JADC (Vol.1 January - April 2019)

Page 1

Vol.1 : JAN-APRIL 2019 ISSN (Print Edition): 2673-0332

ISSN (Online Edition): 2673-0340




วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง Journal of Architecture, Design and Construction

ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2562 Vol.1 No.1 July-April 2019

เจ้าของ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วัตถุประสงค์ เพื่อเผยแพร่ผลงานวิชาการในรูปแบบของผลงานวิชาการและบทความวิจัย ที่มีคุณภาพด้านทางด้านสถาปัตยกรรม การ ออกแบบและการก่อสร้าง เพือ่ เป็นการรวบรวม และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรู้ ผลงานวิชาการ ผลงานวิจยั องค์ความรูข้ อง คณาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการ นิสิต นักศึกษา สถาปนิก วิศวกร นักออกแบบและบุคลากรทั้งภายในและภายนอก มหาวิทยาลัยที่มีความสนใจ จุดมุ่งหมายและขอบเขต วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง รับพิจารณาตีพมิ พ์ผลงานทางวิชาการประเภทบทความวิชาการ และ บทความวิจยั ทางด้านสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง ทัง้ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ โดยวารสารมีขอบเขต เนือ้ หาทางวิชาการที่สนใจใน 9 สาขา ดังต่อไปนี้ 1. สถาปัตยกรรมศาสตร์ (Architecture) 2. สถาปัตยกรรมไทย (Thai Architecture) 3. สถาปัตยกรรมผังเมืองและการผังเมือง (Urban Architecture & Urban Planning) 4. สถาปัตยกรรมภายใน (Interior Architecture) 5. ภูมิสถาปัตยกรรม (Landscape Architecture) 6. การออกแบบสร้างสรรค์ และนฤมิตศิลป์ (Creative Design & Creative Arts) 7. การออกแบบนิเทศศิลป์ และการออกแบบอุตสาหกรรม(Communication Design& Industrial design) 8. การจัดการงานก่อสร้าง (Construction Management) 9. สาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง คณะที่ปรึกษากองบรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พลเดช เชาวรัตน์

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

บรรณาธิการ อาจารย์ ดร.ธนายุทธ ไชยธงรัตน์

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

กองบรรณาธิการภายนอกมหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์เอื้อมพร วีสมหมาย รองศาสตราจารย์ ดร.ชัยสิทธิ์ ด่านกิตติกุล รองศาสตราจารย์ ดร.ภาวิณี เอี่ยมตระกูล รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภกรณ์ ดิษฐพันธุ์ รองศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต นิตยะ รองศาสตราจารย์จันทนี เพชรานนท์ รองศาสตราจารย์ ดร. นิรัช สุดสังข์ รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ เหลืองบุตรนาค รองศาสตราจารย์ ดร.กอปร ศรีนาวิน รองศาสตราจารย์ประสิทธิ์ คุณุรัตน์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ทรงคุณวุฒิ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นภดล ตั้งสกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุมพร มูรพันธุ์

มหาวิทยาลัยขอนแก่น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

กองบรรณาธิการภายในมหาวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชนาถ ทิวะสิงห์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดิฐา แสงวัฒนะชัย อาจารย์ ดร.นิพัทธา หรรนภา อาจารย์วีรพล เจียมวิสุทธิ์ อาจารย์ฐิติรัตน์ นิมิตบรรณสาร อาจารย์อ�ำภา บัวระภา

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ออกแบบปกและจัดรูปเล่ม อาจารย์วีรพล เจียมวิสุทธิ์ อาจารย์ฐิติรัตน์ นิมิตบรรณสาร

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ผู้ช่วยบรรณาธิการ นางสาวนิกานต์ดา ทองน้อย

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ก�ำหนดออกวารสาร ปีละ 3 ฉบับ คือ ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย.) ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค.) ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค.) ลักษณะบทความ 1. ต้องไม่เคยเผยแพร่ในวารสารอื่นใดมาก่อนหรือไม่อยู่ในขั้นตอนการพิจารณา เพื่อเผยแพร่ในวารสารอื่น ๆ 2. บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ ได้รับการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะสาขาวิชา (Peer Review) อย่างน้อย 2 ท่าน 3. บทความทีต่ พี มิ พ์ในวารสารทุกบทความเป็นของผูเ้ ขียนแต่ละท่าน ไม่ใช่ความคิดเห็นและความรับผิดชอบใด ๆ ของกอง บรรณาธิการวารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 4. บทความทุกบทความทีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์เป็นลิขสิทธิข์ องวารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง มหาวิทยาลัย มหาสารคาม การเผยแพร่ต่อไปต้องได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์ ส่งบทความทางระบบอิเล็กทรอนิกที่ https://www.tci-thaijo.org/index.php/Jadc/index ส�ำนักงานกองบรรณาธิการ ส�ำนักงานวารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อาคารคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ต�ำบลขามเรียง อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150 โทรศัพท์ (043) 754381 โทรสาร (043) 754382 โทรศัพท์มือถือ (086) 4555990 E-mail: Jadcarch@msu.ac.th website: https://www.tci-thaijo.org/index.php/Jadc/index Facebook: วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง พิมพ์เมื่อ เมษายน 2562 พิมพ์ที่ หจก.อภิชาติการพิมพ์ (เสริมไทยเก่า) 50 ถนนผังเมืองบรรชา ต�ำบลตลาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม 44000


บทบรรณาธิการ วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฉบับนี้เป็นวารสารปีที่ 1 ฉบับ 1 (ปฐมฤกษ์) เดือนมกราคม – เมษายน 2562 ได้รับเกียรติจากผู้เขียนบทความวิชาการและบทความวิจัย ทั้งภายในและ ภายนอกมหาวิทยาลัย ส่งบทความเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ จ�ำนวน 5 บทความ แบ่งเป็นบทความวิชาการ 1 บทความ และ บทความวิจัย 4 บทความ โดยสรุปเนื้อหาภายในเล่ม ดังนี้ บทความวิชาการ เรื่อง “รูปแบบและปัจจัยการคงอยู่ของภูมิทัศน์พื้นถิ่น “บ้านเรือนและที่อยู่อาศัย” แขวงค�ำม่วน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว” โดยอ�ำภา บัวระภา สาระส�ำคัญของบทความ คือ รูปแบบบ้านเรือนที่อยู่อาศัย และการจัดการภูมทิ ศั น์โดยรอบ พบว่า 3 ปัจจัย (วัฒนธรรมและการสืบเชือ้ คติความเชือ่ และสภาพเศรษฐกิจของครัวเรือน) ส่งผลต่อรูปแบบและการคงอยูข่ องบ้านเรือนทีอ่ ยูอ่ าศัย ทัง้ ภายในตัวเรือนและภูมทิ ศั น์ โดยแบ่งตามล�ำดับความใกล้ชดิ จาก ตัวเรือน พื้นที่เลี้ยงสัตว์ ปลูกผักสวนครัว ปลูกไม้ผล กลุ่มไม้พื้นถิ่น พื้นที่ปลูกข้าว แนวป่าไม้ บทความวิจัยที่ 1 เรื่อง “พัฒนาชุดอุปกรณ์ ต่อ-ประกอบไม้ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย ส�ำหรับฝึกปฏิบัติการงานไม้” โดย ประทักษ์ คูณทอง ผู้วิจัยได้ด�ำเนินการศึกษาและวิเคราะห์ขั้นตอนในการหารูปแบบ และความเหมาะสมใน การพัฒนาชุด อุปกรณ์ ต่อ-ประกอบไม้ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย ส�ำหรับฝึกปฏิบัติการงานไม้ จากผู้ฝึกปฏิบัติการงานไม้ ทั้งหมด 30 ท่าน ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบและความเหมาะสมของชุดอุปกรณ์ส�ำหรับต่อประกอบไม้ 3 ด้าน คือ (1) หน้าที่ใช้สอย (2) การ ใช้งาน และ (3) ความปลอดภัย บทความวิจัยที่ 2 เรื่อง “คุณสมบัติผนังดินมูลกระบือ บ้านหนองโนใต้ ต�ำบลนาดูน อ�ำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม” โดยอภิเชษฐ์ ตีคลี ผูว้ จิ ยั ได้ดำ� เนินการศึกษาคุณสมบัตดิ นิ มูลกระบือ และส่วนประกอบทีเ่ กีย่ วข้อง จากการศึกษา พบว่า ดินมูล กระบือมีความเหนียวไม่พอทีจ่ ะสามารถขึน้ รูปด้วยตัววัสดุเอง แต่ดนิ มูลกระบือมีคณ ุ สมบัตทิ เี่ หมาะสมในการขึน้ รูปลักษณะ เป็นวัสดุฉาบอุด มีวัสดุอื่นเป็นโครงสร้างภายใน เช่น ไม้ไผ่ หรือไม้จริง ซึ่งท�ำหน้าที่เป็นโครงสร้างรับน�้ำหนักของวัสดุ บทความวิจัยที่ 3 เรื่อง “โมเดลสมการโครงสร้างหลักธรรมภิบาลในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ” โดยธนายุทธ ไชยธงรัตน์ และณรงค์ เหลืองบุตรนาค เป็นการวิจยั เชิงสหสัมพันธ์ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุม่ ตัวอย่างหน่วยงานภาครัฐ จ�ำนวน 353 คน ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมส�ำเร็จรูป SPSS Version 20 และ AMOS Version 6.0 การศึกษา พบว่า โมเดลสมการโครงสร้างหลักธรรมภิบาลในการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 66.8 และนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 บทความวิจัยที่ 4 เรื่อง “แนวทางการปรับปรุงแสงสว่างเพื่อความสม�่ำเสมอในการส่องสว่าง กรณีศึกษา อาคารตลาด เชิงวัฒนธรรมองค์การบริหารส่วนต�ำบลพระธาตุ อ�ำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม” โดยณัฐวัฒน์ จิตศีลผู้วิจัยได้ด�ำเนิน การจ�ำลองรูปแบบอาคารตลาดเชิงวัฒนธรรมองค์การบริหารส่วนต�ำบลพระธาตุในโปรแกรม DiaLUX 7.9 ผลการศึกษา พบว่า ค่าความส่องสว่างหลังการติดตั้งแผงบังแดดทั้ง 3 รูปแบบ คือ (1) แผงบังแดดแนวนอน (2) แผงบังแดดแนวตั้ง และ (3) แผงบังแดดแบบผสมแนวนอนและแนวตัง้ มีคา่ ความส่องสว่างสูงกว่าเกณฑ์ แต่แผงบังแดดแบบผสม มีคา่ ความส่องสว่าง และความสม�่ำเสมอของแสงที่ใกล้เคียงกับเกณฑ์มาตรฐานและป้องกันแสงแดดได้ผลดีกว่า ส�ำหรับรายละเอียดบทความทัง้ หมดนี้ สามารถเรียนรูไ้ ด้จากบทความดังกล่าวในวารสารฉบับนี้ และพบกันอีกในวารสาร สถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2562 ทั้งนี้กองบรรณาธิการ ขอขอบพระคุณทั้งผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ รวมถึงคณะผู้บริหารของคณะฯ และสถาบันฯ ที่สนับสนุนการจัดท�ำวารสาร วิชาการฉบับนี้ หากมีข้อบกพร่องประการใด กองบรรณาธิการขอน้อมรับเพื่อจักได้น�ำไปปรับปรุงต่อไป อาจารย์ ดร.ธนายุทธ ไชยธงรัตน์ บรรณาธิการ tanayut.c@msu.ac.th 25 เมษายน 2562


สารบัญ หน้า บทความวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………................... รูปแบบและปัจจัยการคงอยู่ของภูมิทัศน์พื้นถิ่น “บ้านเรือนและที่อยู่อาศัย” แขวงค�ำม่วน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว Patterns and Factors Remain of Vernacular Landscape “Residential” Khammouane Province, Lao PDR อ�ำภา บัวระภา (Umpa Buarapa)

8

บทความวิจัย ……………………………………………………………………………………………………………….................. คุณสมบัติผนังดินมูลกระบือ บ้านหนองโนใต้ ต�ำบลนาดูน อ�ำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม properties of soil wall, buffalo droppings Ban Nong No Tai, Na Dun Subdistrict, Na Dun District, Maha Sarakham Province อภิเชษฐ์ ตีคลี (Apiched Teekalee)

22

พัฒนาชุดอุปกรณ์ ต่อ-ประกอบไม้ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย ส�ำหรับฝึกปฏิบัติการงานไม้ The Development of treenail to increase security for wood-work practice ประทักษ์ คูณทอง (Pratak koonthong)

38

โมเดลสมการโครงสร้างหลักธรรมภิบาลในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ The Structural Equation Model of the Good Governance in Government Procurement ธนายุทธ ไชยธงรัตน์ และณรงค์ เหลืองบุตรนาค (Tanayut Chaitongrat and Narong Leungbootnak)

48

แนวทางการปรับปรุงแสงสว่างเพื่อความสม�่ำเสมอในการส่องสว่าง กรณีศึกษาอาคารตลาด เชิงวัฒนธรรมองค์การบริหารส่วนต�ำบลพระธาตุ อ�ำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม Lighting Improvement Guidelines for Luminance Uniformity Form Case study; Cultural Market of Phra That Community Na Dun District, Maha Sarakham ณัฐวัฒน์ จิตศีล (Nattawat Jitsin)

60



บทความวิชาการ - Academic Article -


รูปแบบและปัจจัยการคงอยู่ของ ภูมิทัศน์พื้นถิ่น “บ้านเรือน และที่อยู่อาศัย” แขวงค�ำม่วน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว Patterns and Factors Remain of Vernacular Landscape “Residential” Khammouane Province, Lao PDR

อ�ำภา บัวระภา*

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150

Umpa Buarapa

Faculty of Architecture, Urban Design and Creative Arts, Mahasarakham University, Maha Sarakham, Thailand 44150 *Email: Iang_zuzu@hotmail.com


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

บทคัดย่อ บทความนีม้ วี ตั ถุประสงค์ เพือ่ ศึกษารูปแบบและปัจจัยของการคงอยูข่ องภูมทิ ศั น์พนื้ ถิน่ “บ้านเรือนทีอ่ ยูอ่ าศัย” แขวงค�ำม่วน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อน�ำมาวิเคราะห์รูปแบบบ้านเรือนที่ อยู่อาศัยและการจัดการภูมิทัศน์โดยรอบ พบว่า 1) วัฒนธรรมและการสืบเชื้อสายลาวลุ่มมีแนวคิดการตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ ราบลุ่ม มีวิถีชีวิตแบบสังคมเกษตรกรรม 2) คติความเชื่อแบบดั้งเดิมซึ่งไม่ยึดติดกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ความ เจริญด้านการคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยีสมัยใหม่ 3) สภาพเศรษฐกิจของครัวเรือน ทั้ง 3 ปัจจัยส่งผลต่อรูปแบบและ การคงอยูข่ องบ้านเรือนทีอ่ ยูอ่ าศัย ทัง้ ภายในตัวเรือนและภูมทิ ศั น์โดยรอบ โดยแบ่งตามล�ำดับความใกล้ชดิ จากตัวเรือนดังนี้ พื้นที่เลี้ยงสัตว์ ปลูกผักสวนครัว ปลูกไม้ผล กลุ่มไม้พื้นถิ่น พื้นที่ปลูกข้าว แนวป่าไม้เดิมโอบล้อมโดยภูเขา การวางผังชุมชน เปลี่ยนแปลงจากรูปแบบเดิมแต่รูปแบบที่อยู่อาศัยและการจัดการภูมิทัศน์โดยรอบยังคงอัตลักษณ์เดิมเอาไว้ ค�ำส�ำคัญ: ภูมิทัศน์พื้นถิ่น, ภูมิทัศน์วัฒนธรรม, การจัดการภูมิทัศน์, แขวงค�ำม่วน

ABSTRACT This article aims to study patterns and factors remain of Vernacular Landscape “Residential” Khammouane Province, Lao PDR. Study the documents and related research to analyze the Residential patterns and Landscape management. The research found that 1) Lao culture and descent has a conceptual of settlement in the lowlands and agricultural society 2) The traditional beliefs is not attached to the economic and social development, Transport prosperity and Modern technology and 3) Household economy. The third factor affecting the patterns and factors remain of residential both the housing and the surrounding landscape divided into the following are Animal husbandry Planting vegetable Fruit trees Local tree Rice field Forest and surrounded by mountains. The community planning has changed from the original but the Residential pattern and Landscape surrounding remains the same. Keywords: Vernacular Landscape, Cultural landscape, Landscape Management, Khammouane Province

