Homemade Stay: My Hometown ผู้เขียน : วรพันธุ์ คล้ามไพบูลย์ พิมพ์ครั้งที่ 1 เมษายน 2561
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data วรพันธุ์ คล้ามไพบูลย์. Homemade Stay: My Hometown.-- กรุงเทพฯ : ซูเปอร์กรีน สตูดิโอ, 2561. 240 หน้า. 1. การพัฒนาธุรกิจที่พักโฮมสเตย์. 2. ไทย--ภูมิประเทศและการท่องเที่ยวนิเวศน์. I. ชื่อเรื่อง. 915.93 ISBN 978-616-92219-4-4 ส�ำนักพิมพ์ SuperGreen จัดท�ำโดย : บริษัท ซูเปอร์กรีน สตูดิโอ จ�ำกัด 58/1 ตรอกสารพัดช่าง ซอยสามเสน 5 ถนนสามเสน เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ : 09-6749-6868 Email : supergreenstudio@gmail.com เว็บไซต์ : www.supergreenstudio.com และ www.boutiqueking.com บรรณาธิการบริหาร : วรพันธุ์ คล้ามไพบูลย์ บรรณาธิการ : รติรัตน์ นิมิตรบรรณสาร กองบรรณาธิการ : นภัทร พิลึกนา ออกแบบและจัดรูปเล่ม : วีรพล เจียมวิสุทธิ์ พิสูจน์อักษร : นภัทร พิลึกนา ปก : จักรกฤษณ์ อนันตกุล พิมพ์ที่ : ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ภาพพิมพ์ โทรศัพท์ : 0-2879-9154 www.parbpim.com จัดจ�ำหน่ายโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) 1858/87-90 อาคารอินเตอร์ลงิ ค์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8222, 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8356-9 www.se-ed.com ราคา : 450 บาท
Community and Management System for Small Hotels
สารบัญ Part 1 - Original Experiences
ประสบการณ์ทีมีคุณค่าเหนือความงามและการสร้างมูลค่าเพิ่ม
Part 2 : Village Homestay
โฮมสเตย์ต้นแบบที่สร้างจุดขาย จนเปลี่ยนชีวิตคนทั้งหมู่บ้าน
1. บ้านจ่าโบ่ บ้านแม่ละนา จ.แม่ฮ่องสอน
: ชุมชนท่องเที่ยววิถี มูเซอด�ำ และไทยใหญ่ / การเดินทางของอัตลักษณ์ที่ปลายขอบฟ้า
2. บ้านแม่กำ�ปอง จ.เชียงใหม่
: จากวันวานที่ยากไร้ สู่ต้นแบบหมู่บ้านโฮมสเตย์ระดับโลก
30 56 58 102
3. บ้านนาต้นจั่น จ. สุโขทัย
148
4. บ้านวังน�้ำมอก จ.หนองคาย
190
5. บ้านคีรีวง จ.นครศรีธรรมราช
228
6. บ้านน�้ำเชี่ยว จ.ตราด
268
: เปลี่ยนจุดอ่อนเป็นจุดแข็ง เปลี่ยนบ้านนอกเป็นจุดขาย สร้างรายได้ทั้งชุมชน : ทุนที่มีอยู่แล้ว คือมูลค่าเพิ่มที่สูงสุด : สวนสมรม ความมุ่งมั่น และการสร้างมูลค่าเพิ่ม : ชุมชน2ศาสนา การฟื้นฟูสายน�้ำ และการกระจายรายได้อย่างทั่วถึง
Part 3 : Practice and Practice - กฎหมายและข้อกำ�หนดมาตรฐานของโฮมสเตย์ - แบบฝึกหัด - ตัวอย่างบันทึกรายรับ – รายจ่ายโฮมสเตย์ - กิจกรรมร่วมสนุกรับรางวัล - คำ�ขอบคุณ - บทปิดท้าย - ประวัติผู้เขียน
300 302 304 310 311 312 313 319
l คำ�นิยม l บูติคโฮเต็ลและโฮมสเตย์ คือเสน่ห์ของอัตลักษณ์…ตัวตนของคน วัตถุ และสถานที ่ ใช้ความคิดสร้างสรรค์ ผสมทั้งหมดเข้าด้วยกัน ออกมาเป็นที่พ�ำนักที่มีความหมาย เป็นตัวของ ตัวเอง บูตคิ โฮเต็ลและโฮมสเตย์คอื เสน่หท์ คี่ นไทยท�ำได้ดี สามารถเพิม่ เสน่หใ์ ห้การท่องเทีย่ วไทย ให้นกั ท่องเทีย่ วค้นพบสิ่งใหม่ๆ บนความเรียบง่าย เป็นส่วนหนึ่งของการท่องเที่ยววิถีถิ่น วิถีไทย ทั้งตัวความเก๋ไก๋ของที่พัก บวกกับความเป็นเจ้าบ้านที่น่ารัก ดิฉนั ต้องการเห็นบูตคิ โฮเต็ลและโฮมสเตย์ไทยเติบโตและยัง่ ยืน บนการแข่งขันบนโลกทีเ่ ปิด กว้างขึน้ ด้วยการสร้างมาตรฐานของการท�ำธุรกิจนี้ การดูแลสิง่ แวดล้อม การน�ำเอาชุมชนรอบข้าง มามีสว่ นร่วม การจดทะเบียนธุรกิจให้ถกู ต้องเพือ่ สร้างความปลอดภัยให้ผมู้ าพัก การพัฒนาบุคลากร ที่จะมาดูแลธุรกิจนี้ระยะยาว สิ่งต่างๆ เหล่านี้ต้องท�ำไปด้วยกัน หนังสือ Homemade Stay: My Hometown โดยคุณวรพันธุ์ คล้ามไพบูลย์ ซึ่งเป็น ผู้เชี่ยวชาญในธุรกิจบูติคโฮเต็ล จะสามารถช่วยเผยแพร่ความรู้ด้านที่พักประเภทนี้ไปสู่วงกว้าง เพือ่ สร้างมาตรฐานของทีพ่ กั ทีด่ ขี นึ้ และมีอตั ลักษณ์อย่างยัง่ ยืนตลอดไป ซึง่ หนังสือ Homemade Stay เล่มนี้ ได้ช่วยให้แนวทางไว้ เป็นอย่างดี ว่าสิ่งส�ำคัญเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้อย่างไร จึงนับว่าจะ เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจเรื่องนี้โดยเฉพาะเป็นอันมาก
กอบกาญจน์ วัฒนวรางกูร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา พ.ศ. 2557-2560
l คำ�นิยม l ทีพ่ กั แรมส�ำหรับนักท่องเทีย่ วถือเป็นองค์ประกอบส�ำคัญของการท่องเทีย่ ว ในการใช้จา่ ย ของนักท่องเที่ยวร้อยละ 30 เป็นการใช้จ่ายเกี่ยวกับที่พักแรม ที่พักแรมจึงมีความส�ำคัญทั้งต่อ ความปลอดภัยของนักท่องเที่ยวและความมั่นคงของชาติ ปัจจุบันความต้องการของนักท่องเที่ยวเปลี่ยนไป นอกเหนือจากที่พักแรมรูปแบบ มาตรฐาน นักท่องเทีย่ วยังต้องการทีพ่ กั ทีม่ เี อกลักษณ์ในรูปแบบใหม่ เช่น โฮมสเตย์ บูตคิ โฮเต็ล รวมถึง โฮสเทล ซึง่ แชร์หอ้ งพักและขายเป็นเตียง ทีพ่ กั ประเภทใหม่ๆ ทีเ่ กิดขึน้ หลากหลายรูปแบบนี้ เป็น แนวโน้มที่มีการเติบโตอย่างมีนัยส�ำคัญในบริบทโลก การปรับปรุงอาคารหรือที่พักที่มีอยู่เดิมให้เป็นที่พักแรมประเภทบูติคโฮมสเตย์ เป็น Business Model รูปแบบใหม่ทเี่ ป็นเศรษฐกิจสร้างสรรค์และสร้างมูลค่าเพิม่ รวมทัง้ ช่วยอนุรกั ษ์ อาคารเก่าที่มีเอกลักษณ์ จึงควรได้รับการพัฒนาส่งเสริมให้สามารถด�ำเนินการได้ถูกต้อง มี กฎหมายรองรับ เพื่อยกระดับมาตรฐานและความปลอดภัยให้รับกับอนาคตที่เปลี่ยนแปลงไป หนังสือ Homemade Stay: My Hometown เล่มนี้ โดยคุณวรพันธุ์ คล้ามไพบูลย์ กูรู บูตคิ โฮเต็ล ซึง่ เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญและผูบ้ กุ เบิกธุรกิจบูตคิ โฮเต็ลและโฮสเทลของประเทศไทย จะเป็น ประโยชน์ตอ่ การพัฒนาและยกระดับทีพ่ กั แรมประเภทโฮมสเตย์ เพือ่ ให้นกั ท่องเทีย่ วทุกคนได้รบั ความสุข สะดวกสบาย และปลอดภัย ในการเข้าพักแรมจากทีพ่ กั แรมทุกขนาดทุกประเภท ช่วยสร้าง ความมั่นใจและความประทับใจในการเดินทางท่องเที่ยวพักแรมในประเทศไทย การประกอบ กิจการทีพ่ กั แรมถูกต้องตามกฎหมาย ไม่กอ่ ให้เกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและส่งเสริมการมีสว่ น ร่วมของชุมชนโดยรอบ สอดรับกับยุทธศาสตร์การท่องเทีย่ วไทยทีม่ งุ่ สูก่ ารท่องเทีย่ วคุณภาพ เพือ่ มุ่งไปสู่ความยั่งยืนของการท่องเที่ยวไทยอย่างแท้จริง
กลินท์ สารสิน ประธานคณะกรรมการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประธานกรรมการหอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
l คำ�นิยม l ปีที่ผ่านมาธุรกิจท่องเที่ยวสามารถสร้างรายได้เข้าประเทศมากถึง 2.7 ล้านล้านบาท หรือประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ ของจีดีพีประเทศ และจากนี้ต่อไปอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ของไทยจะเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง จากกระแสการส่งเสริมการท่องเทีย่ วเมืองรอง ตามนโยบายกระตุน้ เศรษฐกิจในภูมิภาค ภายใต้สภาวการณ์เติบโตเช่นนี้ ถือเป็นโอกาสที่ดีแก่ผู้ประกอบการขนาดย่อมและ จุลเอสเอ็มอี (Micro SMEs) ที่จะยกระดับพัฒนากิจการของตนเอง เพื่อรองรับกลุ่มเป้าหมาย ผู้สูงวัย และกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวไทยที่หันมาท่องเที่ยวในเมืองรอง และชาวต่างประเทศที่ม ี แนวโน้มเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น การสร้างธุรกิจของตนเองให้มีการ เติบโตอย่างยัง่ ยืนมัน่ คง จ�ำเป็นต้องมีองค์ประกอบหลัก 5 ประการ ได้แก่ ความทันสมัย (Modern) ดีไซน์ (Design) เรือ่ งราว (Story) มาตรฐานหรือการรับรอง (Certify) และการขายบนสือ่ ออนไลน์ ซึง่ เป็นแนวทางหลักของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (SME Development Bank) ที่ให้การสนับสนุนควบคู่กับการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการเข้าสู่แหล่งเงิน (สินเชื่อ) หนังสือ Homemade Stay: My Hometown ที่ทรงคุณค่าเล่มนี้ เป็นการรวมเรื่อง ของโฮมสเตย์ต้นแบบทั่วประเทศไทย หนังสือเกิดจากความตั้งใจของคุณวรพันธุ์ คล้ามไพบูลย์ ที่สะสมประสบการณ์และความส�ำเร็จจากการท�ำธุรกิจบูติคโฮเต็ลขนาดเล็กที่กลายเป็นต้นแบบ ของเมืองไทย รวมถึงการเป็นนักเขียน นักบรรยาย และที่ปรึกษาให้กับเจ้าของโรงแรมขนาดเล็ก จ�ำนวนมาก จนได้นำ� มากลัน่ กรองเป็นองค์ความรู้ ทีเ่ หมาะกับผูป้ ระกอบการในกลุม่ อุตสาหกรรม ท่องเที่ยวเป็นอย่างยิ่ง
มงคล ลีลาธรรม กรรมการผู้จัดการ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
l คำ�นิยม l หนังสือเล่มนี้ ท่านได้อ่านและมีไว้เป็นสมบัติในมือ เปรียบเหมือนเป็นหลักสูตรที่ท่าน จะได้รับความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาการท่องเที่ยว การท�ำที่พัก ทั้งในลักษณะแบบโฮมสเตย์ หรือแบบบูติคโฮเต็ล นับเป็นหนังสือที่มีประโยชน์ส�ำหรับท่านมาก กระแสของการท่องเทีย่ วโดยชุมชนก�ำลังได้รบั การยอมรับและเป็นทีน่ ยิ มจากนักท่องเทีย่ ว ทัง้ ชาวไทยและต่างชาติมากขึน้ ตามล�ำดับ พร้อมกับการยอมรับจากภาครัฐ หน่วยงานและองค์กร ทีเ่ กีย่ วข้องว่าสามารถเป็นเครือ่ งมือในการพัฒนาชุมชนได้ ทัง้ ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม โฮมสเตย์ หรือที่พักแบบสัมผัสวัฒนธรรม หรือแบบบูติคโฮเต็ลส่วนใหญ่มีการน�ำเอา บ้านเรือน อาคารสถานที่ของตนเองมาพัฒนาปรับปรุงให้เป็นที่พักที่อาศัยไว้บริการนักท่องเที่ยว เป็นการน�ำสิง่ ทีเ่ รามีอยูแ่ ล้วมาต่อยอดให้เกิดประโยชน์ ท�ำให้เกิดรายได้เสริมให้กบั ครอบครัวและ ชุมชนของท่านเป็นอย่างดี ท�ำได้ไม่ยากหากมีหนังสือเล่มนี้อยู่ในมือ ขอขอบคุณและขอชืน่ ชมคุณวรพันธุ์ คล้ามไพบูลย์ ผูม้ วี สิ ยั ทัศน์วา่ ประเทศไทยต้องเป็น เมืองหลวงของบูติคโฮเต็ลและโฮมสเตย์ ทั้งยังมีความอุตสาหะเดินทางไปทั่วทุกหนแห่งทุกพื้นที่ ห่างไกลในประเทศไทย และพูดคุยกับผู้คนจ�ำนวนมากในหลายชุมชน หมู่บ้าน เพื่อเขียนหนังสือ เล่มนี้ และขอแสดงความยินดีกับผู้ที่ได้อ่านหนังสือเล่มนี้เช่นกัน
ธีรเมศร์ ขจรพัฒนภิรมย์ ประธานการท่องเที่ยวและกลุ่มโฮมสเตย์ บ้านแม่กำ�ปอง จังหวัดเชียงใหม่
l คำ�นิยม l หลังจากทีไ่ ด้อา่ นหนังสือเล่มนีแ้ ล้ว ซึง่ เขียนถึงการท�ำโฮมสเตย์ มีความรูส้ กึ ว่าเป็นหนังสือ ที่ดีมากค่ะ เนือ่ งจากตอนนีก้ ารท่องเทีย่ วทีจ่ ะมาเป็นอันดับหนึง่ คือการท่องเทีย่ วโดยชุมชน ซึง่ เป็น กระแสที่มาแรง มีคนที่เห็นคนอื่นๆ ท�ำก็อยากที่จะท�ำบ้าง แต่ยังอาจขาดซึ่งความเข้าใจในการ ท่องเที่ยวลักษณะนี้ โดยเฉพาะโฮมสเตย์ ซึ่งเราต้องน�ำบ้านที่เราอาศัยอยู่มาท�ำเป็นการท่องเที่ยว โดยให้นักท่องเที่ยวมาพักร่วมอยู่กับเจ้าบ้าน บางคนอาจจะเห็นเป็นเรื่องยุ่งยาก แต่พอได้อ่านหนังสือเล่มนี้แล้ว จะท�ำให้เข้าใจถึง การท�ำงานในรูปแบบโฮมสเตย์ได้เป็นอย่างดี และยังมีเรือ่ งของการบริหารจัดการ รวมถึงการต้อนรับ ต่างๆ ที่จะท�ำให้ผู้อ่านเข้าใจถึงรายละเอียด เนื้อหาสาระ จนอยากท�ำเลยทีเดียว นอกจากนี้แล้ว โฮมสเตย์ยังก่อให้เกิดรายได้เสริมอีกด้วย สร้างความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น อะไรหลายๆ อย่างในแหล่ง ท่องเทีย่ วนัน้ ๆ ก็ดขี นึ้ ด้วย ไม่วา่ จะเป็นสภาพธรรมชาติ ความสะอาดของชุมชน การรักษาวัฒนธรรม ประเพณี รวมถึงการสร้างโอกาสอีกมากมายให้กับคนที่อยู่ในชุมชนนั้นนั้น นับเป็นประโยชน์กบั ผูท้ ตี่ อ้ งการท�ำธุรกิจโฮมสเตย์อย่างยิง่ ทีค่ ณ ุ วรพันธุ์ คล้ามไพบูลย์ ผูท้ มี่ ปี ระสบการณ์มากมายในธุรกิจบูตคิ โฮเต็ล ได้เขียนหนังสือ Homemade Stay: My Hometown เล่มนีข้ นึ้ มา
สุรัตนา ภูมิมาโนช
ประธานกลุ่มท่องเที่ยวบ้านน�้ำเชี่ยว จังหวัดตราด
l คำ�นิยม l การท�ำให้การท่องเที่ยวโดยชุมชนออกมาสมบูรณ์แบบ นอกจากหัวใจหลักๆ คือการ ท�ำงานร่วมกันของคนในชุมชนแล้ว องค์ประกอบอื่นๆ เช่น ความรู้สึกปลอดภัยของผู้มาเยือน ความสามารถในการเล่าเรือ่ งหรือการน�ำเทีย่ วของคนในชุมชน การดูแลเอาใจใส่ และความสะอาด บวกกับความน่าสนใจของที่พักโฮมสเตย์ ก็มีความส�ำคัญไม่แพ้กัน ลูกค้าของ Local Alike ที่มา เที่ยวชุมชนส่วนใหญ่ยังมีความลังเลในการเลือกที่พักระหว่างนอนโรงแรมหรือนอนโฮมสเตย์ของ ชุมชน เพราะยังไม่มั่นใจในคุณภาพที่พักของชุมชนนั่นเอง หนังสือเล่มนี้จะเป็นหน้าต่างส�ำคัญส�ำหรับชุมชนและผู้ประกอบการด้านท่องเที่ยวใน การเปิดมุมมองใหม่ๆ ของการจัดสรรตกแต่งที่พัก การบริการ และการจัดการได้อย่างสร้างสรรค์ มากขึน้ เชือ่ ว่าประสบการณ์ตรงของผูเ้ ขียนทีเ่ ป็น กูรบู ตู คิ โฮเต็ล อย่างอาจารย์วรพันธุ์ คล้ามไพบูลย์ หรือพี่ขิง ที่ได้เดินทางไปทั่วทุกภาคของประเทศ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านเป็นอย่างมากทีเดียว พีข่ งิ เป็นกูรดู า้ นการจัดการทีพ่ กั ทีม่ ปี ระสบการณ์มากมาย โดยเฉพาะบูตคิ โฮเต็ลขนาดเล็ก สามารถช่วยเติมเต็มในสิง่ ทีห่ ลายชุมชนขาด การท�ำงานกับชุมชนเป็นเรือ่ งทีล่ ะเอียดอ่อน และเป็น ทักษะเฉพาะของแต่ละคน ผมในฐานะคนทีเ่ คยท�ำงานกับพีข่ งิ มีความเชือ่ อย่างยิง่ ว่าหนังสือเล่มนีท้ ี่ สั่งสมมาจากประสบการณ์ตรงของพี่ขิงเอง จะช่วยชุมชนให้เดินทางในสายการท่องเที่ยวได้อย่าง มั่นใจมากขึ้นหลายเท่าเลยทีเดียว ค�ำว่า “บูติค” หลังจากนี้คงไม่ได้มีแค่โฮเต็ลและโฮสเทลต่อท้าย จากแรงบันดาลใจของ หนังสือเล่มนี้จะก่อให้เกิดค�ำว่า “บูติคโฮมสเตย์” เพิ่มมากขึ้นในชุมชนที่ท�ำเรื่องท่องเที่ยว ซึ่งใน มุมมองของผู้ประกอบการด้านนี้แล้ว ผมเชื่อว่าด้วยหลักการของหนังสือเล่มนี้ และตัวอย่างดีๆ ที่ หนังสือน�ำเสนอ จะเป็นแรงผลักดันให้ชุมชนเห็นคุณค่าของวัสดุ สิ่งของที่อยู่รอบชุมชน ดัดแปลง การบริการที่เป็นเอกลักษณ์เข้ากับวัฒนธรรมของชุมชนตัวเองได้อย่างง่ายดาย เมื่อมีการจัดการ และการตกแต่งที่ดี โฮมสเตย์ของชุมชนก็จะไม่ใช่ข้อจ�ำกัด ไม่ใช่ความลังเลใจที่นักท่องเที่ยวต้อง กังวลอีกต่อไป ขอบคุณผูเ้ ขียน พีข่ งิ วรพันธุ์ คล้ามไพบูลย์ อีกครัง้ ส�ำหรับเนือ้ หาดีๆ ในหนังสือ Homemade Stay: My Hometown เล่มนี้ ที่สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ได้จริง
สมศักดิ์ บุญคำ�
Founder and CEO บริษัท Local Alike จำ�กัด
l คำ�นิยม l เมื่อพูดถึงค�ำว่า “การท่องเที่ยวชุมชน” หรือ “การท่องเที่ยวโดยชุมชน” สิ่งหนึ่งที ่ นักท่องเที่ยวหรือคนทั่วไปมักนึกถึงคือ โฮมสเตย์ ซึ่งเป็นรูปแบบของที่พักที่บ่งบอกถึงความเป็น ชุมชนท้องถิน่ และการไปพักในรูปแบบของการสัมผัสวิถชี วี ติ ผูค้ นในชนบท แต่แท้จริงแล้วโฮมสเตย์ ถือเป็นเพียงหนึ่งหน่วยการเรียนรู้ของการท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community Based Tourism : CBT) เท่านั้น โฮมสเตย์ถอื ก�ำเนิดขึน้ พร้อมๆ กับแนวคิดการพัฒนาการท่องเทีย่ วโดยชุมชน ย้อนกลับไป เมือ่ 20 กว่าปีกอ่ น โลกเริม่ ตระหนักว่าการพัฒนาทีม่ งุ่ เน้นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเพียงอย่าง เดียว ส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม สังคม และวัฒนธรรมในวงกว้าง เกิดการฉุกคิดและหันมามุ่งเน้น การพัฒนาทีเ่ กิดความสมดุลของเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม อันเป็นทีม่ าของแนวคิดการพัฒนา อย่างยั่งยืน การท่องเที่ยวผู้ตกเป็นจ�ำเลยที่สร้างผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสังคมวัฒนธรรม ต้องมีการกลับมาทบทวนและเกิดกระแสการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ขึ้น จุดนีเ้ องทีท่ ำ� ให้คนกลุม่ หนึง่ มองว่า การท่องเทีย่ วสามารถเป็นเครือ่ งมือในการพัฒนาได้ โดยมีหวั ใจส�ำคัญคือ ชุมชนผูเ้ ป็นเจ้าของทรัพยากรมีสทิ ธิใ์ นการจัดการทรัพยากรและการท่องเทีย่ ว เกิดการกระจายผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม กิจกรรมการท่องเที่ยวเน้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการท่องเทีย่ วต้องมีสว่ นในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรม และภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ เมือ่ รูปแบบการท่องเทีย่ วโดยชุมชนเกิดขึน้ การให้บริการทีพ่ กั ในชุมชนจึงเป็นสิง่ ทีต่ อ้ ง คิดตามมาเกิดเป็นโฮมสเตย์ขึ้น ด้วยแนวคิดและหลักการของการท่องเที่ยวโดยชุมชน โฮมสเตย์ จึงไม่ได้เป็นเพียงการบริการทีพ่ กั หรืออาหาร แต่เป็นหนึง่ หน่วยการเรียนรูด้ า้ นวิถชี วี ติ วัฒนธรรม ของคนในท้องถิ่น สัมพันธภาพระหว่างเจ้าของบ้านและผู้มาเยือน หากจะมองพัฒนาการและความเป็นอยู่ของโฮมสเตย์ในประเทศไทยนั้นจะพบว่า โฮมสเตย์มีการเติบโตขึ้นอย่างมากในเชิงปริมาณ แต่ขณะเดียวกันความรู้ความเข้าใจในเรื่องของ โฮมสเตย์ยังไม่เป็นที่แพร่หลายนัก อีกทั้งโฮมสเตย์ในหลายๆ แห่งเกิดขึ้นมาเพื่อรองรับกิจกรรม ศึกษาดูงาน มากกว่าการเป็นที่พักผ่อนส�ำหรับนักท่องเที่ยว
ในบริบทสังคมใหม่นี้ โจทย์ของโฮมสเตย์มีความท้าทายมากขึ้น เป็นไปได้หรือไม่ที่ โฮมสเตย์จะสามารถยกระดับหรือสร้างความแตกต่าง โดยไม่ทิ้งหัวใจส�ำคัญของการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และสัมพันธภาพระหว่างเจ้าของบ้านและแขกที่มาพัก ในหนังสือ Homemade Stay: My Hometown อาจารย์วรพันธุ์ คล้ามไพบูลย์ กูรู บูติคโฮเต็ล มีความมุ่งมั่นที่จะน�ำเสนอโฮมสเตย์ที่มีความแตกต่าง สร้างคุณค่าและมูลค่าให้กับ โฮมสเตย์ไทยผ่านประสบการณ์การเดินทางไปสัมผัสชุมชน CBT ในที่ต่างๆ ทั่วประเทศและเรียน รูว้ ถิ ชี วี ติ ของผูค้ นในท้องถิน่ ผ่านการพักโฮมสเตย์ของชุมชน เพือ่ ศึกษาและหาแนวทางการต่อยอด จากแนวคิดบูติคโฮมสเตย์ เป็นการน�ำต้นทุนเดิมที่มีอยู่แล้วในท้องถิ่น มีเรื่องราวและมนต์เสน่ห์ มาพัฒนาต่อยอดให้เป็นบูตคิ โฮเต็ลหรือบูตคิ โฮมสเตย์ทมี่ ที งั้ เอกลักษณ์ แต่เพิม่ เติมข้อดีใหม่ๆ จาก บูติคโฮเต็ลเข้าไปเป็นส่วนผสม ซึ่งน่าจะตอบโจทย์กลุ่มนักท่องเที่ยวเจเนอเรชั่นใหม่ที่โหยหาอดีต และหลงรักวิถีชีวิตชนบท เป็นการสร้างสะพานสายรุ้งที่เชื่อมโยงคนต่างวัฒนธรรมให้มาพบปะ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ผมเชื่อว่าแนวคิดนี้จะเป็นกุญแจส�ำคัญที่น�ำไปสู่การสร้างอาชีพให้กับคนในท้องถิ่นหรือ คนรุน่ ใหม่ทหี่ วนกลับคืนสูท่ อ้ งถิน่ เป็นการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานราก และช่วยสร้างผูป้ ระกอบการ เพื่อสังคม เพื่อให้เกิดการกระจายตัวของนักท่องเที่ยวที่ไม่ต้องไปแออัดแต่ในเมืองใหญ่ และ กระจายรายได้ทางเศรษฐกิจที่ไม่รวยกระจุกจนกระจายอย่างที่ผ่านมา หนังสือ HomemadeStay เล่มนีจ้ ะเป็นแรงบันดาลใจและแนวคิดในการเริม่ ต้นพัฒนา โฮมสเตย์ในมุมมองใหม่ที่มีทั้งคุณค่าและการประสบความส�ำเร็จอย่างแท้จริงในธุรกิจ
วรพงศ์ ผูกภู่
หัวหน้าฝ่ายวิจยั สถาบันการท่องเทีย่ วโดยชุมชน (CBT-I)
“
หนังสือเล่มนี้เขียนขึ้นเพื่อให้เห็นว่า
ทุกพื้นที่ที่มนุษย์เดินทางไปถึง ไม่ว่าจะไกลแค่ใหน ก็สามารถทำ�ธุรกิจที่พักได้ ปรัชญาในหนังสือเล่มนี้คือ
หลักการที่ทุกคน สามารถทำ�สำ�เร็จได้ในชีวิตนี้ ไม่ว่าคุณจะเป็นใครก็ตาม และแม้แต่คนที่มีข้อจำ�กัดที่สุด
“
“
เพราะมันไม่สำ�คัญ ว่าคุณจะมีมาก หรือน้อยแค่ไหน แต่ที่สำ�คัญที่สุดคือ
สิ่งที่มีอยู่แล้ว จะนำ�มาใช้ ให้เกิดผลลัพธ์สูงสุดได้อย่างไร
“
การหา เลี้ยงชีพ
การอยู รวมกัน
การ เรียนรู
ธรรมชาติ
คน
บานเกิด
ระบบนิเวศ ของการทำที่พัก ในหมูบาน
ความ แตกตาง
วัฒนธรรม
ผูมาเยือน
การ เคารพ
l บทนำ� l การท�ำบูตคิ โฮเตล โฮสเทล โฮมสเตย์ และทีพ่ กั ขนาดเล็กอืน่ อืน่ เป็นเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทีค่ นทัว่ ไปสามารถส�ำเร็จได้โดยไม่จำ� เป็นต้องใช้เงินลงทุนมากเช่นอสังหาริมทรัพย์ประเภทอืน่ แต่ ใช้ความคิดเป็นทุนที่มิมูลค่าเพิ่มสูงสุด เพราะความคิดที่ยอดเยี่ยมสามารถเอาชนะได้ทุกสิ่งไม่ว่า จะเป็นท�ำเลที่เลว งบประมาณที่จ�ำกัด ความเชื่อที่ท�ำตามตามกันมาโดยไม่ตั้งค�ำถาม หรือกระทั่ง เอาชนะความกลัวที่มีอยู่แต่ในใจของตนเอง คนฉลาดใฝ่หาความจริง คนโง่ย่อมยึดถือสิ่งจอมปลอม ผู้มีปัญญาย่อมรู้จักใช้จุดแข็ง หรือทุนที่มีมาแต่ก�ำเนิดเพื่อสร้างฐานะได้ และทุนที่ทุกคนมีอยู่แล้วคือความเป็นคนไทยทุกคนที่ สวรรค์สร้างมาให้ถือก�ำเนิดเป็นเจ้าของธุรกิจที่พักทุกประเภท และบ้านเกิดแผ่นดินไทยที่ บรรพบุรุษได้มอบให้ทุกพื้นที่มีธรรมชาติงดงาม อาหารการกินอันอุดมสมบูรณ์ การท�ำธุรกิจที่พักประเภทใดก็ตามในบ้านเกิด เป็นธุรกิจที่สร้างผลกระทบได้ตั้งแต่ใน ระดับประเทศ คือลดความเหลื่อมล�้ำต�่ำสูง ช่วยกระจายความเจริญและรายได้ โดยไม่ต้องพึงพา กลไกรัฐ ไปจนถึงระดับปัจเจกคือ การได้ใช้ทักษะพิเศษของเราและได้ใช้เวลาที่มีคุณค่า อยู่กับคน ที่เรารัก ในบ้านเกิดของเรา ที่ส�ำคัญคือนี่เป็นธุรกิจที่มีความเสี่ยงต�่ำและมีมูลค่าเพิ่มสูง ถ้ามีการ จัดการอย่างเป็นระบบ รวมถึงมีใบอนุญาตตามกฎหมาย คุณจะสามารถส่งต่อธุรกิจนีใ้ ห้กบั คนรุน่ ต่อไปได้อย่างมั่นใจ การเปลี่ยนอาคารเก่าเป็นบูติคโฮเต็ล โฮสเทล หรือที่พักประเภทต่างๆทั้งในเมืองและ ในชนบทนั้น สิ่งที่ถูกเปลี่ยน ไม่ได้มีแค่บ้าน หรือชุมชน แต่มันคือการเปลี่ยนแปลงที่ไปถึงระดับ ความสัมพันธ์ในครอบครัว ปัจจเจกบุคคลและจนถึงระดับจิตวิญญาณ เพราะกลไกของธุรกิจนี้ จะโน้มน้าวให้คนเราตั้งค�ำถามที่ส�ำคัญที่สุดกับตัวเอง ว่าเราเกิดมาท�ำไมเกิดมาเพื่ออะไร เรามี ความสัมพันธ์และมีคณ ุ ค่าต่อสิง่ รอบตัวแค่ไหน โดยเฉพาะสิง่ ทีเ่ ป็นรากของชีวติ เราเช่น ตัวตน และ แหล่งก�ำเนิดของเรา เพราะเราอาจเดินทางไปทัว่ โลก และหลงรักดินแดนมากมาย แต่เราทุกคนมีแหล่งก�ำเนิด ได้แห่งเดียวคือบ้านเกิดเฉกเช่นมนุษย์ทุกคนย่อมถือก�ำเนิดจากครรภ์มารดาเดียว บางทีการเริม่ ต้นท�ำสิง่ ทีใ่ หม่ที่สดุ ในชีวิต อาจเป็นการย้อนกลับไปทีจ่ ดุ ก�ำเนิดแรกสุด ที่ ทุกอย่างมีสภาพเป็นศูนย์ เป็นจุดที่การเริ่มต้นและอนาคตได้หลอมรวมเป็นเนื้อเดียวเกี่ยวพันกัน ไปตลอดกาลไม่มวี นั จบสิน้ และนีค่ อื เรือ่ งราวทัง้ หมดของ Homemade Stay : My Hometown
Part 1
/ Original Experiences ความจริงทีม่ คี ณ ุ ค่าอยูเ่ หนือความงาม และการสร้างมูลค่าเพิ่ม
/
1. Original experiences ความจริงที่มีคุณค่าสูงกว่าความงาม
ท�ำไมมนุษย์จึงออกเดินทาง แม้เวลาผ่านไปเนิน่ นาน แต่ความปรารถนาของคนเราทีจ่ ะค้นพบเรือ่ งใหม่ๆ ความตืน่ เต้น ทีจ่ ะเรียนรูส้ งิ่ ใหม่ หรือแม้แต่เติมเต็มส่วนทีข่ าดหายไปจากชีวติ นัน้ ไม่เคยเปลีย่ น โดยเฉพาะถ้าเรา เชือ่ ว่าการเดินทางนัน้ จะเปิดด้านใหม่ๆ ในชีวติ ให้เราได้สมั ผัส แม้ไกลแค่ไหน เราก็จะเดินทางไปถึง การส่งมอบประสบการณ์ที่แปลกใหม่ สร้างแรงบันดาลใจ และทรงคุณค่า จึงเป็นหัวใจ ของการท�ำธุรกิจที่พักแบบสร้างสรรค์ ถ้าสถานที่นั้นสามารถส่งมอบประสบการณ์นี้ได้ เราจะ สามารถท�ำธุรกิจที่พักที่ใดก็ได้ เพราะถ้าเราสามารถค้นพบจุดขายเหล่านี้ ที่พักแต่ละแห่งทั่วโลก จะไม่มีวันเหมือนกันเลย เช่นเดียวกับที่มนุษย์ล้านคนย่อมมีความแตกต่างกันล้านแบบ แต่เราจะค้นหาประสบการณ์เช่นนี้ เพื่อส่งมอบให้กับนักเดินทางได้อย่างไร อะไรคือ นิยามของค�ำว่า “แปลกใหม่” หรือ “ทรงคุณค่า” และสองค�ำนี้ค�ำไหนกันแน่ที่มีความส�ำคัญ มากกว่ากัน หรืออาจจะเป็นความแปลกใหม่ทไี่ ม่มคี ณ ุ ค่า หรือเป็นความมีคณ ุ ค่าทีม่ คี วามแปลกใหม่ ได้หรือไม่ เราคงต้องตั้งค�ำถามกับตัวเองให้มากๆ บางค�ำถามอาจน�ำเราไปสูก่ ารค้นพบตัวตนทีเ่ ข้มข้นขึน้ อย่างชัดเจน แต่เป็นไปได้หรือไม่ ว่าบางครัง้ การลืมหรือการปล่อยวางตัวตน ก็อาจน�ำไปสูก่ ารค้นพบตัวตนในแบบทีเ่ ราไม่เคยสัมผัส มาก่อนได้เช่นกัน
มหาตมะ คานธี เคยกล่าวไว้ว่า...
หนทางที่ดีที่สุดที่จะค้นพบตัวตน ก็คือการปล่อยวางตัวตนผ่านการทำ�งานรับใช้ผู้อื่น The best way to find yourself is to lose yourself in the service of others.
32
ค�ำนี้ช่างเข้ากันกับคุณค่าหลักในการท�ำธุรกิจที่พักเป็นอย่างยิ่ง นั่นคือการท�ำงานรับใช้ ผู้อื่น หรืออีกนัยหนึ่งก็คือการบริการหรือการต้อนรับผู้มาเยือนนั่นเอง ขณะนีก้ ารปล่อยวางตัวตนได้กลายมาเป็นสิง่ ซับซ้อน เป็นภาพเกีย่ วกับการค้นพบตัวตน และการท�ำงานรับใช้ผู้อื่น ดังนั้น เป็นไปได้หรือไม่ว่า เราอาจท�ำธุรกิจที่พักที่ยอดเยี่ยมจากที่ใด ก็ได้ในโลกนี้ โดยมีจุดแข็งอยู่ที่เรื่องของการแสดงออกซึ่งตัวตนและการต้อนรับผู้มาเยือนเท่านั้น ไม่จำ� เป็นต้องพึง่ พาแม้แต่จดุ แข็งอืน่ ทีเ่ ราถูกสอนให้เชือ่ ตามๆ กันมา เช่น การมีทำ� เลทีส่ ะดวก การ ตกแต่งที่สวยงาม หรือกระทั่งราคาถูกที่คนทั่วไปสามารถจ่ายได้ ถ้าสิ่งนี้เกิดขึ้นได้จริง เท่ากับว่า เราสามารถท�ำทีพ่ กั ในระดับราคาทีแ่ พงแค่ไหนก็ได้ บนพืน้ ทีห่ า่ งไกลแค่ไหนก็ได้ มีรปู แบบเป็นตัว ของตัวเองแค่ไหนก็ได้ ด้วยจุดเด่นและศักยภาพที่เรามีอยู่แล้ว
2. ทุน เรามาเริ่มต้นด้วยสมมติฐานนี้ เราจะท�ำที่พักคุณภาพสูงที่จะส่งมอบประสบการณ์อัน ยอดเยี่ยมให้กับผู้มาเยือนในพื้นที่ที่ห่างไกลในสไตล์ของเรา เราสามารถเก็บราคาที่พัก ผลก�ำไรที่ เราพอใจ และด้วยต้นทุนต�่ำเท่าที่เราสบายใจด้วย
สรุปให้งา่ ยขึน้ คือ การทำ�ทีพ่ กั ทีย่ อดเยีย่ ม ตัง้ อยูห่ า่ งไกลแค่ไหนก็ได้ ในสไตล์เรา ด้วยงบจำ�กัดที่เรามี มาเริ่มต้นที่ค�ำว่า “ทุน” เป็นค�ำแรกก่อน ทุน คือสิ่งที่เราต้องน�ำมาใช้ เพื่อให้ธุรกิจเกิดผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ดังนั้น ทุนไม่ใช่แค่ เงิน ที่ดิน แรงงาน เท่านั้น แม้แต่ความคิดสร้างสรรค์ ก็เป็นทุนที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ด้วย
วิธีคิดเรื่องทุนมีหลายแบบ แต่แบบที่เรียบง่ายและสามารถประยุกต์ ใช้ได้กับทุกสถานการณ์มากที่สุด คือ 1. ทุนภายนอก 2. ทุนภายใน
33
ทุนภายนอก คือ สิง่ ทีต่ อ้ งไปหามาจากภายนอก เช่น เงินกู้ ทีด่ นิ ในท�ำเลดีมากทีเ่ ราอยากได้ ความรู้ในธุรกิจหรือเครือข่ายในธุรกิจ ส่วนทุนภายใน คือ สิ่งที่เรามีอยู่แล้ว เช่น ชาติก�ำเนิด ครอบครัว เงินเท่าที่มี ที่ดินบ้าน เกิดที่แม้จะแย่แค่ไหนก็ตาม รวมไปถึงความถนัดและทักษะเฉพาะที่เรามีแตกต่างจากคนอื่น การลงทุนทีฉ่ ลาดคืออะไร แน่นอนว่าคือการลงทุนทีต่ ำ�่ ทีส่ ดุ หรือแม้แต่การไม่ตอ้ งลงทุน ด้วยเงินของตัวเองเลย แต่ได้ผลตอบแทนสูงสุด โดยทีม่ รี ะยะเวลายาวนานหรือมีความยัง่ ยืน มัน่ คง มากทีส่ ดุ แต่วธิ คี ดิ เรือ่ งผลตอบแทนหรือการลงทุนของคนทีม่ ที นุ มากและคนทีม่ ที นุ ปานกลาง รวม ถึงคนที่มีทุนจ�ำกัดนั้นย่อมแตกต่างกัน รวมถึงการน�ำไปใช้และผลลัพธ์ของวิธีต่างๆ ก็แตกต่างกัน ด้วย สัจธรรมทีเ่ กิดขึน้ จริงเสมอก็คอื คนส่วนมากนัน้ มีทนุ ทีเ่ ป็นตัวเงินน้อย แต่มที นุ ประเภท อื่นเหลือเฟือ หรือมนุษย์ทุกคนมีทุนภายนอกจ�ำกัด แต่มีทุนภายในอย่างไม่จ�ำกัด แต่กลับไม่เคย น�ำมาใช้
ปรัชญาของหนังสือนี้
คือการบอกเล่าถึงหลักการที่คนทุกคน สามารถทำ�สำ�เร็จได้ แม้แต่คนที่มีข้อจำ�กัด เมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว สาระหลักสำ�คัญที่สุดที่มนุษย์ทุกคนพึงจะลงทุนได้ก็คือ
ไม่สำ�คัญว่าคุณมีเท่าไหร่ แต่สำ�คัญว่าสิ่งที่มีอยู่แล้ว สามารถเอามาใช้จนเกิดผลลัพธ์สูงสุดได้อย่างไร It’s not what you have to invest but invest in what you have.
34
การค้นพบทุนภายในนัน้ อาจค้นพบด้วยความตัง้ ใจ หรือบางครัง้ ก็คน้ พบด้วยสถานการณ์ ทางความอยูร่ อดบีบบังคับ ดังเช่นการถือก�ำเนิดของบางประเทศ การสร้างจุดขายของบางประเทศ หรือแม้แต่หลายหมู่บ้านโฮมสเตย์ต้นแบบของประเทศไทย
เมื่อเรารู้จักการใช้ทุนภายในแล้ว ทุนภายนอกที่มีจำ�กัดแค่ไหน ย่อมไม่ใช่เรื่องที่จะสร้างปัญหาได้ แท้จริงแล้วยังมีทุนอีกประเภทหนึ่งที่น้อยคนจะสามารถน�ำมาใช้ได้ ทุนนี้ไม่ได้มีอยู่ ภายนอกหรือภายใน ไม่ได้อยู่ในที่แจ้งหรือที่มืด ไม่ได้จ�ำกัดว่าความรู้น้อยหรือมากเกินจะน�ำมา ใช้ได้ ทุนนัน้ ก็คอื ทุนจักรวาลหรือทุนธรรมชาติทมี่ พี ลังกว้างขวางเกินกว่าจะจินตนาการได้ ใน เบือ้ งต้นมีสายลม แสงแดด พืชพรรณ และฤดูกาลต่างๆ ทีธ่ รรมชาติมอบให้เป็นของขวัญแก่มนุษย์ ทุกคนใช้ได้ฟรีอย่างเท่าเทียมกัน ไม่จ�ำกัดเชื้อชาติ ศาสนา ความเชื่อ ผิวพรรณ หรือแม้แต่ถิ่นที่อยู่ อาศัย ผู้มีปัญญาย่อมไม่ติดขัดอยู่ในข้อจ�ำกัดของความยากจน การศึกษา หรือชาติก�ำเนิด แต่เรียนรู้ที่จะใช้ทุนภายในที่มีอยู่แล้วร่วมกับสิ่งที่ธรรมชาติมอบให้ จนเกิดผลลัพธ์ทาง ธุรกิจที่ยอดเยี่ยม เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วจะยังมีอุปสรรคอะไรอีกหรือ เมื่อเราต้องท�ำที่พักในท�ำเลที่ห่างไกล และเต็มไปด้วยข้อจ�ำกัด ซึ่งอาจมีอยู่แค่ในความคิดของเราเองเท่านั้น
35
3. บูติคโฮเต็ล โฮสเทล โฮมสเตย์ และที่พักทุกประเภทในทำ�เลที่ห่างไกล
เราทุกคนเกิดมาพร้อมกับท�ำเล ณ บ้านที่เราเกิดและเติบโต เราถูกบอกเล่าอยู่เสมอว่า กฎแห่งการท�ำธุรกิจที่พักนั้น ท�ำเลที่ดีคือหัวใจส�ำคัญสูงสุด ถ้าพ้นเรื่องนี้ไปแล้วจะไม่สามารถท�ำ ธุรกิจนี้ได้ แต่ท�ำเลดีแท้จริงแล้วคืออะไร ใกล้และสะดวก หรือไกลแต่มีจุดขาย หรือถ้าไกลแต่มี เพียงจุดขายทีเ่ ราสร้างขึน้ หรือเล่าขึน้ มาใหม่ได้หรือไม่ ปัจจุบนั เราเชือ่ ว่าโฮสเทลต้องอยูก่ ลางเมือง ยิ่งใกล้สถานีรถไฟฟ้าเท่าไหร่ยิ่งดี แต่รู้หรือไม่ว่าโฮสเทลแห่งแรกนั้นเกิดขึ้นในป่าลึก และปัจจุบัน ก็ยังคงมีโฮสเทลที่ตั้งอยู่ในป่าจ�ำนวนมากที่ด�ำเนินธุรกิจมาแล้วหลายชั่วอายุคน เมื่อเราจ�ำเป็นต้องท�ำที่พัก แต่ถ้าไปที่ห่างไกล บางแห่งอาจมีธรรมชาติที่สวยงาม แต่ บางแห่งนัน้ อาจไม่มจี ดุ เด่นอะไรเลย นอกจากความเป็นบ้านนอกทีเ่ งียบสงบหรือแม้แต่นา่ เบือ่ จน เรามักเกิดค�ำถามในใจว่า 1. ท�ำตรงนี้แล้ว ใครจะมาพัก 2. ไกลขนาดนี้จะเดินทางมาอย่างไร 3. มาแล้วจะให้เขาท�ำอะไร 4. เก็บค่าที่พักน้อยก็ไม่ได้อะไร แต่จะเก็บแพงก็ไม่ได้ ราคาแค่ไหนเขาถึงจะยอมจ่าย
เราไม่ได้ทำ�ธุรกิจที่พักเป็นครั้งแรก ตรงกันข้ามเรากำ�ลังทำ�หนึ่งในธุรกิจที่เก่าแก่ที่สุดของโลก ปัญหาที่เราเจอในวันนี้ถูกแก้มาแล้วนับล้านครั้ง เช่นเดียวกับค�ำถามข้างบน มีหลายกรณี หลายประเทศ และที่พักหมู่บ้านในชนบทห่าง ไกลหลายต่อหลายแห่ง ได้ทำ� ส�ำเร็จไปแล้ว เช่นตัวอย่างของภูฐาน ซึง่ เป็นประเทศเล็กๆ ทีห่ า่ งไกล กันดาร เดินทางไปยาก เมื่อไปถึงแล้วก็ไม่ได้มีความหลากหลายทางกิจกรรมใดๆ เลย แต่สามารถ สร้างจุดขายในฐานะประเทศที่อนุรักษ์ธรรมชาติ วิถีชีวิต และวัฒนธรรมแบบดั้งเดิม จนสามารถ ขายการท่องเที่ยวที่มีราคาแพง และยังจ�ำกัดจ�ำนวนผู้เดินทางเข้าไปท่องเที่ยวในแต่ละปีได้ จะเป็นไปได้ไหมทีเ่ ราจะสร้างแม่ฮอ่ งสอน ซึง่ เป็นจังหวัดเล็กๆ ทีม่ คี วามเงียบสงบ บริสทุ ธิ์ และห่างไกลให้เป็นจุดหมายการเดินทางที่มีมูลค่าสูง ชาวบ้านยังคงวิถีชีวิตดั้งเดิม แต่ได้ผลลัพธ์ ด้านการอนุรกั ษ์และพัฒนาอย่างยัง่ ยืนทัง้ ทางธรรมชาติและวัฒนธรรม ได้นกั ท่องเทีย่ วทีม่ คี ณ ุ ภาพ ที่เดินทางมาพร้อมกับศักดิ์ศรีความภูมิใจในตัวตนของคนที่อยู่ในพื้นที่ที่ห่างไกล
36
- Skye Island -
SCOTLAND
อีกบทเรียนหนึ่งจากประเทศสก็อตแลนด์ ในดินแดนชนบทอันโดดเดี่ยวและห่างไกล อย่าง Highland หรือหมูเ่ กาะ Skye ทีห่ า่ งจาก Edinburgh ไปสีช่ วั่ โมง การเดินทางไปต้องขับรถ ผ่านเส้นทางทีค่ ดเคีย้ วและโดดเดีย่ ว ท่ามกลางธรรมชาติทเี่ ร้นลับและทิวเขาเวิง้ ว้าง เมือ่ ไปถึงผูม้ า เยือนจะได้พบกับดินแดนที่งดงามน่าพิศวงราวกับอยู่นอกแผนที่โลก โดยสร้างจุดขายเป็นพื้นที่ อนุรักษ์การเกษตร ผลิตภัณฑ์จากเกษตรกร ผักปลอดสารพิษ การใช้ชีวิตในชนบทอันเงียบสงบ และบริสุทธิ์ โดยมีข้อห้ามอย่างเข้มงวดและจริงจังในการพัฒนาโครงการขนาดใหญ่ที่จะรบกวน ต่อภาพรวมของพื้นที่ หลายพื้นที่ไม่มีแม้แต่คลื่นโทรศัพท์หรืออินเทอร์เน็ต ด้วยเงื่อนไขทั้งที่ ธรรมชาติและที่มนุษย์ได้สร้างขึ้นนี้ ท�ำให้เกิด Farmstay, Boutique Hotel, Lodge, Inn หรือ แม้แต่ Hostel ขนาดเล็กที่มีเอกลักษณ์ขึ้นมากมาย ในซอกหลืบเนินป่าที่ห่างไกลกัน ที่ส�ำคัญคือ สามารถขายได้ในระดับราคาที่ค่อนข้างสูง สามารถท�ำเป็นธุรกิจจนประสบความส�ำเร็จได้ ควบคู่ ไปกับการอนุรักษ์และเอกลักษณ์ของพื้นที่
40
ประเทศไทยมีชอื่ เสียงในฐานะแหล่งท่องเทีย่ วราคาประหยัดมาช้านาน ทัง้ จากนักท่องเทีย่ ว ต่างประเทศและชาวไทยด้วยกัน แต่สงิ่ นีต้ อ้ งแลกมาด้วยความเสือ่ มโทรมของธรรมชาติ วัฒนธรรม การบุกรุกท�ำลายป่า หรือแม้แต่การค้าโสเภณี ทีส่ ง่ ผลต่อภาพลักษณ์ของผูห้ ญิงไทยเมือ่ ต้องเดินทาง ไปทั่วโลก
นานพอแล้วหรือยังที่เราติดหล่มอยู่ในการท่องเที่ยว ที่ต้องแลกมา ด้วยสิ่งเหล่านี้ จะทำ�อย่างไรให้การพัฒนาของเราเป็นการพัฒนา ที่ไม่ได้ทิ้งใครไว้ข้างหลัง จะดีกว่าหรือไม่ถ้าการพัฒนาการท่องเที่ยวของเรา สามารถเปิดมุมมองให้ผู้มาเยือน ได้เห็นถึงพื้นที่ที่ตั้งอยู่ไกลลิบแห่งใหม่ๆ แต่สร้างแรงบันดาลใจใหม่ๆ เกี่ยวกับเมืองไทย พร้อมกัน กับเปิดโอกาสให้คนในท้องถิน่ ชนบทห่างไกลได้รบั แรงบันดาลใจ ได้เรียนรูจ้ ากนักเดินทางผูม้ าเยือน และได้เห็นถึงโอกาสที่จะอยู่บ้านและท�ำธุรกิจเกี่ยวกับการท่องเที่ยวอย่างมีอนาคตแท้จริง 41
4. การสร้างมูลค่าเพิ่ม การกระจายรายได้ และปัจจัยแห่งความสำ�เร็จ
การสร้างมูลค่าเพิ่ม การท�ำที่พักที่มีคุณภาพในชนบทที่ห่างไกล คือเครื่องมือส�ำคัญที่จะพาทั้งเจ้าบ้านและ ผู้มาเยือนไปสู่ดินแดนใหม่ ทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็น ไม่ใช่แค่ให้ที่พักที่สามารถส่งมอบ ประสบการณ์ได้อย่างรอบด้านเท่านั้น แต่ต้องสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับโฮมสเตย์ในชุมชน อีกด้วย เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและรายได้เพิ่มนั้น ที่พักในชุมชนจะต้องออกแบบวิถีชีวิตผู้มาเยือน ให้มีกจิ กรรมสมดุลในทุกด้าน เพือ่ พาผู้มาเยือนไปยังดินแดนและความรู้สกึ ที่ไม่เคยสัมผัสมาก่อน เช่นเดียวกับเสียงพิณสี่สายที่บรรเลงได้อย่างไพเราะกลมกลืน มีองค์ประกอบดังนี้
H.A.R.P เพลงพิณสี่สาย ร่ายมนต์บูติคโฮมสเตย์ • Home บ้าน ที่ต้องมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม แต่ปรับเปลี่ยนให้มีการใช้สอยสะดวกสบาย สะอาด ปลอดภัย • Activities กิจกรรม ทีอ่ อกแบบขึน้ มาให้ผมู้ าเยือนท�ำในหนึง่ หรือสองวัน กิจกรรมเหล่านีจ้ ะช่วย เผยให้เห็นถึงความงามและคุณค่าของหมู่บ้านอย่างที่คนนอกไม่เคยได้เห็นมาก่อน ปราศจากกิจกรรมนี้ ผูม้ าเยือนอาจจะใช้เวลาอย่างเลือ่ นลอย ไม่ตรงกับวัตถุประสงค์ ในการมาพักในหมูบ่ า้ น สิง่ ส�ำคัญคือ หน้าทีข่ องกิจกรรมนีเ้ ป็นการช่วยกระจายงาน หน้าที่ และผลิตภัณฑ์ของชาวบ้านกลุ่มต่างๆ ในหมู่บ้านอย่างครบถ้วน เพื่อดึงให้ คนส่วนใหญ่ในชุมชนเข้ามามีสว่ นร่วม และเมือ่ นัน้ ทัง้ กิจกรรมและรายได้กจ็ ะเพิม่ ขึน้ ไม่รู้สึกว่าผู้มาเยือนเข้ามารบกวนและพร้อมให้การต้อนรับ • Real Life แม้มกี จิ กรรม แต่วถิ ชี วี ติ จริงยังต้องด�ำเนินไปได้ มิฉะนัน้ กิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ อาจค่อยๆ เปลีย่ นเป็นการแสดงทัง้ หมด วิถชี วี ติ จริงยังต้องคงอยู่ เพราะเป็นการกระจายความเสีย่ ง ให้หมู่บ้านมีรายได้สองทาง ไม่ใช่มีรายได้จากการท่องเที่ยวเพียงทางเดียว ซึ่งอาจ ไม่มีความมั่นคง • Product ผลิตภัณฑ์ประจ�ำหมู่บ้านที่มีเอกลักษณ์จะต้องถูกน�ำมาออกแบบจัดวาง ใส่กล่อง หรือห่อให้สวยงาม แล้วให้เป็นของฝากรวมไปกับค่าที่พัก เพื่อให้แน่ใจว่าผู้มาเยือน มีโอกาสในการได้เป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์นี้ ควรให้เฉพาะกับผูท้ มี่ าพักเท่านัน้ จะเป็น แบบทีไ่ ม่มขี ายภายนอกชุมชน การกระจายผลิตภัณฑ์อย่างทัว่ ถึงและต่อเนือ่ งจะช่วย เปิดโอกาสและสร้างรายได้ให้กบั ชาวบ้านอีกกลุม่ ทีอ่ าจไม่ได้เปิดบ้านท�ำทีพ่ กั ให้เข้ามา เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรม และท�ำให้ระบบนิเวศบูติคโฮมสเตย์เกิดความสมบูรณ์ ครบวงจรได้ 44
การกระจายรายได้ หัวใจหลักของบูติคโฮมสเตย์ในหมู่บ้าน แม้จะเป็นการท�ำโฮมสเตย์เป็นอาชีพเสริม แต่ในความเป็นจริงแล้ว หลายชุมชนและ ครอบครัวมีรายได้หลักมาจากการท�ำธุรกิจทีพ่ กั ในชุมชน การเข้ามาของนักเดินทางผูม้ าเยือนในอีก มุมหนึง่ ก็อาจเป็นการรบกวนวิถชี วี ติ ดัง้ เดิม การทีไ่ ม่สามารถกระจายรายได้อย่างทัว่ ถึงอาจเป็นเหตุ ให้ชาวบ้านบางคนไม่เข้ามามีสว่ นร่วม หรือไม่ให้ความร่วมมืออย่างเต็มทีไ่ ด้ การออกแบบโครงสร้าง รายได้จึงเป็นกุญแจส�ำคัญสู่ความส�ำเร็จของธุรกิจนี้ การออกแบบการกระจายรายได้มีด้วยกัน หลายวิธี หนึ่งในวิธีที่ได้ผลชัดเจนสามารถกระจายรายได้อย่างทั่วถึง มีขั้นตอนคือ
1.
