process: The beginning of the development of Bang Saen beach into a free, equally accessible and quality public space was made possible by the collaboration and support of several sectors from architects, the private sector, and Bang Saen Municipality, etc. Further study was carried out by developing the policies into a tangible action plan, which encompasses possible adjustments for the area to better resonate with the locals’ demands. Through a participatory approach, representatives from different sectors such as community leaders, members of the local community, etc. were actively involved in the design development process. The top-down approach where policies are implemented into the development of public spaces hopes to find a solution which allows everyone to have equal and free access to the town’s public spaces and facilities, promoting the city’s beach as a local attraction with a variety of activities.

Image 2: Public spaces in Bang Saen Municipality Source: Author

3.) Public Space as Public Facility: Wat Bandan Jai Background: The Sutthi Temple model is the starting point of a concept emerging within public space development in Thailand. It involves an integration of physical spaces and activities of local temples to the way of life of local communities. The abbot who oversaw the policies and operation of Sutthi Wararam Temple during 2012 initiated the idea of integrating the temple’s physical space and activities as a part of the local community with the hope of developing the religious institution in a way that contributes to the best interest for the society. The intention later led the temple to join the Wat Bandan Jai project. The project was initiated back in 2014 from a developmental concept aiming to improve temples into wellness spaces, providing services that bring joy to the people who use them. The concept also expands the role of the temples into a local community center, with the area inside the temple refurbished to serve as one of the city’s quality public and wellness spaces.

76


Driving mechanism: As one of the temples that joined the Wat

Limitations/obstacles: Difference of opinions between the

Bandan Jai project, Sutthi Wararam Temple has developed its

monks who oversee the project’s operations and activities, re-

physical space into an urban public space. The landscape was

sulting in most of the activities being made available to only

improved to accommodate more green spaces, while the unused

specific groups of people.

buildings were demolished to increase the capacity of public

Policy loopholes: The implementation of a policy that turns the

activity on the grounds. The space of the temple’s pavilion was

temple’s space into a public space is an unprecedented move

also readjusted to better suit the lifestyle of urban inhabitants.

made possible through the approval of one individual person

It serves as a multifunctional space that attracts diverse groups

or institution. Not only that, temples are the type of space where

of users to participate in activities and make the best use out of

the policy making process rarely allows participation or involve-

the public space together. Different activities were curated, in-

ment of outsiders, causing the future development to rely too

cluding the refurbishment of the chapel into a space that exhib-

heavily on individual factors.

its beautiful religious paintings and hosts religious activities. The temple hosts less conventional activities such as cinema screening, which took place inside of the chapel. It also houses a community learning center, a temple children’s café, and multifunctional meeting and reception rooms. The management of the space is carried out by the temple’s staff and monks, who oversee the permission to use the temple’s meeting or reception rooms, as well as other spaces to organize activities. The staffs’ responsibility includes management of parking space. The main reason that the temple took the management of these public spaces under its control, with the help of assigned staff and members of the local community, was an attempt to prevent outsiders from taking advantage of the temple’s operations and activities. Steps and process: The Wat Bandan Jai project relies on collaboration between different sectors and agencies, such as Arsom Silp, Buddhadasa Indapanno Archives, and other networks. The project is operated through the budget granted by the Thai Health Promotion Foundation. It follows the goal of improving temples’ physical spaces into public spaces that accommodate social activities for people, both inside and outside of the local community, to use, meet and exchange knowledge. The development of the temples’ physical spaces is carried out with the support from the architecture and design community. There are currently 9 temples that have joined the Wat Bandan Jai project (Sutthi Wararam Temple, Nangsheshotikaram Temple, Chonlaprathan Rang Srit Temple, Saket Ratcha Wora Maha Wihan Temple, Phra Singha Wora Maha Wihan Temple, Pa Non Gud Lhom Temple, Sri Tawee Temple and Mahachulalongkornrajavidyalaya University. Factors for success: The roles and leadership of individuals who contribute to development, such as the abbot, contextual factors such as educational institutions and other supporting agencies,

4.) Public Space as Public Facility: Path 1 Sporting Ground Background: Originally a deserted area which frequently housed suspicious activities, the area was given to The Crown Property Bureau under the supervision of the National Housing Authority. King Rama 9, foreseeing the problems and wishing to help improve the quality of life and well-being of the people in the area, especially the young population, and the strength of the local community, suggested the idea of turning the area into an urban sporting ground. A public hearing was conducted to take into consideration opinions and demands from members of the local community. The project was initially funded by 1) The Crown Property Bureau, and 2) donations. The Thai Health Promotion Foundation has been overseeing the design and

and how the operations are carried out in multiple areas, resulting in a tangible and widespread change.

77


public participation process. The design of the sporting ground

facilitate the project’s operations/activities, causing the funding

was carried out under the supervision of Arsom Silp Institute

to come solely from the authority

and SHMAA Soen Company Limited, and Italian-Thai Com-

- Problems concerning Bangkok Metropolitan’s budget struc-

pany was responsible for the construction.

ture: The area is not directly owned by the Bangkok Metropol-

Driving mechanism: After the sporting ground was completed,

itan Office, resulting in unresolved maintenance problems.

the Office of His Majesty’s Principal Private Secretary, having

The presentation of proposals/activities by the community must

realized the importance of the local community, acknowledged

be included in the district office’s development plan in order to

the role of the community in the management of the public

receive funding. Due to the plan being designed and implement-

space. The Arsom Silp Institute was invited to give a talk and

ed by the local authority, not Bangkok Metropolitan’s develop-

educate members of the local community. Representatives who

ment plan, problems stem whereas the proposals are denied by

are members of the local community were invited to be on a

the Bangkok Metropolitan Office (the power of decision should

working committee of Bang Kapi District Office. The commu-

be given to the district office).

nity is required to create an annual community development

- Sharing public spaces: The area surrounding the sporting

plan, which is presented to the District Office, and Arsom Silp

ground houses a number of public spaces, each operated under

Institute, for funding.

the supervision of different governmental agencies. To use these

Steps and processes: Most of the operations are funded by Arsom

spaces collectively, letters need to be submitted in order for each

Silp Institute, which receives financial support from the Thai

agency to grant its approval to use the space under their respon-

Health Promotion Foundation, with the Sports Authority of

sibility.

Thailand providing additional support in the form of sports

Policy Loopholes: With the very specific nature of its conception,

equipment.

the project reflects the lack of support in national and local

While Bang Kapi District Office is overseeing the management

policies for proper promotion or planning of this type of public

of the project’s public utility systems, such as electricity, water,

space to be created.

and waste management, as well as the provision of security services, an insufficient budget has led to problems preventing new development from being included in the budget plan. Additionally, because the space inside the sporting ground does not directly belong to the Bangkok Metropolitan Administration, the maintenance has to be carried out by the community members themselves (local contractors/volunteer individuals). The activities that take place inside the sporting ground range from loin cloth exercise, Thai boxing, music in the garden, senior sports activities, football/futsal, petanque, and yoga, with local community volunteers taking turns in providing instructions for different types of activity. Factors for success: The project being supported by His Majesty’s Principal Private Secretary attracts involvement and support from other related agencies, and the project was conceived from people’s demands and participation in the development of the public space. A mechanism was created to accommodate the role of community in the management of the space, instead of waiting for the services and support from the state. Limitations/Obstacles: -Budget: The community still lacks sufficient financial support that would allow the space to be properly managed and sustained. There hasn’t been a community fund set up to better

78

Image 4 : The development of the design and program of Path 1 Sporting Ground is carried out with an emphasis being put on the participation from all stakeholders. Source: Arsom Silp Foundation


79

Hardware – Develop the space with comfortable environment to best accommodate dharma practice activities.

Organize a network of designers and people from different professions

Create lesson learned guidelines

Software - Develop new activities that are more contemporary to attract more people into the space.

Software – Organize annual activities, such as Art&Music /Father’s Day, Children’s Day

Setting up a committee for the design development of the sporting ground

Develop a network of temples that wish to develop their private spaces to accommodate more public activities.

Hardware – Create a space according to the need of members of the local community though a participatory process, ultimately improve people’s well-being

Software – Create and encourage people to use different types of public spaces such as library, bicycle route, public park, learning center

Bicycle routes

Hardware – Redesigning the program to provide more riverfront public spaces such as Chom Nan Park and Chaloem Phra Kiat Public Park

Organizing a group of staff to oversee the management of the sporting ground.

The use of the municipality’s authority to create public space

Readjust the landscape of the beachfront ground to accommodate daily workout activities

A clear development trajectory encompassing tourism + sports, aiming for economic development

Software - Organize sports-related activities to boost the local economy, such as marathons and car races. Promoting the importance of exercise among locals

Physical Design and Programing Prepare the space to accommodate both tourists and local community’s activities, such as the management of the beach area.

Elements

A network of public space users

Outcomes

Thai Health Promotion Foundation/ Arsom Silp / Buddhism Network / Designer’s Network/ temples

Agencies and organizations in private and governmental sector

Phitsanulok Municipality

Mayor of Bang Saen Municipality

Key Actor

Develop public space inside of the temple’s perimeter to have comfortable environment to change people’s perception towards Buddhist temples / attract more crowd to the temple (promoting Buddhism)

Improve the image of Buddhist temples

Using sports to strengthen the relationship between members of the community, as well as people’s physical and mental health

Increase the number of public spaces that engages the participation of the local community

The municipality pushed forward the concern over the well-being of its population, leading to the development of public spaces for improvement of people’s health.

Stimulate local economy by attracting tourists through tourism and sports related activities

Motivation

Table1 A summary of mechanisms contributing to the creation of quality public spaces

Wat Bandan Jai

Path 1 Sporting Ground

Phitsanulok Municipality

Bang Saen

Location

Bringing people with no hidden agendas to help with the management of the space. Limitations concerning financial support and policies/lack of budget to maintain the public garden

Finding volunteers to help with the project

Unable to find funding for activities / relying too much on support from the government

The limitations of the owner prevents further development from happening.