1. บทน�ำ ภูมิทัศน์พื้นถิ่นมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวในแต่ละพื้นที่เกิดจากการผสมผสานกันระหว่างองค์ประกอบของภูมิทัศน์ทาง วัฒนธรรมและธรรมชาติ (ศนิ ลิ้มทองสกุล, 2549) ภูมิทัศน์ท้องถิ่นถูกสรรค์สร้างขึ้นมาจากการปรับตัวของมนุษย์ให้เข้ากับ สภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และระบบนิเวศของพื้นที่ตั้ง (นวณัฐ โอศิริ, 2545) เกิดจากมนุษย์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้าไป ปรับเปลีย่ นสภาพแวดล้อมเดิมและสร้างสรรค์สงิ่ แวดล้อมให้เหมาะสมต่อการด�ำรงชีวติ สอดคล้องกับธรรมชาติและลักษณะ ภูมปิ ระเทศโดยมีวฒ ั นธรรม วิถชี วี ติ คติความเชือ่ สภาพเศรษฐกิจสังคม เกิดเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัย พืน้ ทีท่ ำ� มาหากิน มีความเฉพาะตัว ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของภูมิทัศน์วัฒนธรรมเพราะเกิดขึ้นจากกระบวนการเดียวกัน (อ�ำภา บัวระภา, 2557) ภูมิทัศน์พื้นถิ่น เป็นส่วนหนึ่งของภูมิทัศน์วัฒนธรรม คือการเชื่อมสัมพันธ์ธรรมชาติกับสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อสื่อให้เห็นถึงวิวัฒนาการของ สังคมมนุษย์และการตั้งถิ่นฐาน โดยมีอิทธิพลและข้อจ�ำกัดทางกายภาพของสภาพแวดล้อม วัฒนธรรม เศรษฐกิจสังคมทั้ง ภายในและภายนอก (อริยา อรุณินท์, 2548) ภูมิทัศน์วัฒนธรรมเป็นสภาพแวดล้อมสร้างสรรค์เกิดขึ้นจากการจัดการของ

11


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

มนุษย์เพือ่ ให้เกิดการด�ำรงชีวติ อยูโ่ ดยปกติสขุ โดยมีขอ้ จ�ำกัดของเทคโนโลยี ความเชือ่ ทางศาสนา ท�ำให้เกิดความเปลีย่ นแปลง ต่อพืน้ ที่ (เกรียงไกร เกิดศิร,ิ 2551) ภูมทิ ศั น์พนื้ ถิน่ มีตงั้ แต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ หลากหลายรูปแบบ เช่น การตัง้ ถิน่ ฐาน การวางผัง เส้นทางสัญจร บ้านเรือนที่อยู่อาศัย พื้นที่เกษตรกรรม และการใช้พืชพรรณ เป็นต้น รูปแบบของภูมิทัศน์พื้นถิ่น เกิดจากปัจจัยหลากหลาย หากปัจจัยใดปัจจัยหนึง่ เปลีย่ นแปลงย่อมส่งผลต่อการปรับเปลีย่ นภูมทิ ศั น์พนื้ ถิน่ และปัจจัยการ การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม มีส่วนท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภูมิทัศน์พื้นถิ่นประเภท “บ้านเรือนที่อยู่อาศัย” เพราะการเปลีย่ นค่านิยมใหม่ให้มคี วามทันสมัย ส่งผลให้มกี ารรือ้ ถอนบ้านเดิมและสร้างใหม่ ดังนัน้ การพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมอาจส่งผลผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงชุมชนทั้งด้านบวกและด้านลบ หากขาดการวางแผนการการจัดการที่ดี อาจ ส่งผลกระทบต่อพื้นที่ได้การพัฒนาชุมชนไปในทิศทางเดียวกันจนไม่สามารถแยกความแตกต่างหรืออัตลักษณ์ของพื้นที่ได้ ยิ่งส่งผลกระทบต่อภูมิทัศน์พื้นถิ่นของแต่ละที่จะมีความเด่นชัดน้อยลง จนมีความคล้ายและเหมือนกันในที่สุด ศึกษาโดยการตรวจเอกสารงานวิจยั ประวัตศิ าสตร์ความเป็นมาของแขวงค�ำม่วน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เพื่อวิเคราะห์ประวัติความเป็นมาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเลือกพื้นที่ตั้งและการตั้งถิ่นฐาน การศึกษางานวิจัยและบทความ เรือ่ งภูมทิ ศั น์พนื้ ถิน่ ภูมทิ ศั น์วฒ ั นธรรม รูปแบบ ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องของการเกิดลักษณะภูมทิ ศั น์พนื้ ถิน่ น�ำมาวิเคราะห์รปู แบบ ของภูมิทัศน์พื้นถิ่นประเภทบ้านเรือนที่อยู่อาศัยของพื้นที่ศึกษาและความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น วัตถุประสงค์ของบทความนี้คือ 1) ศึกษาประเด็นลักษณะกายภาพบ้านเรือนที่อยู่อาศัยและการจัดการพื้นที่โดยรอบ รวมถึงพื้นที่เกษตรกรรม ตลอดเส้นทางหมายเลข 12 นครพนม - แขวงค�ำม่วน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 2) ศึกษาปัจจัยที่ก่อให้เกิดลักษณะบ้านเรือน 3) ปัจจัยที่ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและปัจจัยการคงอยู่ของภูมิทัศน์พื้นถิ่น “บ้านเรือนที่อยู่อาศัย” แขวงค�ำม่วน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

2. คติความเชื่อ การเมืองการปกครอง ความเชื่อ ศาสนาและวัฒนธรรมของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวนับถือศาสนาพุทธถึง 66% แต่ลาวมีการ นับถือศาสนาผีสงู ถึง 30.7% ประเทศไทยไม่มศี าสนาผีแต่กน็ บั ถือผีเช่นเดียวกับลาว การท�ำกิจกรรมและการด�ำเนินชีวติ ของ ชาวลาวมีความผูกผันกับผีมากกว่า ผีในธรรมชาติและผีบรรพบุรุษ ลาวยังมีความเชื่อเรื่องขวัญ โดยเชื่อว่ามนุษย์จะมีขวัญ ประจ�ำตัวหากขวัญออกจากตัวจะต้องท�ำพิธเี รียกขวัญกลับมา คติความเชือ่ ดังกล่าวเป็นปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อรูปแบบของภูมทิ ศั น์ พื้นถิ่นของไทยและลาวที่มีความคล้ายคลึงกัน (วิทย์ บัณฑิตกลุ, 2555) การเมืองการปกครองของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวมีความสัมพันธ์กับไทย เมื่อสมัยพระเจ้าเชษฐาธิราช ที่ 1 (พ.ศ. 2092) จนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ลาวเคยตกเป็นเมืองขึน้ ฝรัง่ เศสช่วงปี พ.ศ.2450-2496 ถูกแบ่งเขตปกครองออกเป็น 9 แขวง คือ นครเวียงจันทร์ หลวงพระบาง พวน หัวพัน หัวของ ค�ำม่วน สะหวันนะเขต สาละวัน และจ�ำปาสัก (พยนต์ ทิมเจริญ, 2537) พ.ศ. 2518 ได้จัดการปกครองเป็นสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 1 นครหลวงเวียงจันทร์ (เมืองหลวง) 1 เขตปกครองพิเศษไซสมบูน และ 16 แขวง (วิทย์ บัณฑิตกลุ, 2555) ปัจจุบันแบ่งเป็น 1 นครหลวง ได้แก่ นครหลวงเวียงจันทน์ และ 17 แขวง แต่ละ แขวงจะมีเมืองเอก เช่น แขวงหลวงพระบางมีหลวงพระบางเป็นเมืองเอก ประชากรอาศัยอยูม่ ากทีส่ ดุ ทีน่ ครหลวงเวียงจันทร์ รองลงมาคือ เมืองปากเซ ไกสอน พรมวิหาร หลวงพระบาง ซ�ำเหนือ โพนสุวรรณ ท่าแขก เมืองไชย วังเวียง และปากซัน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวอพยพย้ายถิ่นฐานจากหนีจากสงครามไปยังประเทศเพื่อนบ้านรวมถึงใน ประเทศไทย การอพยพของชนชาติลาวท�ำให้เกิดการเดินทางของวัฒนธรรมคติความเชื่อเข้าไปประยุกต์ใช้ในการด�ำรงชีวิต ในพืน้ ทีใ่ หม่ เช่น การเลือกทีต่ งั้ และการวางผัง ลักษณะบ้านเรือนทีอ่ ยูอ่ าศัยและการจัดการพืน้ ทีร่ อบ รวมถึงพืน้ ทีเ่ กษตรกรรม ส่งผลให้เกิดการกระจายตัวของวัฒนธรรมลาวทั้งภาคกลาง ภาคตะวันออกและภาคอีสานของไทย ในช่วงพ.ศ.2554 มีการ

12


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

สร้างสะพานมิตรภาพไทยลาวและจัดตั้งเขตเศรษฐกิจจ�ำเพาะท่าแขกและภูเขียว การเดินทางสะดวก แต่ไม่ส่งผลกับการ เปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยของชุมชนบริเวณริมถนนหมายเลข 12 แขวงค�ำม่วนหลวงยังมีรูปแบบคล้ายคลึงกับที่อยู่อาศัยของ ลาวพรวนในอดีต แม้จะปรับเปลี่ยนรูปแบบไปบ้าง แต่ยังคงอัตลักษณ์เดิมไว้

3. การอพยพย้ายถิ่นฐานและการกระจายตัวของวัฒนธรรม สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและประเทศไทยมีรากฐานวัฒนธรรมใกล้เคียงกัน จากประวัติศาสตร์การ เคลือ่ นย้ายของชาติพนั ธุไ์ ทลาวในพืน้ ทีภ่ าคอีสาน การอพยพหนีจากศึกสงคราม และแสวงหาพืน้ ทีต่ งั้ ทีม่ คี วามอุดมสมบูรณ์ มากกว่า (นพดล ตั้งสกุล, 2555) รวมถึงการย้ายถิ่นฐานของกลุ่มชาติพันธุ์ ลาวพวน ลาวโซ่ง ลาวครั่ง และกลุ่มชาติพันธุ์อื่น จากศึกสงคราม ยังประเทศไทยและประเทศเวียดนาม (อรศิริ ปานินท์ และ นพดล จันทวีระ, 2555 อ้างถึงสีลา วีระวงษ์, 2540) ชาวลาวสืบเชือ้ สายมาจาก “สายภูเลย” และเคลือ่ นย้ายไปทางลุม่ แม่นำ�้ โขงผ่านแม่นำ�้ คาน แม่นำ�้ แซงและแม่นำ�้ อูไป ตั้งถิ่นฐานอยู่หลายพื้นที่ทั้งในไทย เวียดนามและจีน (บุนมี เทบศรีเมือง, 2553) ลาวเคยอยู่ภายใต้การครอบครองของ อาณาจักรน่านเจ้ามีต�ำนานโดยขุนบรม และขุนลอ มีลูกหลานสืบต่อมาจนถึงสมัยพระเจ้าฟ้างุ้มผู้ซึ่งรวบรวมอาณาจักรล้าน ช้างในช่วงพุทธศตวรรษที่ 13 มีกษัตริย์ปกครองสืบทอดต่อกันมาหลายพระองค์ เช่น พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ซึ่งมี สัมพันธไมตรีที่แนบแน่นในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิและพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช นับเป็นยุคทองของ ราชอาณาจักรล้านช้าง ภายหลังเมื่อพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชเสด็จสวรรคต เชื้อพระวงศ์ลาวต่างแก่งแย่งราชสมบัติ จนอาณาจักรล้านช้างแตกเป็น 3 ส่วนคือ อาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ และอาณาจักร ล้านช้างจ�ำปาศักดิ์ เป็นอิสระไม่ขนึ้ ต่อกัน และเพือ่ ชิงความเป็นใหญ่ตา่ งก็ขอสวามิภกั ดิต์ อ่ อาณาจักรเพือ่ นบ้าน เช่น ไทย พม่า เพือ่ ขอก�ำลังมาช่วยรบกับอาณาจักรลาว ในทีส่ ดุ อาณาจักรลาวทัง้ 3 ก็ตกเป็นประเทศราชของอาณาจักรสยามในปี พ.ศ. 2321 (วิทย์ บัณฑิตกลุ, 2555) ถึงแม้จะมีการเดินทางเพื่อไปสร้างชุมชนแห่งใหม่แต่ก็ยังคง ยึดหลักคติความเชื่อเดิมจึงท�ำให้ยังคง รูปแบบการตั้งถิ่นฐานและการวางผังชุมชนในแบบเดิมตลอดจนลักษณะที่อยู่อาศัยและการจัดการพื้นที่โดยรอบ จากการ ศึกษาพบว่าสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวที่ยังคงหลงเหลือรูปแบบที่อยู่อาศัยแบบเรือนพื้นถิ่น และการจัดการ พื้นที่แบบสังคมเกษตรกรรม ถึงแม้จะมีการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ และเส้นทางการสัญจรที่สะดวกสบายมากขึ้นก็ตาม

4. ลักษณะทางกายภาพกับการปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมเพื่อการอยู่อาศัย และการด�ำรงชีวิต ลักษณะทางกายภาพประเทศของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว แบ่งได้เป็น 3 เขต คือ 1) เขตภูเขาสูง สูงกว่า ระดับน�้ำทะเล 1,500 เมตร อยู่ในเขตภาคเหนือ 2) เขตที่ราบสูง สูงกว่าระดับน�้ำทะเล 1,000 เมตร ตั้งแต่ทางทิศตะวันออก เฉียงใต้ของที่ราบสูงเมืองพวนไปจนถึงชายแดนกัมพูชา ได้แก่ ที่ราบสูงเมืองพวนแขวงเชียงขวาง ที่ราบสูงนากายบริเวณ แขวงค�ำม่วน และที่ราบสูงบริเวณภาคใต้ 3) เขตที่ราบลุ่ม เป็นเขตที่ราบตามแนวฝั่งแม่น�้ำโขงและแม่น�้ำต่างๆ มีความอุดม สมบูรณ์มากทีส่ ดุ เป็นอูข่ า้ วอูน่ ำ�้ ทีส่ ำ� คัญ (วิทย์ บัณฑิตกลุ, 2555) แนวทีร่ าบลุม่ เริม่ ตัง้ แต่บริเวณตอนใต้ของแม่นำ�้ งึม เรียกว่า ที่ราบลุ่มเวียงจันทน์ ผ่านที่ราบลุ่มสุวรรณเขต อยู่ตอนใต้เซบั้งไฟและเซบั้งเหียง และที่ราบจ�ำปาศักดิ์ทางภาคใต้ ปรากฏ ตามแนวแม่นำ�้ โขงไปจนจรดชายแดนประเทศกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีแม่นำ�้ สายส�ำคัญหลายสาย คือ แม่น�้ำโขง ใช้ในด้านเกษตรกรรม การประมง การผลิตพลังงานไฟฟ้า การคมนาคม แม่น�้ำอู แม่น�้ำงึม แม่น�้ำเซบั้งเหียง แม่น�้ำทา แม่น�้ำเซกอง และแม่น�้ำเซบั้งไฟ อยู่ในแขวงค�ำม่วน-สุวรรณเขต ลักษณะภูมิอากาศ อยู่ในภูมิอากาศเขตร้อน มีลม มรสุมแต่ไม่มลี มพายุ ในเขตภูเขาทางภาคเหนือและเขตเทือกเขามีลกั ษณะกึง่ ร้อนกึง่ หนาว อุณหภูมสิ ะสมเฉลีย่ สูงถึง 15-30 องศาเซลเซียส ปริมาณน�้ำฝนตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม ร้อยละ 75 - 90 ส่วนในฤดูแล้งตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึง เมษายน ปริมาณน�้ำฝนมีเพียงร้อยละ 10-25

13


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

แขวงค�ำม่วน อยู่ห่างจากนครหลวงเวียงจันทน์ลงมาทางทิศใต้ถึง 350 กิโลเมตร เป็นเมืองศูนย์กลางของการเดินทางและ เป็นด่านพรมแดนและท่าด่านที่ส�ำคัญ พื้นที่นี้มีการค้นพบมนุษย์ศรีโคตรบูรณ์บริเวณถ�้ำผาแฟนที่มีอายุเก่าแก่ 6,100 ปี ชุมชนที่อาศัยอยู่ก็สืบเชื้อสายภูเลย บริเวณเมืองท่าแขก นครพนม สะหวันนะเขต (บุนมี เทบศรีเมือง, 2553) จึงมีความ ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ ราวคริสต์ศตวรรษที่ 5 แขวงค�ำม่วนเคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรฟูนันและเจนฬา โดยได้เรียกขาน เมืองนี้ว่า “ศรีโคตรบูร” ต่อมาเมื่อฝรั่งเศสยกทัพมายังเมืองศรีโคตรบูรในปี พ.ศ. 1910 เมืองศรีโคตรบูรจึงเปลี่ยนชื่อเป็น เมืองท่าแขก ในเมืองท่าแขกจึงพบสถาปัตยกรรมแบบฝรั่งเศสหลายแห่ง ปัจจุบันทางรัฐบาลลาวได้เปลี่ยนชื่อแขวงใหม่ให้ เป็นค�ำม่วน มีอาณาเขตติดต่อกับเมืองพวน แขวงเชียงขวาง อยู่ในเขตที่ราบสูงของชาวพวนมีการโยกย้ายถิ่นฐาน เนื่องจาก ศึกสงคราม และการล่าอาณานิคมในแถบอินโดจีนของฝรั่งเศส ในช่วงปี 2426 ชาวพวนได้อพยพเข้าป่า บนเขา และพื้นที่ ใกล้เคียง บางส่วนอพยพไปเวียงจันทร์ และกลับมาตัง้ ถิน่ ฐานเดิมอีกครัง้ เมือ่ สงครามสงบ (อรศิริ ปานินท์ และ นพดล จันทวีระ, 2555, อ้างถึง สีลา วีระวงษ์, 2540)