สำ�รวจว่าในหมู่บ้านมีอาชีพอะไรบ้างที่สัมพันธ์กับวิถีชีวิตในหนึ่งวัน ตั้งแต่ตื่นนอนจนเข้านอน ตั้งแต่เข้าพัก จนลากลับบ้าน
2.
แต่ละอาชีพต้องการรายได้วันละเท่าไร
3.
วางตารางกิจกรรมที่สะท้อนเอกลักษณ์ของชุมชน โดยให้อาชีพที่หลากหลายมามีส่วนร่วมมากที่สุด
4.
เลือกราคาขายที่พักต่อคนให้ผู้มาเยือน โดยให้รวมกิจกรรมจากอาชีพเหล่านี้ไว้มากที่สุด เพื่อกระจายรายได้ให้มากที่สุด
5.
ผู้ที่ทำ�หน้าที่จัดการ ประสานงาน จัดคิวในชุมชน ต้องมีรายได้จากการทำ�งาน องค์ประกอบของกิจกรรมนี้ คือโครงสร้างของการกระจายรายได้ทที่ ำ� ให้เกิดความสมดุล ระหว่างการท�ำธุรกิจที่พักในหมู่บ้านที่ช่วยสร้างรายได้อย่างมั่นคง กับการคงไว้ซึ่งวิถีชีวิตที่คน ในหมู่บ้านยินดีที่จะรักษาไว้ และสุดท้ายย่อมน�ำไปสู่การท่องเที่ยวในชุมชนอย่างยั่งยืนที่สร้างทั้ง รายได้ พร้อมกับการพัฒนาธุรกิจที่พัก ซึ่งสามารถรักษาเอกลักษณ์ของคนในหมู่บ้านเอาไว้ได้ 46
การคำนวณ การกระจายรายไดในชุมชน และการคำนวนราคาที่พัก
กิจกรรม
สถานที่
ผูไดประโยชน
สวนแบง กิจกรรม
1. เขาพัก
บาน
เจาของบาน
250 บาท
2. กิน
บาน
ครอบครัวที่ทำอาหาร
250 บาท
3. เที่ยว เดินทาง
รอบหมูบาน
ไกด เจาของยานพาหนะ
250 บาท
4. รวมกิจกรรม
พื้นที่ชุมชน
ผูเชี่ยวชาญในชุมชน
250 บาท
5. ซื้อของ
บาน รานคา
ชาวบานที่ผลิตผลิตภัณฑ โดยที่อาจไมไดรวมกิจกรรม
250 บาท
รวมคาที่พักตอคืน 1,250 บาท
การเขาพัก บานโฮมสเตย
การซื้อสินคา
ผลิตภัณฑหมูบาน
ระบบนิเวศ ของการกระจายรายได ในโฮมสเตย หมู บ าน
การเขารวม กิจกรรมในหมูบาน นวด, ฝกงานหัตถกรรม ทำขนม, ทำอาหาร เดินปา ฯลฯ
การกิน
อาหาร เครื่องดื่ม
การเดินทาง
ไกด, คนขับรถ, ขับเรือ, รถอีแตน
ปัจจัยแห่งความสำ�เร็จ ส�ำหรับในเมืองไทยนัน้ มีโฮมสเตย์เป็นจ�ำนวนมากจากเหนือจดใต้ จากตะวันออกสูต่ ะวันตก ที่สามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงให้กับผู้คนในหมู่บ้าน สร้างรายได้ รวมทั้งยังสามารถมีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์ทั้งธรรมชาติและวัฒนธรรม โฮมสเตย์เหล่านี้ได้สร้างรายได้ที่ดีขึ้นให้กับผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้าน ที่ส�ำคัญยังสร้างความ หวังและโอกาสให้กับคนรุ่นใหม่ที่เดิมต้องจากบ้านไปแสวงหาเส้นทางชีวิต ให้กลับมาอยู่บ้านได้ เพราะทุกคนย่อมรักบ้าน เมือ่ ถิน่ ฐานบ้านเกิดเป็นทีท่ มี่ อี นาคตและมีความหวัง ใครเล่าจะไม่อยาก กลับบ้าน โฮมสเตย์ต้นแบบเหล่านี้มีตั้งแต่โฮมสเตย์ต้นแบบรุ่นบุกเบิกที่บ้านแม่ก�ำปอง จังหวัด เชียงใหม่ ไปถึงเหนือสุดในขุนเขาของจังหวัดแม่ฮ่องสอน เช่น บ้านจ่าโบ่และบ้านแม่ละนา จาก ราชธานีแรกของสยามทีบ่ า้ นนาต้นจัน่ จังหวัดสุโขทัย ไปถึงแผ่นดินอีสานทีง่ ดงามเรียบง่ายทีบ่ า้ น วังน�้ำมอก จังหวัดหนองคาย ไปภาคตะวันออกสู่บ้านน�้ำเชี่ยว จังหวัดตราด ที่มีความหลากลาย ทางวัฒนธรรมแต่อยูร่ ว่ มกันอย่างกลมกลืน จนถึงในขุนเขาอากาศบริสทุ ธิท์ ผี่ คู้ นไม่ยอมแพ้ตอ่ โชค ชะตาอย่างบ้านคีรีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช หมู่บ้านโฮมสเตย์ต้นแบบเหล่านี้ล้วนประสบความส�ำเร็จ เพราะสามารถ 1. พลิกเอาตัวตนที่อาจเคยมองว่าเป็นจุดด้อยกลับมาเป็นจุดขาย เช่น ความเป็นบ้าน นอก วัฒนธรรมท้องถิ่นและท�ำเลที่ห่างไกล แต่เงียบสงบและมีความงามของธรรมชาติ เช่น บ้าน จ่าโบ่และแม่ละนา จังหวัดแม่ฮ่องสอน บ้านวังน�้ำมอก จังหวัดหนองคาย 2. เอาสิ่งที่มีอยู่แล้วแต่ไม่ได้ใช้เป็นประโยชน์ หรือแม้แต่วัสดุเหลือใช้จากการผลิต มา ท�ำให้เป็นจุดเด่น เช่น เปลือกมังคุดของบ้านคีรีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช 3. สามารถสื่อสารสิ่งนั้นออกมาได้อย่างชัดเจนและมีความต่อเนื่อง เช่น บ้านน�้ำเชี่ยว จังหวัดตราด บ้านนาต้นจั่น จังหวัดสุโขทัย 4. มีความกล้ายืนหยัดในสิ่งที่ท�ำไม่หวั่นไหวต่อค�ำวิจารณ์ 5. มีศรัทธาอย่างแรงกล้าที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลง เพื่ออนาคตของบ้านเกิด เช่น บ้านแม่ก�ำปอง จังหวัดเชียงใหม่และหมู่บ้านโฮมสเตย์ทุกแห่ง แต่ละชุมชนแม้จะมีเรื่องราวและผลลัพธ์แตกต่างกัน แต่ก็มีสาระเรื่องเดียวกัน คือการ ส่งมอบประสบการณ์ต่างๆ ที่ทรงคุณค่าและการต้อนรับผู้มาเยือนที่จะมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา แต่แน่นอนว่าในอนาคตจะมีทพี่ กั ใหม่ๆ เกิดขึน้ วิถแี ห่งความส�ำเร็จอาจไม่เป็นเส้นทางเดิม อีกต่อไป นี่คือความความท้าทายของผู้ที่เป็นต้นแบบ
49
Boutique Homestay อนาคตและความท้าทายของต้นแบบ ความเป็นต้นแบบจะมีคุณค่าต่อเมื่อสามารถด�ำรงอยู่ต่อไปในอนาคต และแน่นอนว่า ชุมชนที่พักในอนาคตจะแตกต่างไปจากปัจจุบัน ในอนาคตประเด็นต่อจากนี้จะเป็นสิ่งส�ำคัญที่ ก�ำหนดความรุ่งเรืองหรือถดถอยของธุรกิจที่พัก
1. การนำ�ระบบเทคโนโลยีที่ยืดหยุ่นมาใช้เพื่อการจัดการ ไม่ใช่เพราะต้องการลดก�ำลังคน แต่เพราะต้องมีระบบที่ท�ำให้คนรุ่นบุกเบิกสามารถส่ง มอบข้อมูลจ�ำนวนมาก และขัน้ ตอนการท�ำงานต่างๆ ให้กบั คนรุน่ ต่อไปได้ ในวันทีผ่ บู้ กุ เบิกต้องการ ออกจากธุรกิจ ไม่ว่าจะเพราะอายุมากแล้ว หรือแม้แต่ต้องการลาพักร้อนสักหลายๆ วันก็ตาม ข้อมูลจ�ำนวนมากและขั้นตอนการท�ำงานที่เก็บสะสมมาหลายปี ไม่สามารถส่งต่อด้วยสมุดบันทึก เล่มหนาเตอะ หรือผู้เชี่ยวชาญที่เป็นคุณป้าสองคนที่ท�ำงานนี้ต่อเนื่องมา 20 ปีได้ การไม่สามารถส่งต่อองค์ความรู้ได้เป็นเหตุแห่งการเสื่อมถอยทางธุรกิจ เพราะผู้ที่รับ ช่วงธุรกิจต่อจะต้องเสียเวลามาเรียนรู้กับปัญหาเดียวกันที่เกิดขึ้นไปแล้วนับร้อยครั้งในช่วงหลาย สิบปีที่ผ่านมา ระบบที่จะใช้นี้ต้องออกแบบมาให้มีการใช้งานอย่างยืดหยุ่นระหว่างคนและ เทคโนโลยี
2. ที่พักต้นแบบจะถูกยกระดับให้มีราคาสูงขึ้น เพือ่ รองรับลูกค้ากลุม่ ทีเ่ ป็นกลุม่ นักเดินทางคุณภาพตัวจริงมากขึน้ กว่ากลุม่ ลูกค้าดูงาน และผ่านช่องทางการตลาดตามกลไกการตลาดจริงที่มีเครือข่ายระดับโลก มากกว่าการได้ลูกค้า จากหน่วยงานราชการในยุคก่อตั้งธุรกิจ ราคาที่พักจะสูงขึ้นด้วยการออกแบบที่มีมาตรฐานด้านความปลอดภัยและสุขอนามัย สูงขึ้น แต่ยังคงเอกลักษณ์ และที่ส�ำคัญคือราคาขายที่สูงขึ้นนี้ จะมาพร้อมกับผลิตภัณฑ์ชั้นเยี่ยม ในท้องถิ่น และจะถูกอธิบายถึงที่มาให้กับผู้มาเยือนอย่างชัดเจน โดยเงินที่เก็บแพงขึ้นนี้จะถูกน�ำ ไปกระจายรายได้กบั ชุมชนมากขึน้ และน�ำไปเป็นต้นทุนในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรทัง้ ทางธรรมชาติ และทางวัฒนธรรมอย่างเข้มงวดจริงจัง เพราะนี่คือสิ่งที่จะเป็นจุดแข็งของการท่องเที่ยวในชุมชน อย่างแท้จริง
50
Learning with Fun
Living with Respect
ที่พักที่มีมาตรฐานต�่ำและราคาถูกจะค่อยๆ หายไปจากตลาด และสุดท้ายเมื่อรายได้ เพิ่มขึ้น จะท�ำให้ที่พักในชุมชนเป็นธุรกิจที่สร้างรายได้จริง สามารถส่งลูกหลานให้มีการศึกษาดีๆ ได้ตามทีต่ อ้ งการ สามารถส่งพ่อแม่ไปรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลทีม่ มี าตรฐานสูงได้ และทีส่ ำ� คัญ มากคือจะท�ำให้คนรุน่ ใหม่อยากอาศัยอยูใ่ นบ้านเกิด เพราะมีโอกาสทางธุรกิจเทียบเท่าหรือแม้แต่ ดีกว่าในเมือง เพราะอาชีพการท�ำที่พักโฮมสเตย์คุณภาพสูงในชุมชนหมู่บ้าน จะเป็นอาชีพที่ท�ำ รายได้ดี และยังเป็นเครื่องมือในการกระจายความเจริญไปสู่ชนบท โดยที่กลไกภาครัฐแทบไม่มี ความจ�ำเป็นต้องเข้ามาสนับสนุน
3. การสร้างแบรนดิ้งหรือภาพจำ�ของชุมชน ที่เรียบง่าย มีเอกลักษณ์ชัดเจน จะมีความจ�ำเป็นและส�ำคัญควบคู่ไปกับการยกระดับ ราคาขาย โดยชุมชนสามารถเรียนรูส้ งิ่ นีไ้ ด้จากเครือข่ายธุรกิจทีพ่ กั ระดับโลกและน�ำวิธคี ดิ มาใช้ให้ เข้ากับเอกลักษณ์ที่มีอยู่แล้ว
4. แม้จดุ ขายจะมีมากมาย แต่สองสิง่ ทีไ่ ม่เคยหยุดก่อสร้าง คือ โรงเรียนและโรงพยาบาล คนจะเจ็บป่วยมากขึน้ และเบือ่ หน่ายการเรียนในโรงเรียนมากขึน้ การเรียนในห้องจะถูก มองข้ามไป การสร้างจุดขายของที่พักในชุมชนสามารถขายสองสิ่งนี้อย่างจริงจัง โดยเฉพาะการ รักษาสุขภาพไปพร้อมกับการท่องเที่ยว ซึ่งชนบทบ้านนอกที่ห่างไกล แต่มีธรรมชาติอันเงียบสงบ จะสามารถสร้างจุดขายจากข้อนี้ได้ง่ายกว่าที่พักในเมือง
5. สังคมจะเข้าสู่ยุคผู้สูงวัย ดังนัน้ การท�ำทีพ่ กั ในชนบททีอ่ อกแบบมาเฉพาะกลุม่ นีย้ อ่ มได้เปรียบ เพราะกลุม่ ผูส้ งู อายุ มักมาพร้อมกับกลุม่ ครอบครัวทีจ่ ะใช้เวลาพักในสถานทีย่ าวนานกว่า เนือ่ งจากเคลือ่ นตัวได้ชา้ มีกำ� ลัง ซื้อสูงกว่ากลุ่มอื่นมาก รวมทั้งยังมีพฤติกรรมที่เหมาะกับกิจกรรม วิถีชีวิตในหมู่บ้านชนบทด้วย
52
โครงสร้างของ Boutique Homestay ประสบการณ์จากโฮมสเตย์ตน้ แบบทัว่ ประเทศไทยเป็นสิง่ ทีม่ คี ณ ุ ค่ามหาศาล เพราะทุก หมู่บ้านชุมชนล้วนเติบโตขึ้นจากสภาพที่มีแต่ข้อจ�ำกัดและเต็มไปด้วยความเป็นไปไม่ได้ และ ทั้งหมดนี้ย่อมแลกมาด้วยเหงื่อและน�้ำตา ความขัดแย้ง ความเชื่อและชีวิตที่ทั้งหมดมีค่าสูงเกินที่ จะประมาณ
แต่ด้วยความมุ่งมั่น ความศรัทธาในบ้านเกิด และการลงมือทำ�เรียนรู้และแก้ไขอย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้ทุกแห่งสามารถก้าวข้ามข้อจำ�กัดมหาศาลไปได้อย่างสิ้นเชิง
ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งการขาดองค์ความรู้ การมีงบประมาณทีต่ ำ �่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การก้าว ข้ามความเชือ่ ทีฝ่ งั หัวกันมาว่า กฎการท�ำธุรกิจทีพ่ กั ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือ ต้องท�ำในท�ำเลทีไ่ ปถึงสะดวก หรืออยู่ใกล้แหล่งธรรมชาติที่สวยงามเท่านั้น ที่พักในหมู่บ้านทั้งหมดนี้ย่อมพิสูจน์แล้วว่าเมื่อใด ก็ตามทีเ่ ราสามารถสร้างจุดขายทีม่ คี ณ ุ ค่า ผูค้ นจะเดินทางไปไม่วา่ จะราคาเท่าใด ไม่วา่ ไกลแค่ไหน ก็ตาม บางบทเรียนอาจจะมีอายุมากกว่า 20 ปีหรือแม้แต่อาจล่มสลายในอนาคต ก็ไม่มีความ ส�ำคัญ เพราะเมือ่ ศึกษาเหตุแห่งการเกิดขึน้ และรุง่ เรืองก็ยอ่ มควรศึกษาเหตุการณ์การล่มสลายด้วย เมือ่ เราสามารถเรียนรูก้ ารสร้างผลลัพธ์จากสภาพทีเ่ ต็มไปด้วยข้อจ�ำกัดได้ การท�ำธุรกิจ ทีพ่ กั ของเราจะสามารถลดความเสีย่ งได้มากขึน้ ลงทุนได้นอ้ ยลง และทีส่ ำ� คัญคือเราก�ำลังออกแบบ ที่พักในแบบที่ชีวิตของเราต้องการ ในงบประมาณที่เราสบายใจ หลักการที่ถูกเล่าผ่านที่พักใน ชุมชนเหล่านีถ้ กู ออกแบบมาให้เรียบง่ายและท�ำได้จริง ไม่ใช่เฉพาะกับคนทีส่ มบูรณ์พร้อมมาตัง้ แต่ แรก แต่เพื่อให้คนที่มีข้อจ�ำกัดก็สามารถส�ำเร็จได้ในชีวิตนี้ จากนีเ้ ป็นต้นไป ยามสูงอายุทเี่ ฝ้าโรงงานมาหลายสิบปี หรือเจ้าของบูตคิ โฮเต็ลทีเ่ กษียณ อายุ จะกลายเป็นเจ้าของโฮมสเตย์ชั้นเลิศ แม่บ้านเชยๆ และสาวโรงงานจะสามารถเป็นเจ้าของ โฮสเทลที่อยู่กลางทุ่งนา และทุกคนย่อมรู้ว่าภายในตัวของคนทุกคนมีเจ้าของโรงแรมอีกคนที ่ หลับใหลอยู่ คนเหล่านัน้ และพืน้ ทีไ่ กลโพ้นเหล่านัน้ ต่างรอทีจ่ ะเปิดดินแดนและประสบการณ์ใหม่ให้ กับคนนอก ประสบการณ์ทจี่ ะอยูใ่ นทุกหนแห่ง ในทีม่ ดื ในทีส่ ว่าง ในท้องทุง่ กว้างใหญ่และมุมห้อง ที่คับแคบ ทั้งที่ไกลสุดสายตา และใกล้แค่ลมหายใจ เพราะพื้นที่ทุกแห่งที่มนุษย์เดินทางไปถึง...คือท�ำเลของบูติคโฮเต็ล
53
ขอดีของการทำโฮมสเตยและที่พัก ประเภทตางๆ ในหมูบาน
คุณคาตอ
ประเทศ และสังคม
เปนเครื่องมือชวยลดความเลื่อมล้ำต่ำสูง ชวยกระจายรายไดและความเจริญ เพิ่มความหลากหลายของธุรกิจที่พัก ลดความหนาแนนของเมืองใหญ เพราะคนชนบทสามารถอยูในพื้นที่ เปนกลไกชวยในการอนุรักษธรรมชาติ โดยรัฐไมตอเขาไปเกี่ยวของ เปนศรษฐกิจสรางสรรคที่ชวยสงเสริมวัฒนธรรม ใหมีคุณคาในปจจุบัน ชวยใหผูคนจากตางพื้นที่ ไดเรียนรูและความแตกตาง และเรียนรูที่จะอยูรวมกัน
มีชองทางรายไดเพิ่มขึ้น มีความสัมพันธในหมูบานดีขึ้น สรางโอกาสในการเรียนรูจากผูมาเยือนใหกับลูกหลาน สภาพแวดลอมในหมูบานดีขึ้น มีกิจกรรมที่สรางสรรคใหวัยรุนทำ ชุมชนสวยงาม สะอาดและนาอยูขึ้น คนไมตองยายถิ่นฐานเขาเมืองใหญ เพราะสามารถอยูในพื้นที่ เกิดความภาคภูมิใจในบานเกิด
คุณคาตอ
บุคคล
คุณคาตอ
หมูบาน
มีชองทางรายไดเพิ่มขึ้น มีทางเลือกในชีวิตมากขึ้น ตองซอมบานใหสวยงาม นาอยู บานไมเกา ไมโทรม มีเวลามากขึ้น ไมตองเสียเวลาเดินทาง ไดคนหาตัวตน คุณคาและความถนัด ไดใชความคิดสรางสรรคมากมาย ไดอยูกับบาน ไมตองเดินทางไกล และไดอยูกับคนที่เรารัก
Part 2
/ Village Homestay โฮมสเตย์ต้นแบบที่สร้างจุดขาย จนเปลี่ยนชีวิตคนทั้งหมู่บ้าน
/
/
บ้านจ่าโบ่ บ้านแม่ละนา จ.แม่ฮ่องสอน
ชุมชนท่องเทีย่ ววิถมี เู ซอดำ� และไทยใหญ่ การเดินทางของอัตลักษณ์ทป่ี ลายขอบฟ้า
/
62
I บ้านจ่าโบ่ I คุณมีชีวิตอยู่เพื่ออะไร เวลาหลับตานอนคุณฝันถึงอะไร อะไรคือเดิมพันในชีวิตที่คุณพร้อมที่จะตายเพื่อมันได้ เดิมพันของแต่ละคนย่อมแตกต่าง กัน และเดิมพันของบางคนนั้น หมายถึงการอยูร่ อดและทางเลือกในชีวติ ของทุกคนในชุมชน หรือ กระทัง่ สิง่ ทีย่ งิ่ ใหญ่กว่านัน้ เช่น ศักดิศ์ รี ความรัก และความภาคภูมิใจในเผ่าพันธุ์ของตน แม่ฮอ่ งสอนเป็นจังหวัดทีเ่ ต็มไปด้วยความหลากหลายของธรรมชาติและเชือ้ ชาติ ด้วยท�ำเล ทีต่ งั้ ทีอ่ ยูต่ รงรอยตะเข็บชายแดนติดกับประเทศเมียนมา ท�ำให้ดนิ แดนแถบนีม้ ชี าวไทยภูเขาเผ่าต่างๆ อาศัยอยู่เป็นจ�ำนวนมาก รวมถึงภูมิประเทศที่ยากต่อการเข้าถึง จึงเป็นเหตุผลส�ำคัญที่ท�ำให้ วัฒนธรรมประเพณีเก่าแก่ยังคงด�ำรงอยู่ได้ ห่างจากตัวเมืองแม่ฮ่องสอนออกไป 60 กิโลเมตร บนเส้นทางคดเคี้ยวไปทางอ�ำเภอปาย เป็นที่ตั้งของสองชุมชนเก่าแก่ นั่นคือ บ้านจ่าโบ่และบ้านแม่ละนา บ้านจ่าโบ่เป็นหมู่บ้านชาวเขาชาติพันธุ์ลาหู่ (มูเซอ) ที่ย้ายมาจากบ้านห้วยยาวซึ่งอยู่ใกล้ เคียงกันในปี 2521 เพราะเกิดโรคระบาดขึ้น โดยตั้งชื่อใหม่เป็น“ชุมชนจ่าโบ่” ซึ่งมาจาก ชื่อของ ผู้น�ำหมู่บ้านในขณะนั้นคือ นายจ่าโบ่ ไพรเนติธรรม โดยสมาชิกในชุมชน ล้วนเกี่ยวดองเป็นญาติ กันทัง้ หมด ทุกคนยังคงใช้ภาษาและสวมเครือ่ งแต่งกายแบบลาหู่ บ้านจ่าโบ่ได้รบั การยกฐานะเป็น หมูบ่ า้ นทางการในปี 2532 อาชีพหลักของคนในชุมชน คือท�ำไร่ขา้ ว ไร่ขา้ วโพด ปลูกถัว่ แดง ถางหญ้า และเลีย้ งหมู อาชีพรอง คือเก็บของป่าขายและรับจ้างทัว่ ไป ชาวบ้านนับถือพุทธและผีควบคูก่ นั วิถชี วี ติ และความเป็นอยูใ่ นช่วงแรกของการตัง้ หมูบ่ า้ นมีความขัดสนทัง้ ในเรือ่ งการเงิน การศึกษา สุขอนามัย และสถานะความเป็นพลเมือง
63
จนเมื่อปี พ.ศ.2543 – 2545 ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้สนับสนุน โครงการวิ จั ย เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ เพิ่ ม พู น ขี ด ความสามารถองค์ ก รชุ ม ชนในด้ า นการจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ในอ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน ครอบคลุม 3 ชุมชน ได้แก่ บ้านจ่าโบ่ บ้านแม่ละนา และบ้านบ่อไคร้ เนือ่ งจากหมูบ่ า้ นทัง้ สามแห่งนี้ มีพื้นที่ มีถ�้ำและแหล่งท่องเที่ยวอยู่ในบริเวณเดียวกัน เพื่อให้เกิดเครือข่ายจัดการการท่องเที่ยว เพื่อชุมชนร่วมกัน
64
ด้วยพืน้ ทีท่ อี่ ยูห่ า่ งไกลความเจริญ รวมถึงจ�ำนวนประชากรทีเ่ พิม่ ขึน้ สวนทางกับพืน้ ทีเ่ พาะปลูก และพื้นที่อยู่อาศัยที่ลดลง ชุมชนบ้านจ่าโบ่ก�ำลังเผชิญกับความท้าทายที่ส�ำคัญ นั่นคือเรื่องการ เพิ่มรายได้และเพิ่มโอกาสในชีวิต พร้อมกับการด�ำรงรักษาวิถีชีวิตและอัตลักษณ์ของตนเอง ท่ามกลางการถาโถมของกระแสบริโภคนิยมจากโลกภายนอก ชาวบ้านจ่าโบ่จ�ำนวน 63 ครอบครัว ซึ่งบรรพบุรุษของพวกเขาเคยอพยพย้ายถิ่นฐานมา แล้วหลายครั้ง จะมองเห็นอนาคตของตนเองและฝันเห็นอนาคตของลูกหลานอย่างไร บางทีการเดินทางเข้าไปสัมผัสวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของชาวจ่าโบ่ อาจช่วยท�ำให้เรา ได้เห็นภาพนั้นได้ 65
I เมื่อยอดเมฆอยู่ที่ปลายเท้า I บ้านจ่าโบ่เป็นชุมชนที่มีสมาชิกเกือบสามร้อยคน ในจ�ำนวนเกือบหกสิบกว่าครัวเรือน ตัวหมูบ่ า้ นตัง้ อยูเ่ รียงรายเกาะริมถนนทีท่ อดเข้าสูต่ วั ต�ำบลปางมะผ้าและหมูบ่ า้ นแม่ละนา ทีต่ งั้ อยู่ ถัดลึกเข้าไป ถึงแม้สองหมูบ่ า้ นนีจ้ ะห่างกันเพียงสองกิโลเมตร และมีความแตกต่างทางวัฒนธรรม อย่างชัดเจน โดยชุมชนจ่าโบ่เป็นชาวลาหู่ กลุ่มมูเซอด�ำ ส่วนชุมชนแม่ละนาเป็นชาวไทใหญ่ แต่ ทั้งสองชุมชนก็มีจุดร่วมในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติร่วมกัน นับถือธรรมชาติเหมือนกัน รวมถึง ในปั จ จุ บั น ต่ างก็ใช้ก ารท่องเที่ยวเพื่อชุม ชนเป็นกลไกในการขั บเคลื่ อ นและพั ฒ นาหมู ่ บ้ า น เช่นเดียวกัน เวลา 6 โมงเช้า ตรงจุดชมวิวของร้านก๋วยเตีย๋ วห้อยขาอันโด่งดัง ทะเลหมอกลอยเกาะกลุม่ กัน ละล่อง พร้อม ๆ กับพระอาทิตย์ที่ก�ำลังค่อยๆ ส่องแสง โผล่พ้นขอบฟ้าอีกครั้ง เดินห่างจากจุดนี้ ไม่ถงึ 5 นาที ก็จะถึงบ้านของ นากอ หญิงชาวลาหูว่ ยั 44 ปี มีลกู 3 คน คือ จ่าอือ่ อายุ 24 ปี นากุย่ อายุ 22 ปี และจ่าเขาะ อายุ 9 ขวบ ทีน่ ผี่ ชู้ ายทุกคนจะมีชอื่ น�ำหน้าว่า “จ่า” ในขณะทีผ่ หู้ ญิงทุกคน จะมีชอื่ น�ำหน้าว่า “นา” เธอมีอาชีพท�ำไร่ขา้ ว ปลูกข้าวโพด เลีย้ งหมู และท�ำงานหัตถกรรมเย็บเสือ้ แบบลาหู่ในยามว่าง ปัจจุบันมีรายได้เสริมอีกทางจากการท�ำโฮมสเตย์ และเป็นไกด์ท้องถิ่น
67
บ้านของนากอเป็นบ้านที่สร้างขึ้นใหม่บนเนินที่ดินของผู้เป็นพ่อ โครงสร้างบ้านเป็นไม้ ส่วนผนังเป็นไม้ไผ่สับ ตัวบ้านยกใต้ถุนสูงเพื่อใช้พื้นที่ด้านล่างท�ำกิจกรรมต่างๆ หรือเลี้ยงสัตว์ ตามแบบของชาวเขาเผ่าลาหู่ ต�ำแหน่งของบ้านหลังนี้เป็นหนึ่งในบ้านโฮมสเตย์ที่น่าพักที่สุดของ หมู่บ้าน เพราะเมื่อขึ้นไปชั้นบนจะพบระเบียงกว้างเปิดโล่งท�ำให้สามารถมองเห็นทิวเขาและ ทะเลหมอกสุดลูกหูลกู ตา บนเรือนสะอาดสะอ้านและอากาศโปร่งสบาย นากอคัว่ ใบชาบนกระทะ ตรงมุมบ้าน ควันจากการคัว่ ชาลอยขึน้ ไปรมพวงฝักข้าวโพดทีแ่ ขวนไว้ดา้ นบน การรมควันนีจ้ ะช่วย ป้องกันไม่ให้แมลงหรือเชือ้ รามาท�ำลายข้าวโพดทีจ่ ะใช้เป็นเมล็ดพันธุส์ ำ� หรับการเพาะปลูกในปีหน้า นี่คือหนึ่งในภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมายาวนานของชาวจ่าโบ่
68
จากบ้านของ นากอ สามารถเดินส�ำรวจหมูบ่ า้ น โดยออกเดินเลาะไปตามทางเดินเล็กๆ ที่ คดเคีย้ วไต่ไปตามเนินเขา เพือ่ ชมจุดสาธิตหัตถกรรมหมูบ่ า้ นทีพ่ บได้แพร่หลาย เป็นกิจกรรมปกติ วิถีของชาวบ้าน ที่บ้านจ่าเต๊าะพ่อเฒ่าลาหูว่ ยั 98 ปี ทีย่ งั คงท�ำงานจักสาน บ้านพ่อเฒ่าเป็นกลุม่ เรือนไม้ไผ่ ขนาดเล็กมีบา้ น 2 หลังทีเ่ ชือ่ มกันด้วยลานตรงกลาง พ่อเฒ่าและแม่เฒ่าศรีภรรยา ซึง่ ทัง้ คูอ่ ายุเยอะ มากแล้วไม่สามารถท�ำไร่ได้เหมือนเดิม จึงช่วยกันท�ำงานเล็กๆ น้อยๆ อย่างงาน จักสาน งานแกะสลัก จากไม้สกั และไม้เนือ้ แข็ง จ่าเต๊าะเล่าว่าอาศัยอยูท่ ปี่ างมะผ้ามาตัง้ แต่เกิด ยังไม่เคยลงมากรุงเทพฯ เลย และใฝ่ฝันอยากได้เห็นเมืองฟ้าอมรแห่งนี้ด้วยตาตัวเองสักครั้ง จ่าเต๊าะเล่าต่อว่าสถานที่ที่สูงที่สุดที่เขาเคยไปสัมผัสคือเขาถ�้ำผีแมน ซึ่งอยู่ห่างจากบ้าน ของเขาไปอีกหนึ่งกิโลเมตร “ถ้าไปที่นั่นเธออาจจะพบสาเหตุว่าท�ำไมเธอถึงมาที่นี่” พ่อเฒ่าพูด พร้อมชี้นิ้วไปยังทิศที่ตั้งของถ�้ำแห่งนี้ 69
I เดินทางสู่บ้านหลังแรกของดินแดนนี้ I การเดินทางไปถ�ำ้ ผีแมน เป็นกฎของชุมุ ชนทีช่ าวบ้านจะเป็นผูน้ ำ� พาไป โดยเดินเข้าไปในป่า ทะลุผ่านทุ่งข้าวโพด ใช้เวลาราว หนึ่งชั่วโมง ก็จะถึง ถ�้ ำ แห่ ง นี้ อ ยู ่ เ หนื อ ระดั บ น�้ ำ ทะเล 800 เมตรถ�้ ำ แห่ ง นี้ เ ป็ น แหล่ ง โบราณคดี ยุ ค ก่ อ น ประวัติศาสตร์ มีอายุราว 8,600 ปี ภายในถ�ำ้ มีโลงผีแมน ซึง่ เป็นโลงศพไม้สกั ขนาด 4-6 เมตรผ่าซีก ประกบกัน แล้วขุดตรงกลางเป็นหลุมคล้ายเรือ ตั้งวางเรียงรายกับพื้น บางโลงตั้งอยู่บนเสาสูง จาก ข้อมูลการส�ำรวจถ�้ำ มีผู้พบหลักฐานเกีย่ วกับเครือ่ งมือหิน เช่น เครือ่ งมือหินขัดเป็นขวานหินรูป สีเ่ หลีย่ มผืนผ้าและพบเมล็ดพืชที่ใช้เป็นอาหารหลากหลายชนิด เช่น เมล็ดน�้ำเต้า เมล็ดแตงกวา และเมล็ดพืชตระกูลถั่วฝักยาว ซึ่งพบว่ามีอายุเก่าแก่กว่า 12,000 ปี ท�ำให้สันนิษฐานได้ว่าบริเวณ นีม้ มี นุษย์อาศัยอยูม่ าตัง้ แต่ สมัยหินเก่า และทีน่ ถี่ อื เป็นแหล่งโบราณคดีวฒ ั นธรรมโลงไม้ทสี่ ำ� คัญ ของไทย นากอเล่าว่า ครัง้ หนึง่ มีชาวบ้านในหมูบ่ า้ นไปเอาโลงผีแมนมาท�ำรางข้าวหมู ผีแมนก็ออก ฤทธิเ์ ดชโดยการน�ำลูกชายวัย 3 ขวบของเขา ไปซ่อนไว้หาไม่เจออยูห่ ลายวันจนกระทัง่ พ่อของเด็ก ได้ไปท�ำพิธขี อขมา จากนัน้ เด็กน้อยก็เดินกลับมาบ้านเองในสภาพทีไ่ ม่อดิ โรยหรือหิวโหยแม้แต่นอ้ ย แต่ปจั จุบนั ในโลกทีเ่ ปลีย่ นไปไม่คอ่ ยมีใครได้ยนิ เสียงผีแมนตีกลองแล้ว แต่เชือ่ กันว่าผีแมนยังคงอยู่ ในถ�ำ้ ลึกเข้าไปในป่าและปราศจากผูค้ นรบกวน ชาวบ้านทัง้ บ้านจ่าโบ่และบ้านแม่ละนาต่างมีเรือ่ งเล่า มากมายเกี่ยวกับถ�้ำผีแมนนี้บ้างก็ว่าผีแมนเป็นครึ่งผีครึ่งคน มีรูปร่างสูงใหญ่ ไม่เคยมีใครเห็น แต่ วันดีคืนดีทั่วทั้งหมู่บ้านจะได้ยินเสียงผีแมนตีกลองโห่ร้องดังมาจากถ�้ำในยามดึกสงัด
70
71
I จากหมู่บ้านย้ายถิ่นสู่โฮมสเตย์บ้านจ่าโบ่ I โฮมสเตย์ในชุมชนจ่าโบ่มที งั้ สิน้ 12 หลัง ซึง่ ได้รบั รางวัลมาตรฐานโฮมสเตย์ไทยจากการประเมิน โดยกรมท่องเทีย่ วทุกๆ 3 ปี เพื่อให้โฮมสเตย์แต่ละแห่งรักษามาตรฐานอย่างต่อเนื่อง โฮมสเตย์แต่ละหลังคิดอัตราค่าบริการคืนละ 200 บาทต่อคน โดยจะหักเข้าชุมชน 10 เปอร์เซ็นต์ เพือ่ เป็นสวัสดิการต่างๆ โดยไม่ได้รวมค่าอาหารอีกมือ้ ละ100 บาท กฎของชุมชนไม่อนุญาตให้ไกด์ ภายนอกพานักท่องเทีย่ วมาชมหมูบ่ า้ นโดยไม่ได้แจ้งล่วงหน้า และการชมหมูบ่ า้ นนัน้ จะต้องใช้ไกด์ ท้องถิน่ ในอัตราวันละ 200 บาท ท�ำให้ผมู้ าเยือนจะได้รบั ข้อมูลตรงจากเจ้าของวัฒนธรรมทีท่ งั้ เข้าใจ และเคารพในวัฒนธรรมท้องถิ่นอย่างแท้จริง การทีม่ ผี คู้ นสนใจมาศึกษาดูงานมากขึน้ เรือ่ ยๆ ส่งผลดีหลายอย่างต่อชุมชน เช่น บ้านแต่ละหลัง ต้องการปรับปรุงสภาพแวดล้อมและบ้านเรือนของตนให้สะอาดขึน้ เพือ่ อวดแขกผูม้ าเยือนได้ ช่วย ส่งผลให้ชาวบ้านมีสขุ อนามัยทีด่ ขี นึ้ นอกจากนีช้ าวบ้านยังกล้าแสดงออกสามารถพูดคุยกับผูม้ าเยือน แปลกหน้าได้มากขึ้น เกิดความมัน่ ใจและภาคภูมใิ จในวัฒนธรรมของเผ่าลาหูข่ องตนอีกด้วย นีเ่ ป็น ส่วนหนึง่ ของการออกแบบกลไกการท่องเที่ยวเพื่อชุมชนเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่สร้างทั้งความยั่งยืน และกระจายรายได้อย่างแท้จริง ศรชัย ไพรเนติธรรม ประธานกลุ่มการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์โดยชุมชนบ้านจ่าโบ่ วัย 30 ปี ผูเ้ ป็นหลานของจ่าโบ่ จบการศึกษาชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ซึ่งเป็น โรงเรียนกินนอนในต�ำบลถ�ำ้ ลอด อ�ำเภอปางมะผ้า เป็นนักกิจกรรมประจ�ำหมูบ่ า้ นและได้รบั เลือก จากชุมชนให้เป็นประธานกลุ่มการท่องเที่ยวตั้งแต่อายุ 18 ปี และเป็นมาแล้วถึง 5 สมัย (10 ปี) เล่าว่าการท่องเทีย่ วเพือ่ ชุมชน ช่วยเปิดโอกาสใหม่ๆ ให้กบั ชุมชนหลายด้านทัง้ ในด้านรายได้และการ ฝึกฝนชาวบ้านเอง แต่สงิ่ ทีส่ ำ� คัญคือ การด�ำรงไว้ซงึ่ สมดุลในชุมชน มิฉะนัน้ การท่องเทีย่ วอาจน�ำมา ซึ่งผลเสียที่ไม่คาดคิด
73
อีกหนึง่ สิง่ ส�ำคัญคือ อัตลักษณ์ความภาคภูมใิ จในบ้านเกิด และการสร้างโอกาสโดยเปลีย่ น มายึดชุมชนตนเองเป็นศูนย์กลาง แทนที่จะให้ทุกคนเดินทางเข้าสู่เมืองใหญ่แต่เปลี่ยนเป็นการ สร้างกลุ่มอาชีพในชุมชน หรือแม้แต่เปิดบ้านพักโฮมสเตย์ ถ้าสร้างความรักและความภูมิใจ ในชาติพันธุ์ได้ การเปลี่ยนแปลงเพื่อสิ่งที่มีคุณค่าก็เกิดขึ้นได้ไม่ยาก “แม้ผมจะได้แค่เงินสองสามร้อยบาท แต่การกระจายรายได้ให้ทุกคนอย่างทั่วถึง และ เรามีความสุขจากการได้แบ่งปัน มูลค่าอาจไม่เท่ากัน แต่คุณค่าเท่าเทียมกัน”
74
ค�ำ่ คืนทีบ่ า้ นโฮมสเตย์ของนากอ ทะเลดาวและทางช้างเผือกทีพ่ าดผ่านจักรวาลอันกว้างใหญ่ ในหมูด่ าวนับพันนับหมืน่ ดวงนัน้ อาจมีดาวบางดวงเป็นดาวดวงเดียวกันกับทีค่ รัง้ หนึง่ ผีแมนได้เคย เฝ้ามองเมื่อนานแสนนานมาแล้วก็เป็นได้ ผมนึกถึงวันทีจ่ า่ โบ่ตดั สินใจน�ำชุมชนย้ายจากบ้านห้วยยาวมาอยูท่ ชี่ มุ ชนใหม่แห่งนี้ จากนัน้ ลองหลับตาลงแล้วกลัน้ หายใจเพือ่ ให้สรรพสิง่ รอบตัวเงียบสนิท เผือ่ ว่าจะได้ยนิ เสียงผีแมนลัน่ กลอง ดังออกมาจากถ�้ำบนหน้าผาสูงชันอันไกลโพ้น ใครก็ตามที่ได้บุกเบิกอะไรเขาจะรู้สึกอย่างไรนะ ถ้าได้รู้ว่าสิ่งที่เขาได้เริ่มต้นถางทางไว้ จะ ส่งผลกับชีวิตของผู้คนอีกมากมายในเวลาต่อมา วันนี้การเดินทางของชุมชนบ้านจ่าโบ่เพิ่งเริ่มต้นเท่านั้น และไม่มีใครสามารถบอกถึง ปลายทางได้นอกจากชาวบ้านจ่าโบ่เอง 75
76
“
เงินสองสามร้อยบาท แต่สามารถกระจายรายได้ให้ทั่วถึง เรามีความสุขจากการได้แบ่งปัน มูลค่าอาจไม่เท่ากัน แต่คุณค่าเท่าเทียมกัน
“ 77
Q
คุยกับ
ศรชัย ไพรเนติธรรม
A I ประธานกลุม่ การท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์โดยชุมชนบ้านจ่าโบ่ I
ทำ�ไมคุณถึงสนใจงานท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
พืน้ เพผมเป็นคนชอบท่องเทีย่ ว จึงมีโอกาสได้ไปเห็นสถานทีต่ า่ งๆ และเกิดค�ำถามว่าท�ำไม บ้านเราไม่สามารถท�ำแบบนั้นได้ เป็นช่วงจังหวะที่ชุมชนเราเกิดวิกฤติขึ้นพอดี สมัยก่อนเราจะ เลี้ยงหมูบนที่สูงแล้วพอฝนตกขี้หมูก็ไหลลงไปในถ�้ำ ท�ำให้หมู่บ้านแถบนี้ที่ใช้ทรัพยากรร่วมกัน พลอยได้รบั ผลกระทบไปด้วย จากนัน้ ก็มหี น่วยงานเครือข่ายทีเ่ ป็นพันธมิตรร่วมกันหลายหน่วยงาน เช่น ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เข้ามาท�ำวิจัย มีส่วนของโครงการฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแม่ฮ่องสอน สถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน (ซีบีทีไอ) และ มีตัวชุมชนร่วมกันหาทางออก ว่าวิถีชีวิตนี้จะมีผลกระทบจริงๆ หรือเปล่า จุดเริ่มต้นครั้งนั้นจึงเกิดทริปทัวร์น�ำร่องใน 3 พื้นที่ และปรากฏว่าถ�้ำไม่มีผลกระทบจาก การทีเ่ ราเลีย้ งหมูขา้ งบน เพราะว่าขีห้ มูมนั ไหลไปตามกระแสน�ำ ้ หลังจากทีท่ ำ� ทัวร์นำ� ร่องเสร็จแล้ว ก็มาหารูปแบบของตัวเองว่าเราจะจัดการอย่างไร โดยให้คนในพื้นที่ช่วยกันก�ำหนด 78
การท่องเที่ยวเชิงชุมชน เป็นเครื่องมือที่จะพัฒนาคน ไม่ว่าจะเป็นองค์ความรู้ ภูมิปัญญา วัฒนธรรม รื้อฟื้นมาปัดฝุ่นเพื่ออนุรักษ์ รวมถึงเป็นจุดเรียนรู้ให้คนมาศึกษา การใช้ชีวิตระหว่าง ป่ากับคน คนกับป่า รวมถึงความเชือ่ วัฒนธรรม ทีเ่ อือ้ ทัง้ การใช้ชวี ติ ในพืน้ ที่ การเกือ้ หนุนเจือจุนกัน ยกตัวอย่างเช่น ถ�้ำผีแมนที่อยู่สูงจากพื้นดินประมาณร้อยเมตร อยู่กลางหน้าผา จะขึ้นไปได้ก็ต้อง ท�ำบันไดขึ้นไป ซึ่งถ้าเกิดไม่มีความสามัคคีเราท�ำไม่ได้ เพราะหนึ่งเราไม่มีงบประมาณ รายได้เรา มาจากการท่องเที่ยว โดย 10 เปอร์เซ็นต์เราก็หักเข้ากองกลางเพื่อใช้ในงานสาธารณะประโยชน์ งบประมาณท�ำนุบ�ำรุงรักษาบ้านเก่าชาวลาหู่
ตอนนี้ในชุมชนมีโฮมสเตย์กี่หลัง รับลูกค้าได้กี่คน แล้วคิดราคาอย่างไร
เรามี 12 หลังที่ได้รับรางวัลมาตรฐานโฮมสเตย์ไทยจากกรมการท่องเที่ยว ซึ่งจะมีการ ประเมินกันทุกๆ 3 ปี อัตราค่าบริการคืนละ 200 บาทต่อคน
อัตรานี้เป็นมาตรฐานของกรมท่องเที่ยวตั้งเอาไว้หรือเปล่า
ไม่ใช่ครับ ขึน้ อยูก่ บั ทางชุมชน เดิมในปี 2546 เราเคยตัง้ ราคาไว้อยูท่ ี่ 100 บาทต่อคืนต่อคน ค่าอาหารมื้อละ 50 บาท แต่ด้วยสภาพเศรษฐกิจ ต้นทุนมีราคาสูงขึ้น จึงมีการปรับราคาเพิ่มขึ้น ในส่วนของที่พักเป็น 200 บาท อาหารมื้อละ 100 บาท มีข้าวหนึ่งหม้อ อาหาร 3 อย่าง ราคานี้ เราก�ำหนดขึน้ จากทีป่ ระชุม ทัง้ กลุม่ และทัง้ ชุมชน กิจกรรม 3 จุดในชุมชน มีเย็บผ้า จักสาน ท�ำแคน คนละ 150 บาท ขึ้นถ�้ำผีแมน คนละ 150 บาท เดินป่า คนละ 350 บาท ค่าเดินทางถ้าให้ไปรับที่ ปางมะผ้าอัตราครั้งละ 500 บาท ไปรับที่เชียงใหม่ 2,000 บาท ส่วนถ้าไปรับที่แม่ฮ่องสอนหรือ ปาย คิด 1,000 บาท โดยนัดแนะเวลากันล่วงหน้า
เวลาจัดคิว มีลูกค้ามีสิทธิ์เลือกหรือไม่ว่าอยากพักบ้านหลังไหน
ลูกค้าจะไม่มสี ทิ ธิเ์ ลือก เพราะเราใช้ระบบคิวแต่ทงั้ นีท้ งั้ นัน้ เราก็ไม่ได้ตายตัว เพราะว่าบางครัง้ เจ้าของบ้านอาจไม่มีความพร้อม ก็ต้องรอสิทธิ์ครั้งถัดไป
เกณฑ์ในการคัดเลือกบ้านแต่ละหลังเป็นโฮมสเตย์มีอะไรบ้าง
หนึง่ คือความสมัครใจ สองคือมาตรฐานของตัวบ้าน ถ้าไม่มหี อ้ งน�ำ้ ก็ไม่เป็นไร เรามาพัฒนา กันใหม่ได้ รวมถึงทางสถาบันการท่องเทีย่ วชุมชนได้เข้ามาเตรียมการมาให้ความรู้ เตรียมคน เตรียม พื้นที่ว่าเจ้าของบ้านต้องเตรียมอย่างไรการเป็นเจ้าของบ้านที่ดี การบริการที่บ้าน หรือตัวบ้านพัก จะเป็นอย่างไร ซึง่ ต้องเป็นไปตามมาตรฐานของกรมท่องเทีย่ วด้วย ตัวอย่างเช่น ทีน่ อน แม้จะไม่เป็น ของใหม่ทั้งหมด แต่ต้องสะอาด โล่ง อากาศถ่ายเทสะดวก ห้องน�้ำถึงแม้ว่าจะไม่มีฝักบัวหรือ ชักโครกก็ไม่เป็นไร แต่ต้องมีน�้ำตักแยก ห้องครัว ภาชนะที่ใช้ จ�ำนวนปริมาณอาหารต่อคนที่เข้า มาพักเพียงพอหรือไม่ 79 79
80
นอกจากนี้คนที่อยากจะเปิดบ้านตัวเองเป็นโฮมสเตย์ จะต้องมาศึกษาดูงานกับรุ่นพี่ที่ท�ำ โฮมสเตย์มาก่อนอย่างน้อยหนึ่งปี ถึงจะมีสิทธิ์รับนักท่องเที่ยวได้เพราะถ้าไม่มีการเตรียมตัวก่อน หรือเราไม่มกี ารไปช่วยเขา เกิดมีนกั ท่องเทีย่ วเข้ามาพัก แล้วเจ้าบ้านหน้าตาบึง้ ตึง ท�ำกับข้าวไม่อร่อย ปริมาณกับข้าวน้อย ที่นอนไม่สะอาด ห้องน�้ำใช้ไม่ได้ จะส่งผลเสียได้ คือถ้าเกิดคุณจะมองแค่ ตัวเงินอย่างเดียว ผมว่าคุณอย่าเพิ่งดีกว่า ถ้าเกิดคุณไม่ได้มาด้วยใจเพราะงานบริการว่ากันด้วย หัวใจ คุณเอาใจมาท�ำหรือเปล่า ท�ำด้วยใจ ค่าตอบแทนมาทีหลัง แต่ถ้าคิดถึงค่าตอบแทนก่อน คุณจะท�ำอะไรไม่ได้เลย เพราะคิดถึงแค่เม็ดเงินเท่านั้น ถามว่าคนทุกคนคิดเหมือนกันอย่างนี้มั้ย ไม่เหมือนกัน แต่ด้วยความที่เรามีกลุ่ม เราสามารถพูดคุยกันได้แบบตรงไปตรงมา หมายความว่า ถ้าเกิดนาย ก พูดอะไรขึน้ มาแล้วกระทบกระเทือนกับทางกลุม่ ทางเราก็จะนัง่ คุยกัน เถียงกันตรงนัน้ วัฒนธรรมของเราคือเถียงกันให้จบ บางครั้งแค่นั่งพูดคุยกันเฉยๆ ดูแล้วไม่เหมือนกับการคุยกัน เหมือนเถียงกันมากกว่า แต่นั่นคือเรื่องธรรมดา เลยท�ำให้การพูดคุยกันง่ายขึ้น แต่ถามว่ามีปัจจัย อืน่ ทีเ่ ข้ามาท�ำให้กลุม่ แตกแยกมัย้ ก็มี เช่น เรือ่ งปัญหาทางการเมือง การเมืองท้องถิน่ เราจะบอกกัน เสมอว่า ห้ามเอาเรือ่ งการเมืองเข้ามาเกีย่ วข้องในชุมชน เราทุกคนอยูฝ่ า่ ยเดียวกัน ได้ผลประโยชน์ ร่วมกัน แล้วในพืน้ ทีเ่ อง กลุม่ ท่องเทีย่ วของเราคืนภาษีให้กบั พืน้ ทีห่ รือชุมชนอยูบ่ อ่ ยครัง้ โดยก่อนที่ นักท่องเที่ยวจะมาพัก เราจะมีการพัฒนาชุมชน เช่น เก็บขยะตั้งแต่หน้าชุมชน พัฒนาถ�้ำสิ่งต่างๆ เหล่านีก้ ลุม่ การท่องเทีย่ วท�ำกันเป็นประจ�ำอยูแ่ ล้ว แม้วา่ จะไม่ได้คนื เป็นตัวเงิน แต่เราคืนเป็นการ กระท�ำ อย่างที่บอกว่า เราจัดสรรงบกองกลางไปพัฒนาส่วนต่างๆ ของชุมชน เพราะเราถือว่าไม่ ได้ท�ำเพื่อกลุ่มของเราเท่านั้น แต่ท�ำเพื่อสังคมส่วนรวมด้วย ส่วนในกลุ่มก็ช่วยกัน บางครั้งเจ้าของ บ้านพักไม่มผี กั แต่คนอืน่ ในกลุม่ ปลูกผักก็เอามาขายได้ เพราะศักยภาพของแต่ละคนไม่เหมือนกัน
81
ช่วยเล่าถึงกิจกรรมหน่อยครับ ถ้านักท่องเทีย่ วมีเวลาสองวันหนึง่ คืน เขาจะได้ทำ� อะไรบ้าง
การเดินทางส่วนใหญ่ นักท่องเทีย่ วจะมาถึงทีน่ ใี่ นช่วงเย็น ก็สามารถเดินเทีย่ วชมในหมูบ่ า้ น เช็คอินเข้าพักในหมู่บ้าน ท�ำกับข้าวร่วมกันกับเจ้าของบ้านและรับประทานอาหารร่วมกัน ส่วน ตอนกลางคืนถ้าโชคดีมาตรงกับช่วงทีม่ ีการฉลองเต้นจะคึ ก็สามารถร่วมกิจกรรมได้ไม่ตอ้ งเสียค่า ใช้จา่ ย เพราะในส่วนของประเพณีหรือพิธกี รรมต่างๆ เราไม่คดิ เงิน แต่ถา้ เป็นการสาธิตจะมีการเก็บ ค่าใช้จา่ ย เพราะมีการดึงคนเข้ามามีสว่ นร่วม ถือว่าเราไปรบกวนเวลาเขา ตอนค�ำ่ ถ้าเกิดคืนเดือนดับ ก็นั่งนับดวงดาว อยู่ที่นี่มองเห็นทางช้างเผือกด้วยนะครับ
82
ตอนเช้าถ้าเป็นช่วงหน้าหนาว ที่นี่จะมีทะเลหมอกไม่ไกลจากตัวชุมชน หลังจากชมทะเล หมอกก็กนิ อาหารท้องถิน่ หรือไม่กม็ ากินก๋วยเตีย๋ วห้อยขาชมวิว จากนัน้ เดินทางไปชมกิจกรรมใน ตัวชุมชน ซึ่งมีสามจุดกิจกรรม คือ เย็บผ้า จักสาน ท�ำแคน ซึ่งจุดหนึ่งไม่น่าจะเกินครึ่งชั่วโมง ส่วน กิจกรรมนอกชุมชนทีส่ ามารถท�ำได้ในวันเดียวคือ การเดินป่าตามเส้นทางเป็นป่าอนุรกั ษ์กล้วยไม้ และสมุนไพร คอกหมูนาขั้นบันได ถ�้ำผีแมน นั่งคุยกันถ่ายรูป ให้ข้อมูลตามจุดต่างๆ ที่เราคิดว่า เป็นจุดทีน่ า่ สนใจ ซึง่ อาจจะใช้เวลานานหน่อยการท่องเทีย่ วชุมชน ไม่ใช่ทวั ร์แบบเดินไปถ่ายรูปไป แล้วก็กลับบ้าน ต้องเป็นการฝึกคนในพืน้ ทีด่ ว้ ย ให้เขากล้าพูด กล้าน�ำเสนอ กล้าแสดงออก ส่วนคนที่ เข้ามาก็ได้รบั รู้ ได้เรียนรู้ ได้ลงมือท�ำเอง มากกว่าแค่ได้เห็นและได้ยนิ ก็เลยใช้เวลาพอสมควรแต่ที่ ใช้เวลาสั้นกว่าคือ การขึ้นถ�้ำผีแมน ดังนั้นช่วงเวลาที่พอดีเหมาะสม คือ แวะมาพัก 3 วัน 2 คืน 83