Budget needed for the management of the project.

Some of the projects were unsuccessful due to the one-sided development carried out by the municipality

Complaints over the overly tourist-oriented development / locals feel neglected

Negative Impacts

The municipality’s limited authority and some of the objectives prevent public spaces from being fully developed.

Lack of public space due to private land ownership/ unable to proceed with the development of stateowned lands

Complicated budget inquiry process

Problems/Obstacles

An actual design tool developed from this process can help with the future development of Buddhist temples.

Serving as a model public space whose development adopts participatory approach that engages contributions from different factors.

The success of the past public space development has earned the municipality confidence from the locals if future projects were to be carried out.

Several state-owned beachfront lands that can be developed into public spaces.

Possibilities


From the gathered information of the case studies,

5)

The development of a mechanism used in the manage-

which are considered ‘good practices’ from different interna-

ment of public spaces (since the existing scenario of public space

tional sources and documents, data collection and follow up on

management has the state carry out all the decisions and tasks).

the results of the four case studies through verbal inquiries and

Visions of local leaders, and the organization of committees that

evaluation conducted by related agencies, as well as information

bring representatives from different sectors, can help facilitate

obtained from the exchanged opinions of stakeholders through

successful, collaborative public space management that is de-

different public platforms, including 4 subgroup meetings, the

veloped and operated by members of a local community in

findings reveal issues and elements crucial to the formation of

which the space is located.

quality urban public spaces as follows: 1)

Resolutions materialized at policy formation stage /

organizational level: The beginning of all the good case studies originates from the initiatives of the related agencies, particularly the local administrative organizations, which possess the authority to create and manage public spaces. 2)

The acquisition of land that is later developed into pub-

lic spaces is considered to be a major limitation that prevents new births of public space. Under this issue, it is also found that the public spaces affected by such limitations are facilities such as traffic routes, open public spaces, pavements, alleyways, streets, bicycle routes, waterfront and beachfront areas, and deserted areas. If there is some type of tool that can (1) grant the local administrative organizations the power to oversee and promote activities in local public spaces, and (2) motivate both private and governmental agencies to allow their properties to be used to accommodate public activities, new alternatives in the creation of public space can be made possible. 3)

The case studies reveal that one of the conditions that

enables the program to render suitable and practical results requires the participation of all stakeholders in its creation, leading to a space that truly fulfills the demands of the users. With the right mechanism, the right program can be facilitated. To achieve this, at least 3 components are required: governmental sector/local community/landowners, stakeholders whose interetss are affected by the activities taking place inside of a public space, and the academic sector/experts in the related professional fields. 4)

The process that enables the birth of a quality public

space should be open, allowing stakeholders to contribute their opinions, demands, etc., enabling activities that bring positive outcomes and benefits. The process also encompasses the technical protocols such as procurement and purchase, development of functional programs, as well as the development of shared mechanisms used by local agencies, civil society and local educational institutes.

80


References Lee, A., C. and Raheswaran, M. (2011) The health benefits of urban green spaces: A review of the evidence. Journal of Public

Health 33(2): 212-222.

Madanipour, A. (2018) Temporary Use of Space: Urban Processes between Flexibility, Opportunity and Precarity. Urban

Studies. 55(5): 1093-1110.

World Health Organization. Health Promotion Glossary, 1998. UN-Habitat. Global Public Space Toolkit. 2015 Kampanartsanyakorn, C. 2538. (Healthy Cities . Bangkok : Rungruengsarn Publishing The Office of People’s Participation Promotion, Department of Environmental Quality Promotion. From Locality to Green

Society Project. Ministry of Natural Resources and Evironment. 2016

Ministry of Natural Resources and Evironment and Thailand Environment Institute. Sustianble Municipality Evaluation

Guidebook. 2012. (Online). http://www.tei.or.th/w_lc/Municipal

81


การออกแบบเมืองและสถาปัตยกรรม ในยุคเศรษฐกิจหมุนเวียน ไมเคิล ปริพล ตั้งตรงจิตร

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี / michael.par@kmutt.ac.th

บทคัดย่อ การออกแบบและพัฒนาเมืองและสถาปัตยกรรมมีความเชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดกับเศรษฐกิจ เมือ่ มีแนวคิดใหม่ดา้ นเศรษฐกิจทีเ่ รียกว่าเศรษฐกิจหมุนเวียนซึง่ เป็นแนวคิดทีไ่ ด้รบั แรงบันดาลใจจาก ระบบนิเวศวิทยาในธรรมชาติซึ่งมุง่ หวังให้เกิดการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนและอย่างมีสมดุล จงึ มีคำ� ถามว่าจะ ต้องมีกรอบคิดใหม่ในงานออกแบบและพัฒนาเมืองและสถาปัตยกรรมอย่างไร เนื่องจากเป็นแนว ความคิดใหม่จงึ ได้ศกึ ษาจากเอกสารต่างๆ ทัง้ ทีว่ า่ ด้วยเศรษฐกิจหมุนเวียน สงิ่ แวดล้อม มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการออกแบบกายภาพ เพือ่ ให้ผลศึกษาสามารถน�ำไปปฏิบตั ิ ได้จริง ยังได้น�ำประสบการณ์การท�ำงานจริงทั้งในระดับเมืองและสถาปัตยกรรมเข้ามาประมวลและ ผนวกกันเพือ่ สร้างกรอบวิธกี ารท�ำงานอันจะเป็นแนวทางในการน�ำไปสูก่ ารขยายตัวของการประยุกต์ ใช้แนวคิดของเศรษฐกิจหมุนเวียนในงานออกแบบและพัฒนาเมืองและสถาปัตยกรรม ผลที่ได้ ประกอบด้วย 9 แนวทางหลักซึ่งจ�ำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายฝ่าย เนื่องจากการพัฒนาอย่างยั่งยืนนั้นไม่สามารถเกิดจากบุคคลใดบุคคลหนึ่ง การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศสมัยใหม่เช่น บิ๊กดาต้า และปัญญาประดิษฐ์จะต้องเข้ามามีบทบาทอย่างมีนัยยะส�ำคัญ คำ�สำ�คัญ: เศรษฐกิจหมุนเวียน มนุษย์เป็นศูนย์กลาง ความยั่งยืน การพัฒนาเชิงพื้นที่ จากเปลสู่เปล

บทนำ� เมืองและสถาปัตยกรรมเป็นสภาพแวดล้อมกายภาพทีม่ นุษย์สร้างขึน้ จากปัจจัยทางชีววิทยา สิง่ แวดล้อม สงั คม และเศรษฐกิจ มนุษย์ตอ้ งการอยูร่ อดซึง่ เป็นมิตทิ างชีววิทยา ภายใต้เงือ่ นไขบริบท ของสิ่งแวดล้อม เพื่อรองรับการอยู่ร่วมกันเป็นสังคม ซึ่งช่วยให้การบริหารจัดการทรัพยากรร่วมกัน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยมีแรงจูงใจจากอิทธิพลเชิงจิตวิทยาและพฤติกรรมที่เรียกว่า เศรษฐกิจ เศรษฐกิจกับการพัฒนาเมืองและสถาปัตยกรรมซึง่ ส่งผลต่อสิง่ แวดล้อมจึงถูกเชือ่ มสัมพันธ์ และส่งอิทธิพลต่อกันและกันอย่างเหนียวแน่น เมื่อแนวคิดของเศรษฐกิจเปลี่ยนไปย่อมส่งผลต่อ แนวทางในการพัฒนาเมืองและสถาปัตยกรรมด้วย ปัจจุบนั แนวคิดของเศรษฐกิจหมุนเวียนได้เข้ามา สู่กระแสคิดร่วมสมัยมากขึ้นเพื่อเป็นทางออกให้กับปัญหาสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม การน�ำ หลักการของระบบนิเวศในธรรมชาติมาเป็นต้นแบบของระบบเศรษฐกิจเป็นจุดเด่นของเศรษฐกิจ หมุนเวียน การต่อโยงกระบวนการย่อยของกระบวนทางเศรษฐกิจที่เคยคิดแบบกระจัดกระจายแยก ส่วนกลับมาจัดระบบร้อยเรียงให้เกิดเป็นวงรอบจะท�ำให้อตั ราการสูญเสียน้อยลงและสร้างโอกาสทาง เศรษฐกิจเพิม่ ขึน้ อย่างมีนยั ยะส�ำคัญ ระบบเศรษฐกิจเช่นนีไ้ ม่ได้มงุ่ มองทีก่ ารเติบโตอย่างเดียว แต่มอง ทีก่ ารหมุนเวียนของทรัพยากรทีไ่ ม่มกี ารสูญเปล่าอย่างสมดุล ลดการท�ำลายสิง่ แวดล้อม และทุกขัน้ ตอน สร้างให้เกิดผลตอบแทนด้านเศรษฐกิจให้กบั แต่ละกลุม่ เป็นการกระจายรายได้และความรับผิดชอบ ต่อสิง่ แวดล้อม การจะเกิดระบบขึน้ มาได้จงึ ต้องเกิดจากการสร้างแพลทฟอร์มในการร่วมไม้รว่ มมือกัน อันเป็นรากฐานของการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ค�ำถามคือการพัฒนาเมืองและสถาปัตยกรรมจะปรับวิธคี ดิ และสร้างกระบวนการท�ำงานอย่างไรเพือ่ ให้สอดคล้องกับแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน โดยเป็นผลจาก การศึกษาเอกสารทางวิชาการผนวกเข้ากับประสบการณ์การท�ำงานโครงการพัฒนาเมือง งานวางผัง และออกแบบสถาปัตยกรรมที่ผ่านมา 82