ภาพที่ 1 เส้นทางการศึกษา ถนนหมายเลข 12 จากด่านนครพนม ประเทศไทย-แขวงค�ำม่วน สปป.ลาว ที่มา: อ�ำภา บัวระภา (2558)

ภาพที่ 2 ภูมิทัศน์บริเวณสองข้างทางบริเวณถนนหมายเลข 12 สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ที่มา: อ�ำภา บัวระภา (2557)

14


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

5. คติความเชือ่ และรากฐานวัฒนธรรมก่อเกิดรูปแบบบ้านเรือนและการจัดการภูมทิ ศั น์ คติความเชื่อของลาวพรวนคือการตั้งถิ่นฐานบริเวณพื้นที่ราบลุ่มใกล้แหล่งน�้ำมีพื้นที่ป่าเดิมเพื่อการด�ำรงชีวิต ไม่ว่าจะมี การอพยพย้ายถิน่ ฐานไปยังพืน้ ทีใ่ ดก็ตามจะยึดคติความเชือ่ ดัง้ เดิมและมีการประยุกต์ใช้ให้เข้ากับพืน้ ที่ โดยคติความเชือ่ การ วางผังชุมชนของลาวพวนมีองค์ประกอบหลัก คือ กลุม่ เรือน ทีน่ า แหล่งน�ำ้ และป่าชุมชนเพราะเป็นแหล่งทรัพยากรทีส่ ำ� คัญ ต่อการด�ำรงชีวติ การตัง้ ชุมชนใหม่เพิม่ ขึน้ และมีการตัง้ บ้านเรือนตามแนวถนน และหันหน้าสูถ่ นนหลักเพือ่ ให้สะดวกต่อการ สัญจรส่วนพืน้ ทีเ่ กษตรกรรม จะยึดตามพืน้ ทีร่ าบตลอดแนวสองฝัง่ ถนน การวางผังชุมชนของลาวพวนแบบใหม่จงึ มีรปู แบบ การตั้งบ้านเรือนที่เปลี่ยนแปลงไปองค์ประกอบ 1 ใน 4 คือ การวางบ้านเรือนกระจายเป็นหลัง มีระยะห่างกัน วางตามแนว ถนนที่ตัดผ่าน ไม่วางเป็นกลุ่มเหมือนในอดีต การขยายบ้านเรือนจะขยายไปตามเส้นทางสัญจร จึงไม่เหลือรูปแบบของกลุ่ม เรือน เหลืออยู่เพียง 3 อย่าง คือ ทุ่งนา แหล่งน�้ำ และป่าชุมชน โดยพื้นที่ราบลุ่มถูกประยุกต์ใช้เป็นพื้นที่เกษตรกรรมตลอด แนวสองข้างและขยายไปถึงบริเวณเทือกเขาที่ล้อมรอบสลับกลับแนวเขาเนื่องจาก ลักษณะกายภาพของพื้นที่ 2 ข้างทาง ถนนหมายเลข 12 เป็นที่ราบหุบเขา มีภูเขาหินปูนโอบล้อมเป็นแนวยาวตลอดเส้นทาง พื้นที่ราบดังกล่าวถูกปรับเปลี่ยนให้ เป็นพื้นที่เกษตรกรรม และการปลูกข้าวเป็นหลัก มากกว่าร้อยละ 90 ของพื้นที่ ไม่พบการปลูกพืชไร่หรือพืชสวน เนื่องจาก ลักษณะกายภาพของพืน้ ทีเ่ ป็นทีร่ าบลุม่ มีภเู ขาโอบล้อมทัง้ สองด้าน และมีแม่นำ�้ ไหลผ่านจึงมีปริมาณน�ำ้ เพียงพอในการท�ำนา ตลอดเส้นทางสัญจรหลักจะเห็นทุ่งนาทอดยาวไปตามสองข้างทาง และขยายออกไปตามพื้นที่จนถึงแนวเขาที่รายล้อมอยู่ และแนวป่าเดิมเป็นแนวกั้นก่อนจะถึงภูเขาหินปูน เพราะบริเวณเชิงเขาจะมีแนวก้อนหินขนาดใหญ่ที่ไม่สามารถเข้าไปใช้ ประโยชน์เพือ่ การท�ำนาและปลูกพืชได้จงึ ยังคงสภาพเป็นป่าเดิมซึง่ เป็นแหล่งทรัพยากรทีจ่ ำ� เป็นเพือ่ การใช้งาน เช่น หาหน่อไม้ เป็นอาหาร ตัดไม้ไผ่มาสร้างบ้าน สร้างกระท่อม ท�ำรั้ว ท�ำประตูบ้าน เป็นต้น เชิงเขาบางแห่งมีตะกอนดินสะสมชาวบ้านใช้ ปลูกพืชผักเพื่อไว้ใช้รับทาน เช่น ข้าวโพด มะละกอ เป็นต้น

ภาพที่ 3 การจัดการพื้นที่เกษตรกรรม การสร้างแนวรั้วเพื่อป้องกันสัตว์เลี้ยง การขุดบ่อเพื่อกักเก็บน�้ำ และการสร้างกระท่อมปลายนาเพื่อใช้ในช่วงฤดูท�ำนา ที่มา: อ�ำภา บัวระภา (2557)

15


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

บริเวณพื้นที่เกษตรกรรมและทุ่งนาชาวบ้านจะสร้างกระท่อมเพื่อเป็นที่พักชั่วคราว การยกพื้นสูง โครงสร้างไม้ทั้งหลัง ผนังใช้ไม้ไผ่สานในการท�ำผนัง การมุงหลังคาด้วยเกล็ดไม้หรือหญ้าคา แบ่งพืน้ ทีอ่ อกเป็นส่วนของพืน้ ทีพ่ กั ผ่อนและส่วนของ ห้องนอนที่มีผนังล้อมล้อม บันไดไม่ยึดติดถาวรสามารถ ดึงเข้าและผลักออกจากตัวอาคารเพื่อป้องกันสัตว์ที่จะขึ้นไปบน กระท่อม บริเวณใต้ถุนใช้เป็นพื้นที่พักผ่อนในตอนกลางวันและเป็นพื้นที่ประกอบอาหาร ภายในบริเวณจะปลูกไม้ใหญ่เพื่อ ให้ร่มเงาและปลูกพืชผัก เช่น มะละกอ กล้วย รวมถึงกั้นรั้วเพื่อใช้เลี้ยงควายในเวลาท�ำนา ต่างจากกระท่อมในพื้นที่ เกษตรกรรมของไทย ซึ่งมีจ�ำนวนลดน้อยลงมาก เพราะการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ การใช้เครื่องจักร การจ้าง แรงงาน ชาวนาจึงปรับเปลีย่ นวิถชี วี ติ ท�ำให้บริบทของพืน้ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงตามไปด้วย โดยเฉพาะบริเวณติดกับเส้นทางสัญจรหลัก เพราะการเข้าถึงท�ำได้งา่ ยและไม่จำ� เป็นกับวิถชี วี ติ ชาวนายุคใหม่แบบเช้าไป-เย็นกลับ โดยอาศัยร่มเงาของต้นไม้ใหญ่ในพืน้ ที่ ทดแทนกระท่อม

ภาพที่ 4 แสดงรูปแบบสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นและการใช้งานในพื้นที่เกษตรกรรม ที่มา: อ�ำภา บัวระภา (2557)

วิถชี วี ติ ของชุมชนในแขวงค�ำม่วนยังผูกพันอยูก่ บั วิถชี วี ติ ของชาวนาการหาเลีย้ งปากท้องด้วยการพึง่ พาอาศัยตนเองและ ทรัพยากรทีม่ อี ยู่ การหาปลาโดยการ ยกยอ ยกสะดุง้ เก็บผัก ตามทุง่ นา หรือริมหนองน�ำ้ การหาปลาโดยใช้สวิง ของเด็กหญิง และชายในหน้าฝน และยังมีการเลีย้ งวัว ควายเพือ่ ใช้ในการท�ำนา รวมถึงการเลีย้ งสัตว์เพือ่ เป็นอาหาร เช่น หมูดำ� ไก่ บางหลัง เลีย้ งแพะ การปลูกพืชผักสวนครัวไว้เพือ่ ใช้ในครัวเรือน หรือปลูกบริเวณปลายนา ซึง่ ลักษณะของการปลูกพืชผักสวนครัวจะ ปลูกใส่ในกระถางหรือปลูกลงดินไว้ใกล้กับบริเวณบ้าน เพื่อสะดวกในการใช้สอย พื้นที่ปลูกผักจะท�ำรั้วไม้จากใช้เศษไม้หรือ ไม้ไผ่ทหี่ าได้ในพืน้ ที่ เพือ่ กันแนวเขตเพือ่ ไม่ให้สตั ว์เข้าไปกินผักทีป่ ลูกไว้ รูปแบบการปลูกจะเป็นแบบผสมผสาน เช่น มะละกอ มะเขือเปราะ กระถิน สบูด่ ำ� กล้วย อ้อย และปลูกไม้ใหญ่ถดั ออกไป เช่น ขนุน มะม่วง มะพร้าว เป็นต้น การแต่งกายของผูห้ ญิง ยังนุ่งผ้าซิ่นลายพื้นถิ่น โพกหัว และสะพายตะกร้าเพื่อออกไปท�ำนา บ้านบางหลังยังมีจักรเย็บผ้าตั้งอยู่ระเบียงบ้าน เป็นวิถี ชีวิติของชุมชนที่ยังคงอัตลักษณ์ของตนไว้อย่างชัดเจน

ภาพที่ 5 แสดงรูปแบบวิถีชีวิตของคนในชุมชน ที่มา: อ�ำภา บัวระภา (2557)

16


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

การวางผังชุมชนและการตั้งบ้านเรือนของลาวพวนในอดีตจะวางเป็นกลุ่มจากความสัมพันธ์ทางสายเลือดหรือความ สัมพันธ์จากการนับถือผีหรือบรรพบุรุษเดียวกันและขยายตัวออกไปตามล�ำดับชั้น หรือมีการขยายตัวไปตามเส้นทางสัญจร หรือในพืน้ ทีเ่ กษตรกรรม จากศึกษาพบว่า พืน้ ทีศ่ กึ ษาเป็นชุมชนใหม่เพราะรูปแบบการวางผังก็กระจายไปตามเส้นทางสัญจร บ้านแต่ละหลังจะตัง้ อยูห่ า่ งกันและมีพนื้ ทีโ่ ดยรอบเป็นของตนเองและมีรปู แบบภูมทิ ศั น์ทแี่ สดงความเป็นพืน้ ถิน่ ไว้ บ้านแต่ละหลัง จะตั้งกระจายอยู่ในพื้นที่ของตนเอง บ้านส่วนใหญ่จะหันหน้าออกมาทางถนนหมายเลข 12 ซึ่งถือเป็นเส้นทางสัญจรหลัก และมีถนนดินลูกรังเป็นเส้นทางสัญจรย่อยเชื่อมระหว่างถนนหลักกับตัวบ้าน แต่ละหลังจะมีเส้นทางสัญจรย่อยเป็นของ ตนเอง เป็นรูปแบบที่ไม่ตายตัว การแบ่งบริเวณบ้านจะแบ่งโดยการปักแนวรั้วไม้ไผ่และเศษไม้ เพื่อกันบริเวณแนวเขตบ้าน รวมถึงใช้กั้นแนวเขตเพื่อเลี้ยงสัตว์ในบริเวณบ้าน ใช้กั้นเขตเพื่อปลูกผักสวนครัว รวมถึงกั้นเขตในบริเวณพื้นที่เกษตรกรรม เพือ่ สร้างแนวเขตและการป้องกันสัตว์เลีย้ งเข้าไปกินต้นข้าว สรุปได้วา่ การวางผังชุมชนของลาวพวนแบบใหม่เปลีย่ นแปลงไป คือ การวางบ้านเรือนกระจายเป็นหลัง มีระยะห่างกัน วางตามแนวถนนทีต่ ดั ผ่าน ไม่วางเป็นกลุม่ เหมือนในอดีต การกระจายตัวของ บ้านเรือนจะไปตามเส้นทางสัญจรเป็นแนวยาว แต่ยังคงพื้นที่ทุ่งนา แหล่งน�้ำ และป่าชุมชนไว้เพียงแต่ประยุกต์ให้เข้ากับ บริบทของพื้นที่ใหม่ โดยเป็นที่ปลูกข้าวยาวตลอดแนวถนนหมายเลข 12 สลับการขุดบ่อน�้ำเพื่อการใช้งาน พื้นที่ป่ามีขนาด เล็กลงและอยูเ่ พียงบริเวณเชิงเขาเท่านัน้ ด้านการออกแบบวางผังบ้านและพืน้ ทีโ่ ดยรอบทีอ่ ยูอ่ าศัยยังคงมีลกั ษณะคล้ายกับ รูปแบบเดิมคือ ลักษณะเป็นบ้านยกพื้นสูง มีการปรับเปลี่ยนการใช้วัสดุไปบ้างตามยุคสมัย เช่นหลังคามุงสังกะสี แต่รูปแบบ บ้านเรือนส่วนใหญ่ยงั คงเอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ เดิมไว้ ด้านล่างใช้เป็นพืน้ ทีก่ ารเลีย้ งสัตว์ เก็บอุปกรณ์และพักผ่อน บ้านทุกหลังจะปลูกพืชผักสวนครัวไว้ใกล้บ้านรวมถึงการเลี้ยงสัตว์ ตั้งเล้าข้าวและพื้นที่เก็บฟืนไว้ใกล้กับตัวบ้านเพื่อความ สะดวกในการใช้งาน ปลูกไม้ใหญ่ไม้ผลไว้ห่างออกไป

ภาพที่ 6 การตั้งบ้านเรือนแบบกระจายตัว และลักษณะงานสถาปัตยกรรมที่อยู่อาศัยของชุมชน ที่มา: อ�ำภา บัวระภา (2557)

รูปแบบบ้านเรือนที่อยู่อาศัย มีความคล้ายคลึงกัน คือ โครงสร้างบ้านท�ำจากไม้ ยกพื้นสูง ชั้นเดียว หลังคามุงสังกะสี บางหลังยังมุงด้วยหญ้าคาหรือหญ้าแฝก ลักษณะเป็นบ้านยกสูง ประมาณ 1.00-1.50 เมตร ตัวบ้านแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คล้ายกัน คือ ระเบียงหน้าบ้านมีหลังคาคลุม ผนังเปิด 1-3 ด้าน ใช้เป็นพื้นรับแขกและพักผ่อน รวมถึงเป็นใช้ท�ำกิจกรรมของ คนในครอบครัว บ้านเรือนส่วนใหญ่มีโครงสร้างคล้ายกันแต่มีรายละเอียดกันสาดริมระเบียง การสร้างครัวแยกจากตัวบ้าน อย่างชัดเจน รวมถึงยังมีพื้นที่ซักล้างอยู่ติดกับห้องครัว ซึ่งเป็นรูปแบบของเรือนสมัยก่อน ที่ส่วนบ้านทางซ้ายมือมีการ ดัดแปลงครัวให้ตดิ กับตัวบ้านและรูปแบบห้องครัวกลมกลืนกับตัวบ้าน 2) ห้องนอน มีผนังปิดมิดชิดทัง้ 4 ด้าน และ 3) ห้องครัว จะแยกออกจากตัวบ้านอย่างชัดเจนและมีระเบียงหรือทางเชื่อมต่อกับระเบียงหน้าบ้าน ผนังบ้านเป็นไม้ บางหลังใช้ไม้และ ไม้ไผ่สานร่วมกัน หรือบางหลังเป็นไม้ไผ่สานทัง้ หลัง ขนาดของบ้านขึน้ อยูก่ บั ฐานะและเศรษฐกิจในครัวเรือน องค์ประกอบหลัก ของบ้านทีม่ คี วามคลายคลึงกันแต่รายละเอียดแต่ละหลังมีความแตกต่างกัน เช่น ผนังไม้จะมีทงั้ ผนังแนวตัง้ และแนวนอน ผนัง ไม้ไผ่จะสานเป็นตารางขนาดเท่ากัน หรือสานเป็นลวดลายขึน้ อยูก่ บั ความชอบของเจ้าของบ้านหรือฝีมอื ช่าง บันไดยังคงเป็น บันไดไม้แบบง่ายๆ บางหลังไม่มีราวบันได การใช้งานบริเวณใต้ถุนบ้านแตกต่างกัน เช่น ใช้เป็นพื้นที่พักผ่อน เก็บเครื่องมือ และอุปกรณ์เกี่ยวกับการเกษตร เครื่องมือท�ำมาหากิน เลี้ยงสัตว์ เช่น วัว ควาย หมู แพะ ไก่ เป็นต้น