ที่นี่ทำ�การท่องเที่ยวเชิงชุมชนและโฮมสเตย์มากี่ปีแล้วผลลัพธ์เป็นอย่างไร
เริ่มต้นเมื่อเกือบยี่สิบปีที่แล้ว แต่เป็นเรื่องของการหาประเด็นร่วมกันว่าเราจะท�ำอะไรดี จะหารูปแบบอย่างไร เพือ่ ให้คนอืน่ เข้าใจในสิง่ ทีเ่ ราเป็น และเราอยากจะเสนอให้คนภายนอกเข้าใจ ผ่านทางช่องไหนได้บา้ ง ผมสรุปเรือ่ งของท่องเทีย่ วว่าเราสามารถใช้สอื่ ต่างๆ ออกไปให้คนข้างนอก ได้รับรู้รับทราบได้ พอผ่านมาช่วงหนึ่ง ด้วยความที่ไม่มีความต่อเนื่องของนักท่องเที่ยวที่เข้ามา ท�ำให้ชุมชน มองว่า เรายังท�ำท่องเทีย่ วกันอยูห่ รือเปล่า แล้วมีกระแสที่นักท่องเที่ยวเสียชีวิตจากการเที่ยวแบบ ผจญภัย ชาวบ้านก็กลัวหลายคนจึงถอนตัวแต่กม็ คี นกลุม่ หนึง่ ทีย่ งั ไม่ถอนตัวเพราะเราไม่ได้ทำ� งาน แค่บา้ นจ่าโบ่ แต่มเี ครือข่ายองค์กรพีเ่ ลีย้ ง พันธมิตร หน่วยงานทัง้ รัฐและเอกชน มีการประชุมระดับ จังหวัดระหว่างเครือข่ายภาคเหนือเกิดเวที เรียกว่า “เวทีรมิ ระเบียง” มีการแลกเปลีย่ นประสบการณ์ อุปสรรคปัญหาต่างๆ ที่แต่ละพื้นที่เจอ และหาทางออกร่วมกันว่า กรณีอย่างบ้านจ่าโบ ถ้าเกิดมี นักท่องเที่ยวเข้าไปเสียชีวิตจะท�ำอย่างไรเพื่อให้มีความปลอดภัยสูงสุด เพราะว่าหัวใจของการ บริการ สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดคือ ความปลอดภัย มากกว่าความสนุกสนานหรือการบริการที่ดี หลังจากนัน้ เราก็มานัง่ คุยกัน และคิดว่าจะท�ำยังไงต่อ มาในราวปี 2547-48 เราก็เสนอตัว เข้าร่วมการประกวดในโครงการมาตรฐานโฮมสเตย์ไทย ของกรมการท่องเทีย่ ว ปรากฏว่าได้ พอได้ปบุ๊ ก็เป็นช่วงผลัดเปลี่ยนมือจากประธานคนก่อนมาเป็นผม หลังจากได้รับรางวัลครั้งนั้นก็ท�ำให้คน รู้จักที่น่ีเพิ่มขึ้น แม้จะเป็นในปริมาณน้อยแต่คุณภาพสูง คนที่เข้ามาจะรู้จักเราผ่านทางการ ประชาสัมพันธ์ของ ททท. หรือกรมประชาสัมพันธ์ คนที่มาเที่ยวหมู่บ้านเราจะเป็นคนเฉพาะกลุ่ม คนที่จะมาพักที่พักที่กินแบบนี้ ต้องเป็นคนที่ใจรักและสนใจอยากเรียนรู้จริงๆ ถึงจะมาได้ ซึ่งที่ ผ่านมา ก็มคี นประเภทนีบ้ า้ ง ไม่มบี า้ งปนกันไป แต่กท็ ำ� ให้มคี นรูจ้ กั และเราก็ทำ� งานกับบริษทั ทัวร์ดว้ ย
84
ตอนนี้มีบริษัททัวร์กี่ราย
มี 6 บริษทั และก็มอี กี หลายบริษทั ทีเ่ ข้ามาเดินเทีย่ วชมในชุมชน แต่หลังๆ ก็ไม่กล้าเข้ามาแล้ว เพราะเรามีกฎระเบียบของชุมชน ถึงแม้วา่ คุณจะเป็นไกด์จากบริษทั ทัวร์ทมี่ บี ตั รไกด์ ก็ตอ้ งใช้ไกด์ ในพืน้ ทีเ่ ท่านัน้ เพราะถึงแม้วา่ เขาจะเก่งจริงแต่กไ็ ม่สามารถลงลึกข้อมูลรายละเอียดของชนเผ่าได้ สอง เรามองว่าเราเป็นเจ้าของพื้นที่ เจ้าของทรัพยากร ท�ำไมเราถึงไม่พัฒนาตัวเองไปเป็นคนที่ สามารถสื่อความหมายกับคนอื่นได้ หรือในอนาคตข้างหน้าสามารถยกระดับตัวเองให้เป็นไกด์ อาชีพได้ ซึ่งเราจะประสานกับบริษัททัวร์ที่เข้าใจคอนเซ็ปต์การท่องเที่ยวโดยชุมชนของซีบีที
แสดงว่าเมื่อก่อนเคยมีเหตุการณ์ทัวร์พาลูกค้าเข้ามาแล้วนำ�ชมเอง และเกิด ประเด็นที่ทำ�ให้ไม่เข้าใจกันอย่างนั้นหรือเปล่า
จริงๆ ค�ำว่า “การท่องเที่ยวชุมชน” กับ “การท่องเที่ยวโดยชุมชน” ต่างกันนิดเดียวเดิมที มันเป็นการท่องเทีย่ วชุมชน หมายถึง ชุมชนจะถูกคนอืน่ มาท่องเทีย่ ว มีคนภายนอกมาสัง่ การ แต่นี่ บ้านผมนะ ถ้าเรื่องที่น�ำเสนอชี้แนะเป็นเรื่องที่ดี เราก็ยินดีท�ำ แต่ในลักษณะการท่องเที่ยวชุมชน แบบเก่า คนอื่นจะมาชี้แนะน�ำทาง แล้วคนที่ได้ประโยชน์จะกระจุกอยู่บ้านหลังเดียว มากี่ครั้งก็ อยู่ตรงนั้น พาไปเที่ยวทรัพยากรที่มีในพื้นที่ ในขณะที่ทรัพยากรนั้น เจ้าของไม่ใช่คนนี้คนเดียว แต่ทุกคนเป็นเจ้าของร่วมกัน แต่สำ� หรับ “การท่องเทีย่ วโดยชุมชน” ทุกคนมีสว่ นร่วมและเป็นเจ้าของ มีระบบหมุนเวียน ไม่วา่ จะเป็นไกด์ บ้านพัก หรือรถ ทุกคนได้ประโยชน์รว่ มกัน ถ้าไกด์ภายนอกหรือบริษทั ทัวร์เข้ามา โดยไม่ผ่านกลุ่มเราไม่รับผิดชอบ แม้แต่การขึ้นถ�้ำผีแมนก็อาจมีการโดนปรับ
85
สมมติวนั หนึง่ มีรถทัวร์มาลง หรือมีนกั ท่องเทีย่ วขาจรเข้ามาเทีย่ วโดยไม่บอกใคร เราจะมีวิธีการบอกกับเขาอย่างไร
มีกรณีแบบนีห้ ลายครัง้ เหมือนกัน ครัง้ หนึง่ มีคาราวานรถกระบะมา 4-5 คัน ก�ำลังจะขึน้ ไป บริจาคของที่หมู่บ้านอื่น เผอิญผ่านหมู่บ้านเราก็แวะมาเที่ยวถ�้ำผีแมน มีชาวบ้านเห็นเข้าก็เลย มาถามผมว่า มีคนขึ้นถ�้ำมีใครพาไปมั้ย ผมก็เลยขี่รถขึ้นไปดูว่าใครพาไปอะไรยังไง สุดท้ายผมก็ใช้ วิธีไถ่ถามว่ารู้จักที่นี่ได้อย่างไร ติดต่อผ่านชุมชนมาหรือยัง และพูดคุยท�ำความเข้าใจกับเขาว่า ตามกฎแล้วต้องติดต่อชุมชนล่วงหน้า เพราะถ้าเกิดมีใครมาเสียชีวิตตรงนี้ ทางเราไม่สามารถ รับผิดชอบได้ และจะกลายเป็นผลเสียตามมา เพราะคงไม่มีใครกล้าเข้ามาเที่ยวแล้ว อีกครัง้ หนึง่ มีนกั วิจยั เข้ามาท�ำวิจยั หาอายุคาร์บอนเนือ้ ไม้ของโลงผีแมนโดยไม่ได้ผา่ นชุมชน ก็เลยมีการพูดคุยกัน สุดท้ายเราก็ปรับเขาไปในวงเงินหลายบาทเหมือนกัน แล้วก็ท�ำพิธีขอขมา ในพืน้ ที่ อยูด่ ๆี คุณขึน้ ไปเจาะโลงผีแมน ซึง่ อยูใ่ นถ�ำ้ และเป็นพืน้ ทีท่ เี่ รานับถือได้อย่างไร มันกระทบ กับวิถีชีวิตความเชื่อของชาวบ้าน ถึงแม้คุณจะอ้างว่านี่คือเป็นการศึกษาอะไรก็แล้วแต่ แต่นี่เป็น ทรัพยากรในความดูแลของหมูบ่ า้ นนี้ แม้วา่ จะเป็นทรัพยากรของคนทัง้ ประเทศก็จริง แต่อย่าลืมว่า ในจุดใดนีม้ คี นดูแลอยู่ ทุกคนเป็นเจ้าของร่วมกัน เพียงแต่วา่ เราต้องให้เกียรติซงึ่ กันและกัน เพราะ ไม่เช่นนัน้ ก็คงอยูร่ ว่ มกันไม่ได้ หลังจากเหตุการณ์นนั้ มาเลยกลายเป็นจุดหนึง่ ทีท่ ำ� ให้ชมุ ชนเข้มแข็งขึน้ แม้ว่าคุณจะเป็นถึงดอกเตอร์แต่ถ้าคุณท�ำผิดก็ต้องว่าไปตามผิด 86
ปัจจุบันทำ�การตลาดอย่างไร
เรามีอยู่ 2-3 ทาง หนึ่ง คือบริษัททัวร์ที่เราท�ำงานร่วมกัน สองเครือข่าย ศูนย์ประสานงาน ทัง้ ของตัวจังหวัดและซีบที ี และสมาคมเครือข่ายการท่องเทีย่ วชุมชนภาคเหนือ แล้วก็ทางการท่องเทีย่ ว แห่งประเทศไทย(ททท.) ส�ำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด (ทกจ.) รวมถึง หน่วยงานในหรือนอกพื้นที่ ขณะทีช่ มุ ชนเอง เราใช้เฟซบุก๊ ในการติดต่อประสานงาน ประชาสัมพันธ์ และมีปฏิสมั พันธ์ กับคนที่จะมาเยือนเราซึ่งเห็นผลได้ชัดเจนมาก รวมถึงสามารถอัพเดตข้อมูลจริงในพื้นที่ได้ด้วย แต่ในส่วนของ ททท.หรืออืน่ ๆ ผมมองว่าเป็นการประชาสัมพันธ์ทดี่ ี เมือ่ ก่อนตัวผมหรือชุมชนคิดว่า การทีม่ คี นมาประชาสัมพันธ์เยอะเท่าไหร่กย็ งิ่ เป็นเรือ่ งดี โดยไม่เคยคิดไปไกลกว่านัน้ ว่าผลกระทบ ทีจ่ ะตามมาคืออะไร แต่ตอนนีย้ งิ่ ท�ำให้เราเห็นผลกระทบทีจ่ ะตามมา จากกรณีตวั อย่างของภูทบั เบิก องค์กรภาคีที่เราท�ำงานร่วมกันก็เป็นห่วงบ้านจ่าโบ่เหมือนกัน หลังจากทีผ่ มท�ำการท่องเทีย่ วโดยชุมชนมาสิบกว่าปี คนรูจ้ กั บ้านจ่าโบน้อยมาก แต่คนเหล่านี้ มีคุณภาพสูง ร้านก๋วยเตี๋ยวชมวิวจากที่ไม่มีคนรู้จัก แต่คนรู้จักกันเกือบครึ่งประเทศแล้วตอนนี้ เพราะว่ามีกลุม่ คนทีเ่ ป็นนักรีววิ ไปตัง้ กระทูใ้ นพันธุท์ พิ ย์ ล่าสุดคือทริปแบ็กแพ็กเกอร์ ซึง่ ก็มกี ลุม่ คน จากหลากหลายอาชีพ หลากหลายความต้องการ กลุ่มนั้นมาแบบนั้น อีกกลุ่มหนึ่งมาแบบนี้ แต่ ทุกคนมาเพื่อแค่เซลฟี มาถ่ายรูปกับโลเคชั่นใหม่ๆ ให้คนรู้ว่าฉันอยู่ที่นี่แล้ว คือมาแค่หน้าหมู่บ้าน แล้วก็ออกไป ถามว่าชุมชนมีผลกระทบหรือไม่ ก็ไม่มนี ะ เหมือนท�ำการตลาดให้ดว้ ยซ�ำ้ โดยไม่ตอ้ ง เสียค่าโฆษณา ไม่ต้องไปออกบูธตามงานต่างๆ แต่อย่างน้อยเรื่องราคากับตัวกิจกรรมจะเป็น ตัวสกรีนคนเข้ามาในระดับหนึ่ง เพราะว่าทุกคนไม่ได้เหมาะกับตรงนี้ มันเป็นช่วงเวลาสั้นๆ ที่ ชาวบ้านจะมีเวลาท�ำงานก่อนที่จะไปท�ำไร่ท�ำสวน หรือเฉพาะคนว่างงานที่หารายได้เสริมจาก ตรงนี้ได้
87
สิบกว่าปีมานีเ้ ห็นการเปลีย่ นแปลงในหมูบ่ า้ นอย่างไรบ้าง เช่น ในแง่ของรายได้ มุมมองหรือโอกาสใหม่ๆ ทำ�ให้คนหนุ่มสาวกลับมาอยู่บ้านมากขึ้นหรือเปล่า
ที่เห็นชัดๆ คือ เมื่อก่อนชาวบ้านไม่กล้าพูดคุยกับนักท่องเที่ยวหรือคนต่างถิ่น แม้กระทั่ง แนะน�ำตัวเอง ยกมือสวัสดี ยังไม่กล้า แต่ปัจจุบันสามารถพูดคุยแลกเปลี่ยน น�ำเที่ยวได้ ส่วนเรื่อง รายได้ การท่องเทีย่ วชุมชนถือเป็นรายได้เสริมจากรายได้หลักของเรา วันไหนมีนกั ท่องเทีย่ วเข้ามา เราก็แบ่งเวลามาดูแลนักท่องเทีย่ ว ถ้าวันไหนไม่มนี กั ท่องเทีย่ ว เราก็ใช้ชวี ติ เหมือนเดิม เรามีการก�ำหนด คนเข้ามาเที่ยว เพราะสิ่งนี้กระทบกับวิถีของเราด้วย ถ้าเกิดรับแขกทั้ง 365 วัน ผมไม่ได้ปลูกข้าว ก็ไม่มขี า้ วกิน รายได้ทำ� ให้เราเปลีย่ นแปลงมากมัย้ จริงๆ มันไม่ได้เปลีย่ นแปลงไปมาก ด้วยความเชือ่ วิถีวัฒนธรรมรวมถึงฤดูกาล จะเป็นตัวบอกว่าสิ่งไหนคุณท�ำได้ ท�ำไม่ได้ แต่ถามว่าช่วยสร้างรายได้เพิ่มมั้ย ช่วยแน่นอน เช่น แทนที่คนจะเข้ามาถ่ายรูปอย่างเดียว แต่พอเขาหิวก็ต้องกิน หรือถ้ามีกิจกรรมอื่นก็ต้องนอนค้าง มีของที่ระลึกให้ซื้อหา เราไม่ยัดเยียด เพียงแต่เสนอว่าเรามีอะไรบ้างเท่านั้นเอง แต่กลายเป็นว่าแต่ละอย่างมันสามารถสร้างมูลค่าได้ เช่น เดิมทีเรานวดให้กันเอง ไม่มีค่าตอบแทน แต่พอท�ำเป็นกิจกรรมให้กบั นักท่องเทีย่ ว ก็สามารถ สร้างรายได้ มีรายได้เพิ่มขึ้นด้วย ส่วนน้องๆที่เรียนจบหรือก�ำลังจะจบ เขาก็มีตัวเลือกเพิ่มขึ้นว่า จะไปท�ำอะไรต่อ อย่างน้อยก็มงี านบริการติดตัว หรือถ้าเข้ามาท�ำงานตรงนีก้ ม็ เี ครือข่าย คือ เครือข่าย เยาวชนซีบที ยี ธู ได้ท�ำความรู้จักกัน พูดคุยแลกเปลี่ยน ไปมาหาสู่กันได้พบปะกับกลุ่มคนเยอะขึ้น
มองอนาคตบ้านจ่าโบไว้อย่างไรบ้าง
ทุกคนอยากให้บา้ นจ่าโบเป็นแบบนี้ อยากให้ทกุ อย่างเป็นเหมือนเดิม การทีจ่ ะเข้ามาในชุมชน ควรนึกถึงภาพที่เราไม่อยากให้เกิดขึ้นไม่ใช่แค่คนในพื้นที่นะ แต่เป็นภาพรวมทั้งหมดเลยเพราะ ไม่อย่างนัน้ ถ้าไปถึงจุดหนึง่ ทีค่ นมองว่าจ่าโบ่เสือ่ มแล้วแล้วก่อนหน้านีพ้ วกคุณท�ำอะไรกันอยู่ มีแต่ ไปซ�ำ้ เติม อย่างภูทบั เบิกตอนนีท้ กุ คนไปซ�ำ้ เติม ท�ำไมไม่มกี ารจัดการก่อนหน้านัน้ คุณท�ำอะไรกันอยู่ อย่างบ้านจ่าโบ่ ถ้าเกิดคนในพื้นที่เอาด้วย เรามาท�ำรีสอร์ตกันมั้ยเอาแบบสีสันแจ่มๆ เลยนะ หรือ เอาแบบคนที่มาเที่ยวปาย เที่ยวปางอุ๋งชอบ สักสี่ห้าหลังดีมั้ย พอผมท�ำ ทุกคนก็มีสิทธิ์ท�ำ ต่างคน ต่างท�ำของตัวเอง ทรัพยากรในพื้นที่ก็ไม่เหลือ
88
I บ้านแม่ละนา I ห่างจากบ้านจ่าโบ่เพียง 2 กิโลเมตร หรือราว 15 นาที ยังมีอกี ชุมชนหนึง่ ทีค่ มุ้ ค่าแก่การ ไปเยือน คือหมู่บ้านแม่ละนา เพราะชุมชนแห่งนี้ มีที่มาและวัฒนธรรมแตกต่างจากบ้านจ่าโบ่ แต่ ทว่า มีความเก่าแก่ไม่แพ้กัน และสิ่งส�ำคัญคือ ชุมชนแห่งนี้ ต่างก็ต่อสู้ดิ้นรน ล้มแล้วลุก ลุกแล้ว เรียนรู้ หลายต่อหลายครั้ง เพื่อให้การท่องเที่ยวในชุมชน สร้างความเข้มแข็งทั้งเรื่องของรายได้ วัฒนธรรมของชุมชน ที่จะให้ลูกหลานได้เห็นคุณค่าและสืบสานต่อไป บ้านแม่ละนาซึง่ เป็นหมูบ่ า้ นเล็กๆ ในหุบเขา ทีม่ อี ายุเก่าแก่กว่า 200 ปี มีแม่นำ้� แม่ละนา เป็นแม่นำ�้ สายหลักไหลผ่านทุง่ นากลางหมูบ่ า้ น และมีวดั แม่ละนาเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้าน ที่นี่มีประชากรประมาณ 700 คน หรือ กว่า 200 ครัวเรือน ส่วนมากเป็นชาวไทใหญ่นับถือพุทธ มีอาชีพท�ำไร่ ท�ำนาท�ำสวนผสมที่ปลูกพืชหลากหลายเช่น อะโวคาโด กาแฟ ส้ม มะม่วง ผักหวาน รวมทัง้ เลีย้ งสัตว์ดว้ ย ผมไดัพบกับหนานรูญ หรือ พีจ่ ำ� รูญ วงศ์จนั ทร์ ผูน้ ำ� ชุมชนและผูป้ ระสานงาน การท่องเทีย่ วเพือ่ ชุมชนของหมูบ่ า้ นแม่ละนา ซึง่ เป็นหมูบ่ า้ นไทใหญ่ทมี่ ธี รรมชาติใกล้เคียงกับบ้าน จ่าโบ่ แม้จะมีวฒ ั นธรรมแตกต่างกัน แต่ทงั้ สองหมูบ่ า้ นได้นำ� วิถกี ารท่องเทีย่ วเพือ่ ชุมชนและหมูบ่ า้ น มาใช้ในเวลาไล่เลี่ยกัน เพราะต่างก็มีเงื่อนไขและอุปสรรคหลายอย่างคล้ายคลึงกันไม่ว่าจะเป็น เรือ่ งของอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม การอนุรกั ษ์ธรรมชาติ ระยะทางทีห่ า่ งไกล โอกาสของการเข้าถึง ความรู้และความต้องการในการสร้างรายได้เพิ่ม หนานรูญ หรือ จ�ำรูญ วงศ์จันทร์ ผู้น�ำของชุมชนเล่าว่า หมู่บ้านได้เปิดรับการท่องเที่ยว มาตั้งแต่ ปี 2537 โดยมีจุดขายทั้งด้านวัฒนธรรมและธรรมชาติคือ วัฒนธรรมประเพณีของชาว ไทใหญ่และทรัพยากรธรรมชาติซึ่งได้แก่ ถ�้ำที่ยาวที่สุดในเอเชีย โดยมีความยาวถึง 12 กิโลเมตร ขณะเดียวกันก็มีความหลากหลายทางสัตว์ป่าพันธุ์พืช สมุนไพร รวมถึงมีป่าเขาล�ำธารสิ่งต่างๆ เหล่านี้ มีอยู่แล้วเป็นทุนเดิม แต่ไม่เคยมีการน�ำมาใช้ หลังจากมีการประชาสัมพันธ์ออกไปก็เริ่มมี นักท่องเทีย่ วต่างชาติเข้ามาเทีย่ วในพืน้ ทีแ่ ต่เหตุการณ์ไม่ได้ราบรืน่ อย่างทีห่ วัง เพราะความแตกต่าง ทางวิถีวัฒนธรรมของผู้มาเยือน ขัดกับวัฒนธรรมและประเพณีของเจ้าถิ่น เกิดเป็นความห่วงใย ของเจ้าของพื้นที่ว่าอาจเกิดการเลียนแบบในทางที่ไม่ดี หรืออาจมีผลกระทบให้วิถีความเชื่อและ วัฒนธรรมดั้งเดิมเสื่อมลง ผลจากการท่องเทีย่ วในช่วงแรกท�ำให้ชาวบ้านเห็นตรงกันว่า ชุมชนในฐานะทีเ่ ป็นเจ้าของ บ้านโดยตรงและเป็นผูท้ จี่ ะได้รบั ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ควรเป็นผูอ้ อกแบบการท่องเทีย่ วทีม่ อี ตั ลักษณ์ และความต้องการของชุมชนขึน้ มาเอง ซึง่ ก็ตอ้ งใช้เวลาและความพยายามอย่างมากในการโน้มน้าว 90
ให้หน่วยงานภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้องยินยอมให้ชมุ ชนเป็นผูต้ ดั สินใจเรือ่ งการจัดการท่องเทีย่ วด้วยตนเอง เพราะในช่วงแรกทุกหน่วยงานล้วนไม่เชื่อว่าชุมชนจะท�ำได้ และเต็มไปด้วยค�ำถามว่า ไม่เคยท�ำ แล้วจะท�ำได้อย่างไร ภาษาอังกฤษไม่คล่องแคล่วจะจัดการได้อย่างไร
ในช่วงต้นด้วยความขาดประสบการณ์ ทำ�ให้ชาวบ้านเองก็ลังเล หลายครั้ง แต่สุดท้ายก็มีความเห็นร่วมกันว่าวิถีชีวิตและอนาคตของเราเอง ถ้าเราไม่กำ�หนดเอง แล้วจะให้ใครมากำ�หนด...ใครจะรู้จักตัวเราดีไปมากกว่า ตัวเราเอง สุดท้ายเมื่อยืนยันเช่นนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงยอมให้ชุมชนเป็นผู้ออกแบบการ ท่องเที่ยวในชุมชนขึ้นมาเอง จากนั้นก็ค่อยๆ ปรับวิธีจัดการการท่องเที่ยวให้เป็นเครื่องมือในการ พัฒนาไปพร้อมๆ กัน โดยเริม่ จากค�ำถามว่า “เราเป็นใคร และเรามีคณ ุ ค่ามีจดุ เด่นคืออะไร” และถ้าจะท�ำการท่องเที่ยวก็ต้องถามต่อว่า “ส�ำหรับเรา การท่องเที่ยวคืออะไร” 91
ค�ำถามทัง้ หมดล้วนน�ำไปสูค่ ำ� ตอบเรือ่ งอัตลักษณ์ของชุมชนไทใหญ่ทไี่ ด้ถกู สอดแทรกไป ในทุกๆ กิจกรรม จนท�ำให้บ้านแม่ละนาเริ่มเป็นที่รู้จักและมีแขกมาเยือนมากขึ้นทั้งนักท่องเที่ยว และคนที่มาดูงาน ทั้งจากชุมชนอื่นๆ ในประเทศและชาวต่างประเทศ ซึ่งเป็นโอกาสให้ชุมชนได้ ขยายการผลิตสินค้าทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ รวมทัง้ เปิดบ้านเป็นโฮมสเตย์ขนึ้ มาเพือ่ รองรับความต้องการ ของผู้มาเยือน ซึ่งได้ประโยชน์ทั้งเป็นการสร้างรายได้และยังเปิดโอกาสในการเรียนรู้วัฒนธรรม ที่แตกต่างให้กับชาวบ้านอีกด้วย ในด้านการจัดการชุมชนบ้านแม่ละนามีวธิ จี ดั การใกล้เคียงกับชุมชนบ้านจ่าโบ่ คือ ค่าที่ พักคิดเป็นรายหัวหัวละ 200 บาทโดยหักรายได้ค่าที่พักเข้าชุมชน 10เปอร์เซ็นต์ เพื่อน�ำมาเป็นก องทุนต่างๆ ส�ำหรับสาธารณประโยชน์ในชุมชน ปัจจุบนั บ้านแม่ละนามีโฮมสเตย์ทงั้ สิน้ 25 หลัง สามารถรับแขกได้หลังละ 4-5 คน โดยเป็นพันธมิตรกับบริษัททัวร์แนวอนุรักษ์กว่า 10 แห่ง และ ยังมีกฎของหมู่บ้านที่ผู้มาพักแรมต้องปฏิบัติตามเช่น ไม่ออกจากบ้านหลังสามทุ่ม ถ้าจะสังสรรค์ หรือกินดืม่ ให้อยูภ่ ายในบ้าน ต้องเชือ่ ฟังค�ำแนะน�ำเจ้าของบ้าน ห้ามแต่งตัวโป๊ ห้ามกอดจูบกันในที่ สาธารณะเป็นต้น บ้านแม่ละนามีแหล่งท่องเทีย่ วมากมาย เช่น ถ�ำ้ ผีแมน ถ�ำ้ เพชร ถ�ำ้ ปะการัง และยังมีกจิ กรรม ที่หลากหลายให้เข้าร่วม เช่น เดินท่องป่าชุมชน เดินชมวิถีชีวิตชุมชน อบสมุนไพร นวดแผนไต (การนวดแบบโบราณโดยคนไต หรือคนไทใหญ่)หรือชมการสาธิตภูมปิ ญ ั ญาชาวบ้านอย่างการทอผ้า การท�ำน�้ำมันงา การท�ำหีบอ้อย หรือเครื่องจักสาน เป็นต้น หนานรูญเสริมว่าถ้าหมูบ่ า้ นไม่ได้นำ� การท่องเทีย่ วเพือ่ ชุมชนมาใช้เป็นเครือ่ งมือแล้ว ของ ที่เคยมีหลายอย่างคงจะสูญหายไป บ้านแม่ละนามีทรัพยากรมากมายทั้งทางธรรมชาติและ วัฒนธรรม ท่ามกลางกระแสวัตถุนยิ มรุนแรงทีพ่ ดั พาไปทุกหนแห่งการทีจ่ ะพิทกั ษ์รกั ษาสิง่ เหล่านี้ ไว้ให้คนรุ่นหลังย่อมไม่ใช่เรื่องง่าย ถ้าคนรุ่นปัจจุบันไม่ได้ยืนหยัดเพื่อสิ่งที่มีคุณค่านั้นอย่างแท้จริง กี่คนบ้างที่อยากกลับบ้าน กี่คนที่ฝันอยากใช้ชีวิต มีรายได้และอยู่กับคนที่คุณรัก ในแผ่นดินเกิด วันนี้แม่ละนาเป็นอีกหนึ่งหมู่บ้านของประเทศไทยที่ชาวบ้านมีความสุขได้ใช้ชีวิต ในทางเดินที่พวกเขาเลือกเองได้ท�ำในสิ่งที่เขารัก ได้อยู่ท่ามกลางธรรมชาติที่งดงาม และที่ส�ำคัญ ที่สุดคือ ได้ใช้ชีวิตที่เต็มไปด้วยความภาคภูมิใจในบ้านเกิด
92
Q
A
คุยกับ จำ�รูญ
วงศ์จันทร์
l รองนายกอบต.แม่ละนา l
ที่บ้านแม่ละนาทำ�ธุรกิจโฮมสเตย์มานานหรือยังครับ
เริ่มท�ำตั้งแต่ปี 2537 แล้วก็มีการพัฒนามาเรื่อยๆ เรามีทุนเดิมด้านวัฒนธรรมประเพณี ของชาวไทใหญ่ และมีทนุ ด้านธรรมชาติ คือ ถ�ำ้ ทีย่ าวทีส่ ดุ ในเอเชีย มีความยาว 12 กิโลเมตร รวมทัง้ มีความหลากหลายทางชีวภาพ ไม่วา่ จะเป็นสัตว์ปา่ พันธุพ์ ชื สมุนไพร ป่าเขาล�ำธารหลังจากทีร่ ฐั บาล ให้ความส�ำคัญด้านการท่องเที่ยว และมีหน่วยงานเข้ามาส�ำรวจพื้นที่เพื่อท�ำเป็นแหล่งท่องเที่ยว ทีน่ จี่ งึ เป็นทีร่ จู้ กั ของนักท่องเทีย่ ว ซึง่ เริม่ แรกเป็นชาวต่างชาติโดยเฉพาะฝรัง่ แต่ดว้ ยความทีเ่ ขาอาจ ไม่เข้าใจวิถีชีวิตหรือวัฒนธรรมของคนไทใหญ่ พอมาถึงก็นุ่งน้อยห่มน้อยและท�ำตามวัฒนธรรม ของเขา ซึ่งมันขัดกับวัฒนธรรมประเพณีของเรา ถ้าเป็นอย่างนี้จะกลายเป็นกระแสด้านลบที่จะ ท�ำให้เด็กคนรุ่นใหม่เลียนแบบได้ และท�ำให้วิถีความเชื่อเดิมเสื่อมลง นี่คือสิ่งที่ผู้น�ำและผู้อาวุโส ในชุมชนเป็นห่วง 93
หลังจากนั้นเราก็เลยพูดคุยกันถึงปัญหานี้และหยิบเอาการท่องเที่ยวมาเป็นเครื่องมือเพื่อ การพัฒนา โดยได้เชิญองค์กรและหน่วยงานต่างๆ มาปรึกษาพูดคุยหาแนวทาง เกิดเป็นการท่องเทีย่ ว โดยชุมชนขึ้นมีการอบรมให้ความรู้เรื่องของข้อมูลและองค์ความรู้ต่างๆ ของชาวไทใหญ่ที่มีอยู ่ แต่ดั้งเดิมน�ำมาท�ำเป็นสื่อให้นักท่องเที่ยวได้ศึกษาเรียนรู้ เพื่อให้เขาเข้าใจวิถีวัฒนธรรมและความ เป็นอยูข่ องชาวไทใหญ่มากขึน้ ท�ำให้เรากลายเป็นทีร่ จู้ กั ขึน้ มา มีหลายๆ ชุมชน ตลอดจนชาวต่างชาติ แวะเวียนเข้ามาเรียนรู้ท่ีนี่อย่างต่อเนื่องเราจึงขยายองค์ความรู้ไปในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ภูมิปัญญาดั้งเดิม การทอผ้า การจักสาน การท�ำน�้ำมันงา อีกส่วนหนึ่งก็เปิดเป็นโฮมสเตย์เพื่อให้ นักท่องเที่ยวเข้ามาพัก มาลิ้มลองรสชาติอาหารไทใหญ่ ขณะเดียวกันก็มีโอกาสได้แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ เรียนรูว้ ถิ ตี า่ งๆ ระหว่างเจ้าของบ้าน ซึง่ เป็นชาวไทใหญ่ และแขกผูม้ าเยือน คิดว่าน่าจะ เป็นภาพลักษณ์ที่ดีและเป็นแนวทางหนึ่งที่จะท�ำให้สังคมของเราน่าอยู่ขึ้น
เมื่อเปิดเป็นธุรกิจโฮมสเตย์แล้ว ในส่วนของรายได้เป็นอย่างไรบ้าง
เรามองค�ำว่ารายได้เป็นรายได้เสริม เพราะไม่อยากใช้เม็ดเงินเป็นตัวตั้ง ถ้าเราเอาเม็ดเงิน เป็นตัวตัง้ ผลกระทบทีต่ ามมาคือแหล่งท่องเทีย่ วจะเสือ่ มโทรม สังคมทะเลาะวิวาทแย่งชิงทรัพยากร แย่งชิงรายได้ตา่ งๆ เพราะฉะนัน้ เราจึงใช้คำ� ว่า รายได้จากชุมชนคือรายได้เสริม สมมตินกั ท่องเทีย่ ว ไปเทีย่ วถ�ำ้ เราจะมีอตั ราค่าบริการ ไกด์หนึง่ คนต่อแขกหนึง่ คนคิดราคาเท่าไร อีกส่วนหนึง่ เราแบ่งปัน ให้ชมุ ชน โดยหักเข้ากองกลาง 10 เปอร์เซ็นต์ เพือ่ น�ำไปพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ ว พัฒนาชุมชน ฟืน้ ฟู วิถวี ฒ ั นธรรม อีกส่วนหนึง่ น�ำไปให้ทางกลุม่ โฮมสเตย์หรือคณะกรรมการโฮมสเตย์นำ� ไปศึกษาดูงาน หรือไปร่วมเวทีเสวนาต่างๆ
96
“
วิถีชีวิตเราไม่ได้เปลี่ยนไป เพียงแต่เราประยุกต์ ยกระดับองค์ความรู้ วิถีภูมิปัญญาดั้งเดิม และบางอย่างเราฟื้นฟูอนุรักษ์ ขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง
“
สำ�หรับพี่ นิยามของโฮมสเตย์ที่ดีคืออะไร
เป็นโฮมสเตย์ทมี่ คี วามเป็นสังคมทีด่ ี ความเป็นพีเ่ ป็นน้องทีด่ ี และความเข้าใจซึง่ กันและกัน
แล้วโฮมสเตย์ต่างจากที่พัก เกสต์เฮาส์ หรือโรงแรมทั่วไปอย่างไร
ต่างกัน เพราะโฮมสเตย์คือการที่แขกได้มาพักกับเจ้าของบ้านได้มาแลกเปลี่ยนวิถี วัฒนธรรมโดยตรง ส่วนรีสอร์ตหรือเกสต์เฮาส์สร้างขึ้นให้เป็นเพียงที่พักที่อาศัย แต่นักท่องเที่ยว ไม่ได้ไปศึกษาเรียนรูอ้ ะไรกับใคร ได้แค่พกั ผ่อน กินอาหาร ซึง่ ก็เป็นอาหารสากลแต่ถา้ มาพักโฮมสเตย์ อย่างน้อยๆ เขาจะได้เรียนรูว้ ถิ วี ฒ ั นธรรมของเจ้าบ้าน ถ้ามาพักกับชาวไทใหญ่ ก็ได้เรียนรูว้ ฒ ั นธรรม แบบไทใหญ่ ถ้าพักบ้านจ่าโบ่ซึ่งเป็นพี่น้องชาวลาหู่ก็จะได้เรียนรู้วิถีวัฒนธรรมของชาวลาหู่ว่าเขา กินอยู่อย่างไรมีสังคมอย่างไรมีภูมิปัญญาดั้งเดิม หรือมีวิธีดูแลรักษาทรัพยากรดินน�้ำป่าอย่างไร
ปัจจุบันแม่ละนามีโฮมสเตย์เข้าร่วมโครงการกี่หลังแล้วมีเกณฑ์ในการคัดเลือก อย่างไร
ตอนนีม้ ปี ระมาณ 25 หลังเกณฑ์ในการคัดเลือกบ้านคือ เบือ้ งต้นทางคณะกรรมการชุมชน จะเป็นคนคัดกรองก่อนโดยมีกรอบอยู่ว่าคนที่จะเข้าโครงการโฮมสเตย์ต้องมีใจที่จะเข้าร่วมกลุ่ม ต้องมีใจยินดีทจี่ ะต้อนรับแขกทีจ่ ะเข้ามาพัก และต้องมีใจทีจ่ ะศึกษาเรียนรูเ้ รือ่ งของระบบ ไม่วา่ จะเป็น เรื่องของที่พัก อาหาร สิ่งแวดล้อมต่างๆ รวมทั้งต้องสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับแขกผู้มาเยือน เป็นพันธมิตรที่ดี
ปัญหาในช่วงเริ่มต้นและในปัจจุบันของธุรกิจโฮมสเตย์ที่นี่มีอะไรบ้าง
สิ่งที่ผมมองคือ จะท�ำอย่างไรให้ความหมายค�ำว่า “การท่องเที่ยวโดยชุมชน” และค�ำว่า “โฮมสเตย์” ถูกสื่อออกไปเหมือนท�ำเป็นหลักสูตรให้คนรุ่นใหม่ได้ศึกษาเรียนรู้ อีกส่วนหนึ่งคือ ภาคส่วนต่างๆ ต้องเข้าใจในเรือ่ งนี้ เพราะการท่องเทีย่ วมันมีความหลากหลาย อย่างการท่องเทีย่ ว โดยทัว่ ไปก็เป็นรูปแบบหนึง่ หรือการท่องเทีย่ วโดยชุมชนก็เป็นอีกรูปแบบหนึง่ ส�ำหรับการท่องเทีย่ ว โดยชุมชนคือ การท่องเทีย่ วทีน่ กั ท่องเทีย่ วได้ศกึ ษาเรียนรูแ้ ละเข้าใจระบบวิถวี ฒ ั นธรรมความเป็น ระบบนิเวศ
98
สมมติถ้าวันนี้ บ้านแม่ละนาไม่ได้เอาแนวคิดเรื่องการท่องเที่ยวโดยชุมชนมาใช้ คิดว่าสภาพของหมู่บ้านจะแตกต่างจากตอนนี้อย่างไร
คิดว่าแตกต่างมาก อย่างน้อยๆระบบวิถีดั้งเดิมคงหายไปและมีวัฒนธรรมใหม่ๆเข้ามา แทนที่ถ้าวิถีดั้งเดิมหายไป เราก็จะกลายเป็นคนที่ไม่รู้ตัวตน ไม่รู้รากเหง้าของตัวเอง แต่ในระดับ ความเป็นชุมชนของเรา เราไม่สามารถทีจ่ ะก้าวทันในเรือ่ งของการพัฒนาได้ เพราะฉะนัน้ อย่างน้อยๆ หากเราได้ศกึ ษาเรียนรูเ้ รายังมีฐานภูมปิ ญ ั ญาเดิม ถือว่าเรายังมีฐานความเป็นตัวตน มีฐานความเป็น คนชนเผ่านั้นๆ อยู่
เรื่องของสภาวะแวดล้อมกับการท่องเที่ยวเชิงชุมชนมีส่วนช่วยอนุรักษ์ตรงนี้ ด้วยหรือไม่
ทุกวันนี้เราก็ใช้เรื่องของธรรมชาติมาเป็นสื่อในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้ระบบวิถี ภูมปิ ญ ั ญา เพราะคนไทใหญ่เองก็มภี มู ปิ ญ ั ญาเรือ่ งของความเชือ่ การอนุรกั ษ์ปา่ การอนุรกั ษ์ตน้ น�ำ้ อีกส่วนหนึ่งก็มีภูมิปัญญาเกี่ยวกับการใช้สมุนไพร การที่เราจะน�ำสมุนไพรชนิดหนึ่งมารักษา คนเจ็บไข้ได้ปว่ ย เราจะมีวธิ กี ารโดยน�ำเอาความเชือ่ อิงวัฒนธรรมเป็นเครือ่ งมือในการเก็บพันธุพ์ ชื ต่างๆ เหล่านี้มาใช้ประโยชน์
ตั้งแต่เปิดโฮมสเตย์มา วิถีชีวิตชุมชนเปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง ดีขึ้นตามที่เรา คาดหวังไว้หรือไม่
วิถีชีวิตเราไม่ได้เปลี่ยนไป เพียงแต่บางอย่างเราประยุกต์ให้เข้ากับสถานการณ์ในปัจจุบัน บางอย่างเป็นการยกระดับองค์ความรู้หรือภูมิปัญญาดั้งเดิม บางอย่างเราสามารถฟื้นฟูอนุรักษ์ ในเรื่องของวิถีภูมิปัญญาดั้งเดิมที่เก่าแก่ของบรรพบุรุษขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง เช่น ล�ำนกล�ำโต ซึ่งเป็น ภูมปิ ญ ั ญาด้านวัฒนธรรมทีห่ ายไปกว่า 20-30 ปี ก็ได้รบั การรือ้ ฟืน้ อีกเรือ่ งหนึง่ คือ ภูมปิ ญ ั ญาด้าน น�ำ้ มันงาซึง่ เป็นทัง้ ยาสมุนไพรและอาหาร เมือ่ ก่อนบรรพบุรษุ ท�ำเองกับมือไม่ตอ้ งซือ้ หาทีไ่ หน รวมทัง้ การอนุรกั ษ์เรือ่ งของพันธุพ์ ชื ต่างๆ ท�ำให้คนรุน่ ใหม่ได้ศกึ ษาเรียนรู้ ส่วนคนต่างวัฒนธรรมต่างชนเผ่า ก็ได้แลกเปลี่ยนได้เรียนรู้และมีความเข้าใจซึ่งกันและกัน
100
ภูมิใจ ในจุดแข็ง
ชาวบ้าน ในชุมชน เป็นมัคคุเทศก์ ท้องถิ่น
ใช้ทุนภายใน ลดความเสี่ยง
ประโยชน์ ของชุมชน เป็นที่ตั้ง
เคล็ดลับความสำ�เร็จ บ้านจ่าโบ่ บ้านแม่ละนา
กระจายรายได้
จ.แม่ฮ่องสอน
เลือกลูกค้า ที่ชื่นชม วิถีชุมชน
สื่อสารตัวตน สู่ภายนอก อย่างชัดเจน ปันรายได้ ร้อยละ 10 พัฒนาชุมชน
ปฏิเสธ สิ่งที่ไม่ต้องการ
ชุมชนบ้านจ่าโบ่
หมู่ที่ 4 ตำ�บลปางมะผ้า อำ�เภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน 58150 ผู้ประสานงาน : คุณศรชัย ไพรเนติธรรม โทรศัพท์ : 08-0677-5794 Facebook : CBT BAAN JABO การเดินทาง : จากตัวเมืองแม่ฮ่องสอน ใช้เส้นทาง 1095 อำ�เภอปาย ผ่านถ้ำ�ปลาและจุดชมวิวปางมะผ้า จนถึงด่านตรวจ บริเวณแยกบ้านแม่ละนา เลี้ยวซ้ายไปอีก 4 กิโลเมตร จะถึงตัวหมู่บ้านจ่าโบ่ ตั้งอยู่ริมถนนเส้นนี้ ใช้เวลา ประมาณ 2ชั่วโมง หากเดินทางมาจากอำ�เภอปายให้ใช้เส้นทาง 1095 มาทางแม่ฮ่องสอน ข้ามดอยผ่านจุด ชมวิวกิว่ ลมลงมาทีอ่ �ำ เภอปางมะผ้า ผ่านสถานีทดลองข้าวและขึน้ ดอยมาอีกสักพักจะพบทางแยกบ้านแม่ละนา เลี้ยวไปตามถนนอีก 4 กิโลเมตร ใช้เวลาประมาณ 1.5 ชั่วโมง
ชุมชนบ้านแม่ละนา
หมู่ที่ 1 ตำ�บลปางมะผ้า อำ�เภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน 58150 ผูป้ ระสานงาน : คุณจำ�รูญ วงศ์จนั ทร์ โทรศัพท์ : 08-0677-5794 อีเมล์ : tmtmaehongson@yahoo.com การเดินทาง : จากตัวเมืองแม่ฮ่องสอน ใช้เส้นทาง 1095อำ�เภอปายผ่านถ้ำ�ปลาและจุดชมวิวปางมะผ้า จนถึงด่านตรวจ บริเวณแยกบ้านแม่ละนา เลีย้ วซ้ายไปจะเป็นถนนลาดยางและจะเริม่ ไต่ระดับขึน้ ไปจนถึงจุดสูงสุด ผ่านเข้าสู่ ตัวหมู่บ้านจ่าโบ่ จะพบด่านตรวจแล้วเลี้ยวขวาลงสู่ตัวหมู่บ้าน ใช้เวลาประมาณ 2ชั่วโมง
/
บ้านแม่กำ�ปอง จ.เชียงใหม่
จากวันวานของหมู่บ้านที่ยากไร้ สู่ต้นแบบโฮมสเตย์ระดับโลก
/
วันนีท้ กุ คนรูจ้ กั บ้านแม่กำ� ปอง ในฐานะแหล่งท่องเทีย่ วเพือ่ ชุมชนชัน้ น�ำของประเทศ แม่กำ� ปองเป็นหมูบ่ า้ นเล็กๆ ทีน่ า่ รัก มีธรรมชาติทสี่ วยงาม กิจกรรมหลากหลายให้ผมู้ าเยือนได้ทำ � แต่มีสักกี่คนที่จะทราบว่า หากย้อนไปเมือ่ 20 ปีก่อน ที่นี่ยังเป็นเพียงหมู่บ้านชนบทที่ห่างไกล ความเจริญ ชาวบ้านมีชีวิตอยู่อย่างยากล�ำบาก และขัดสนด้านรายได้ โดยที่แทบไม่มีทางเลือก หรือโอกาสใดๆ ในชีวิตเลย จากจุดเริม่ ต้นทีแ่ ทบไม่มคี วามเป็นไปได้ ด้วยคนเพียงหนึง่ คน ทีใ่ ช้การพัฒนาทีม่ พี นื้ ฐาน จากงานวิจัย น�ำไปสู่การสร้างชุมชนที่เข้มแข็ง การกระจายรายได้ให้ทั้งชุมชนในทุกมิติ และที่ ส�ำคัญคือการด�ำเนินธุรกิจมาอย่างต่อเนื่องและมั่นคงมาจน 20 ปี จนสามารถสร้างความ เปลี่ยนแปลงให้กับชีวิตของคนทั้งหมู่บ้าน และนี่คือเรื่องราวแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งนั้น หมู่บ้านแม่ก�ำปองอยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ราว 60 กม. โดยมีพ่อหลวงพรมมินทร์ พวงมาลา หรือในชือ่ ปัจจุบนั ธีรเมศร์ ขจรพัฒนภิรมย์ เป็นผูส้ ร้างการเปลีย่ นแปลงให้กบั ทัง้ หมูบ่ า้ น
104
“เพราะห่างไกลจากตัวเมือง การคมนาคม ถนนก็ไม่ดี เมื่อก่อนต้องเดินด้วยเท้าเข้ามา แล้วการขนถ่ายสินค้าใช้ม้าใช้วัว พอผมเข้ามาเป็นผู้ใหญ่บ้านก็มีการตัดถนนเข้ามาแล้ว แต่ก็ยัง ไม่ดี หน้าฝนถือว่าล�ำบากมาก ส่วนเรื่องอาชีพของชาวบ้านก็มีเก็บใบเมี่ยง หรือใบชาอย่างเดียว ไม่มรี ายได้เสริม กาแฟก็ยงั ไม่ทำ� มากเหมือนตอนนี้ การซือ้ ขายก็อาศัยโครงการหลวง ซึ่งราคาสมัย นั้นก็ยังไม่ค่อยดี” บ้านแม่กำ� ปอง หมูบ่ า้ นเล็กๆ ก่อตัง้ ประมาณ 100 กว่าปีเดิมเป็นป่าเมีย่ ง ชาวบ้านส่วนใหญ่ อพยพมาจากอ�ำเภอดอยสะเก็ด ซึ่งอยู่ห่างออกไปราว 50 กิโลเมตร เพื่อมาจับจองที่ดินและท�ำ สวนเมี่ยงเป็นอาชีพ พ่อหลวงพรมมินทร์เองก็เป็นหนึ่งในชาวอ�ำเภอดอยสะเก็ดที่เดินทางเข้ามา ในแม่กำ� ปอง ตัง้ แต่อายุ 22 ปี จนได้ภรรยาเป็นคนทีน่ ี่ เขาเป็นนักกิจกรรมประจ�ำหมูบ่ า้ นทีม่ สี ว่ นร่วม ตัง้ แต่การเป็นอาสาสมัครสาธารณสุข และเป็นประธานกลุม่ หนุม่ สาว เพือ่ ช่วยเหลือกิจกรรมในหมูบ่ า้ น ในช่วงปี 2520-2521 จนเมือ่ ปี 2539 พ่อหลวงคนเก่าได้เกษียณลงชาวบ้านได้ขอให้เขาลงสมัคร เป็นผูใ้ หญ่บา้ น และเขาก็ดำ� รงต�ำแหน่งนีม้ าถึงสองสมัยเป็นเวลาสิบปี
105
จากวิถีชีวิต และรายได้ของชาวบ้านในขณะนั้ น ซึ่ ง มี อ ย่ า งจ� ำ กั ด จากการเก็ บเมี่ ย ง เพียงอย่างเดียวท�ำให้ชาวบ้านอยู่อย่างยากจน มีคุณภาพชีวิตไม่ดีนัก และโอกาสทางการศึกษาก็ ต�่ำเพราะมัวแต่หากินเลี้ยงชีพไปวันๆ เขาเชื่อว่าถึงเวลาแล้วที่ชุมชนจะต้องมีชีวิตใหม่ที่ดีกว่าเดิม ถึงแม้จะยากไร้และห่างไกลแต่ชุมชนก็มีจุดเด่นที่ชาวบ้านเอื้อเฟื้อและมีน�้ำใจ ประกอบกับ
ธรรมชาติมีความสวยงาม อันเป็นต้นทุนสำ�คัญทำ�ให้พ่อหลวง เริ่มคิดถึงการพัฒนา หมู่บ้านโดยนำ�กิจกรรมและจุดเด่นเหล่านี้มาเป็นจุดขายสำ�คัญ
เขาพบว่าการสนับสนุนจากภาครัฐที่ให้ชาวบ้านผลิตสินค้าต่างๆ แล้วน�ำไปขายนั้น มักวนเวียนกับปัญหาเดิมๆ คือไม่รู้จะไปขายใคร เพราะชาวบ้านท�ำสวนท�ำไร่ เมื่อต้องออกไป ขายก็ไม่ถนัด ขายไม่เป็น ออกจากหมู่บ้านไปแต่ละทีก็มีค่าใช้จ่ายมากมาย ถ้าเปลี่ยนวิธีคิด ให้คนเดินทางเข้ามาที่นี่น่าจะเข้าท่ากว่า แล้วจะมีใครมาบ้านเรา? แล้วเราจะมีอะไรให้เขาดู?นี่คือค�ำถามที่เกิดขึ้นจากชาวบ้าน เมื่อได้ฟังความคิดของเขา “ท่ามกลางเสียงที่ทุกคนมองว่ามีแต่น�้ำตกอย่างเดียว แต่ผมมองว่า เรามีทรัพยากรที่ เป็นธรรมชาติ เรามีป่า มีอากาศเย็นสบายตลอดทั้งปี บวกกับวิถีชีวิตของเรา ซึ่งเป็นคนพื้นเมือง คนล้านนาแต่มาอยูบ่ นเขา ซึง่ อาชีพก็ไม่ได้เหมือนคนข้างล่าง วิถชี วี ติ ของพวกเราทีอ่ นุรกั ษ์ไว้อย่าง ดี ผมตั้งข้อสังเกตว่า 130 ปีที่หมู่บ้านเกิดขึ้นมา ท�ำไมป่ายังสมบูรณ์อยู่ นั่นเพราะบรรพบุรุษเรามี ภูมิปัญญาในการใช้ไม้” ที่ส�ำคัญคือถ้าเราไม่เปลี่ยนแปลงมุมมอง ถ้าเราไม่ท�ำแต่วิธีเดิมๆ ไม่ยอม ท�ำวิธีใหม่ๆ เราก็จะไม่สามารถมีชีวิตใหม่ได้ ไม่เพียงแต่ตน้ ทุนทางธรรมชาติทอี่ ากาศ ภูเขา และป่าไม้อดุ มสมบูรณ์ ทีบ่ า้ นแม่กำ� ปอง แห่งนี้ ยังรู้จักต่อยอดและพัฒนา เพื่อเป็นต้นทุนทางชุมชนสืบต่อไป พ่อหลวงพรมมินทร์ได้ใช้ ระบบสหกรณ์เข้ามาช่วยในการจัดการกองทุนต่างๆ เพื่อให้คนมาเที่ยวมากขึ้น นี่จึงเป็นที่มาของ การจัดการให้ครบวงจรของการท่องเที่ยงเชิงอนุรักษ์ บ้านแม่กำ� ปองเปิดให้คนเข้ามาพักกับชาวบ้านในลักษณะโฮมสเตย์เป็นครัง้ แรก เมือ่ วัน ที่ 10 ธันวาคม 2543 มีบ้านแรกเริ่ม 7 หลัง ภายใน 1 ปี ชื่อของบ้านแม่ก�ำปอง ได้รับการคัดเลือก ให้เป็นหมู่บ้านในโครงการหนึ่งต�ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ซึ่งนับเป็นของดีที่แตกต่างจากชุมชนอื่นที่ เลือกน�ำเสนอแต่สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ ทั้งยังได้รับการยกย่องให้เป็นโครงการน�ำร่องในเรื่องของ การท่องเที่ยวโดยชุมชนอีกด้วย
107
l คำ�ถามที่เรียบง่าย กับผลลัพธ์ที่ยิ่งใหญ่ l เมือ่ เปิดต่อมาได้อกี ปีกว่า มีคนมาเทีย่ วมากขึน้ เริม่ มีความจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องอบรมชาวบ้าน มากขึ้น เพื่อให้มีความเข้าใจในธุรกิจของการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ งานวิจยั คือเครือ่ งมือส�ำคัญ เพือ่ สร้างองค์ความรูอ้ ย่างเป็นระบบสามารถน�ำไปเผยแพร่ และใช้งานได้จริง พ่อหลวงพรมมินทร์ใช้เวลาวิจยั อยู่ 2 ปี โดยทุนจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) งานวิจัยนี้มีการเก็บข้อมูลจากการประชุมชาวบ้านโดยตั้งค�ำถามที่เรียบง่ายเพียง 3 ข้อ 1. เขามีปัญหาอะไร 2. วิธีการแก้ปัญหาคืออะไร 3. มีความต้องการอยากให้หมูบ่ า้ นเป็นอย่างไร พัฒนาไปในทิศทางไหน ซึง่ ช่วยให้ชาวบ้าน เข้าใจถึงสิง่ ทีต่ นเองต้องการและสามารถออกแบบค�ำตอบทีเ่ หมาะสมกับตัวเขาขึน้ มาเองอย่างครบ ทุกมิติ 108