แม้ว่าหลักการของเศรษฐกิจหมุนเวียนนั้นจะค่อยๆ ถูกพัฒนาขึ้นจากแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ อย่างเช่นเศรษฐกิจมุง่ ผล (performance economy) หรือ เศรษฐกิจสีนำ�้ เงิน (blue economy) แนวคิด ทางชีวเทคโนโลยีและการออกแบบอย่างเช่นชีวะลอกเลียน (biomimicry) ตามที่ ธิเบาท์ วาวเทเล็ท ได้รวบรวมไว้เป็นส่วนหนึ่งของบทความโดยศึกษาจากเอกสารของมูลนิธิเอลเลน แมคอาร์เธอร์ (Wautelet (2018)) ซึ่งเป็นสถาบันหลักสถาบันหนึ่งที่ขับเคลื่อนแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนนี้ หลัก การอันหนึ่งซึ่งเป็นรากฐานส�ำคัญของเศรษฐกิจหมุนเวียน คือหลักการ C2C หรือหลักการ Cradle to Cradle ซึง่ ได้ถกู น�ำเสนอขึน้ โดย วิลเลียม แมคโดนอฟ สถาปนิกทีใ่ ห้ความส�ำคัญเรือ่ งสิง่ แวดล้อม และ ไมเคิล บรอนการ์ทนักเคมี ทั้งสองได้เขียนหนังสือชื่อ Cradle to Cradle ซึ่งวิจารณ์การพัฒนาแบบ ดัง้ เดิมทีม่ องกระบวนการผลิตเป็นเส้นตรง เรียกให้เห็นภาพว่า Cradle to Grave อันหมายถึงจากเปล คือการเกิดไปสูห่ ลุมศพคือการตาย กระบวนการแบบดัง้ เดิมนีเ้ ริม่ จากการหาวัสดุมาเข้ากระบวนการ ผลิตจนเกิดสินค้า สร้างของเสียในกระบวนการผลิตซึง่ ต้องทิง้ ไป เกิดเป็นขยะทัง้ ทีเ่ ป็นพิษ และไม่เป็นพิษ ส่วนผลิตภัณฑ์จากกระบวนการนี้ เมื่อหมดอายุการใช้งานก็จะต้องกลายสภาพเป็นขยะในที่สุด กระบวนการผลิตแบบดั้งเดิมนี้ก�ำลังสร้างปัญหาให้กับโลกอย่างหนัก โดยไม่รู้ตัว สภาพแวดล้อมที่ มนุษย์อาศัยอยู่ก�ำลังค่อยๆ ถูกกร่อนท�ำลาย ซึ่งในท้ายที่สุดจะน�ำไปสู่สภาพแวดล้อมที่มนุษย์ไม่ สามารถด�ำรงชีวติ อยูอ่ ย่างสบายได้อกี ต่อไป การทีจ่ ะปรับเปลีย่ นกระบวนการผลิตเพือ่ จะไม่นำ� ไปถึง จุดจบเช่นนัน้ ตอ้ งเกิดจากการเปลีย่ นกรอบคิด โดยไม่คดิ ถึงการผลิตเพียงกระบวนการเดียวแยกออก จากกันเหมือนเมื่อก่อน แต่คิดกระบวนการผลิตขึ้นหลายกระบวนการเชื่อมโยงกัน ซึ่งสะท้อนอยู่ใน ชือ่ หนังสือด้วยความหมายทีว่ า่ การเกิดของสิง่ หนึง่ น�ำไปสูก่ ารเกิดขึน้ ของอีกสิง่ หนึง่ เป็นทอดๆ ไปจน ครบวงจร การพัฒนาเมืองและสถาปัตยกรรมให้เข้าสู่หลักของเศรษฐกิจหมุนเวียนจ�ำเป็นต้องสอดแทรก หลักคิดของระบบที่เชื่อมโยงกันจนครบเป็นวงรอบ ของเหลือของเสียจากกระบวนการผลิต และเศษ ซากทีห่ มดสภาพจากอายุการใช้งานของสิง่ หนึง่ จะสามารถน�ำไปใช้เป็นวัตถุดบิ ของกระบวนการผลิต อืน่ ได้หลายกระบวนการผลิต และเป็นเช่นนีต้ อ่ เนือ่ งเป็นทอดๆ ไปจนวัตถุนนั้ สามารถเกิดเป็นสิง่ ใหม่ อย่างต่อเนือ่ ง หรือสลายเป็นส่วนหนึง่ ของธรรมชาติ ภายใต้แนวคิดนีจ้ ะท�ำให้เราไม่มสี งิ่ ทีเ่ รียกว่าขยะ ที่สูญเสีย การที่เราใช้ค�ำว่าเศรษฐกิจหมุนเวียนนั้นเนื่องจากทุกทอดของการเกิดกระบวนการผลิตจะ เป็นการสร้างงาน สร้างรายได้ และตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค ท�ำให้เกิดคุณค่า (value generation) หรือคืนวัตถุดิบบางส่วนกลับไปสู่ธรรมชาติโดยไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจใน ลักษณะดังกล่าวไม่ได้มองทีก่ ารเติบโตอย่างเร่งรัดและก้าวกระโดด แต่มองทีก่ ารสร้างการเติบโตทีม่ ี สมดุลแบบมีพลวัตร เป้าหมายของเศรษฐกิจหมุนเวียนคือความยัง่ ยืนทางด้านสิง่ แวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี (Ellen MacArthur Foundation (2012)) การจะท�ำให้เกิดวงรอบหมุนเวียนของการพัฒนาจ�ำเป็นต้องใช้กระบวนการคิดเชิงระบบ โดย ต้องสร้างต้นแบบขึน้ เพือ่ ทดลองหลายครัง้ และมีการท�ำวิจยั ติดตามผลเพือ่ ยืนยันผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ อย่างต่อเนื่อง การพัฒนาในลักษณะเช่นนี้จ�ำเป็นต้องอาศัยการเปลี่ยนแปลงเชิงความคิดของคนใน สังคมด้วย การเชือ่ มโยงกระบวนการต่างๆ จ�ำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือทุกภาคส่วนอย่างกว้างขวาง สังคมจึงต้องสร้างแพลทฟอร์มในการท�ำงานร่วมกัน เป็นการสร้างโอกาสให้มกี ารแบ่งปันข้อมูลความรู้ และทรัพยากรขึ้นมาทีละเล็กละน้อย ระบบที่สร้างขึ้นมานี้ยังต้องสามารถรองรับความหลากหลาย อิสรภาพในการเลือกประกอบการของคนในสังคม ซงึ่ จะน�ำไปสูค่ วามส�ำเร็จในทีส่ ดุ เพือ่ ให้การเติบโต ของเศรษฐกิจหมุนเวียนเกิดขึน้ ได้ชดั เจน ผบู้ ริหารเมืองหรือผูบ้ ริหารโครงการควรตัง้ เป้าว่าจะมีสดั ส่วน ของเศรษฐกิจหมุนเวียนในสัดส่วนเท่าไรในระบบเศรษฐกิจทัง้ หมด แน่นอนว่าการจัดการระบบทีเ่ ป็น เชิงเส้นตรงนั้นง่ายกว่า เพราะผู้เกี่ยวข้องในการจัดการนั้นมีอิสรภาพที่จะจัดการกับกระบวนการของ ตัวเองโดยที่ไม่ต้องไปเกี่ยวข้องกับกระบวนการของผู้ผลิตและออกแบบรายอื่น แต่มนุษย์ก�ำลังต้อง ใช้ชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เกิดจากผลของการมีระบบเช่นนั้น และมีแต่จะเลวร้ายลง การปรับ เปลี่ยนที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างยิ่งนี้ จะเกิดขึ้นได้จากการสร้างบันไดทีละขั้นเพื่อก้าวไปสู่เป้าหมาย ที่เป็นประโยชน์ โดยอาศัยความร่วมมือกัน 83 4

กรมศิลปากร. (2560). ฐานข้อมูลพระเมรุมาศ และองค์ประกอบพระเมรุมาศ. วันทีส่ บื ค้น 10 พฤศภาคม 2561. แหล่งทีม่ า http://phramerumas.finearts.go.th/exhibition7.php