17


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

ภาพที่ 6 (ต่อ) วิถีชีวิต รูปแบบบ้านเรือน การจัดการพื้นที่ และการประยุกต์ใช้วัสดุ ที่มา: อ�ำภา บัวระภา (2557)

ลักษณะของบ้านเรือนทีอ่ ยูอ่ าศัยของชุมชนเป็นชุมชนทีเ่ กิดขึน้ ใหม่มกี ารเปลีย่ นแปลงรูปแบบการวางผังให้เข้ากับลักษณะ กายภาพของพื้นที่ตั้ง โดยตั้งบ้านเรือนเกาะเป็นแนวยาวตามเส้นทางการสัญจร แต่รูปแบบและลักษะของบ้านเรือนที่อยู่ อาศัยและการจัดวางพืน้ ทีโ่ ดยรอบยังอัตลักษณ์ ทัง้ รูปแบบการวางผัง การตัง้ บ้านเรือน พืน้ ทีเ่ กษตรกรรม ลักษณะบ้านเรือน ทีอ่ ยูอ่ าศัย การจัดการพืน้ ทีโ่ ดยรอบ การแบ่งพืน้ ทีใ่ ช้สอยในตัวเรือน วัสดุทใี่ ช้ในการตกแต่งทีย่ งั คงใช้ไม้เป็นหลักและตกแต่ง ด้วยไม้ไผ่สาน การจัดการพืน้ ทีใ่ ต้ถนุ บ้านส�ำหรับเป็นพืน้ ทีอ่ เนกประสงค์ ล�ำดับการจัดการพืน้ ทีร่ อบทีอ่ ยูอ่ าศัยเป็นพืน้ ทีเ่ ลีย้ งสัตว์ ปลูกพืชผักสวนครัว ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่และพื้นที่ส�ำหรับการเกษตรกรรม

18


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

ตารางที่ 1 สรุปรูปแบบภูมิทัศน์พื้นถิ่น “บ้านเรือนที่อยู่อาศัย” และการใช้พื้นที่โดยรอบ ภูมิทัศพื้นถิ่น

ปัจจัยที่ก่อให้เกิดภูมิทัศน์พื้นถิ่น

รูปแบบ

การตั้งถิ่นฐาน

กลุ่มวัฒนธรรมลาวลุ่ม มีพื้นที่ราบส�ำหรับการท�ำนา มีแหล่งน�้ำเพียงพอ ค�ำนึงถึงพื้นที่เนินขนาดใหญ่เพื่อ ตั้งชุมชน น�้ำท่วมไม่ถึง

กระจายตั ว มาจากหมู ่ บ ้ า นเดิ ม อยู ่ ใ กล้ พื้ น ที่ เกษตรกรรมของตนเอง เป็นหมู่บ้านมีขนาดเล็ก ตั้งชุมชนบริเวณที่ว่างที่เป็นเนิน ปรับเปลี่ยน พื้นที่ราบเป็นพื้นที่เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ

การวางผัง

กลุ่มวัฒนธรรมลาวลุ่ม มีการตั้งบ้านเรือนเป็นกลุ่ม ใกล้แหล่งน�้ำ มีพื้นที่ท�ำการเกษตร มีองค์ประกอบ การวางผังชุมชน คือ กลุม่ บ้าน ทุง่ นา แหล่งน�ำ้ และป่าไม้

เป็นกลุม่ บ้านขนาดเล็ก บ้านแต่ละหลังกระจายตัว อย่างอิสระ เป็นแนวยาว (Linear) กระจายตัว และหันหน้าเข้าสู่เส้นทางสัญจร บ้านแต่ละหลัง มีการกั้นเขต และส�ำหรับเลี้ยงสัตว์ มีการจัดการ พืน้ ทีค่ ล้ายกันแต่มรี ปู แบบและขนาดแตกต่างกัน

บ้านเรือนที่อยู่อาศัย

ค�ำนึงถึงลักษณะกายภาพ ผสานกับวัฒนธรรมและสังคม วิถีชีวิต มีการประยุกต์ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้สร้าง ทีพ่ กั อาศัย ไม้ ไม้ไผ่ หญ้าคา เนือ่ งจากสภาพสังคมและ เศรษฐกิจเพราะเป็นชุมชนเกษตรกรรม ท�ำนา และมี ค่านิยม และความเชื่อแบบเดิม รูปแบบบ้านแบบเดิม ไม่อิงตามกระแสของโลกสมัยใหม่

ลักษณะที่อยู่อาศัย เป็นบ้านยกพื้นสูง มีรูปแบบ คล้ายคลึงกัน แบ่งเรือนออกเป็น 3 ส่วนคือ ระเบียง หน้าบ้าน ใช้สำ� หรับพักผ่อน รับแขกและท�ำกิจกรรม ในครัวเรือน ลักษณะกึ่งเปิดกึ่งปิด ตัวบ้านหรือ ห้องนอน เป็นพื้นที่ปิด มีประตูเข้า 2 ด้าน มีช่อง หน้าต่างขนาดเล็ก ห้องครัว ส่วนใหญ่นยิ มสร้างแยก มีชานเชือ่ มต่อจากระเบียง วัสดุทใี่ ช้ แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบคือ 1) บ้านไม้ทั้งหลัง 2) บ้านไม้ผสม กับไม้ไผ่สานเป็นผนัง

การจัดการพื้นที่โดยรอบ ทีอ่ ยูอ่ าศัยและการใช้พชื พรรณ

สืบเนื่องมาจากปัจจัยจากวัฒนธรรม สังคม วิถีชีวิต ของลาว มีภูมิปัญญาการจัดสรรพื้นที่ให้เกิดประโยชน์ ปลูกพืชทีจ่ ำ� เป็นในการด�ำรงชีวติ การเลีย้ งสัตว์ เช่น ควาย แพะ ไก่ ไว้ใกล้บ้าน ต้องปลูกพืชผักสวนครัว ไม้ผล เพื่อใช้รับประทาน ปลูกต้นไม้ใหญ่ เพื่อใช้ในการสร้าง ที่อยู่อาศัย

การจัดการพืน้ ทีแ่ บ่งออกเป็น 1) บริเวณใต้ถนุ ไว้ ส�ำหรับเก็บเครือ่ งมือทางการเกษตร เช่น จอบ เสียม ตะกร้า กระบุง สะดุง้ เป็นต้น บ้านเลีย้ งสัตว์ไว้ใต้ถนุ บ้าน หรือใช้เป็นพืน้ ทีพ่ กั ผ่อน 2) ยุง้ ข้าว และพืน้ ที่ เลีย้ งสัตว์ ปลูกผักสวนครัว ปลูกไม้ผล เช่น มะละกอ มะม่วง มะพร้าว อ้อย กระถิน เป็นต้น 3) พืน้ ทีต่ น้ ไม้ ใหญ่เป็นต้นไม้ให้ร่มเงา 4) พื้นที่เกษตรกรรม

พื้นที่เกษตรกรรม

จากวัฒนธรรมและสังคม วิถชี วี ติ เป็นสังคมเกษตรกรรม ท�ำนาเป็นอาชีพหลัก มีความรูแ้ ละภูมปิ ญ ั ญาการจัดการ พืน้ ทีแ่ ละการท�ำนา มีความเกีย่ วข้องกับวัฒนธรรม ชาวนา ต้องพืน้ ทีเ่ ป็นทีร่ าบ อยูร่ ะหว่างหุบเขาและถนน ลักษณะดิน อุ้มน�้ำได้ดี เป็นแหล่งกักเก็บน�้ำ เหมาะส�ำหรับปลูกข้าว

เป็นพืน้ ทีร่ าบอยูร่ ะหว่างถนนหมายเลข 12 แนว เทือกเขา 1) ทุ่งนา ปลูกข้าวทั้งหมด ไม่พบพืช ชนิดอื่น คันนาขนาดเล็ก มีไว้ส�ำหรับกันพื้นที่กัก เก็บน�้ำ และเดินเท่านั้น บนที่นามีบ่อกักเก็บน�้ำ สลับอยูใ่ นพืน้ ที่ 2) กระท่อม กระจายตัวอยูไ่ ม่มาก สถาปัตยกรรมยังคงเอกลักษณ์พื้นถิ่น ยกพื้นสูง แบ่งออกเป็นสองคือส่วนพักผ่อน (ระเบียง) และ ส่วนปิดล้อมใช้เป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยช่วงท�ำนา ภายในบริเวณ ปลูกไม้ใหญ่ให้รม่ เงา ปลูกกล้วย บางพืน้ ทีม่ แี นวรัว้ กันไว้เพื่อเลี้ยงสัตว์

19


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

ภาพที่ 8 การวางบ้านเรือนและพื้นที่โดยรอบ ประกอบด้วย (1) ตัวเรือนเพื่ออยู่อาศัย (2) พักผ่อนและเก็บอุปกรณ์ ทางการเกษตร (3) พืน้ ทีเ่ ลีย้ งสัตว์ (4) ยุง้ ข้าว (5) ปลูกพืชผักสวนครัว (6) ไม้รบั ประทาน (7) ไม้ใช้สอย และ (8) ไม้พนื้ ถิน่ ให้รม่ เงา ที่มา: อ�ำภา บัวระภา (2557)

ภาพที่ 9 ล�ำดับการจัดการพื้นที่จากถนนสายหลัก-พื้นที่เกษตรกรรม ที่มา: อ�ำภา บัวระภา (2559)

20


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

6. สรุป ปัจจัยการคงอยู่ของภูมิทัศน์พื้นถิ่น “บ้านเรือนและที่อยู่อาศัย” แขวงค�ำม่วน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จากการศึกษาพบว่า ปัจจัยหลักที่มอี ทิ ธิพลและส่งผลต่อความเป็นอยูข่ องภูมิทศั น์พื้นถิ่นประเภทบ้านเรือนทีอ่ ยูอ่ าศัยได้แก่ 1) วัฒนธรรมและการสืบเชื้อสายลาวซึ่งมีรากวัฒนธรรมลาว “สายภูเลย” ที่มีแนวคิดในการตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ราบลุ่มใกล้ แหล่งน�ำ้ ต้องมีพนื้ ทีร่ าบหรือพืน้ ทีส่ งู เพือ่ สร้างทีอ่ ยูอ่ าศัย พืน้ ทีโ่ ดยรอบต้องเหมาะสมกับการท�ำการเกษตร การท�ำนาปลูกข้าว มีแหล่งน�้ำพอเพียง มีพื้นที่ป่าอุดมสมบูรณ์ และปัจจัยที่ 2) คือ ปัจจัยด้านคติความเชื่อแบบดั้งเดิมของชุมชนที่ส่งผลต่อการ เลือกพืน้ ทีต่ งั้ และการวางผังชุมชนตามคติความเชือ่ เดิมคือ ต้องมีองค์ประกอบทีส่ ำ� คัญ 4 อย่างได้แก่ กลุม่ บ้าน ทุง่ นา แหล่งน�ำ้ และป่าไม้ แต่ด้วยข้อจ�ำกัดของที่ตั้งชุมชนใหม่และการประยุกต์ใช้จึงยังรักษาองค์ประกอบด้านที่อยู่อาศัย ทุ่งนา แหล่งน�้ำ แต่การตั้งบ้านเรือนจะวางไปตามแนวถนนหมายเลข 12 วางกระจายและมีระยะห่างกัน และปัจจัยที่ 3 คือ รูปแบบวิถีชีวิต แบบสังคมเกษตรกรรม การท�ำนา การพึ่งพาตนเอง ไม่ยึดติดและตามสังคมภายนอกแม้ว่าในพื้นที่จะมีการพัฒนาด้าน เศรษฐกิจและสังคม มีความเจริญทางด้านการคมนาคมขนส่ง การสื่อสารและเทคโนโลยีที่ทันสมัย แต่ไม่ได้มีผลกระทบต่อ การการปรับเปลี่ยนรูปแบบการวางผังและพื้นที่อยู่อาศัยของชาว สปป.ลาว เพราะตลอดพื้นที่ศึกษายังคงพบเรือนพื้นถิ่นที่ มีอัตลักษณ์แบบลาวพวน คือ การวางผังชุมชนของลาวพวนแบบใหม่เปลี่ยนแปลงไป คือ การวางบ้านเรือนกระจายเป็น หลังเว้นระยะห่างระหว่างตัวบ้านแต่ละหลัง ไม่วางเป็นกลุ่มเหมือนในอดีต การกระจายตัวของบ้านเรือนจะไปตามเส้นทาง สัญจรเป็นแนวยาว แต่ยังคงพื้นที่ทุ่งนา แหล่งน�้ำ และป่าชุมชนไว้เพียงแต่ประยุกต์ให้เข้ากับบริบทของพื้นที่ใหม่ โดยเป็นที่ ปลูกข้าวยาวตลอดแนวถนนหมายเลข 12 สลับการขุดบ่อน�ำ้ เพือ่ การใช้งาน พืน้ ทีป่ า่ มีขนาดเล็กลงและอยูเ่ พียงบริเวณเชิงเขา เท่านั้น ด้านรูปแบบที่อยู่อาศัยคล้ายกับรูปแบบเดิมคือ ลักษณะเป็นบ้านยกพื้นสูง รูปแบบเรือนที่อยู่อาศัย การแบ่งพื้นที่ ใช้สอยออกเป็น ชาน (ห้องรับแขก) ห้องนอน และครัว รวมถึงเทคนิคการก่อสร้าง การเลือกใช้วัสดุที่เป็นไม้ไผ่ มีการปรับ เปลีย่ นการใช้วสั ดุไปบ้างตามยุคสมัย เช่น หลังคามุงสังกะสี แต่รปู แบบบ้านเรือนส่วนใหญ่ยงั คงเอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรม พืน้ ถิน่ เดิมไว้ ตลอดจนการวางผังบ้านและการจัดการพืน้ ทีโ่ ดยรอบทีย่ งั คงรูปแบบเดิมคือ ด้านล่างใช้เป็นพืน้ ทีก่ ารเลีย้ งสัตว์ สัตว์ เลี้ยงแพะ วัว ควาย ไก่ เก็บอุปกรณ์และพักผ่อน บ้านทุกหลังจะปลูกพืชผักสวนครัวไว้ใกล้บ้านรวมถึงการเลี้ยงสัตว์ ตั้ง เล้าข้าวและพื้นที่เก็บฟืนไว้ใกล้กับตัวบ้านเพื่อความสะดวกในการใช้งาน ปลูกไม้ใหญ่ไม้ผลไว้ห่างออกไป และชุมชนจะถูก โอบล้อมโดยทุง่ นาสีเขียว ป่าไม้เชิงเขาและเทือกเขายาวตลอดแนว เกิดเป็นรูปแบบภูมทิ ศั น์พนื้ ถิน่ ทีย่ งั คงความสวยงามเป็น อัตลักษณ์ของชุมชนบนถนนหมายเลข 12 แขวงค�ำม่วน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

21


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

7. เอกสารอ้างอิง เกรียงไกร เกิดศิริ. (2551). ชุมชนกับภูมิทัศน์วัฒนธรรม. กรุงเทพมหานคร: อุษาคเนย์. นพดล ตั้งสกุล. (2555). แบบแผนที่ว่างในเรือนพื้นถิ่นชาติพันธุ์ไทยลาวในภาคอีสานและ สปป.ลาว. รายงานสรุป ผลการวิจัย ตั้งแต่ พ.ศ. 2552-2555 โครงการวิจัย การศึกษาแบบองค์รวมของการปรับตัวในบริบทที่แตกต่างของ กลุ่มชาติพันธุ์ ไท-ลาว ในพื้นที่ลุ่มน�้ำภาคกลางของประเทศไทย. นวณัฐ โอศิริ. (2545). ภูมิทัศน์พื้นถิ่น ภูมิปัญญาเพื่อการประหยัดพลังงานและการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา หมู่บ้านตาลเหนือ อ�ำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่. สาระศาสตร์: การประชุมวิชาการประจ�ำปี สถาปัตยกรรม และศาสตร์ เกี่ยวเนื่อง ครั้งที่ 6 ฉบับการวางแผนภาคและผังเมือง ภูมิสถาปัตยกรรม 1. บุนมี เทบสีเมือง. (2553). ความเป็นมาของชนชาติลาว การตั้งถิ่นฐานและการสถาปนาอาณาจักร. กรุงเทพมหานคร: ส�ำนักพิมพ์สุขภาพใจ บริษัทตถาตา พับลิเคชั่น จ�ำกัด. พยนต์ ทิมเจริญ. (2537). สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว “การเมืองการปกครอง”. เอกสารประกอบการ ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “แนวทางการวิจัยลาวศึกษา ในประเทศไทย” ณ โรงแรมโฆษะ จังหวัดขอนแก่น วันที่ 22-23 สิงหาคม 2537 ส�ำนักกองทุนสนับสนุนการวิจัย สถาบันศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม. วิทย์ บัณฑิตกุล. (2555). สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. หนังสือชุดประชาคมอาเซียน .กรุงเทพมหานคร: สถาพรบุ๊คส์จ�ำกัด ศนิ ลิ้มทองสกุล. (2549). ภูมิทัศน์พื้นถิ่นของหมู่บ้านชนบทในชุมชนชาวมุสลิมในประเทศไทย. วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมและการวางผัง ฉบับที่ 4. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อรศิริ ปานินท์ และ นพดล จันทวีระ. (2555). ลาวพวน, รายงานสรุปผลการวิจัย ตั้งแต่ พ.ศ. 2552-2555 โครงการวิจัย “การศึกษาแบบองค์รวมของการปรับตัวในบริบทที่แตกต่างของกลุ่มชาติพันธุ์ ไท-ลาว ในพื้นที่ ลุ่มน�้ำภาคกลางของประเทศไทย”. อ�ำภา บัวระภา. (2557). ภูมิทัศน์พื้นถิ่น อ�ำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย. วารสารหน้าจั่ว (เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในมิติ สถาปัตยกรรมและภูมิทัศน์วัฒนธรรม). ฉบับที่ 27. ประจ�ำเดือนกันยายน 2555 – สิงหาคม 2556 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

