ISSN 27730-2059 ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 ประจำ�เดือนกันยายน 2563
จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์
+ 01 Editor’s Talk
Stop Cyberbullying
02 News Update
+
ข่าวสาร กิจกรรม ความคืบหน้าการขับเคลื่อนงาน ของคณะอนุกรรมการฯ
03 คุยกับภาคี รางวัลเกียรติยศ เวทีรางวัล เชิดชูเกียรติสื่อปลอดภัยและ สร้างสรรค์
04 Interview ผู้ใหญ่เอ็นดู แต่ท�ำ ร้ายหนูไม่รู้ตัว
06 Voice สื่อควรมีเนื้อหา 1. ส่งเสริมให้เกิดระบบวิธีคิดมีสติปัญญา 2. ส่งเสริมความรู้ในเรื่องวิชาการ และศาสตร์สาขาต่าง ๆ 3. ส่งเสริมการพัฒนาด้านคุณธรรม และจริยธรรม 4. ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้เกี่ยวกับทักษะชีวิต 5. ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ยอมรับ เข้าใจ และชื่นชม ความหลากหลายในสังคม 6. ส่งเสริมการพัฒนาความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล สื่อที่ต้องไม่มีเนื้อหา 1. พฤติกรรมและความรุนแรง 2. เรื่องทางเพศ 3. การใช้ภาษาที่หยาบคายและไม่เหมาะสม ตามข้ อ กำ � หนดแนวทางการจั ด ระดั บ ความเหมาะสมของรายการ โทรทัศน์ ประกาศสำ�นักคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ที่สามารถนำ�มาประยุกต์ ใช้ได้กับทุกสื่อ
ก้าวข้ามวิกฤตโควิดด้วยความรู้
Special Report 07 หรือไทยควรเอาจริง “กฎหมาย Cyberbullying”
08 Cover Story Cyberbullying แกล้งในโลกเสมือนสะเทือนชีวติ จริง
12 Infographic Stop Cyberbullying
Stop Cyberbullying เราอาจเคยไม่ชอบใจทีถ่ กู เพือ่ น ๆ ในโลกออนไลน์หยอกล้อ ขณะเดียวกัน เราก็อาจจะ เคยร่วมหยอกล้อกับเพือ่ นในโลกออนไลน์ โดยไม่ทนั คิดว่า เรือ่ งทีล่ อ้ เล่นกันนัน้ อาจส่งผล กระทบต่อความรูส้ กึ ของอีกฝ่ายอย่างรุนแรง เราต่างมีโอกาสเป็นทัง้ ผูท้ ถี่ กู ระรานทางไซเบอร์ (Cyberbullying) และเป็นผูก้ ระท�ำต่อผูอ้ นื่ เสียเอง ทัง้ “ตัง้ ใจ” และ “ไม่ตงั้ ใจ” ทักษะการรู้เท่าทันสื่อจึงเป็นสิ่งที่สังคมพึงมี เพื่อให้ทุกคนใช้สื่อได้อย่างปลอดภัย และสร้างสรรค์ และไม่ไปสร้างบาดแผลให้กบั ใคร เพราะแม้การระรานทางไซเบอร์จะท�ำในโลก ออนไลน์หรือโลกเสมือน แต่อาจส่งผลร้ายแรงได้ในชีวติ จริง จดหมายข่าว +6-3 ฉบับนี้ จะมาคุยกันถึง Cyberbullying การป้องกัน การแก้ไข ปัญหา และวิธรี บั มือ โดยเฉพาะบทบาทของผูใ้ หญ่ทตี่ อ้ งเข้าใจเด็ก ๆ ในเรือ่ งนี้ พร้อมไปกับ การสร้างทักษะรู้เท่าทันสื่อ เพื่อให้เด็กและเยาวชนของเราใช้สื่อได้อย่างสร้างสรรค์และ ปลอดภัย
คณะผู้จัดทำ�จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ +6-3 บรรณาธิการบริหาร นางสาวลัดดา ตัง้ สุภาชัย ประธานคณะอนุกรรมการเกีย่ วกับการเฝ้าระวังสือ่ ทีไ่ ม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ ทีป่ รึกษากองบรรณาธิการ นายธนกร ศรีสขุ ใส ผูจ้ ดั การกองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์, รศ. นพ.ชาญวิทย์ พรนภดล ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านจิตเวชศาสตร์เด็กและวัยรุน่ ผู้ช่วยบรรณาธิการ นางวรินร�ำไพ ปุณย์ธนารีย์ รองผู้จัดการกองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์, นางสุวารี เตียงพิทกั ษ์ รองผูจ้ ดั การกองทุน พัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ กองบรรณาธิการ นายวีระพงษ์ กังวานนวกุล, นางสาวคีตฌาณ์ ลอยเลิศ, นางสาวรติรตั น์ นิมติ รบรรณสาร บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ นายวีรพล เจียมวิสทุ ธิ์ ถ่ายภาพ นายเรืองศักดิ์ บุณยยาตรา, นายณรงค์ฤทธิ์ โก๋กลิน่ , ประสานงาน นางสาวมนัญญา พาลมูล, นางสาวปองรัก เกษมสันต์, นายกันตภณ ตัง้ อุทยั เรือง, นายเชาวน์เมือง เวชกามา, นายธ�ำรงค์ จิตตะปะสาทะ, นางสาวศุทธภา เพชรสุทธิ์ ส�ำนักงาน กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ เลขที่ 388 อาคารเอส.พี. (ไอบีเอ็ม) อาคารบี ชั้น 6 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทร. 0 2273 0116-8 โทรสาร 0 2273 0119 อีเมล : contact@thaimediafund.or.th website : www.thaimediafund.or.th
NEWS UPDATE