การตั้งค�ำถามอย่างตรงไปตรงมา และความต้องการที่จะเปลี่ยนแปลงเพื่ออนาคตของ ตนเองท�ำให้เกิดการประสานกันอย่างมีสว่ นร่วม ส่งผลให้งานวิจยั ชิน้ นี้ ได้รบั รางวัลงานวิจยั ดีเด่น ของประเทศ ระดับชุมชน ในปี 2548 ผลลัพธ์ที่ได้ไม่เพียงแค่งานวิจัยอันน�ำไปสู่สูตรส�ำเร็จ แต่ยังช่วยโน้มน้าวให้ชาวบ้านเกิด วิสัยทัศน์ที่สามารถเห็นภาพในอนาคต เป็นภาพเดียวกันอย่างชัดเจนจนเกิดสิ่งส�ำคัญที่เกิดขึ้น ตามมาคือ “กฎ กติกา ระเบียบ” ที่ทุกคนพร้อมใจกันเคารพและใช้ เพื่อการจัดการการท่องเที่ยว ในหมู่บ้าน พ่อหลวงเล่าว่าระเบียบทุกอย่าง ถ้าจะประกาศใช้ได้กต็ อ้ งเกิดการยอมรับจากทีป่ ระชุม ใหญ่ อย่างเรื่องการดูแลสิ่งแวดล้อม ถ้าในหมู่บ้านนั้นทุกคนตกลงร่วมกันว่าไม่เห็นด้วยเรื่องการ ใช้ยาปราบศัตรูพืช เพราะจะกระทบต่อดิน ต่อน�้ำ ต่อสิ่งแวดล้อม เพราะหมู่บ้านอยู่ต้นน�้ำและจะ ไหลลงล�ำธาร ร่วมกันก�ำหนดขึ้นมาว่า ถ้าใครฝ่าฝืนใช้ยาฆ่าหญ้าในหมู่บ้าน จะต้องถูกปรับตาราง เมตรละ 500 บาท เมื่อเป็นข้อตกลงร่วมกันในชุมชน ก็ไม่มีใครกล้าฝ่าฝืน 109
110
l โฮมสเตย์ของหมูเ่ ฮา โดยหมูเ่ ฮา เพือ่ หมูเ่ ฮา l ปัจจุบนั บ้านแม่กำ� ปองมีโฮมสเตย์ 27 หลัง สามารถรองรับแขกผูม้ าเยือนได้กว่า 100 คน ค่าทีพ่ กั อยูท่ หี่ วั ละ 580 บาท รวมค่าอาหาร หรือ 520 บาท ไม่รวมค่าอาหาร ส่วนเจ้าของบ้านจะ ได้รายได้สทุ ธิอยูท่ ี่ 400 บาท เป็นค่าทีพ่ กั และค่าบริการต่างๆ ส่วนทีเ่ หลืออีกร้อยกว่าบาทจะหักเข้า กองทุนหมูบ่ า้ น โดยจะสรุปกันทุกวันที่ 1 ของเดือนว่าหมูบ่ า้ นจะน�ำเงินส่วนนีไ้ ปจัดสรรเข้ากองทุน ต่างๆ ทีต่ งั้ ไว้ ส�ำหรับส่วนกลางของหมูบ่ า้ นอย่างไรบ้าง เช่น น�ำเข้าสหกรณ์ไฟฟ้า 30 เปอร์เซ็นต์ กองกลางพัฒนาหมูบ่ า้ น 20 เปอร์เซ็นต์ ทุนการด�ำเนินงาน 25 เปอร์เซ็นต์ กองทุนสวัสดิการชุมชน 15 เปอร์เซ็นต์ ทุนด�ำเนินงานของคณะกรรมการอีก 10 เปอร์เซ็นต์ พอสิน้ ปีกม็ กี ารสรุปบัญชีงบดุล ของสหกรณ์ โดยสมาชิกจะได้ผลก�ำไรคืนในลักษณะของเงินปันผล นอกจากนีเ้ งินกองกลางของหมูบ่ า้ นทีไ่ ด้มาจากการหักจากค่าทีพ่ กั ยังถูกแบ่งเป็นรางวัล ส�ำหรับเยาวชนที่เรียนจบการศึกษาขั้นต่างๆ เพื่อเป็นการสนับสนุนให้คนรุ่นใหม่มีการศึกษาที่ดี ขึ้นไปเรื่อยๆ เช่น จบปริญญาตรี ได้รับ 2,000 บาท ปริญญาโท 3,000 บาท และปริญญาเอก 10,000 บาท หากพ่อแม่ไม่ให้ความร่วมมือกับชุมชน เช่นไม่ได้จ่ายเงินเข้าส่วนกลาง เด็กที่เรียน จบใหม่กจ็ ะไม่ได้รบั สิทธิทสี่ มควรจะได้รบั นี้ รวมทัง้ ยังมีสวัสดิการผูเ้ จ็บป่วย โดยจะได้รบั ค่าเฝ้าไข้ วันละ 150 บาทเป็นต้น ส�ำหรับที่พักเอกชนที่มาเปิดบริการนั้น หมู่บ้านมีกฎว่าต้องหักรายได้ให้ หมูบ่ า้ นหัวละ 50 บาท ต่อคืน เพือ่ น�ำไปเข้ากองทุนเดียวกัน เนือ่ งจากธุรกิจทีพ่ กั มีการใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติสว่ นกลาง จึงจ�ำเป็นต้องมีระบบบ�ำรุงรักษา โดยจะมีตวั แทนชุมชนไปนับ จ�ำนวนผู้ที่มาพักในแต่ละรีสอร์ตทุกเย็น เพื่อให้ได้จ�ำนวนแขกที่มาพักตรงตามความเป็นจริง มีกรณีหนึ่งที่สะท้อนถึงความสามัคคีของชาวบ้านแม่ก�ำปองที่จะรักษาบรรยากาศและ เอกลักษณ์ของหมู่บ้านไว้ นั่นก็คือ มีผู้ลงทุนเอกชนต้องการเข้ามาซื้อที่ดินเพื่อท�ำรีสอร์ตหรู ขนาดใหญ่ ซึ่งทางชุมชนไม่เห็นด้วยเพราะจะเป็นการรบกวนสภาพแวดล้อมและวิถีชีวิต รวมถึง รูปแบบการท่องเทีย่ วเพือ่ ชุมชนทีเ่ ป็นจุดขายของหมูบ่ า้ นในทางกฎหมาย ผลงานทีไ่ ด้ซงึ่ ดีแล้วย่อม มีสิทธิที่จะท�ำได้ หากทางผู้ลงทุนเอกชนยืนยันสิทธิที่ลงทุนอันอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน หรือสภาพแวดล้อม ทางชุมชนก็จะยืนยันแข็งขันว่าจะไม่ให้ความร่วมมือหรือให้ความช่วยเหลือ ใดๆ ทัง้ สิน้ เมือ่ ชุมชนยืนยันเช่นนี้ และกรณีคล้ายกันนีเ้ คยเกิดขึน้ แล้วจริงจนรีสอร์ทเอกชนบางแห่ง ต้องปิดตัวลงทุนใหญ่ก็ต้องยอมถอย เพราะก้าวแรกในการลงทุนท�ำธุรกิจทีพ่ กั คือการผูกมิตรกับ ชุมชนโดยรอบ ถ้าชุมชนนัน้ ๆ ไม่เอาด้วยธุรกิจจะไม่มวี นั เกิดขึน้ ได้เลย เหตุการณ์นี้เป็นข้อพิสูจน์ว่า สิ่งที่เกิดขึ้นในชุมชนปลายทางของการท่องเที่ยวนั้น ไม่ได้ เป็นเพียงแค่การสร้างรายได้เสริมของชาวบ้าน หากแต่ยังเป็นเครื่องมือสร้างการเปลี่ยนแปลง พร้อมกับการอนุรักษ์ที่ชวนให้ชาวบ้านมีทางเลือกในชีวิตและยังเป็นสิ่งที่หลอมรวมดวงใจของ ชาวบ้านเข้าไว้ด้วยกันเป็นหนึ่งเดียว 113
l แม่กำ�ปอง...สวรรค์บนดิน l การร่วมกันพัฒนาชุมชนให้เป็นแหล่งท่องเทีย่ ว ช่วยให้เกิดหลากหลายอาชีพตามมา ซึง่ ช่วยให้ชาวบ้านมีชีวิตที่มั่นคงขึ้น เพราะไม่ได้พึ่งเพียงอาชีพเดียว ตัวอย่าง เช่น คุณจันทร์ กิ่งแก้ว วัย 67 ปี ทีย่ งั คงท�ำอาชีพเก็บใบเมีย่ งเหมือนเดิม และยังเป็นไกด์นำ� เทีย่ วของหมูบ่ า้ น ซึง่ คิดค่าบริการ วันละ 200 บาท นอกจากนี้นี้เขายังเป็นอาสาสมัครด้านสาธารณประโยชน์ เช่น คอยโบกรถ ในช่วงวันหยุดที่คนมาเที่ยวกันจนเต็มหมู่บ้าน จุดท่องเทีย่ วทีล่ งุ จันทร์มกั จะพานักท่องเทีย่ วเดินไปดู คือตาน�ำ้ หรือต้นก�ำเนิดสายน�ำ้ ของ ทัง้ หมูบ่ า้ น โดยลัดเลาะขึน้ เขา ผ่านไร่กาแฟและป่าดิบชืน้ ผ่านไปประมาณครึง่ ชัว่ โมงก็มาถึงต้นตุม้ อายุนบั พันปี ทีโ่ คนต้นเป็นตาน�ำ้ ทีม่ นี ำ�้ ไหลซึมออกมาจากรากตลอดเวลา กลายเป็นจุดเริม่ ของสายน�ำ้ เล็กๆ ทีไ่ หลต่อเนือ่ งลงไปยังหุบเขาและหมูบ่ า้ นเบือ้ งล่าง ต้นตุม้ นีเ้ ป็นไม้ใหญ่ทเี่ ก็บน�ำ้ ได้ดี ทีน่ มี่ อี ยู่ สองต้น ขนาดรอบล�ำต้นใหญ่วดั ได้ 16 เมตร ส่วนต้นเล็กวัดได้ 15 เมตร อากาศบริเวณนีส้ ดชืน่ และ เต็มไปด้วยจิตวิญญาณแห่งพลังของชีวติ ทีแ่ ผ่ออกมาทุกทิศทุกทางรอบโคนต้นไม้ตาน�ำ้ แห่งนัน้ จริงๆ บริเวณเชิงเขามีโฮมสเตย์ทงั้ หมดหกหลัง แทบทุกหลังจะมีลำ� ห้วยไหลผ่าน สามารถได้ยนิ เสียงสายน�้ำไหลตลอดเวลา บ้านแต่ละหลังเป็นบ้านไม้ทรงสูงขนาดกะทัดรัด เกือบทุกหลังเป็น บ้านเก่าอายุ 40-50 ปี ได้รบั การดูแลเป็นอย่างดี โดยเจ้าของบ้านทุกหลังเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาดตาและมีเอกลักษณ์แบบบ้านไม้ในชุมชนทางเหนือ พื้นบ้านเป็นไม้กระดานขนาดใหญ่ถูก ใช้งานจนเป็นมันวาวน่านั่ง เจ้าบ้านแต่ละคนท�ำอาชีพคล้ายคลึงกัน เช่น เก็บใบเมี่ยง จักสาน ท�ำ ใบเมีย่ งดอง ทุกคนล้วนยินดีกบั การเปิดบ้านให้ผมู้ าเยือนได้เข้าพัก เจ้าของบ้านบางหลังบอกว่าการ เปิดบ้านท�ำโฮมสเตย์แก้เหงาแก้เบื่อได้ดี จากเดิมที่เก็บใบเมี่ยงกันทั้งปี ตอนนี้มีคนมาเที่ยวที่บ้าน ได้เรียนรู้มุมมองใหม่ๆ ถึงแม้บางครั้งจะเป็นชาวต่างชาติที่สื่อสารกันเข้าใจบ้างไม่เข้าใจบ้างก็ตาม และทีส่ ำ� คัญคือสามารถสร้างรายได้เฉลีย่ แล้วเดือนละเกือบหมืน่ บางรายอาจมากกว่านัน้ ห้องทีถ่ กู ปรับให้เป็นห้องส�ำหรับรับแขก ส่วนใหญ่เป็นห้องนอน ชัน้ บนที่ติดกับโถงกลาง ทุกห้องและบ้านทุก หลังมีการระบายอากาศทีด่ เี ยีย่ ม และมักถูกตกแต่งด้วยเครือ่ งนอนสีสันสดใส
114
115
บ้านบางหลังทีอ่ ยูต่ รงปากทางเข้าชุมชนก็จะเป็นร้านค้าไปด้วยในตัว เช่น บ้านเลขที่ 91 ของเดือนรุ่ง นงยา แม่หลวงคนปัจจุบัน ตั้งอยู่ตรงปากทางชุมชนพอดี บ้านของเธอยกพื้นขึ้น เล็กน้อยดูโปร่งสบาย บริเวณหน้าบ้านเป็นเหมือนพื้นที่ส่วนกลางที่มักจะมีชาวบ้านแวะเวียน มานั่งคุยด้วยอยู่เป็นประจ�ำ หรือบ้านเลขที่ 93 ของสุพรรณ์ นิภาพรรณ ทีม่ อี าชีพหมักใบเมีย่ งขาย บ้านเธออยูต่ รง ทางแยกพอดีจึงสามารถวางถังไม้หมักใบเมี่ยงใบใหญ่เตะตา ดึงดูดลูกค้าได้เป็นอย่างดี ใบเมี่ยง เป็นใบไม้สารพัดประโยชน์ของชาวเหนือ เอามาเคี้ยวกินเล่นหอมดี ยิ่งถ้าเอาไปหมักยาผสม เครื่องเทศด้วยแล้วเคี้ยวกินแก้ง่วงได้ดีนัก ถัดไปเป็นบ้านเลขที่ 89 ของนงวัย ริญญา ซึง่ ท�ำอาชีพจักสานและเก็บใบเมีย่ ง แต่ตอนนี้ พออายุมากขึ้น เธอต้องหยุดรับแขกโฮมสเตย์มานานหลายเดือน และท�ำงานจักสานอย่างเดียว อยู่ใต้ถุนบ้าน ใครผ่านไปมาต้องหยุดถ่ายรูปที่บ้านนี้เพราะเธอยิ้มง่าย ส่วนกิจกรรมจักสานที่เธอ ท�ำอยูใ่ ต้ถนุ บ้านพร้อมกับอุปกรณ์เครือ่ งไม้เครือ่ งมือต่างๆ ทีว่ างอยูร่ อบตัว ก็เรียกแขกให้แวะมาเยือน อย่างได้ผล 116
บ้านไม้สวยหลังใหม่และห้องน�ำ้ สะอาดสะอ้านคือ บ้านเลขที่ 95/3 ของสุพกั ร์ ไชยะพล ซึ่งท�ำอาชีพเก็บเมี่ยงและปลูกกาแฟ แต่สามารถส่งเสียลูกสาวจนจบปริญญาและท�ำงานอยู่ที่ โรงแรมใหญ่ในเมือง เดินออกมาตรงปากทางเป็นโฮมสเตย์ทมี่ รี ปู ทรงโดดเด่นและท�ำเลดีทสี่ ดุ อีกหลังหนึง่ คือ บ้านเลขที่ 81 เจ้าของคือ อ�ำพร ต๊ะอุด อายุ 58 ปี บ้านของเธอหลังนี้ มีอายุสิบกว่าปีแล้ว ตั้งอยู่ เยือ้ งกับเฮือนกาแฟของพ่อหลวงพรมมินทร์ พีอ่ ำ� พรมีอาชีพท�ำสวนกาแฟ เก็บใบเมีย่ ง มีพนื้ ทีส่ วน อยู่กว่า 3 ไร่ และเปิดรับลูกค้าโฮมสเตย์เป็นรายได้เสริม โดยท�ำมาตั้งแต่รุ่นแรกๆ เมื่อปี 2547 หรือประมาณ 10 ปีมาแล้ว และยังมีความสุขในการรับลูกค้าต่อไป ส่วนบ้านหลังสุดท้ายเป็นบ้านที่มีท�ำเลดีที่สุดหลังหนึ่งเพราะอยู่บนถนนหลักในจุดที่สูง ที่สุดของหมู่บ้าน เป็นบ้านเลขที่ 78/3 ของลัดดา ไทยกรณ์ เมื่อไต่บันไดหินคดเคี้ยวขึ้นไปบ้าน ทางด้านบน จะสามารถมองเห็นวิวทั่วหมู่บ้าน ห้องนอนทั้งสองห้องมีระเบียงส่วนตัวที่ลมพัดเย็น สบายตลอดทัง้ วัน ตัวบ้านเป็นไม้ชนั้ เดียวทีส่ ร้างบนยอดระเบียงผา ภายในเป็นระเบียบ เรียบง่าย และ เกลี้ยงเกลาสะอาดตา 117
บ้านโฮมสเตย์แทบทุกหลังในหมูบ่ า้ นแม่กำ� ปอง เมือ่ แสงสลัวส่องลอดเข้ามาตามช่องแสง กระทบกับความมันเงาของพืน้ ไม้เก่าทีค่ งผ่านการดูแลเช็ดถูจนท�ำให้เกิดแสงนวลตาขึน้ ในความมืด กลายเป็นเสน่หค์ วามงามทีล่ กึ ลับชวนค้นหาผนังบ้านถูกตกแต่งด้วยเครือ่ งมือหากินในชีวติ ประจ�ำวัน ประดับประดาด้วยภาพถ่ายในอดีตของบรรพบุรษุ ผูล้ ว่ งลับ แม้แต่ภาพบรรยากาศวันแต่งงานของ พ่อแม่ทจี่ ากไปภาพถ่ายขาวด�ำในวัยเด็ก หรือภาพถ่ายวันรับปริญญาสีซดี จาง บอกเล่าได้เป็นอย่างดี ว่าบ้านแต่ละหลังได้รับใช้ผู้อยู่อาศัยมายาวนานเพียงใด และวันนี้บ้านเก่าเหล่านี้ได้ถูกปลุกขึ้นมา อีกครั้ง เพื่อท�ำหน้าที่อันทรงเกียรติในการต้อนรับแขกต่างถิ่นผู้มาเยือนหมู่บ้าน อะไรคือความสุขในชีวติ อัลแบร์ กามู นักเขียนผูย้ งิ่ ใหญ่ เคยกล่าวไว้วา่ ความสุขทีแ่ ท้จริง ของมนุษย์นนั้ มีอยู่ 4 ข้อ คือ “อยูใ่ นทีท่ มี่ อี ากาศปลอดโปร่ง พ้นจากความทะเยอทะยาน มีความคิด สร้างสรรค์ และรักใครสักคน”
118
จะเป็นอย่างไรถ้าคนชนบทได้เดินทางกลับบ้านเกิด เพื่อใช้ชีวิตในแบบที่เขาเลือก อยู่กับครอบครัวพ่อแม่พี่น้อง และสามารถมีรายได้ในแบบที่เขาต้องการ ประสบการณ์จากบ้านแม่ก�ำปองท�ำให้ผมได้เห็นความรื่นรมย์ของชีวิต เห็นโอกาสและ ความมั่นคงพื้นฐานที่ชุมชนช่วยกันสร้างขึ้นจากสภาพที่เต็มไปด้วยอุปสรรค จากการได้พูดคุยกับ พ่อหลวงพรมินทร์ในคืนนั้น ผมได้เห็นความเชื่อของผู้น�ำที่เชื่อว่าคนเพียงหนึ่งคนสามารถเป็นจุด เริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ได้ สิ่งที่พ่อหลวงพรมินทร์มองไปในอนาคตคือ “ถ้าลูกหลานกลับมาแล้วมีโอกาส มีรายได้ ผมว่าทุกคนก็อยากจะกลับมาอยูบ่ า้ นของตัวเองเพราะค่าใช้จา่ ยไม่สงู รถแทบไม่ได้ใช้ เดินไปท�ำงานได้ ผมอยากให้สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้น จะได้ดึงลูกหลานกลับมาสืบทอดดูแลชุมชนของเราต่อไป” ถ้าบ้านใดก็ตามทีค่ นอยากกลับมาอยูบ่ า้ น เมือ่ นัน้ บ้านก็ยอ่ มบรรลุถงึ ความหมายทีแ่ ท้จริง
119
“
ถ้าคนข้างนอกจะมาซื้อที่ดิน ต้องผ่านกรรมการ ผู้ใหญ่บ้านก่อน แม้ว่าทางกฎหมายเป็นสิทธิ์ที่เขา จะทำ�อะไรก็ได้ แต่ทางสังคม ถ้าคุณฝืนความรู้สึก ของคนในหมู่บ้าน ก็คงอยู่ร่วมกันได้ยาก
“
Q
คุยกับ
ธีรเมศร์ ขจรพัฒนภิรมย์
A l ประธานการท่องเที่ยวและกลุ่มโฮมสเตย์แม่กำ�ปอง l
ช่วยแนะนำ�บ้านแม่กำ�ปองให้เรารู้จักสักนิดครับ
ย้อนไปในอดีต แม่ก�ำปองถือเป็นหมู่บ้านที่กันดารและมีสิ่งที่ต้องพัฒนามากมาย ไม่ว่า จะด้านโครงสร้างพื้นฐาน ถนนหนทาง เรื่องอาชีพ รายได้ ทุนของชาวบ้าน ก็เป็นสิ่งที่ต้องพัฒนา ยังไม่มกี องทุน พืน้ ทีข่ องแม่กำ� ปองห่างจากตัวเมือง 50 กิโลเมตร ถนนก็ไม่ดี เมือ่ ก่อนต้องเดินเท้า เข้ามา การขนถ่ายสินค้าต้องใช้มา้ ใช้ววั พอผมเข้ามาเป็นผูใ้ หญ่บา้ นมีการตัดถนนเข้ามาแล้ว แต่กย็ ัง ไม่ดี หน้าฝนล�ำบากมาก รถบางครั้งต้องพันโซ่ล้อขึ้นมา ชาวบ้านมีอาชีพเก็บใบเมี่ยงหรือใบชา อย่างเดียว ไม่มีรายได้เสริม อยู่กันไปตามวิถีดั้งเดิม
คุณมองเห็นโอกาส หรือแรงบันดาลใจในการพัฒนาหมูบ่ า้ นเป็นแหล่งท่องเทีย่ ว ได้อย่างไร
แม้ว่าผมไม่ใช่คนที่นี่โดยก�ำเนิดแต่สิ่งหนึ่งที่ผมเห็นจากการสังเกตและซึมซับ คือ ที่นี่มี วัฒนธรรมเก่าแก่ ชาวบ้านอาศัยอยูอ่ ย่างช่วยเหลือเกือ้ กูลกัน ประกอบกับศักยภาพของพืน้ ที่ มีปา่ ดี และมีวัฒนธรรมที่ดี ถ้าเรารู้จักหลอมรวมและต่อยอด หมู่บ้านของเราก็จะพัฒนาในทางที่ดีได้ ปีแรกที่ผมเป็นผู้ใหญ่บ้าน ผมก็เริ่มวางแผนที่จะพัฒนาในปลายปีนั้นเลย 122
ในขณะนั้น พื้นที่ทางภาคเหนือ ที่เชียงใหม่มีแหล่งท่องเที่ยวใกล้บ้านเราคือน�้ำพุร้อน สันก�ำแพง คนทีเ่ ข้ามาเทีย่ วสันก�ำแพง แม่ออน ส่วนใหญ่มาแค่นำ�้ พุรอ้ น ผมก็คดิ ว่าถ้าเราท�ำท่องเทีย่ ว ในพืน้ ทีจ่ ะท�ำอย่างไรให้นกั ท่องเทีย่ วเหล่านีเ้ ดินทางต่อเข้ามาถึงแม่กำ� ปองได้ แม้ทางการสนับสนุน ส่งเสริมให้แม่บ้านพ่อบ้านท�ำผลิตสินค้าต่างๆ ออกมาขาย แต่ท�ำแล้วไม่มีที่ขาย ถ้าแม่บ้านจาก ข้างบนจะน�ำสินค้าเหล่านีล้ งไปขายข้างล่าง เฉพาะเดินทางก็ไม่ไหวแล้ว แทบจะสูก้ ลุม่ สตรีขา้ งล่างไม่ได้ ผมก็คิดว่าถ้าเราสามารถท�ำท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นตรงนี้ แทนที่เราจะหอบสินค้าลงไป จ�ำหน่าย จึงคิดว่าท�ำอย่างไรถึงจะดึงคนขึน้ มาหาเรา เราใช้เวลาคิดท�ำความเข้าใจ ท่ามกลางการ พัฒนาทีไ่ ม่มงี บประมาณ ไม่วา่ จะท�ำซุม้ ป้ายของหมูบ่ า้ น แม้กระทัง่ บันไดขึน้ น�ำ้ ตกก็ยงั ใช้ชาวบ้าน ให้ความร่วมมือกัน เอาไม้มารวมกัน แล้วน�ำ้ ตกสมัยก่อนก็ใช้บนั ไดพาดขึน้ น�ำ้ ตก ขึน้ หน้าผา เพือ่ ที่ จะขึ้นไปดูน�้ำตกแต่ละชั้น นั่นคือช่วงเริ่มต้น เพราะเราไม่มีงบประมาณ ทุกคนก็ให้ความร่วมมือ ตอนแรกชาวบ้านก็ถามผมว่าจะมีใครมาบ้านเรา แล้วเราจะมีอะไรให้เขาดูทกุ คนมองว่า มีนำ�้ ตกอย่างเดียว แต่ผมมองว่า เรามีทรัพยากรทีเ่ ป็นธรรมชาติ น�ำ้ ตกก็คอื ธรรมชาติ น�ำ้ ป่า อากาศ ที่เย็นสบายตลอดทั้งปี บวกกับวิถีชีวิตของเรา ซึ่งเป็นคนพื้นเมือง คนล้านนา แต่มาอยู่บนเขา อาชีพเราก็ไม่เหมือนพีน่ อ้ งข้างล่าง และก็ไม่ได้เหมือนพีน่ อ้ งทีอ่ ยูข่ า้ งบน เรามีวถิ ชี วี ติ ทีค่ อ่ นข้างจะ อนุรักษ์หมู่บ้านเราอยู่มา 130 ปีท�ำไมป่ายังสมบูรณ์อยู่ เพราะเรามีภูมิปัญญาในการใช้ไม้ เราใช้เวลาในการเตรียมการ 4 ปี เตรียมความพร้อมเรือ่ งคน เรือ่ งกลุม่ กลุม่ ทุน กลุม่ อาชีพ กลุม่ บริการ ตัง้ แต่เรือ่ งสหกรณ์ สหกรณ์การไฟฟ้า พอปี 2540 ก็มาตัง้ กลุม่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิต เพือ่ ให้ชาวบ้านได้ออม จะได้มแี หล่งทุน เพราะบ้านเรามีปญ ั หาเรือ่ งการไปกูห้ นีย้ มื สินจากสถาบัน การเงินต่างๆ ไม่ได้ เนือ่ งจากเอกสารสิทธิทนี่ เี่ ป็น สค.1 ธนาคารจะไม่รบั เรือ่ งการกูย้ มื เลยหาวิธี โดยการช่วยเหลือกันเองโดยการออม ตั้งแต่ปี 2540 ถึงปัจจุบัน กลุ่มออมทรัพย์ถือว่าเติบโต ด้วยดี มีเงินทุนหมุนเวียน 3 ล้านกว่าบาท ตอนนี้ความต้องการของชุมชน ตั้งแต่เรื่องถนน อาชีพ รายได้ ทุน ชื่อเสียง ผมถือว่าได้ ท�ำให้กบั ชุมชนส�ำเร็จในระดับหนึง่ แล้ว แต่ทสี่ ำ� เร็จอย่างมาก คือการใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยูม่ าต่อยอด เรื่องการท่องเที่ยว คือใช้ทุนธรรมชาติ ทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรม เป็นตัวขับเคลื่อนหมู่บ้าน จนปัจจุบันคนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
โฮมสเตย์หลังแรกเกิดขึ้นเมื่อไหร่ครับ
ผมเปิดพร้อมกันเลย 7 หลัง มีบ้านผมหลังหนึ่ง ที่เหลือเป็นบ้านของชาวบ้านอีก 6 หลัง เปิดเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ปี 2543 123
มีวิธีโน้มน้าวบ้านทั้ง 6 หลังนั้นอย่างไร
ก็พยายามพูดและสร้างความเข้าใจกับชุมชนว่าการท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นอย่างไร นักท่องเที่ยวที่มาที่นี่ เขาต้องการมาสัมผัสวิถีชีวิตของเราจริงๆ มาดูว่าเรากินอยู่อย่างไร ท�ำมาหา เลี้ยงชีพอย่างไร เน้นให้เกิดประสบการณ์การท่องเที่ยวแบบ “มาพักมานอนแบบญาติ” ตอนนั้น คนในชุมชนไม่มนั่ ใจเท่าไหร่ เขามองว่าถ้าเป็นคนไทยคงพอไหว แต่ถา้ เป็นต่างชาติ เนือ่ งจากภาษา คุยกันไม่รู้เรื่อง แล้วจะท�ำอย่างไร จากนัน้ จึงมีการทดลองเกิดขึน้ เป็นครัง้ แรกเมือ่ ปี 2543 โดยน�ำนักศึกษาชาวญีป่ นุ่ จ�ำนวน 22 คน มาเข้าค่าย 4 คืน 5 วันผมก็ให้พักหลังละคน ทั้งหมด 22 หลัง สุดท้ายก็อยู่ด้วยกันได้นะ ใช้ภาษามือ ภาษาใบ้สื่อสารกันไป การทดลองนี่จากนั้นก็มีอีกกลุ่มหนึ่ง ผมประสานไปที่ มหาวิทยาลัยพายัพ น�ำเด็กฝรั่งเข้ามาพัก 15 วัน ซึ่งเปรียบเหมือนการซักซ้อม ท้ายที่สุดทุกคนก็ มั่นใจว่าพร้อม แต่พอถึงเวลาจริงๆ มีเพียง 7 หลังจาก 22 หลัง ที่พร้อม พอเริ่มไปได้สัก 2-3 ปี จ�ำนวนบ้านก็ค่อยๆ ขยับเพิ่มทีละหลังๆ จนถึงปัจจุบัน
คุณมีวิธีขับเคลื่อนบ้านแม่กำ�ปองอย่างไร ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง
แม่กำ� ปองได้รบั เลือกให้หมูบ่ า้ นทีอ่ ยูใ่ นโครงการหนึง่ ต�ำบล หนึง่ ผลิตภัณฑ์ และยังได้รบั การคัดเลือกให้เป็นโครงการน�ำร่องด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชน นี่คือจุดเริ่มต้นของการก้าวไปสู่ การประชาสัมพันธ์ มีสื่อมาถามไถ่มากขึ้น ซึ่งถือเป็นช่องทางทางการตลาดที่ดี ผมมีโอกาสน�ำสหกรณ์ไปจัดบูธจัดนิทรรศการที่กรุงเทพฯ มีสื่อมวลชนแขนงต่างๆ มา ขอสัมภาษณ์ สิ่งที่สังเกตเห็น คือ จ�ำนวนนักท่องเที่ยวที่เข้ามาและตัวเลขรายได้ที่เกิดขึ้น จนเกิด การพัฒนามาอย่างต่อเนือ่ ง คุณภาพชีวติ ของคนในชุมชนดีขนึ้ ความเป็นอยูก่ ด็ ขี นึ้ หลังจากทีเ่ ปิดตัว หมูบ่ า้ น เราได้ของบประมาณจาก สกว. เพือ่ ให้ชาวบ้านมีโอกาสได้ไปดูงาน และแลกเปลีย่ นข้อมูล กับบุคคลภายนอก โจทย์คอื ค้นหารูปแบบการจัดการการท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ ผมใช้เวลาวิจยั อยู่ 2 ปี และกฎ กติกา ระเบียบ ในชุมชนจนถึงปัจจุบันก็ได้มาจากงานวิจัยชุดนี้
125
ช่วยเล่าถึงงานวิจัย คุณค้นพบอะไรบ้าง และสิ่งนั้นกลายมาเป็นกติกาของ คนในหมู่บ้านได้อย่างไร
งานวิจยั ชิน้ นี้ เพือ่ ค้นหารูปแบบในการบริหารจัดการชุมชน หลังจากทีเ่ ปิดชุมชนมาได้ ปีกว่า ผมเริ่มมองเห็นปัญหาจากคนที่ยังไม่เข้าใจ ไม่รู้เรื่องกฎ ไม่รู้ลึกซึ้งเรื่องการท่องเที่ยวแนวนี้ เลยคิดเรือ่ งการอบรมเรียนรู ้ ซึง่ ถ้าใช้คนในชุมชนเดียวกันเป็นคนอบรม ไม่มใี ครเชือ่ ดังนัน้ ต้องหา คนข้างนอกเพื่อมาช่วยสร้างความเข้าใจ ในกระบวนการวิจยั เราศึกษาเรือ่ งกิจกรรมในชุมชน โดยแบ่งบ้านออกเป็น 6 กลุม่ ปาง แต่ละปางมีหัวหน้ากลุ่ม ทีมวิจัยเข้าไปพบกับชาวบ้านปางละ 1 วัน เพื่อค้นหาปัญหาและความ ต้องการของชาวบ้าน ผมก็มีประเด็นที่ให้ชาวบ้านตอบอยู่เพียง 3 ข้อคือ 1.เขามีปัญหาอะไร เน้นค�ำว่าไม่มีผิดมีถูก ปัญหาที่มีอยู่ในใจให้เขียนออกมา 2.มีวิธีการแก้ปัญหาอย่างไร 3. มีความต้องการอยากให้หมู่บ้านเป็นอย่างไร พัฒนาไปในทิศทางไหน เมื่อได้ข้อมูลมาก็เอามาประมวลและสรุปผล ออกมาเป็นค�ำตอบที่น�ำไปสู่การจัดการ เราได้เห็นปัญหาและค�ำตอบจากหลากหลายแง่มุม ยกตัวอย่างเช่น การดูแลสิ่งแวดล้อม การใช้ ยาฆ่าหญ้า ทุกคนไม่เห็นด้วยเรื่องการใช้ยา เพราะจะกระทบต่อดิน ต่อน�้ำ ต่อสิ่งแวดล้อม เพราะ หมู่บ้านเราอยู่ต้นน�้ำ ชาวบ้านก็ก�ำหนดขึ้นมาว่า ถ้าใครฝ่าฝืนใช้ยาฆ่าหญ้าในหมู่บ้าน จะต้องเสีย ค่าปรับตารางเมตรละ 500 บาท นี่คือข้อตกลงที่ถูกก�ำหนดขึ้น ท�ำให้ไม่มีใครกล้าท�ำอีก 126
ปัจจุบันเรามีโฮมสเตย์อยู่กี่หลัง สามารถรับคนได้กี่คน
ปัจจุบนั มี 27 หลัง รองรับนักท่องเทีย่ วได้ราว 100 คน ส�ำหรับใครทีอ่ ยากเข้ามาท�ำบ้านพัก โฮมสเตย์ตอนนีเ้ ราเปิดกว้าง เข้ามาแจ้งกับกรรมการได้โดยจะมีการตรวจสอบตามเกณฑ์ คือ ต้องมี ห้องน�ำ้ สะอาดอย่างน้อย 1 ห้อง ตอนนีบ้ า้ นทุกหลังปรับเป็นชักโครกหมดแล้ว เพราะแขกต่างชาติ ไม่ถนัดใช้ห้องน�้ำแบบนั่งยอง ห้องนอนต้องเน้นความสะอาด ห้องครัวก็เน้นเรื่องความสะอาด เช่นกัน ช่วงหลังเราได้รับการอบรมจากสาธารณสุขว่าจะต้องดูแลเรื่องการเก็บจานชามช้อนส้อม อย่างไร ต้องมีอัธยาศัยไมตรี และมีความปลอดภัย
ราคาที่พักคิดอัตราเท่าไหร่แล้วนักท่องเที่ยวจะได้อะไรบ้าง
ปัจจุบันอยู่ที่ 580 บาทและ520 บาท โดยราคา 580 บาท เป็นค่าที่พัก 1 คืน พร้อม อาหาร 3 มือ้ และกิจกรรมท�ำบุญตักบาตร ส่วน 520 บาท มีอาหาร 2 มือ้ กิจกรรมตักบาตรขึน้ อยูก่ บั ความสมัครใจ ราคานี้เจ้าของบ้านจะได้รายได้สุทธิอยู่ที่ 400 บาท ส่วนอีก 100 บาทเป็นรายได้ที่ สะสมในแต่ละเดือน ทุกวันที่ 1 จะมีการสรุปรายรับรายจ่าย ส่วนที่เหลือจะน�ำมาเป็นก�ำไรสุทธิ จัดสรรเข้ากองทุนต่างๆ ส่วนกลางของหมูบ่ า้ น เช่น สหกรณ์ไฟฟ้า กองทุนสวัสดิการชุมชน พอสิน้ ปี ท�ำบัญชีมา เราก็จะมีก�ำไรคืนสู่สมาชิกในลักษณะของเงินปันผล
127
ถ้ามาเที่ยวบ้านแม่กำ�ปอง 2 วัน 1 คืน จะได้ทำ�อะไรบ้างครับ
เน้นเดินชมหมู่บ้าน วัด และเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ไร่ชา กาแฟ ถ้าเป็นฤดูที่ชาวบ้าน เก็บเกี่ยว ไม่ว่าจะใบเมี่ยง ชา หรือกาแฟ นักท่องเที่ยวสามารถไปดูการเก็บเมี่ยง การท�ำกาแฟได้ อีกหนึ่งกิจกรรมที่ต่างชาติชอบกัน คือ การร่วมกันท�ำอาหาร นอกจากนั้นยังมีกิจกรรมที่เกี่ยวกับ สุขภาพ เช่น การอบสมุนไพร การย่างแคร่ด้วยสมุนไพร การนวด เราเน้นกิจกรรมที่เชื่อมโยงกับ ภูมิปัญญาท้องถิ่นช่วงหัวค�่ำ รับประทานอาหารเย็นร่วมกัน พร้อมชมการแสดงศิลปวัฒนธรรม เพื่อสืบทอดให้ลูกหลานน�ำมาใช้ให้เกิดกิจกรรมเสริมเรื่องการท่องเที่ยวต่อไปถ้าพักอยู่นาน กว่านั้น ก็อาจจะขึ้นไปที่จุดชมวิวดอยล้าน หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า กิ่วฝิ่น เพื่อสัมผัสทะเลหมอก ชมพระอาทิตย์ขึ้นและตก
ในอนาคตอยากให้บ้านแม่กำ�ปองเป็นอย่างไร
โดยความตัง้ ใจผมอยากให้หมูบ่ า้ นคงอัตลักษณ์เดิมไว้ ไม่ให้เกิดการพัฒนาทีม่ ากเกินไป และอยากให้ทรัพยากรธรรมชาติอยูอ่ ย่างสมดุลและยัง่ ยืนท้ายทีส่ ดุ อยากให้คณ ุ ภาพของคนในชุมชน ดียิ่งขึ้นและอยู่ได้อย่างพึ่งพาตนเอง ลดการพึ่งพาข้างนอกให้น้อยที่สุด
ทีผ่ า่ นมาคุณมีวธิ คี งอัตลักษณ์ของชุมชน หรือมีกลไกอะไรทีทำ่ �ให้คนภายนอก ไม่เข้ามาแทรกแซงหรือรบกวนชุมชนจนเกินไป
ตอนนีม้ คี นพยายามเข้ามาขอซือ้ ทีด่ นิ เพือ่ สร้างสิง่ ทีเ่ ชือ่ มโยงกับการท่องเทีย่ วโดยชุมชน ไม่ได้ เช่น สร้างรีสอร์ต ซึ่งในหมู่บ้านตกลงกันว่าจะขายไม่ได้ แม้ว่าตอนนี้ราคาซื้อจะอยู่ที่ 5 ล้าน 10 ล้าน 20 ล้านแล้ว นีเ่ ป็นสิง่ หนึง่ ทีจ่ ะป้องกันไม่ให้เกิดการเปลีย่ นแปลงขึน้ อย่างรวดเร็ว เป็น กติกา ที่ก�ำหนดออกมาเลยว่า ถ้าคนข้างนอกจะมาซื้อที่ดินต้องผ่านกรรมการ ผู้ใหญ่บ้านเพื่อสอบถาม ถึงจุดประสงค์กอ่ นแต่กม็ คี นข้างนอกอีกกลุม่ หนึง่ บอกว่าในเมือ่ เขาซือ้ แล้ว เขาก็มสี ทิ ธิท์ จี่ ะท�ำอะไร ก็ได้ แม้ว่าในทางกฎหมายเป็นสิทธิ์ที่เขาจะท�ำได้ก็จริง แต่ในทางสังคม ถ้าคุณฝืนความรู้สึกของ คนในหมู่บ้าน ก็คงอยู่ร่วมกันได้ยาก นี่เป็นตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นว่าคนในชุมชนมีกฎที่ยึดถือ ร่วมกันอย่างเหนียวแน่น
128
เมือ่ มีโอกาสหรือช่องทางรายได้เพิม่ ขึน้ สิง่ นีช้ ว่ ยดึงให้คนรุน่ ใหม่อยากกลับมา อยูห่ มูบ่ า้ นมากขึ้นหรือไม่
ครับ แม้กระทั่งน้องที่ขายมันปิ้งนี่ก็จบปริญญาโทนะ บางคนไปเป็นครูสอนหนังสือ ที่กรุงเทพฯ หลังจากที่พ่อเสียชีวิต ก็กลับมาอยู่บ้าน ผมคุยกับกรรมการว่า ถ้าจะให้ลูกหลานที่ เรียนจบแล้วกลับมาอยูท่ นี่ ี่ เราต้องสร้างงานให้เขา แล้วก็เห็นพ้องต้องกันว่า องค์กรแรกทีต่ อ้ ง พัฒนาและรองรับตรงนีไ้ ด้กค็ อื สหกรณ์ของเรา รายได้หลักของสหกรณ์มาจากค่ากระแสไฟหลัก ดอกเบีย้ เงินฝากเงินกู้ สินค้า การจัดหาสินค้ามาจ�ำหน่าย และจากการท่องเทีย่ ว สหกรณ์นสี้ ามารถ ดูแลคนได้ 5-10 คน กรรมการก็เห็นด้วย แล้วก็ปรับอาคารเรียนเก่าให้เป็นอาคารของสหกรณ์ ถ้าท�ำส�ำเร็จได้ ผมว่าทุกคนก็อยากจะกลับมาเพราะได้กลับมาอยูบ่ า้ นกับครอบครัว ค่าใช้จา่ ยก็ ไม่สงู รถราแทบไม่ได้ใช้ เดินไปท�ำงานก็ยังได้ ในอนาคตผมอยากให้สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้น เพื่อจะได้ดึง ลูกหลานมาสืบทอดดูแลต่อ
ประเทศของเรามีหมูบ่ า้ นไกลๆ ในพืน้ ทีห่ า่ งไกลอีกมาก คุณคิดว่าหมูบ่ า้ นเหล่านัน้ จะนำ�เอาโมเดลไปพัฒนาไปในแนวทางเดียวกันได้เลยหรือไม่
สามารถท�ำได้ แต่การท่องเที่ยวไม่เพียงมีปัจจัยคือทุนทางธรรมชาติ สิ่งส�ำคัญในการ ขับเคลื่อนก็คือ “คน” คนต้องพร้อมทั้งผู้น�ำผู้ตามในชุมชน รวมไปถึงผู้น�ำต้องมีความมุ่งมั่นตั้งใจ ท�ำให้ประสบความส�ำเร็จให้ได้ ถ้าผูน้ ำ� ไม่ให้ความส�ำคัญในการขับเคลือ่ น ก็ยากทีจ่ ะไปสูเ่ ป้าหมาย
ตั้งแต่ทำ�โฮมสเตย์ในหมู่บ้านคิดว่าผลลัพธ์ใดที่เป็นสิ่งที่มีค่าที่สุด
เมือ่ ชาวบ้านได้รบั สิง่ ดีๆ ทีเ่ ขาต้องการตอบแทนกลับมา ทัง้ โครงสร้างพืน้ ฐาน รองลงมา คืออาชีพ และที่ส�ำคัญคือ เราไม่ต้องไปหาทุนจากภายนอก เพราะเรามีต้นทุนที่มีค่าที่เราสร้าง ด้วยตัวเอง
131
/
เคาะประตูโฮมสเตย์ บ้านแม่กำ�ปอง /
132
เดือนรุ่ง นงยา I
บ้านหลังที่ 1 I เลขที่ 91 ม.3
โทรศัพท์ : 09-3964-7794 “ฉันเอาบ้านมาเข้าโครงการโฮมสเตย์ตั้งแต่ปลายปี 2549 ช่วงงานพืชสวนโลก ช่วงนั้น มีลกู ค้าจองมาเยอะมาก แล้วบ้านโฮมสเตย์กม็ แี ค่ 10 กว่าหลัง รูส้ กึ พอใจเพราะว่าเป็นอาชีพเสริม ที่รายได้ดี คิดว่าโฮมสเตย์ที่ดี อันดับแรกคือเจ้าของบ้าน ต้องมีใจรักงานบริการ ไม่ใช่แค่บ้านมี ความพร้อม แต่ถา้ ไม่มใี จรักด้านบริการ ก็เป็นบ้านทีไ่ ม่พร้อม สิง่ ส�ำคัญต่อมาคือ ความสะอาดของ บ้าน ที่พัก ที่นอนหมอนมุ้ง ห้องน�้ำ ห้องครัว เพื่อการบริการที่ดีกับลูกค้า บ้านส่วนใหญ่ของที่นี่ที่ท�ำเป็นโฮมสเตย์สร้างมาได้ราว 10-30 ปี เป็นบ้านที่ชาวบ้าน สร้างไว้พกั อาศัย ไม่ได้สร้างเพือ่ ทีจ่ ะมารับลูกค้า เพราะฉะนัน้ ความพอใจบางส่วนก็ตอ้ งขึน้ อยูก่ บั ตัวลูกค้าเหมือนกัน บางคนเน้นเรือ่ งอาหารการกิน บางคนเน้นเรือ่ งความสะอาด ความสะดวกสบาย บางครั้งเราก็จัดให้ไม่ได้ อย่างแขกบางคนต้องการกับข้าวดีๆ ต้องมาจากร้านที่สะอาด แต่เขาคง ไม่ได้ศกึ ษามาก่อนว่า หมูบ่ า้ นเราไกลจากตลาด 20 กิโลนะ ต้องอาศัยจ่ายตลาดจากรถขายกับข้าว ที่ขับเข้ามาตอนเช้ากับตอนเย็นเท่านั้น 133
หลังจากหมู่บ้านท�ำบ้านโฮมสเตย์ ผลดีที่เกิดขึ้นคือ ชาวบ้านมีรายได้จากการท่องเที่ยว ไม่ใช่เฉพาะจากบ้านโฮมสเตย์ แต่เกิดกลุม่ อาชีพต่างๆ เช่น กลุม่ ไกด์ กลุม่ หมอนวด กลุม่ หมอนใบชา กลุม่ ผลิตภัณฑ์ชา กาแฟ สมุนไพร เกิดการจ้างงานมากขึน้ ถ้าถามเรือ่ งสภาพแวดล้อม ตอนนีป้ า่ ไม้ ก็ยังอุดมสมบูรณ์เหมือนเดิม แต่สิ่งที่ควรปรับปรุงน่าจะเป็นเรื่องการสื่อสารกับลูกค้าต่างชาติ ใช้วิธีสื่อสารด้วยภาษามือ ค่อนข้างจะล�ำบากหน่อย ต้องยอมรับว่านี่คือจุดด้อยของเราตอนนี ้ สิ่งที่น่าเป็นห่วงคือเรื่องการสืบทอดของคนรุ่นต่อๆ ไป เราก็พยายามท�ำกันอยู่ทุกอย่างที่หมู่บ้าน แม่กำ� ปองจะยึดมติทปี่ ระชุมเป็นหลัก ทุก 3 เดือน เราจะประชุมใหญ่ 1 ครัง้ โดยบ้านทุกหลังจะต้อง มาร่วมประชุม ใครมีปัญหาอะไร ก็จะสรุปกันตรงนั้นเลย
135
สุพรรณ์ นิภาพรรณ I
บ้านหลังที่ 2 I เลขที่ 93 ม.3
โทรศัพท์ : 08-4489-3927 “แต่ก่อนไม่มีการท่องเที่ยว ชีวิตประจ�ำวันก็คือ 8 โมงเช้าออกจากบ้านไปเก็บเมี่ยง พอ 6 โมงเย็นก็เข้าบ้าน ตอนกลางคืนก็นง่ั มัดเมีย่ ง พรุง่ นีก้ ท็ ำ� อย่างนีท้ กุ วันไปเก็บเมีย่ งต้องยืนทัง้ วัน พักเที่ยงถึงจะได้นั่งกินข้าวเดี๋ยวนี้ก็มีรายได้เสริมเข้ามา เวลามีลกู ค้าเข้ามาพัก อย่างแรกเราก็ตอ้ งพาเขาเข้าบ้านแนะน�ำเขา คุยกับเขา กินอาหาร ร่วมกับเขาบางคนก็ประทับใจที่ได้กินอาหาร ได้อยู่ได้คุยกับเจ้าของบ้าน เราก็ต้อนรับเขาไปตาม อัธยาศัยของเราแขกหลายๆ คนมาจากกรุงเทพฯ อยากกินอาหารเหนือท้องถิ่นเช่นน�้ำพริกหนุ่ม แกงจืดผักกาด น�้ำพริกอ่อง เราก็ท�ำให้เขา ส่วนใหญ่เขาก็ประทับใจ ในอนาคตอยากให้หมูบ่ า้ นอยูแ่ บบนี้ ไม่อยากให้คนมารุกล�ำ ้ ไม่อยากให้คนรวยมาท�ำรีสอร์ต หรือมาท�ำอะไรทีร่ กุ ล�ำ้ หมูบ่ า้ นของเราเรามีแขกมาพักก�ำลังพอดี ไม่อยากให้มนั เกินไป ไม่อยากให้ นายทุนมารุก มาท�ำอะไรทีเ่ กินไป เพราะเมือ่ ความเจริญเยอะ คนเยอะ รถเยอะ มันทันสมัยเกินไป พวกเราก็ไม่ต้องการ” 136
นงวัย ริญญา I
บ้านหลังที่ 3 I เลขที่ 89 ม.3
โทรศัพท์ : 09-9879-5166 “เริ่มแรกคณะกรรมการถามว่าบ้านใครมีห้องว่าง ใครอยากจะเข้าร่วมโครงการท�ำ โฮมสเตย์บ้าง ป้าก็มาปรึกษากับลูกชายเขาก็บอกว่าท�ำได้ ก็เลยได้เริ่มท�ำตั้งแต่ตอนนั้น บ้านป้า เป็นหนึ่งในบ้าน 7 หลังแรกที่ท�ำโฮมสเตย์ หลังจากเข้าร่วมโครงการแล้วก็รู้สึกพอใจ เพราะอาชีพ เก็บเมี่ยงไม่ค่อยมีเงินเหลือ พอมาเปิดโฮมสเตย์ด้วยก็มีรายได้เสริม ทุกวันนีห้ มูบ่ า้ นเจริญขึน้ เพราะถนนหนทางดี มีนำ�้ ไหล ไฟสว่าง แค่นกี้ พ็ อใจแล้วอนาคต ของหมูบ่ า้ นแม่กำ� ปอง อยากให้มนั ดีกว่าเดิม อย่างเรือ่ งการกิน การอยู่ การท�ำมาหากินของคนใน หมู่บ้านแต่ไม่อยากให้มากไปกว่านี้ อยากให้คนในหมู่บ้านเราอยู่อย่างพอเพียง ไม่ต้องไปท�ำงาน ที่อื่น ท�ำงานในหมู่บ้านเราก็ได้”
139
สุพักร์ ไชพล I
บ้านหลังที่ 4 I เลขที่ 95/3 ม.3
โทรศัพท์ : 09-3148-1086 “ปัจจุบันพี่มีอาชีพเก็บเมี่ยง ปลูกกาแฟ ซึ่งเป็นอาชีพที่สืบทอดกันมาตั้งแต่รุ่นพ่อแม่ พี่เอาบ้านมาท�ำโฮมสเตย์เป็นรุ่นแรกเมื่อประมาณ 10 ปีที่แล้ว ตอนนั้นที่เอาบ้านเข้าโครงการ ก็คดิ ว่าดี มีรายได้เสริม ลูกก็ยงั เรียนอยู่ พอใจมาก เพราะตอนนีม้ รี ายได้เฉลีย่ จากโฮมสเตย์เดือนละ หมื่นกว่าบาท ในความคิดของพี่ โฮมสเตย์คือบ้านส�ำหรับให้ลูกค้าได้เข้ามาพัก เวลาลูกค้ามา เราเจ้าบ้านก็ตอ้ นรับเป็นอย่างดี หลังจากทีท่ ำ� โฮมสเตย์ ตอนนีห้ มูบ่ า้ นเราถือว่าเปลีย่ นแปลงไปมาก สบายขึ้นกว่าเดิม”
141
อำ�พร ต๊ะอุด I
บ้านหลังที่ 5 I เลขที่ 81
โทรศัพท์ : 09-3864-1949 “โฮมสเตย์ทดี่ ตี อ้ งต้อนรับลูกค้าด้วยความยิม้ แย้มแจ่มใส เวลาทีม่ ลี กู ค้ามา เราก็เปิดบ้าน ท�ำกับข้าว อย่างแกงอ่อมไก่ หรือน�้ำพริกหนุ่ม เมนูส่วนใหญ่เราคิดเองว่าจะท�ำอะไร เพราะลูกค้า มาพักเพื่อจะได้ชิมอาหารท้องถิ่นพอเขากินก็ติดใจ”
143
ลัดดา ไทยกรณ์ I
บ้านหลังที่ 6 I เลขที่ 78/3
โทรศัพท์ : 06-2171-0506 “ธรรมชาติและวิถีชีวิตของเรายังคงเหมือนเดิม ไม่เปลี่ยนแปลงเลย เรามีความสุขมาก ตอนนี้เหมือนเรามีเพื่อนมากขึ้น มีคนมาอยู่ด้วยก็ไม่เหงา ในอนาคตอยากให้บ้านแม่ก�ำปอง อยู่เหมือนเดิมไม่อยากให้เปลี่ยนแปลงไป เด็กในหมู่บ้านก็สนใจท�ำโฮมสเตย์ แต่พอเรียนจบเขาก็ ไปท�ำงานกัน อย่างลูกสาวของพีก่ ส็ นใจทีจ่ ะกลับมาท�ำสวนกาแฟ วันหยุดก็มาท�ำเป็นอาชีพเสริม”
145
พัฒนาจาก ความต้องการ ของพื้นที่ ผู้นำ� เปิดกว้าง เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
ผลิตสินค้าเอง ให้มากที่สุด
พัฒนา ระบบสหกรณ์ เพื่อความยั่งยืน
เคล็ดลับความสำ�เร็จ บ้านแม่กำ�ปอง จ.เชียงใหม่
ความสามัคคี สร้างอำ�นาจ ต่อรอง
ชุมชนบ้านแม่กำ�ปอง
กระจายรายได้
สร้างระบบ เงินปันผล ที่มั่นคง
หมู่ 3 ต�ำบลห้วยแก้ว อ�ำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ 50130 โทรศัพท์ : 08-5675-4598 ผู้ประสานงาน : ธีรเมศร์ ขจรพัฒนภิรมย์ (ชื่อเดิม พรมมินทร์ พวงมาลา) การเดินทาง : บ้านแม่ก�ำปอง ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่โดยวิ่งไปทาง อ.สันก�ำแพง ระยะทาง 50 กิโลเมตร และ ห่างจากตัวอ�ำเภอแม่ออน 20 กิโลเมตร สามารถเดินทางไปมาได้สะดวกสบายทุกฤดู และสามารถ ใช้รถได้ทุกชนิด
/
บ้านนาต้นจั่น จ.สุโขทัย
เปลี่ยนจุดอ่อนเป็นจุดแข็ง เปลี่ยนบ้านนอกเป็นจุดขาย สร้างรายได้ทั้งชุมชน
/
หลายครั้งที่ ความเคยชิน กับสภาพแวดล้อม ที่อยู่ เกิด และเติบโตท�ำให้ละเลย หรือมอง ไม่เห็น คุณค่าทีแ่ ท้จริงของตนเอง ทัง้ อาหารทีก่ นิ สายลม สายน�ำ ้ หรือแม้แต่อากาศบริสทุ ธิ ์ แสน สามัญที่หายใจ ยิง่ ปัจจุบนั สิง่ เร้าภายนอก ยิง่ ดึงดูดผูค้ นหันเหออกจากตัวตนของตนเอง แต่ทา่ มกลางภูเขา ท้องทุง่ บรรยากาศแสนเรียบง่ายกลับท�ำให้ผหู้ ญิงคนหนึง่ ตระหนักรู้ มองตัวเองออก ว่าชีวติ นี้ ไม่ ไปไหน จะขอเกิดและตายที่บ้านของตนเอง ใครคนนั้นคือ คุณเสงี่ยม แสวงลาภ คุณเสงี่ยม หรือ ป้าเหงี่ยม เกิดและเติบโตในชุมชนแห่งนี้ ขณะเมื่อยังเด็ก เป็นช่วงระยะ แรกๆ ทีบ่ รรพุบรุ ษุ ได้ยา้ ยถิน่ ฐานมาจาก โยนกนคร เธอจึงได้เห็น คนรุน่ แม่ รุน่ ป้า พยายามต่อสู ้ ทุกวิถีทาง เพื่อสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง อยู่รอดได้ นอกจากนี้ยังได้ซึมซับ วิถีวัฒนธรรรมของชุมชน ทัง้ เรือ่ งอาหาร การทอผ้า การท�ำการเกษตรมาอยางเข้มข้น เมือ่ เติบโตขึน้ เธอจึง ท�ำไร่ ท�ำนา ปลูก ข้าวโพด เหมือนกับที่คนรุ่นพ่อ รุ่นแม่ได้ท�ำมา แต่ทว่ายังชีพด้วยวิถีการท�ำการเกษตรเพียงอย่างเดียว หากท�ำอยู่เหมือนเดิม ก็คงจะให้ ผลลัพธ์อยู่เช่นเดิม คือ สภาพความเป็นอยู่ที่เป็นไปตามอัตภาพ เธอเริ่มคิดเช่นนั้น และหากคนรุ่น พ่อ รุ่นแม่ ก้มหน้า ก้มตา รับจ้างหาเงิน เพื่อส่งเสียให้ลูกหลานได้เรียน ในขณะที่ลูกหลานกลับ ค่อยๆ ถอยห่างออกจากชุมชน แล้วสิ่งที่ท�ำไปจะเป็นประโยชน์อย่างไรหากไม่มีคนสืบทอด และ ในอนาคต ถ้าชุมชนไม่อาจเป็นแหล่งพักพิงให้กับลูกหลานได้ แล้วเขาจะอยู่กันอย่างไร เธออยาก เห็นหมู่บ้าน เป็นทางเลือกให้กับลูกหลานได้ ทั้งการท�ำงาน และวิถีชีวิตที่จะได้กลับมาอยู่บ้าน ดูแลพ่อแม่ มีครอบครัวที่อบอุ่น และสืบสาน พัฒนาสิ่งที่คนรุ่นพ่อรุ่นแม่ ปู่ ย่าตายายรักษาไว้ และความคิดนี้เอง ที่เป็นจุดเริ่มต้น เป็นแรงผลักดัน ที่ท�ำให้คุณเสงี่ยม เริ่มมองหาทางออก เพื่อพัฒนาชุมชน