22


บทความวิจัย

Research Article


คุณสมบัตผิ นังดินมูลกระบือ บ้านหนองโนใต้ ต�ำบลนาดูน อ�ำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม Properties of soil wall, buffalo droppings Ban Nong No Tai, Na Dun Subdistrict, Na Dun District, Maha Sarakham Province

อภิเชษฐ์ ตีคลี*

บ้านเลขที่ 239 หมู่ 8 ต�ำบลนาบัว อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000

Apiched Teekalee

239 Moo 8, Nabua Subdistrict, Mueang District, Surin Province 23000 *E-mail: apiched001@hotmail.com


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

บทคัดย่อ งานวิจัยเรื่องคุณสมบัติผนังดินมูลกระบือ บ้านหนองโนใต้ ต�ำบลนาดูน อ�ำเภอนาดูน จังหวัดหาสารคาม มีจุดมุ่งหมาย เพือ่ ศึกษาคุณสมบัตดิ นิ มูลกระบือ และส่วนประกอบทีเ่ กีย่ วข้อง แล้วน�ำผลทีไ่ ด้ไปบูรณาการกับนิสติ ชัน้ ปีที่ 3 สาขานฤมิตศิลป์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยผู้วิจัยได้ก�ำหนดเครื่องมือในการวิจัย อันประกอบไปด้วย แบบบันทึกการสัมภาษณ์ แบบประเมินวัสดุต้นแบบ และแบบประเมินความพึงพอใจ จากการศึกษา วิจัยพบว่า ดินมูลกระบือมีความเหนียวไม่พอที่จะสามารถขึ้นรูปด้วยตัววัสดุเอง แต่ดินมูลกระบือมีคุณสมบัติที่เหมาะสม ในการขึ้นรูปลักษณะเป็นวัสดุฉาบอุด มีวัสดุอื่นเป็นโครงสร้างภายใน เช่น ไม้ไผ่ หรือไม้จริง ซึ่งท�ำหน้าที่เป็นโครงสร้าง รับน�้ำหนักของวัสดุ วัสดุสามารถน�ำไปขึ้นรูปกับวัสดุโครงสร้างได้ดี มีส่วนผสมประกอบไปด้วย น�้ำ 1 ส่วน ดินจอมปลวก 1 ส่วน มูลกระบือ หรือมูลโค 1 ส่วน และทิศทางของการอัดมีผลต่อการขึ้นรูปจากการทดลอง จาการศึกษา พบว่า การอัดต้องอัดตามแนว ขวางกับวัสดุโครงสร้าง ส่วนการขึน้ รูปโดยไม่มโี ครงสร้างนัน้ ใช้เวลานาน ต้องรอให้ดนิ ชัน้ แรกคงรูปจึงจะขึน้ ชัน้ ถัดไปได้ และ ต้องผสมดินมูลกระบือให้มลี กั ษณะเข้ม ใช้นำ�้ น้อยจึงจะสามารถขึน้ รูปไม่เหมาะสมในการใช้งานเป็นวัสดุกอ่ ผนัง ดินมูลกระบือ ทีท่ ดสอบจะมีการแห้งตัวหลังเวลา 24 ชัว่ โมงนับตัง้ แต่การเริม่ อัด และดินมูลกระบือมีการหดตัวเฉลีย่ ที่ 3-5 % การหดตัวนัน้ ขึน้ อยูก่ บั การน�ำวัสดุไปใช้งาน หากน�ำดินมูลกระบือไปใช้ในบริเวณน้อยหรือน�ำไปใช้เป็นวัสดุอดุ รูเนือ้ ดินทีใ่ ช้จะไม่มกี ารหดตัว แต่หากน�ำเนื้อดินไปใช้เป็นวัสดุปิดผิวหรือฉาบปิดผนัง หรือน�ำไปก่อขึ้นรูปโดยตรงเนื้อดินจะมีการหดตัว กิจกรรมการบูรณาการ มีนสิ ติ เข้าร่วมโครงการชาย 2 คน หญิง 3 คน ก่อนการเข้าร่วมกิจกรรมผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ เกี่ยวกับดินมูลกระบืออยู่ในระดับ น้อย 2 คน คิดเป็นร้อยละ 40 น้อยมาก 3 คน คิดเป็นร้อยละ 60 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเคย สัมผัสหรือใช้งานดินมูลกระบืออยู่ในระดับ ปานกลาง 2 คน คิดเป็นร้อยละ 40 น้อยมาก 3 คน คิดเป็นร้อยละ 60 หลังการ เข้าร่วมกิจกรรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจหลังการเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ในระดับ มากที่สุด 4 คน คิดเป็นร้อยละ 80 มาก 1 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถน�ำความรู้ที่ได้ไปบูรณาการใช้งานอยู่ในระดับ มากที่สุด 5 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และผู้เข้าร่วมโครงการคิดว่าวัสดุชนิดนี้สามารถน�ำไปสู่การพัฒนาต่อไปอยู่ในระดับ มากที่สุด 5 คน คิด เป็นร้อยละ 100 ค�ำส�ำคัญ: ดินมูลกระบือ, วัสดุท้องถิ่น

ABSTRACT Research on the properties of soil wall, buffalo dung Ban Nong No Tai, Na Dun Subdistrict, Na Dun District, Amnat Sarakham Province Aims to Study the properties of soil wall, buffalo droppings And related components And then bring the results to be integrated with the 3rd year students in Creative Arts Faculty of Architecture City plan and creative arts Mahasarakrm university The researcher has set up research tools that include Interview Record Form Prototype material evaluation form And satisfaction assessment form From the study found The wall of buffalo droppings is not tough enough to be molded by the material itself. But the buffalo ground soil has the appropriate properties for forming the form of fillers There are other materials as internal structures, such as bamboo or real wood which serves as the load-bearing structure of the material.

25


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

According to studies, it has been found that The material can be well molded to the structural material. Contains ingredients consisting of 1 part of water, 1 anthill soil, 1 part of buffalo dung or cow dung, and the direction of compression affects the molding from the experiment. The study found that The compression must be compressed in parallel with the structural material. As for forming without structure, it takes a long time. Have to wait for the first floor to remain in shape so that it will be able to go to the next floor And must mix the soil, buffaloes to be darker Use less water to be able to mold, not suitable for use as wall material The buffalo manure soil tested will dry after 24 hours since the start of the compression. And buffalo droppings have an average shrinkage of 3-5%. The shrinkage depends on the use of the material. If using buffalo dung soil in a small area or used as a hole filling material, the soil used will not shrink. But if the soil is used as a covering material or plastered off the wall Or directly forming the soil, the soil will shrink. Integration activities found that There were 2 students participating in the project, 3 women and 3 women before joining the activity. Participants had knowledge about the buffalo dung soil at the level of 2 people, accounting for 40%. Very few 3 people accounted for 60% of participants. Used to experience or use the buffalo dung soil at a moderate level, 2 people accounted for 40%, very few 3 people accounted for 60% after participating in the activity Participants had knowledge and understanding after participating in the activity at the highest level, 4 people, accounting for 80%, very 1 person, equivalent to 20%. Participants were able to apply the knowledge to be integrated into the level. The most 5 people, representing 100% and the participants think that this material can lead to further development at the highest level, 5 people, representing 100%. Keywords: Soil Wall Shit Buffalo, local materials

1. บทน�ำ ยุ้งฉางส�ำหรับเก็บข้าวเปลือกของคนอีสาน ในอดีตมักใช้มูลกระบือ (ขี้ควาย) ผสมกับดินจอมปลวก ฉาบปิดผนังเพื่อ ป้องกันน�ำ้ ความชืน่ หรือสัตว์ทจี่ ะเข้ามากัดกินข้าวเปลือก โดยมักใช้รวมกับโครงสร้างทีเ่ ป็นไม้ไผ่ซงึ่ ทัง้ หมดเป็นวัสดุทอ้ งถิน่ หาง่ายไม่ตอ้ งซือ้ หา และลักษณะการใช้งานวัสดุแบบนีย้ งั พบอยูใ่ นสังคมอีสานในปัจจุบนั นัน้ ย่อมแสดงให้เห็นว่า คุณสมบัติ หลายอย่างที่เหมาะสมในการใช้งาน ชุมชนบ้านหนองโนใต้ อ�ำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม เป็นชุมชนเกษตรกรรมวิถีวัฒนธรรมอีสานที่ยังคงสืบสานวิถี การด�ำรงชีพแบบดั่งเดิมจากรุ่นสู่ร่น มีภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านต่าง ๆ ทั้งภูมิปัญญาด้านการแสดงหุ่นกระติ๊บ ภูมิปัญญาด้าน เกษตรกรรม ภูมิปัญญาด้านหัตถกรรม และยังพบภูมิปัญญาการใช้ดินผสมมูลกระบือมาใช้งาน ทั้งใช้ท�ำผนังยุ้งฉางเพื่อเก็บ ข้าวเปลือก ผลิตผลทางการเกษตร และน�ำมาฉาบผนังอาคารโรงละครหุ่นกระติ๊บ ในดินมูลกระบือมีส่วนผสมประกอบไป ด้วย มูลกระบือ ดินจอมปลวก และน�้ำ ซึ่งในการใช้งานจะมีการน�ำไม้ไผ่มาสานเป็นโครงสร้างภายใน ซึ่งทั้งหมดเป็นวัสดุ ธรรมชาติ หาได้ในชุมชน วัสดุดินมูลกระบือนั้นชุมชนน�ำมาใช้งานตั้งแต่อดีต และปัจจุบันยังคงใช้วัสดุ ตัวนี้อยู่ จากการลง สนามพบว่าวัสดุชนิดนี้ชุมชนสามารถหาได้เอง ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการซื้อ ฉะนั้นวัสดุจึงมีความน่าสนใจในการศึกษาว่า มีส่วนประกอบ คุณสมบัติอย่างไร ชุมชนจึงเรียกหาใช้งานอยู่ จากข้อความข้างต้นจะพบได้ว่าภูมิปัญญาการใช้ดินผสมมูลกระบือนั้น มีอยู่ในสังคมวัฒนธรรมอีสานมาอย่างช้านาน และสามารถพบได้ในปัจจุบัน ฉะนั้นการศึกษา วิจัย เพื่อหาส่วนผสม คุณสมบัติ ของวัสดุส่วนนี้จึงมีความน่าสนใจ ต่อการ ศึกษาวิจัย เพื่อน�ำคุณสมบัติที่ได้สู่การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และบูรณาการวัสดุที่ได้สู่การเรียนการสอนด้านการออกแบบ ผลิตภัณฑ์หัตถกรรมอุตสาหกรรม

26


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

1.1 จุดประสงค์

1. เพื่อศึกษาส่วนผสมและคุณสมบัติของดินมูลกระบือ 2. เพื่อน�ำคุณสมบัติของวัสดุที่ได้มาบูรณาการเข้ากับการเรียนการสอนรายวิชาด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ หัตถอุตสาหกรรม

1.2 กรอบแนวคิดการวิจัย

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

2. การทบทวนวรรณกรรม อภิญญา เหล่าม่วง (สัมภาษณ์: 2559) ชุมชนบ้านหนองโนใต้ หมู่ 7 ตัง้ อยูท่ อี่ ำ� เภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม มีระยะ ห่างจากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 76 กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ 2,427 ไร่ มีพื้นที่ป่าชุมชนประมาณ 460 ไร่ มีครัวเรือน ทั้งสิ้น 84 ครัวเรือน ประชากรประมาณ 360 คน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การท�ำนาปลูกข้าว ท�ำสวนยางพารา และปลูกผลไม้ ปรีชา การุณ (สัมภาษณ์: 2559) ในชุมชนมีภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านต่าง ๆ ทั้งภูมิปัญญาด้าน การแสดงหุ่นกระติ๊บ ภูมิปัญญาด้านเกษตรกรรม ภูมิปัญญาด้านหัตถกรรม และยังพบภูมิปัญญาการใช้ดินผสมมูลกระบือ มาใช้งาน ทั้งใช้ท�ำผนังยุ้งฉางเพื่อเก็บข้าวเปลือก ผลิตผลทางการเกษตร และน�ำมาฉาบผนังอาคารโรงละครหุ่นกระติ๊บ ใน ดินมูลกระบือมีส่วนผสมประกอบไปด้วย มูลกระบือ ดินจอมปลวก และน�้ำ ซึ่งในการใช้งานจะมีการน�ำไม้ไผ่มาสานเป็น โครงสร้าง ในชุมชนบ้านหนองโนใต้มีการปลูกสร้างอาคารที่ใช้ในส�ำหรับเก็บผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งมีการน�ำดินผสมกับ มูลกระบือ ฉาบปิดผนังอาคารโดยภายในใช้ไม่ไผ่หรือกิ่งไม้ เป็นโครงสร้าง สมศรี พาดีจันทร์ (สัมภาษณ์ : 2559) ได้ให้ข้อมูล ไว้ว่า ดินผสมมูลกระบือนั้นจะใช้ดินลักษณะใดก็ได้ แต่สิ่งส�ำคัญคือการเลือกใช้มูลโค หรือมูลกระบือ ต้องใช้มูลสัตว์ที่สดใน เวลาเช้าตรู่ น�ำมาเหยียบผสมกับดินอาจเติมน�้ำเล็กน้อย เพื่อให้ดินที่ได้มีลักษณะอ่อนตัว คุณยายทองศรี ยังเล่าต่อไปว่า การน�ำดินผสมมูลกระบือมาใช้งานนั้น ท�ำการมานานมากแล้ว ตั้งแต่สมัยรุ่นตาทวดยายทวด คงเป็นเพราะในสมัยโบราณ นั้นชุมชนไม่มีวัสดุประเภทคอนกรีต จึงเลือกใช้วัสดุที่มีอยู่ในชุมชน เป็นวัตถุดิบที่ได้จากธรรมชาติ ในอดีตใช้ทั้งทาลานนวด ข้าว ทางยุ่งฉาง ปัจจุบันคงเหลือแต่ใช้ทางฉายบนยุ่งฉาง และปัจจุบันนี้ใช้มูลโคส่วนใดก็ได้ ไม่จ�ำเป็นต้องเลือกว่าเป็นของ ใหม่หรือเก่า กระบือโรงงานปุ๋ยเคลื่อนที่ (ม.ป.ป). กล่าวว่า กระบือสามารถเปลี่ยนหญ้าหรือฟางเป็นเงินเป็นทองให้คนใช้ ประโยชน์ได้ และสามารถเปลีย่ นวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น ฟางข้าวหญ้าตามหัวไร่ปลายนา มาเป็นเนือ้ อาหารโปรตีน