แนวทางในการพัฒนาเมืองและสถาปัตยกรรมที่ออกแบบใต้แนวคิดของเศรษฐกิจหมุนเวียนจาก การศึกษาทฤษฎีทางการออกแบบ สิ่งแวดล้อม และเศรษฐศาสตร์ น�ำมาสู่หลักการพื้นฐานที่จะ น�ำไปสู่การสร้างระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนในงานสถาปัตยกรรมดังต่อไปนี้ ความเข้าใจวงจรชีวิต การเปลี่ยนแปลง และความสามารถในการเผชิญกับการ เปลี่ยนแปลง กรอบคิดหนึ่งที่ส�ำคัญคือการเข้าใจหลักการว่าทุกสิ่งย่อมมีการเปลี่ยนแปลงเสื่อมไป การ เสือ่ มไปนีก้ เ็ ปิดทางให้มกี ารเกิดขึน้ ใหม่ สำ� หรับสถาปัตยกรรม องค์ประกอบแต่ละส่วนของอาคาร จะมีอายุการใช้งานต่างกัน ส่วนโครงสร้างโดยทั่วไปมีอายุตั้งแต่ 30 จนถึง 100 ปี เปลือกอาคาร อายุประมาณ 20 ปี งานระบบมีอายุตั้งแต่ 7 ถึง 15 ปี งานตกแต่งพื้นผิวภายในอายุระหว่าง 3 ถึง 30 ปี การวางแผนต้องน�ำปัจจัยด้านอายุการใช้งานซึง่ เกีย่ วข้องกับมิตขิ องเวลาเข้ามาพิจารณา ประกอบด้วย เมื่อเสื่อมสภาพไปก็เกิดการซ่อมแซมฟื้นคืนสภาพเพื่อใช้งานใหม่ หรืออนุรักษ์เพื่อ รักษาประวัติศาสตร์ความทรงจ�ำ ไปจนถึงการรื้อถอนท�ำลาย และน�ำวัสดุนั้นกลับเข้าไปสู่ กระบวนการผลิตของสิง่ อืน่ หรือย่อยสลายกลับคืนสูส่ ภาพแวดล้อม เรียกว่าวงจรชีวติ การพัฒนา เมืองและสถาปัตยกรรมภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนจึงต้องค�ำนึงถึงจุดเริม่ ต้นและจุดสิน้ สุด ของกระบวนการย่อยๆ แต่ละกระบวนการ ขีดความสามารถในการแบกรับ และการรักษาสมดุล สภาพแวดล้อมธรรมชาติทดี่ ำ� รงอยูย่ อ่ มมีเงือ่ นไขในการเกิดขึน้ และด�ำรงอยู ่ และมีความสามารถ กลับคืนสู่สภาพเดิมเมื่อมีเงื่อนไขที่เปลี่ยนไปจากแรงกระท�ำภายในและภายนอก แต่หากมีการ เปลีย่ นแปลงเงือ่ นไขไปจนถึงระดับหนึง่ สงิ่ นัน้ จะไม่สามารถกลับคืนสูส่ ภาพเดิมได้อกี ความสามารถ ในการแบกรับเงื่อนไขที่เปลี่ยนไปก่อนที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงถาวรนี้ เรียกว่า ขีดความสามารถ ในการแบกรับในธรรมชาติ ในสภาพแวดล้อมที่มีหลายสิ่งอยู่ด้วยกัน การเปลี่ยนแปลงของทุกสิ่ง ในระบบนิเวศจะเคลื่อนไปอย่างมีสมดุล ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนจึงจ�ำเป็นต้องค�ำนึงถึงสมดุลที่ มีพลวัตรด้วย การรักษาสมดุลต้องมีการประเมินจากบริบทที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การเชือ่ มจุดจนครบวงรอบ หลักส�ำคัญถัดไปคือการร้อยเรียงกระบวนการต่างๆ ให้ตอ่ ร้อยจนครบวงจร โดยต้องพัฒนา ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของภาคส่วนต่างๆ ทั้งผู้ผลิต ผู้ใช้ตลอดวงของห่วงโซ่อุปทานที่แตกแขนง และเชื่อมต่อกันหลายวง (supply chain loops) ในหลักการพิจารณาจะมีวงรอบสองประเภทคือ วงรอบทางชีวภาพ และวงรอบทางเทคโนโลยี

84


แนวคิดทีม่ มี นุษย์เป็นศูนย์กลาง การกระท�ำของสิ่งมีชีวิตที่มีผลกระทบต่อโลกมากที่สุดก็คือการกระท�ำของมนุษย์ ด้วยความ ทะเยอทะยานของมนุษย์ มนุษย์จึงเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวที่สร้างการกระท�ำที่สามารถส่งผลต่อ โครงสร้างของโลกได้ เช่น การเจาะลึกลงไปใต้พื้นโลกเพื่อให้ได้น�้ำมัน หรือการท�ำลายภูเขาทั้งลูก เพื่อให้ได้มาซึ่งหินและแร่ธาตุ การคิดค้นอาวุธที่สามารถสังหารสิ่งมีชีวิตรวมทั้งมนุษย์ด้วยกันได้ครั้ง ละมากๆ การสร้างพาหนะที่สามารถเดินทางไปในน�้ำ บนอากาศ หรือแม้แต่ทะยานออกไปนอกโลก ในขณะที่สัตว์อ่ืนซึ่งไม่ได้มีความฉลาดเท่ามนุษย์สามารถใช้ชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ ได้ตามวงจรชีวติ ของมันโดยไม่ตอ้ งพึง่ พาเทคโนโลยีมากนัก การจะชะลอหรือเปลีย่ นทิศทางของผลก ระทบทางลบที่เกิดขึ้นอย่างมากในปัจจุบันก็ย่อมต้องเกิดขึ้นจากความเข้าใจและหาหนทางที่จะปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมของมนุษย์ โดยอาจใช้เครื่องมือทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมด้วย เนื่องจากมนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีอายุยืนยาวและมีความคิด ความคิดนี้เป็นปัจจัยส�ำคัญอย่าง ยิง่ ต่อการอยูร่ อดของเผ่าพันธุม์ นุษย์ ณ จุดหนึง่ ของวิวฒ ั นาการของกระบวนการคิดในสมองได้สง่ ผล ต่ออารมณ์และการสร้างความคิดในเชิงนามธรรม เช่น ความดี ความรัก ความเท่าเทียม อิสรภาพ ชนชั้น คุณค่าของชีวิตและสิ่งแวดล้อม การที่มนุษย์มีแรงจูงใจที่จะท�ำงานเพื่อให้ได้รายได้ไปใช้ใน การซือ้ สินค้าและบริการก็เป็นความคิดเชิงนามธรรมทีม่ นุษย์สร้างขึน้ มาเอง การท�ำงานหรือมีกจิ กรรม ทางสังคมนอกจากจะท�ำให้บุคคลสามารถช่วยกันท�ำงานเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของการอยู่ ร่วมกันเป็นสังคม ยังท�ำให้สังคมมีความสงบสุขเพราะคนมีเวลาที่จะไปคิดท�ำเรื่องร้ายๆ น้อยลง สิ่ง ทีเ่ กิดขึน้ จากการเคลือ่ นไปของความสัมพันธ์ระหว่างกันนีท้ ำ� ให้เกิดสิง่ ทีเ่ รียกว่าเศรษฐกิจ การพัฒนา เมืองและสถาปัตยกรรมเป็นส่วนหนึง่ ของกิจกรรมในระบบเศรษฐกิจทีเ่ ชือ่ มสัมพันธ์โดยตรงกับการท�ำ กิจกรรมในชีวติ ของมนุษย์ทอี่ ยูร่ วมกันเป็นสังคม เมืองและสถาปัตยกรรมจึงมีความส�ำคัญ เนือ่ งจาก ได้มอบคุณค่า ส่งผลต่อความสุขกายสบายใจ ส่งผลทางจิตวิทยาและประสบการณ์ที่เชื่อมโยงกับ ความทรงจ�ำ นอกจากนั้นมนุษย์ยังมีภาษาที่ใช้ในการสื่อสารบันทึกถ่ายทอดความรู้ มนุษย์สามารถเรียน รู้ผ่านภาษา ท�ำให้องค์ความรู้สามารถสืบทอดผ่านตัวหนังสือข้ามกาลเวลาได้โดยไม่ต้องมีตัวบุคคล มนุษย์ยังมีความใฝ่เรียนรู้ จึงมีการค้นพบองค์ความรู้ใหม่อยู่เสมอ การที่เราจะน�ำการพัฒนาเมือง และสถาปัตยกรรมเข้าไปร้อยเข้ากับเศรษฐกิจหมุนเวียนจึงเป็นหนทางหนึ่งที่จะน�ำทางไปสู่สภาพ แวดล้อมที่ดีขึ้น การศึกษาเป็นกุญแจส�ำคัญที่สร้างให้เกิดความเข้าใจกลไกทางเศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และปรัชญาเพื่อขับเคลื่อนความคิดและพฤติกรรมของคนให้วิวัฒน์ไป เพื่อเข้าสู่วิถีแห่งความยั่งยืน