07.08.63 คณะกรรมการกองทุนพัฒนาสือ่ ฯ อนุมตั กิ ารจัดสรร เงินทุนเพือ่ ผลิตสือ่ สร้างสรรค์ 3 ประเภท ประกอบด้วย 1. โครงการประเภทเปิดรับทัว่ ไป (Open Grant) 2. โครงการ ประเภทเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Grant) 3. โครงการ ประเภทความร่วมมือ (Collaborative Grant) งบประมาณรวม 300 ล้านบาท โดยมีการประกาศเปิดรับข้อเสนอโครงการ ประจ�ำปี 2563 ประมาณกลางเดือนสิงหาคม
04.08.63 นายกฤษศญพงษ์ ศิริ ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม เป็น ประธานการประชุมคณะอนุกรรมการกลัน่ กรองและพัฒนา โครงการ ครั้งที่ 1/2563 โดยมีนางยุพา ทวีวัฒนะกิจบวร รองปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ดร.ธนกร ศรีสขุ ใส ผูจ้ ดั การกองทุน พัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ และคณะอนุกรรมการฯ ผูบ้ ริหาร และเจ้าหน้าทีข่ องส�ำนักงานกองทุนพัฒนาสือ่ ฯ เข้าร่วม
11.08.63 จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 02
คณะอนุ ก รรมการเกี่ ย วกั บ การเฝ้ า ระวั ง สื่ อ ที่ ไ ม่ ป ลอดภั ย และ ไม่สร้างสรรค์ กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ได้จดั ประชุม เครือข่ายมหาวิทยาลัย ในโครงการเวทีรางวัลเชิดชูเกียรติสื่อปลอดภัยและ สร้างสรรค์ ครัง้ ที่ 2/2563 โดยประเด็นในการประชุมคือการท�ำความเข้าใจ ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยและกองทุนพัฒนาสือ่ ฯ ในการผลักดัน สือ่ ทีป่ ลอดภัยและสร้างสรรค์ภายใต้กรอบแนวคิด +6-3 อันจะน�ำไปสู่ การลงนามความร่วมมือบันทึกข้อตกลงทีก่ ำ� ลังจะเกิดขึน้ ในวันที่ 2-3 กันยายน 2563 ต่อไป
คุยกับภาคี
รางวัลเกียรติยศ เวทีรางวัลเชิดชูเกียรติ สื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์
ในเดือนกันยายน 2563 มีงานทีน่ บั ว่าเป็นเรือ่ งน่ายินดีสำ� หรับประเทศไทย เพราะมีการลงนามความร่วมมือ (MOU) โครงการเวทีรางวัล เชิดชูเกียรติสอื่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ โดยมีมหาวิทยาลัยเครือข่ายทีม่ กี ารเรียนการสอนนิเทศศาสตร์และวารสารศาสตร์ จ�ำนวน 24 แห่ง ร่วมลงนามด้วย “คุยกับภาคี” ฉบับนีจ้ ะพาไปพูดคุยกับ นางรัตนากร ทองส�ำราญ ประธานคณะท�ำงานโครงการเวทีรางวัลเชิดชูเกียรติสอื่ ปลอดภัย และสร้างสรรค์ โดยคณะอนุกรรมการเกีย่ วกับการเฝ้าระวังสือ่ ทีไ่ ม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ กองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ถึงรายละเอียดโครงการดังกล่าว “โครงการ เวทีรางวัลเชิดชู เ กี ย ร ติ สื่ อ ปลอดภัยและ สร้างสรรค์เป็นโครงการภายใต้การด�ำเนินงาน ของคณะอนุกรรมการเกีย่ วกับการเฝ้าระวัง สือ่ ทีไ่ ม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ กองทุน พัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ซึ่งมี นางสาวลัดดา ตัง้ สุภาชัย เป็นประธานคณะ อนุกรรมการฯ โดยดิฉันท�ำหน้าที่ประธาน คณะท�ำงาน โครงการดังกล่าว”
When “การลงนามความร่ ว มมื อ กั บ 24 มหาวิ ท ยาลั ย เครื อ ข่ า ยจะด� ำ เนิ น การ ในเดือนกันยายน จากนัน้ เป็นกระบวนการ คัดกรองในแต่ละรอบ คาดว่าจะประกาศผล รางวัลยอดเยี่ยมได้ภายในต้นปี 2564”
จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 03
“โครงการ เวที ร างวั ล เชิ ด ชู เ กี ย รติ สื่ อ ปลอดภั ย และ สร้างสรรค์ ต้องการค้นหาสือ่ และผูผ้ ลิตสือ่ “ปลอดภัย” และ “สร้างสรรค์” เพือ่ มอบรางวัล เชิดชูเกียรติให้ เป็นการส่งเสริม สนับสนุน และให้กำ� ลังใจผูผ้ ลิตสือ่ ทีด่ ี โดยโครงการนี้ มี รศ.ดร.พนา ทองมีอาคม ประธานคณะ อนุกรรมการเกีย่ วกับการส่งเสริมการมีสว่ นร่วม ของประชาชน และ ผศ.วรัชญ์ ครุจติ ประธาน อนุกรรมการส่งเสริมสนับสนุนการสร้าง นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสื่อปลอดภัยและ สร้างสรรค์ กองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและ สร้างสรรค์ ร่วมเป็นที่ปรึกษาด้วย”