153
ยิ่งเมื่อเธอเป็นพ่อแม่ เธอก็เริ่มคิดว่า หากคนรุ่นพ่อ รุ่นแม่ ก้มหน้า ก้มตา รับจ้างหาเงิน เพือ่ ส่งเสียให้ลกู หลานได้เรียน ในขณะทีล่ กู หลานกลับค่อยๆ ถอยห่างออกจากชุมชน แล้วสิง่ ทีท่ ำ� ไป จะเป็นประโยชน์อย่างไรหากไม่มคี นสืบทอด และในอนาคตถ้าชุมชนไม่อาจเป็นแหล่งพักพิงให้กบั ลูกหลานได้ แล้วเขาจะอยู่กันอย่างไร เธออยากเห็นหมู่บ้านเป็นทางเลือกให้กับลูกหลานได้ ทั้ง การท�ำงาน และวิถชี วี ติ ทีจ่ ะได้กลับมาอยูบ่ า้ น ดูแล พ่อแม่ มีครอบครัวทีอ่ บอุน่ และสืบสาน พัฒนา สิ่งที่คนรุ่นพ่อรุ่นแม่ ปู่ ย่าตายายรักษาไว้ และความคิดนี้เอง ท�ำให้คุณเสงี่ยม เริ่มมองหาช่องทาง เพื่อพัฒนาบ้านเกิดของตัวเอง แต่จะท�ำอะไร สิ่งใด เงินทุนก็ไม่มี สิ่งที่มีเป็นทุน คือ คนในชุมชนเอง ที่อยู่ร่วมกันเหมือน พี่เหมือนน้อง มีความเอื้อเฟ้อเผื่อแผ่ คุณเสงี่ยมจึงเริ่มรวมตัวกับชาวบ้าน แม่บ้านเกษตรกร ในปี พ.ศ. 2534 ก่อนการรวมกลุ่ม แม้ชาวบ้านจะมีวิถีที่คล้าย ๆ กัน คือ ท�ำไร่ ท�ำนา แต่ก็อยู่สภาพที่ต่าง คนต่างท�ำ แต่เมื่อรวมกลุ่มแล้ว ก็เกิดความร่วมมือ ร่วมใจกันมากขึ้น ชาวบ้านที่รวมกลุ่มไปช่วย กันท�ำนา ปลูกข้าวโพด ความช่วยเหลือเกือ้ กูลเช่นนีเ้ องท�ำให้ไม่นาน สมาชิกในกุลมุ่ ก็เพิม่ ขึน้ เมือ่ มีก�ำลังคนมากขึ้นและทุกคนมีความตั้งใจที่จะหารายได้เข้ากลุ่มอย่างจริงจัง ชาวบ้านจึงร่วมกัน ออกรับจ้างท�ำงานทุกอย่าง เช่น เกี่ยวข้าว ปลูกข้าวโพดน�ำไปขาย ขายอาหาร เงินกองกลางของ กลุ่มก็เพิ่มมากขึ้น จนสามารถให้คนในกลุ่มหยิบยืม โดยจ่ายดอกเบี้ย เป็นเงินต่อเงินเข้ากองทุน เงินบางส่วนนี้ ชาวบ้านยังน�ำไปซื้อด้ายมารวมตัวกันทอผ้า จากชาวบ้านที่ต่างคน ต่างทอ ต่างคน ต่างขาย ก็นำ� มาผลิตภัณฑ์มารวมกันและช่วยกันขาย จนเกิดกลุม่ ทอผ้าบ้านนา ต้นจัน่ ต่อยอดมา อีกกลุ่มหนึ่ง จนกระทั่งราวปี 2534-2536 คุณเสงี่ยมได้เป็นสมาชิกองค์กรบริหารส่วนต�ำบล จึงจด ทะเบียนตัง้ กลุม่ เป็นกลุม่ ทอผ้า และจุดเปลีย่ นของชุมชนบ้านนาต้นจัน่ ก็มาถึงในปี 2542 เมือ่ พวกเขา น�ำพาหมู่บ้านเข้าประกวดในโครงการ หมู่บ้านอุตสาหกรรมชนบทเพื่อการท่องเที่ยว โดยการ ประเมินจากสภาอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย การเข้าร่วมโครงการครั้งนี้ ได้เปิดโอกาสให้ชุมชนมากมาย คุณเสงี่ยมได้ออกเดินทางไป อบรม ศึกษาดูงานการสร้างสรรค์สนิ ค้าจากภูมปิ ญ ั ญา 1 ต�ำบล 1 ผลิตภัณฑ์ ทีป่ ระเทศญีป่ นุ่ และ พืน้ ทีต่ น้ แบบการท่องเทีย่ วโดยชุมชนในประเทศไทยอีกหลายต่อหลายแห่ง จากทีไ่ ม่รู้ ก็เริม่ รูก้ ว้าง มองเห็นศักยภาพของตัวเองที่จะคิดและท�ำสิ่งๆ ต่าง ได้มากขึ้น สิ่งเหล่านี้ไม่ได้ท�ำให้ คุณเสงี่ยม หันเหออกจากคุณค่าของท้องถิ่น ทั้งยังยิ่งเชื่อมั่น มั่นใจ และยิ่งเป็นก�ำลังใจที่จะลงมือท�ำ หลังจากกลับมาจากญีป่ นุ่ คุณเสงีย่ มจึงริเริม่ เปิดบ้านของตัวเองเป็นโฮมสเตย์ บ้านนาต้นจัน่ “ เป็นไปไม่ได้ ใครจะมาเที่ยว อยู่ในป่า ในดงแบบนี้ ” “ ไม่มีใครมาบ้านเราหรอก ท�ำไม่ได้หรอก ไม่ต้องท�ำหรอก ” 154
ขณะนั้น ยังไม่มีคนเข้าใจ และเห็นด้วยที่จะท�ำ ณ ขณะเริ่มต้น คือ พ.ศ. 2547 โฮมสเตย์ บ้านนาต้นจัน่ จึงมีบา้ นของคุณเสงีย่ ม เพียงหลังเดียว แต่ดว้ ยความเชือ่ มัน่ ว่ามาถูกทางแล้ว ชุมชน บ้านนาต้นจัน่ มีทงั้ ธรรมชาติ ภูมปิ ญั ญา ความสมบูรณ์ของอาหาร ผัก ผลไม้ คุณเสงีย่ มจึงยอมเปิดตัว บ้านให้กบั บุคคลภายนอกเข้ามาพักและเปิดเป็นศูนย์การเรียนรูข้ องชุมชน โดยคิดค่าเข้าพัก เพียง 75 บาท ขาดทุนแต่ก็ คุม้ ค่าทีจ่ ะท�ำให้คนรูจ้ กั บางครัง้ เมือ่ บ้านไม่พอรองรับคนทีจ่ ะเข้าพักก็ขอร้อง ให้ญาติเปิดบ้าน แบ่งคนไปพัก หรือพาไปนอนพักที่โรงเรียนบ้านนาต้นจั่น เมื่อ ปากต่อปาก เล่าต่อ ๆ กัน เพียง 1 เดือน ชุมชนเงียบสงบที่ห่างไกลความเจริญแห่งนี้ ก็มีคนกลับมาพักอีกครั้ง “เราเห็น เขาเข้ามาเที่ยวชมกิจกรรมในบ้านเรา มากินอาหารที่นี่ ก็ภูมิใจนะ เลยอยากมี ส่วนร่วมบ้าง” นี่คือความรู้สึกของชาวบ้านที่เริ่มก่อตัว โฮมสเตย์ จาก 1 หลัง จึงค่อยๆ เพิ่มเป็น 2 3 4 จนกระทั่งในปี 2551 ชุมชนมีโฮมสเตย์ ถึง 16 หลัง และน�ำเข้าขอรับมาตรฐานโฮมสเตย์ไทยจากกรมการท่องเที่ยวเป็นครั้งแรก ซึ่งแม้ ครัง้ นัน้ จะผ่านเพียง 11 หลัง แต่คนทีต่ งั้ ใจท�ำแล้วก็ไม่ยอ่ ท้อ ยังพัฒนาตัวเอง จนถึงปัจจุบุ นั ชุมชน 158
มีโฮมสเตย์แล้ว 23 หลัง และชาวบ้านยังคงให้ความสนใจที่จะท�ำเพิ่มมากขึ้น โดยชุมชนมีกฎว่า ผู้ที่สนใจท�ำโฮมสเตย์จะต้องไปศึกษาดูบ้านที่เป็นโฮมเตย์ว่าเมื่อมีแขกเข้ามาต้องท�ำอย่างไร การ จัดการ อาหารทีพ่ กั การพาเทีย่ ว น�ำชม หากดูแล้วยังไม่พร้อม เขาจะบอก พร้อมเมือ่ ไหร่จะท�ำทันที ที่เป็นอย่างนี้เพราะทุกคน ต่างรักและเห็นความส�ำคัญ และคุณค่าของธุรกิจนี้ โฮมสเตย์ทุกหลังที่เพิ่มขึ้น จึงผ่านทั้งมาตรฐานของชุมชน และกรมการท่องเที่ยว สิง่ ต่าง ๆ ทีก่ ลุม่ แม่บา้ น ร่วมมือช่วยกันท�ำตลอดเส้นทางทีผ่ า่ นมาไม่เคยสูญหาย ทัง้ กิจกรรม ทอผ้า การท�ำอาหารพื้นถิ่น การท�ำไร่ท�ำนา เหล่านี้ล้วนท�ำให้โฮมสเตย์บ้านนา ต้นจั่น อยู่ในอ้อม กอดของธรรมชาติ และวัฒนธรรมที่มีชีวิต การทอผ้า ภูมิปัญญา ยังคงเติบโต ไปพร้อมๆ กัน การ พัฒนาโฮมสเตย์ขนึ้ ในหมูบ่ า้ น ยังท�ำให้มรี ะบบการบริหารจัดการทีต่ อ่ เนือ่ ง และไม่เพียงสร้างราย ได้ให้กับผู้ที่เปิดบ้านเป็นโฮมสเตย์เท่านั้น แต่ทว่ายังช่วยเอื้อ ส่งเสริม และหล่อเลี้ยงกิจกรรมอื่นๆ ของหมู่บ้าน อีก 8 กลุ่ม เช่น กลุ่มจักรสาน กลุ่มทอผ้า กลุ่มสมุนไพร กลุ่มกิจกรรมอาสาสมัคร หมู่บ้าน กลุ่มแกะไม้ กลุ่มมัคคุเทศน์ ซึ่งทั้งหมดนี้ต่างเป็นส่วนส�ำคัญที่ช่วยหล่อมหลอมให้ การมา พักทีบ่ า้ นนาต้นจัน่ เกิดประสบการณ์เฉพาะ ทีไ่ ด้มารูจ้ กั เรียนรู้ ความเป็นตัวตนของคนและชุมชน แห่งนี้จริง ๆ 159
ปัจจุบนั บ้านนาต้นจัน่ กลายเป็นหนึง่ ในต้นแบบโฮมสเตย์ของเมืองไทยทีอ่ ยูใ่ นท�ำเลห่างไกล รวมถึงไม่ได้มจี ดุ ขายทางธรรมชาติทโี่ ดดเด่น แต่กลับสามารถสร้างรายได้ทยี่ งั่ ยืนด้วยการท�ำธุรกิจ โฮมสเตย์ซึ่งมีจุดเด่นอยู่ที่วิถีชีวิตของคนในหมู่บ้าน อาหารการกิน กิจกรรมในหมู่บ้านและศิลป หัตถกรรมที่มีเอกลักษณ์ หมู่บ้านที่ห่างไกลแห่งนี้กลายเป็นที่ที่เต็มไปด้วยความหวังและโอกาสส�ำหรับคนรุ่นใหม่ ที่จะ มีทางเลือกในชีวิตมากไปกว่าการเข้ามาท�ำงานในเมืองกรุงหรือท�ำงานรับจ้างทั่วไปอย่างในอดีต โอกาสและความหวังเช่นนี้คงไม่เกิดขึ้นที่บ้านนาต้นจัน ถ้าวันนั้นเมื่อ 30 ปีก่อนผู้หญิง ชาวบ้านคนหนึ่ง ไม่ตั้งค�ำถามถึงอนาคตของหมู่บ้านและยืนหยัดที่จะสร้างการเปลี่ยนแปลง แม้ ในสภาพที่เต็มไปด้วยความเป็นไปไม่ได้ วันนี้ ไม่ว่าจะอยู่ไกลแค่ไหน เราสามารถเปลี่ยนจุดอ่อนของเราให้เป็นจุดแข็ง สามารถเปลี่ยน บ้านนอกให้กลายเป็นจุดขายได้ เพราะการเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่สามารถเริ่มต้นที่คนเพียงหนึ่ง คนเสมอ ไม่ว่าคนคนนั้นจะเป็นใครก็ตาม 160
สัมภาษณ์ I
คุณแหม่ม เกตทิพย์ วุฒิสาร I
ฝ่ายการจัดการที่พักของบ้านนาต้นจั่น อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย
ความเป็นมาของ ชุมชนบ้านนาต้นจั่นเป็นอย่างไร
เราเป็นชุมชนที่อพยพมาจากทางเหนือ ชาติพันธ์เป็นไทย - ญวน โยนกนคร ตั้งแต่ 200 กว่าปีทแี่ ล้ว เดิมมีแค่ 2 ครอบครัวและยังไม่มชี อื่ หมูบ่ า้ น ทีต่ รงนีต้ งั้ รกรากได้ สร้างบ้าน แปลงเมือง ได้ เนื่องจากเป็นป่า เป็นที่ราบด้วย แล้วก็ค่อยๆ มีลูกหลาน ชื่อหมู่บ้าน เนื่องจากมีต้นจั่น ซึ่งก็คือ กระพี้จั่นเยอะ มันก็มีตามหัวไร่ ปลายนา ก็เลยตั้ง ชือ่ หมูบ่ า้ นว่า บ้านนา ต้นจัน่ เมือ่ 200 กว่าปีทแี่ ล้ว ภาษาพูดก็พดู เมือง อูเ้ มือง แต่วา่ ไม่มหี างเสียง เจ้า ๆ แบบเหนือแท้ๆ เป็นเหนือทั่วไป ในจังหวัดสุโขทัย นอกจากที่นี่แล้ว ที่อื่นไม่มีแล้วที่อพยพ มาจากที่เดียวกัน
161
แล้วการรวมตัวกันของชุมชน เริ่มเกิดขึ้นตั้งแต่เมื่อไหร่
พอมีลกู หลาน ก็ตงั้ เป็นหมูบ่ า้ น เรามีอาชีพ ท�ำสวน ท�ำนา ท�ำไร่ ปลูกฝ้าย ปลูกมาก ทอผ้า ใช้กันเอง ก็เหมือนที่อื่นๆ ลูกหลาน ก็เป็นรุ่นป้า ทอผ้า พอถึงรุ่นยาย กลุ่มผู้หญิงก็รวมตัวกันเป็นแม่บ้านสหกรณ์ เคหะกิจ แม่ของดิฉัน (คุณเสงี่ยม) ก็ไปดูว่าเขารวมตัวกันท�ำไม แล้วแม่เป็นคนความจ�ำดี ช่าง สังเกต เจ้าหน้าที่เขาพูดอะไร แม่จ�ำได้ ครั้งหนึ่ง เขาประกวด แล้วเขาให้ตัวแทนมาเพื่อพูด แล้ว ไม่มีใครพูดได้ แต่แม่จ�ำได้หมดที่ป้า ๆ สอน นี่เขาพูดกันอย่างนี้นะ แม่ก็เป็นประธาน ตอนนั้น รวมกลุ่มกันมาแค่ 21 คน แต่ก่อนหน้านั้น มีประมาณ 7-8 คน รุ่น บุกเบิก พ.ศ. 2527 ยุคแม่ พ.ศ. 2532 หา สมาชิกเพิ่มเป็น 21 คน เราก็เริ่มคิดว่า จะมาช่วยกันท�ำอะไรให้เกิดรายได้ ตอน นี้ก็เป็นหมู่บ้านชาวสวน ปกติ ลงแขก เกี่ยวข้าว ท�ำไร่ ไถนา จะลงแขกกันเสียส่วนใหญ่
มีหน่วยงานอะไรเข้ามาช่วยเหลือในช่วงแรกๆ
ตอนนัน้ เป็นแม่บา้ น เกษตรกร ก่อนยุคดัง้ เดิม เขาเรียกว่า แม่บา้ นเคหะกิจ ก็มสี มาชิก 21 คน ก็จุดประสงค์เพื่ออยากจะให้รวมกลุ่มกันเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กลุ่ม หารายได้ให้กลุ่ม หาเงิน ยังไงก็ได้ ไว้กองกลาง พอมีเงินแล้วเราจะได้เอาไปต่อยอดสร้างประโยชน์รว่ มกัน แต่วตั ถุประสงค์หลัก คือมารวมตัวกันเพื่อสร้างความเข้มแข็งก่อน คือ ปลูกข้าวโพดในที่สาธารณะ รายได้ 4,000 บาท ก็เอามากองไว้เป็นกองกลาง
อย่างนี้คุณป้าเสงี่ยมก็เป็น ผู้นำ�ชุมชน
ใช่ ตอนนั้นคุณแม่อายุ 30 กว่าๆ ก็ถูกแต่งตั้งโดยคนไม่กี่คนว่ายกให้เป็นตัวแทน ตอนนี้ อายุ 65 ปี กลุ่มเริ่มหารายได้โดย ขายข้าวโพด เราไปปลูกที่ป่าช้ามันเป็นที่สาธารณะ แต่ก่อนยัง ไม่มีเมรุ เขาก็ฝังดินบ้าง เผาบ้าง พื้นที่ยังไม่ได้ปรับ เราเลยเอาพื้นที่มาใช้ พอขายได้เราก็เอาเงิน มาวางไว้กองกลาง ปีตอ่ มาเราไม่ปลูกข้าวโพดแล้ว เราท�ำอะไรดี ตอนนัน้ เราท�ำโต๊ะจีนดีไหม ขายบัตร จริง ๆ เรียกหรูๆ ไปอย่างนัน้ จริงๆ คือปูเสือ่ แล้ว เอาอาหารมาวาง มาขายแล้วคนมานัง่ กิน ใช้พนื้ ที่ สนามโรงเรียนบ้านนา ต้นจั่น
แล้วคนที่มากินเป็นใคร
ส่วนหนึ่ง ก็เป็นคนในหมู่บ้าน เป็นครูบ้าง บัตรละ 35 บาท นั่งล้อมวงกินกัน เพื่อหาเงิน ตอนนั้น หักค่าใช้จ่ายแล้วได้มา 7,000 บาท ก็เอาเงินมากองไว้อีก เดิมมี 4,000 ก็คิดว่าไม่อยาก ลงทุนแล้ว
162
จากนั้น แล้วเป็นอย่างไรต่อครับ
จากเดิม 21 คน รับสมาชิกเพิม่ อีก เป็น 52 คน ก็ไปรับจ้างเกีย่ วข้าวนัง่ รถอีแต๋น เพราะแต่กอ่ น หาคนงานก็หายาก เราก็ไปหาคนที่อยากจ้างเราก่อน ไปมา 2 วัน ได้มาหมื่นกว่าบาท ก็เอาเงิน มากอง พอหน่วยงานเริ่มเห็นศักยภาพ ก็เข้ามาดูแลงบประมาณ ตอนแรกเป็นแม่บ้านเกษตรกร ตอนนีเ้ ป็นพัฒนาชุมชน เห็นความเข้มแข็งว่ากลุม่ เข้มแข็งหารายได้ ก็สนับสนุนงบประมาณ 25,000 บาท เราก็น�ำเงินไปซื้อเส้นด้าย เพราะเราทอผ้ากันอยู่แล้ว แต่ทอแล้ว ต่างคนต่างขายเรายังไม่ได้ รวมกลุม่ กันทอผ้า เป็นแม่บา้ นเกษตรกรเฉยๆ เราทอผ้ากันทัว่ ไป ทอใช้เอง ขายให้กำ� ไรจากการขายผ้า เราก็เอามาไว้กองกลาง พอมีเยอะขึ้นบ้าง เราก็เอาไปให้สมาชิกกู้ เงินกู้จากรายได้ก็เป็นดอกเบี้ย ถึงปีเราก็เอามาไว้กองกลาง หาเงินโดยทีจ่ ะให้เงินมันเติบโต จะได้ตอ่ ยอดได้จากเงินทีเ่ ราลงทุนไป ไปท�ำกิจกรรมอื่นๆ ได้
พัฒนาชุมชน เริ่มเข้ามาตั้งแต่ ตอนไหน
ช่วงปี 34-36 แล้วช่วงนัน้ แม่เป็นสมาชิก อบต. อยู่ 3 สมัย คือ 12 ปี ระหว่างนั้นก็ขอ งบประมาณมาไว้กองกลาง เราทอผ้า เราก็เริม่ รวมกลุม่ กันไปให้พฒ ั นาชุมชน ขอจดเป็นกลุม่ อาชีพ ทอผ้าบ้านนา ต้นจั่น 52 คน ซึ่งเดิมทีเป็นแม่บ้าน เกษตรกร ประมาณปี 36 แล้วมีโครงการหนึ่งที่พัฒนาชุมชนส่งเข้าประกวด หมู่บ้านอุตสาหกรรมชนบทเพื่อการ ท่องเทีย่ ว เมือ่ ปี 2542 โดยการประเมินจาก อุตสาหกรรมและการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย ถ้าเราได้ โครงการเขาจะให้งบปราณ 2 ล้าน 8 แสนบาท เพือ่ มาสร้างอาคารศูนย์ผลิตภัณฑ์ฯ ซึง่ ทัว่ ประเทศ เขาจะคัดเลือกให้เหลือ 19 ที่ ประเมิน อยู่ 4 ปี เราก็ได้รับคัดเลือก
พอได้รับ คัดเลือกแล้ว เป็นอย่างไร ได้รับโอกาสอะไรบ้างครับ
พออยูใ่ น โครงการนี้ เขาก็ให้ไปดูงาน ก็ไปอบรม ดูการบริหารจัดการ วิธกี ารต่างๆ ไปทุกที่ บ้านคีรวี งษ์ ทีไ่ หนทีด่ กี ไ็ ป คีรวี งษ์กเ็ ป็น 1 ใน 19 พืน้ ทีท่ โี่ ตมารุน่ เดียวกัน ผ่านการประเมิน เขาพา ไปดูทตี่ า่ งๆ ดูการบริหารจัดการหลายๆ ด้าน พอตึกเสร็จ เราก็เอาผลิตภัณฑ์ทอผ้าไปวางขายทีศ่ นู ย์ แต่กย็ งั ไม่พฒ ั นาเท่าทีค่ วร หลังจากนัน้ เขาก็ประเมินอีกรอบหนึง่ จาก 19 ที่ ให้เหลือ 5 ที่เพื่อไป ดูงานที่ประเทศญี่ปุ่น 1 ใน 5 เราก็ติด มีที่บ้านไร่ อุทัยธานี คีรีวงษ์ ที่เชียงใหม่ ไปที่ ญี่ปุ่น ไป 18 วัน ไปดู ต้นแบบโอทอปโฮมสเตย์ ไปดูวา่ การบริหารจัดการแบบเป็นระบบท�ำยังไง ความหมายของโฮมสเตย์ เป็นอย่างไร ไปอยู่กับชาวบ้านที่เขาท�ำโฮมสเตย์ แม่ไปมา แม่ก็เอาแนวคิด แนวทางมาใช้
165
พ.ศ. 2547 พอกลับมาจากญีป่ นุ่ แม่กก็ ลับมาเปิดทีบ่ า้ นแม่กอ่ น แต่กจิ กรรมของการท่องเทีย่ ว แห่งประเทศไทยก็ทำ� ให้เราได้ไปจัดแสดง มีอาหารอะไรดีๆ เราก็เอาไปให้ชมิ ได้ไปคุยในงานก็เริม่ จากบ้านแม่ บอกว่าชุมชนเรามีวิถีชีวิต มีโฮมสเตย์ มีผ้า มีแหล่งท่องเที่ยว มีอาหารถิ่นข้าวเปิ๊บ มีหตั ถกรรมภูมปิ ญ ั ญา มีภมู ปิ ญ ั ญาบ้านตาวงศ์ เขาเรียกตุก๊ ตาบาโหน คราวนีค้ นทีอ่ ยูใ่ นงานเขาได้ยนิ เป็นอาจารย์ทพี่ ษิ ณุโลก เขาก็ถามว่าทีบ่ อกว่ามีจริงๆ จริงหรือเปล่า จะพาคณะมานอนโฮมสเตย์ ครั้งแรกเลย ที่เปิดบ้านแม่ หลังจากกลับมาจากญี่ปุ่น เป็นนักศึกษา เขาเรียกว่า โครงการเรียนรู้ ร่วมกันสานสร้างชุมชน มี 42 คนที่เป็นนักศึกษา ก็ไม่พอ ก็แบ่งผู้ชายไปนอนที่โรงเรียน เพราะว่า พ่อเป็นนักการภารโรง ผูห้ ญิงนอนทีบ่ า้ นแม่ มานอน 1 เดือน เขาเหมือนเข้าค่าย เราอยากเปิดตัว เราเลยรับ ค่าหัวตอนนัน้ แค่ 75 บาท ต่อคน มีอาหารเย็น อาหารเช้า ค่าหัวเท่านัน้ เอง ด้วยความที่ เราอยากเปิดตัว
ครั้งต่อไปนานไหม กว่าจะมีคนมาพัก
ต่อไปเป็นผูป้ กครองของ ของนักศึกษาทีเ่ คยมาพัก คือเขาเอาไปคุยให้พอ่ แม่ฟงั คือ หลายที่ หลายทางทีล่ กู หลานมาเรียนทีพ่ ษิ ณุโลก เขาก็ไปคุยให้ผปู้ กครองฟัง ว่า ทีช่ มุ ชนเรามีโฮมสเตย์ดว้ ย ช่วงนั้นครูที่ปัตตานีก็ไปงานพืชสวนโลก แล้วมาแวะพักที่นี่
คณะแรกที่มา มาหลังจากที่เปิดตัวนานไหม
หลังจากนั้นก็ราว เดือนกว่า ๆ ด้วยตัวโครงการของ ททท. เขามาดูแล แล้วมีเจ้าหน้าที่ที่ เขามาสนับสนุน เราก็เริ่ม พอเด็กไปคุยให้ ผู้ปกครองฟัง เขาก็มาแวะนอน เดิมทีมีบ้านหลังเดียว บ้านแม่ คราวนีเ้ ขามาอีกรถบัสหนึง่ คือหลังเดียวก็รบั ไม่ได้ แม่เลยไปขอร้อง ป้าบ้าง ลุงบ้าง พีน่ อ้ ง บ้าง ให้ช่วยกันรับ 70 คน
คณะแรก 42 คน คณะที่ 2 70 คน ห่างกันนานไหมครับ
ห่างกัน เดือนกว่า ๆ
คือตอนเริ่มต้นก็มีโฮมสเตย์เพียงหลังเดียว แล้วมีที่ โรงเรียน ห้องสมุด
แค่นั้นเอง
แล้วการที่มีคนเข้ามา คนในชุมชนมองอย่างไร
ก็คือ ไปเรียนรู้วิถี แม่ไปเป็นวิทยากร วันนี้สอนท�ำขนมไทย พาไปเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ไปทุกอย่างไปเรียนรู้กับเราได้ทั้งหมด แม่ท�ำทุกอย่าง เราก็ช่วยท�ำครัว ตอนนั้น อายุ 20 กว่า เห็น การท�ำงานของแม่มาตลอด ตอนแรกญาติก็ไม่เอา เพราะไม่รู้ว่าคนที่มาจะเป็นคนดีหรือเปล่า 166
167
เขาจะท�ำให้เรากังวลไหม เรายังไม่มคี วามมัน่ ใจ ก็เราก็ขอร้องเขามา เราก็ดแู ลเขาอย่างดี อะไรทีอ่ ร่อย เราก็เอาไว้ให้เขากิน ผลไม้ที่ดีของเราก็เอาไว้ให้เขากิน เขาก็ประทับใจ เขาก็เห็น มาอยูว่ นั เดียว ตกเช้าเขาก็ไปทีพ่ ชื สวนโลก เขาก็ถามว่าตอนนัน้ เราคิดหัวละ 75 ต่อมา เราคิด 135 บาท
ก็ขึ้นราคาขึ้นมาเท่าตัว
เพราะเราขาดทุนมาจากครัง้ ก่อน แน่นอน แต่ 135 บาท ตอนนัน้ ก็กำ� ไรน้อย ตอนนัน้ เราก็ ให้ปา้ ๆ แม่ ๆ มาดูแล นักท่องเทีย่ วเขาก็รนู้ ะ ว่า 135 บาท จะเหลืออะไร เขาก็ให้ทปิ 500 บ้าง 1,000 บ้าง ยาย ๆ ป้า ๆ ได้ทิป เขาก็ดีใจ ก็บอกว่า เขาจะมาเมื่อไหร่ ถ้ามาจะรับด้วย
หลังจากนั้น ก็พัฒนาขึ้นมาเรื่อยๆ หรอครับ
แม่ก็ไปดูงาน ดูมาเรื่อยๆ แล้วก็บอกว่าเราต้องมีมาตรฐาน คือ มาตรฐานโฮมสเตย์ แล้วท�ำ ยังไงเราถึงจะได้ เขาก็บอกว่าต้องไปหาหน่วยงานราชการ เรียกว่า เป็นมาตรฐานโฮมสเตย์ไทย ต้องไปหากรมการท่องเทีย่ วและกีฬา เขาก็จะมาประเมิน 10 ข้อ 35 จ�ำแนก ซึง่ จะต้องได้มาตรฐาน พอเขามาประเมิน เราก็ผ่านมาตรฐาน เขาก็มาดูบ้าน ดูว่าบ้านเรามีอะไร มีภูมิปัญญาอะไรบ้าง แล้วชุมชนได้ประโยชน์อย่างไร
ตอนนั้นที่ทำ�โฮมสเตย์มีกี่หลัง
7 หลัง เมือ่ ปี 2547 -48 เราก็บอกเจ้าหน้าทีต่ ลอด ว่าเราท�ำอะไรบ้างเขาก็เห็นความเข้มแข็ง ชุมชนหารายได้จากการท�ำอะไร เราก็อธิบายให้เขาฟังว่า ชุมชนเรามีความเข้มแข็งมีศกั ยภาพ เราก็ ผ่านการประเมิน หน่วยงานอย่าง ททท. เขาก็สอื่ สารให้ เอานิตยสารมาเผยแพร่ หลังจากนัน้ เราก็ รับสมาชิกเพิม่ พอหมดมาตรฐานเราก็มาประเมินเพิม่ เมือ่ ปี 2551 กองประกวดนางสาวไทย เขามา ท�ำกิจกรรม คณะกรรมการที่มาตรวจ เขาก็อยากให้กองประกวดประชาสัมพันธ์ จะมีอยู่ยคุ หนึง่ เขาจะเน้นให้นางสาวไทยประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเทีย่ ว เพือ่ ให้ประชาชนได้ดวู า่ บ้านเรา มีอะไร พอช่องโมเดิร์นไนน์ทีวีมาถ่าย นางสาวไทยมาท�ำตุ๊กตา ข้าวปั้น ทุกอย่างถูกสื่อออกมาเป็นภาพที่ สวยงาม สื่อต่างๆ เขาก็มาเจาะทีละอย่าง เรื่องโฮมสเตย์ ผ้า อาหารถิ่น ภูมิปัญญา พอหลายอย่างเข้ามามันก็แพร่กระจาย เราก็รบั นักท่องเทีย่ ว เพิม่ ขึน้ จากเดิมที ขายผ้า เราต้อง ลุยหาตลาด ก็เริ่มมีคนเข้ามา แล้วเราเองก็ไปขายตามที่ต่างๆ ผลิตภัณฑ์ของชุมชน เป็นโอทอป เราก็ทำ � ถ้าเราท�ำตลาดแนวรุกตลอด เราก็จะรุกอยูอ่ ย่างนีห้ รอ พืน้ ฐานของเราจริง ๆ คืออะไรทีเ่ รา อยากบอกนักท่องเที่ยว พื้นฐานเราเป็นโฮมสเตย์อยู่แล้ว ให้มันเป็นระบบว่าเราจะท�ำอะไรบ้าง เราท�ำเป็นโปรแกรม หลังจากที่เราท�ำแนวรุกมา เราก็ท�ำแนวรับ
168
ประมาณปี 2551 ที่เปลี่ยนเป็นแนวรับ
ปี 2551 เราก็ยังรุกตลาดอยู่ ปี 2552- 2554 เราก็เริ่มรับสมาชิกกลุ่มทอผ้า ปี2554 – 2557 เริ่มอยู่กับที่แล้ว ปี 2557 -2560 เราก็เริ่มจากเดิม 7 หลัง ก็เป็น 11 หลัง จาก 11 หลัง ก็เป็น 16 หลัง เป็น 22 หลัง แล้วก็ผ่านการประเมิน มา 4 รอบ แล้ว เราก็ได้มาตรฐาน คือ จะ ประเมิน ทุก 2 ปี ล่าสุด ปี 60 คือ 22 หลัง
คิดว่าทำ�ไมคนในชุมชนถึงสนใจเข้าร่วม
เขาเห็น เรียกว่า ความส�ำคัญของการท่องเที่ยวว่า การท�ำโฮมสเตย์ มันมีรายได้ แต่ไม่ใช่ รายได้หลัก แต่เป็นรายได้เสริม เขาเรียกว่า สามารถเข้ามาเป็นสมาชิกโฮมสเตย์ได้ เขาก็มี มีความ พร้อม ก็เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของสมาชิก
อะไรคือ เหตุผลหลัก ที่ทำ�ให้คนอยากเข้ามา เป็นเรื่องรายได้ หรือเรื่องอะไร
เป็นความชอบด้วย หนึ่ง คือเขาอยากมีรายได้เสริม จากเดิมที่เขาท�ำเกษตร หรือมีอาชีพ อยู่บ้างแล้ว แล้วอยากจะช่วยกันรับนักท่องเที่ยว ตัวเองมีความพร้อมบางส่วน รับลูกค้า ให้เป็น สถานทีห่ นึง่ ทีน่ กั ท่องเทีย่ วจะเข้ามาแล้วให้ความสะดวกแก่เขา ให้ความเป็นชุมชนแก่เขาได้ มศี กั ยภาพ พร้อมที่จะรับตรงนั้นได้
หนึ่ง คือเรื่องรายได้เสริม และอยากเข้ามามีส่วนร่วมกับชุมชน
ใช่ การมีส่วนร่วมกับชุมชน โดยมุ่งเน้นว่า เขาเป็นส่วนหนึ่งให้ชุมชนเกิดรายได้ เหมือนอีก กลไกหนึ่ง อยากจะให้กลไกเรื่องการท่องเที่ยวชุมชนมันขับเคลื่อนไป อาจจะมีบ้าน ความพร้อม เรื่องบ้าน โลเคชั่น คนในครอบครัว
แล้วเรามีเกณฑ์มาตรฐานอย่างไร ว่าใครจะเป็นโฮมสเตย์ได้
เราต้องประเมินกันในกลุม่ ก่อนว่าเขามีความพร้อมไหม ในคณะกรรมการส่วนของสมาชิกก่อน ก็สมัครในส่วนของการเสนอชื่อเพื่อประเมิน ถ้าเขามีความพร้อม เขาจะเข้ามา
ประเมินอย่างไรบ้าง เช่น บ้านต้องมีกี่ห้อง
บ้านต้องไม่เกิน 4 ห้อง สะอาด ความปลอดภัย คนในบ้านต้องเข้าใจ การดูแลเอาใจใส่ แล้วก็ ความเป็นสัดส่วน เรื่องความปลอดภัยเป็นที่ตั้ง เรื่องอาหารการกิน การดูแล เรามีส่วนร่วมกัน
169
“
การที่เรารู้ตัวตนของเราแล้วทำ�ให้ดีที่สุด ความเป็นไปได้มันจะตกมากับใครไม่ได้ นอกจากชุมชนและลูกหลาน
“ 170
171
เรามีวิธีการสื่อสารอย่างไร ที่บอกว่า เข้าใจ
คนในบ้านต้องเข้าใจเหมือนกัน ด้วย เข้าใจในที่นี้หมายความว่า คนเข้ามา ต้องไปใน ทิศทางเดียวกัน คุยทิศทางเดียวกัน
อย่างนั้น ต้องสัมภาษณ์บ้านนั้นๆ
ใช่ค่ะ เขาต้องมาเรียนรู้ก่อน โดยที่คณะกรรมการดูก่อนว่า ความพร้อมของเขา พอจะ เป็นไปได้ไหม
อย่างผมเป็นคนในชุนชนแล้วสนใจ
ก็มาบอกก่อน แล้วค่อยมาเรียนรู้ มาดูงานบ้านเรา มีแขกก็มาดู ว่าเราท�ำกันแบบไหน อาหาร เป็นยังไง อาหารถิ่น อาหารกลาง แล้วพูดคุย มีกิจกรรมร่วมกัน พาไปเที่ยว
เหมือนให้เขามาฝึกงาน แล้วเราดูว่าเขาทำ�ได้ไหม
ใช่
แล้วมีไหม ว่าอยากทำ� แต่ไม่ผ่าน
คือ ไม่ผ่าน เขาก็ต้องบอกก่อน ว่าเขาท�ำไม่ได้ เขาจะรู้ตัว เขาก็บอกว่ามันยาก ท�ำไม่ได้ ก็ จะออกไป ถ้าพร้อมแล้วเขาจะกลับมา บางครอบครัว ก็เสียงดังพูดจาไม่เพราะ กินเหล้า สูบบุหรี่ แล้วไม่เข้าใจนักท่องเที่ยวว่าต้องท�ำตัวอย่างไร บางทีข้างบ้าน กินเหล้า เสียงดัง อันนี้คือข้างบ้าน ไม่พร้อม ถ้าจะท�ำข้างบ้านต้องพร้อมด้วย ไม่ใช่วา่ อยากท�ำแล้วข้างบ้านยังทะเลาะกันเสียงดัง ยัง ไม่ได้
ตอนนี้เรามี 22 หลัง มีข้อมูลไหมว่า บ้านที่หลุดออกไปทำ�ไม่ได้กี่หลัง
ประมาณ 2-3 หลัง เขาจะรู้ตัวเองก่อนเลยว่า เขาไม่พร้อมเพราะอะไร ข้างบ้าน อาจจะ หลาย ๆ อย่าง คนในครอบครัวไม่เข้าใจ บางทีมีคนแก่ เด็กเล็กเกินไปก็ไม่ได้
นอกจากเรื่องรายได้ คิดว่า เราได้เรื่องอะไรอีกจากธุรกิจ โฮมสเตย์
การท�ำโฮมสเตย์เป็นธุรกิจของชุมชน ไม่เน้นเรือ่ ง ธุรกิจทีส่ ว่ นตัว ชุมชนจะได้โดยตรง เวลา นักท่องเทีย่ วเข้ามา คือการท่องเทีย่ วเข้ามาตรงไหน เงินก็สะพัดในหมูบ่ า้ น คนเข้ามา เขาก็อยากซือ้ อย่างแรก คือ อาหารก็ต้องกิน เขาก็กิน อาหารถิ่น ที่นี่ขึ้นชื่อ เรื่องข้าวเปิ๊บ ซึ่งมันหาทานได้ยาก จะมีเฉพาะในชุมชนบ้านนาต้นจั่นเท่านั้น คนที่หิวเข้ามาก็ต้องกิน คนขายก็มีรายได้ ก็เห็นว่า ธรรมชาติสวยงาม มีที่พักเป็นโอมสเตย์เจ้าของบ้านก็มีรายได้ มาพักแล้วไปไหนอีก กิจกรรมมันก็ 172
จะลามออกมา พาไปดูวิถีที่นี่ทอผ้ายังไง ดูว่าท�ำแบบนี้นะ ทดลองท�ำก็ได้ ผ้าเป็นแบบไหน มี หัตถกรรมท�ำตุ๊กตาบาโหน ที่อื่นก็ไม่มีขาย ช่วยฝึกกล้ามเนื้ออ่อนแรง ขายเป็นของที่ระลึกได้ มีผา้ หมักโคลน ได้ไปดูวธิ กี ารทอ การหมักว่าเป็นยังไง ไปดูผลิตภัณฑ์ทแี่ ปรรูปเป็นยังไง ก่อนหมัก เป็นยังไง หลังหมักมันจะนิ่ม เราก็ได้ขายผลิตภัณฑ์ ที่นักท่องเที่ยวเข้ามาดูผ้า คนทอผ้าเอามาขายให้กลุม่ กลุม่ ก็ได้ขายให้นกั ท่องเทีย่ ว รายได้กเ็ กิดจากคนทีเ่ ขาท�ำตุก๊ ตา เรามีตลาด เล็กๆ ชือ่ ตลาด 3 แคร่ เขาก็เอาผัก ผลไม้ทปี่ ลูกไว้เหลือกินมาขาย ได้คา่ หมาก ค่าเกลือ ค่าน�้ำปลา ก็ได้ขายที่ปลอดสาร คนที่ไม่ได้ท�ำเรื่องท่องเที่ยว มีสวนผลไม้ เขาก็เอามาขาย มีรายได้ มันอาจจะไม่มากมาย แต่มันก็ท�ำให้เขาอยู่ได้ ไม่ต้องเยอะมาก มีอย่างละนิด ละหน่อย แต่มีที่มา ที่ไปว่ามาจากไหน ไปดูที่สวนได้ รายได้ไม่กระจุก คนที่เขามาตอนเย็น เราก็มีทริปให้ปั่นจักรยาน เราก็ได้ค่าเช่าจักรยาน คันละ 30 บาท เราก็ได้เก็บไว้เพื่อซื้อจักรยานมาเพิ่ม แล้วให้เด็กนักเรียน เป็นไกด์ นักท่องเที่ยวก็ให้เงิน รายได้ก็เกิดกับเด็กอีก เด็กแทนทีจ่ ะไปเล่นเกม มัว่ สุมในทีไ่ ม่ควรก็จะได้อยูใ่ นสายตาของเราด้วย เวลานักท่องเทีย่ ว มาก็ให้เขาไปเป็นไกด์ ตอนเช้าถ้าเสาร์ อาทิตย์ ก็ติดรถของไกด์ไปขายเม็ดมะค่า
174
ไกด์ผู้ใหญ่ก็มีตามบ้าน ราคา 450 บาท เขาได้ 400 ส่วน 50 บาท เราเอาไว้กองกลางเพื่อ พัฒนาหมู่บ้าน ที่นี่มี 11 คุ้ม เวลาผู้ใหญ่เรียกประชุม เขาจะเรียกหัวหน้าคุ้มมารับนโยบาย เขาให้ ไปท�ำอะไรตรงไหน หัวหน้าคุม้ ก็ไปบอกลูกบ้านตัวเอง ทีน่ มี่ ี 1,226 คน มี 364 หลังคาเรือน มี 11 คุม้ นักท่องเทีย่ วทีเ่ ข้ามา สมัยก่อนทีย่ งั ไม่ได้ทำ� ท่องเทีย่ ว เราเรีย่ ไรเงินเพือ่ เอามาพัฒนา บ้านนัน้ 100 บ้านนั้น 50 บาท แล้วแต่จะให้ แต่ ณ ตอนนี้ เราไม่ต้องไปเรี่ยไรตามบ้าน เรามีค่าใช้จ่าย จาก ค่าหัวของนักท่องเที่ยว อย่าง 500 หัก หัวละ 10 บาท จะได้ 490 คือถ้ามา 3 คนขึ้นไป 500 ถ้ามา 1 หรือ 2 คน หัวละ 600
และไม่ว่าจะ 500 หรือ 600 ก็เสีย 10 บาท
ใช่ ค่ะ กองกลาง ก็เอาไปพัฒนา เอาไว้เติมน�้ำมันรถ ไว้ตัดหญ้า พัฒนาเก็บขยะ หลอดไฟ รายทาง เสียหายก็เปลี่ยน ทุกวันที่ 7 ของทุกเดือนจะเป็นวันพัฒนาหมู่บ้าน
ในเงินที่เจ้าของบ้านได้ เขาก็ต้องจัดการต่างๆ
ใช่ ค่ะ ค่าอาหาร เย็น เช้า ค่าที่พัก พาชมเที่ยว เจ้าของบ้านต้องพาเขาไปเที่ยว ทอผ้า หัตถกรรมท�ำอย่างไร เราไม่ได้เมคขึน้ มาเพือ่ จะขาย เราต้องเล่าเรือ่ งราวให้เขาฟัง คุยกัน ชือ่ ต้นอะไร มีลูกฤดูไหน คือการท่องเที่ยวโดยชุมชน เราไม่ได้เซ็ตขึ้นมาเพื่อขาย แต่บางมุม อย่างจุด เชคอิน จุดถ่ายรูป เราก็ต้องดูให้มันมีความสวยงาม น่าถ่ายรูปด้วย ทุกที่ที่เราพาเขาไปมันต้องมีเรื่องราว 175
ว่ามีอะไร ท�ำอะไร ผ้าหมักโคลนท�ำไมต้องหมักโคลน เราเจ้าของบ้านต้องมีขอ้ มูล เราต้องเป็นเจ้าบ้าน ทีด่ ี ท�ำให้เขาเข้าถึงวัฒนธรรม ความเป็นอยู่ แล้วการจัดการทีเ่ ราท�ำเป็นระบบ เพือ่ ให้ชมุ ชนมีรายได้ อย่างยั่งยืน แต่ว่าไม่ถึงกับร�่ำรวย แต่อยู่ได้ เราท�ำมา 13 ปีแล้ว ด้วยโครงสร้างแบบนี้ มีวิสาหกิจใหญ่ คือกลุ่มทอผ้าของเรา รองลงมาคือ โฮมสเตย์บ้านนา ต้นจั่น แต่การจัดการ เป็นลักษณะโครงสร้างเหมือนกันหมดเลย
เราคิดค่า บริหารจัดการ ไหม
ไม่ม ี เรามองว่า เป็นการเสียสละ ไม่ได้มองแค่ตวั เอง เราจะต้องเสียสละหลายด้าน เรือ่ งเวลา การให้ขอ้ มูล เราจะเน้นให้เราคนในชุมชนจัดการกันเอง เราบอกเลยว่า เราท�ำอะไรขึน้ มาสักอย่าง เราไม่ได้หวังว่า หน่วยงานจะต้องมาดูแลหรือสนับสนุน เราจะมองตัวเรา ปัจจุบนั และอนาคตว่าเรา จะต้องท�ำยังไง เราจะต้องลุกขึน้ มาด้วยล�ำแข้งของเราเอง เราต้องพัฒนา เราต้องดูวา่ เราต้องรูต้ วั ตนของ เราเอง ไม่ใช่ว่ารอแต่หน่วยงาน หรือว่าคนนั้นมาช่วยเหลือ การที่เรารู้ตัวตนของเราแล้วท�ำให้ดี ที่สุด ความเป็นไปได้มันจะตกมากับใครไม่ได้ นอกจากชุมชนและลูกหลานของเรา ไม่มีใครมา อยูก่ บั เราได้นาน หน่วยงานก็เหมือนกัน เขาเข้ามาสนับสนุนเติมแนวคิด หรือว่าเป็นโครงการ บาง สิง่ ทีเ่ กินก�ำลัง เราก็ขอการสนับสนุน ได้กด็ ี ไม่ได้เราไม่ได้วา่ อะไร ไม่ได้เราก็ทำ� เอง โดยชุมชน องค์กร ของเรา เท่าทีเ่ ราท�ำได้ ยังท�ำไม่ได้เราก็ไม่ทำ � มีโอกาสแล้วถึงค่อยท�ำ อันไหนที่เราไม่ต้องการ เราก็ปฏิเสธ เช่น การเทพื้นปูน ตั้งป้ายโลหะ
มองอนาคต บ้านนา ต้นจั่น อยากให้เป็นอย่างไร
อยากให้เราอยู่กันเหมือนเดิม เป็นสังคมที่เอื้ออาทร คนที่เขาเข้ามาไม่ได้อยู่กับเราตลอด คนทีอ่ ยูค่ อื ชุมชน ญาติ พีน่ อ้ ง เพราะทีน่ ี่ เป็นบรรพบุรษุ เดียวกัน เราเลยอยากให้ความเป็นพี่ เป็นน้อง ยังคงอยู่ ความน่ารัก เป็นวิถีดั้งเดิมยังคงอยู่ ระบบการจัดการของเรายังอยู่ เราไม่ต้องการให้คน เข้ามาเพื่อฉกฉวย เอาชุมชนไปขายในทางธุรกิจ เราไม่อยากให้เกิดในวันข้างหน้า เราอยากให้คน รุ่นหลาน มาสืบทอด มาคงอยู่ตรงนี้ไว้
176
“
เราทำ�อะไรขึ้นมาสักอย่าง เราไม่ได้หวังว่า หน่วยงานจะต้องมาดูแล หรือสนับสนุน เราจะมองตัวเรา ปัจจุบันและอนาคต เราต้องรู้ตัวตน แล้วต้องทำ�ยังไง พัฒนา ก็ลุกขึ้นมาด้วยลำ�แข้งของเราเอง
“ 177
สัมภาษณ์ I คุณแอน
หทัยกานต์ รื่นรมย์ I
เจ้าของบ้านรื่นรมย์
ตอนนี้ คุณแอนทำ�อะไรอยู่
รับราชการอยู่ค่ะ แล้วท�ำตรงนี้เป็นอาชีพเสริม ค่ะ
ทำ�ไมถึงอยากเอาบ้านมาทำ�โฮมสเตย์
ตอนแรกคืออยากท�ำบ้านอยู่ก่อน แยกตัวมาจากบ้านพ่อแม่ ด้วยความที่แฟนท�ำงานกัน คนทีแ่ ล้ว เวลาแฟนมาถึงจะมาพักหลังจากแฟนไปท�ำงานประมาณ 40 วัน เราก็จะกลับไปอยูก่ บั แม่ แล้วรูส้ กึ เหมือนบ้านไม่คอ่ ยได้อยู่ บ้านมันจะโทรมๆ เราก็ทำ� โฮมสเตย์เลยดีกว่า เราจะได้มรี ายได้ดว้ ย
แล้วบ้านนี้ปลูกนานไหมกว่าจะตัดสินใจว่าจะทำ�เป็นโฮมสเตย์ ประมาณ 2 ปี อยู่แบบนั้น มีคนอยู่บ้าง ไม่อยู่บ้าง
178
182
นอกจากเรื่องรายได้ การทำ�โฮมสเตย์มีผลดีอย่างไรบ้าง
อันดับแรกคือท�ำให้เราได้รจู้ กั คนเยอะ แล้วเราได้ถา่ ยทอดเรือ่ งราวต่างๆ ในหมูบ่ า้ น ในชุมชน ของเราให้กับคนข้างนอก ได้รับรู้วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณี เราเป็นครูด้วย ก็ชอบเล่านูน่ เล่านีใ้ ห้ฟงั อะไรอย่างนี้ เหมือนเป็นความชอบส่วนตัวด้วย บางคนก็บอกว่าท�ำตรงนี้ ได้อย่างไร เป็นครูด้วย มาท�ำตรงนี้ด้วย ท�ำได้ยังไง ชอบหรอ ชอบคนเยอะหรอ ความวุ่นวายหรอ เราคิดว่า ไม่ได้เยอะ ไม่ได้วนุ่ วายอะไรเลย เหมือนญาติมาหาญาติ เพือ่ นมาหาเพือ่ น ก็สนุกดี ชอบ
ตั้งแต่หมู่บ้านนี้มีโฮมเตย์ ตอนนี้มี 22 หลัง คิดว่า มีการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง จากการที่ธุรกิจนี้พาเข้ามาในบ้าน
จากที่เห็น เปลี่ยนแปลงเยอะ อันดับแรกที่เห็น คือ ทุกคนในหมู่บ้านเขามีอาชีพเสริม นอกเหนือจากการท�ำไร่ ท�ำนา ท�ำสวน อะไรอย่างนี้ พอมีธุรกิจนี้เขามา หลายๆ คนที่ไม่ได้ท�ำ โฮมสเตย์ ก็มีรายได้จากส่วนอื่นๆ จากค่าไกด์น�ำเที่ยว ค่าพาขึ้นดอย แล้วก็ได้ขายผลไม้จากสวน ให้แขกที่มาเที่ยว เหมือนกระจายรายได้ให้ชาวบ้านด้วย หนูว่าดีมาก ทุกคนมีส่วนร่วมหมดเลย แล้วอย่างที่ ศูนย์นาต้นจั่น เขาจะท�ำผ้าหมักโคลน ขั้นตอนทุกอย่างเขาจะจ้าง ชาวบ้านหมดเลย ศูนย์จะออกหมดเลย เส้นด้าย กี่ คนทีไ่ ม่ได้ทำ� โฮมสเตย์ เขาก็ทอผ้า แล้วมาส่งทีศ่ นู ย์ ฯ ขาย เขาก็มี รายได้ กรรมวิธีการหมัก ก็ต้องจ้างคนเข้ามาท�ำ แม้แต่ขั้นตอนการรีด ก็จ้างคนแก่ๆ หรือ เด็ก ๆ เป็นไกด์ คือดี มีรายได้ตั้งแต่น้อยๆ ตั้งแต่เด็กจนถึงคนแก่เลย เออ มันดีอ่ะ มันท�ำให้เหมือน ชุมชนมีทั้ง ก�ำลังกาย ก�ำลังใจ ก�ำลังทรัพย์ในการท�ำอะไรต่างๆ
แสดงว่า คนแม้จะไม่ได้ทำ�โฮมสเตย์ก็มีรายได้จากการทำ�ธุรกิจนี้ ใช่ ค่ะ
คิดว่า อนาคตจะมีบ้านที่เข้ามาทำ�โฮมสเตย์เยอะไหม
น่าจะเยอะ เพราะว่าที่นี่ก�ำลังเป็นกระแส คิดว่านะ คนเข้ามาเยอะขึ้น แล้วบ้านก็แทบจะ ไม่เพียงพอ ที่จะต้อนรับ พี่แหม่ม เขาก็เปิดกว้างว่าใครอยากท�ำก็ท�ำ แล้วก็น่าจะมีคนที่อยาก ท�ำอีก หลายหลัง น่าจะโตขึ้นเรื่อยๆ
183 183
แล้วมีผลด้านลบบ้างไหม ที่เราอาจจะไม่ชอบ
มีน้อย นึกไม่ออก โดยรวมมันเหมือนเป็นการพัฒนา มากกว่าที่จะเป็นด้านลบ
แล้วชุมชนที่นี่มีการจัดการอย่างไร เช่นการจัดคิว ใครจะเป็นไกด์วันไหน
เรือ่ งคิว เป็นหน้าทีข่ องผูน้ ำ � เป็นพีแ่ หม่ม กับป้าเหงีย่ ม คนจองเข้ามาทางเขา ก็จะจัดให้รนั ตามคิว
แต่ถ้าใครมาบ้านนี้แล้วเป็นพิเศษก็อาจจะขอได้ถ้าว่าง ขอได้ ถ้าบ้านหลังนั้นว่าง ในวันนั้นพอดี
ช่วยเล่ากิจกรรมหน่อยครับ ว่าตั้งแต่เชคอิน เราพาเขาทำ�อะไรบ้าง
เชคอินหลังบ่าย 3 เราก็จะให้เขาเก็บของเข้าที่พัก แล้วก็พักผ่อนตามอัธยาศัย ประมาณ 4 โมงครึ่ง เราก็จะพาเขาทัวร์รอบหมู่บ้าน การทัวร์ คือพาไปชมตุ๊กตาบาโหน พาไปดูเขาทอผ้า ใต้ถุนบ้าน ไปชมเขาท�ำ ตะเกียบ ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือนหมดเลย พาไปชมพระอาทิตย์ ตกที่กลางทุ่ง วิธีการพาไป คือ ไปจักรยาน แล้วมีไกด์ชาวบ้าน ไกด์เด็กพาไป อะไรอย่างนี้ค่าใช้จ่าย เรา ไม่ได้เรียก แล้วแต่ให้ทิป แต่เราต้องเสียค่าเช่า คันละ 30 บาท
คือขี่ตามๆ กันไป บ้านใครบ้านมัน ไม่ใช่คนเดียวขี่นำ�ทุกบ้าน
ไม่ค่ะ ไกด์หนึ่งคนก็บ้านหนึ่งหลัง แต่ถา้ ชาวบ้านไม่วา่ งก็เอาไกด์เด็ก ส่วนใหญ่เป็นเด็กนักเรียนทีโ่ รงเรียน ส่วนใหญ่ จะเวียน ๆ กัน แต่ถา้ บ้านไหนสะดวกไกค์คนไหนก็โทรตามได้ อีกอย่างหนึง่ จะมีรถไถพาทัวร์รอบหมูบ่ า้ น อย่างอาม่า เด็กน้อย ทีเ่ ขาไม่อยากปัน่ หรือไม่สะดวก นัง่ รถอีแต๊ก เป็นรถทีพ่ าไปไร่ ไปนา เราก็เอามาดัดแปลง ให้ลกู ค้านัง่ เล่น เป็นรถทีอ่ ยูค่ กู่ บั บ้านเรามานานมาก เมือ่ ก่อนไถนาก็ใช้รถแบบนี้ เดีย๋ วนีจ้ ะมีรถไถ ใหญ่ก็ลดจ�ำนวนลงไป ประมาณ 5-6 คันที่เอามาดัดแปลงเพื่อน�ำเที่ยว
184
“
เราคิดว่าไม่ได้วุ่นวายอะไรเลย เหมือนญาติมาหาญาติ เพื่อนมาหาเพื่อน สนุกดี ชอบ...