27


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

ส�ำหรับมนุษย์ได้ และถ่ายมูลเป็นปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง เนื่องจากกระบือเป็นสัตว์กระเพาะรวม มี 4 กระเพาะ ภายใน กระเพาะมีจุลินทรีย์เชื้อราและแบคทีเรีย อาศัยอยู่มากมายที่สามารถย่อยหญ้า ฟางและวัชพืช อาหารที่ย่อยไม่หมดถูกถ่าย ออกมา มูลกระบือกลายสภาพเป็นปุย๋ อินทรียช์ นั้ เยีย่ ม คืนความอุดมสมบรูณแ์ ละเพิม่ ธาตุอาหารให้กบั ดินเพิม่ จุลนิ ทรีย์ และ ให้พชื เจริญงอกงาม เป็นอาหารให้มนุษย์และสัตว์ ซึง่ เรียกว่าห่วงโซ่ของอาหารนอกจากนีท้ ำ� ให้ระบบนิเวศน์ในไร่นากลับคืนมา กระบือโรงงานปุย๋ เคลือ่ นที่ (ม.ป.ป). ยังกล่าวต่อไปว่า กระบือน�ำ้ หนัก 450 ก.ก. ผลิตปุย๋ ได้ปลี ะ 2-3 ตันของน�ำ้ หนัก แห้ง โดยไม่ถ่ายเรี่ยราดไปที่ไหน แต่ถ้าชาวนามีที่นา 20 ไร่ ต้องการปุ๋ยมูลกระบือ 200 กก. จะต้องเลี้ยงกระบืออย่างน้อย 2 ตัว (ได้ปุ๋ย 5 ตันแต่ในความเป็นจริงได้เก็บได้ประมาณ 2 ตัน) กระบือที่โตเต็มที่โดยเฉลี่ยแล้ว ถ่ายมูลวันละ 6 ครั้งๆ ละ 0.9% ของน�้ำหนักตัว ดังนั้นถ้ากระบือ 450 ก.ก. จะถ่ายมูลปีละ 6 x 0.9 x 450/100 x 365 = 8,869 ก.ก.น�้ำหนักสด คิด เป็นน�้ำหนักแห้งได้ 2.6 ตัน ดังนัน้ ปัจจุบันจึงเกิดกระแสการท�ำเกษตรกรรมยั่งยืน ซึ่งลดรายจ่ายและเกื้อกูลสิ่งแวดล้อม โดย เน้นท�ำปัจจัยการผลิตไว้ใช้เอง ปัจจัยที่ส�ำคัญของเกษตรกรรมยั่งยืนคือ มูลสัตว์ที่ใช้ส�ำหรับปรับปรุงดิน ปริมาณอินทรีย์วัตถุ ในดินและธาตุอาหารในดินเป็นดัชนีส�ำคัญในการบ่งชี้ความอุดมสมบรูณ์ของดิน ธิดารัตน์ ศรีผดุง และ ทองค�ำ ขู่ค�ำราม (2560) กล่าวว่า มูลวัว ประกอบไปด้วย ส่วนที่เป็นมูล ปัสสาวะ ของแข็ง ประกอบไปด้วยเศษของพืชและสัตว์ซงึ่ เป็นอาหารทีส่ ตั ว์กนิ เข้าไปแล้วไม่สามารถย่อยหรือน�ำไปใช้ประโยชน์ได้หมด จึงเหลือ เป็นกากที่สัตว์ขับถ่ายออกมา โดยเศษอาหารเหล่านี้ได้ผ่านกระบวนการย่อยสลายไปบางส่วนแล้วในทางเดินอาหาร ดังนั้น ส่วนที่เป็นมูลสัตว์จึงอุดมไปด้วยธาตุอาหารชนิดต่าง ๆ รวมทั้งสารอินทรีย์ที่ละลายน�้ำได้หลายชนิด ชาติ ชายแดนใต้ (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. กล่าวไว้ว่า วัว น�้ำหนัก. 400 กก. กินหญ้าสดประมาณ 50 กิโลกรัมต่อวัน ได้ขป้ี ระมาณ 10 กิโลกรัม ขีว้ วั ส่วนใหญ่เป็นของแข็งประกอบไปด้วยเศษของพืชโดยสัตว์ไม่สามารถย่อยได้ จึงขับถ่ายออกมา ส่วนมูลสัตว์แต่ละชนิดจะมีธาตุอาหารชนิดใดมากหรือน้อยขึน้ อยูก่ บั ชนิดของอาหารทีส่ ตั ว์ชนิดนัน้ กินเข้าไปเป็นปัจจัยส�ำคัญ รวมทั้งปัจจัยอื่นๆได้แก่ ระบบการย่อยอาหารของสัตว์ วิธีการให้อาหาร รวมทั้งการจัดการรวบรวมมูล การเก็บรักษา วัว มีระบบการย่อยอาหารทีแ่ ตกต่างจากคน มีโครงสร้างของทางเดินอาหารแตกต่างจากคนและสัตว์กนิ เนือ้ อืน่ ๆ อยู่ 2 ประการ คือ 1) การมีทางเดินอาหารที่ยาวมาก ๆ อาจยาวมากถึง 40 เมตร ท�ำให้ระยะเวลาในการย่อยและการดูดซึมสาร อาหารนานยิง่ ขึน้ และสภาพของกระเพาะอาหารค่อนข้างเป็นกรด กระเพาะอาหารของวัวและควายยังแบ่งออกเป็น 4 ส่วน โดยกระเพาะอาหาร 3 ส่วนแรก เป็นส่วนทีข่ ยายขนาดขึน้ ของหลอดอาหาร ไม่มกี ารสร้างน�ำ้ ย่อยในการย่อยอาหาร กระเพาะ อาหารส่วนที่ 4 เป็นกระเพาะอาหารจริง กระเพาะอาหาร ทั้ง 4 ส่วนมีชื่อและลักษณะเฉพาะ คือ 1.1) กระเพาะผ้าขี้ริ้วหรือรูเมน (rumen) เป็นกระเพาะอาหารที่มีจุลินทรีย์พวกแบคทีเรียและโพรโทซัว จ�ำนวนมาก จุลินทรีย์เหล่านี้สามารถสร้างน�้ำย่อยเซลลูเลสช่วยย่อยสลายสารเซลลูโลสจากพืชที่กินเข้าไปได้ นอกจากนี้ยัง สามารถส�ำรอกอาหารออกมาเคี้ยวเอื้องเป็นครั้งคราวเพื่อบดเส้นใยให้ละเอียดได้ด้วยจึงเรียกสัตว์พวกนี้ว่า สัตว์เคี้ยวเอื้อง แบคทีเรียและโพรโตซัวยังสามารถสังเคราะห์กรดไขมันจากสารคาร์โบไฮเดรตทีย่ อ่ ยได้ และสังเคราะห์กรดอะมิโนจากยูเรีย และแอมโมเนียหรือได้จากการย่อยสลายโปรตีนจากพืช อาหารเหล่านีจ้ ะถูกส่งเข้าสูก่ ระเพราะอาหาร ส่วนเรติควิ ลัมและโอ มาซัมต่อไป 1.2) กระเพาะรวงผึง้ หรือเรติควิ ลัม (reticulum) ท�ำหน้าทีย่ อ่ ยนม เมือ่ โค กระบือยังเล็กอยูแ่ ละมีแบคทีเรีย เช่นเดียวกับกระเพาะอาหารส่วนแรก 1.3) กระเพาะสามสิบกลีบหรือโอมาซัม (omasum) ท�ำหน้าทีผ่ สมและบดอาหาร นอกจากนีย้ งั ดูดซึมและ ซับน�้ำจากกระเพาะผ้าขี้ริ้วด้วย 1.4) กระเพาะจริงหรืออะโบมาซัม (abomasum) เป็นส่วนกระเพาะอาหารจริง มีการย่อยอาหารและ จุลินทรีย์ไปพร้อมๆ กัน แล้วจึงส่งอาหารต่อไปยังล�ำไส้เล็กเพื่อย่อยให้สมบูรณ์ ดังนั้น วัว ควาย จึงได้สารอาหารจากอาหาร

28


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

และจุลินทรีย์ไปพร้อมๆ กัน จึงเพียงพอต่อความต้องการ เมื่ออาหารย่อยในกระเพาะอาหารแล้วจะผ่านเข้าสู่ล�ำไส้เล็กตอน ต้น จะมีการย่อยโปรตีนไขมันและแป้งจากน�ำ้ ย่อยของตับอ่อนและน�ำ้ ดีจากตับจะช่วยให้ไขมันแตกตัวและย่อยได้งา่ ยขึน้ ต่อ จากนั้นจึงดูดซึมเข้าสู่ระบบหมุนเวียนโลหิตต่อไป 2) การมีไส้ตงิ่ ขนาดใหญ่ ไส้ตงิ่ ของสัตว์กนิ พืชจะมีขนาดใหญ่และก็เป็นบริเวณทีม่ กี ารย่อยอาหารโดยจุลนิ ทรีย์ เช่นกัน ท�ำให้วัวและควายย่อยอาหารที่ประกอบด้วยเซลลูโลสเป็นส่วนใหญ่ ได้เป็นอย่างดี

โสภนา ศรีจ�ำปา (ม.ป.ป). กล่าวไว้ว่า ประเทศอินเดีย เสริมสร้างบ้านและสิ่งแวดล้อมให้แข็งแรง 1) ผสมมูลวัวกับโคลนและน�้ำเพื่อทาพื้นในบ้านดิน ท�ำให้พื้นแน่น ไม่เกิดความชื้น 2) มูลวัวผสมดินหรือโคลนช่วยท�ำให้อิฐแข็งแรงยิ่งขึ้น 3) ขี้เถ้าของมูลวัวและปูนขาวผสมกันมีสรรพคุณเหมือนซีเมนต์ กัลยา บุญญานุวัตร และคณะ (ม.ป.ป.). กล่าวไว้ว่า ถ่านชีวภาพมูลโค คือ การใช้มูลโคซึ่งมีกากของเยื่อใยเช่น เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และอื่นๆ มาใช้ประโยชน์ด้านพลังงานเชื่อเพลิง ในมูลโค กระบือนั้นจะประกอบด้วยกากของใย อาหารตามที่กล่าวมาแล้วนั้นซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1) เซลลูโลส เซลลูโลส (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. เซลลูโลส เป็นส่วนประกอบของผนังเซลล์ (cell wall) ในพืชเกิดจากกลูโคส ประมาณ 50,000 โมเลกุลมาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว แต่ละสายของสายของเซลลูโลสเรียงขนานกันไป มีแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างสาย ท�ำให้มีลักษณะเป็นเส้นใย สะสมไว้ในพืช ไม่พบในเซลล์สัตว์ เซลล์ลูโลสไม่ละลายน�้ำและร่างกายของมนุษย์ไม่ สามารถย่อยสลายได้ แต่ในกระเพาะของวัว ควาย ม้า และสัตว์ที่เท้ามีกีบ มีแบคทีเรียที่สามารถย่อยสลายเซลลูโลสให้เป็น กลูโคสได้ เซลลูโลสเมื่อถูกย่อยจะแตกตัวออก ให้น�้ำตาลกลูโคสจ�ำนวนมาก เป็นคาร์โบไฮเดรตที่เป็นส่วนประกอบ ของโครงสร้างของเซลล์ ประกอบด้วยหน่วยย่อยคือโมเลกุลของ 1,000-10,000 โมเลกุล มีน�้ำหนักโมเลกุล 200,0002,000,000 หน่วยย่อยพืน้ ฐาน ปริมาณของเซลลูโลสอาจพบน้อยมากในส่วนทีส่ ะสมอาหารของพืช เช่น ในอินทผาลัมมีเพียง 0.8% ขณะที่ในส่วนของเส้นใยฝ้ายมีมากถึง 98% ส่วนประกอบเซลลูโลส มีส่วนประกอบทางเคมีพวกคาร์โบไฮเดรต (สารพวกเดียวกับแป้งและน�้ำตาล) โมเลกุลใหญ่ ประกอบด้วยโมเลกุลของน�้ำตาลเดี่ยวที่สูญน�้ำไป 1 โมเลกุล เชื่อมต่อกันหลาย ๆ โมเลกุล ย่อยสลายตัวได้ยาก โมเลกุลของเซลลูโลสเรียงตัวกันในผนัง-เซลล์ของพืช เป็นหน่วยเส้นใยขนาดเล็กมากเกาะจับตัวกันเป็นเส้นใย ในพืชบางชนิด นั้นเส้นใยเป็นผนังเซลล์เซลล์เดียวของพืช เข่น ใยฝ้ายเป็นขนจากชั้นของเปลือกหุ้มเมล็ดชั้นนอกสุด เซลลูโลส (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. กล่าวต่อไปว่า ประโยชน์ของเซลลูโลสเมื่อพิจารณาจากส่วนของพืชที่ให้ เส้นใยที่น�ำไปใช้ประโยชน์ แบ่งได้ดังนี้ 1) ขน ที่เมล็ดหรือผนังด้านในของผล เช่น ฝ้าย รัก นุ่น และงิ้ว 2) เส้นใยในเนื้อเยื่อด้านในของเปลือกของล�ำต้น เช่น ปอแก้ว ปอกระเจา ปอกัญชา ป่านลินิน และป่านรา มี เส้นใยที่ได้จากเนื้อเยื่อส่วนเปลือกของล�ำต้นนั้นส่วนใหญ่เรียกว่า “ปอ” ส่วนที่ได้จากเนื้อเยื่อของใบเรียกว่า “ป่าน” อย่างไรก็ตาม ก็ไม่ได้เรียกแยกกันอย่างชัดเจน เช่น รามีและลินิน ให้เส้นใยจากล�ำต้นแต่เรียกกันว่า ป่านรามีและป่านลินิน ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะให้เส้นใยที่เหนียว แข็ง หรือมักใช้ทอผ้าเนื้อบางหรือทอด้วยด้ายเส้นเล็กหรือละเอียดก็ได้ 3) เส้นใยจากใบ ซึ่งเป็นส่วนท่อน�้ำท่ออาหารของใบ เช่น ป่านศรนารายณ์ สับปะรดกล้วย มีส่วนที่ใช้ ประโยชน์ได้ตั้งแต่ตัวใบ เส้นกลางใบ ก้านใบ และกาบใบ 4) เส้นใยที่เป็นเนื้อไม้ของต้นไม้ เป็นส่วนเนื้อเยื่อของท่อน�้ำท่ออาหาร ใช้ในการท�ำกระดาษเป็นส่วนใหญ่ เช่น ยูคาลิปตัส สนสามใบหรือสนเกี๊ยะ ปอแก้ว ปอสา และต้นพืชล้มลุก โดยใช้กระบวนการที่เหมาะสมแยกเส้นใยจากเนื้อ ไม้ แล้วน�ำเส้นใยนี้ไปใช้ประโยชน์ทางด้านสิ่งทอได้