“คณะ ท� ำ ง า น โครงการ เวที ร างวั ล เชิ ด ชู เกียรติฯ ได้เชิญคณาจารย์จากมหาวิทยาลัย ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่ทำ� การสอน สาขานิ เ ทศศาสตร์ แ ละวารสารศาสตร์ จ�ำนวน 24 สถาบัน เข้าร่วมก�ำหนดเกณฑ์ และคัดเลือกสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ เพือ่ ให้รางวัล 10 ประเภทสือ่ 37 สาขารางวัล เกณฑ์ให้คะแนนยึดหลัก -3 +6 +1 ซึ่ง -3 ได้แก่ เรื่องเพศ ภาษา ความรุนแรง ที่ไม่ควรมีในสื่อ ส่วน +6 คือ 6 เรื่อง สร้างสรรค์ ได้แก่ 1) ส่งเสริมให้เกิดระบบ วิธคี ดิ 2) ส่งเสริมความรูว้ ชิ าการ 3) ส่งเสริม จริยธรรม 4) ส่งเสริมการเรียนรูท้ กั ษะชีวติ 5) ส่งเสริมความเข้าใจเรือ่ งความหลากหลาย 6) ส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัวและ บุคคล ส่วน +1 อีกเรื่องที่จะน�ำมาพิจารณา คือ กระบวนการผลิตทีม่ กี ระบวนการสร้างสรรค์ เข้าถึงประชาชน ข้อมูลถูกต้อง มีนวัตกรรม เป็นผลงานทีใ่ ช้ทงั้ ศาสตร์และศิลป์จนออกมา เป็นสื่อที่สมบูรณ์ มหาวิทยาลัยเครือข่าย 24 สถาบัน จะร่วมกับนักศึกษาของตนเองคัดเลือกสื่อ น�ำเสนอต่อคณะกรรมการผูเ้ ชีย่ วชาญ จากนัน้ คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญจะคัดเลือกสื่อ น�ำเสนอต่อคณะกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ และ คัดเหลือเพียงสือ่ เดียว ให้รบั รางวัลยอดเยีย่ ม โดยสือ่ ทีผ่ า่ นการพิจารณาแต่ละรอบจะได้รบั รางวัลด้วยเช่นกัน
INTERVIEW
ผู้ ใหญ่เอ็นดู
แต่ท�ำ ร้ายหนูไม่รู้ตัว นับวันภัยร้ายใกล้ตวั อย่าง Cyberbullying หรือการกลัน่ แกล้งบนโลกออนไลน์ จะยิง่ ทวี ความรุนแรงมากขึน้ จนปัจจุบนั ประเทศไทยติด อันดับ Top 5 ของโลก เรือ่ ง Cyberbullying ไปแล้ว และหลายครัง้ คนใกล้ตวั อย่างพ่อแม่ ก็เผลอท�ำร้ายลูกหลานด้วยการ Cyberbullying แบบไม่รู้ตัว ท�ำอย่างไรที่จะไม่ท�ำให้เรา Bully ลูกหลานเสียเอง หรือเมือ่ คนอืน่ Bully ลูกหลานของเรา ควรรับมืออย่างไรดี เราจะไป คุยเรื่องนี้กับ ดร.สรวงมณฑ์ สิทธิสมาน กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ กองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ด้านการศึกษา ผูท้ ี่ ท�ำงานคร�่ำหวอดทางด้านเด็ก เยาวชน และ ครอบครัวมาอย่างยาวนาน
จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 04
ลองนึกภาพตามนะคะ เปรียบเทียบกับเมื่อก่อนที่ยัง ไม่มโี ลกไซเบอร์ เวลาเด็กแกล้งกัน ล้อเลียนกัน ทะเลาะกัน คนทีถ่ กู กระท�ำมักจะหาจังหวะเอาคืน ก็อาจจะนัดเคลียร์กนั ประเภทเจอกันหลังโรงเรียนตบตีกนั หรือพูดคุยกัน และไม่วา่ ผลจะเป็นอย่างไรก็ยงั จบทีบ่ คุ คล จบทีโ่ รงเรียน หรือไม่
สุดท้ายผูถ้ กู รังแกก็อาจเลือกวิธยี า้ ยโรงเรียน แต่ปจั จุบนั Cyberbullying มันแตกต่างโดยสิน้ เชิง เพราะแทนทีเ่ ราจะทะเลาะกัน ตัวต่อตัว ทะเลาะกันเฉพาะทีโ่ รงเรียน กลายเป็นว่าเมือ่ เด็ก คนหนึง่ ไม่พอใจอีกคนหนึง่ บนโลกออฟไลน์ แล้วขยายผล ไปบนโลกออนไลน์ เรื่ อ งมั น ไม่ ไ ด้ จ บที่ โรงเรียนแล้ว แต่ขยายวงบานปลายกลายเป็น เรือ่ งสาธารณะ ต่างคนต่างมีพวกของตัวเอง ขยายความขัดแย้ง น�ำไปสูค่ วามขัดแย้งใหม่ จากเรือ่ งเล็กก็เป็นเรือ่ งใหญ่ จากบุคคล ต่อบุคคล ก็เป็นกลุม่ ต่อกลุม่ ความขัดแย้งมันก็ขยาย เกิดผลพวง ตามมาอีกมากมาย หลายคนอาจไม่ทราบว่าตอนนี้ บ้านเรามี การกลัน่ แกล้งบนโลกออนไลน์มากเป็นอันดับ 5 ของโลกไปแล้ว
การทีบ่ า้ นเรามีการ Cyberbullying มากเป็นอันดับ 5 ของโลก มันสะท้อนว่าอะไรบ้างคะ สะท้อนว่านี่ไม่ใช่เรื่องเล็กๆ แต่เป็นปัญหาใหญ่ที่ไม่อาจ มองข้าม เรือ่ ง Cyberbullying ทีม่ กี ารโพสต์บนโลกออนไลน์ มีอยู่ 2 ประเด็นใหญ่ๆ คือ “ตั้งใจ” กับ “ไม่ตั้งใจ” ส�ำหรับ พฤติกรรมทีเ่ ป็นความตัง้ ใจกระท�ำให้ผอู้ นื่ ได้รบั ความทุกข์ความ เจ็บปวดทางด้านจิตใจ จะเห็นได้อย่างชัดเจน เช่น การว่ากล่าว ด่าทอด้วยถ้อยค�ำหยาบคาย ตอกย�้ำปมด้อย ท�ำให้อับอาย ประจาน หรือแอบอ้างท�ำให้เสื่อมเสีย ฯลฯ
ส่วนพฤติกรรมที่เป็นความไม่ตั้งใจ ส่วนใหญ่เกิดจากความไม่รู้ เช่น กรณีพอ่ แม่ โพสต์รูปตลกๆ ของลูกตอนเด็กเล็กใส่ชุด เปิดพุง เขียนแคปชัน่ ข�ำๆ เพราะเห็นว่าน่ารัก หรื อ ครู โ พสต์ ค ลิ ป เด็ ก ท่ อ ง ก-ฮ แบบ ตะกุกตะกัก หรือเอ็นดูเด็กร้องไห้ อยากจะโชว์ ให้คนอื่นดูหรือข�ำไปด้วย โดยที่ไม่รู้เลยว่า นั่นคือการ Cyberbullying ถ้าวันหนึ่งเด็ก คนนี้โตขึ้นแล้วกลับมาเห็นคลิปของตัวเอง จะรู้สึกอย่างไร หรือเพื่อนในห้องเห็นแล้ว เอาไปล้อเลียนต่อ หนักกว่านั้นถ้าสื่อหลัก หยิบไปน�ำเสนอผ่านสือ่ ทีวตี อ่ อีกทอด จะเห็นว่า มันไม่ได้จบอยูแ่ ค่คลิปนัน้ หรือแค่วนั นัน้ แล้ว