85


หลักการออกแบบ และการพัฒนาโครงการทีม่ ค ี วามคิดสร้างสรรค์ จากหลักการทีก่ ล่าวว่าเมืองและสถาปัตยกรรมเป็นสภาพแวดล้อมกายภาพทีม่ นุษย์สร้างขึน้ จากปัจจัยทางชีววิทยา สิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ หากจะยกตัวอย่างงานสถาปัตยกรรม ทีส่ ะท้อนแนวคิด C2C ซึง่ เป็นแนวคิดส�ำคัญของเศรษฐกิจหมุนเวียน เราสามารถมองเห็นได้ชดั เจน ในงานสถาปัตยกรรมเรือนไทย ในมิติของสิ่งแวดล้อมเรือนไทยสร้างจากวัสดุที่ได้จากธรรมชาติ คือไม้ ไม้เป็นวัสดุทที่ ำ� หน้าทีเ่ ป็นตัวเก็บสะสมคาร์บอน (carbon storage) โดยไม้นำ� คาร์บอนจาก อากาศที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์แสงมาสะสมเป็นส่วนหนึ่งของล�ำต้น กระบวนการแปรรูป ไม้เพือ่ มาใช้ในการก่อสร้างเป็นกระบวนการทีใ่ ช้พลังงานในกระบวนการตัง้ แต่หาวัตถุดบิ จนถึงน�ำ มาใช้ (embodied energy) ต�่ำ โดยสามารถใช้ก�ำลังคนตัด ใช้เกวียนขนโดยใช้สัตว์ลากจูง หรือ ขนส่งทางน�ำ ้ การออกแบบเรือนเครือ่ งสับภาคกลางใช้ระบบส�ำเร็จรูป (prefabrication) ออกแบบ เป็นชิ้นส่วนที่สามารถน�ำมาประกอบปรุงขึ้นเป็นเรือน หรือถอดประกอบกลับเป็นชิ้นส่วน รวมทั้ง มีการก�ำหนดขนาดให้เหมาะสมกับการขนย้ายด้วยก�ำลังคนได้สะดวก การที่ออกแบบในลักษณะ เช่นนี้ท�ำให้ง่ายต่อการเปลี่ยนต�ำแหน่งที่ตั้งของเรือนตามท�ำเลที่เหมาะสมกับแต่ละช่วงชีวิตและ เงื่อนไขของเจ้าของเรือน การจัดวางกลุ่มที่เกิดจากการเชื่อมเรือนเดี่ยวแต่ละหลังเข้าเป็นเรือนหมู่ เชื่อมด้วยชาน ท�ำให้เจ้าของสามารถเพิ่มและลดพื้นที่การใช้งานตามสภาพ ทางเศรษฐกิจ สังคม และโครงสร้างของครอบครัวทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงเพิม่ ลดโยกย้ายเข้าออกอีกด้วย ตามประเพณีเมือ่ เจ้าของเรือนตายลงก็ยงั มีธรรมเนียมการบริจาคเรือนให้กบั พระศาสนา ขนย้ายไปไว้ตามวัดเพือ่ ใช้ เป็นกุฏิหรือศาลาเปรียญ คือสามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ วัสดุที่เป็นไม้นี้หารดูแลรักษาอย่างเอาใจ ใส่กม็ อี ายุยาวนาน หรือเมือ่ ผ่านกาลเวลาก็สามารถเสือ่ มโทรมย่อยสลายกลับไปเป็นส่วนหนึง่ ของ ธรรมชาติ และสามารถปลูกป่ากลับคืนขึ้นได้อีก เมื่อมองจนครบกระบวนการแล้วเห็นเป็นวงจรที่ หมุนวนไปได้ไม่สนิ้ สุดหากมีกระบวนการบริหารจัดการทรัพยากรทีด่ อี ย่างมีสมดุล ยกตัวอย่างเช่น การจัดการป่าไม้บริเวณรอบศาลเจ้าอิเซะในประเทศญีป่ ุ่น ท�ำให้ยงั มีไม้ซุงขนาดใหญ่เพือ่ น�ำมาใช้ สร้างศาลเจ้าขึ้นใหม่ในรูปแบบดั้งเดิมทุกรอบ 60 ปี ในปัจจุบันที่ระบบเศรษฐกิจสังคมมีความซับ ซ้อนยิ่งขึ้นท�ำให้โลกต้องกลับมาสู่หลักคิดพื้นฐานที่เรียบง่ายนี้ โดยต้องมีระบบบริหารจัดการและ เทคโนโลยีทเี่ หมาะสมกับยุคสมัยยิง่ ขึน้ เพือ่ ขยายขอบเขตวงจรของเศรษฐกิจหมุนเวียนให้ครอบคลุม สนามในระดับสากล และการให้ค�ำตอบด้านการออกแบบในบริบทเมืองที่มีความหนาแน่นและ อัตราเติบโตของการบริโภคสูง หลักการทีส่ ามารถเพิม่ เติมขึน้ ไปคือการออกแบบโดยใช้แนวคิดของระบบโมดูลา่ ทีท่ ำ� ให้การ เชือ่ มโยงองค์ประกอบหรือกระบวนการผลิตต่างๆ ให้ประกอบเข้าด้วยกันได้อย่างมีระบบ และเอือ้ ให้เกิด ความยืดหยุน่ ปรับเปลีย่ นได้ สามารถท�ำให้เกิดความหลากหลายด้วยหลักการ mass customization หมายถึงการออกแบบองค์ประกอบหลายรูปแบบบนฐานของระยะหรือจุดเชือ่ มต่อเดียวกัน เปิดโอกาส ให้นำ� องค์ประกอบดังกล่าวมาประกอบร่างได้หลากหลายดูไม่ซำ�้ กัน เมือ่ ใช้รว่ มกับการผลิตชิน้ ส่วน แบบส�ำเร็จรูปในระบบอุตสาหกรรม ทำ� ให้ขนึ้ งานได้งา่ ย สะดวกรวดเร็วและช่วยให้คณ ุ ภาพของผลงาน ออกมาดีขนึ้ หลาย ครัง้ ช่วยให้ผใู้ ช้สามารถประกอบได้เอง กรณีเสียหายยังสามารถเปลีย่ นเฉพาะส่วน และยังใช้งานต่อไปได้ เมื่อจ�ำเป็นต้องทิง้ กส็ ามารถน�ำส่วนทีท่ ิ้งไปเข้ากระบวนการผลิตใหม่ หรือ ย่อยสลายคืนกลับสู่ธรรมชาติ โดยไม่ส่งผลกระทบทางลบต่อสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันด้วยเทคโนโลยี ขึน้ รูปสามมิตสิ มัยใหม่ องค์ประกอบของ อาคารสามารถท�ำขึน้ มาเป็นแบบเฉพาะตัวได้ กระบวนการ ออกแบบที่ได้รับแรงบันดาลใจจากระบบธรรมชาติ หรือ ชีวลอกเลียนจะถูกน�ำมาใช้มากขึ้น

86


ลอจิสติกส์และการย้ายถิน่ ของทรัพยากร การเคลื่อนอพยพย้ายถิ่นไปของคนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อเข้าสู่แหล่งงานและรองรับความ ต้องการของผูบ้ ริโภคทีม่ คี วามหลากหลายเป็นสาเหตุทที่ ำ� ให้มกี ารขนส่งวัสดุจากแหล่งผลิตไปเพือ่ การ บริโภคในพื้นที่ต่างๆ ของโลก เกิดเป็นระบบลอจิสติกส์ สิ่งที่ถูกขนส่งไปก็ต้องอยู่ในกระบวนการ พิจารณาให้เข้าไปอยูใ่ นวงห่วงโซ่อปุ ทานและระบบการจัดการของเสียในแต่ทอ้ งถิน่ ด้วย เพือ่ ให้แน่ใจว่า การสร้างฐานผลิตในแต่ละพืน้ ทีไ่ ม่ใช่เป็นการโยนเอาปัญหาย้ายมาให้ทอ้ งถิน่ อืน่ จากเดิมทีก่ ารพัฒนา แบบยั่งยืนมักจะเกิดขึ้นเป็นวงเล็กๆ ภายในหมู่บ้านหรือชุมชนก็จ�ำเป็นจะต้องได้รับการปรับปรุงให้ ทันสมัยและขยายขึ้นเป็นระดับเมือง ประเทศ จนถึงภูมิภาคระดับสากล การสร้างเครือข่าย การสือ่ สาร และให้ความรูก้ บ ั ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย วงจรของเศรษฐกิจหมุนเวียนทีเ่ กีย่ วข้องกับการพัฒนาเมืองและสถาปัตยกรรมนัน้ ไม่สามารถ จบอยู่ในวงจรของตัวเองเท่านั้น แต่ยังต้องเชื่อมโยงข้ามไปสู่วงจรของเศรษฐกิจอื่นๆ อีกด้วย ในมิติ ของพื้นที่ก็เช่นกัน การพัฒนาพื้นที่จ�ำเป็นต้องเกี่ยวข้องกับพื้นที่โดยรอบที่ใกล้และไกลออกไป การสร้างความร่วมมือกับกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีทั้งภาครัฐผู้เป็นผู้ก�ำหนดนโยบาย ในหลายหน่วยงานและหลายมิติ ท้องถิ่นผู้มีหน้าที่ในการบริหารท้องที่ ภาคประชาสังคมที่จะได้รับ ผลกระทบเพราะเป็นผู้อยู่ในพื้นที่ ภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจผู้จะเป็นกลุ่มที่ขับเคลื่อนให้เกิดพลัง การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สถานศึกษาซึ่งจะเป็นกลุ่มที่ช่วยกระจายความรู้ความเข้าใจสู้สังคมและ ชุมชน จุดประสงค์ในการท�ำงานก็เพื่อให้เกิดสังคมที่ได้รับรู้ข้อมูลครบถ้วนทั่วถึงกัน (well-informed society) คนในชุมชนและสังคมควรจะต้องรู้ค่าและประโยชน์ที่ทุกฝ่ายจะได้ร่วมกัน นอกจากนั้นยัง ต้องมีการสื่อสารไปยังห่วงโซ่อุปทานในระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน ซึ่งจะมีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น ฐานข้อมูลเดียวกันนี้ยังสามารถน�ำไปใช้ในการบริหารจัดการด้านลอจิสติกส์ได้อีกด้วย ความร่วมมือ จะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยการที่ความเข้าใจเป้าหมายที่จะส่งผลต่อประโยชน์ของทุกฝ่ายร่วมกัน จึงยัง จ�ำเป็นต้องมีการประชุม การแชร์ฐานข้อมูล หลักสูตร การฝึกอบรม ประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เพือ่ ให้ทกุ ฝ่ายมีองค์ความรูพ้ นื้ ฐาน องค์ความรูท้ ถี่ กู ปรับปรุงให้ทนั สมัยมากขึน้ ความเข้าใจ การสร้าง กระบวนการมีสว่ นร่วม น�ำไปสูก่ ารปฏิบตั จิ ริง รวมไปถึงการแก้ไขข้อขัดแย้งทีอ่ าจมีขนึ้ ระหว่างกระบวนการ พัฒนาด้วย