“ 185
“
เออ มันดีนะ ทำ�ให้ชุมชนมีทั้ง กำ�ลังกาย กำ�ลังใจ กำ�ลังทรัพย์ ในการทำ�อะไรต่างๆ
“
186
ส่วนตอนเย็นก็ทานข้าว แล้วก็พักผ่อนตามอัธยาศัย ส่วนตอนเช้า กิจกรรมคือชวนขึ้นไป ชมพระอาทิตย์ขึ้น ที่ห้วยต้นไห่ ไปชมทะเลหมอก แต่ว่าอันนี้จะเดินทางโดยรถยนต์ รถมารับ ประมาณ ตี 4 ครึ่ง ขึ้นถึงยอดดอยประมาณ 6 โมง ก็ดูพระอาทิตย์ขึ้น ทะเลหมอก กิจกรรมข้างบนก็มี ไกด์เขาจะไปตัดกระบอกไม้ไผ่ แล้วต้มน�้ำให้เราชงกาแฟ ก่อนที่จะขึ้นไป เจ้าบ้านแต่ละหลังจะเตรียมน�้ำ กาแฟ และโอวัลติน ให้ลูกบ้านถือขึ้นไป ด้วย พอไปถึง ไกด์ก็จะช่วยตัดไม้ไผ่ ก่อฟืน ต้มน�้ำ เพื่อเตรียมชงกาแฟ ให้ไกด์ที่ตัวเองพาขึ้นไป บ้านใคร บ้านมันเหมือนกัน แต่ละบ้านมีไกด์ประจ�ำบ้าน หลังจากนั้น ลงมาทานข้าวที่บ้านประมาณ 8 โมงเช้า พอ 9 โมง ก็จะพาไปดูที่ศูนย์ผ้า หมักโคลน เพื่อเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ของหมู่บ้าน ถ้าเป็นช่วง เสาร์ อาทิตย์ จะมีตลาด 3 แคร่ ขาย ขนมโบราณ
อาหารเด็ดของที่นี่คืออะไรครับ
ที่นี่ขาดมาได้เลย มาแล้วจะได้ทานทุกคน คือ น�้ำพริกซอกไข่ จะต้องท�ำ มื้อเย็นกับผักต้ม นอกนั้นจะเป็นอาหารพื้นบ้าน ย�ำหัวปลี ลาบหมู น�้ำพริกอ่อง ปลานึ่ง แล้วแต่ว่าบ้านนั้นจะท�ำ อะไรให้ทาน
คิดว่าอะไรเป็นจุดเด่นที่ทำ�ให้คนอยากมาที่บ้านนา ต้นจั่น
หนูว่าเป็นวิถีชีวิตค่ะ คิดว่า เราเป็นโฮมสเตย์จริง ลูกบ้าน กับเจ้าบ้าน อยู่ด้วยกัน แล้วมี การพูดคุย แลกเปลี่ยน เขาบอกว่า เขาก็ชอบพักโฮมสเตย์นะ แต่ว่ามันก็เหมือนกึ่ง ๆ โรงแรม พอเข้าห้องแล้วก็ต่างคนต่างอยู่ แต่เขาก็ขึ้นป้ายว่า เป็นโฮมสเตย์ แต่มาที่นี่คือ เหมือนมาได้อยู่ โฮมเตย์จริงๆ หนูว่ามันเป็นเสน่ห์นะคะ ลูกบ้านกับเจ้าบ้านดูแลกัน ใส่ใจ พูดคุยกัน เราได้แลก เปลี่ยน
อย่างหัวละ 600 หักเข้าส่วนกลางเท่าไหร่ มีไหม
หัวละ 10 บาท เป็นค่าดูแลจัดการ ที่เขาหักเข่าสวนกลาง นอกนั้นเจ้าบ้านก็ได้เต็ม
187
นอกจากน้องแอน มีญาติมาทำ�ด้วยไหม
ยังค่ะ แต่กแ็ นะน�ำญาติๆ มาท�ำ แต่เขาก็ไม่มเี งินลงทุน คือมันต้องมีตวั บ้านด้วย ถ้าจะให้ดี ๆ มันก็หลายแสน ซึ่งชาวบ้านเขาไม่มีเงินอยู่แล้ว เว้นแต่จะดัดแปลงบ้านเก่า แต่บ้านเก่าส่วนใหญ่ จะโทรม
สำ�หรับคุณแอน โฮมสเตย์ที่ดี เป็นอย่างไร
เจ้าบ้านต้องมีใจที่จะบริการ ดูแล ท�ำความสะอาด เหมือนเราไปพัก ที่ไหน เราก็ต้องการ ความสะดวกสบาย และความสะอาด เรื่องความสะอาดมาเป็นอันดับหนึ่ง เรื่องอาหาร ห้องน�้ำ คือ เขามาพัก มันก็ต้องมีในบ้านหลังนั้น ตู้ยา อะไรแบบนั้น
เวลาไปต่างจังหวัด คุณแอนอยากไปนอนโฮมสเตย์ไหม
อยากไป แต่กจ็ ะติดว่ามีลกู เล็ก ชอบไปเทีย่ วแถวรีสอร์ท ชอบไปดูวา่ เขาท�ำยังไง แต่อย่างไร ให้ดูดี เราจะได้มาตกแต่งบ้านเราด้วย
188
ใช้ทุนภายใน จุดขายชัดเจน ร่วมรักษา วัฒนธรรม ที่มีชีวิต
มองลูกค้า คือ ญาติมิตร
เคล็ดลับความสำ�เร็จ บ้านนาต้นจั่น
ปฏิเสธ การพัฒนา ที่ไม่ต้องการ
จ.สุโขทัย
จัดการเป็นระบบ มีรายได้ยั่งยืน
ไม่รอ ความช่วยเหลือ จากภายนอก
พาผู้เข้าพัก เข้าถึง ความเป็นอยู่
โฮมสเตย์บ้านนาต้นจั่น
6/1 บ้านนาต้นจั่น ต�ำบลบ้านตึก อ�ำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย 64130 โทรศัพท์ : 08-8495-7738 http://www.homestaynatonchan.blogspot.com/ https://www.facebook.com/HomeStayBannaTonChan ผู้ประสานงาน : คุณเกตุทิพย์ วุฒิสาร การเดินทางไปบ้านนาต้นจั่น วิธีที่ 1 เดินทางโดยรถยนต์ : เดินทางจากที่ว่าการอ�ำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ไปตามทางหลวงหมายเลข 102 สายอุตรดิตถ์-ศรีสัชนาลัย ไปทางอุตรดิตถ์ ระยะทาง 9 กิโลเมตร แยกเข้าตัวต�ำบลบ้านตึก ถนนสายแม่ตะเพียน ทอง-ห้วยตม ระยะทาง 10 กม. ผ่านโรงเรียนบ้านนาต้นจั่นมาถึง ร้านข้าวเปิ๊บซึ่งเป็นศูนย์บริการนักท่องเที่ยวจะ อยู่ ซ้ายมือหรือที่เดียวกับผ้าหมักโคลน วิธีที่ 2 เดินทางโดยรถบัส : ขึ้นจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดสุโขทัย สายสุโขทัย-ศรีสัชนาลัย ลงสถานีขนส่งศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ราคา 50 บาท แล้วเหมารถสองแถวเที่ยวละ 500 บาท
/
บ้านวังน�้ำมอก จ.หนองคาย
ทุนทีม่ อี ยูแ่ ล้ว คือมูลค่าเพิม่ ทีส่ งู สุด
/
194
กี่คนบ้าง ที่อยากกลับไปอยู่บ้านเกิด กี่คนบ้าง ที่อยากท�ำธุรกิจที่มีทั้งรายได้และเวลาอยู่กับ คนที่คุณรัก และกี่คนบ้าง ที่อยากเปลี่ยนบ้านเกิดในชนบทของตนเองให้เจริญรุ่งเรือง แม้ว่าที่นั่น จะอยู่ห่างไกลแค่ไหนก็ตาม
แม้ทำ�เลที่ตั้งอันห่างไกลทั้งระยะทางและความเจริญ จะถูกมองเป็น อุปสรรคสำ�คัญในการทำ�ธุรกิจทีพ่ ก ั แต่นนั่ ก็ไม่ใช่ความจริงเสมอไป หากสร้าง จุดขายได้อย่างโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ และมีคุณค่าต่อผู้คนจำ�นวนมาก ก็สามารถเอาชนะอุปสรรคนี้ได้อย่างไม่น่าเชื่อ บ้านวังน�้ำมอก คือ ตัวอย่างที่ประสบความส�ำเร็จ ดังกล่าว… บ้านวังน�ำ้ มอกเป็นหมูบ่ า้ นเล็กๆ ตัง้ อยูท่ อี่ ำ� เภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย ประกอบด้วย 170 ครอบครัว มีประชากรราว 700 คน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลักคือ ท�ำนา ท�ำสวน รับจ้าง รวมทัง้ ท�ำไร่และหาของป่ามาขายเป็นอาชีพเสริมนอกฤดูเก็บเกีย่ ว ตัวหมูบ่ า้ นตัง้ อยูใ่ กล้ปากทางเข้า วัดหินหมากเป้ง ของหลวงปู่เทสก์ เทสรังสี จากปากทางเข้าลึกเข้าไปอีกประมาณ 9 กิโลเมตร เมื่อรถยนต์วิ่งผ่านถนนซีเมนต์เข้าไปถึงตัวหมู่บ้าน ภาพแรกที่ผู้มาเยือนจะเห็นคุ้นตาคือ ลานแก่งหินกว้างและล�ำธารขนาดใหญ่ที่มีน�้ำใสไหลแรงส่งเสียงกึกก้อง กลุ่มเด็ก 4-5 คน ก�ำลัง กระโดดน�ำ้ เล่นอย่างมีความสุขในล�ำธารใส ซึง่ ไหลลงมาจากน�ำ้ ตกน�ำ้ มอกเรือ่ ยมาผ่านกลางหมูบ่ า้ น ใกล้ๆ กันเป็นกลุ่มบ้านที่แทรกตัวอยู่บนลานหินท่ามกลางแมกไม้ ในบรรดาเรือนไม้เหล่านั้น มี อาคารหลักหลังหนึ่งซึ่งเป็น ศูนย์ประสานงานท่องเที่ยวและวัฒนธรรม ป่าพื้นบ้าน อาหารชุมชน “โฮมสเตย์ (วังน�ำ้ มอก)” ตัง้ อยูร่ มิ ฝัง่ ตัวอาคารเป็นเรือนไม้แบบพืน้ บ้านอีสาน ทีด่ ูกลมกลืนกับ ธรรมชาติป่าน�้ำล�ำธารโดยรอบราวกับเป็นหนึ่งเดียว ความสวยงามและการคงอยู่ของธรรมชาติอันอุดมนี้ แม้ว่าจะเกิดจากการท�ำงานร่วมกัน ของทั้งชุมชน แต่การเริ่มต้นอาจไม่มีวันเกิดขึ้น ถ้ามีบุคคลคนหนึ่งที่ไม่เชื่อในเรื่องการสร้างความ เปลี่ยนแปลงให้กับบ้านเกิดของเขา
195
I ปลายทางคือจุดเริ่มต้น I ในปี 2541 ติณณภพ สุพนั ธะ หรือ คุณหน่อย ชาวบ้านวังน�ำ้ มอกโดยก�ำเนิด ได้เดินทาง กลับมาบ้านเกิดหลังจากเข้ามาใช้ชวี ติ และท�ำงานในกรุงเทพฯ อยูถ่ งึ 14 ปี เมือ่ เกิดวิกฤติเศรษฐกิจ ฟองสบู่แตกในปี 2540 บริษัทที่ท�ำงานอยู่เริ่มส่อแววว่าจะปลดพนักงานออก เขาเริ่มได้กลิ่นของ ความไม่มนั่ คงในหน้าทีก่ ารงาน จึงขอขยับขยายย้ายสาขากลับมาท�ำงานใกล้บา้ น จนเมือ่ สาขาย่อย แห่งนี้ต้องปิดตัวลง พี่หน่อยจึงกลับมาอยู่ที่อ�ำเภอศรีเชียงใหม่เต็มตัว ความตัง้ ใจแรกคือกลับมาเป็นเกษตรกรเหมือนพ่อแม่ แต่พยายามเท่าไหร่กไ็ ม่สำ� เร็จ เพราะ ไปอยู่เมืองกรุงเสียนาน เรียนหนังสือและท�ำงานที่ฝึกทักษะมาอีกแบบหนึ่ง รวมถึงสภาพจิตใจที่ ไม่เคยถูกฝึกให้มคี วามอดทนแบบคนรุน่ พ่อแม่ สิง่ นีไ้ ม่ได้เกิดขึน้ กับเขาเพียงคนเดียวเท่านัน้ แต่เป็น ปรากฏการณ์ทเี่ กิดขึน้ กับหนุม่ สาวชาวชนบทส่วนใหญ่ทที่ งิ้ ถิน่ ฐานเข้ามาเรียนหรือท�ำงานในเมือง ใหญ่ที่ตัวเองไม่มีทุนใดๆ อยู่ก่อนเลย จึงมีน้อยคนที่จะประสบความส�ำเร็จ เมื่อพยายามกลับมา เริ่มชีวิตใหม่ที่บ้านเกิด
196
เมือ่ พบอุปสรรคส�ำคัญในชีวติ ครัง้ นี้ เขาจึงคิดได้วา่ ทางรอดน่าจะเป็น การปรับศักยภาพ และความถนัดของตนให้เข้ากับทุนและทรัพยากรที่มีอยู่แล้วในหมู่บ้าน นั่นคือ ชุมชน วัฒนธรรม และธรรมชาติ เขาคิดต่อไปว่าทางออกไม่ใช่การที่คิดแต่จะเข้ากรุงเทพฯ แต่น่าจะอยู่ที่การท�ำอะไร สักอย่างที่มีพื้นฐานมาจากจุดแข็งของชุมชนเอง เขาจึงเริม่ ส�ำรวจหมูบ่ า้ นเพือ่ ค้นหาจุดแข็งว่ามีอะไรบ้าง ชาวบ้านมีภมู ปิ ญ ั ญาอะไรให้สานต่อ ท�ำให้พบว่าบ้านวังน�ำ้ มอกมีจดุ ขายอยูห่ ลายอย่าง แต่กลับไม่เคยถูกน�ำมาใช้ เมือ่ พิจารณาบ้านเกิดด้วยมุมมองใหม่ ท�ำให้ลกู วังน�ำ้ มอกคนนีค้ น้ พบศักยภาพของหมูบ่ า้ น มากมาย ไม่ว่าจะเป็นปูมหลังของชาวบ้านที่สืบเชื้อสายมาจากกลุ่มคนที่อพยพมาจากอาณาจักร ล้านนาและอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง แม้แต่พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช กษัตริย์ลาว ก็ยังเคย เสด็จมาประทับที่เมืองศรีเชียงใหม่พร้อมไพร่พลเป็นเวลาถึงสามปี ก่อนที่จะกลับไปสร้างนคร เวียงจันทน์ ชาวบ้านวังน�ำ้ มอกจึงมีเอกลักษณ์และวัฒนธรรมแตกต่างไปจากจังหวัดอืน่ ๆ ของภาค อีสาน โดยมีความคล้ายคลึงกับชาวเวียงจันทน์ แต่กย็ งั มีการผสมผสานทางวัฒนธรรมจากชาวอีสาน ในพืน้ ที่ จนเกิดเป็นเอกลักษณ์ของชุมชนอย่างชัดเจน รวมทัง้ ยังมีประเพณีทนี่ า่ สนใจ งานหัตถกรรม ที่เป็นเอกลักษณ์ อาหารรสเลิศ อากาศบริสุทธิ์ แหล่งท่องเที่ยวในป่าชุมชน มีวัดป่าชื่อดังตั้งอยู่ใน บริเวณใกล้เคียง ที่ส�ำคัญคือ ยังมีวิถีชีวิตแบบชาวบ้านที่เรียบง่าย ซึ่งหาไม่ได้อีกแล้วในเมืองใหญ่ 197
I กินข้าว เซาเฮือน I เมื่อมีของดีและกิจกรรมมากมาย คนก็น่าจะอยากมาเที่ยว ถ้าคนมาเที่ยวก็จะเกิดการ สร้างรายได้ สร้างงาน และสร้างโอกาส ชาวบ้านก็จะอยากปักหลักอยูบ่ า้ นพร้อมกับท�ำอาชีพเกษตร แบบเดิมได้ คุณหน่อยจึงเกิดความคิดที่จะแปลงโฉมบ้านวังน�้ำมอกให้เป็นหมู่บ้านโฮมสเตย์ขึ้น การท�ำโฮมสเตย์เป็นธุรกิจจะช่วยให้เกิดการกระจายรายได้ไปจนถึงระดับรากหญ้า เพราะรูปแบบ ของธุรกิจครอบคลุมทั้งการกิน การนอน การท่องเที่ยว การเดินทาง และการขายสินค้าที่ระลึก ที่ส�ำคัญที่สุดคือ การสร้างความภาคภูมิใจในบ้านเกิดและสร้างโอกาสในการเรียนรู้ให้กับ ชาวบ้านในพื้นที่ห่างไกล คุณหน่อยเริ่มต้นสื่อสารกับคนในหมู่บ้านอย่างค่อยเป็นค่อยไป ภารกิจในช่วงแรกนี ้ เต็มไปด้วยความยากล�ำบากเพราะพูดไปก็ไม่มีใครเชื่อ ไม่มีใครเคยเห็นภาพมาก่อน การท�ำงาน ช่วงต้นจึงมีแต่เสียงคัดค้าน เช่น หมูบ่ า้ นเราไกลขนาดนีใ้ ครเขาจะมา บ้านนอกอย่างเราจะมีอะไร ให้เขาดู ไม่มีใครเคยท�ำแล้วจะท�ำได้ยังไง ฯลฯ แม้จะมีค�ำถามมากมาย แต่คุณหน่อยไม่เคยท้อ เขาเริ่มต้นด้วยการท�ำให้ดูเป็นตัวอย่าง และสถานทีท่ เี่ หมาะทีส่ ดุ ก็คอื บ้านของเขาเอง บ้านเรือนไม้หลังใหญ่หลังเดียวในหมูบ่ า้ นทีต่ งั้ อยูร่ มิ ล�ำธารน�ำ้ มอก ในปี 2543 เขาตัง้ กลุม่ ชือ่ “ป่าพืน้ บ้าน อาหารชุมชน บ้านวังน�ำ้ มอก” มีสมาชิกเริม่ แรก 3 คน ปัจจุบนั มีสมาชิกเพิม่ ขึน้ เป็น 110 คน โดยใช้ปา่ ชุมชน กิจกรรม และวิถชี วี ติ ในหมูบ่ า้ นมาเป็น จุดขายเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ซึ่งต้องใช้เวลาปรับกันอยู่ถึง 3 ปีกว่าจะมีจุดยืนและ จุดขายที่ชัดเจนเช่นทุกวันนี้
198
200
โฮมสเตย์ที่นี่มีกฎระเบียบหลายข้อซึ่งต่างจากธุรกิจเดียวกันกับของที่อื่น เช่น ต้อง โอนเงินมาให้เรียบร้อยก่อนถึงจะเข้ามาพักได้ โดยทีน่ จี่ ะไม่รบั ลูกค้าวอล์คอินเด็ดขาด กฎข้อนี้ นอกจากช่วยในเรื่องการบริหารจัดการทั้งทรัพยากรและเวลาที่สะดวกส�ำหรับชาวบ้านแล้ว การต้องจ่ายเงินก่อนยังเป็นการกรองลูกค้าที่หาข้อมูลมาแล้วเป็นอย่างดีว่าที่นี่ “มี” และ “ไม่มี” อะไร ช่วยป้องกันความไม่เข้าใจกันทีจ่ ะเกิดขึน้ ในภายหลัง ดังทีเ่ คยเกิดขึน้ มาแล้วในช่วงแรกของ การเปิดธุรกิจ เมื่อชาวบ้านถูกนักท่องเที่ยวที่ไม่ทราบว่าจะต้องมาพักโฮมสเตย์ต่อว่าต่อขานเรื่อง ความไม่สะดวกสบายต่างๆ ท�ำให้ชาวบ้านเสียก�ำลังใจในตอนเริ่มต้นกันไปแล้วหลายรอบ และยังมีค�ำอธิบายอย่างชัดเจนเกี่ยวกับประเพณี “กินข้าว เซาเฮือน” ของผู้คนที่นี่ ซึ่งก็ มีความหมายถึงการทีม่ แี ขกเดินทางมาเยีย่ มเยือน เจ้าบ้านก็จะต้อนรับขับสูด้ ว้ ยการท�ำอาหารเลีย้ ง แล้วมานัง่ ล้อมวงกินข้าวร่วมกันนัน่ เอง การพักค้างคืนกับโฮมสเตย์บา้ นวังน�ำ้ มอกนี้ จึงเป็นการพัก อาศัยอยูก่ บั ชาวบ้าน เพือ่ เรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ ความเป็นอยูข่ องผูค้ น ฝึกตนให้เป็นคนอยูง่ า่ ย รับประทานง่าย ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบของหมู่บ้าน เคารพสิทธิของเจ้าของพื้นที่ และไม่ท�ำในสิ่งที่ขัดแย้งกับ ข้อปฏิบัติของชุมชน ไม่ลบหลู่ความเชื่อของบุคคล
201
I คืนหนึ่งในโฮมสเตย์ บ้านวังน�้ำมอก I บ้านหลังที่ผมพักเป็นเรือนไม้ยกพื้นสองชั้นริมธารน�้ำ ชั้นล่างเป็นชานโล่ง มีมุมนอนที่กั้น ด้วยม่านผ้าฝ้ายลายพืน้ เมืองอยูอ่ กี มุมหนึง่ ส่วนชัน้ บนเป็นห้องนอนขนาดเล็ก มีฟกู มุง้ และพัดลม ตั้งโต๊ะ ภายในบริเวณต่างๆ ของบ้านพักถูกตกแต่งด้วยงานหัตถกรรมพื้นบ้านหลากหลาย ตั้งแต่ โคมไฟ เครื่องจักสาน ผ้าม่านฝ้ายทอมือลายพื้นบ้าน เมื่อไปถึงที่พักและเอากระเป๋าไปเก็บแล้ว ผมมานั่งดื่มน�้ำที่เตรียมไว้ให้ในเหยือกดับ กระหาย พบว่าเป็นน�้ำดื่มผสมสมุนไพรพื้นบ้านต้มเอง ท�ำให้เห็นวิธีจัดการว่าต้องพยายามลดค่า ใช้จ่ายที่ไม่จ�ำเป็นต้องซื้อจากภายนอกให้มากที่สุด แต่ขณะเดียวกันก็มีการสั่งซื้อภาชนะจักสาน ในครัวเรือนจากชาวบ้านในนครเวียงจันทน์มาจ�ำหน่าย เพื่อท�ำให้เกิดการกระจายรายได้เผื่อแผ่ ไปยังกลุ่มธุรกิจที่มีความเชื่อเดียวกัน อันจะน�ำไปสู่การเป็นเครือข่ายพันธมิตรธุรกิจในอนาคตได้ 202
มือ้ เย็นนัน้ ผมได้รบั ประทานเมนูเด็ดของทีน่ คี่ อื แกงหน่อไม้ดอง ต�ำสับปะรด และปลาทอด สมุนไพรกรอบ หลังอิ่มท้องและท�ำกิจกรรมบายศรีเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก่อนนอนผมมีเวลาว่างพอ ทีจ่ ะเดินไปรอบๆ ล�ำธาร นัง่ เล่นทีศ่ าลา ฟังเสียงธรรมชาติขบั กล่อม สัมผัสอากาศทีส่ ดชืน่ เย็นสบาย ท�ำเลที่ตั้งใกล้ล�ำธารคือจุดขายที่ไม่มีใครเหมือนของโฮมสเตย์แห่งนี้ บริเวณน�้ำตกมีแนวสันภูเป็น ผาหินมีลักษณะแปลกตา ธารน�้ำไหลลดหลั่นกัน ด้านล่างเป็นแหล่งน�้ำและลานหินกว้าง สามารถ ลงเล่นน�้ำและอาบน�้ำได้อย่างปลอดภัย ช่วงเวลาที่เหมาะแก่การมาพักที่นี่ คือช่วงปลายมิถุนายน ถึงเดือนตุลาคม เพราะจะมีน�้ำเต็มล�ำธาร จากชานชั้นล่างของบ้าน การได้นั่งห้อยขาสัมผัสสายน�้ำได้แบบสบายๆ คืนนั้นนับเป็น ประสบการณ์ใหม่ส�ำหรับผมที่ได้นอนฟังเสียงน�้ำตกที่ห่างไปเพียงหนึ่งเมตรไหลเป็นสายตลอด ทั้งคืนเหมือนเพลงกล่อมให้หลับฝันดี เป็นการนอนหลับที่สนิทที่สุดครั้งหนึ่งในชีวิต 203
I ของดีบ้านวังน�้ำมอก I บ้านวังน�ำ้ มอกยังมีของดีอกี หลายอย่าง หนึง่ ในนัน้ คือหัตถกรรมฝีมอื ชาวบ้าน เช่น การจักสาน อุปกรณ์การเกษตร การท�ำไม้กวาดดอกแขม หน่อไม้ดอง และโคมไฟผ้า (โคมไฟพาแลง) ซึง่ ปกติ จะใช้ในงานบายศรีสขู่ วัญ เมือ่ แขกผูม้ าเยือนติดใจและถามถึงจนได้พฒ ั นากลายมาเป็นโคมไฟผ้าฝ้าย ท�ำมือรายแรกของภาคอีสาน และมีขายเฉพาะทีห่ มูบ่ า้ นเท่านัน้ เพือ่ สร้างเป็นเอกลักษณ์และจุดดึงดูด ให้คนเข้ามาเที่ยวที่หมู่บ้าน นอกจากนี้ยังมีผืนป่าชุมชนขนาด 3,500 ไร่ บนภูผีปอบ-ภูปักแป้น ซึ่งเป็นต้นน�้ำล�ำธาร หลายสายที่ครั้งหนึ่งเคยกลายเป็นป่าหัวโล้นจากการเปิดสัมปทานป่าไม้ตั้งแต่ปี 2507 และจาก นายทุนและชาวบ้านทีเ่ ข้าไปลักลอบตัดไม้เผาถ่าน จนท�ำให้เกิดความแห้งแล้งอย่างหนัก ชาวบ้าน กลุม่ หนึง่ จึงพร้อมใจกันจัดตัง้ โครงการป่าชุมชนขึน้ เพือ่ พลิกฟืน้ ความอุดมสมบูรณ์ของป่าให้กลับ คืนมา จนปี 2537 ป่าภูผปี อบจึงได้รบั การประกาศเป็นป่าชุมชนให้ชาวบ้านช่วยกันพิทกั ษ์รกั ษาและ หาเลี้ยงชีพในชีวิตประจ�ำวัน ท�ำให้ป่าชุมชนภูผีปอบ-ภูปักแป้น ได้รับการดูแลรักษาเป็นอย่างดี ชาวบ้านทีจ่ ะเข้าใช้ทรัพยากรจากป่าไม้ตอ้ งได้รบั อนุมตั จิ ากคนในชุมชน ด้วยกันก่อน แล้วป่าค่อยๆ คืนสภาพอันอุดมสมบูรณ์ดังเดิม
205
I โฮมสเตย์บา้ นวังน�ำ้ มอก โมเดลธุรกิจทีส่ ร้างสรรค์ I พืน้ ทีห่ า่ งไกลและไม่มแี หล่งท่องเทีย่ วทีม่ ชี อื่ เสียงเป็นบ้านน�ำ้ มอก แต่กลับสามารถเปลีย่ น ความห่างไกล ให้เป็นจุดขายทีส่ ร้างรายได้มลู ค่าสูง และยังท�ำให้เกิดการกระจายรายได้ การสร้าง โอกาสในการเรียนรู้ การรวมกลุ่มกันท�ำสินค้าหัตถกรรมพื้นบ้าน และร่วมกันสืบสานฟื้นฟู วัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่นตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงอย่างสร้างสรรค์และยั่งยืน เพื่อ รองรับนักท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ ท�ำให้ชาวบ้านเมือ่ ว่างจากการท�ำไร่ทำ� นาต่างก็หนั มาท�ำโฮมสเตย์และ สินค้าหัตถกรรมพื้นบ้าน พร้อมๆ กับการสืบสานฟื้นฟูประเพณีของท้องถิ่น ท�ำให้เกิดรายได้เสริม จากสิง่ ทีต่ วั เองมีอยูแ่ ล้ว ท�ำได้ในเวลาว่างหรือเวลาทีอ่ ยากจะท�ำ โดยทีไ่ ม่ตอ้ งลงทุนเพิม่ ไม่มคี วาม เสี่ยงใดๆ เลยแม้แต่น้อยในการลงทุนครั้งนี้ ด้วยความเข้าใจและเข้าถึงรูปแบบของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและชุมชน ท�ำให้สภาพ บรรยากาศโดยทั่วไปของหมู่บ้านวังน�้ำมอกเป็นระเบียบสวยงาม จนในปี 2543 กรมป่าไม้จึงได้ มอบโล่ประกาศเกียรติคณ ุ “ป่าพืน้ บ้าน อาหารชุมชนดีเด่น” ให้กบั ชาวบ้านทีน่ ี่ ในปี 2551 “บ้าน วังน�ำ้ มอก” ได้รบั รางวัล “องค์กรสนับสนุนและส่งเสริมการท่องเทีย่ วดีเด่น” ของภาคตะวันออก เฉียงเหนือ จากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ในการประกวดรางวัลอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวไทย ครั้งที่ 7 ด้วยผลงาน “ป่าพื้นบ้าน อาหารชุมชน” ที่ท�ำให้ชาวบ้านทุกคนภาคภูมิใจ เป็นอย่างมาก 206
ปัจจุบันมีชาวบ้านเข้าร่วมโครงการหมู่บ้านโฮมสเตย์แล้ว 20 หลังคาเรือน โดยค่า ที่พัก รวมอาหาร 3 มือ้ และการท�ำกิจกรรมอยูท่ รี่ ายละ 1,390 บาท แบ่งเป็นค่าอาหารประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ ค่ากิจกรรม 30 เปอร์เซ็นต์ และค่าทีพ่ กั 20 เปอร์เซ็นต์ ล่าสุดทางศูนย์ฯ ได้เพิม่ กิจกรรมเพือ่ เปิดรับ ลูกค้ากลุ่มใหม่ที่มีศักยภาพ นั่นคือ กลุ่มศึกษาดูงาน โดยเปิดเป็นทางเลือกว่าไม่จำ� เป็นต้องเข้าพัก ในหมูบ่ า้ นก็ได้ ซึง่ แตกต่างจากช่วงแรกทีผ่ จู้ ะร่วมท�ำกิจกรรมได้ตอ้ งนอนพักในโฮมสเตย์ของศูนย์ เท่านั้น นอกจากนีย้ งั ฝึกอบรมเด็กๆ ในหมูบ่ า้ นให้เป็นมัคคุเทศก์นอ้ ย คอยน�ำทางนักท่องเทีย่ ว และ ร่วมในกิจกรรมต่างๆ ตั้งแต่การเดินป่าศึกษาธรรมชาติที่ป่าชุมชนภูผีปอบ การปั่นจักรยานชมทุ่ง และทิวทัศน์แม่น�้ำโขง สัมผัสกับบรรยากาศของดอกไม้ พันธุ์ไม้ท้องถิ่น ต้นยางนาขนาดใหญ่อายุ หลายร้อยปี หรือเล่นน�้ำตก ชมเตาถ่านมรณะ ชมการทอผ้าพื้นเมืองด้วยกี่กระตุก หรือการเดินไป กราบพระเจ้าลานทอง พระพุทธรูปคูบ่ า้ น คูเ่ มืองบ้านวังน�ำ้ มอกทีว่ ดั เทศรังสี ซึง่ เป็นวัดสาขาของวัด หินหมากเป้ง ของหลวงปู่เทสก์ เทสก์รังสี ครูบาอาจารย์ส�ำคัญองค์หนึ่งในสายพระป่า
210
212
และในแง่การลงทุนยังสามารถตัง้ ราคาขายต่อหัวต่อคืนได้สงู กว่าโรงแรมมาตรฐานในเมือง ที่ลงทุนในท�ำเลกลางเมืองที่มีราคาแพงกว่าเมืองและมีค่าก่อสร้างแพงกว่าได้หลายสิบเท่า และที่ ส�ำคัญที่สุดคือท�ำให้ชาวบ้านเกิดความภาคภูมิใจในจุดขายและศักยภาพของตนเอง ได้เห็นทาง เลือกของชีวิตที่มีความสุข และ ยั่งยืนอย่างแท้จริง และท�ำให้ทุกคนได้เห็นว่าสุดท้ายแล้วที่ทีมี โอกาสมากที่สุดก็คือที่บ้านเกิดของทุกคนนั่นเอง มาถึงวันนีโ้ ฮมสเตย์บา้ นวังน�ำ้ มอกผ่านการเดินทางมายาวนานกว่าสิบปี สามารถสร้างจุดขาย จากเอกลักษณ์ที่โดดเด่นของหมู่บ้านจนเป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ และยังสร้างรายได้ที่ กระจายไปสู่ชาวบ้านได้จริง
สิง่ สำ�คัญทีส่ ดุ คือ ชาวบ้านเกิดความภาคภูมใิ จในจุดขายและศักยภาพ ของตนเอง ได้เห็นทางเลือกของชีวติ ทีม่ คี วามสุขและความยัง่ ยืนอย่างแท้จริง ทัง้ ยังทำ�ให้ทกุ คนได้เห็นว่า...สุดท้ายแล้วสถานที่เต็มไปด้วยโอกาสมากที่สุด ก็คือ ถิ่นฐานบ้านเกิดของตนนั่นเอง
213
“
แต่ที่สำ�คัญที่สุดคือ วิถีชีวิตของชาวบ้าน ต้องดำ�รงอยู่ต่อไปได้โดยไม่ถูกรบกวน จากนักท่องเที่ยว เพราะสิ่งที่โฮมสเตย์ขาย ก็คือประสบการณ์ในการเรียนรู้ และการเข้าพักกับชาวบ้านจริงๆ
“
Q
A
คุยกับ
ติณณภพ สุพันธะ
I ประธานศูนย์ประสานงานท่องเทีย่ วป่าพืน้ บ้าน อาหารชุมชน บ้านวังน�ำ้ มอก I
ช่วยแนะนำ�ตัวให้เรารู้จักสักนิดครับ ก่อนมาเปิดโฮมสเตย์บ้านวังน�้ำมอก พี่ทำ�อะไรมาบ้าง
ผมเป็นคนอ�ำเภอศรีเชียงใหม่ เกิดและเรียนหนังสือทีน่ ี่ ก่อนจะเข้าไปเรียนต่อในตัวจังหวัด จากนั้นก็ย้ายไปเรียนและท�ำงานที่กรุงเทพฯ สิบกว่าปี ยังหาทางกลับบ้านไม่ได้ (หัวเราะ) ผ่านมา หลายบริษัทเหมือนกัน ล่าสุดเป็นบริษัทด้านการเงิน จนสุดท้ายหาทางกลับมาอยู่บ้านเกิดกับพ่อ แม่นี่แหละครับ
หาทางกลับบ้านนี่ หมายถึงกลับมาแล้วจะทำ�อะไรดีชีวิตถึงจะลงตัว อย่างนั้นใช่มั้ยครับ
ใช่ครับ คือจะท�ำอะไรเพือ่ ให้ใช้ชวี ติ อยูก่ บั บ้านให้ได้ ก็ปรับตัวมาเรือ่ ยๆ ถึงแม้วา่ เราจะเป็น คนบ้านนอกมาก่อน แต่กไ็ ปใช้ชวี ติ ในเมืองมาเสียนาน พอกลับมาอยูบ่ า้ นนอกก็จะล�ำบากนิดหนึง่ 216
ตอนนั้นอายุเท่าไหร่ครับ 30 เอง (หัวเราะ)
ก็คือเมื่อ 18 ปีก่อน
จบใหม่ๆ ก็อายุประมาณ 24 ใช่มั้ยครับ จบปริญญาตรี ท�ำงานอีก 10 กว่าปี ก็ประมาณ 30 กว่าๆ ตอนนั้นยังไม่กลับมาบ้านนะครับ คิดว่าจะกลับเหมือนกัน จนเกิดวิกฤติต้มย�ำกุ้ง บริษัท เริ่มจะปลดพนักงาน ผมก็ขอย้ายมาท�ำงานที่สาขาในตัวเมือง แล้วก็กลับบ้านถี่ขึ้นเพื่อหาทางมา ปรับตัว มาเรียนรู้การใช้ชีวิต
แล้วทำ�ไมถึงคิดว่าโฮมสเตย์จะช่วยตอบโจทย์ชีวิตตรงนี้ได้
ที่จริงแล้วไม่ได้คิดจะท�ำโฮมสเตย์เลย แต่พอกลับมาอยู่บ้านแล้ว พบว่าวิถีชีวิตชนบท หลายอย่างมันสามารถเลีย้ งชีพและลงหลักปักฐานได้ หลังจากได้กลับมาอยูบ่ า้ นจริงจังก็ยงั ไม่เคย กลับไปกรุงเทพฯ อีกเลย ไม่ใช่ไม่เคยกลับ แต่ไม่คิดที่จะกลับไปอยู่กรุงเทพฯ อีกต่อไป พอเริ่มปักหลักก็คิดนู่นคิดนี่จนเกิดความคิดต่อยอดท�ำโฮมสเตย์ แต่ว่าโฮมสเตย์นี่เป็นแค่ ส่วนหนึง่ เท่านัน้ นะครับ เราไม่ได้พงึ่ พารายได้จากโฮมสเตย์เพียงอย่างเดียว แต่ยงั มีกจิ กรรมในชุมชน มีการน�ำเที่ยวชุมชน มีผลิตภัณฑ์ชุมชน มีแหล่งเรียนรู้
ตอนกลับมาบ้านใหม่ๆ พีส่ อื่ สารกับชาวบ้านอย่างไร จนเกิดเป็นการร่วมมือกัน ทั้งชุมชนอย่างทุกวันนี้
ผมขายไอเดีย (หัวเราะ) ต้องยอมรับว่าชาวบ้านเขาไม่สามารถน�ำเสนอตัวเองออกไปนอก ชุมชนได้ เพราะลึกๆ เขาไม่กล้าบอกใครว่าตัวเองอยู่ในชนบท แต่กลับกันคนในเมืองกลับมองว่า คนชนบทเป็นคนน่ารัก ชนบทมีความน่าอยู่ สิ่งส�ำคัญคือ เราต้องท�ำให้ชาวบ้านมีความเชื่อมั่น ในตัวเองก่อน เชื่อว่าตัวเขามีคุณค่า ไม่ใช่คนบ้านนอกหรือคนชนบท แต่เป็นคนที่มีคุณค่า ในท้องถิ่นของเขาเอง สามารถด�ำรงชีวิตอยู่ได้
217
218
ขยายความตรงนี้หน่อยครับ พี่มีวิธีชักจูงให้ชาวบ้านเห็นคุณค่าที่แท้จริง ของตัวเองได้อย่างไร
ยกตัวอย่างทีเ่ ห็นชัดๆ ทุกวันนีเ้ ราท�ำโฮมสเตย์มา 18 ปี เมือ่ ก่อนแม่เฒ่าไม่กล้ามานัง่ สวดมนต์ อวยพรในพิธีบายศรีสู่ขวัญให้แขกต่างบ้านต่างเมืองแบบนี้นะ เพราะมีความคิดว่ามันเชย ล้าสมัย แต่ปัจจุบันแม่เฒ่ากล้าพูดได้เต็มปากว่า นี่คือพิธีต้อนรับของหมู่บ้านเรา แขกไปใครมาจะต้องเข้า สูพ่ ธิ นี ี้ นีเ่ ป็นข้อพิสจู น์ทชี่ ดั เจนมากว่าชาวบ้านเขาเห็นคุณค่าในตัวเอง ผมใช้วธิ อี ธิบายให้เขาเข้าใจว่า ถ้าขาดแม่เฒ่าแล้ว พิธนี จี้ ะท�ำไม่ได้เลย เพือ่ ให้เขารูว้ า่ เขามีความส�ำคัญ ตัวผมเองในฐานะคนทีท่ ำ� งาน ร่วมกับชุมชน เราจะไม่เรียกคนท�ำงานว่าเป็นลูกน้อง แต่ให้ความส�ำคัญกับเขา ให้เขาเห็นคุณค่า ในตัวเอง ก็จะสามารถท�ำงานร่วมกันได้
คิดว่าจุดขายของความเป็นชนบทอยู่ตรงไหนครับ
ความเอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่ ช่วยเหลือกัน จริงใจไม่เสแสร้ง ในบ้านนอกนี่ ทุกวันนีเ้ ดินผ่านบ้านไหน ยังเรียกกันกินข้าวอยู่เลยนะ ถ้าใครยังไม่ได้กิน คุณสามารถเข้าไปนั่งกินข้าวกับเขาได้เลย นี่คือ เสน่ห์ของชนบท
แล้วถ้าพูดถึงจุดเด่นหรือวัฒนธรรมท้องถิน่ ของบ้านวังน�ำ้ มอกล่ะครับ มีอะไรบ้าง
ถ้าพูดถึงวัฒนธรรมอันโดดเด่นของคนศรีเชียงใหม่ ก็คือ “วัฒนธรรมสองล้าน สองเวียง” ซึ่งเป็นวัฒนธรรมของสอง อาณาจักร คือ ล้านนากับล้านช้าง เพราะในอดีตชาวบ้านที่นี่อพยพ มาจากอาณาจักรล้านนาทางเหนือกับอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง วัฒนธรรมของหมู่บ้าน วังน�้ำมอกจึงเป็นการผสมผสานของวัฒนธรรมของสองอาณาจักรนี้ นี่คือจุดเด่น ส่วนธรรมชาติของบ้านเราอาจจะไม่ได้โดดเด่นกว่าหมู่บ้านหรือชุมชนอื่น เพียงแต่เรา พยายามอนุรักษ์รักษาไว้ให้มันอยู่คู่กับหมู่บ้านเราตลอดไป ท�ำให้ธรรมชาติดึงคนเข้ามาเที่ยวที่ หมูบ่ า้ นเรา แล้วคนในหมูบ่ า้ นก็จะมีวฒ ั นธรรมทีม่ ดั ใจเขาไว้ เช่น เรามีกจิ กรรมทางประเพณีเด่นๆ ทีผ่ มู้ าเยือนทุกคนจะได้สมั ผัส นอกจากพิธตี อ้ นรับ “บายศรีสขู่ วัญ ซมข้าวพาแลง” ซึง่ เป็นประเพณี ของชาวอีสานในการกินข้าวร่วมกัน ยังมีการท�ำขันคู่ปี ซึ่งท�ำด้วยใบตองโดยใช้ธูปและดอกไม้ จ�ำนวนเท่ากับอายุเสียบตามกลีบของใบตองที่จีบไว้ เพื่อน�ำไปสักการะพระ เชื่อกันว่าท�ำให้มีอายุ มั่นขวัญยืน เป็นการต่ออายุของผู้ท�ำ
219
นอกจากนัน้ เรายังมีผลิตภัณฑ์ชมุ ชนทีเ่ กีย่ วข้องกับวัฒนธรรม อย่างโคมไฟพาแลง ซึง่ ปกติ จะใช้ในงานบายศรีสู่ขวัญ เราพัฒนาจนกลายเป็นโคมไฟผ้าฝ้ายท�ำมือ มีขายเฉพาะที่หมู่บ้าน วังน�้ำมอกนี้แห่งเดียวเท่านั้น
หลังเปิดโฮมสเตย์แล้ว มีประสบการณ์การต้อนรับนักท่องเที่ยวอะไรบ้างที่เรา ไม่คาดคิดว่าจะเกิดขึ้น
มีครับ ช่วงแรกเรายังไม่สามารถคัดเลือกบริษัททัวร์ได้ ก็จะมีลูกค้าต่างประเทศบางกลุ่ม คาดหวังว่าเขาจะต้องมานอนรีสอร์ต มีหอ้ งน�ำ้ อย่างดี มีหอ้ งนอนอย่างดี มีเครือ่ งปรับอากาศ แต่พอ มาถึงแล้วกลับเป็นบ้านพักแบบโฮมสเตย์ของชาวบ้าน ท�ำให้เกิดความไม่พอใจขึ้น บริษทั ทัวร์มาแจ้งเรือ่ งนีก้ บั เรา เราก็ชแี้ จงกลับไปว่า ได้เคยแจ้งไปแล้วว่าโฮมสเตย์หมูบ่ า้ น เราเป็นบ้านที่ชาวบ้านอยู่อาศัยกันจริงๆ ไม่ใช่รีสอร์ต ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ทางบริษัททัวร์ไม่ได้สื่อสาร ให้กับกลุ่มลูกค้า ท�ำให้ลูกค้าไม่พอใจ และชาวบ้านบางส่วนสูญเสียก�ำลังใจในช่วงแรก ท�ำให้เรา เข้าใจว่าการสื่อสารและการคัดกรองกลุ่มลูกค้าที่มีความสนใจในกิจกรรมบ้านพักแบบนี้เป็นสิ่งที่ มีความส�ำคัญมาก เพราะสิง่ ทีเ่ ราขายคือประสบการณ์ในการเข้าพักทีค่ ณ ุ จะได้เรียนรูก้ ารอยูร่ ว่ มกับ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชาวบ้าน
พี่คิดว่าโมเดลธุรกิจโฮมสเตย์สามารถใช้ได้ในพื้นที่ระดับไหนบ้าง และจะสร้าง การเปลี่ยนแปลงกับประเทศได้อย่างไร
ยังมีพน้ื ทีใ่ นบ้านเราอีกจ�ำนวนมากทีส่ ามารถท�ำธุรกิจโฮมสเตย์ได้ สิง่ ส�ำคัญคือต้องสามารถ สร้างจุดขายจากวัฒนธรรมทีต่ วั เองมีอยูแ่ ละสือ่ สารออกมาให้ชดั เจน แต่ทสี่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือ วิถชี วี ติ ของชาวบ้านต้องด�ำรงอยูต่ อ่ ไปได้โดยไม่ถกู รบกวนจากนักท่องเทีย่ ว เพราะสิง่ ทีโ่ ฮมสเตย์ขาย ก็คือประสบการณ์ในการเรียนรู้และการเข้าพักกับชาวบ้านจริงๆ ส�ำหรับผมแล้ว การท่องเทีย่ วแบบโฮมสเตย์เป็นการสร้างรายได้โดยชาวบ้านไม่ตอ้ งลงทุนเพิม่ ไม่มีความเสี่ยง รวมทั้งเป็นการสร้างโอกาสในการเรียนรู้ระหว่างชาวเมืองกับชาวบ้าน
222
ที่นี่ทำ�โฮมสเตย์มา 18 ปีแล้ว ตั้งแต่วันแรกจนวันนี้มีการเปลี่ยนแปลงหรือ การพัฒนาอย่างไรบ้าง
แม้ว่าจ�ำนวนประชากรในหมู่บ้านจะเพิ่มมากขึ้น แต่ก็ไม่ได้ท�ำให้ชาวบ้านรู้สึกว่ามีอะไร เปลีย่ นแปลง เพราะวิถชี วี ติ แบบเดิมของเรายังคงอยู่ ไม่วา่ จะเป็นความสัมพันธ์ในครอบครัว ความ สัมพันธ์ในชุมชน เพียงแต่ว่ามีจ�ำนวนคนมากขึ้นเท่านั้นเอง ทรัพยากรธรรมชาติก็ยังคงมีอยู่ ส่วนวิถชี วี ติ และวัฒนธรรมทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของบ้านวังน�ำ้ มอกเปลีย่ นแปลงไปในทางทีด่ ขี นึ้ นัน่ คือ ชาวบ้านและลูกหลานคนรุน่ ใหม่สามารถบอกเล่าเรือ่ งราวของหมูบ่ า้ นลงลึกในรายละเอียด ได้มากขึน้ คนภายนอกรูจ้ กั เราผ่านวัฒนธรรมของเรามากขึน้ การเปลีย่ นแปลงทีเ่ ห็นได้ชดั เจน คือ เกิดการเริ่มต้นใหม่ในชุมชน
226
ปรับศักยภาพ เข้ากับทุน ในพื้นที่
เชื่อมั่น และภาคภูมิใจ ในตัวเอง
ปรับตัว แต่ไม่เสีย จุดยืน
กล้าทำ� สิ่งที่แตกต่าง
เคล็ดลับความสำ�เร็จ บ้านวังน�้ำมอก จ.หนองคาย
พัฒนา บรรจุภัณฑ์ สวยงาม มีคุณค่า
ให้ข้อมูลที่ชัดเจน
ใช้ทนุ เดิมมาก ความเสีย่ งยิง่ น้อย
กระจายรายได้ ทั่วถึง
โฮมสเตย์บ้านวังน�้ำมอก
หมู่ที่ 5 ต�ำบลพระพุทธบาท อ�ำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย โทรศัพท์ : 08-6232-5300, 08-3357-7035 Facebook : wangnammok ผู้ประสานงาน : คุณติณณภพ สุพันธะ การเดินทาง : เดินทางตามทางหลวงหมายเลข 211 หนองคาย-เชียงคาน ผ่านอ�ำเภอท่าบ่อและศรีเชียงใหม่ เลี้ยวซ้ายตรงทางเข้าบ้านลุมพินีและน�้ำตกวังน�้ำมอก ระหว่างกิโลเมตรที่ 63-64 ก่อนถึงวัดหินหมากเป้ง 200 เมตร จากปากทางเข้าไปอีก 6 กิโลเมตร เลี้ยวขวาตรงสถานีอนามัยห้วยไฮ วิ่งไปอีก 3 กิโลเมตร ผ่านศูนย์พฒ ั นาลุม่ นำ�้ ทอน ผ่านโรงเรียนบ้านวังนำ�้ มอก ข้ามสะพาน สังเกตซ้ายมือจะเป็นทีต่ งั้ ของศูนย์บริการ นักท่องเที่ยว
/
บ้านคีรีวง
จ.นครศรีธรรมราช สวนสมรม การไม่ยอมแพ้ และการสร้างมูลค่าเพิ่ม
/
หมูบ่ า้ นคีรวี ง เป็นชุมชนเก่าแก่อายุกว่า 200 ปี ตัง้ อยูต่ รงบริเวณเชิงเขาหลวง ต�ำบลก�ำโลน มีเนื้อที่ราว 8,173 ไร่ ชาวบ้านใช้ชวี ติ อย่างสงบมีสงั คมแบบเครือญาติ อาชีพหลักคือ การท�ำสวน ผลไม้ผสม ที่เรียกว่า “สวนสมรม” เช่น มังคุด เงาะ ทุเรียน สะตอ ชาวบ้านคีรวี งใช้ชวี ติ ชาวสวนอย่างเรียบง่ายมาช้านานจนกระทัง่ เมือ่ วันที่ 21 พฤศจิกายน 2531 (ปีเดียวกับเหตุการณ์ที่แหลมตะลุมพุก อ�ำเภอปากพนัง) เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ หมู่บ้าน ถูกน�ำ้ พัดหายไปนับร้อยหลัง ซึง่ ทางวัดและชาวคีรวี งได้รกั ษาพระอุโบสถและบ้านเรือนทีป่ ระสบภัย ไว้เป็นอนุสรณ์สถาน อุทกภัยในครั้งนั้นคร่าชีวิตและทรัพย์สินของชาวคีรีวงเสียหายจ�ำนวนมาก การพัฒนาในช่วงเวลานัน้ จึงเป็นการพัฒนาและ ช่วยเหลือชาวคีรวี งทีป่ ระสบอุทกภัยเป็นหลัก และ ได้มหี น่วยงานเข้ามาให้ความช่วยเหลือช่วยสร้างกลุม่ อาชีพแก่ชมุ ชน ภัยธรรมชาติครัง้ นีไ้ ด้เปลีย่ น หมู่บ้านนี้ไปอย่างตลอดกาล เพราะนำ�ไปสู่การตั้งคำ�ถามถึงวิถีชีวิต การประกอบ
อาชีพและความอยู่รอดของคนรุ่นต่อไปในอนาคต
I เปลี่ยนความคิดชีวิตก็เปลี่ยน I หลังจากเกิดเหตุการณ์ภัยธรรมชาติร้ายแรง ชายหนุ่มคนหนึ่งที่ชื่อ สนธยา ช�ำนะ ในวัย ่ องเขามีท ี่ 30 ต้นขณะนั้น ได้ตั้งค�ำถามถึงวิถชี วี ติ การเป็นชาวสวน เกิดความสงสัยว่าปูข
หนึ่งร้อยไร่แต่ก็ยังมีฐานะยากจน มาถึงรุ่นของพ่อแบ่งกับพี่น้องแล้วเหลือ คนละห้าสิบไร่ ก็ยังยากจนอยู่ และเมื่อมาถึงรุ่นเขา แบ่งกับพี่น้องแล้วเหลือ คนละสิบกว่าไร่ ถ้าในรุ่นลูกของเขาแล้วจะเหลืออะไรกิน ชุมชนภาคเกษตร ไม่เคยตระหนักถึงความยากไร้ในบั้นปลาย เมื่อหมดที่ดินที่จะแบ่งปัน ดังนั้น ระบบการทำ�มาหากินที่ขึ้นอยู่กับพื้นที่เช่นนี้ จึงไม่ใช่ทางเลือกที่ดีที่สุด
230
แล้วทางเลือกนั้นคืออะไร แล้วเขาก็ค้นพบค�ำตอบ ซึ่งนั่นก็คือ การสร้างทรัพย์สินที่แบ่งปันไม่หมดสิ้นขึ้นให้ได้ ทรัพย์สินนี้จ�ำเป็นต้องมี “ยี่ห้อ” หรือ “ตราเฉพาะ” ที่สามารถแสดงความเป็นเจ้าของได้โดยถูกต้องตามกฎหมาย นอกจากจะมี “ตรา” แล้ว ต้องมี “ชื่อ” ที่สามารถเรียกขานอย่างเป็นเอกลักษณ์ ขายได้อย่างไม่มีวันสิ้นสุด โดยผลิตจากของที่มีทุน อยู่แล้วในธรรมชาติโดยไม่ต้องไปหาซื้อมา แล้วอะไรล่ะคือทรัพยากรที่มีอยู่แล้ว? ในบรรดาผลิตผลทางการเกษตรของคีรวี งนัน้ มังคุด ได้ชอื่ ว่าเป็นของขึน้ ชือ่ มากทีส่ ดุ ถึงขนาด กล่าวขานกันว่า มังคุดคีรีวง อร่อยที่สุดในประเทศ
231
232
แม้มงั คุดคีรวี งจะไม่มปี ญ ั หาเรือ่ งการตลาด แต่กใ็ ช่วา่ จะให้ผลผลิตตลอดทัง้ ปี ประกอบกับ มีเปลือกมังคุดเหลือทิง้ จ�ำนวนมาก ปีไหนทีร่ าคามังคุดตกต�ำ ่ มังคุดจะถูกทิง้ อย่างไร้ประโยชน์ ดังนัน้ การน�ำเปลือกผลไม้ชนิดนี้มาแปรรูปเพิ่มมูลค่าเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ จึงเป็นหนึ่งในทางเลือกที่ดี ในการสร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้คนในชุมชน เพราะไม่ตอ้ งลงทุนอะไรเพิม่ และไม่มคี วามเสีย่ ง ใดๆ ทั้งสิ้น เปลือกมังคุดที่แทบจะได้มาฟรี จึงเป็นทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด แล้วจะเอาเปลือกมังคุดมาท�ำอะไรดีล่ะ? สนธยาเริ่มมองหาทางออกที่ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ชาวบ้านทั่วไปรู้กันอยู่แล้ว โดยเขามอง เห็นว่าคุณสมบัตใิ นการเป็นสมุนไพรแก้โรคนานัปการ โดยเฉพาะการช่วยกระชับรูขมุ ขน ปรับสภาพ ผิวให้เนียนกระชับขึน้ เป็นคุณสมบัตทิ เี่ หมาะอย่างยิง่ แก่การน�ำมาใช้เป็นวัตถุดบิ ในการผลิตเครือ่ ง ส�ำอาง เขาจึงค่อยๆ พัฒนาสูตรต่างๆ จนค้นพบผลลัพธ์ที่น่ามหัศจรรย์ และสามารถผลิตเป็นสบู่ ได้ตั้งแต่ปี 2537 จากนั้นเขาลงมือหาความรู้เพิ่มเติม ด้วยการเข้าเรียนสาขาการแพทย์แผนไทย จนได้รับใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะแผนโบราณสาขาเภสัชกรรม เพื่อพัฒนาสบู่เปลือกมังคุด ให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น เมื่อได้โครงสร้างสูตรการท�ำสบู่ แต่ไม่สามารถหาเครื่องจักรมาผลิตได้เพราะ ไม่มีใครท�ำขายในรูปแบบที่เขาต้องการ สนธยาจึงได้คิดออกแบบ เครื่องจักรต้นแบบ จนสามารถ ผลิตสบู่มังคุดได้ส�ำเร็จ ทว่าปัญหาส�ำคัญทีส่ ดุ ไม่ได้อยูท่ กี่ ารผลิต แต่อยูท่ วี่ า่ จะไปขายใคร ราคาเท่าไร จะท�ำการ ตลาดอย่างไร จะท�ำบรรจุภณ ั ฑ์รปู แบบไหนจึงจะสวยงาม และเมือ่ ประสบความส�ำเร็จแล้วจะ ป้องกันคนอืน่ มาลอกเลียนแบบได้อย่างไร เพราะใครๆ ก็มสี ทิ ธิผ์ ลิตสบูเ่ ปลือกมังคุดได้ทงั้ นัน้ ต่อให้ไม่มีเปลือกมังคุดก็สามารถไปหาซื้อมาได้
ทางออกก็คอื สินค้าสบูม่ งั คุดต้องมี “ตรา” หรือ “แบรนด์” ทีเ่ ป็นทีร่ จู้ ก ั เป็นเอกลักษณ์ และสามารถแสดงความเป็นเจ้าของได้โดยถูกต้องตาม กฎหมาย และสามารถสร้างทรัพย์สินทิ้งไว้ให้ลูกหลานได้แบบไม่มีวันหมด
233
หลังจากลองผิดลองถูกนับครั้งไม่ถ้วน จนสินค้ามีเอกลักษณ์ชัดเจนและใช้ได้ผลดีจริง ไม่นานนักสบูเ่ ปลือกมังคุดก็เริม่ ได้รบั ความนิยมโดยเฉพาะทีป่ ระเทศญีป่ นุ่ จนท�ำให้ “มิสเตอร์มงั คุด” อย่างสนธยาและกลุ่มบ้านสมุนไพรคีรีวงประสบความส�ำเร็จในทางธุรกิจอย่างดีเยี่ยม จากที่เริ่มก่อตัง้ กลุม่ ในปี 2542 โดยบุคคลเพียงคนเดียว มาสูส่ มาชิกรายครอบครัว ปัจจุบนั บ้านสมุนไพรคีรวี ง นอกจากจะสร้างทัง้ แรงบันดาลใจให้คนในหมูบ่ า้ นด้วยกันเองแล้วยังช่วยฝึกสอน และสร้างความรู้ให้กับผู้ที่ต้องการมีผลิตภัณฑ์เป็นของตนเอง จนเกิดสินค้าและกลุ่มหัตถกรรม วิชาชีพทีม่ เี อกลักษณ์ตามมาอีกหลายกลุม่ เช่น กลุม่ ใบไม้ ท�ำผ้ามัดย้อม กลุม่ ลายเทียน ท�ำผ้าบาติก และกลุ่มลูกไม้ ท�ำเครื่องประดับจากลูกสวาด กลุ่มต่างๆ เหล่านี้ล้วนเป็นองค์ประกอบส�ำคัญที่ ท�ำให้การท่องเทีย่ วเพือ่ ชุมชนและโฮมสเตย์ในหมูบ่ า้ นคีรวี งครบสมบูรณ์ทงั้ สีด่ า้ น อันประกอบด้วย วิถีชีวิตที่แท้จริงกิจกรรมส�ำหรับนักท่องเที่ยว ผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์ และที่บ้านพักโฮมสเตย์ 237