“
ปัญหา Cyberbullying ของบ้านเรามาจากสาเหตุ อะไรเป็นหลัก 3 ประเด็นค่ะ คือ หนึ่ง ความไม่รู้ สอง ดูเบาปัญหา และสาม รู้ไม่เท่าทันสื่อ กรณี ของพ่อแม่ อาจคิดว่าการลงรูปข�ำๆ ของลูกไปละเมิดสิทธิเด็กตรงไหน นัน่ เพราะความไม่รู้ คนส่วนใหญ่ยงั เข้าใจว่าโซเชียลมีเดียคือพืน้ ทีส่ ว่ นตัว หารูไ้ ม่วา่ ไม่มคี ำ� ว่าพืน้ ทีส่ ว่ นตัวบนโลก ออนไลน์ ไม่รู้ว่ามันมีเรื่องสิทธิเด็กด้วยเหรอ มี พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ด้วยเหรอ ความไม่รู้ทั้งหลายเหล่านี้นี่แหละที่เป็นตัวปัญหา ประเด็นต่อมา ดูเบาปัญหา บางคนรูน้ ะ แต่คดิ ว่าไม่เป็นอะไร ก็ลกู ฉันน่ะ มันจะอะไร นักหนา ครั้งหนึ่งดิฉันเคยมีโอกาสไปร่วมกิจกรรมในค่ายนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่มี การรวมตัวของกลุ่มคนทีม่ ีอาการเป็นโรคซึมเศร้า เด็กบางคนเล่าว่าสาเหตุทที่ ำ� ให้เขาเป็น โรคนี้มาจากการถูก Cyberbullying ซ�้ำๆ อย่างต่อเนื่อง หรือหลายครั้งก็น�ำไปสู่ โศกนาฏกรรมถึงขั้นฆ่าตัวตายอย่างที่เห็นเป็นข่าว สะท้อนว่า Cyberbullying ส่งผลร้าย กว่าที่คิด สุดท้ายผู้ใหญ่ต้องตระหนักว่านี่เป็นเรื่องส�ำคัญ ไม่ใช่เรื่องที่ปล่อยผ่านได้ อย่าไป มองว่าท�ำไมเรือ่ งแค่นถี้ งึ กับจะเป็นจะตาย ทีส่ ำ� คัญ ต้องรูเ้ ท่าทันสือ่ ถ้าพ่อแม่รไู้ ม่เท่าทันสือ่ แล้วจะไปบอกให้ลูกรู้เท่าทันสื่อได้ยังไง ในยุคออนไลน์เต็มเมือง การใช้สื่อโซเชียลมีเดีย ยิ่งต้องเพิ่มความระมัดระวัง เพราะมีข้อมูลทั้งจริงและเท็จมากมาย ฉะนั้น ควรจะต้องรับ ข้อมูลแบบมีสติและมีความรู้ จริงๆ เรือ่ งนีท้ กุ ฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง ไม่วา่ จะเป็นพ่อแม่ ครูอาจารย์ รวมไปถึงภาครัฐเองต้องตระหนักว่าปัญหา Cyberbullying ไม่ใช่เรือ่ งเล็กๆ แค่เด็กทะเลาะกัน เพราะอย่างที่บอกว่ามันไม่จบแค่นั้น แต่อาจกลายเป็นปัญหาบานปลายได้
เกิดอะไรขึ้น ใครจะไปรู้ว่าวันหนึ่งโพสต์นั้นอาจกลับมาท�ำร้ายเราหรือลูกเราก็เป็นได้ และ ถ้ากรณีลูกถูกกระท�ำ พ่อแม่ต้องชี้แนะลูกได้ว่าควรท�ำอย่างไร พ่อแม่ควรท�ำหน้าที่รับฟัง ความรูส้ กึ สะท้อนปัญหา และชีใ้ ห้ลกู เห็นว่าถ้าลูกตอบโต้ ผลทีต่ ามมาจะเกิดอะไรขึน้ บ้าง ถ้าเป็นกรณีบุคคลก็อย่าไปตอบโต้ บล็อกเพื่อนไปเลย แต่ถ้าเป็นกรณีสาธารณะผ่านสื่อ ไปแล้ว ให้เก็บหลักฐานเอาไว้ แล้วไม่ต้องเข้าไปดู ไม่ต้องไปรับรู้ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง แล้วชวนลูกไปท�ำกิจกรรมอย่างอืน่ ทีห่ ลุดออกไปจากโลกไซเบอร์ ส่วนพ่อแม่ทอี่ าจมีลกู เป็น ฝ่ายกระท�ำ ก็ตอ้ งคุยกับลูกว่าท�ำไปแล้วผลจะเป็นยังไง เวลาลูกถูกกระท�ำบ้างจะรูส้ กึ ยังไง อีกฝ่ายก็คงรู้สึกไม่แตกต่างจากเรา สิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ คือ สัมพันธภาพของสมาชิกในครอบครัว ถ้าพ่อแม่มคี วามสัมพันธ์ ใกล้ชดิ กับลูก เขาจะอยากเล่าปัญหา พ่อแม่ตอ้ งเปิดใจรับฟัง ไม่ใช่จอ้ งจะสอนอย่างเดียว ห้ามอย่างเดียว แต่ไม่รบั ฟัง ทีส่ ำ� คัญต้องรูจ้ กั สังเกตความผิดปกติของลูก เมือ่ เขาส่ง สัญญาณขอความช่วยเหลือ ต้องอย่าปล่อยผ่าน พยายามโอบอุม้ ลูก อย่าปล่อยให้เขาอยูล่ ำ� พัง แล้วหาทางจัดการแก้ไขปัญหาร่วมกัน
จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 05
ก่อนโพสต์อะไร บนโซเชียลมีเดียก็ตาม ต้องคิดทุกครั้ง ต้องตั้ง คำ�ถามกับตัวเองก่อนว่า ถ้าโพสต์ ไปแล้ว จะทำ�ให้ใครเดือดร้อนไหม พ่อแม่ควรรับมือกับเรื่องนี้อย่างไรดี โดยเฉพาะ ยิ่งถ้าโพสต์เรื่องของลูก พ่อแม่ที่อาจเผลอ Bully ลูกโดยไม่รู้ตัว หรือคนอืน่ จะเกิดผลกระทบ อะไรบนโซเชียลมีเดียก็ตาม ต้องคิดทุกครั้ง ต้องตั้งค�ำถามกับตัวเอง ตามมาหรือไม่ แค่เพียง ก่อนว่ก่าอถ้นโพสต์ าโพสต์ไปแล้วจะท�ำให้ใครเดือดร้อนไหม ยิ่งถ้าโพสต์เรื่องของลูกหรือคนอื่นจะ ‘ไม่แน่ใจ’ก็ต้องไม่โพสต์ เกิดผลกระทบตามมาหรือไม่ แค่เพียง ‘ไม่แน่ใจ’ ก็ต้องไม่โพสต์ หรือถ้าโพสต์ไปแล้วจะ
“
VOICE
ก้าวข้ามวิกฤตโควิด
ด้วยความรู้