87


ความเข้าใจภาพใหญ่ภาพย่อยของนิเวศธุรกิจ การวางแผนและการจัดการ ในระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนนั้น ทุกทอดของการเกิดกระบวนการผลิตจะเป็นการสร้างงาน สร้างรายได้ และตอบสนองต่อความต้องการของผูบ้ ริโภค ทำ� ให้เกิดคุณค่าทีท่ ำ� เป็นธุรกิจได้ ในโลกแห่ง ความเป็นจริงในนิเวศทางธุรกิจ ก็มีธุรกิจเกิดขึ้นใหม่และปิดตัวลงอยู่ตลอดเวลาด้วยสาเหตุหลาย ประการ ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนนั้นจึงอยู่ได้ด้วยการเชื่อมแล้วเชื่อมใหม่อีก เพื่อให้ยังด�ำรงวงจร C2C ทีม่ ศี กั ยภาพทางธุรกิจ การวางแผนและการจัดการอย่างออแกนิคนีจ้ ำ� เป็นต้องอาศัยระบบความ ร่วมมือ การมีฐานข้อมูลที่ใช้สื่อสารที่แข็งแรง เมืองและสถาปัตยกรรมจึงกลายเป็นกระบวนการทีข่ ยายการมองจากมุมอรรถประโยชน์ สูภ่ าวะ น่าสบาย สสู่ นุ ทรียะ สสู่ ญ ั ลักษณ์ สเู่ ครือ่ งมือทางเศรษฐกิจ สเู่ ครือ่ งมือทางสิง่ แวดล้อมและเศรษฐกิจ ที่ยั่งยืน โดยยังต้องรักษาสมดุลท่ามกลางบริบทของการเปลี่ยนแปลง เกลียว 3 สายคือการออกแบบ เพือ่ มนุษย์ คุณค่าทางเศรษฐกิจ และผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมจึงผสานเป็นเนือ้ เดียวกันในแนวคิดของ เศรษฐกิจหมุนเวียน โดยมีเทคโนโลยี การวางแผนและการจัดการทีเ่ หมาะสม การพัฒนาแนวทางการ ออกแบบภายใต้ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนนัน้ เป็นการพัฒนาจากจุดเล็กเชือ่ มต่อโยง เป็นเส้น จากเส้น ขยายจนครอบคลุมพื้นที่เพิ่มมากขึ้น การผสานเทคโนโลยีเข้าไปในกระบวนการ การสร้างชั้นข้อมูล เพื่อการจัดการและ ติดตาม การท�ำงานในโครงการเกี่ยวกับเมืองและสถาปัตยกรรมภายใต้กรอบมองของเศรษฐกิจ หมุนเวียนนั้นเป็นเรื่องซับซ้อน เทคโนโลยีที่มีความส�ำคัญที่จะท�ำให้ข้อมูลพื้นฐานที่จะเป็นประโยชน์ ต่อการออกแบบเพื่อมนุษย์ การจะใช้วัสดุและเทคโนโลยีการก่อสร้างจากกระบวนการผลิตที่ใช้หลัก การเศรษฐกิจหมุนเวียนที่ค�ำนึงถึงหลักการ C2C ในระดับสากลนั้น ต้องมีเครื่องมือทางเทคโนโลยี สารสนเทศทีก่ า้ วหน้าทีจ่ ะใช้ตดิ ตาม วิเคราะห์ และยืนยันข้อมูลทีม่ คี วามซับซ้อนและเชือ่ มโยงการอยู่ หลายชั้น การออกแบบระบบปัญญาประดิษฐ์จะมีบทบาทอย่างยิ่งต่อวิถีชีวิตของมนุษย์ในช่วงเวลา จากนีไ้ ป เทคโนโลยีเหล่านีจ้ ะถูกผสานเข้ามาในกระบวนการออกแบบ ท�ำให้เราสามารถเห็นระดับของ ปัญหาหรือใช้ในการวิเคราะห์ตน้ ทุนทางธุรกิจและสิง่ แวดล้อม ในขณะทีย่ งั ต้องด�ำรงคุณภาพของงาน ออกแบบที่ค�ำนึงถึงคุณภาพชีวิต สุนทรียะและการให้ทางออกที่กระตุกต่อมสร้างสรรค์ให้กับสังคม ในนิยามของความยั่งยืนนั้น ส่วนที่มักละไว้ในฐานที่เข้าใจและไม่ค่อยได้หยิบยกมาพูดถึงก็ คือความยัง่ ยืนทีใ่ นนัน้ ยังมีมนุษย์อยูใ่ นสมการด้วย โดยปราศจากมนุษย์ โลกและจักรวาลก็ยงั่ ยืนใน แบบของมันอยู่แล้ว หากดาวดวงใดในจักรวาลมีน�้ำท่วม เย็นเป็นน�้ำแข็ง ร้อนเป็นไฟ ไร้ซึ่งสิ่งมีชีวิต ก็คงไม่มีมนุษย์คนไหนต้องเดือดร้อน เพราะไม่มีมนุษย์ที่จะได้รับผลกระทบจากสภาวการณ์เหล่านี ้ กลับมามองทีโ่ ลกใบเดียวทีม่ นุษย์สามารถอาศัยอยู ่ มนุษย์กลับเป็นตัวการส�ำคัญทีเ่ ร่งให้สภาพแวดล้อม นัน้ เปลีย่ นแปลงไปสูจ่ ดุ ทีไ่ ม่เหมาะสมกับการตัง้ ถิน่ ฐานและอยูอ่ าศัยของตัวเองเร็วยิง่ ขึน้ ความขัดกัน ระหว่างความต้องการที่จะให้สิ่งที่สร้างขึ้นมีอายุยืนยาวคงทนที่สุด กับความต้องการที่จะให้ทุกสิ่ง สามารถย่อยสลายกลับคืนสูธ่ รรมชาติได้ การทีจ่ ะท�ำให้เรายังมีโลกใบนีเ้ พือ่ อยูต่ อ่ ไปเป็นสิง่ ทีท่ า้ ทาย มนุษย์มากยิ่งขึ้นทุกที เรื่องของความยั่งยืนจึงเป็นเรื่องของมนุษย์ทุกคน การผสานออกแบบการ ปฏิบัติวิชาชีพภายในแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน จึงเป็นความท้าทายใหม่ที่จะน�ำพาวิชาชีพ สถาปัตยกรรมเข้าไปสู่บทบาทของทีมที่ฟื้นคืนสภาพแวดล้อมให้ดีเพื่อส่งต่อให้กับคนรุ่นต่อไป

88


บรรณานุกรม Wautelet, T. (2018). The Concept of Circular Economy: its Origins and its Evolution, ResearchGate. MacArthur, E. (2013). Towards The Circular Economy: Economic and Business Rationale for an Accelerated Transition, Ellen MacArthur Foundation. (2018). Circular Economy in Cities: Evolving the Model for a Sustainable Urban, Future World Economic Forum. Kamal, A. (2017). Architecture within a Circular Economy: Process Mapping a Resource-based Design-Bid-Build Project Delivery System. Taiwo, F.J. and Feyisara, O.O. (2017). Understanding the Concept of Carrying Capacity and its Relevance to Urban and Regional Planning, Journal of Environmental Studies. McDonough, W. and Braungart, M. (2002). Cradle to Cradle, North Point Press. Harari, Y.N. (2015). Sapiens: A Brief History of Humankind, The Random House Group Limited. Harari, Y.N. (2017). Homo Deus: A Brief History of Tomorrow, The Random House Group Limited. Galle, W. (2017). Design for Change, Towards a Circular Economy in Construction, ResearchGate. Ford, M. (2016). Rise of The Robots: Technology and The Threat of Mass Unemployment, Oneworld Publications. กุลวานิชไชยนันท์ อ. (2018). Big Data Series I: Introduction to a Big Data Project, สำ�นักพิมพ์บริษัทคอราไลน์จำ�กัด

89


City and Architecture Design in the Age of Circular Economy Michael Paripol Tangtongchit

School of Architecture and Design, King Mongkut’s University of Technology Thonburi / michael.par@kmutt.ac.th

Abstract

The design and development of architecture and the urban environment are closely related to the economy. With the

emerging economic concept of the ‘circular economy’, inspired by ecology in nature and aiming to create sustainable and balanced development, we must ask the question of how to invent a new framework of thinking for the fields of architecture and urban design. To better understand this new approach, the author studied literature related to circular economy, the environment, the humanities, social science, information technology and physical design. In order to arrive at tangible conclusions, experiences from real architectural and urban projects were integrated in the study with the intention of finding practical methods to implement and enhance the concept of circular economy in architecture and urban practice. The result is nine main principles that involve stakeholders from various specializations and backgrounds, supporting the idea that sustainability cannot be achieved by individual action. Contemporary information technology, such as big data and artificial intelligence, will have an important role in the implementation process.

Abstract

do thinking and processes of working in the field of urban and

The city and its architecture demonstrate a built envi-

architectural development need to be reorganized as a part of

ronment that is influenced by biological, environmental, social,

the circular economy concept”? The following study docu-

and economic needs. Human beings strive to survive with

ments the review of academic research related to this question,

biological well-being in the context of the environment, doing

and are integrated with real world experiences working on

so by living together as a society through the co-management

urban development together with architectural planning and

of resources within a psychological and behavioral platform

design projects.

called ‘economy’. Economy and city and architectural development are closely inter-related, together imposing their

weight on the environment,. When the concept of economy

through the gradual development of various principles in many

changes, it undeniably affects the development of the city and

areas: economics, such as ‘performance economy’ and ‘blue

architecture. Nowadays, the concept of ‘circular economy’ has

economy’; bio-technology and design, such as ‘biomimicry’,

grown into a contemporary trend that provides an alternative

as collected by Thibaut Wautelet in his paper derived from

solution to environmental, social, and economic problems.

official documents issued by the Ellen McArthur Foundation,

Taking the principles of ecology in nature as the prototype

a principal advocacy institution of circular economy (Waute-

model of the economic system is the advantage of the circular

let (2018)). One of the principles that is foundational to the

economy concept over more traditional economic models.

concept of circular economy is the C2C principle, or Cradle

Connecting once scattered economic sub-processes, and re-

to Cradle. This principle was proposed by William Mc-

arranging them in loops, reduces the loss and increases eco-

Donough, an environmental architect, and Michael Braungart,

nomic opportunities enormously. This kind of economic

a chemist. Together they co-authored a book titled, “Cradle

model does not aim merely for growth, but at the balanced

to Cradle”, criticizing the conventional model of development

circulation of resources without waste, reducing environmen-

that sees the production process in a linear fashion, animating

tal destruction in the process. In concept, it provides econom-

the situation as Cradle to Grave, meaning from birth to death.

ic return to each stakeholder, more evenly distributing income

The conventional production process involves feeding resourc-

and environmental responsibilities. In order to develop this

es into the manufacturing process, resulting in the creation of

system, a platform for collaboration must be created as an

waste, toxic and non-toxic, that requires disposal. The leftovers

important foundation for sustainability. The question is, “how

from the process inevitably turn into garbage. This kind of

90

Circular economy principles have been formulated


conventional production process is currently having a major

change is necessary and will pave the way step-by-step to

effect on the world. Without knowing, the environment that

mutual benefits.

we are living in is gradually being destroyed. In the end, it will

The following foundational principles were derived

lead to the kind environment that no one can comfortably live

from the further study of design, environment and economic

within. In order to redirect us away from that end, a new

theories to guide the direction of city and architectural devel-

paradigm is being proposed in which the segregated, indepen-

opment under the concept of circular economy

dent manufacturing process will be redesigned and managed through various, well-connected cycles where the waste of one system is the food for others.