I โฮมสเตย์ในคีรีวง I นอกจากผลิตภัณฑ์เลือ่ งชือ่ ทีพ่ กั แบบโฮมสเตย์ในคีรวี งก็มคี วามโดดเด่นไม่แพ้กนั เนือ่ งจาก สภาพภูมิประเทศที่มีความหลากหลายทั้งในชุมชน หมู่บ้านในสวนมะพร้าว ริมล�ำธาร ริมน�้ำตก หรือแม้แต่บนภูเขาท�ำให้โฮมสเตย์ของที่นี่มีความน่าสนใจ เพราะบ้านแทบทุกหลังที่ถูกน�ำมาเป็น โฮมสเตย์จะเป็นบ้านที่มีพื้นที่เหลือจากการใช้งานของครอบครัว บางหลังเป็นบ้านปลูกใหม่ที่ เจ้าของตั้งใจว่าจะอยู่เองแต่ไม่ค่อยได้ใช้งาน บ้านโดยเฉพาะหลังที่อยู่ในชุมชนจะสะอาดสะอ้าน และได้รับการดูแลรักษาเป็นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น บ้านของ นิภา แก้วประคอง หรือ อาจารย์ภาเป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ทีโ่ รงเรียนโสตศึกษา บ้านหลังนีเ้ ป็นบ้านไม้สร้างใหม่มสี องชัน้ ใต้ถนุ สูง ห้องนอนตัง้ อยูช่ นั้ บน สองห้อง และมีห้องน�้ำหนึ่งห้อง สาเหตุที่ท�ำโฮมสเตย์เพราะเมื่อบอกใครต่อใครว่าบ้านอยู่คีรีวงมักมีเพื่อน มาขอเที่ยวด้วยเสมอ แต่บ้านแม่ของอาจารย์ภาไม่สามารถรับรองเพื่อนได้ เธอจึงสร้างบ้านใหม่ เพื่อต้อนรับเพื่อนๆ และเปิดเป็นโฮมสเตย์ไปพร้อมกัน นี่ไม่ใช่เรื่องใหม่ส�ำหรับครอบครัว เพราะ แม่ของเธอ ซึ่งปัจจุบันอายุ 78 ปี เคยท�ำโฮมสเตย์ในยุคแรกของบ้านคีรีวงเมื่อ 9 ปีที่แล้ว เมื่อครั้ง ที่บ้านสวนยังมีลูกหลานอยู่ด้วย แต่พอเวลาผ่านไป บ้านเริ่มว่างลงไม่มีใครอยู่เนื่องจากลูกหลาน ย้ายไปอยูต่ า่ งจังหวัดและกรุงเทพฯ กันหมด ประกอบกับสุขภาพทรุดโทรมลงจึงเลิกท�ำโฮมสเตย์ไป สมัยนั้นราคาที่พัก 100 บาท และอาหาร 80 บาท ต่อคนเท่านั้นเอง 238
ย่านบ้านพักอาศัยของชุมชนคีรีวงนั้น บ้านแต่ละหลังมีพื้นที่ไม่มากนักบางบริเวณชายคา บ้านแทบจะชิดติดกันคล้ายในเมืองใหญ่ นัน่ ก็เพราะหมูบ่ า้ นคีรวี งมีพนื้ ทีร่ าบน้อยมาก แต่ถนนหนทาง สะอาดสะอ้านเป็นระเบียบ ภายในบ้านแต่ละหลังมีลานทราย ทีถ่ กู กวาดอย่างเรียบร้อย กลุม่ บ้าน จะถูกแซมด้วยร้านน�้ำชาเป็นระยะ ที่นี่ ยังอุดมสมบูรณ์ไปด้วย พืชพรรณ ผลไม้ ยิ่งถ้ามาในฤดูผลไม้จะได้อร่อยกับผลไม้ นานาพันธุ์ ไม่วา่ จะเป็น ทุเรียน มังคุด เงาะ ลองกอง ซึง่ เป็นของดีของคีรวี งตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั บนท้องถนนยังสามารถพบเห็นชาวบ้านเดินจูงวัวชนเขางามไปอาบน�ำ้ กินหญ้า แล้วก็มมี อเตอร์ไซค์ วิบากบรรทุกตะกร้าสองใบใหญ่ส�ำหรับใช้เก็บของป่าบนภูเขาวิ่งสวนไป เป็นอีกหนึ่งสัญลักษณ์ หนึ่งของคีรีวงที่พบจนเจนตา มอเตอร์ไซค์วบิ ากยังสามารถพาขึน้ ไปบนเขาเพือ่ ชมวิวทิวทัศน์และเล่นน�ำ้ ทีน่ ำ�้ ตกสอยดาว ถึงแม้ทางขึ้นจะน่าหวาดเสียวแต่เมื่อขึ้นไปถึงชั้นน�้ำตกก็ท�ำให้ลืมความหวาดเสียวทั้งหมดไปใน ทันที กว่าสามชั่วโมงในการขึ้นลงยอดเขาบนหลังมอเตอร์ไซค์วิบาก มักเป็นโอกาสที่นักท่องเที่ยว ได้สดู อากาศบริสทุ ธิอ์ ย่างเต็มที่ หยุดพักตามจุดชมวิวต่างๆ แวะเก็บผลไม้กนิ สดๆ จากต้น ขณะเดินลง จากน�ำ้ ตกผ่านสวนสมรมอันอุดมสมบูรณ์บนภูเขาทีล่ าดชัน แวะล�ำธารทีม่ วี งั ปลานับพันตัว ได้แวะ คุยกับปราชญ์ชาวบ้านอย่าง พี่ต้อย-สนธยา ช�ำนะ ผู้บุกเบิกกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์มังคุด หมู่บ้าน คีรีวงและผู้น�ำกลุ่มอาชีพเสริมอีกหลายคน นักท่องเที่ยวจ�ำนวนมาก พร้อมครอบครัวทั้งเด็กและ ผู้ใหญ่นอนเกลือกกลิ้งเล่นน�้ำในล�ำธารใต้สะพานเชือกอย่างมีความสุข
241
ที่นี่โฮมสเตย์แต่ละหลังล้วนแต่มีรูปแบบและเสน่ห์แตกต่างกันไป อย่างสิ้นเชิงบางหลัง สร้างขึ้นใหม่อย่างสวยงาม บางหลังเป็นเรือนเก่าอายุกว่า 60 ปี บางหลังตั้งอยู่ในสวนลึก แต่ทว่า มีสว่ นร่วมทีเ่ หมือนกัน คือ ความเชือ่ มัน่ ในคุณค่าในผืนดินตรงนี้ ว่าคือต้นทุนทางธรรมชาติทสี่ ำ� คัญ ที่จะช่วยฟื้นฟูและด�ำรงอยู่ของตัวเองอย่างมีศักดิศรีและให้ความหวังกับคนหนุ่มสาวว่า หากใน วันนี้พวกเขาเลือกที่จะเดินทางกลับบ้าน พวกเขาสามารถเลือกได้ ท�ำได้ อย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดี
244
/
เปิดหน้าต่าง คีรีวงโฮมสเตย์
/
246
ขนิษฐา ยอดผกา I
ชบาแอนด์จอยโฮมสเตย์ I
ขนิษฐา ยอดผกา หรือพี่จอย เป็นคนคีรีวงโดยก�ำเนิด พ่อแม่ท�ำสวนเป็นอาชีพหลัก แต่หลังจากเกิดเหตุอุทกภัยเมื่อ ปี 2531 ก็มีคนเข้ามาเรียนรู้แหล่งท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ ในชุมชนมากมายจนท�ำให้เกิดความต้องการทีพ่ กั ประกอบกับบ้านทีม่ อี ยูแ่ ล้วมีความพร้อมในการ รองรับนักท่องเทีย่ ว จึงเริม่ ต้นเป็นโฮมสเตย์ ส�ำหรับเธอโฮมสเตย์ คือ บ้านพักส�ำหรับคนทีม่ าเทีย่ ว ที่ต้องการบรรยากาศแบบพื้นบ้าน รายล้อมด้วยวิถีชีวิตในชุมชน เป็นบ้านพักหลังเล็กๆ เพียง 2 หลัง รับลูกค้าได้หลังละ 4 - 5คน ชบาแอนด์จอย โฮมสเตย์ มีการท�ำการตลาดบนเฟสบุ๊ก แต่ลูกค้าส่วนใหญ่จะมาจากกลุ่มการท่องเที่ยวในชุมชนที่ส่งต่อมา อีกที แม้จะหลังเล็กๆ จึงอยู่ได้เพราะความเกื้อกูล สนับสนุนกันและกันของชุมชน 247
ส่วนค่าที่พักถ้ามาเป็นกลุ่มนักศึกษาดูงานคิดคนละ 150 บาท ต่อคน ต่อคืน แต่ถ้าเป็น นักท่องเทีย่ วทัว่ ไป แบบครอบครัวไม่เกิน 2 คน คิด 500 บาทต่อคืน ถ้าเกินกว่านัน้ คนที่ 3 คิดค่า ทีพ่ กั คนละ 150 บาท โดยไม่รวมค่าอาหารมือ้ เย็น ในราคา 150 บาท ต่อคน ในแง่การลงทุน เธอไม่ได้คาดหวังเรื่องธุรกิจอย่างเต็มรูปแบบ เพราะมีอาชีพหลักคือ ท�ำสวนสมรม จึงเน้นท�ำโฮมสเตย์เพื่อความสุขทีไ่ ด้ตอ้ นรับนักท่องเทีย่ วและเป็นรายได้เสริมของ ครอบครัว เพือ่ ให้แขกผูท้ มี่ าพักมีความสุข และได้รับประสบการณ์ที่ดีจากบ้านคีรีวง พีจ่ อยมองว่า ธุรกิจโฮมสเตย์ มีความส�ำคัญกับอนาคตของหมูบ่ า้ นคีรวี ง เพราะ...“การมี บ้านพักในชุมชนจะท�ำให้นักท่องเที่ยวสนใจมาดูของดีในหมู่บ้านเรากันมากขึ้น เป็นสิ่งที่เอื้อกัน กับการท่องเที่ยว“
ชบาแอนด์จอยโฮมสเตย์ โทรศัพท์ : 09-0863-2092
249
ธนัญญา เพชรวงศ์ I
เพชรคีรีโฮมสเตย์ I
เพชรคีรีโฮมสเตย์ เป็นโฮมสเตย์แนวบ้านสวนที่ห้อมล้อมด้วยสวนผลไม้ ที่เจ้าของบ้าน ลงมือปรุงอาหารให้ผู้มาพักด้วยตัวเอง บรรยากาศจึงอบอวลด้วยความอบอุ่น เสน่หข์ องทีน่ จี่ งึ อยู่ ทีค่ วามอบอุน่ ของทีพ่ กั มีคณ ุ แม่กบั น้องสาวเป็นคนท�ำกับข้าว ทีน่ ี่ มีบา้ นไม้สองชัน้ อยู่ 2 หลัง ชัน้ ล่างเป็นห้องรวม นอนได้ไม่เกิน 15 คน ชัน้ บนมี 2 ห้อง นอน และมีลานด้านนอกนอนได้ไม่เกิน 6 คน หนึ่งหลังรับได้ไม่เกิน 25 คน โดยทุกหลังมีสัญญาณ อินเตอร์เน็ต wifi บริการอย่างเพียบพร้อมราคาทีพ่ กั คนละ 200 บาท และค่าอาหารหนึง่ มือ้ 150 บาท รวมเป็น 350 บาท เมนูหลักมีอาหารจานเด็ดของคีรีวงหลากหลายอย่าง เช่น แกงส้ม ปลาทอด ผักเหลียงผัดไข่ ผักกูดราดกะทิ น�ำ้ พริก ซึ่งทั้งหมดเป็นเมนูอาหารพื้นบ้านตามฤดูกาล ส�ำหรับเจ้าบ้านเพชรคีรแี ล้วความหมายของโฮมสเตย์คอื “การท�ำตัวสบายๆ เหมือนกลับมา เยี่ยมญาติ นี่คือปณิธานและนิยามที่ตัวเองตั้งไว้ว่าอยากท�ำให้บรรยากาศของที่นี่เป็นแบบนั้น” 251
คุณธนัญญาเคยมีประสบการณ์ในการต้อนรับแขกที่ไม่เข้าใจที่พักแบบโฮมสเตย์จึงมี ความคาดหวังด้านความสะดวกสบายแบบโรงแรม เมื่อมาถึงที่พักจึงไม่ตรงกับสิ่งที่คุ้นเคย เพราะ สิง่ ทีโ่ ฮมสเตย์มอบให้ลกู ค้าคือ ประสบการณ์ในการเรียนรูว้ ฒ ั นธรรมทีแ่ ตกต่างมากกว่าขายความ สะดวกสบาย เธอยังเล่าประสบการณ์ในการใช้ชีวิตในกรุงเทพฯ โดยเปรียบเทียบให้ฟังว่า จากที่เคย ดิ้นรนอยู่ในกรุงเทพ ในวันนี้ที่ได้กลับมาอยู่บ้าน เพชรคีรี ท�ำให้พี่ธนัญญาพึ่งพาตัวเองได้อย่าง จริงจัง “การท�ำโฮมสเตย์ท�ำให้มีรายได้โดยที่เราไม่ต้องออกไปท�ำงานข้างนอก เพราะ 33 ปีที่ ท�ำงานในกรุงเทพฯ เป็นชีวิตที่แข่งขันสูง แต่พอมาท�ำท่องเที่ยวโดยเอาบ้านที่เราอยู่อาศัยมาท�ำ เป็นโฮมสเตย์ สร้างรายได้ดกี ว่าทีเ่ ราท�ำงานข้างนอกเสียอีก พ่อแม่กม็ คี วามสุขด้วยได้เจอหน้าผูค้ น สับเปลี่ยนทุกวัน นี่เป็นประเด็นหลักเลย ท�ำให้แม่พี่แอ็กทีฟตลอดเวลา เพราะเขาต้องท�ำกับข้าว ต้องคอยดูแลแขกที่หมุนเวียนไปในแต่ละวัน” เพชรคีรีโฮมสเตย์
โทรศัพท์ : 08-4433-7843
253
เพชรลดา เปาอินทร์ I
ซือวานโฮมสเตย์ I
ซือวานเป็นบ้านไม้โบราณอายุเก่าแก่กว่า 60 ปี เจ้าของ คือ ลุงพ่วง อนุตโต ชาวสวนผูเ้ ป็น คุณตาของ เพชรลดา เปาอินทร์ หรือ น้องกระแต ซึ่งขณะนั้นในปี 2552 เพิ่งเรียนจบด้านการ ประชาสัมพันธ์มาใหม่ๆ แต่ต้องกลับมาช่วยคุณแม่ดูแลคุณตาวัย 95 ปี และคุณยายวัย 88 ปีที่ เริ่มเจ็บออดๆ แอดๆ ต่อมาเมื่อทั้งสองท่านเสียชีวิตลงและบ้านไม่ได้ใช้งานอย่างเต็มประโยชน์ คุณแม่และน้องกระแตจึงเปลี่ยนบ้านเก่าหลังนี้เป็นโฮมสเตย์ จุดขายของซือวานโฮมสเตย์ คือประสบการณ์การ “นอนในบ้านเก่า” ใครที่ชอบของเก่า ของโบราณสามารถมาซึมซับอีกบรรยากาศทีแ่ ตกต่างจากในเมืองใหญ่บา้ นไม้หลังน้อยนี้ เป็นบ้าน ใต้ถุนสูง เจ้าของนอนชั้นล่างในขณะที่แขกจะพักห้องนอนด้านบน เมื่อเดินขึ้นบันไดไปแล้วจะมี ระเบียงขนาดเล็ก ก่อนเข้าห้องโถงโล่งด้านในทีม่ เี ตียงใหญ่เป็นประธานอยูต่ รงกลาง ถัดไปด้านใน มีห้องนอนเล็กอีกห้องที่ใช้การปูฟูกนอนกับพื้นไม้เก่าเป็นมัน ท�ำให้ได้บรรยากาศการพักผ่อนที่ เรียบง่ายและมีเสน่ห์อันอบอุ่นเหมือนได้กลับไปนอนบ้านคุณตาคุณยายสมัยยังเป็นเด็ก 255
บ้านหลังแรกของ ซือวานโฮมสเตย์รองรับผูเ้ ข้าพักได้ประมาณ 4-5 คน ค่าทีพ่ กั 200 บาท ต่อคน ส่วนอาหารเย็น คิด 150 บาทต่อคน เมนูหลักของอาหารปักษ์ใต้ เช่นแกงส้ม ย�ำผักกูด น�้ำพริก ผัดสะตอ บ้านหลังทีส่ อง เป็นบ้านชัน้ เดียว เหมาะส�ำหรับครอบครัว โดยเฉพาะถ้ามีเด็กเล็ก อัตรา ค่าเข้าพักเดียวกัน ที่นี่มีวิธีการท�ำการตลาดผ่านทั้งทางอินสตาแกรมและเฟซบุ๊กแฟนเพจ โดย ลูกค้าส่วนใหญ่ได้มาจากการบอกต่อของแขกที่เคยมาพัก แม้ซือวานโฮมสเตย์จะมีรายได้ต่อเดือนอยู่ในหลักหมื่น แต่ถือว่าคุ้มค่ามากถ้าเทียบกับ การไปท�ำงานในเมืองที่มีค่าใช้จ่ายอื่นๆ อีกจิปาถะ ที่ส�ำคัญก็คือ การได้อยู่บ้านท�ำให้ได้ใช้เวลา อย่างคุม้ ค่าและใช้ชวี ติ ในแบบทีเ่ ราเลือกได้เอง มีอสิ รภาพทางเวลาทีเ่ ราก�ำหนดได้เอง ได้ใช้เวลากับ คนทีเ่ รารัก และไม่ว่าจะผ่านไปนานแค่ไหน บ้านก็จะยังเป็นสถานที่ที่จะรอเรากลับไปเสมอ ซือวาน โฮมสเตย์
โทรศัพท์ : 09-6428-8988
257
จิรวรรณ ผสารพจน์ I
บ้านพี่จึ่งโฮมสเตย์ I
บ้านพีจ่ งึ่ โฮมสเตย์ เป็นโฮมสเตย์หลังเดียวในคีรวี งทีเ่ ป็นบ้านคอนกรีตขนาดใหญ่ ในขณะที่ บ้านหลังอืน่ ๆ เป็นบ้านไม้ขนาดเล็กเกือบทัง้ หมด รวมถึงต�ำแหน่งทีต่ งั้ ก็อยูใ่ นบริเวณใจกลางชุมชน ในย่านร้านค้าและอยู่กับติดวัด เอกลักษณ์ของที่นี่คือ คุณแม่สนิท ผู้เป็นเจ้าของบ้านท�ำกับข้าวเมนูพื้นบ้านได้อร่อย แบบสุดๆ และเนือ่ งจากเป็นบ้านสมัยใหม่จงึ มีจดุ เด่นเน้นทีค่ วามสะอาด เรียบร้อย กว้างขวาง แต่ก็ มีบริการที่เป็นกันเองกับแขก โดยเจ้าของบ้านจะดูแลความปลอดภัยและคอยแนะน�ำสถานที่ ท่องเที่ยวให้กับลูกค้า ตั้งแต่ควรไปเที่ยวตรงจุดไหน จะถ่ายรูปที่ไหนดี จะรับประทานอะไร จะขี่ จักรยานเส้นทางไหนดี รวมถึงแนะน�ำกลุ่มอาชีพต่างๆ ที่น่าไปเยี่ยมชมด้วย 259
จุดเด่นทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือ ทีน่ เี่ ป็นบ้านทีม่ แี ต่ผหู้ ญิง จึงเลือกรับเฉพาะลูกทัวร์ทเี่ ป็นผูห้ ญิง เท่านัน้ หรือกลุม่ นักท่องเทีย่ วทีม่ าเป็นครอบครัว นีเ่ ป็นเสน่หอ์ กี อย่างหนึง่ ในการท�ำธุรกิจโฮมสเตย์ ซึ่งเจ้าบ้านสามารถออกแบบกฎระเบียบหรือการรับลูกค้าที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของเจ้าบ้านได้ ท�ำให้โฮมสเตย์เป็นธุรกิจที่พักที่มีความหลากหลายทั้งด้านกายภาพ เช่น รูปร่างหน้าตาของบ้าน และวิธีการบริการลูกค้า บ้านพี่จึ่งโฮมสเตย์
โทรศัพท์ : 08-2429-8796
261
/ รู้จักกลุ่มอาชีพประจำ�ท้องถิ่น / ไม่เพียงแต่โฮมสเตย์เท่านัน้ หมูบ่ า้ นคีรวี งแห่งนีย้ งั มีกลุม่ อาชีพประจำ�ท้องถิน่ ซึ่งเป็นอีกหนึ่งเสน่ห์ที่อยู่เคียงคู่กับหมู่บ้าน และสะท้อนถึงวิถีชีวิต แห่งความยั่งยืนได้เป็นอย่างดี
กลุ่มลูกไม้ ทำ�เครื่องประดับจากลูกสวาด
I ไพโรจน์ เนาสุวรรณ I ผู้ก่อตั้ง
จุดเริม่ ต้นของกลุม่ ลูกไม้เกิดจากความบังเอิญก็วา่ ได้ เมือ่ ไพโรจน์ เนาสุวรรณ ผูก้ อ่ ตัง้ กลุม่ มีเพื่อนมาเที่ยวที่บ้าน เขาต้องการมอบของที่ระลึกเล็กๆ น้อยๆ ให้ แต่กลับไม่มีเงินซื้อของฝาก เหล่านัน้ ไอเดียผุดขึน้ โดยบังเอิญ เมือ่ เขาแปรรูปบรรดาพวงกุญแจของคุณแม่ทไี่ ด้จากการไปงานบวช งานแต่งงานน�ำมาแกะออกและประดิษฐ์ใหม่ โดยใส่เมล็ดพันธุพ์ ชื ทีห่ าได้ในชุมชนเข้าไปแทนกลายเป็น พวงกุญแจของทีร่ ะลึกจากเศษวัสดุเหลือใช้ในชุมชนจนได้รบั ค�ำชมว่าทัง้ สวยและสร้างสรรค์ จากนัน้ เขาจึงน�ำไอเดียพวงกุญแจกลูกไม้นี้ไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ และเข้าประกวดผลิตภัณฑ์โอทอปในปี 2547 จนได้รางวัลระดับโอทอป 4 ดาว สินค้าขายดีของกลุ่มลูกไม้ ได้แก่ เครื่องประดับจากลูกสวาด ที่ถูกแปรรูปเป็นสร้อยคอ สร้อยข้อมือ พวงกุญแจ รวมไปถึงตาข่ายดักฝัน (Dream Catcher) สไตล์อินเดียนแดง อีกทั้งตาม ความเชือ่ ของคนสมัยก่อน ทีห่ ากใครพกลูกสวาดติดตัวแล้วจะมีเสน่หเ์ มตตามหานิยม ท�ำมาค้าขายดี เป็นสิริมงคลกับตัวเอง กลายเป็นเรื่องราวที่เสริมมูลค่าให้สินค้าขายดียิ่งขึ้น
กลุ่มลายเทียนทำ�ผ้าบาติก I ทิมาทร ชัยบุญ I ประธานกลุ่ม กลุม่ ลายเทียนก่อตัง้ ขึน้ ในปี 2545 โดยเกิดจากแนวคิดในการพัฒนาศักยภาพของเยาวชน ในชุมชน รวมไปถึงการสนับสนุนของผู้ใหญ่ที่อยากให้เกิดงานรูปแบบใหม่ๆ ด้วยผืนผ้าใบและ ปลายพู่กันสร้างรายได้เสริมให้กับเยาวชนในหมู่บ้าน ถ่ายทอดผ่านงานศิลปะ คือการท�ำผ้าบาติก โดยใช้สีธรรมชาติมาเป็นแม่สี ซึ่งสีธรรมชาตินั้นท�ำมาจากวัตถุดิบในท้องถิ่นทั้งสิ้น ปัจจุบนั มีสมาชิก 15 คน สร้างสรรค์ผา้ บาติกวางจ�ำหน่ายทีศ่ นู ย์จำ� หน่ายผลิตภัณฑ์ในชุมชน มีผลิตภัณฑ์ทั้ง ผ้าพันคอ หมวก ปลอกหมอนข้าง เสื้อเชิ้ตผู้ชาย เสื้อผู้หญิง กระเป๋าสตางค์ และ มีวางจ�ำหน่ายทีส่ นามบินนครศรีธรรมราช สนามบินสุราษฏร์ธานี ตลาดนัดจตุจกั ร รวมทัง้ ส่งออก ไปยังประเทศญี่ปุ่น และออสเตรเลีย
265
กลุ่มใบไม้ ทำ�ผ้ามัดย้อม I อุไร ด้วงเงิน I ประธานกลุ่ม จากแนวคิดว่าต้องการท�ำอาชีพเสริมทีย่ งั่ ยืน ประกอบกับความชอบด้านงานตัดเย็บ และ มองเห็นทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนที่เป็นต้นทุนอันมีค่า พี่อุไรมองว่า มังคุดเป็นผลไม้หลักของ หมู่บ้านที่มีเป็นจ�ำนวนมากจึงท�ำการทดลองย้อมสีธรรมชาติจากเปลือกมังคุด และได้ผลลัพธ์ท ี่ น่าพอใจ น�ำไปสู่การต่อยอดพัฒนาเฉดสีจากธรรมชาติมากกว่า 20 เฉดสี โดยมีมังคุดเป็นตัวหลัก ตามด้วยฝักสะตอ เปลือกลูกเนียง ของเหลือใช้จากสวนท�ำการมัดย้อมแล้วแปรรูปเป็นกระเป๋า เสื้อ กางเกง หมวก จากนั้นก่อตั้งกลุ่มขึ้นมาในนาม “กลุ่มใบไม้” มีการท�ำการตลาดและ ประชาสัมพันธ์โดยการออกงานแฟร์ต่างๆ รวมไปถึงวางขายในช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว
266
เกษตรเชิงพื้นที่ ไม่ใช่ทางเลือก ที่ดีที่สุด
สร้างแบรนดิ้ง เฉพาะตน
เปิดกว้าง ทำ�ให้สร้างสรรค์ หลากหลาย
เคล็ดลับความสำ�เร็จ บ้านคีรีวง
ร่วมคิด ร่วมจัดการ ทิศทางเดียวกัน
จ.นครศรีธรรมราช
ทำ�อย่างเชื่อมั่น ผลลัพธ์ชัดเจน
ชุมชนมีส่วนร่วม
บ้านคีรีวงโฮมสเตย์
โทรศัพท์ : 08-6788-8718 ผู้ประสานงาน : คุณวารุณี ค�ำศรี การเดินทาง : เดินทางโดยรถยนต์จากอ�ำเภอเมือง ตามทางหลวงหมายเลข 4016 จากนัน้ เลีย้ วซ้ายเข้าสูท่ างหลวงหมายเลข 4015 บริเวณกิโลเมตรที่ 9 เลี้ยวขวาเข้าหมู่บ้านคีรีวง เข้าไป 9 กิโลเมตร หรือขึ้นรถสองแถวจากตลาดยาว ในอ�ำเภอเมือง มีรถออก ตั้งแต่เวลา 07.00-16.00 น. ราคา 20 บาท
267
/
บ้านน�้ำเชี่ยว จ.ตราด
ชุมชน 2 ศาสนา ทีส่ ายน�ำ้ เชีย่ วกล้า มิอาจต้านนาวาแห่งความมุง่ มัน่
/
Homemadestay Small is beautiful
- 269 -
ในทุกสังคมและทุกชีวติ ย่อมต้องมีชว่ งเวลาทีเ่ ผชิญกับความท้าทายจากการเปลีย่ นแปลง บางครัง้ การเปลีย่ นแปลงนัน้ อาจส่งผลแค่ในระดับบุคคล แต่บางครัง้ เดิมพันอาจส�ำคัญถึงระดับการ อยู่รอดของสังคมหรือประเทศชาติ ความท้าทายอยู่ที่คุณจะลงมือเปลี่ยนชีวิตของคุณเองในแบบที่คุณต้องการหรือคุณจะ รอให้ถูกบังคับให้เปลี่ยนในแบบที่คนอื่นต้องการ ในจังหวัดตราดมีชุมชนเก่าแก่อยู่หลายแห่ง บ้านน�้ำเชี่ยว อ�ำเภอแหลมงอบ คือหนึ่งใน ชุมชนที่ได้ผ่านความท้าทายจากการเปลี่ยนแปลงมาหลายครั้ง และพวกเขาได้แสดงให้เห็นว่า การเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่เพื่ออนาคตและชีวิตที่ดีขึ้นของคนทั้งชุมชนนั้น เกิดขึ้นได้จริง โดย สามารถเริ่มต้นแม้จากสิ่งที่เต็มไปด้วยข้อจ�ำกัดและอุปสรรคมากมาย
270
บ้านน�ำ้ เชีย่ วเป็นชุมชนชาวประมงพืน้ บ้านเก่าแก่ตงั้ แต่สมัยกรุงศรีอยุธยาพืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่ อยู่ติดทะเล มีป่าชายเลนอุดมสมบูรณ์ มีคลองขนาดใหญ่เมื่อถึงฤดูน�้ำหลาก น�้ำในคลองจะไหล เชี่ยวมาก ชาวบ้านจึงเรียกว่า “คลองน�้ำเชี่ยว” ซึ่งไหลผ่านกลางหมู่บ้านลงสู่ทะเลอ่าวไทยที่บ้าน ปากคลอง อ�ำเภอเมืองตราด ชาวบ้านใช้ลำ� คลองนีเ้ ป็นแหล่งประมงพืน้ บ้านและใช้เป็นเส้นทางออก ทะเลเพื่อท�ำการประมงจนถึงปัจจุบัน เดิมทีประชากรส่วนใหญ่ของต�ำบลน�ำ้ เชีย่ วเป็นคนไทยนับถือศาสนาพุทธ ต่อมามีพอ่ ค้า ชาวจีนล่องเรือส�ำเภามาค้าขายที่ท่าเรือบ้านน�้ำเชี่ยวและได้ตั้งรกรากอยู่ที่นี่ จึงท�ำให้ชาวน�้ำเชี่ยว ส่วนหนึ่งเป็นคนไทยเชื้อสายจีน และในสมัยรัชกาลที่ 3 เกิดศึกระหว่างสยาม กับญวนใน แผ่นดิน เขมร “แขกจาม” หรือ “จ�ำปา” ที่เป็นชาวมุสลิม จึงได้ถูกกวาดต้อนเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่ริม คลองน�้ำเชี่ยว จนมีจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และ พี่น้องทั้งสองศาสนาอาศัยอยู่ร่วมกันในต�ำบล น�้ำเชี่ยวอย่างสันติสุขด้วยความสัมพันธ์อันดีตลอดมานับร้อยปี ปัจจุบันบ้านน�้ำเชี่ยวเฉพาะใน บริเวณหมู่บ้านมีพื้นที่ 14.5 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ป่าชายเลนมีขนาด 2,338 ไร่ มีประชากร ประมาณ 3,500 คน ในพันกว่าครัวเรือนชาวพุทธมักมีอาชีพท�ำสวนผลไม้ หรือสวนยาง ส่วนชาว มุสลิมก็ท�ำอาชีพประมงพื้นบ้าน โดยออกเรือหาปลาในคลองไปจนถึงอ่าวไทย 271
I จุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลง I ย้อนไปก่อนหน้านี้ การท�ำลายป่า ตัดไม้เผาถ่านและน�ำมาสร้างบ้านอย่างต่อเนื่อง มาเป็นเวลาหลายสิบปีทำ� ให้พนื้ ทีป่ า่ ชายเลนบริเวณปากอ่าวไทยมีความเสือ่ มโทรมเป็นอย่างมาก ในช่วงต้นปี 2549 จึงเกิดการจัดตั้งแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ต�ำบลน�้ำเชี่ยว เพื่อรักษาป่าชาย เลนให้สมบูรณ์ขึ้น เป็นการเปลี่ยนแปลงก้าวแรกที่ชาวชุมชนบ้านน�้ำเชี่ยวร่วมมือร่วมใจกันท�ำขึน้ โดยเริม่ จากการหยุดอาชีพเผาถ่าน หยุดตัดต้นไม้ทำ� ลายป่าชายเลน และส่งเสริมการขยายพันธุส์ ัตว์นำ�้ จนเวลาผ่านไปเกือบห้าปี ธรรมชาติกค็ อ่ ยๆ ย้อนคืนฟืน้ ฟูตวั เอง เริม่ มีนกั ท่องเทีย่ วทยอย เดินทางมาชื่นชมความงามของธรรมชาติ ซึ่งในช่วงแรกพวกเขาสามารถชื่นชมได้เพียงธรรมชาติ เท่านั้น เพราะเมื่อเข้ามาในเขตชุมชน กลับได้พบกับล�ำคลองสกปรกมีกลิ่นเน่าเหม็น และเต็มไป ด้วยขยะลอยเต็มคลอง โดยเฉพาะโฟมทีม่ ลี อยอยูเ่ กลือ่ นแทบทุกหนแห่ง ท�ำให้นกั ท่องเทีย่ วล้วนส่าย หน้า บ้านน�้ำเชี่ยวในเวลานั้นไม่มีใครต้องการมาเที่ยวเลย
273
I ล่องน�้ำเชี่ยว เคี้ยวคด กลางใจคน I ทีบ่ า้ นพักโฮมสเตย์ ของคุณ วราภรณ์ ถนอมวงษ์ ซึ่งเป็นบ้านไม้สองชั้นที่บานประตูไม้ ด้านหน้าแกะสลักอย่างสวยงาม คุณวราภรณ์ในวัย 50 ต้น เกิดในตระกูลเก่าแก่ของบ้านน�ำ้ เชีย่ ว ประกอบธุรกิจส่วนตัว และมีบา้ นไม้หลังใหญ่อายุเก่าแก่ราว 50 ปี ทีท่ งิ้ ร้างไม่ได้ใช้งานมานับสิบปี บ้านหลังนีอ้ ยูบ่ ริเวณเชิงสะพานเหล็กข้ามคลองน�ำ้ เชีย่ วทีส่ งู มากเป็นสะพานทีเ่ พิง่ สร้างเสร็จไม่นาน ชาวบ้านแถวนั้นเรียกกันว่า “สะพานวัดใจ” จากบ้านของเธอ สามารถเดินทางไปปากอ่าว เพื่อท�ำกิจกรรมอื่นๆ อีกมากมาย ได้โดย นัง่ เรือกว่า 30 นาที ตลอดระยะทางเรือ นักท่องเทีย่ วจะได้ชนื่ ชม หมูบ่ า้ นชาวประมง ผืนป่าโกงกาง อันอุดมสมบูรณ์ ฝูงลิงแสม ฝูงนก สารพัดชนิด บินโฉบเฉี่ยวไปมา และยังฝูงปลาอีกหลากหลาย พันธุ์ว่ายวนอยู่ในผืนน�้ำ ที่ปากอ่าว ผู้คนกระโดดจากเรือลงน�้ำที่สูงราวอก เพื่องมหอย ผมเองก็เป็นหนึ่งในนั้น ที่พื้นเลนด้านล่าง รู้สึกว่าเหยียบเปลือกหอยมากมาย พอด�ำน�้ำลงไปงมขึ้นมาก็ได้หอยปากเป็ด หอยชนิดนี้ทั้งสด ทั้งกรอบ เหมาะกับการท�ำผัดเผ็ดหรือผัดกะเพราอร่อยมาก ผมงมหอยอยู ่ ไม่นาน รู้ตัวอีกทีเวลาก็เวลาก็ผ่านไปเกือบชั่วโมงแล้ว ลมเย็นสดชื่นพัดมาปะทะหน้าและล�ำตัว พระอาทิตย์คล้อยต�่ำใกล้ลับขอบฟ้า ท้องทะเลเวิ้งกว้างไร้ขอบเขตตอนนี้ยิ่งดูสวยและสงบยิ่งนัก เรือล�ำน้อยเป็นแค่จุดเล็กเล็กในจักรวาลที่กว้างใหญ่ ในแผ่นดินจะมีสักกี่คนที่มีโอกาสสัมผัส ธรรมชาติที่ยิ่งใหญ่งดงามเช่นนี้
274
วิถขี องทีน่ ี่ เมือ่ ราวหนึง่ ทุม่ ชาวบ้านทยอยกันกลับบ้าน เด็กนักเรียนวิง่ เล่นส่งเสียงอึกทึก วัยรุน่ หญิงนัง่ เล่นบนสะพาน ผูเ้ ฒ่านัง่ สนทนากันริมน�ำ ้ เรือล�ำเล็กทยอยแล่นเข้าจอดหน้าบ้านของตน ขณะทีเ่ สียงละหมาดจากมัสยิดอัลกุบรอ ซึง่ เป็นมัสยิดแห่งแรกของภาคตะวันออก มีอายุกว่า 200 ปี ก็ดงั ครอไปทัว่ บริเวณ มือ้ เย็นวันนัน้ ผมได้ลมิ้ ลองปลาทูทอดเหลืองกรอบ น�ำ้ พริกกะปิ ต้มส้มพริกสด ปลาทู ผัดผักกุ้งสด ทุกอย่างใช้วัตถุดิบในพื้นที่และจับสดๆ จากท้องทะเล ช่วงหัวค�ำ่ เรือล�ำน้อยลัดเลาะเงียบเชียบไปตามแนวต้นโกงกาง เพือ่ ชมฝูงกานับพันตัวที่ เกาะนิ่งเห็นเป็นจุดด�ำๆ อยู่ตามกิ่งไม้ แสงหิ่งห้อยเปล่งประกายวิบวับอยู่ตามต้นไม้ นักท่องเที่ยว คงจะรู้และสัมผัสได้เองเหมือน ๆ กันว่า พื้นที่แห่งนี้เต็มไปด้วยความสมบูรณ์ทางธรรมชาติจริงๆ
275
การเปลีย่ นแปลงจะเกิดขึน้ ได้อย่างยัง่ ยืนจริงๆ ก็ตอ่ เมือ่ ชุมชนเปลีย่ นแปลงด้วย และ ถ้าจะมีกิจกรรมใดที่สามารถกระตุ้นให้ชาวบ้านรู้สึกถึงคุณค่าจากการเปลี่ยนแปลงนี้ได้ และ ถ้าสามารถสร้างรายได้เสริมให้กับชุมชนควบคู่ไปด้วยคงจะดีไม่น้อย โครงการ “คลองสวยน�้ำใส เพราะเราร่วมใจ รักษ์คลองน�้ำเชี่ยว” จึงเกิดขึ้นในช่วงปี 2552 ด้วยความร่วมมือของคนในชุมชน มีการจัดตั้งกลุ่มชื่อ “ค คนต้นน�้ำ” เพื่อร่วมกันปฏิบัติ การเก็บขยะ และชาวบ้านยังได้เรียนการท�ำจุลินทรีย์บอล จากหมอเกษตรประจ�ำเทศบาล ประกอบกับการได้รับการสนับสนุนจากองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยว อย่างยัง่ ยืน (อพท.) ท�ำให้ชาวบ้านพร้อมใจกันพายเรือจากชุมชนไปถึงปากคลองเป็นระยะทางกว่า สามกิโลเมตร เพือ่ ทิง้ ลูกบอลบ�ำบัดน�ำ้ เสียและกลิน่ เน่าลงในแม่นำ �้ ท�ำให้แม่นำ�้ ทีเ่ คยเน่าเสียกลับคืน สู่ความสะอาดตามธรรมชาติหลังจากนั้นในปี 2553 สัตว์น�้ำมากมายเริ่มกลับมาเพาะพันธุ์ในที ่ ที่เคยเป็นบ้านของมัน น�้ำใสสะอาดกลับมาอีกครั้ง เมือ่ ธรรมชาติกลับมา และชุมชนสะอาดขึน้ ก็มคี นมาเยือนมากขึน้ พีห่ น่อย-สุรตั นา ภูมมิ าโนช ชาวบ้านในชุมชน เล่าว่า “แต่ก่อนคนที่มาบ้านน�้ำเชี่ยวเขาบอกแค่แวะมาฉี่ ต่อมาเมื่อสะอาดขึ้น เขาก็แวะมาขี้ แต่ตอนนี้เราพร้อมแล้วอยากให้เขาแวะมานอนบ้าง” แนวคิดการท�ำโฮมสเตย์จงึ เริม่ ต้นขึน้ เพราะนีค่ อื ธุรกิจทีต่ อบโจทย์ครบทุกข้อ ตัง้ แต่การสร้าง และกระจายรายได้อย่างยั่งยืนและทั่วถึง เพราะเมื่อคนเข้ามาพักในชุมชนก็จะใช้เวลาอยู่นานขึ้น มีการใช้จ่ายมากขึ้น สามารถสร้างทั้งอาชีพและโอกาสในการเรียนรู้ให้กับชาวบ้านอย่างมากมาย โดยที่ไม่มีความเสี่ยงใดๆ ทั้งสิ้น
276
I กระทบไหล่เหล่าตำ�นานแห่งบ้านน�้ำเชี่ยว I การท�ำโฮมสเตย์ไม่ได้หมายความว่าท�ำแต่ทพี่ กั เท่านัน้ แต่หมูบ่ า้ นโฮมสเตย์ทจี่ ะประสบ ความส�ำเร็จ ไม่เพียงมีแค่ที่พักที่มีเอกลักษณ์ แต่ยังต้องมีองค์ประกอบร่วมอีก 3 อย่าง ตามหลัก ของพิณ 4 สาย (H.A.R.P) ประกอบด้วย บ้าน (Home) , กิจกรรม (Activities) , วิถีชีวิตจริง (Real Life) และผลิตภัณฑ์สินค้า (Product) ก็คือ มีกิจกรรมที่มีคุณค่าให้นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้ วิถีชีวิตจริงจริงที่ยังด�ำรงอยู่ และยังต้องมีผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์จ�ำหน่าย สิง่ เหล่านี้ เมือ่ มาทีบ่ า้ นน�ำ้ เชีย่ ว นักท่องเทีย่ วสามารถออกไปเรียนรูด้ ว้ ยตัวเองได้โดยง่าย โดยการปั่นจักรยานลัดเลาะไปตามริมน�้ำ ระหว่างทางเราผ่านบ้านชาวประมงขนาดเล็กที่มีเรือ ล�ำน้อยจอดข้างล�ำคลองหน้าบ้าน ผ่านป่าโกงกางไปจนถึงบริเวณทุ่งนา เพื่อไปเยี่ยมชมโฮมสเตย์ อีกหลังหนึง่ เจ้าของคือ คุณแต๋ว-วีรวัลย์ นรินทร ซึง่ ได้ทำ� ขนมโบราณ “ข้าวเกรียบยาหน้า” ขนม ชนิดนี้เดิมทีเป็นขนมของชนชาติจามปัจจุบันหลงเหลืออยู่ท่ีบ้านน�้ำเชี่ยวเพียงแห่งเดียวในโลก เท่านั้น 278
ไม่ไกลจากโฮมสเตย์ของคุณแต๋ว ยงั สามารถไปชมการสาน “หมวกใบจาก” หรือทีห่ ลายคน รูจ้ กั กันในนามของ “งอบน�ำ้ เชีย่ ว” จากช่างสานหมวกระดับต�ำนาน คุณป้าสังวร เสณะโกวร วัย 74 ปี ชาวสวนทีใ่ ช้เวลาว่างมาสานงอบ โดยสืบทอดวิชามาจากยายจ่วน ผูเ้ ป็นแม่ ยายจ่วนสังเกตเห็นว่า หมวกแบบเดิมๆ ใส่ไม่ทน โดยเฉพาะกับการใช้งานในเมืองตราดทีม่ ภี มู อิ ากาศแบบฝนแปดแดดสี่ คุณยายมีความคิดว่าถ้าน�ำใบจากทีป่ กติใช้มงุ หลังคาบ้านมาสานเป็นหมวกน่าจะทนทานเป็นทีส่ ดุ ต�ำนานงอบน�้ำเชี่ยวจึงเกิดขึ้น จุดเด่นของงอบน�ำ้ เชีย่ วคือมีความแข็งแรงทนทาน เหมาะส�ำหรับสวมใส่เพือ่ กันแดดกันฝน มีรูปทรงหลากหลาย ทั้งทรงกระทะคว�่ำ (ชาวประมงนิยมใช้) ทรงกะโหลก ทรงยอดแหลม ทรง กระดองเต่า (ชาวนาชาวสวนนิยมใช้) และทรงสมเด็จ ซึ่งออกแบบโดยกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร บ้านน�ำ้ เชีย่ วเพือ่ ทูลเกล้าฯ ถวายแด่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า เมือ่ ครัง้ เสด็จพระราชด�ำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา โดยทรงน�ำหน่วย แพทย์เคลื่อนที่ พอสว. มาตรวจเยี่ยมราษฎรในอ�ำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด ในปี พ.ศ. 2524 เมือ่ กลุม่ แม่บา้ นได้นำ� หมวกใบจากรูปทรงนีข้ นึ้ ทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จย่าได้พระราชทานชือ่ หมวก รูปทรงนี้ว่า “ทรงสมเด็จ” งอบแต่ละใบใช้เวลาสานนานร่วมสัปดาห์ การสานงอบเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับคนน�้ำเชี่ยว มานานกว่า 100 ปี และแน่นอนว่ากลายเป็นของที่ระลึกขึ้นชื่อของที่นี่ และใกล้กันนั้นยังมีแหล่ง ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ที่ส�ำคัญก็คือ วัดน�้ำเชี่ยว หรือวัดอินทาราม ที่รัชกาลที่ 5 เคยเสด็จ มาประทับ 1 คืนใน รศ.130 เมื่อคราวเสด็จประพาสต้นเมืองตราด ปัจจุบนั โฮมสเตย์บา้ นน�ำ้ เชีย่ วมีทงั้ สิน้ 9 หลังด้วยกัน ทัง้ ห้องพัดลมและแอร์ มีทงั้ อยูใ่ น ชุมชน อยูร่ มิ น�ำ ้ ในทุง่ นา แม้กระทัง่ อยูใ่ นบรรยากาศเงียบสงบร่มรืน่ ของชายป่าเลน
279
I ก้าวย่างและกลไกของโฮมสเตย์ I การท�ำโฮมสเตย์ในชุมชนที่จะได้รับผลลัพธ์ทั้งความสามัคคีของชาวบ้าน และการสร้าง รายได้ไปพร้อมกับการอนุรักษ์นั้น มีประเด็นอยู่ที่การสื่อสารกับสมาชิกอย่างสม�่ำเสมอ และต้อง มีการกระจายรายได้ให้ทวั่ ถึงและเท่าเทียมมากทีส่ ดุ เพือ่ เป็นการดึงทุกภาคส่วนให้เข้ามามีสว่ นร่วม เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ที่บ้านน�้ำเชี่ยวมีการเก็บค่าเข้าพักหัวละ 1,000 บาทรวมอาหารอย่างดี 3 มื้อ ค่าเรือไป ปากอ่าว ค่างอบที่ระลึกและค่าดูงานส่วนต่างๆ สามารถแบ่งเป็นสัดส่วนการกระจายรายได้ดังนี้ ค่าที่พักหัวละ 200 บาท ค่าอาหาร 400 บาท ค่าเรือ 150 บาท ค่างอบ 150 บาท และค่าดูงาน 100 บาท คุณหน่อย สุรัตนา เล่าถึงกระบวนการร่วมกันออกแบบโครงสร้างธุรกิจของโฮมสเตย์ บ้านน�ำ้ เชีย่ วให้ฟงั ว่า เริม่ ต้นจากการร่วมกันท�ำเวิรก์ ช็อปวิเคราะห์จดุ แข็งและจุดอ่อนของชุมชน แล้วน�ำมาสร้างเป็นจุดขาย จากนั้นเป็นการพูดคุยกันในชุมชนว่า ใครท�ำอะไรได้บ้าง และต้องมีค่าใช้จ่ายอะไร ใน แต่ละเดือนต้องการมีรายได้อย่างไร เมือ่ รวบรวมความต้องการเหล่านีไ้ ด้ทงั้ หมดแล้วจึงมาร่วมกัน ออกแบบเป็นกิจกรรมทีเ่ ข้ากับจุดขายและสร้างคุณค่าแก่ทงั้ นักท่องเทีย่ วและชาวชุมชนเอง โดยมี หลักการว่า ต้องท�ำให้เกิดการอนุรกั ษ์ธรรมชาติ วิถชี วี ติ ประเพณี ไปพร้อมกับการสร้างรายได้ให้กบั สมาชิกในหมู่บ้านซึ่งจะช่วยดึงให้คนส่วนใหญ่ในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมกับโครงการได้ 282
ทีสำ่ �คัญทีส่ ดุ คือ ต้องเป็นการพัฒนาทีทำ่ �ให้คนอยูไ่ ด้จริง ไม่ใช่แค่ธรรมชาติ แต่ คนเองก็ต้องมีโอกาสมากขึ้น มีทางเลือกในชีวิตมากขึ้น มีศักดิ์ศรี มีความภาคภูมิใจ ในตัวตนและบ้านเกิดและสุดท้ายต้องมีฐานะมัน่ คงขึน้ และคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ จริง ไม่ใช่ แค่เพียงในวาทกรรมโลกสวย ที่นักวิชาการหรือชาวกรุงพูดกัน สิ่งที่ชาวบ้านน�้ำเชี่ยวท�ำก็คือการใช้ศักยภาพจากทุนที่ตัวเองมีอยู่แล้ว ทุนที่ธรรมชาติ และบรรพบุรุษได้มอบให้ ไม่ว่าจะเป็นสายน�้ำ ต้นไม้ วัฒนธรรม อาหารการกิน ทุนเหล่านี้ไม่ต้อง ซื้อหา ไม่ต้องลงทุนเพิ่ม ไม่มีความเสี่ยง ไม่มีการท�ำลาย ไม่มีการบังคับ มีแต่การขอยืมมาใช้ การให้คนื การเคารพให้เกียรติและเห็นคุณค่าของกันและกัน เพราะธรรมชาติเมตตาและพร้อมที่ จะให้กบั มนุษย์เสมอ ตราบใดทีม่ นุษย์มองเห็นคุณค่าของทุกสรรพสิง่ ทีอ่ ยูร่ อบตัว ทุนเหล่านีซ้ กุ ซ่อน อยูท่ กุ หนแห่ง ในก้อนหิน ในสายน�ำ ้ ในแสงแดด ฯลฯ อยูท่ วี่ า่ เมือ่ ไร ใครจะเป็นคนทีม่ องเห็นและ รู้จักน�ำมาใช้ จากครั้งที่สภาพธรรมชาติป่าชายเลนเสื่อมโทรม จนถึงวันนี้ที่สายน�้ำถูกคืนชีวิตอีกครั้ง จากชุมชนทีค่ รัง้ หนึง่ หลายคนเคยมีรายได้นอ้ ย จนถึงปี พ.ศ. 2547 ทีบ่ า้ นน�ำ้ เชีย่ วเริม่ ท�ำการท่องเทีย่ ว แบบโฮมสเตย์ชาวบ้านน�้ำเชี่ยวได้ผ่านประสบการณ์มากมาย มาในวันนี้ทุกคนสามารถตกปลา ทีห่ น้าบ้านตัวเองได้ เด็กๆ ได้เติบโตมาในสภาพแวดล้อมทีม่ ธี รรมชาติสมบูรณ์ คนหนุม่ สาวมีทางเลือก มากขึ้น มีรายได้มากขึ้นจากการใช้ชีวิตอยู่กับบ้านเกิดสิ่งส�ำคัญที่สุดคือความรัก ความหวงแหน และความภูมิใจในบ้านเกิดช่วยเปลี่ยนแปลงท�ำให้ทุกสิ่งเป็นจริงได้ และบ้านน�้ำเชี่ยวคงเป็นหนึ่งในไม่กี่ชุมชนที่คนรุ่นหลังจะต้องนึกขอบคุณในสิ่งที่คนรุ่น ปู่ย่าตายายของพวกเขาได้รักษาและส่งมอบให้ 283
“
เราอยากใช้การท่องเที่ยว รักษาสิ่งแวดล้อม ให้อยู่ไปจนถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน เราอยากให้เด็กๆ ที่ออกไปทำ�งานข้างนอก กลับมาทำ�งานที่นี่ ให้เขารักบ้านเกิด นี่คือเป้าหมายของการท่องเที่ยวบ้านเรา
“
Q
คุยกับ
สุรัตนา ภูมิมาโนช
A l ประธานกลุม่ โฮมสเตย์บา้ นน�ำ้ เชีย่ ว จังหวัดตราด l
ช่วยเล่าความเป็นมาของโฮมสเตย์บ้านน�้ำเชี่ยวหน่อยครับ
จริงๆ แล้วทีน่ เี่ ปิดการท่องเทีย่ วตัง้ แต่ปี 2547 โดยหยิบเอาเรือ่ งของวิถชี วี ติ ชุมชน 2 ศาสนา ซึ่งในความต่างเราก็สามารถอยู่ร่วมกันได้โดยสงบสุข เรามีทุนด้านทรัพยากรเพราะอยู่ริมน�้ำ มีป่า ชายเลน และที่นี่ยังมีจุดเด่นเรื่องของผลิตภัณฑ์ และอาหารที่หลากหลาย ต่อมาในปี 2549 เราได้รับรางวัล OTOP ดีเด่น ก็มีโอกาสได้ไปดูงานที่ประเทศญี่ปุ่น เมืองโออิตะ ก็ได้ไอเดียเรือ่ งโฮมสเตย์จากทีน่ นั่ กลับมาดู บ้านน�ำ้ เชีย่ วเราก็มบี รรยากาศทีด่ ี เพราะ อยูร่ มิ น�ำ้ น่าจะท�ำโฮมสเตย์ได้ ช่วงแรกทางเทศบาลก็เลยให้ชาวบ้านมาร่วมกันท�ำ โดยทางเทศบาล รับผิดชอบเรื่องการจัดกิจกรรมต่างๆ พอถึงปี 2553 ส�ำนักงานการท่องเทีย่ วและกีฬาจังหวัดตราด ร่วมกับสถาบันการท่องเทีย่ ว โดยชุมชน (ซีบที ไี อ) ก็มาให้ความรูเ้ รือ่ งโฮมสเตย์กบั เรา เช่น การท่องเทีย่ วโดยชุมชนต้องท�ำอย่างไร บ้านพักโฮมสเตย์ตอ้ งเป็นแบบไหน จากนัน้ ก็เริม่ มีการก่อตัง้ กลุม่ ในรูปของคณะกรรมการ มปี ระธาน รองประธาน มีเหรัญญิก และมีการไปอบรมดูงาน 286
แรกเริ่มเรามีบ้านพักโฮมสเตย์ 6 หลัง ก็เข้าร่วมประเมินมาตรฐานจากกรมการท่องเที่ยว เราได้รางวัลที่ 5 ระดับประเทศมา รวมทั้งยังได้รางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย (กินรี) ประเภท แหล่งท่องเทีย่ วชุมชนจาก ททท. ด้วย เรียกว่ามีประกวดทีไ่ หน ใครชวนไปประกวดอะไร เราประกวด หมด และได้รางวัลกลับมาทุกครัง้ นอกจากนีย้ งั มีรางวัลโฮมสเตย์ดเี ด่นของจังหวัด รางวัลป่าชายเลน อุดมสมบูรณ์ที่สุดติด 1 ใน 3 ของประเทศ นอกจากนีย้ งั มี องค์การบริหารการพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษเพือ่ การท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน (อพท.) เข้ามาช่วยให้ความรู้กับเราด้วย มาสอนการท�ำ SWOT เพื่อวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และ อุปสรรคของชุมชน แต่เหนืออื่นใด เราต้องค้นพบให้ได้ว่าเราจะท�ำการท่องเที่ยวเพื่ออะไร เป้าหมายของเราคืออะไร
ลองวิเคราะห์ SWOT ของที่นี่ให้เราฟังหน่อย
ชุมชนของเรามีจดุ แข็งเรือ่ งชุมชน 2 ศาสนา จุดอ่อนคือ ความยากจน มีการทิง้ ขยะลงคลอง มีการตัดต้นโกงกางมาเผาถ่านและท�ำบ้าน เส้นทางก็คบั แคบ ส่วนโอกาสของเราคือ มีหน่วยงานต่างๆ เข้ามาให้ความช่วยเหลือทางเดินเข้าออกทีแ่ คบๆ ก็ใช้จกั รยานแทนได้ เราจึงมาคิดกันว่า จะใช้การ ท่องเทีย่ วเป็นเครือ่ งมือในการรักษาทรัพยากรสิง่ แวดล้อมให้อยูอ่ ย่างยัง่ ยืนไปจนถึงรุน่ ลูกรุน่ หลาน สิง่ ส�ำคัญก็คอื เราอยากให้เด็กๆ ทีอ่ อกไปท�ำงานข้างนอกกลับมาท�ำงานทีน่ ี่ ให้เขารักบ้านเกิด นีค่ อื จุดเป้าหมายในการท�ำการท่องเที่ยวของเรา พอตัง้ เป้าหมายตรงนีไ้ ด้ เราก็ให้นกั ท่องเทีย่ วทีเ่ ข้ามาต้องปลูกต้นไม้อย่างน้อยคนละ 1 ต้น จนตอนนีต้ น้ ไม้เต็มไปหมดเลย และช่วยกันเก็บขยะจนเจ้าของบ้านทีเ่ คยทิง้ ขยะไม่กล้าทิง้ อีกแล้ว มีการปัน้ ลูกบอลจุลนิ ทรีย์ หรือดาสต้าบอล ซึง่ เป็นสูตรของทาง อพท.เพือ่ บ�ำบัดน�ำ้ เสีย น�ำ้ ในคลอง ที่เคยส่งกลิ่นเหม็นก็หายไป
แปลว่าเมื่อก่อนน�้ำในคลองนี่เน่าเหม็นเลยเหรอครับ
มีกลิน่ อยูพ่ กั หนึง่ แล้วน�ำ้ เค็มนีเ่ วลาไปทีไ่ หน แค่เดินผ่านยังรูส้ กึ เหนียวตัว แต่ทนี่ เี่ ดินแล้วเฉยๆ บางคนยังถามเลยว่าน�ำ้ เค็มหรือน�ำ้ จืด ก็บอกไปว่าทีน่ นี่ ำ�้ เค็ม คือสภาพสิง่ แวดล้อมดีขนึ้ ก็เลยมีคน มาขอดูงานด้านสิง่ แวดล้อมและปลูกป่ากับเรา บางส่วนก็มาหัดท�ำลูกบอลดาสต้า รวมทัง้ มาดูเรือ่ ง ของการบริหารจัดการ เพราะที่นี่เราท�ำงานกันในรูปแบบของคณะกรรมการ แต่ละคนมีหน้าที ่ รับผิดชอบ เพือ่ ให้รจู้ กั การท�ำงาน ส่วนเด็กๆ เรามีการอบรมเรือ่ งของการเป็นเจ้าบ้านน้อย เป็นมัคคุเทศก์ เราเรียกว่า ‘นักสื่อความหมาย’ คือน�ำเสนอเรื่องของบ้านเราให้คนอื่นรู้ อย่างน้องมายด์ลูกสาวพี่ เป็นมัคคุเทศก์นอ้ ยมาตัง้ แต่อายุ 10-11 ขวบ ตอนนีข้ ยับมาเป็นประชาสัมพันธ์แล้ว สามารถออกไป สื่อสารพูดคุยกับภายนอกได้ 287
เราก็สร้างรุ่นต่อไปขึ้นมาได้