29


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

5) เส้นใยจากส่วนอื่น ๆ เช่น ทางหรือก้านใบประกอบของต้นปาล์ม ใช้ท�ำแปรง ส่วนเปลือกของผล (กาบ มะพร้าว) หรือแม้กระทั่งรากมะพร้าวใช้ท�ำเชือก เป็นต้น เราอาจแบ่งพืชเส้นใยได้อย่างคร่าว ๆ เนื่องจากไม่สามารถแบ่ง แยกได้อย่างชัดแจ้งเพราะมีลักษณะที่คาบเกี่ยวกัน 2) เฮมิเซลลูโลส ภาวดี เมธะคานนท์ (ม.ป.ป.) กล่าวไว้ว่า เฮมิเซลลูโลสเป็นองค์ประกอบหลักอย่างหนึ่งของผนังเซลล์พืช (ประมาณหนึ่งในสามถึงหนึ่งในสี่ส่วนของพืช) และปริมาณของเฮมิเซลลูโลสนี้จะแตกต่างกันตามชนิดของพืช เช่น ฟางข้าว สาลีจะพบประมาณร้อยละ 32 เปลือกเมล็ดทานตะวันร้อยละ 23 ชานอ้อยร้อยละ 22 และซังข้าวโพดร้อยละ 37 คุณสมบัติของ เฮมิเซลลูโลส (ม.ป.ป.) กล่าวถึงคุณสมบัติของเฮมิเซลลูโลสไว้ว่า เฮมิเซลลูโลส เป็นคาร์โบไฮเดรต ประเภทพอลิแซ็กคาไรด์ ประกอบด้วยน�้ำตาลหลายชนิด เช่น น�้ำตาลไซโลส น�้ำตาลแมนโนส กาแล็กโทสหรือกลูโคส น�้ำ ตาลอะราบิโนส เป็นต้น จัดเป็นเส้นใยอาหารทีไ่ ม่ละลายน�ำ้ ไม่สามารถย่อยได้ดว้ ยเอนไซม์ในระบบทางเดินอาหารของมนุษย์ มีความสามารถในการอุ้มน�้ำ เป็นองค์ประกอบในผนังเซลล์ของพืชที่อยู่รวมกับเซลลูโลสพบมาก ในผัก ผลไม้ มูลสัตว์เช่นวัวนั้นมีส่วนประกอบหลักป็นเศษของพืชซึ่งเป็นอาหารที่สัตว์กินเข้าไป แล้วไม่สามารถย่อยได้หมด จึงเหลือเป็นกากที่สัตว์ขับถ่ายออกมา เศษอาหารเหล่านี้ได้ผ่านกระบวนการย่อยสลายไปบางส่วนแล้วในทางเดินอาหาร ส่วนที่เป็นมูลสัตว์จึงอุดมไปด้วยธาตุอาหารชนิดต่างๆ รวมทั้งสารอินทรีย์ที่ละลายน�้ำได้หลายชนิด วัว น�้ำหนัก. 400 ก.ก. กินหญ้าสดประมาณ 50 ก.ก. ต่อวัน ได้มูลวัวประมาณ 10 ก.ก. ต่อวัน มูลวัวมีกากของเส้นใยพืชซึ่งในเส้นใยประกอบไป ด้วย เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส 3) คุณสมบัติของดินจอมปลวก ธายุกร พระบ�ำรุง และคณะ (2559) กล่าวไว้วา่ ลักษณะทางกายของดินจอมปลวก และดินจาวปลวก เป็นดินร่วน ปนเหนียว และมีสีน�้ำตาลจนถึงน�้ำตาลเข้ม pH มีค่าอยู่ระหว่าง 4.7-7.2 ในส่วนของค่าการน�ำไฟฟ้านั้น มีค่าสูงกว่าดิน ประเภทอื่น ๆ แต่ไม่อยู่ในระดับที่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืช ซึ่งค่าดังกล่าว นอกจากจะสะท้อน ถึงความเค็มแล้วยังแสดงถึงเกลือของธาตุอาหารที่ละลายอยู่ในน�้ำด้วย ส�ำหรับธาตุอาหารพืชที่เด่น เมื่อเปรียบเทียบกับดิน ทีไม่ใช่ดนิ จอมปลวก ได้แก่แคลเซียม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และแมกนีเซียม โดยส่วนใหญ่สอดคล้องกับการศึกษาในอดีต ยกเว้นเพียงธาตุเดียวนั้นคือ ฟอสฟอรัส ซึ่งในงานนี้ สูงกว่างานในอดีต แทนที่จะเป็นแมกนีเซียม ดังเช่นงานที่ผ่านมา แม้ว่า การศึกษา จะแสดงให้เห็นถึงความโดดเด่นของธาตุอาหารในดินจอมปลวก แต่ก็มีการผันแปรเชิงพื้นที่ที่สามารถสังเกตได้ ส�ำหรับดินที่ไม่ใช่ดินจอมปลวกที่ได้มีการวิเคราะห์ร่วม ธายุกร พระบ�ำรุง และคณะ (2559) กล่าวไว้ว่า สมบัติทางเคมีของดินผิวจอมปลวก ดินเชิงจอมปลวกและดิน รอบจอมปลวก พบว่า ค่าเฉลี่ย pH ของดินผิวจอมปลวก (5.46) สูงกว่าดินเชิงจอมปลวก (5.04) และดินรอบจอมปลวก (5.04) ค่าเฉลี่ย EC ของดินผิวจอมปลวก (90.33 mS/cm) ต�่ำกว่าดินเชิงจอมปลวก (92.46 mS/cm) และทั้ง 2 จุดมีค่าสูง กว่าดินรอบจอมปลวก (80.70 mS/cm) ปริมาณเฉลี่ย OM ของดินผิวจอมปลวก (3.96 %) มีค่าสูงกว่าดินเชิงจอมปลวก (2.46 %)และดินรอบจอมปลวก (2.54 %) เนื่องจากปลวกขนย้ายอินทรียวัตถุจากดินบริเวณรอบจอมปลวกมาเป็นอาหาร และขับถ่ายออกมา จึงท�ำให้มีอินทรียวัตถุปริมาณสูงกว่าจุดอื่นๆ ปริมาณเฉลี่ย P ที่เป็นประโยชน์ต่อพืชในดินผิวจอมปลวก (13.95 mg/kg) สูงกว่าดินเชิงจอมปลวก (7.45 mg/kg) และดินรอบจอมปลวก (5.27 mg/kg) ปริมาณเฉลี่ย N ทั้งหมดใน ดินผิวจอมปลวกมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 0.14 มีปริมาณสูงกว่าดินเชิงจอมปลวกซึ่งมีค่าร้อยละ 0.08 และดินรอบจอมปลวกมีค่า ร้อยละ 0.06 ค่าเฉลี่ย CEC ของดินผิวจอมปลวก (15.66 me/100g soil) สูงกว่าดินเชิงจอมปลวก (5.69 me/100 g soil) และดินรอบจอมปลวก (4.46 me/100g soil) ตามล�ำดับ ค่าเฉลี่ย % base saturation ของดิน ผิวจอมปลวกมีค่าร้อยละ 70.13 มีคา่ ต�ำ่ กว่าดินเชิงจอมปลวกซึง่ มีคา่ ร้อยละ 77.85 และดินรอบจอมปลวกทีม่ คี า่ ร้อยละ 75.65 ค่าเฉลีย่ exchangeable cations (Ca+2, Mg+2, K+ และ Na+) ดังนี้ Ca+2 ในดินผิวจอมปลวก (5.96 me/100g) มีค่าสูงกว่าดินเชิงจอมปลวก

30


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

(2.95 me/100g) และดินรอบจอมปลวก (1.93 me/100g) Mg+2 ในดินผิวจอมปลวก (2.26 me/100g) มีค่าสูงกว่าดิน เชิงจอมปลวก (1.16 me/100g) และดินรอบจอมปลวก (0.74 me/100g) K+ ในดินผิวจอมปลวก (0.81 me/100g) มีค่า สูงกว่าดินเชิงจอมปลวก (0.24 me/100g) และดินรอบจอมปลวก (0.18 me/100g)Na+ ในดินผิวจอมปลวก (0.61 me/100g) สูงกว่าดินเชิงจอมปลวก (0.33 me/100g) และดินรอบจอมปลวก (0.31 me/100g) จุลธาตุ Fe, Mn, Cu และ Zn ค่าเฉลีย่ Fe ในดินผิวจอมปลวก (145.00 mg/kg) มีคา่ สูงกว่าดินเชิงจอมปลวก (107.85 mg/kg) และดินรอบจอมปลวก (79.10 mg/kg) ค่าเฉลี่ยของ Mn ในดินเชิงจอมปลวก (74.78 mg/kg) สูงกว่าดินผิวจอมปลวก (68.39 mg/kg) และดิน รอบจอมปลวก (57.12 mg/kg) ค่าเฉลี่ย Cu ในดินผิวจอมปลวก (3.12 mg/kg) มีค่าสูงกว่าดินเชิงจอมปลวก (1.60 mg/ kg) และดินรอบจอมปลวก (0.86 mg/kg) ค่าเฉลี่ย Zn ในดินผิวจอมปลวก (2.37 mg/kg) มีค่าสูงกว่าดินเชิงจอมปลวก (0.92 mg/kg) และดินรอบจอมปลวก (1.29 mg/kg) สมบัติทางกายภาพของดินผิวจอมปลวก ดินเชิงจอมปลวกและดิน รอบจอมปลวกสรุปได้ดงั นี้ Particle size distribution ผลจากการวิเคราะห์สามารถสรุปค่าเฉลีย่ คิดเป็นร้อยละ ดินผิวจอม ปลวกมีอนุภาคดินเหนียว (23.45) สูงกว่าดินเชิงจอมปลวก (15.10) และดินรอบจอมปลวก (13.67) ความหนาแน่นรวม เฉลี่ยหน่วยกรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ดินผิวจอมปลวก (1.36) ดินเชิงจอมปลวก (1.32) และดินรอบจอมปลวก (1.36) มี ค่าใกล้เคียงกัน ค่า moisture retention ที่ 1/3 bar เฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ ดินผิวจอมปลวก (26.26) สูงกว่าดินเชิงจอม ปลวก (12.98) และดินรอบจอมปลวก (10.40) ที่ 15 bar ดินผิวจอมปลวก (15.11) สูงกว่าดินเชิงจอมปลวก (5.98) และ ดินรอบจอมปลวก (5.20) ค่า available water เฉลีย่ คิดเป็นร้อยละ ดินผิวจอมปลวก (7.98) สูงกว่าดินเชิงจอมปลวก (6.75) และดินรอบจอมปลวก อ�ำนาจ สุวรรณฤทธิ์ และคณะ. (ม.ป.ป.). ได้กล่าวไว้ในข้อสรุปว่า ดินจอมปลวกที่เกิดในบริเวณที่มีดินเป็นกรด ปานกลาง มีสมบัติดังนี้ คือ 1) ดินจอมปลวกและดินฐานจอมปลวกอาจเป็นกรดอ่อน หรือด่างอ่อน โดยดินฐานจอมปลวกมี pH สูงกว่า 2) ดินบนจอมปลวกมีปริมาณอินทรียวัตถุสูงกว่าดินรอบจอมปลวกแต่ดินฐานจอมปลวกมีปริมาณอินทรีย์วัตถุที่ ต�่ำกว่าดินรอบจอมปลวก 3) ปริมาณธาตุอาหารทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ พืชซึง่ ประเมินโดยวิธเี คมีในดินจอมปลวกและดินฐานจอมปลวกและดิน ฐานจอมปลวกสุงกว่าดินรอบจอมปลวก 4) ดินฐานจอมปลวกมีความหนาแน่นรวมสูงกว่า มีเนือ้ ดินละเอียดกว่าและมีการจับตัวเป็นเม็ดดินรอบจอมปลวก 5) เมื่อทุบดินเพื่อลดความแน่นทึบลง ดินฐานจอมปลวกมีการซึมน�้ำเมื่ออิ่มตัวด้วยน�้ำและเมื่อไม่อิ่มตัวด้วยน�้ำ เหลวกว่า มีความจุความชื้นสูงกว่า แต่มีปริมาณความชื้นที่เป็นประโยชน์ต่อพืชใกล้เคียงกันหรือสูงกว่าเล็กน้อย เมื่อเทียบ กับดินชั้นบน 6) การทีผ่ ลผลิตของพืชทีป่ ลูกบนดินทีเ่ คยเป็นฐานจอมปลวกต�ำ่ กว่าผลผลิตของพืชทีป่ ลูกบริเวณรอบ ๆ นัน้ เป็นเพราะ ดินที่เคยเป็นฐานจอมปลวกแน่นทึบและมีการ ซึมน�้ำที่เลว ซึ่งยังผลให้ดินบริเวณที่เคยเป็นฐานจอมปลวกได้รับน�้ำไว้น้อย เมื่อได้รับน�้ำแต่ละครั้งถ้าได้เปรียบเทียบกับบริเวณข้างเคียง แท้ท่ีจริงแล้วดินที่เคยเป็นฐานจอมปลวกมีความอุดมสมบูรณ์ กว่าดินบริเวณรอบฐานจอมปลวก

31


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

3. ระเบียบวิธีการวิจัย งานวิจัยเรื่องคุณสมบัติดินมูลกระบือ เพื่อให้การวิจัยเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ผู้วิจัย จึงว่างโครงสร้าง ขั้นตอนการด�ำเนินงานดังนี้ 3.1 ศึกษาข้อมูลภาคสนาม เป็นการลงพืน้ ทีเ่ พือ่ เก็บตัวอย่างดินมูลกระบือ ทีช่ มุ ชนบ้านหนอโนใต้อำ� เภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม และ เป็นการลงพืน้ ทีเ่ พือ่ สัมภาษณ์ผสู้ งู อายุซงึ่ เป็นผูร้ ดู้ า้ นการผลิตดินผสมมูลกระบือ สิง่ ทีค่ าดหวังว่าจะได้จากการลงภาคสนาม คือ ที่มาของวัสดุ ขั้นตอนและกระบวนการผลิต ส่วนผสมระหว่างดินจอมปลวกและมูลกระบือ เทคนิควิธีการเลือกวัตถุดิบ ตัวอย่างวัตถุดิบที่ส�ำเร็จแล้ว 3.2 การทดสอบหาคุณสมบัติ การทดสอบหาคุณสมบัตวิ สั ดุนี้ เป็นการสดสอบเพือ่ ให้ทราบถึงคุณสมบัตขิ องดินมูลกระบือ ชุมชนบ้านหนอโนใต้ อ�ำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม โดยการสดสอบนัน้ มุง่ เน้นศึกษาถึงคุณสมบัตทิ เี่ กีย่ วข้อง เชือ่ มโยงกับการทีจ่ ะสามารถน�ำ มาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์หตั ถอุสาหกรรม และน�ำผลทีไ่ ด้มาสูก่ ารผสมวัสดุทมี่ คี วามเหมาะสมในการน�ำไปใช้ออกแบบ และผลิตผลิตภัณฑ์ต่อไป 3.3 การบูรณาการ หลังจากการทดสอบจนทราบถึงคุณสมบัติต่าง ๆที่มีอยู่ในดินผสมมูลกระบือ ชุมชนบ้านหนอโนใต้ อ.นาดูน จ.มหาสารคาม น�ำวัสดุที่ได้ไปบูรณาการในรายวิชาโดยให้นิสิตมีส่วนร่วมทั้งการออกแบบและผลิตต้นแบบจากวัสดุที่ได้ 3.4 สรุปและรายงานผลการวิจัย การผสมวัตถุดิบสองอย่างเข้าด้วยกัน โดยใช้อัตราส่วน 1 : 1 โดยปริมาตรถ้วยตวง จากนั้นใช้น�้ำเป็นตัว ประสานท�ำให้เนื้อของวัตถุดิบทั้งสองเข้ากัน ในการนี้ผู้วิจัยใช้น�้ำ 2 ส่วน ในการผสมวัสดุ จากนั้นท�ำการนวดให้เนื้อวัตถุดิบ ทั้งสองเข้าเป็นเนื้อเดียวกัน

ภาพที่ 2 ขั้นตอนการทดสอบการขึ้นรูปและระยะเวลาการแห้งตัวของวัสดุ

32


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

ตารางที่ 1 ขั้นตอนการผสมวัตถุดิบ

ภาพประกอบ

ค�ำอธิบาย

ขัน้ ที่ 1 : น�ำส่วนผสมทัง้ สองอย่างมาผสมให้เข้ากันในภาชนะทีเ่ ตรียมไว้

ขั้นที่ 2 : เมื่อวัตถุดิบทั้งสองผสมเข้ากันดีแล้ว ให้เติมน�้ำลงไป แล้ว ท�ำการนวดหรือเหยียบให้วัตถุดินทั้งสองชุ่มน�้ำ

ขั้นที่ 3 : เมื่อวัตถุดิบเปียกน�้ำและนวดเข้ากันดีแล้วก็พร้อมที่จะน�ำไป ใช้งาน

ตารางที่ 2 วิเคราะห์คุณสมบัติในการขึ้นรูป วัสดุทดสอบ

คุณสมบัติและเกณฑ์ในการวิเคราะห์วัสดุ ความสะดวกในการ ขึ้นรูปของเนื้อวัสดุ

มีลักษณะเนื้อวัสดุที่ สามารถขึน้ รูปได้รวดเร็ว

การเกาะตัวของ เนื้อวัสดุกับผนังทดสอบ

น�้ำหนักของวัสดุ ขณะขึ้นรูป

1) การขึ้นรูปแบบมีไม่ไผ่ เป็นโครงสร้างภายใน

ดี

ปานกลาง

ดี

ปานกลาง

2) การขึ้นรูปแบบมีแผ่นไม้ ฝาผนังเป็นโครงสร้าง

ดี

ดี

ดี

ดี

3) การขึ้นรูปแบบไม่มีโครงสร้าง

น้อย

น้อย

น้อย

น้อย

คุณสมบัติในการขึ้นรูปวัสดุนี้ ผู้วิจัยได้ก�ำหนดเกณฑ์การวิเคราะห์ไว้ ประกอบไปด้วย ดี ปานกลาง น้อย และจาก ตาราง วิเคราะห์คุณสมบัติในการขึ้นรูป สรุปได้ว่า การขึ้นรูปแบบมีแผ่นไม้ฝาผนังเป็นโครงสร้าง มีความสะดวกในการขึ้น รูปของเนือ้ วัสดุในระดับ ดี มีลกั ษณะเนือ้ วัสดุทสี่ ามารถขึน้ รูปได้รวดเร็วในระดับ ปานกลาง การเกาะตัวของเนือ้ วัสดุกบั ผนัง ทดสอบในระดับ ดี และน�้ำหนักของวัสดุขณะขึ้นรูปในระดับ ปานกลาง การขึ้นรูปแบบมีแผ่นไม้ฝาผนังเป็น โครงสร้าง มีความสะดวกในการขึน้ รูปของเนือ้ วัสดุในระดับ ดี มีลกั ษณะเนือ้ วัสดุทสี่ ามารถขึน้ รูปได้รวดเร็วในระดับ ดี การเกาะตัวของเนือ้ วัสดุกบั ผนังทดสอบในระดับ ดี และน�ำ้ หนักของวัสดุขณะขึน้ รูปในระดับ ดี การขึน้ รูปแบบไม่มโี ครงสร้าง มีความสะดวกในการขึน้ รูปของเนือ้ วัสดุในระดับ น้อย มีลกั ษณะเนือ้ วัสดุทสี่ ามารถขึน้ รูปได้รวดเร็วในระดับ น้อย การเกาะตัว ของเนื้อวัสดุกับผนังทดสอบในระดับ น้อย และน�้ำหนักของวัสดุขณะขึ้นรูปในระดับ น้อย