Life Cycle, Changes, and Resilience

An important framework of thought is the understand-

In order to move city and architectural development

ing that everything is degradable. This degradation opens the

into the circular economy, we must make use of cyclical, sys-

possibilities for new things to be created. For architecture, each

tematic thinking. The waste from a production process, and

component of a building has different life spans. Main struc-

scraps from expired products, must be designed in a way that

tures generally last anywhere from 30 to 100 years. Building

they can be used as materials in other production processes.

envelopes typically last 20 years. Mechanical systems last be-

This process should be designed in a way that it can continue

tween 7 to 15 years. Interior components last between 3 to 30

indefinitely, or otherwise be degraded as part of nature. Under

years. Planning must include this element of temporal con-

this concept, nothing is left to be waste, but to be food. The

sideration. When materials degrade, maintenance, conserva-

main reason why we call this process circular ‘economy’ is

tion, or in the end, demolition, come in. Processes can be

because within every single process in a loop, there is the

designed whereas materials are fed into new productions of

possibility to create jobs and incomes that respond to the needs

other things, or returned back to the environment. This is

of consumers, creating value, or returning the materials to

called a ‘lifecycle’. The development of the city and architecture

nature without polluting it. This kind of economy does not

under the concept of circular economy needs to consider the

focus on accelerating growth, but on the dynamic balanced

beginning and ending of each sub-process.

growth. The goals of the circular economy are the environmental, economic and social sustainability for better quality of life (Ellen MacArthur Foundation (2012)).

Carrying Capacity and Balance

A natural environment must have conditions for its origin

Creating a circular cycle of development requires sys-

and existence. When it is subject to internal and external

tematic thinking. Repeating experiments and prototyping,

forces, things are deformed and have an ability to return to its

monitoring and verification are constantly needed. This will

original conditions. But when the forces reach a certain mag-

be possible only with the continuing change of mindset of

nitude, it will not be able to regain its original integrity. The

people in society. The connectivity between processes is wide-

ability in which an ecosystem can carry these forces before

ly carried out under the cooperation of stakeholders. A new

permanently being transformed is called ‘carrying capacity’.

platform for collaboration must be gradually established that

In the environment, where there are many things coexisting

provides opportunities to share information, knowledge, and

together, the ever-changing conditions in the ecosystem are

resources. This platform must be able to support diversity and

moving with dynamic balance. Circular economy also needs

freedom for members to take part. To ensure a constant growth

to consider this dynamic equilibrium. In order to maintain

of circular economy, city or project managers should set clear

balance, it needs to continuously evaluate the continuously

goals about the proportion of circular economy within the

changing context.

whole economic system. It is obviously easier to continue with conventional linear development, as each group of individuals can freely manage their own business without coordination with other businesses and industries. However, we can already see the negative results from that way of working. This inevitable

91


Connecting Dots into Loops

learn through language, making the knowledge transferable

The next important principle is to tie all sub-processes

into loops by connecting stakeholders from producers to users throughout a supply chain. This, in turn results into many cycles making up a circular economic system. There are two kinds of cycles, biological cycle and technological cycle.

Human-Centered Thinking

Among all animals, human actions are the most im-

pactful on our planet earth. With its ambition and intellect, human beings are the only kind of animal whose actions can affect the very structure of the earth, such as by drilling deep into the earth’s surface to get petroleum, destroying whole mountains to extract minerals, inventing weapons that can kill a large number of living things, including people, making vehicles that travel in deep water, high in the sky, or even into outer space. Other animals that do not have the same level of intelligence as humans can live their lives in the natural environment without much dependence on technology. The way to slow down or change the direction of negative impacts currently in action, needs to come from the understanding the practical ways to change human behaviors through the use of social and cultural methodologies. Because human beings have a comparatively very long life and higher level of thinking, thinking is the crucial factor for human survival. At a certain point during human evolution, this thinking has influenced human emotions and created abstract notions such as virtue, love, equity, freedom, values in life and the environment. The motivations that make people work for a decent income to buy goods and services is also an abstract construct. Working and social activities not only bring people together to provide services to members in society, but also keep society peaceful due to people having less time to do bad things. What comes out of these dynamic relationships creates economy. The development of the city and architecture is a part of economic activities related directly to everyday life of people in society. Hence, the city and architecture are important economic activities giving value, comfort and happiness to body, heart and mind, forming experiences and memories.

Furthermore, human beings have been using language

as a tool to record and to transfer knowledge. Humans can through time without the presence of people who record this knowledge. Human beings also have curiosity to learn, thus, always find new knowledge. Linking city and architectural development into the circular economy is a way to bring us back to a better balance in the environment. Education is a key to the understanding of the mechanism of economics, social science, humanities, education and philosophy to drive the evolution of thinking and behaviors of people, enabling sustainability in the process.

Design Principles and Creative Project Development

Theoretically, the city and its architecture demonstrate

a built environment influenced by biological, environmental, social, and economic factors. If we are going to find an example of architecture that reflects the concept of C2C, an important concept of the circular economy, we can find in the work of the Thai traditional house. Environmentally, Thai houses are built with timber. Timber works as carbon storage. Trees take carbon from the air through photosynthesis to be stored as part of their trunks. The process of turning tree trunks into a construction material uses very low embodied energy. In the past, trees could be cut by humans using simple tools, later being transported with animal-pulled cart or sent using waterways. The design of Thai houses is based on a prefabrication system, whereas there are parts that can be assembled, or later disassembled. House components are sized to fit with human labor. Designed in this way, it is easy to be moved to different locations that meet the needs of people and conditions of the surroundings. The clustering created by connecting individual units using platforms allows the owner to increase or to decrease usable areas according to economic, social and family structure. According to tradition, when the owner dies, the house can be donated to a temple. When moved to temples, the structure can be used as a monk’s living unit or multipurpose hall. It means the house can be reused. The materials, through time, are deteriorated back as part of nature. The trees can be re-cultivated through reforestation. With good resource management, the whole process becomes cyclical and endless. Forest management around Ise Shrine in Japan allows huge

92


cross-sections of timber to be used for reconstruction of the shrine every 60-years. Now that economic and social systems are more complex, the world needs to return to basic principles.

Networking, Communication, and Education of Stakeholders

Appropriate contemporary management systems must be

The cycle of circular economy involving the develop-

applied to expand the boundary of circular economy cycles at

ment of the city and architecture cannot stand alone by itself,

an international level. This will also be the answer for cities

but needs to be put into relationship with other cycles of the

facing re-densification and consumption growth.

economy. This is also true for an area-based development, which should look into the framework of both adjacent and

From this principle, we can draw the concept of mod-

remote areas.

ular development that makes systematic connections between components or production process. It also enhances flexibil-

Networks must be formed and managed between

ity. Varieties of design can be created by mass customization,

stakeholders, from public agencies issuing policies, local

meaning various components can be coordinated using shared

governments responsible for managing localities, people affected

modular dimensioning or connections. The result is products

in the area, industries and businesses driving economic de-

that look different using components that are mass produced.

velopment, educational institutions distributing knowledge

When used together with prefabrication system, it makes the

and understanding to society and communities. An objective

forming easier, faster, more convenient and higher quality.

of the network is to create a well-informed society. People and

Users can fabricate products by themselves using minimal

society should learn together about the value and usefulness

tools. When broken, parts can be replaced and reused again.

they will get from the circular economy. Furthermore, there

When disposed, the materials can be fed into a new production

should be communication to those involved in the circular

process or degraded back into nature without creating a neg-

economy supply chain loops, which is complex. The same

ative impact on the environment. Currently with 3D printing

database can also be used to manage the logistics. This type of

technology, building components can be tailor-made. Nature

cooperation will only be successful with shared goals and

inspired process or biomimicry will be more and more utilized.

understanding of mutual benefits. Meetings, data sharing, curriculum, training programs, and workshops are a must,

Logistics and Resource Migration

making sure that all stakeholders have basic knowledge. Data

tion. This will also resolve some of the conflicts that might

Human and resource migration for jobs and consumers’

needs is the fundamental drive for transportation of materials

must be continuously updated. This will lead to implementaoccur during development processes.

from their origins to consumption locations, creating logistic networks. The movements of materials must be taken into consideration within supply chain loops, and waste management for different localities must be certain that problems are not externalized. The conventional sustainability actions conducted in small communities will be modernized and upscaled to city-wide, country-wide, regional, and international levels.

93


Understanding Micro and Macro Business Ecology and its Planning and Management

In the circular economy, every single process of pro-

duction will create jobs and incomes for people, and respond to the needs of the consumers, creating value for business. In the reality of the business eco-system, there will be businesses that start and die out all the time, for various reasons. The circular economy will sustain because it can connect and reconnect. To maintain C2C cycles with business potential, organic planning and management need to rely on a cooperation system and strong communication database. The city and architecture thus become a process that expands upon functionality to comforts, to aesthetics, to symbolism, to economic machines, then to tools for a sustainable environment and economy, while keeping the balance amidst the context of changes. Triple helix spirals of design for human, economic value and environmental impacts need to be integrated into one under the concept of circular economy, by using appropriate technology, planning, and management. The development of design strategies under the concept of circular economy is the development from a small point connected into a line and swiped into an area.