ที่นี่มีมัคคุเทศก์น้อย 4-5 รุ่นแล้วค่ะ เด็กพวกนี้จะเย็บงอบเป็น ที่นี่โดดเด่นเรื่องของ ผลิตภัณฑ์กค็ อื งอบใบจาก เรารูส้ กึ ว่าคนทีท่ ำ� ก็คอื ชาวบ้าน คนสูงอายุ เวลาไปขายก็ไม่ใช่วา่ ขายได้ ง่ายๆ พอเรามีโอกาสได้ไปออกงานกับหน่วยงานต่างๆ เวลาออกบูธก็เอางอบของผู้เฒ่าผู้แก่ไป เปิดบูธด้วย จากการที่เราได้เรียนเรื่องการตลาด รู้จักท�ำผลิตภัณฑ์ การท�ำโปรโมชั่น เราก็เอา งอบใส่เข้าไปในแพ็คเกจ เพื่อให้คนสูงอายุขายงอบได้ โดยไม่ต้องมานั่งขายทีละลูกสองลูก แล้วเราก็แบ่งเงินให้เขาไป แพ็คเกจของเราจะคิดขึ้นเพื่อให้ทุกคนมีรายได้ คนเรือต้องการ ค่าเรือเท่าไหร่ งอบใบเท่าไหร่ อาหารเท่าไหร่ เราก็จับมารวมกันเป็นแพ็คเกจ
แปลว่าเราตั้งวัตถุประสงค์ว่า ชาวบ้านเขาอยากจะมีรายได้อะไรบ้าง แล้วก็ ดีไซน์แพ็คเกจขึ้นมา
ค่ะ ให้ทกุ คนมีสว่ นร่วม อย่างเรือ่ งการขายของด้วย ใครจะมาขายอะไรก็แล้วแต่ให้มาแจ้งเรา ทางกลุ่มจะไม่ท�ำอะไรเอง เราเคยไปดูงานที่อื่นจะเห็นว่าบางที่กลุ่มจะเป็นผู้ออกเงินให้ชาวบ้าน มาท�ำ เวลาได้กำ� ไรมาก็หกั ส่วนแบ่งกันไป แต่ทนี่ เี่ ราจะไม่ทำ� อย่างนัน้ กลุม่ จะไม่ทำ� อะไรเลย แต่เรา ใช้ชื่อเสียงของกลุ่มเป็นคนท�ำการตลาด เป็นคนไปขาย ไปเปิดบูธ เราจะให้ทุกคนแจ้งว่าใครมี ผลิตภัณฑ์อะไรบ้างพอขายได้ก็หัก 10 เปอร์เซ็นต์ ให้กับทางกลุ่มในการซื้ออุปกรณ์ข้าวของที่ จ�ำเป็นในการท�ำงาน หรือช่วยเหลือเด็กยากจนเป็นทุนการศึกษา ซือ้ ข้าวสารแจก ช่วยเหลือผูส้ งู อายุ ผู้ทุพพลภาพ หรือเสียชีวิต
แต่ละช่วงเราก็จะมีจุดขายเป็นช่วงๆ ไป มีผลิตภัณฑ์ใหม่มาเรื่อยๆ
ใช่ค่ะ ตอนเข้าอบรมเราได้รับการสอนมาว่าถ้าจะขายอะไร ต้องขายทีละอย่าง และต้อง ย�ำ้ เตือนบ่อยๆ จนเขาจ�ำได้ ถ้าขายทุกอย่างคนจะจ�ำไม่ได้วา่ เราคือใคร เราขายอะไร ทุกวันนีค้ นจ�ำ บ้านน�้ำเชี่ยวได้ 4 อย่างแล้ว ชุมชน 2 ศาสนา เราขายจนกระทั่งมีคนมาดูงานเรา คือท�ำจนเป็น แบรนด์เราไปแล้ว พอเขาเห็นค�ำว่าบ้านน�้ำเชี่ยว จะนึกถึงวัดกับมัสยิดอยู่ร่วมกัน จากนั้นก็มาเน้นงอบใบจาก ซึ่งเป็นที่เดียวในโลก จริงๆ ในจังหวัดตราดมีการท�ำงอบอยู่ หลายแห่ง แต่นำ�้ เชีย่ วคือออริจนิ ลั จนตอนนีง้ อบเราไม่ตอ้ งติดป้ายอะไรทัง้ สิน้ เห็นแล้วรูเ้ ลยว่ามา จากบ้านน�้ำเชี่ยว เหมือนเราสร้างแบรนด์ความคิด จนกระทั่งเขามองเห็นด้วยตัวรูปลักษณ์ของ มันเองว่าบ่งบอกถึงสถานที่พื้นที่ได้ เพราะฉะนั้นพอเรามีคนมาดูงานเรื่องงอบเยอะแยะ
288
ต่อมาเราขายกิจกรรมการงมหอยปากเป็ดจนกระทั่งมีดารามีใครต่อใครมางมหอยที่นี่กัน เยอะมาก จริงๆ หอยปากเป็ดมันมีทวั่ ประเทศนะ ทางใต้กม็ ี แต่เราพยายามสร้างว่าถ้าเป็นหอยปากเป็ด ต้องมาที่นี่ ตอนนี้เราขายเรื่องขนมมุสลิมจามคือข้าวเกรียบยาหน้า พอเห็นข้าวเกรียบนี้ปุ๊บ คนก็จะ ร้องอ๋อ และจ�ำได้วา่ นีเ่ ป็นของบ้านน�ำ้ เชีย่ วขนมมุสลิสจามแห่งเดียวของโลกอยูท่ นี่ ี่ ทีผ่ า่ นมามีคนมา ดูงานเรื่องขนมข้าวเกรียบยาหน้าเยอะมาก ตอนนี้เราก�ำลังเตรียมเผื่ออนาคตแล้วว่าเดี๋ยวจะขาย อะไร ของดีบ้านน�้ำเชี่ยวจะมีคนรู้จักหมดทุกอย่างแต่แบบค่อยเป็นค่อยไป
คือเราคิดผลิตภัณฑ์ไว้ล่วงหน้าหมดแล้ว
จากการท�ำ SWOT จะมีประมาณสิบกว่าตัว และเขาสอนให้เรารูจ้ กั การออกสินค้าก่อนหลัง ไม่ออกมาพร้อมกัน
ผลิตภัณฑ์ที่วางไว้ในอนาคตมีอะไรบ้างครับ จะเป็นกระบอกปลาดุก และขนมทอดมันถั่ว
ช่วยเล่าระบบการจองบ้านโฮมสเตย์สกั นิดครับ ทราบว่าทีน่ มี่ รี ะบบหมุนเวียนเป็นคิว
แขกที่จะมาพักกับเราต้องจองล่วงหน้าเท่านั้น เราไม่รับแขกที่อยู่ๆ ก็เดินมาเพราะเราไม่รู้ ว่าเป็นใครมาจากไหน เราเองก็กลัวเหมือนกันส�ำหรับระบบการหมุนเวียนบ้าน เรามีควิ ให้จบั ฉลาก 1-2-3-4-5-6 พอคนทีเ่ ข้ามาคนที่ 7 ก็ไม่ตอ้ งจับ ต่อคิวไปเลย สมมติมแี ขกมาที 10 คน หรือ 40 คน ก็แบ่งไปเลย อาจจะ 8 หลังหรือ 10 หลังตามจ�ำนวนห้องน�้ำที่มี ถ้ามี 1 ห้องน�้ำก็อาจจะนอนแค่ 4-5 คน พอแบ่งเสร็จแล้ว สมมติหยุดที่คิว 11 พอรุ่งขึ้นมีแขกครอบครัวมา คิวที่ 12 ก็ได้ไป
สมมติวา่ ลูกค้าได้ยนิ มาว่าบ้านนีด้ มี ากเลย บอกไม่ขอเรียงตามคิว ขอพักบ้านนี้
ไม่ได้ค่ะ เราไม่ให้เลือก นอกจากว่ามีเหตุการณ์จ�ำเป็นจริงๆ ที่เราเป็นคนจัดเอง เว้นแต่ บางเหตุการณ์ที่จ�ำเป็นจริงๆ เช่น มีแขกชาวมุสลิมที่เคร่งมาก เกิดได้คิวมาพักที่บ้านไทยพุทธ เขาก็อาจจะไม่พกั เราก็จะขอเจ้าของบ้านเปลีย่ นเป็นบ้านคิวถัดไป ส่วนบ้านคิวทีเ่ ป็นไทยพุทธก็จะ ใช้คืนเป็นคิวหน้า อันนี้ขึ้นอยู่กับความจ�ำเป็นแต่ละกรณี
291
แล้วเรื่องของการบริหารจัดการโฮมสเตย์ล่ะครับ
ทีน่ เ่ี รามีชมุ ชนเป็นผูบ้ ริหารจัดการ รายได้กแ็ บ่งกันในชุมชน เราท�ำเส้นทางการท่องเทีย่ วเอง มีการบริหารจัดการในชุมชนกันเองโดยไม่ได้มีเทศบาลหรือหน่วยงานไหนมาเกี่ยวข้อง บริหารใน รูปแบบคณะกรรมการ มีประธาน รองประธาน มีเหรัญญิก เลขา แบ่งเป็นทั้งหมด 6 ฝ่าย เช่น ฝ่ายบ้านโฮมสเตย์ ฝ่ายอาหาร ฝ่ายนักสือ่ ความหมาย ฝ่ายเรือ ตอนแรกเราเป็นโฮมสเตย์บา้ นน�ำ้ เชีย่ ว มาตอนหลังเราสามารถรวมคนในชุมชนไว้ได้ จากกลุม่ เรือทีเ่ คยต้องไปจ้างเขา ก็รวมกลุม่ เรือเข้ามา ไว้ในกลุ่มเราด้วย
เพราะอะไรแต่ละกลุ่มถึงยอมมาทำ�งานร่วมกัน
เพราะเราบอกว่า ถ้ามาอยูใ่ นกลุม่ เรา เราจะท�ำการตลาดโดยจะหาแขกมาให้ มีรายได้ให้เขา ท�ำให้เขามีรายได้เสริม เพราะทีน่ เี่ วลาหน้าฝน คนเรือออกเรือไม่ได้ เขาก็สามารถมีรายได้ตรงนี้ มีการ รวมสินค้าโอทอปเข้ามาด้วย เราบอกใครจะขายอะไรให้มาที่เรา เราจะจัดส่งขอตรา มผช. (มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน) ให้ ท�ำให้สินค้าของกลุ่มมีมาตรฐานที่ดีขึ้น ทุกอย่างเราท�ำให้หมด ตอนแรกมีสมาชิกในกลุ่ม 30 คน ตอนนี้เพิ่มเป็น 90 กว่าคน จากบ้าน 6 หลัง เดี๋ยวนี้มีสิบกว่าหลัง
ตอนนี้ที่บ้านน�้ำเชี่ยว มีการทำ�การตลาดอย่างไรบ้าง
ลงโปรโมตทางเว็บไซต์ของกรมการท่องเที่ยวและการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) จากการที่เราได้รับรางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย(รางวัลกินรี) จากททท.มาแล้ว 3 ครั้ง ท�ำให้ มีโอกาสได้ไปเปิดบูธในงานต่างๆ ขณะเดียวกันทาง ททท. ก็ไปท�ำตลาดประชาสัมพันธ์แหล่ง ท่องเทีย่ วในต่างประเทศท�ำให้เราได้ตอ้ นรับแขกต่างชาติบอ่ ยครัง้ นอกจากนัน้ ก็มกี ารเปิดเฟซบุก๊ ประชาพันธ์ทางไลน์ รวมไปถึงการออกสื่อต่างๆ และบอกต่อปากต่อปาก
โฮมสเตย์ทดี่ ใี นมุมมองของพีเ่ ป็นอย่างไรครับ แล้วพีม่ หี ลักการคัดเลือกบ้านอย่างไร
โฮมสเตย์คอื ทีพ่ กั ทีใ่ ห้แขกได้มาสัมผัสวัฒนธรรมชนบท มีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ มีการพูดคุย แลกเปลีย่ นกันระหว่างเจ้าบ้านกับแขกผูม้ าเยือน ว่าเขามาจากไหน ท�ำอะไร ส�ำหรับหลักการคัดเลือก บ้านโฮมสเตย์ ก็เป็นบ้านทีอ่ าศัยอยูจ่ ริงนีล่ ะ มีบา้ นเลขที่ คนทีจ่ ะท�ำโฮมสเตย์กบั เราต้องมีชอื่ อยูใ่ น บ้านนั้น มีพ้ืนที่แบ่งส่วนชัดเจน มีที่นอนหมอนมุ้งสะอาดสะอ้าน การเดินทางเข้าออกเรียบร้อย ห้องน�ำ้ จะต้องสะอาด มีกระดาษช�ำระ มีทที่ งิ้ ขยะ ต้องมีความเป็นอยูท่ ปี่ ลอดภัย ข้างบ้านไม่มขี ยะ มีอากาศถ่ายเทอาหารก็ต้องใช้วัตถุดิบในชุมชน ส่วนคนเรือก็จะต้องเอาเรือมาจอด มีการล้างเรือ ก่อนที่จะมารับนักท่องเที่ยว ต้องดูแลเสื้อชูชีพที่เราซื้อให้ และจะต้องเคารพกฎที่ว่า ต้องมียาอยู่ ในเรือด้วย สรุปก็คือทุกคนที่ปฏิบัติตามกฎก็จะอยู่ในกลุ่มได้ ตอนนี้มีคนสมัครเข้ามาแต่เราปิดรับ แล้วค่ะเพราะคนเยอะมาก ตอนนี้พี่ดูแลคน 90 กว่าคนแล้ว 292
ที่นี่มีไหมครับตอนแรกทำ�โฮมสเตย์ได้ตามมาตรฐานแต่พอทำ�ๆ ไปแล้ว หลุดมาตรฐาน
ไม่มคี ะ่ เพราะเวลาแขกนอนตืน่ มาตอนเช้า พีจ่ ะคอยถามแขกทุกคนว่าเป็นยังไงบ้าง บ้านนี้ ดูแลดีมั้ย เราจะมีสมุดเยี่ยมให้เขาเขียน จนตอนนี้ใครๆ ก็บอกว่าพี่เป็นมืออาชีพส�ำหรับโฮมสเตย์ บ้านน�้ำเชี่ยว กฎก็คือกฎ ทุกคนจะต้องเคารพและปฏิบัติตาม
พี่คิดว่าเพราะอะไรเขาควรมาพักโฮมสเตย์แทนที่จะไปพักโรงแรมแบบเดิมๆ
โฮมสเตย์มที กุ อย่างเหมือนโรงแรม เพียงแต่ไม่มคี วามหรูหรา ทีม่ มี ากกว่าก็คอื ความประทับใจ พีพ่ ดู เสมอว่า ถ้ามาพักทีน่ ี่ สิง่ ทีค่ ณ ุ ได้มากกว่าก็คอื ความเป็นญาติ เหมือนคุณไปนอนค้างบ้านญาติ แล้วเราก็ดูแลคุณทุกอย่างตั้งแต่หิ้วกระเป๋าเข้ามาพักจนกระทั่งกลับไป ที่นี่ยังมีกิจกรรมต่างๆ มากมาย การมาพักโฮมสเตย์จะได้เรียนรู้กิจกรรมของชุมชนด้วย
ธุรกิจโฮมสเตย์มีอุปสรรคปัญหาอะไรบ้าง
ตอนนีม้ คี นอยากท�ำอีกเยอะ เพราะชาวบ้านทีเ่ คยอยูก่ บั บ้านแล้วไม่มรี ายได้กก็ ลับมีรายได้ และสิ่งหนึ่งที่ได้ก็คือบ้านช่องที่เคยรกๆ ก็สะอาดสะอ้านขึ้น ท�ำให้เรารู้จักการต้อนรับแขก พูดจา ด้วยค�ำพูดทีด่ ขี นึ้ มีนำ�้ ใจ รูจ้ กั ดูแลคนอืน่ เพราะเราต้องยอมให้คนมานอนทีบ่ า้ นเราถูกมัย้ คะ แล้วก็ เปลี่ยนนิสัยใจคอคนจากที่อาจจะดุดันให้ดีขึ้น ส่วนสิง่ ทีท่ ำ� ให้เกิดปัญหา ก็คอื คนถ้าทีไ่ หนคนเคารพกฎ ปัญหาก็จะไม่คอ่ ยมี ดังนัน้ เราจะ ยึดถือการประชุมเป็นเรือ่ งหลัก ส่วนปัจจัยภายนอกทีท่ ำ� ให้โฮมสเตย์มปี ญ ั หาก็คอื มีคนชอบใช้คำ� ว่า ‘โฮมสเตย์’ แต่จริงๆ แล้วไม่ใช่โฮมสเตย์
เป็นยังไงครับ
ส่วนใหญ่เป็นรีสอร์ตอพาร์ตเมนต์ หรือเกสต์เฮาส์กม็ ี แต่บอกว่าตัวเองเป็นโฮมสเตย์ มีบางคน ที่เคยไปพักแบบนั้น แล้วพอมาพักที่บ้านน�้ำเชี่ยว บอกว่าของเราไม่ใช่โฮมสเตย์ เพราะโฮมสเตย์ที่ เขาเคยไปนอน มันเป็นห้องๆ มีหอ้ งน�ำ้ ในตัว ติดแอร์ดว้ ย เราก็บอกอ้าวทีน่ แี่ หละโฮมสเตย์ อย่างนัน้ เรียก รีสอร์ต เขาก็บอกไม่ใช่ เถียงกัน เลยบอกเชิญค่ะเดินดูได้เลย เรามีปา้ ยมาตรฐานจากกรมการท่องเทีย่ ว รับรองเรื่องของมาตรฐานโฮมสเตย์ เราเคยเรียกร้องให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสื่อสารออกไปให้ ชัดเจนว่า โฮมสเตย์ คือ การท่องเทีย่ วแบบทีม่ าพักค้างร่วมกับเจ้าของบ้าน ใครทีไ่ ม่ได้ทำ� แบบนี้ ก็ไม่ให้ใช้ค�ำว่า ‘โฮมสเตย์’
295
พี่มองอนาคตบ้านน�้ำเชี่ยวไว้อย่างไรบ้างครับ
เรามองเป้าหมายไปทีก่ ารประกวดในระดับนานาชาติ ซึง่ เรามีแผนจะส่งประกวดในปี 2559 สิ่งที่เราก�ำลังท�ำ ก็เพื่อให้เด็กรุ่นหลังมีงานท�ำ ในอนาคตจะมีคนมาต่อยอดในสิ่งที่เราได้สร้างไว้ และเขาเองก็มงี านท�ำต่อไปได้เรือ่ ยๆ นีค่ อื สิง่ ทีเ่ ราอยากให้เป็น และอยากให้ผลิตภัณฑ์งอบของเรา เป็นทีร่ จู้ กั ตลอดไป เพียงอาจมีการเปลีย่ นรูปแบบ เพราะมีบางคนบอกว่า งอบขนาดใหญ่เอากลับบ้าน ล�ำบาก เราก็เปลี่ยนท�ำเป็นนาฬิกาติดผนังบ้าง ตอนนี้ก�ำลังคิดจะท�ำเป็นพวงกุญแจด้วย เพียงแต่ ยิง่ ขนาดเล็กก็ยงิ่ แพงเพราะท�ำยาก แต่ความตัง้ ใจคือ เราอยากให้งอบน�ำ้ เชีย่ วอยูไ่ ปอีกนานๆ เพราะ กว่าที่งอบใบหนึ่งจะออกมาได้ ไม่ใช่เรื่องง่ายๆ อยากให้คนรู้ถึงคุณค่าของสิ่งนี้
ที่พี่พูดว่า อยากให้คนรุ่นใหม่กลับมาอยู่บ้าน ประสบความสำ�เร็จมั้ยครับ
ตอนนี้เรามีเด็กในกลุ่มประมาณ 20 กว่าคน จากเด็กบางคนที่อาจจะชอบเที่ยวเตร่ พูดจา ไม่เพราะ เดีย๋ วนีก้ ลับมาท�ำงานท�ำการ ทัง้ ทีเ่ ด็กบางคนยากจนอาจไม่ได้เรียนหนังสือ พอมาอยูใ่ นกลุม่ ก็มาท�ำงาน มาช่วยเป็นนักสือ่ ความหมาย นัง่ เรือไปกับแขก พวกนีจ้ ะได้เงินจากเรา 100 บาท ถ้ามา เป็นหมู่คณะตอนกลางคืนเราจะมีการแสดงพื้นบ้าน โดยเด็กๆ เป็นผู้ท�ำการแสดงตอนนี้มีลิเกฮูลู และก�ำลังจะหัดให้เขาร�ำงอบใบจาก ท�ำให้เด็กๆ มีรายได้ บางคนมีเงินฝาก เรามีขา้ วให้เขากิน พาเขา ไปอบรม ที่นี่หลายคนเคยไปดูงานต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่น จีน ส่วนต่างจังหวัดนี่ไม่ต้องพูดเลย ไปกันบ่อยมาก 296
ธุรกิจนี้สามารถพัฒนาได้ในอีกหลายพื้นที่ของประเทศไทยมั้ย ยังมีโอกาสหรือ ช่องว่างสำ�หรับธุรกิจนี้อีกหรือเปล่า
จริงๆ แล้วการท�ำโฮมสเตย์หรือท่องเที่ยวชุมชน ตอนนี้บอกเลยว่าแม้กระทั่งรัฐบาลก็ยัง บอกว่าต่อไปจะต้องเป็นการท่องเทีย่ วแบบนี้ และมีหลายพืน้ ทีก่ ส็ นใจอยากจะท�ำเรือ่ งการท่องเทีย่ ว ชุมชน ตวั พีเ่ องไปเป็นวิทยากรให้อยูห่ ลายที่ ทัง้ หน่วยงานภาครัฐ รวมถึงกลุม่ เอสเอ็มอีดว้ ย หลายพืน้ ที่ มีของดีแต่ยงั ไม่รวู้ า่ ตัวเองมีจดุ ขายอะไรบ้าง พีก่ ไ็ ปแนะน�ำเขา ส่วนใหญ่จะเห็นว่าของทีต่ วั เองมีอยู่ ก็ธรรมดาๆ ไม่ได้มคี า่ อะไร แต่เขาไม่รวู้ า่ มันมีคา่ ส�ำหรับคนภายนอกทีไ่ ม่ใช่คนในพืน้ ที่ และสามารถ หยิบออกมาเป็นจุดขายได้ อย่างบ้านน�ำ้ เชีย่ วเมือ่ ก่อนไม่มอี ะไรเลย ทุกคนมาตราดต้องไปเกาะช้าง ส่วนที่นี่แค่แวะมาฉี่ หรืออาจจะหาซื้องอบสักลูกสองลูก เราก็ตั้งใจว่าต่อไปเราจะท�ำให้เขาแวะขี้ คืออยู่นานขึ้น และมีการพูดเรื่องโอทอปว่าที่นี่มีอะไรบ้างเหมือนสร้างแรงจูงใจเขา เล่าเรื่องราว ความเป็นมา ท�ำให้คนข้างนอกรูส้ กึ ว่าทีน่ มี่ นั ก็นา่ สนใจ ถ้าจะไปเกาะช้าง แวะมาพักทีน่ สี่ กั คืนดีมยั้ ท�ำให้เขาแวะนอนก่อนที่จะข้ามไปเกาะช้าง ที่นี่เลยกลายเป็นที่รู้จักของคนที่จะไปเกาะช้าง แต่ถ้าเป็นคนที่มาดูงาน ส่วนใหญ่จะมาที่บ้านน�้ำเชี่ยว เพราะล่าสุดกรมการท่องเที่ยว ได้คัดเลือกสุดยอดโฮมสเตย์อาเซียน 5 แห่ง เพื่อเข้ารับรางวัลในงาน Asean Homestay Award 2016 ประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งเราก็เป็นหนึ่งในนั้น 297
คิดว่ามีพื้นที่แบบไหนบ้าง ที่ไม่เหมาะกับทำ�ธุรกิจโฮมสเตย์
จริงๆ ทุกที่ท�ำได้หมดนะ
ถ้าจะให้สรุปปัจจัยความสำ�เร็จของธุรกิจนี้ พี่คิดว่ามีอะไรบ้างครับ
มีบา้ นแล้วก็ดแู ลความสะอาดให้ดี การท�ำงานรวมเป็นกลุม่ ท�ำงานแบบเป็นส่วนรวม ทุกคน มีส่วนร่วมกัน มีการบริหารจัดการ มีคณะท�ำงานที่เป็นรูปแบบได้มาตรฐานว่าแต่ละคนมีหน้าที่ อะไรบ้าง แล้วก็ช่วยกันท�ำ ไม่ว่าที่ไหนก็สามารถประสบความส�ำเร็จได้หมด
สำ�หรับชุมชนที่อยากจะเริ่มธุรกิจโฮมสเตย์นี้พี่คิดว่าอะไรเป็นสิ่งที่ควรให้ความ สำ�คัญเป็นอันดับแรก
“คน” คือสิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ ต้องเป็นคนทีม่ ใี จรักและอยากท�ำอะไรเพือ่ ชุมชน ยอมทีจ่ ะมานัง่ ดูแลคนที่เขาไม่รู้จักเราต้องท�ำงานร่วมกันได้ ส่วนกิจกรรมเป็นเรื่องรองลงมา อีกเรื่องที่คนอาจไม่ นึกถึง คือ เราต้องมีรายได้หลักของเราอยู่ เพราะจริงๆแล้วการท�ำการท่องเทีย่ วชุมชนเป็นรายได้เสริม ถ้ามีรายได้หลักอยู่แล้วต่อให้ไม่มีคนมาพักเราก็อยู่ของเราได้ 298
ชุมชนช่วยกัน วิเคราะห์ จุดขาย – โอกาส
ผู้นำ�มีทักษะ ในการสื่อสาร เรียนรู้สิ่งใหม่
เคล็ดลับความสำ�เร็จ บ้านน�้ำเชี่ยว
ประชาสัมพันธ์ สื่อสาร อย่างต่อเนื่อง
แบ่งปันหน้าที่ ร่วมรับผิดชอบ
จ.ตราด
กิจกรรมใหม่ๆ เคลื่อนไหว สม่ำ�เสมอ
บ้านน�้ำเชี่ยวโฮมสเตย์
กระจายรายได้
42 หมู่ที่ 1 ต�ำบลน�้ำเชี่ยว อ�ำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด โทรศัพท์ : 08-4892-5374 Facebook : กลุ่มท่องเที่ยวบ้านน�้ำเชี่ยว ผู้ประสานงาน : คุณสุรัตนา ภูมิมาโนช การเดินทาง : ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 3148 (ตราด-แหลมงอบ) หรือมาด้วยรถบัสประจ�ำทางสายกรุงเทพ-ตราด ราคาประมาณ 250 บาท ใช้เวลาประมาณ 3-5 ชั่วโมง มาลงที่บขส.ตราด จากนั้นเหมารถสองแถวมาลงที่ บ้านน�้ำเชี่ยว ราคาประมาณ 100 บาท รถก็จะพามาจอดที่สะพานใกล้ทางเข้าเทศบาลน�้ำเชี่ยว
Part 3
/ Practice and Practice มองรอบด้าน วิเคราะห์จุดแข็ง แล้วลงมือทำ�
/
กฎหมายและข้อกำ�หนดมาตรฐาน ของโฮมสเตย์ แม้ โฮมสเตย์จะไม่ถูกจัดเป็นโรงแรม แต่ก็เป็นการเปิดให้บริการที่พักที่มีลักษณะเช่น โรงแรม จึงจ�ำเป็นต้องมีการจดทะเบียนให้ถกู ต้องตามกฎหมายซึง่ ง่ายกว่าการขออนุญาตเปิดโรงแรม อย่างชัดเจน เพียงเคารพและปฏิบัติตามข้อก�ำหนด โดยการประกอบธุรกิจโฮมสเตย์สามารถ จดทะเบียนได้ใน 2 กรณี คือ
1. กรณีเป็นโฮมสเตย์ของบุคคล สามารถจดทะเบียนเป็นที่พัก ที่ไม่ใช่โรงแรม ได้ตามกฎกระทรวงกำ�หนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2551 กฎกระทรวงกำ�หนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2551 1. เป็นอาคารเดียวหรือหลายหลังทีม่ หี อ้ งพักไม่เกิน 4 ห้อง รวมห้องของเจ้าบ้านด้วย 2. รองรับผู้เข้าพักไม่เกิน 20 คน 3. ให้พักชั่วคราวและมีค่าตอบแทน 4. เป็นไปเพื่อสร้างรายได้เสริม 5. มีวัตถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรม 6. จดแจ้งกับนายทะเบียนถูกต้อง 7. ผู้ขอยื่นต้องมีสิทธิ์อาศัย และมีชื่อในทะเบียนบ้านหลังนั้น โดยไม่ต้องเป็น เจ้าบ้านก็ได้ การจดทะเบียนที่พักที่ไม่ใช่โรงแรม • กรุงเทพจดทะเบียนที่ กรมการปกครอง (วังไชยา) • ต่างจังหวัดจดทะเบียนที่ ที่ว่าการอ�ำเภอที่บ้านหลังนั้นตั้งอยู่
จุดเด่นของใบอนุญาตประเภทนี้คือ มีอายุตลอดชีพของผู้ที่ได้รับอนุญาต
รายละเอียดเพิ่มเติม ศึกษาได้จากหนังสือ Law and Tax for Small Hotel เขียนโดย วรพันธุ์ คล้ามไพบูลย์ และ จิตติพันธ์ ศรีกสิกรณ์
2. กรณีเป็นกลุม่ โฮมสเตย์ในหมูบ่ า้ น หรือวิสาหกิจชุมชน และต้องการ การการรับรองมาตรฐานทีพ่ กั จากกรมการท่องเทีย่ ว โดยต้องพัฒนาทีพ่ กั ให้ได้มาตรฐานดังต่อไปนี้ มาตรฐานโฮมสเตย์ 10 ข้อ ของ กรมการท่องเทีย่ ว 1. ทำ�เป็นรายได้เสริมนอกเหนือจากรายได้จากอาชีพหลักของครอบครัวเท่านั้น 2. มีพื้นทีใ่ นบ้านที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์และนำ�มาดัดแปลงให้นักท่องเที่ยวเข้าพักได้ 3. เป็นการเข้าพักทีไ่ ด้แลกเปลีย่ นเรียนรูว้ ฒ ั นธรรม และวิถชี วี ติ ระหว่างเจ้าบ้านและ ผู้เข้าพัก 4. ทุกคนในครอบครัวมีความยินดีและจะรับผิดชอบนักท่องเทีย่ วให้เข้ามาพักค้างแรม ในบ้าน พร้อมทั้งถ่ายทอดวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่นนั้นแก่นักท่องเที่ยว 5. ทุกคนในครอบครัวให้ความร่วมมือกับชุมชนในการจัดการโฮมสเตย์เป็นอย่างดี 6. บ้านนัน้ ควรเป็นสมาชิกของกลุม่ ชมรม หรือ สหกรณ์ทรี่ ว่ มกันจัดการโฮมสเตย์ ของชุมชนนั้น 7. จำ�นวนหลังคาเรือนที่เป็นสมาชิกของกลุ่มโฮมสเตย์ อย่างน้อย 3 หลังคาเรือน 8. บ้านที่ขอรับการประเมินทุกหลัง ต้องมีเลขที่บ้าน ที่ออกโดยส่วนราชการ 9. ที่ตั้งต้องไม่อยู่ในพื้นที่อนุรักษ์ เช่น อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เป็นต้น ยกเว้นจะได้รับอนุญาต 10. ดำ�เนินการจัดทำ�โฮมสเตย์ตามข้อกำ�หนดมาตรฐานของกรมการท่องเทีย่ วมาแล้ว ไม่ต�่ำกว่า 6 เดือน การจดทะเบียนโฮมสเตย์ ตามมาตรฐานโฮมสเตย์ไทย • จดทะเบียนได้ที่กองพัฒนาการท่องเที่ยว กรมการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร และ ส�ำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด
แบบฝึกหัด เปลี่ยนบ้านคุณเป็นบูติคโฮมสเตย์ และเปลี่ยนชุมชนเป็นหมู่บ้านโฮมสเตย์
Part1. ทำ�ไมจึงอยากทำ�และจะทำ�ได้ไหม จุดเด่น ของบ้านเกิดคุณคืออะไร …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. จุดเด่นของตัวคุณคืออะไร …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. ท�ำไมคุณจึงอยากท�ำธุรกิจนี้ …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. ท�ำไมคุณจึงเหมาะที่จะท�ำธุรกิจนี้ …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. แบบทดสอบ-ถามเพื่อนบ้านว่า ถ้าคุณจะท�ำธุรกิจนี้เขามีความเห็นอย่างไร ถ้าเขา ไม่เห็นด้วยหรือคิดว่าคุณท�ำไม่ได้ จงโน้มน้าวจนเขาเห็นว่าคุณสามารถท�ำได้ …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………. 304
Part2. ทำ�ที่พักประเภทไหน จุดขายคืออะไรและใครจะมา จุดขายที่คนอื่นไม่มีคืออะไร …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. การเดินทางไปถึงใช้เวลาเท่าไร มีค่าใช้จ่ายเท่าไร …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. สถานที่ท่องเที่ยวรอบๆ มีอะไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………. มาเที่ยวหมู่บ้านของคุณ ควรอยู่กี่วัน และจะให้เขาท�ำอะไร …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. กลุ่มลูกค้าหลักคือกลุ่มไหน อายุเท่าไร มีรายได้เท่าไร ชอบท�ำกิจกรรมอะไร …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ที่พักของคุณมีห้องนอนกี่ห้อง มีห้องน�้ำกี่ห้อง มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกอะไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………. 305
ที่พักของคุณ มีนวัตกรรมอะไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. แบบทดสอบ-ค้นหาว่าสิ่งที่คุณก�ำลังจะท�ำหรือจุดขายของคุณ มีกลุ่มธุรกิจอื่นท�ำ อยู่แล้วหรือไม่ มีจ�ำนวนเท่าไรและ อยู่รัศมีห่างไกลเราแค่ไหน จะมีผลกระทบต่อ การแข่งขันหรือไม่ …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………….
Part3. ลงทุนเท่าไร จะมีรายได้เท่าไรและจะไปรอดไหม คุณมีเงินลงทุนเท่าไร …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. แหล่งทีม่ าเงินทุนจากทีไ่ หนบ้าง - จากตัวคุณ หรือ จากการกูย้ มื และเป็นสัดส่วนเท่าไร …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. คุณจะขายที่พักราคาคืนละเท่าไร ……………………………………………………………………………………………………………………. มีช่องทางรายได้ทั้งหมดกี่ช่องทาง …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. 306
สร้างเงินวันละเท่าไร …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. รายได้ที่เข้ามาทางนี้ คุณจะน�ำไปใช้อะไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. สัดส่วนค่าใช้จ่ายจริงต่อก�ำไร คิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. แบบทดสอบ-การลงทุนจะคืนทุนในระยะเวลาเท่าไร ถ้าไม่ส�ำเร็จคุณจะได้รับผล กระทบอะไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………….
Part4. จะให้อะไรกับชุมชนบ้าง คนบ้านอื่นหรือชุมชนจะมีส่วนร่วมอะไรกับที่พักของคุณหรือไม่ …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. มีการแบ่งเงินบางส่วนกลับมาพัฒนาหมู่บ้านของคุณหรือไม่ …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. 307
ที่พักของคุณกระจายรายได้ให้ชุมชนอย่างไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. สินค้าที่เป็นเอกลักษณ์ มาแล้วต้องซื้อให้ได้คืออะไร …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. อาหารที่เป็นเอกลักษณ์ มาแล้วต้องรับประทานคืออะไร …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. แบบทดสอบ-ให้ออกแบบโครงสร้างรายรับจากบ้านของคุณ โดยให้มีสัดส่วนการ กระจายรายรับนี้ไปยังเพื่อนบ้านคนอื่นรอบๆ ไม่ต�่ำกว่า 30% …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………….
Part5. สรุปที่พักในฝันของฉัน คุณจะจดทะเบียนเป็นที่พักประเภทไหน ……………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………. คุณจะตั้งชื่อที่พักของคุณว่าอะไร …………………………………………………………………………………………………………………… 308
สโลแกนหรือค�ำขวัญของที่พักของคุณคืออะไร …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. เขียนหนึ่งประโยคไม่เกินสิบห้าค�ำ เมื่อทุกคนได้ยินแล้วต้องอยากมาที่พักของคุณ ไม่ว่าจะอยู่ไกลแค่ไหนก็ตาม …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………. แบบทดสอบ-ทดลองขายที่พักของคุณผ่านช่องทาง Social Media และ Online Travel Agency ว่าภายในเวลาสองสัปดาห์ มีลกู ค้าสนใจจองทีพ่ กั ของคุณหรือไม่ …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………….
309
ตัวอย่าง
บันทึกรายรับ – รายจ่ายของโฮมสเตย์ เดือน มกราคม
กุมภาพันธ์
มีนาคม
เมษายน
พฤษภาคม
มิถุนายน
กรกฎาคม
สิงหาคม
กันยายน
ตุลาคม
พฤศจิกายน
ธันวาคม
รายได้
รายจ่าย
รวมรายได้สุทธิ
ห้องพัก : 8,000
ค่าอาหาร : 2,500
อื่นๆ : 400 : เครื่องดื่ม
อื่นๆ : 250 : เช่าจักรยาน
ห้องพัก:
ค่าอาหาร :
อื่นๆ :
อื่นๆ :
ห้องพัก:
ค่าอาหาร :
อื่นๆ :
อื่นๆ :
ห้องพัก:
ค่าอาหาร :
อื่นๆ :
อื่นๆ :
ห้องพัก:
ค่าอาหาร :
อื่นๆ :
อื่นๆ :
ห้องพัก:
ค่าอาหาร :
อื่นๆ :
อื่นๆ :
ห้องพัก:
ค่าอาหาร :
อื่นๆ :
อื่นๆ :
ห้องพัก:
ค่าอาหาร :
อื่นๆ :
อื่นๆ :
ห้องพัก:
ค่าอาหาร :
อื่นๆ :
อื่นๆ :
ห้องพัก:
ค่าอาหาร :
อื่นๆ :
อื่นๆ :
ห้องพัก:
ค่าอาหาร :
อื่นๆ :
อื่นๆ :
ห้องพัก:
ค่าอาหาร :
อื่นๆ :
อื่นๆ :
310
5,650
หมายเหตุ
เชิญร่วมสนุกและรับรางวัล กับหนังสือ
โดยตอบค�ำถามว่า
จุดขายของบ้าน หรือหมู่บ้านของคุณทีไ่ ม่มใี ครเหมือนคืออะไร 1. เขียนคำ�ตอบ 1 ข้อ 2. ติดแฮทแท็ก
#HomemadeStay #เปลี่ยนบ้านเก่าเป็นบูติคโฮเต็ล #MyHometown
3. ถ่ายภาพคุณคู่หนังสือ Homemade stay (เล่ม 1 หรือ 2 ) กับมุมโปรด ในโฮมสเตย์ของคุณ 4. โพสต์บนเฟสบุ๊คของคุณและตั้งค่าสาธารณะ ทีมงานจะด�ำเนินการคัดเลือกค�ำตอบและมอบรางวัล โดยผู้ได้รับรางวัลสามารถเลือกได้ อย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้
1.ซีดเี ปลีย ่ นบ้านเก่า เป็นบูตดิ โฮเต็ลฟรี 1 ชุด 2.ทดลองใช้ แอพพลิชน ั่ Homemade Stay ฟรี 3 เดือน (มูลค่า 1,500) 3. ลุน ้ สิทธิเ์ ข้าอบรม หลักสูตร เปลีย ่ นบ้านเก่าเป็นบูตค ิ โฮเต็ล
l คำ�ขอบคุณ l เป็นเวลาหลายปีมาแล้วที่ผมได้ออกเดินทาง ศึกษา วิเคราะห์ ถึงโอกาสของการลงทุน และความยัง่ ยืนของการท�ำธุรกิจบูตคิ โฮเต็ล โฮสเทล รวมถึงทีพ่ กั สร้างสรรค์ประเภทต่างๆ โดยเฉพาะ เมื่อเรามีต้นทุนต�่ำ และเต็มไปด้วยข้อจ�ำกัด หรือแม้แต่ในพื้นที่ที่ห่างไกลที่สุด แต่ประสบการณ์ ทั้งหมดคงไม่หลากหลายและลึกซึ้ง หากขาดเรื่องราวของคนอีกจ�ำนวนมากจากทั่วทุกมุมของ ประเทศไทย หนังสือ Homemade Stay : My Hometown เล่มนี้ส�ำเร็จลุล่วงมาได้ ผมขอ ขอบคุณ คุณศรชัย ไพรเนติธรรม ประธานกลุ่มการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์โดยชุมชนบ้านจ่าโบ่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน คุณจ�ำรูญ วงศ์จันทร์ รองนายก อบต.แม่ละนา จังหวัดแม่ฮ่องสอน คุณธีรเมศร์ ขจรพัฒนภิรมย์ อดีตผู้ใหญ่บ้าน และประธานการท่องเที่ยวและกลุ่มโฮม สเตย์บ้านแม่ก�ำปอง จังหวัดเชียงใหม่ คุณติณณภพ สุพันธะ ประธานศูนย์ประสานงานท่องเที่ยวป่าพื้นบ้าน อาหารชุมชน บ้านวังน�้ำมอก จังหวัดหนองคาย คุณสนธยา ช�ำนิ ปราชญ์ชุมชน และผู้ก่อตั้งกลุ่มบ้านสมุนไพร อ�ำเภอคีรีวง และคุณ วารุณี ค�ำศรี ผู้ประสานกลุ่มโฮมสเตย์คีรีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช คุณเสงี่ยม แสวงลาภ ประธานกลุ่มทอผ้าบ้านนาต้นจั่น และคุณเกตุทิพย์ วุฒิสาร ฝ่าย การจัดการที่พักของบ้านนาต้นจั่น แห่งชุมชนบ้านนาต้นจั่น จังหวัดสุโขทัย คุณสุรตั นา ภูมมิ าโนช ประธานกลุม่ ท่องเทีย่ วบ้านน�ำ้ เชีย่ ว จังหวัดตราด และคุณชนเขต บุญญขันธ์ จากจังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่เป็นแรงบันดาลใจในการเขียน หนังสือเล่มนี้ รวมถึงชาวบ้าน และผูน้ ำ� แห่งการเปลีย่ นแปลงของชุมชนแต่ละแห่งทีไ่ ด้เล่าเรือ่ งราว ที่มีคุณค่าและแรงบันดาลใจของตน จากวินาทีนี้ พลังงาน เรือ่ งราวและความใฝ่ฝนั ทัง้ หมดจะถูกส่งต่อไปทัว่ ทัง้ แผ่นดิน ทัว่ ทัง้ สายน�้ำ ดินทุกก้อน และบ้านทุกหลังอย่างไม่มีวันจบสิ้น
วรพันธุ์ คล้ามไพบูลย์
l ข้อความส่งท้าย l คุณจะสามารถหาเงินระดับล้าน หรือแม้แต่สิบล้านจากอาคารเก่า ของคุณได้อย่างไร ในจิตทรรศน์ ผมเห็นภาพประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของธุรกิจบูตคิ โฮเต็ลของโลก ทุกหนแห่ง ทุกจังหวัด และทุกต�ำบลหมูบ่ า้ น เรามีทพี่ กั ไม่วา่ จะเป็นบูตคิ โฮเต็ล โฮสเทล หรือโฮมสเตย์ระดับโลก เป็นหน้าเป็นตาไว้ต้อนรับผู้มาเยือน คนทุกคนเป็นเจ้าของบูติคโฮเต็ลได้ ไม่ว่าคุณจะเป็นชาวนา กรรมกร หรือจบ ป.4 ในฐานะคนท�ำโรงแรมที่เป็นทั้งผู้ให้ค�ำปรึกษา รวมถึงสร้างผู้ประกอบการโรงแรมและ ที่พักขนาดเล็กทุกประเภท เป็นจ�ำนวนมาก งานของผมมีสองข้อ คือ แก้ และสร้าง 1. แก้ปญั หาทีอ่ าจเกิดจากท�ำเลทีแ่ ย่ เกิดจากงบประมาณทีจ่ ำ� กัด หรือจากการไม่รหู้ ลักการ ในการบริหารธุรกิจโรงแรมขนาดเล็ก 2. สร้างความเป็นไปได้ทั้งเรื่องจุดขาย การตลาด การออกแบบ ให้กับที่ดินที่มีข้อจ�ำกัด หรือคนทีม่ ขี อ้ จ�ำกัดในทุกด้าน แต่ปรารถนาจะท�ำธุรกิจทีพ่ กั เพราะผมเชือ่ ว่าคนไทยทุกคนเกิดมา เพือ่ เป็นเจ้าของบูตคิ โฮเต็ล และไม่วา่ ท�ำเลไกลแค่ไหนก็ไม่เป็นอุปสรรค ถ้าเราสามารถสร้างจุดขาย ที่มีคุณค่าได้ นี่คือสิ่งที่ผมเชื่อ และลงมือท�ำมาตลอด ธุรกิจทีพ่ กั เป็นธุรกิจทีเ่ รียบง่ายมาก และมีเพียงปัจจัย 3 ประการทีจ่ ะชีข้ าดความส�ำเร็จ ในธุรกิจนี้ นั่นคือ 1. การสร้างจุดขายที่ยอดเยี่ยม ซึ่งจะช่วยให้คุณชนะข้อจ�ำกัดทุกประการ 2. การท�ำโรงแรมและที่พักของคุณให้ถูกกฎหมาย 3. การวางระบบบริหารและจัดการที่จะช่วยให้คุณท�ำงานได้ง่ายขึ้น มีความสุขมากขึ้น และที่ส�ำคัญคือช่วยให้คุณออกจากธุรกิจได้ เมื่อคุณถึงเวลาที่จะหยุด
คุณอาจคิดว่าปัญหาของคุณช่างซับซ้อนและยากเย็น แต่เชื่อเถอะครับว่าคุณก�ำลังท�ำ หนึ่งในธุรกิจที่เก่าแก่ที่สุดของโลก และทุกปัญหามีคนแก้มาแล้วทั้งนั้น เราจึงสร้างชุมชนของผู้ ประกอบการธุรกิจที่พักและโรงแรมขนาดเล็กขึ้น มีทั้งโรงเรียนเปลี่ยนบ้านเก่าเป็นบูติดโฮเต็ล (School of Creative Maker) ที่สอนการออกแบบอย่างสร้างสรรค์ ท�ำก�ำไร และยั่งยืน หนังสือ ให้ความรู้ การฝึกอบรม โครงการไปดูงานโรงแรมขนาดเล็กระดับโลกทั้งในประเทศและต่าง ประเทศ มีระบบจัดการชือ่ Homemade Stay และทีส่ ำ� คัญมีเจ้าของธุรกิจนับร้อยคนทีย่ นิ ดีและ เต็มใจแบ่งปันประสบการณ์ให้คนท�ำธุรกิจหน้าใหม่ ถ้าคุณมีอาคารเก่า โรงรถเก่า สะพานปลาเก่า โรงพยาบาลเก่า หรืออะไรก็ตามที่อยาก เปลีย่ นเป็นทีพ่ กั ทุกประเภท ไม่วา่ จากซอกมุมไหนทีไ่ กลทีส่ ดุ ของแผ่นดินนี้ และต้องการคนทีช่ ว่ ย คุณสร้างจุดขายทีย่ อดเยีย่ ม มีระบบการจัดการทีด่ ี รวมทัง้ ช่วยคุณท�ำทีพ่ กั ให้ถกู ต้องตามกฎหมาย ถ้าคุณอยากท�ำที่พักชั้นดีให้กับประเทศนี้ ให้กับตัวคุณเองและครอบครัว แปลว่าเรามี เป้าหมายเดียวกัน ค�ำถามก็คือคุณจะท�ำสิ่งนั้นได้อย่างไร ผมมีค�ำตอบนั้นให้คุณ ติดต่อผมได้ที่ 08-9696-9896 ครับ
วรพันธุ์ คล้ามไพบูลย์
l ประวัติ วรพันธุ์ คล้ามไพบูลย์ กูรูบูติคโฮเตล l
วรพันธุ์เป็นสถาปนิกที่ได้เปลี่ยนโรงรถขนาดยี่สิบตารางวาเป็นบูติคโฮเตลด้วยต้นทุนต�่ำ เป็นครั้งแรกของประเทศไทย ในชื่อ Samsen5Lodge จนกลายเป็นต้นแบบของที่พักขนาด เล็ ก ทั่ ว ประเทศ และได้ถูก กล่าวถึงจากสื่อเป็นจ� ำ นวนมาก รวมถึ ง สื่ อ ระดั บโลกอย่ า งเช่ น National Geographic และ ยังเป็นผู้ก่อตั้ง เปลี่ยนบ้านเก่าเป็น บูติคโฮเตล : School of Creative Hotel Makers ซึ่งเป็นหลักสูตรที่สร้างและให้ค�ำปรึกษากับผู้ประกอบการโรงแรม ขนาดเล็ก บูตคิ โฮเตล และโฮสเทล จากแนวคิด Creativity , Profitability และ Sustainability และ ความเชื่อที่ว่า ทุกหนแห่งที่มนุษย์สามารถเดินทางไปถึงคือท�ำเลของบูติคโฮเตล จนได้ สร้างโรงแรมขนาดเล็ก บูติคโฮเตล โฮสเทล โฮมสเตย์ และ ฟาร์มสเตย์ ที่โดดเด่นและมี เอกลักษณ์เป็นจ�ำนวนมากทั่วประเทศ วรพันธุ์เกิดในครอบครัวของคนท�ำธุรกิจที่พัก แม่ของเขามีธุรกิจซื้ออาคารเก่าขนาดใหญ่ มาเปลี่ยนเป็นห้องเช่า พ่อของเขาท�ำโฮสเทลแห่งแรกของประเทศไทยในชื่อว่าBangkok Youth Hostel ซึ่งเป็นที่ที่วรพันธุ์ได้มีโอกาสเรียนรู้ขั้นตอนทุกอย่างในการท�ำธุรกิจโฮสเทล มาตั้งแต่ปี 2528 เมื่อเขาเรียนอยู่มัธยม 2 หรือ อายุ14 ปี
วรพันธุ์ จบการศึกษาปริญญาตรีจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ ปริญญาโทด้านUrban DesignจากSchool of Planning and Architecture,New Delhi ด้วยทุนรัฐบาลอินเดีย (ICCR) เขาเคยท�ำงานกับสถาปนิกระดับโลกเช่น Raj Rewal ของอินเดีย รวมถึง Geoffrey Bawa สถาปนิกปรมาจารย์ด้านการออกแบบโรงแรมของ ศรีลังกา วรพันธุ์ได้รับรางวัลด้านการออกแบบเป็นจ�ำนวนมาก รวมถึงเป็นชาวไทยคนแรกที่ได้ รับรางวัลด้านการออกแบบระดับโลก Emerging Architecture จากประเทศอังกฤษ และ เป็นเจ้าของส�ำนักงานสถาปนิกชือ่ Super Green Studio ซึง่ เชีย่ วชาญด้านการเปลีย่ นอาคารเก่า มาเป็นโรงแรม เขาเป็นผู้เขียนหนังสือชื่อ เปลี่ยนบ้านเก่าเป็นบูติคโฮเตล ที่ออกมาแล้วหลายเล่ม ซึ่งถูกตีพิมพ์ทั้งในภาษาอังกฤษและภาษาจีน จนกลายเป็นคู่มือที่คนท�ำโรงแรมรุ่นใหม่ที่เน้น ความคิดสร้างสรรค์ ลงทุนไม่มากและให้ความส�ำคัญกับชุมชนและวัฒนธรรมต้องอ่าน เขาเป็นผู้ก่อตั้งชุมชนผู้ประกอบการและระบบเทคโนโลยีส�ำหรับการจัดการโรงแรม ขนาดเล็กที่มีชื่อว่า Homemade Stay ที่มีเครือข่ายที่พักทุกประเภทเป็นจ�ำนวนมาก นับตั้งแต่ ก่อตั้งในปี 2553 จนปัจจุบัน โรงเรียนเปลี่ยนบ้านเก่าเป็นบูติคโฮเตล ได้อบรมผู้ประกอบการ ไปแล้วกว่า 3,000 คน และสร้างทีพ่ กั ทีม่ คี ณ ุ ภาพนับร้อยแห่ง วรพันธุย์ งั คงเดินทางไปทัว่ โลก เพือ่ ดูงานธุรกิจทีพ่ กั ทุกประเภท เพือ่ สอน บรรยาย และ เป็นทีป่ รึกษาให้กบั ผูท้ ตี่ อ้ งการเปลีย่ นอาคาร เก่าทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น โรงรถ บ้าน สะพานปลา อพารท์เม้นท์ หอพัก โรงหนัง ส�ำนักงาน โรงเรียน ม่านรูด โรงงาน หรือแม้แต่ คอกม้า และ อู่ต่อเรือ มาเป็นบูติคโฮเตล
หนังสือ Homemade Stay : My Hometown `โดยคุณวรพันธุ คลามไพบูลย ที่เปนผูเชี่ยวชาญในธุรกิจบูติคโฮเตล จะสามารถชวยเผยแพรความรูดานที่พักประเภทนี้ไปสูวงกวาง เพื่อสรางมาตรฐานของที่พักที่ดีขึ้น และมีอัตตลักษณ อยางยั่งยืนตลอดไป กอบกาญจน วัฒนวรางกูร อดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา (30 ส.ค. 2557 - 23 พ.ย.2560) หนังสือ Homemade Stay-My Hometown เลมนี้ โดยคุณวรพันธุ คลามไพบูลย กูรูบูติคโฮเตล ซึ่งเปนผูเชี่ยวชาญและผูบุกเบิกธุรกิจบูติคโฮเตลและโฮสเทล ของประเทศไทย จะเปนประโยชนตอการพัฒนา และยกระดับที่พักแรมประเภท Homestay เพื่อใหนักทองเที่ยวทุกคนไดรับความสุข สะดวกและปลอดภัย สอดรับกับนโยบายของประเทศไทยที่มุงสูการทองเที่ยวคุณภาพ และนำไปสูความยั่งยืนของการทองเที่ยวไทย กลินท สารสิน / ประธานคณะกรรมการการทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประธานกรรมการหอการคาไทยและสภาหอการคาแหงประเทศไทย หนังสือHomemade Stay ที่ทรงคุณคาเลมนี้ เปนการรวมเรื่องของโฮมสเตยตนแบบ ทั่วประเทศไทย หนังสือเกิดจากความตั้งใจของคุณวรพันธุ คลามไพบูลยที่สะสมประสบการณ และความสำเร็จจากการทำธุรกิจบูติคโฮเต็ลขนาดเล็กที่กลายเปนตนแบบของเมืองไทยรวมถึง การเปนนักเขียน นักบรรยาย และที่ปรึกษาใหกับเจาของโรงแรมขนาดเล็กจำนวนมาก จนไดนำมากลั่นกรองเปนองคความรู ที่เหมาะกับผูประกอบการในกลุมอุตสาหกรรม ทองเที่ยวเปนอยางยิ่ง มงคล ลีลาธรรม กรรมการผูจัดการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย พี่ขิงเปนกูรูดานการจัดการที่พัก โดยเฉพาะบูติคโฮเตลขนาดเล็ก ที่มีประสบการณมากมายที่สามารถชวยเติมเต็ม ในสิ่งที่หลายชุมชนขาด การทำงานกับชุมชนเปนเรื่องที่ละเอียดออนและเปนทักษะเฉพาะของแตละคน.... ขอบคุณผูเขียน พี่ขิง วรพันธุ คลามไพบูลยอีกครั้งสำหรับเนื้อหาดีๆ ในหนังสือ Homemadestay - My Hometown เลมนี้ ที่สามารถนำไปประยุกตใชไดจริง ครับ สมศักดิ์ บุญคำ Founder and CEO บริษัท Local Alike จำกัด
เปลี่ยนบานเกาเปนบูติคโฮเต็ล
ISBN : 978-616-92219-2-0
ราคา 420 บาท
089-696-9896 เปลี่ยนบานเกาเปนบูติคโฮเต็ล www.boutiqueking.com workshopboutiquehotel@gmail.com