เมื่อประเทศไทยต้องเผชิญกับโรคโควิด-19 ซึ่งเป็นโรคระบาดใหม่ จ�ำเป็นต้อง ศึกษาเรียนรู้และท�ำความเข้าใจ กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ได้เล็งเห็น ถึงการเตรียมพร้อมให้แก่นกั เรียน นักศึกษา และประชาชนทัว่ ไป ให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ จาก แหล่งความรู้ที่ถูกต้อง เกี่ยวกับ โรคโควิด-19 และการระบาดวิทยาเบื้องต้น จึงได้สนับสนุนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ด�ำเนิน “โครงการบทเรียนออนไลน์ “MOOC” หลักสูตรโควิด -19 และระบาดวิทยา” ซึ่งมี “รศ.ยืน ภู่วรวรรณ กรรมการสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ในรูปสื่อ บทเรียนออนไลน์ แบบ MOOC (Massive Open Online Course) อยู่บนเว็บไซต์ให้ทุกคนเข้ามาเรียนได้ง่าย
จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 06
“การศึกษายุคโควิดเปลี่ยนแปลงมหาศาล ไม่ใช่เพื่อ กระดาษหนึ่งใบอีกแล้ว แต่เป็นการศึกษาแบบปกติใหม่ที่ ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามที่ตนเองสนใจ โดยใช้ เทคโนโลยีทำ� ให้สามารถส่งความรูใ้ ห้กบั ผูเ้ รียนทีอ่ ยูห่ า่ งไกล ได้เป็นจ�ำนวนมาก การเรียนออนไลน์จึงเป็นรูปแบบการ เรียนรู้ที่เข้ากับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด จึงอยากใช้วกิ ฤตินเี้ ป็นโอกาส เพือ่ เสริมการเรียนรูเ้ กีย่ วกับ ไวรัสที่ท�ำให้เกิดโรคโควิด-19 และองค์ความรู้ในการดูแล ปกป้อง ป้องกันโรค และการระบาดของโรค โดยเน้นทางด้าน วิชาการ วิทยาการเกีย่ วกับชีววิทยาไวรัส และโรคโควิด-19 รวมถึงเรือ่ งระบาดวิทยา เป็นความรูพ้ นื้ ฐานทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ที่เชื่อมความรูเ้ ป็นเนือ้ เดียวกัน เพราะใน ความเป็นจริงปัจจุบนั การแก้ปญ ั หาต่างๆ ต้องใช้ตา่ งวิชา เข้ามารวมกัน เรือ่ งของโควิด-19 ก็เช่นเดียวกัน วิทยาการค�ำนวณมีความส�ำคัญมากในการ ควบคุมการระบาด”
ศ.นพ. ยง ภู่วรวรรณ
หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และหัวหน้า “โครงการพัฒนาสื่อบทเรียนออนไลน์ และด�ำเนินการส�ำหรับนักเรียนและประชาชน หลักสูตรโควิด-19 และระบาดวิทยา”
“ตั้ ง แต่ มี ก ารเริ่ ม ระบาดของโรคโควิ ด -19 ผมและ อาจารย์ยนื ได้ไปบรรยายให้ความรูแ้ ก่กลุม่ ต่างๆ น�ำความรู้ ด้านคณิตศาสตร์มามองโมเดลของการระบาด ท�ำให้ได้รู้ เกี่ยวกับไวรัสและพฤติกรรมการระบาดต่างๆ ในแง่ของ คณิตศาสตร์และความรูพ้ นื้ ฐานของไวรัสทัง้ หมด จึงอยากจะ กระจายความรู้เกี่ยวกับโควิด-19 และระบาดวิทยาแก่คน จ�ำนวนมาก จึงได้รว่ มกับอาจารย์ยงในการจัดเตรียมหาเนือ้ หา ด้วยการสือ่ สารภาษาเข้าใจง่าย และเข้าถึงทุกคน เป็นบทเรียน แบบเปิด ที่ใช้แพลตฟอร์มออนไลน์ ด้วยรูปแบบการเรียน การสอนที่ตรงกับวิถีปฏิบัติของทุกคน อยู่ที่ไหนก็เรียนได้ ตัง้ แต่เด็กระดับมัธยมต้น มีภาษาทีเ่ ข้าใจง่าย ดูยอ้ นหลังได้ มีแบบทดสอบให้ทำ� อยากให้นกั เรียน ประชาชนทุกคนได้มา เรียนรูห้ ลักสูตรโควิด-19 นี้ เพือ่ เข้าใจ และป้องกันการ แพร่ระบาดของโรค รวมถึงเป็นพืน้ ฐานในการ เรียนรูโ้ รคไวรัส และระบาดวิทยาอืน่ ๆ ต่อไป”
รศ. ยืน ภู่วรวรรณ
กรรมการสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ทรงคุณวุฒิ และคณะท�ำงาน “โครงการพัฒนาสื่อบทเรียนออนไลน์ และด�ำเนินการส�ำหรับนักเรียนและประชาชน หลักสูตรโควิด-19 และระบาดวิทยา”
SPECIAL REPORT
หรือไทยควรเอาจริง
“กฎหมาย Cyberbullying”
อย่ า งเข้ ม งวด หากมีการกลัน่ แกล้งรังแกกัน ในโรงเรียนจะต้องมีการลงโทษ ผู ้ กระท�ำความผิ ด ส่ วนใน ประเทศแคนาดา มีพระราช บั ญ ญั ติ ป กป้ อ งชาวแคนาดา จากอาชญากรรมออนไลน์ (Protecting Canadians from Online Crime Act) ที่บัญญัติไว้ทงั้ ความผิดเกีย่ วกับการกลัน่ แกล้งทาง ออนไลน์ และแนวทางในการสืบพยานหลักฐานของเจ้าหน้าที่ ต�ำรวจ โดยมีการจัดตัง้ หน่วยงานสืบสวนสอบสวนโดยเฉพาะในชื่อ Cyber-SCAN เพื่อท�ำหน้าที่สืบสวนและเข้าช่วยแก้ไขปัญหาได้ อย่างทันท่วงที ส�ำหรับประเทศไทย แม้ข่าวคราวการสูญเสียหรือได้รับ ความเสียหาย อันมีสาเหตุจากการกลัน่ แกล้งรังแกทางสือ่ ออนไลน์ อาจจะยังไม่มีมากนัก เพราะครอบครัวผู้ได้รับผลกระทบอาจจะ ไม่อยากเปิดเผยสาเหตุทแี่ ท้จริง แต่เราควรจะเอาจริงเอาจังด้วยการ ก�ำหนดกฎหมายทีบ่ งั คับใช้กบั การกลัน่ แกล้งรังแกทางสือ่ ออนไลน์ โดยตรงออกมาโดยเร็ว เพื่อให้สังคมตระหนักถึงพิษภัยและความ เสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น และช่วยกันป้องกัน ป้องปราม มิให้เกิด การกระท�ำความผิดดังกล่าวขึ้น ถึงเวลาแล้วหรือยังที่ประเทศไทยควรเอาจริงกับกฎหมาย Cyberbullying
จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 07
เคยไหม...บางครัง้ ทีเ่ รารูส้ กึ เหมือนใครบางคน (หรือหลายคน) ก�ำลังพูดถึงเราในทางทีไ่ ม่ดี หรือตลกขบขัน แม้ไม่ได้เอ่ยชือ่ เรา แต่ฟังแล้วคล้าย ๆ ก�ำลังหมายถึงเรายังไงก็ไม่รู้ ไม่วา่ เด็กหรือผูใ้ หญ่กค็ งไม่มใี ครอยากถูกล้อ ถูกเมาท์ ถูกเพือ่ น ๆ หัวเราะลับหลัง หรือเป็นตัวตลกในสังคม หรือกลุม่ เพือ่ น ยิง่ เป็นเด็ก ความอ่อนไหวบอบบางทางอารมณ์อาจจะยิง่ มากกว่าผูใ้ หญ่ โดยเฉพาะ ในสถานการณ์ปัจจุบันทีพ่ อ่ แม่ตอ้ งดิน้ รนท�ำมาหากิน ไม่คอ่ ยมีเวลา ดูแลเอาใจใส่ลกู การถูกกลั่นแกล้งรังแกทางสื่อออนไลน์ (Cyberbullying) ซึง่ เป็นสิง่ ทีล่ กู เข้าถึงได้มาก ยิง่ เป็นภัยอันตรายทีน่ า่ กลัว ส�ำหรับเด็ก Cyberbullying ทีเ่ กิดกับเด็กนัน้ มิได้สง่ ผลกระทบต่อ สภาพจิตใจหรือพฤติกรรมทางอารมณ์เท่านั้น แต่ยังอาจน�ำไปสู่ ปัญหาร้ายแรงถึงขั้นการฆ่าตัวตายได้ด้วย ประเทศไทยมี ก ฎหมายอาญาที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การหมิ่ น ประมาท มีกฎหมายความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ และมีกฎหมาย คุ ้ ม ครองเด็ ก และเยาวชนที่ อ าจน� ำ มาปรั บ ใช้ ใ นกรณี มี ก าร กลัน่ แกล้งรังแกทางสือ่ ออนไลน์ได้ แต่ไม่มกี ฎหมายฉบับใดทีร่ ะบุ ฐานความผิดชัดเจนถึงการกระท�ำที่ใช้สื่อออนไลน์เป็นเครื่องมือ ในการกลั่นแกล้งรังแก ท�ำให้ผู้อื่นได้รับผลกระทบแก่ชื่อเสียง เสรีภาพ ร่างกาย ชีวิต หรือต่อจิตใจโดยตรง ท�ำให้เมื่อเกิดความ เสียหายในบางกรณีจึงไม่สามารถเอาผิดกับผู้กระท�ำได้ ทัง้ นี้ ในประเทศสหรัฐอเมริกามีพระราชบัญญัตกิ ารป้องกัน การกลั่นแกล้งทางออนไลน์ (Megan Meier Cyberbullying Prevention Act) เพือ่ ป้องกันและคุม้ ครองเด็กผูใ้ ช้บริการอินเทอร์เน็ต มิให้ตกเป็นเหยื่อของการกลั่นแกล้งในลักษณะต่างๆ และในบาง มลรัฐยังมีกฎหมายระดับมลรัฐเพิม่ เติมอีกด้วย นอกจากนี้ ในบาง มลรัฐ ยังมีการก�ำหนดนโยบายให้สถานศึกษาควบคุมดูแล
COVER STORY
Cyberbullying
แกล้งในโลกเสมือน สะเทือนชีวิตจริง ถูกว่าร้าย ล้อเลียน บอกต่อข้อมูลที่เป็น ความลับลงในพืน้ ทีอ่ อนไลน์ บางคนอาจคิดว่า ก็แค่ เรือ่ งระรานกลัน่ แกล้งกันในโลกไซเบอร์ แต่ “การ ระรานทางไซเบอร์” หรือ Cyberbullying นั้น แม้จะอยูใ่ นโลกเสมือนแต่สามารถสร้างผลกระทบ กระเทือนให้กับผู้ถูกกระท�ำได้ร้ายแรงอย่างไม่ คาดคิด พญ.เบญจพร ตันตสูติ จิตแพทย์เด็ก และวัยรุน่ เจ้าของเพจ “เข็นเด็กขึน้ ภูเขา” จะพาเรา ไปท�ำความเข้าใจในเรือ่ งนี้ พร้อมเสนอแนะการป้องกัน และแก้ปญ ั หาให้กบั ทุกคน
พญ.เบญจพร ตันตสูติ จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น เจ้าของเพจ “เข็นเด็กขึ้นภูเขา”
จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 08
What is
?
Bullying
What is
?
Cyberbullying
“Cyberbullying หรือการระรานทางไซเบอร์ เป็นค�ำทีเ่ กิดขึน้ เพราะการพัฒนา ของเทคโนโลยีที่ท�ำมีอินเทอร์เน็ตใช้ จึงเกิดศัพท์ที่หมายความถึงการกลั่นแกล้ง รังแกกันในโลกออนไลน์ แตกต่างจาก Bullying โดยทั่วไป เพราะคนกลั่นแกล้ง ในอินเทอร์เน็ตบางครั้งไม่เปิดเผยตัวตน ไม่ทราบว่าเป็นใคร และเมื่อไม่เปิดเผย ตัวเอง ท�ำให้กล้ากระท�ำรุนแรงมากขึน้ ระรานกลัน่ แกล้งได้ทกุ ที่ ทุกเวลาทีส่ ามารถ เชือ่ มต่อโลกออนไลน์ได้โดยไม่จำ� กัดพืน้ ที่ ผูถ้ กู รังแกจึงถูกคุกคามได้มากกว่า และ สามารถแผ่ขยายเป็นวงกว้างได้ในเวลาอันรวดเร็ว รูปแบบ Cyberbullying มีทงั้ การล่วงละเมิด (Harassment) การส่งต่อข้อมูล ที่เป็นการคุกคาม หรือเปิดเผยข้อมูลลับ ซึ่งเป็นได้ทั้งข้อมูลเท็จและข้อมูลที่ เป็นจริง ไม่ว่าจะเป็นข้อความ คลิปวิดีโอ หรือภาพ ที่เป็นการ คุกคามทางร่างกายและจิตใจ การกีดกันออกจากกลุม่ (Exclusion) เป็นการกลัน่ แกล้งด้วยการเพิกเฉยไม่สนใจต่อเหยือ่ ท�ำให้รสู้ กึ ว่า ถูกตัดออกจากกลุ่มหรือไม่มีส่วนร่วม การปลอมตัว (Masquerading) สร้างบัญชี ออนไลน์โดยปลอมตัวเป็นเหยื่อ เพื่อกระท�ำสิ่งที่ส่งผลกระทบต่อเหยื่อ และท�ำให้ ผู้อื่นเข้าใจผิด ซึ่งเป็นการกลั่นแกล้งที่พบได้บ่อย ในประเทศไทย รศ.