Integration of Data Technology, Data Layering for Monitoring and Management

Working on city and architecture projects under the

framework of circular economy is complex. Technology is an important part for the provision of fundamental data that is useful to the design for human wellbeing. In order to use materials and construction technology in the production process that promotes the circular economy and considers C2C principles at the international level, there should be monitoring, analysis and verifying tools that handle complex data from a multi-layered database. Artificial intelligence will play an important role in human’s life from now on. The technology will merge itself into design processes, helping to visualize the magnitude of problems, to analyze business and environmental capital, and to maintain the quality of design works taking into account the quality of life, aesthetics and creative solutions for society.

94

In the definition of sustainability, the part that is at

times taken for granted is the kind of sustainability that includes the human economic dimension in the formula. Without humans, the world and the universe are in some form of sustainability in their own right. If any of the planets in the universe are facing flooding, freezing cold or terrible heat, extinction of living things, no man has to worry about this because there is no human being effected by the situations. When we look back to the planet earth that we are living in, humans are the key player that accelerates the change in the environment to the point where it is not possible for a human to live comfortably. The conflict between the need to extend the life of products as long as possible, while maintaining balance with the need to have all materials be naturally degradable, is clear to see. Keeping the planet earth in good shape for us is more and more challenging. The issue of sustainability is therefore the responsibility of all human beings. Integrating the design of new practice under the concept of circular economy is a challenge that will bring the architecture profession to new ground, restoring a good environment for the next generation.


References Wautelet, T. (2018). The Concept of Circular Economy: its Origins and its Evolution, ResearchGate. MacArthur, E. (2013). Towards The Circular Economy: Economic and Business Rationale for an Accelerated Transition, Ellen

MacArthur Foundation.

(2018). Circular Economy in Cities: Evolving the Model for a Sustainable Urban, Future World Economic Forum. Kamal, A. (2017). Architecture within a Circular Economy: Process Mapping a Resource-based Design-Bid-Build Project

Delivery System.

Taiwo, F.J. and Feyisara, O.O. (2017). Understanding the Concept of Carrying Capacity and its Relevance to Urban and

Regional Planning, Journal of Environmental Studies.

McDonough, W. and Braungart, M. (2002). Cradle to Cradle, North Point Press. Harari, Y.N. (2015). Sapiens: A Brief History of Humankind, The Random House Group Limited. Harari, Y.N. (2017). Homo Deus: A Brief History of Tomorrow, The Random House Group Limited. Galle, W. (2017). Design for Change, Towards a Circular Economy in Construction, ResearchGate. Ford, M. (2016). Rise of The Robots: Technology and The Threat of Mass Unemployment, Oneworld Publications.

กุลวานิชไชยนันท์ อ. (2018). Big Data Series I: Introduction to a Big Data Project, สำ�นักพิมพ์บริษัทคอราไลน์จำ�กัด

95


เปิดรับพิจารณาบทความเพื่อตีพิมพ์ใน วารสารอาษา (ASA Journal) ฉบับประจำ�ปี พ.ศ.2563 ที่มาและความสำ�คัญ สมาคมสถาปนิกสยามฯ ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการเผยแพร่องค์ความรู้ทางด้านสถาปัตยกรรมสังคม และเพื่อเป็นการ ผลักดันให้ผลงานทางวิชาการและนวัตกรรมทางสถาปัตยกรรมเป็นทีร่ จู้ กั มากขึน้ ทัง้ ในและนอกประเทศ ในการนี้ สมาคมสถาปนิกสยามฯ ได้จัดท�ำ “วารสารอาษา (ASA Journal)” เพื่อสนับสนุนให้เกิดการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการและผลงานและนวัตกรรมทาง สถาปัตยกรรมอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง และเพื่อเป็นการเสริมสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ การถ่ายทอดความรู้ และความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ใหม่ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับสาขาสถาปัตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง โดยเนื้อหาความรู้ที่เผยแพร่สู่ สาธารณชนมุ่งหวังให้เกิดประโยชน์แก่นักเรียน นิสิต นักศึกษา คณาจารย์ นักวิชาการ และนักปฏิบัติวิชาชีพสาขาสถาปัตยกรรม รวมถึง สาขาวิชาชีพอื่นๆ และประชาชนทั่วไปที่สนใจได้รับรู้ความก้าวหน้าและสาระทางวิชาการทางสถาปัตยกรรม เพื่อสามารถน�ำไปพัฒนา หรือประยุกต์ใช้องค์ความรูเ้ ข้ากับการปฏิบตั วิ ชิ าชีพและด�ำเนินชีวติ ทัง้ ส่วนบุคคลและส่วนชุมชนโดยรวมต่อไป อนั จะเป็นการเสริมความ เข้มแข็งแก่วงวิชาการ และวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ต่อไป สมาคมสถาปนิกสยามฯ ขอเชิญผู้ที่สนใจร่วมส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ เผยแพร่ใน “วารสารอาษา (ASA Journal)”

หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอาษา

๐ วารสารอาษา (ASA Journal) รับพิจารณาบทความวิจยั บทความวิชาการ บทความปริทศั น์ บทความวิจารณ์หนังสือ-บทความ บทความแปล บทความสรุปผลงานการสร้างสรรค์ และบทความสรุปผลการบริการวิชาการรับใช้สังคม ด้านสถาปัตยกรรมศาสตร์ แขนงต่างๆ ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ตามหมวดหมู่ดังต่อไปนี้ คือ - ทฤษฎีทางสถาปัตยกรรม และการออกแบบสถาปัตยกรรม - ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม ศิลปสถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย - สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น และสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม - เทคโนโลยี และนวัตกรรมทางสถาปัตยกรรม - การบริหารจัดการ และการอนุรักษ์สถาปัตยกรรม - การออกแบบชุมชนเมือง ภูมิสถาปัตยกรรม และการผังเมือง - การพัฒนาที่อยู่อาศัย - การเรียนการสอนทางสถาปัตยกรรม ๐ ต้นฉบับบทความ ความยาวเฉพาะข้อความ (ไม่รวมรูป) ไม่เกิน 2,500 ค�ำ พร้อมบทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อม ค�ำส�ำคัญภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในรูปแบบของไฟล์ MS-Word ๐ ในกรณีที่บทความมีรูปภาพประกอบ ให้แทรกรูปลงในเนื้อหาบทความตรงตําแหน่งที่ต้องการอธิบาย พร้อมใส่คําอธิบายว่า ภาพที่ หมายเลขรูปภาพ: เนื้อหาที่ต้องการอธิบาย ตัวอย่าง ภาพที่ 1: แสดงแผนผังพื้นที่ใช้สอยภายใน


๐ การเตรียมไฟล์รูปภาพประกอบ ต้องบันทึกไฟล์รูปภาพในแฟ้ม (Folder) ตั้งชื่อภาพประกอบ และตั้งชื่อไฟล์รูปภาพโดยใช้ชื่อ ภาษาอังกฤษของผู้เขียน_หมายเลขรูปที่สัมพันกับเนื้อหา ทั้งนี้ไฟล์รูปภาพต้องมีความละเอียดไม่น้อยกว่า 300 dpi ในรูปแบบของล์ นามสกุลใด ก็ได้ดังต่อไปนี้ .JPG .PSD .PNG .TIF .BMP ตัวอย่าง Isarachai_01

๐ รูปภาพ แผนภูมิ แผนผัง แบบสถาปัตยกรรม แผนที่ แผนภาพ ที่น�ำมาใช้ประกอบบทความต้องไม่มีการละเมิดลิขสิทธิ์

๐ บทความที่เป็นงานแปลหรือเรียบเรียงต้องอ้างอิงที่มาโดยละเอียด และต้องได้รับอนุญาตจากต้นฉบับ

การประเมินบทความจากผู้ทรงคุณวุฒิ

กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการคัดเลือกด�ำเนินการส่งบทความเพื่อรับการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่มีความ เชี่ยวชาญจ�ำนวน 2 ท่าน และหากผลประเมินไม่เป็นเอกฉันท์จะส่งให้ผู้ทรงคุณวุฒิท่านที่ 3 ร่วมพิจารณา ทั้งนี้ การประเมินบทความ จะด�ำเนินการในลักษณะ Double Blind โดยกองบรรณาธิการจะด�ำเนินการส่งผลการประเมินกลับไปให้ทางผู้เขียนผ่านช่องทางอีเมล ภายใน 10 วันหลังจากได้รบั ผลการประเมินจากผูท้ รงคุณวุฒคิ รบถ้วน หลังจากทีไ่ ด้รบั การแจ้งผลจากกองบรรณาธิการ ขอให้ผเู้ ขียนด�ำเนินการ ปรับแก้ไขบทความตามค�ำแนะน�ำของผู้ประเมิน และส่งไฟล์ท่ีแก้ไขกลับมายังกองบรรณาธิการทางอีเมล asa.journal.academic@ gmail.com ภายในระยะเวลา 15 วัน

ค่าตอบแทนผู้ตีพิมพ์บทความ

บทความภาษาไทย บทความ 2 ภาษา(ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)

เป็นเงิน 4,000 บาท เป็นเงิน 7,000 บาท

ส่งบทความ (Full Paper)

หรือติดต่อสอบถามได้ที่ asa.journal.academic@gmail.com หรือโทร 02-319-6555

ที่อยู่

สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ (วารสารอาษา) 248/1 ซอยศูนย์วิจัย 4 ถนนพระรามที่ 9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.