นพ.ชาญวิทย์ พรนภดล ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะ แพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล ได้ทำ� วิจยั เรือ่ ง “การกลัน่ แกล้งบนโลกไซเบอร์ในนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น” พบว่านักเรียนในวัยนีป้ ระมาณ ร้อยละ 45 มีประสบการณ์ เกี่ยวข้องกับ Cyberbullying ซึ่งส่วนหนึ่งอยู่ในวัยที่มีอุปกรณ์สื่อสารใช้ แต่ยังขาด ทักษะการรู้เท่าทันสื่อ จึงท�ำให้เป็นได้ทั้งเหยื่อและผู้กระท�ำเสียเองค่อนข้างมาก”
จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 09
“Bullying คือการกลั่นแกล้งรังแกกัน ในอดีตการกลั่นแกล้งรังแกจะเกิดขึ้นในพื้นที่ หรือสถานทีจ่ ำ� กัด เช่น ในโรงเรียน ในทีท่ ำ� งาน เมื่ อ ออกจากพื้ น ที่ นั้ น ก็เ ลี่ย งการถูก รังแกได้ โดยการกลัน่ แกล้งมีลกั ษณะส�ำคัญ 4 ประการ คือ 1.มีความตั้งใจในการกลั่นแกล้ง 2.มีความ รุนแรงก้าวร้าวที่กระท�ำต่อร่างกายหรือส่งผล ต่ออารมณ์ 3.มีการกระท�ำซ�้ำ ๆ เกิดขึ้น และ 4.มีความไม่เท่าเทียมกันเชิงอ�ำนาจ ผูท้ มี่ อี ำ� นาจ มากกว่ารังแกผู้ที่มีอ�ำนาจน้อยกว่า”
Effect of
Help Stop
“การถูกระรานทางไซเบอร์ ส่งผลกระทบได้ทงั้ “ทางกาย” และ “ทางใจ” ต่อผู้ถูกกระท�ำ ทางกายนั้น อาจมีอาการป่วย ที่รักษาไม่หายหรือไม่รู้สาเหตุ เช่น ปวดหัว ปวดท้อง เป็นผล มาจากความเครียดทีไ่ ด้รบั ส่วนอาการทางใจ จะเกิดภาวะทาง อารมณ์ วิตกกังวล สับสน ไม่รวู้ า่ ตัวเองจะแก้ปญ ั หาหรือออกจาก สถานการณ์นั้นอย่างไร สามารถน�ำไปสู่การเป็นโรคจิตเวชได้ และอาจร้ายแรงถึงขั้นไม่อยากมีชีวิตอยู่ หรือ อยากฆ่าตัวตาย ในเหยื่อบางราย เช่น ศิลปินเกาหลีที่ถูก Cyberbullying และ ตัดสินใจจบชีวิตลง ในกรณีที่เหยื่อ Cyberbullying เป็นเด็ก จะท�ำให้เขารูส้ กึ สูญเสียคุณค่าในตัวเอง มีความภาคภูมใิ จต�ำ่ ลง แยกตัวจากเพือ่ น ๆ หงุดหงิดง่าย ไม่อยากไปโรงเรียน บ่อยครัง้ พบว่าส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ ท�ำให้ผลการเรียนตกต�ำ่ ”
“การช่วยป้องกันและแก้ไขปัญหา Cyberbullying คนที่ มีบทบาทส�ำคัญทีส่ ดุ คือ พ่อ แม่ ผูป้ กครอง มีงานวิจยั หลายชิน้ ระบุว่า ผู้ปกครองช่วยให้การกลั่นแกล้งรังแกกันลดน้อยลงได้ ดังนั้น สิ่งที่ผู้ปกครองต้องมีก่อนที่จะยื่นอุปกรณ์สื่อสารให้ลูก เข้าสู่โลกออนไลน์ คือ การรู้เท่าทันสื่อ ต้องรู้ว่าจะสอนลูก อย่างไรเมื่อใช้โซเชียลมีเดีย สิ่งที่ต้องระมัดระวังในการโพสต์ ข้อมูล ข้อควรระวังในการรับคนแปลกหน้าเข้ามาเป็นเพื่อน รวมไปถึงสอนวิธีการใช้งาน การตั้งค่าความเป็นส่วนตัวต่าง ๆ และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตามมาในอนาคตหากใช้ไปในทาง ไม่สร้างสรรค์ พ่อ แม่ ผูป้ กครอง ต้องสร้างทักษะรูเ้ ท่าทันสือ่ ให้ลกู หาก เขาตกเป็นเหยือ่ การ Cyberbullying สามารถตัง้ สติ ไม่โต้ตอบ
Cyberbullying
Cyberbullying
จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 010
หรือโต้กลับ เพราะจะยิง่ ท�ำให้เรือ่ งบานปลาย และไปสร้าง ความพึงพอใจให้กบั คนแกล้ง ก็จะยิง่ ถูกแกล้งมากขึน้ ควรเก็บ หลักฐานด้วยการบันทึกหน้าจอไว้ รูจ้ กั การป้องกัน ตัวเองด้วยการบล็อก เพือ่ ปิดช่องทางการเข้าถึง ป้องกันการเห็นข้อมูลส่วนตัว รูว้ ธิ รี พี อร์ตข้อมูล เมือ่ ถูกปลอมแปลงตัวตน หรือถูกคุกคามจาก คนในโลกออนไลน์ พ่อแม่ควรพูดคุยและ สอบถามลูกให้เหมือนเป็นเรือ่ งปกติ ว่าทีโ่ รงเรียน มีใครแกล้งกันไหม แกล้งกันอย่างไร เพื่อให้ เด็กกล้าที่จะบอกเรื่องเหล่านี้ให้ฟัง ส�ำคัญทีส่ ดุ คือครอบครัวต้องมีสมั พันธภาพทีด่ ี เด็กจะเชือ่ มัน่ และ ไว้วางใจ เมื่อมีปัญหากล้าขอความช่วยเหลือจาก ผู้ใหญ่ในครอบครัว ส่วนเด็กทีเ่ ป็นผูก้ ระท�ำ Cyberbullying เสียเองนัน้ มักเป็นเด็กที่ชอบแกล้งคนอื่น ใจร้อน พ่อแม่ต้องหา สาเหตุให้เจอว่าท�ำไมลูกแกล้งคนอื่น บางคนมีปัญหา จิตเวชที่ต้องรักษา และต้องสอนให้ลูกเห็นอก เห็นใจผู้อื่น ยกตัวอย่างให้เขาคิดว่า หากเป็น ตัวเองถูกกระท�ำจะรูส้ กึ อย่างไร และรับผิดชอบ ผลของการกระท�ำตนเองด้วยการถูกลงโทษ แต่ตอ้ งไม่ลงโทษ รุนแรง เป็นการลงโทษเชิงบวก ให้ทำ� ความดีชดเชย หรือ ให้ไปขอโทษเพือ่ น อย่างไรก็ตามทักษะการรูเ้ ท่าทันสือ่ ควรถูกบรรจุเป็นหลักสูตรสอนในโรงเรียน ซึ่งการ แก้ปัญหา Cyberbullying ต้องใช้ความร่วมมือ จากทุกภาคส่วน ทัง้ ครอบครัว โรงเรียน และ นโยบายภาครัฐ จึงจะประสบความส�ำเร็จ”
Warning Signs for Cyberbullying
“เด็กบางคนไม่กล้าบอกผูใ้ หญ่เมือ่ ถูกกลัน่ แกล้งรังแก แต่มสี ญ ั ญาณส�ำคัญทีพ่ อ่ แม่ตอ้ งรู้ ว่าลูกอาจก�ำลังถูก Cyberbullying โดยสังเกตได้จากพฤติกรรม มีการหนีเรียน ขาดเรียน หรือผลการเรียนตกลงกว่าเดิม อาจจะ เห็นเด็กมีสหี น้าทีเ่ ปลีย่ นไปเมือ่ ต้องใช้งานอินเทอร์เน็ต เก็บตัวเงียบ ห่างเหิน แยกตัว หงุดหงิดโกรธง่ายมากขึน้ หรือมีพฤติกรรมท�ำร้ายตัวเอง หากรูส้ กึ ว่าลูกเรามีปญ ั หาเรือ่ งการกลัน่ แกล้งคนอืน่ หรือถูกแกล้งไม่วา่ จะทางไหน ควรพาลูกไปพบจิตแพทย์ ไม่ต้องรอให้เกิดสถานการณ์รุนแรง เพราะอาจจะช้าเกินไป”
Cyberbullying
หยุด! ระรานทางไซเบอร
เด็กไทยเปนเหยื่อ
80
66
เคยถูกกลั่นแกลง ในชีวิตจริง
12
ถูกแกลง สัปดาหละ 1 ครั้ง
ถูกแกลง ทุกวัน
Cyberbullying แบบไหน?
79.4
ลอเลียน ตัง้ ฉายา
54.4
ถูกเพิกเฉย ไมสนใจ
46.8
ไมให ความเคารพ
ถูก Cyberbullying เจาหนูวิ่งหาใคร จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 012
89.2 เพือ่ น
59
ผูป กครอง
41.2 พีน่ อ ง
45
เคยถูกระรานทางไซเบอร อยางนอย 1 ครัง้
มากกวา
สหรัฐอเมริกา ยุโรป ญีป่ นุ
4 เทา
4 วิธรี บั มือ เมือ่ ลูก
1 2 3 4
ถูก Cyberbullying ตระหนักถึงปญหา
พอแมอยาเฉยเมยเมือ่ ลูกเลาวาถูกแกลง รับฟงเมือ่ ลูกรองขอ
หาทางชวย
หาตนตอปญหาและทางออก
ฝกใหรบั มือ
ใหกาํ ลังใจ แนะวิธรี บั มือโดยไมตอบโต เชน ปดแอ็กเคานต บล็อก
ยืนเคียงขาง
สรางความเชือ่ ใจใหลกู รูว า ไมวา จะเกิดอะไรขึน้ จะยืนเคียงขางลูกเสมอ
ที่มา: รศ. นพ.ชาญวิทย พรนภดล ภาควิชาจิตเวชศาสตร คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล ผลการวิจัย “ความชุกและปจจัยที่เกี่ยวของกับการกลั่นแกลงบนโลกไซเบอร ในระดับชั้น ม.1-3” ป 2560
450
250
250
8 บทเรียนออนไลน “MOOC” หลักสูตร โควิด-19 และระบาดวิทยา
หลักสูตรการสงเสริมการรูเทาทันและเฝาระวังสื่อ (DIL: Digital Information Literacy)
โดย 2 ผูเชี่ยวชาญ ศ.นพ.ยง-รศ.ยืน ภูวรวรรณ นําองคความรู แกปญหาประเทศชาติ
หลักสูตรออนไลนสําหรับ กศน. ระดับ ม.ปลาย และผูสนใจทั่วไป
“หองเรียนเด็กลํ้า-หองเรียนครูลํ้า”
เรียนจบมีใบ Certificate รับรองดวย!
โดยคณาจารยผูเชี่ยวชาญดานการใชสื่ออยางสื่อสรางสรรค สามารถเรียนฟรีไดที่
พัฒนาทักษะชีวิตดิจิทัล รูเทาทันภัยไซเบอรที่เกิดขึ้นรอบตัว พรอมแลวที่จะใหนอง ๆ เยาวชน และบุคลากรครู อาจารย เขาไปเรียนรูและแลกเปลี่ยนประสบการณกันไดที่
https://learningcovid.ku.ac.th
http://smartmooc.org/courses/course-v1 :CCDKM+DIL+DIL2019/about
เรื่อง การรูเทาทันสื่อ การเขาถึงความปลอดภัย
Cyberbullying หรือการกลั่นแกลงบนโลกออนไลน ไมใชเรื่องเล็ก ๆ อยางที่หลายคนคิด แตอาจบานปลายกลายเปนปญหาตามมา อีกมากมาย แลวคุณรูหรือไมวาอะไรคือ Cyberbullying และเราจะมี วิธีการหยุดเรื่องนี้ไดอยางไร สแกน QR Code เขาไปตอบคําถามสั้น ๆ ภายในวันที่ 15 ตุลาคม 2563 เทานั้น สําหรับผูที่เขาไปตอบคําถาม 10 คนแรก รับไปเลย! หนากากอนามัยเก ๆ ไวใสปองกันโควิด มารวมกันหยุด Cyberbullying กันคะ
ดีแทคจับมือดีปา-กองทุนพัฒนาสื่อฯ เปดพื้นที่แหงการเรียนรู พัฒนา 2 หลักสูตรที่ไมมีสอนในโรงเรียน
https://learn.safeinternet.camp/
กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ เลขที่ 388 อาคารเอส.พี. (ไอบีเอ็ม) อาคารบี ชั้น 6 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทร. 0 2273 0116-8 โทรสาร 0 2273 0119 อีเมล : contact@thaimediafund.or.th website : www.thaimediafund.or.th