33


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

ตารางที่ 3 ทดสอบระยะเวลาในการแห้งตัวของวัสดุ วัสดุทดสอบ

ระยะเวลาในการหดตัว (ชั่วโมง) 1

3

6

12

24

1) วัสดุทดสอบการขึ้นรูป แบบมีไม่ไผ่เป็นโครงสร้างภายใน

ยังไม่แห้ง

ยังไม่แห้ง

เริ่มแห้ง

แห้ง

แห้ง

2) วัสดุทดสอบการขึ้นรูป แบบมีแผ่นไม้ฝาผนังเป็นโครงสร้าง

ยังไม่แห้ง

เริ่มแห้ง

แห้ง

แห้ง

แห้ง

3) วัสดุทดสอบการขึ้นรูป แบบไม่มีโครงสร้าง

ยังไม่แห้ง

ยังไม่แห้ง

ยังไม่แห้ง

ยังไม่แห้ง

ยังไม่แห้ง

ระยะเวลาในการแห้งตัวของวัสดุ พบว่า วัสดุทดสอบการขึน้ รูปแบบมีไม่ไผ่เป็นโครงสร้างภายใน เริม่ แห้งตัวในชัว่ โมง ที่ 6 วัสดุทดสอบการขึน้ รูปแบบมีแผ่นไม้ฝาผนังเป็นโครงสร้าง เริม่ แห้งตัวในชัว่ โมงที่ 3 และวัสดุทดสอบการขึน้ รูปแบบไม่มี โครงสร้างไม่แห้งตัวในเวลา 24 ชั่วโมง เนื้อดินมูลกระบือบ้านหนองโนใต้ ต�ำบลนาดูน อ�ำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม มีการหดตัวเฉลี่ยที่ 3-5 เปอร์เซ็น แต่การหดตัวนั้นจะขึ้นอยู่กับการน�ำวัสดุไปใช้งาน จากการทดสอบพบว่า หากน�ำดินมูลกระบือไปใช้ในบริเวณน้อยหรือน�ำ ไปใช้เป็นวัสดุอุดรูเนื้อดินที่ใช้จะไม่มีการหดตัว แต่หากน�ำเนื้อดินไปใช้เป็นวัสดุปิดผิวหรือฉาบปิดผนัง หรือน�ำไปก่อขึ้นรูป โดยตรงเนื้อดินจะมีการหดตัวดังภาพประกอบจากการทดสอบ

4. การบูรณาการกับรายวิชา งานวิจัยเรื่อง คุณสมบัติผนังดินมูลกระบือ บ้านหนองโนใต้ ต�ำบลนาดูน อ�ำเภอนาดูนจังหวัดมหาสารคาม เป็นงาน วิจัยที่มุ่งเน้นในการศึกษาคุณสมบัติของวัสดุ เพื่อน�ำมาบูรณาการกับการเรียนการสอนด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ หัตถอุตสาหกรรม ในหลักสูตรนฤมิตศิลป์ ในส่วนนี้ผู้วิจัยได้ด�ำเนินการถ่ายทอดความรู้จากการศึกษาคุณสมบัติของวัสดุ จนน�ำไปสู่การนสาธิต และการทดลองขึ้นรูปด้วยนิสิตสาชานฤมิตศิลป์ ชั้นปีที่ 3 กลุ่มวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ หัตถอุตสาหกรรม ซึง่ เป็นการจัดกิจกรรมนอกเวลาเรียน โดยจัดขึน้ เมือ่ วันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ทีห่ อ้ งปฏิบตั กิ ารณ์เซรามิคฯ

ภาพที่ 3 กิจกรรมการถ่ายทอดความรู้

ที่มา : อภิเชษฐ์ ตีคลี ถ่ายเมื่อ 26 ธันวาคม 2561

34


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

การประเมินความพึงพอใจของนิสติ ทีเ่ ข้าร่วมการถ่ายถอดความรูแ้ ละบูรณาการความรูใ้ นชัน้ เรียนของนิสติ ชัน้ ปีที่ 3 มีผลการประเมิน ดังนี้ ตารางที่ 4 รายละเอียดการประเมินความพึงพอใจ รายละเอียดการประเมิน 1. ก่อนเข้าร่วมกิจกรรม

ระดับความพึงพอใจ 5

4

3

2

1

1.1 ท่านมีความรู้เกี่ยวกับดินมูลกระบือ

-

-

-

2

3

1.2 ท่านเคยสัมผัสหรือใช้งานดินมูลกระบือ

-

-

2

-

3

5

4

3

2

1

2.1 ท่านมีความรู้ความเข้าใจหลังการเข้าร่วมกิจกรรม

4

1

-

-

-

2.2 ท่านสามารถนำ�ความรู้ที่ได้ไปบูรณาการใช้งาน

5

-

-

-

-

2.3 ท่านคิดว่าวัสดุชนิดนี้สามารถนำ�ไปสู่การพัฒนาต่อไป

5

-

-

-

-

2. หลังเข้าร่วมกิจกรรม

การประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ พบว่า มีนิสิตเข้าร่วมโครงการชาย 2 คน หญิง 3 คน ก่อนการ เข้าร่วมกิจกรรมผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เกี่ยวกับดินมูลกระบืออยู่ในระดับ น้อย 2 คน คิดเป็นร้อยละ 40 น้อยมาก 3 คน คิดเป็นร้อยละ 60 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเคยสัมผัสหรือใช้งานดินมูลกระบืออยู่ในระดับ ปานกลาง 2 คน คิดเป็นร้อยละ 40 น้อยมาก 3 คน คิดเป็นร้อยละ 60 หลังการเข้าร่วมกิจกรรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจหลังการเข้าร่วมกิจกรรม อยู่ในระดับ มากที่สุด 4 คน คิดเป็นร้อยละ 80 มาก 1 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถน�ำความรู้ที่ได้ไป บูรณาการใช้งานอยู่ในระดับ มากที่สุด 5 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และผู้เข้าร่วมโครงการคิดว่าวัสดุชนิดนี้สามารถน�ำไปสู่ การพัฒนาต่อไปอยู่ในระดับ มากที่สุด 5 คน คิดเป็นร้อยละ 100

5. สรุป 5.1 ส่วนผสมของดินมูลกระบือ ดินมูลกระบือบ้านกนองโนใต้นั้นมีส่วนประกอบอยู่ 2 ส่วน ประกอบไปด้วยมูลกระบือ และดินจอมปลวก โดยมี น�้ำเป็นตัวท�ำละลาย ซึ่งมูลกระบือมีส่วนประกอบหลัก ประกอบไปด้วย เส้นใยของพืชซึ่งเป็นอาหารของสัตว์เลี้ยง ซึ่งเส้นใย มีสว่ นประกอบหลักทีป่ ระกอบไปด้วย เซลลูโลส ซึง่ เป็นส่วนประกอบของผนังเซลล์ในพืช เกิดจากกลูโคสมาเชือ่ มต่อกันเป็น สายยาว แต่ละสายของเซลลูโลสเรียงขนานกันไป มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างสาย ท�ำให้มีลักษณะเป็นเส้นใย สะสมไว้ในพืช ไม่ พบในเซลล์สัตว์ เซลล์ลูโลสไม่ละลายน�้ำและร่างกายของมนุษย์ไม่สามารถย่อยสลายได้ แต่ในกระเพาะของวัว ควาย ม้า และสัตว์ที่เท้ามีกีบ มีแบคทีเรียที่สามารถย่อยสลายเซลลูโลสให้เป็นกลูโคสได้ เซลลูโลส มีส่วนประกอบ ทางเคมีพวก คาร์โบไฮเดรต (สารพวกเดียวกับแป้งและน�ำ้ ตาล) โมเลกุลใหญ่ ประกอบด้วยโมเลกุลของน�ำ้ ตาลเดีย่ วทีส่ ญ ู น�ำ้ ไป 1 โมเลกุล เชื่อมต่อกันหลาย ๆ โมเลกุล ย่อยสลายตัวได้ยาก โมเลกุลของเซลลูโลสเรียงตัวกันในผนัง-เซลล์ของพืช เป็นหน่วยเส้นใย ขนาดเล็กมากเกาะจับตัวกันเป็นเส้นใย เฮมิเซลลูโลส เป็นองค์ประกอบหลักอย่างหนึ่งของผนังเซลล์พืช (ประมาณหนึ่งใน สามถึงหนึ่งในสี่ส่วนของพืช) และปริมาณของเฮมิเซลลูโลสนี้จะแตกต่างกันตามชนิดของพืช เฮมิเซลลูโลสมีคุณสมบัติเป็น คาร์โบไฮเดรต ประเภทพอลิแซ็กคาไรด์ ประกอบด้วยน�้ำตาลหลายชนิด เช่น น�้ำตาลไซโลส น�้ำตาลแมนโนส กาแล็กโทส หรือกลูโคส น�้ำตาลอะราบิโนส เป็นต้น จัดเป็นเส้นใยอาหารที่ไม่ละลายน�้ำ ไม่สามารถย่อยได้ด้วยเอนไซม์ในระบบทางเดิน อาหารของมนุษย์ มีความสามารถในการอุม้ น�ำ้ และดินจอมปลวกมีลกั ษณะทางกายเป็นดินร่วนปนดินเหนียว และมีสนี ำ�้ ตาล จนถึงน�้ำตาลเข้ม มีค่า pH มีค่าอยู่ระหว่าง 4.7-7.2 น�ำไฟฟ้ามีค่าสูงกว่าดินประเภทอื่น ๆ ดินจอมปลวกมีความหนาแน่น

35


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

รวมสูง เมื่อน�ำวัตถุดิบทั้งสองมาผสมเข้าด้วยกัน ในอัตราส่วน 1 : 1 โดยปริมาตรถ้วยตวงจะได้วัสดุที่มีคุณสมบัติส�ำหรับการ ใช้งานอุดรูรั่วหรือฉาบผนัง

5.2 คุณสมบัติของดินมูลกระบือ 5.2.1 คุณสมบัติการขึ้นรูปแบบมีโครงสร้างไม้ ไผ่ภายใน ในพื้นที่วิจัยชาวบ้านใช้ไม้ไผ่ ซึ่งเป็นไม้ท้องถิ่น หาง่าย มาสานเป็นโครงสร้างผนังอาคาร ก่อนที่จะน�ำดินมูล กระบือมาทาทับ หรือฉาบทับบนแผ่นไม้ไผ่ การน�ำวัสดุดินมูลกระบืออัดเข้ากับผนังไม้ไผ่สาน สามารถขึ้นรูปดินมูลกระบือ ได้ง่าย โดยลูบหรืออัดลากมือไปแนวขวางของผนังไม้ไผ่ เมื่อน�ำไม้ไผ่มาสานขัดกันลักษณะเป็นลายหนึ่ง จะเกิดช่องว่าง ระหว่างไม่ไผ่แต่ละซี่ ท�ำให้ดนิ มูลกระบือสามารเกาะติได้งา่ ยกว่าอัดหรือลูบมือตามแนวตัง้ จากการทดลองการขึน้ รูปแบบนีผ้ ู้ วิจัยเพิ่มน�้ำเข้าไปในส่วนของดินอีก 1 ส่วน เนื่องจากเนื้อดินมูลกระบือที่ใช้เดิมมีความหนืดขึ้นรูปอยาก กล่าวโดยสรุปคือใช้ น�้ำทั้งสิ้น 3 ส่วน ดินจอมปลวก 1 ส่วน มูลกระบือหรือมูลโค 1 ส่วน แล้ทิศทางของดารอัดมีผลต่อการขึ้นรูปจากการทดลอง 5.2.2 คุณสมบัติการขึ้นรูปแบบมีโครงสร้างเป็นผนังไม้ การใช้ดินมูลกระบือเป็นวัสดุอุดรูรั่วของผนังไม้ มักจะเป็นผนังของยุ่งฉางที่ชาวบ้านจะใช้ดินมูลกระบือเข้าไป อุดรูรั่ว การใช้งานดินมูลกระบือกับผนังไม้ในลักษณะการน�ำไปอุดรูหรือรอยแตกของไม้ การอุดรูลักษณะเป็นรู้ไม้นี้ต้องใช้ ดินมูลกระบือที่มีส่วนผสม น�้ำ 2 ส่วน มูลกระบือมูลโค 1 ส่วน ดินจอมปลวก 1 ส่วน เนื่องจากถ้าใช้น�้ำมากกว่าดินวัสดุไม่ ไม่คงรูป อัดหรืออุดรูยาก 5.2.3 คุณสมบัติการขึ้นรูปแบบไม่มีโครงสร้าง อาศัยการขึ้นรูปด้วยตัววัสดุเองเป็นการจ�ำลองช่องระหว่างเสาอาคารที่ไม่มีโครงสร้าง ถูกเปิดโล่ง การขึ้นรูป ลักษณะนี้ใช้เวลานาน เนื่องจากต้องรอให้ดินชั้นแรกคงรูป จึงจะขึ้นชั้นถัดไปได้ และการขึ้นรูปด้วยตัววัสดุเอง ต้องผสมดิน มูลกระบือให้มีลักษณะเข้มใช้น�้ำน้อยจึงจะสามารถขึ้นรูปได้ การขึ้นรูปลักษณะนี้ต้องมีการวางแผนหรือปั้นดินเป็นก่อนๆ ผึ่งลมรอให้ดินหมาดก่อนจะจะน�ำมาขึ้นรูปได้ จึงไม่เหมาะสมในการใช้งานเป็นวัสดุก่อผนัง

5.2.4 คุณสมบัติในการแห้งตัวของดินมูลกระบือ ดินมูลกระบือที่ขึ้นรูปแบบมีไม้ไผ่เป็นโครงสร้างภายใน เริ่มแห้งตัวในชั่วโมงที่ 6 ดินมูลกระบือที่ขึ้นรูปแบบมี แผ่นไม้ฝาผนังเป็นโครงสร้าง เริ่มแห้งตัวในชั่วโมงที่ 3 และดินมูลกระบือที่ขึ้นรูปแบบไม่มีโครงสร้างไม่แห้งตัวในเวลา 24 ชั่วโมง 5.2.5 การหดตัวของเนื้อดินมูลกระบือบ้านหนองโนใต้ ต�ำบลนาดูน อ�ำเภอนาดูน จังหวัด มหาสารคาม มีการหดตัวเฉลี่ยที่ร้อยละ 3-5 แต่การหดตัวนั้นจะขึ้นอยู่กับการน�ำวัสดุไปใช้งาน หากน�ำดินมูลกระบือไปใช้ ในบริเวณน้อยหรือน�ำไปใช้เป็นวัสดุอดุ รูเนือ้ ดินทีใ่ ช้จะไม่มกี ารหดตัว แต่หากน�ำเนือ้ ดินไปใช้เป็นวัสดุปดิ ผิวหรือฉาบปิดผนัง หรือน�ำไปก่อขึ้นรูปโดยตรงเนื้อดินจะมีการหดตัว วัสดุดินมูลกระบือ ที่ศึกษาในพื้นที่บ้านหนองโนใต้ นั้นพบว่าคุณสมบัติที่น่าสนใจในการน�ำวัสดุนี้มาสู่การ ออกแบบประกอบ ความเหนียวที่เป็นคุณสมบัติหลักที่ช่วยให้วัสดุสามารถยึดเกาะในการขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ได้ อัตราการ หดตัวที่ต�่ำ จากการศึกษาอยู่ที่ร้อยละ 3-5 นั้นหมายความว่าหากน�ำวัสดุชนิดนี้ไปขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ขนาดของผลิตภัณฑ์ นัน้ จะมีอตั ราเบีย่ งเบนทีเ่ กิดจากการหดตัวของวัสดุนอ้ ย ไม่ตอ้ งใช้วสั ดุมากเพือ่ ให้ผลิตภัณฑ์หดตัวแล้วได้ขนาดตามทีต่ อ้ งการ อีกประการคือคุณสมบัติการเป็นวัตถุดิบท้องถิ่น หาง่าย ไม่มีค่าใช้จ่าย จะเห็นได้ว่าการออกแบบนั้นปัจจุบันวัตถุจะต้องซื้อ เข้ามาใช้งาน นั้นหมายความถึงต้องทุนในการผลิตที่ไม่สามารถควบคุมได้

36


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

5.2.6 การบูรณาการกับการเรียนการสอน นิสิตเข้าร่วมโครงการชาย 2 คน หญิง 3 คน ก่อนการเข้าร่วมกิจกรรมผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เกี่ยวกับ ดินมูลกระบืออยู่ในระดับ น้อย 2 คน คิดเป็นร้อยละ 40 น้อยมาก 3 คน คิดเป็นร้อยละ 60 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเคยสัมผัส หรือใช้งานดินมูลกระบืออยู่ในระดับ ปานกลาง 2 คน คิดเป็นร้อยละ 40 น้อยมาก 3 คน คิดเป็นร้อยละ 60 หลังการเข้า ร่วมกิจกรรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจหลังการเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ในระดับ มากที่สุด 4 คน คิดเป็นร้อยละ 80 มาก 1 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถน�ำความรู้ที่ได้ไปบูรณาการใช้งานอยู่ในระดับ มากที่สุด 5 คน คิด เป็นร้อยละ 100 และผู้เข้าร่วมโครงการคิดว่าวัสดุชนิดนี้สามารถน�ำไปสู่การพัฒนาต่อไปอยู่ในระดับ มากที่สุด 5 คน คิด เป็นร้อยละ 100

6. ข้อเสนอแนะ

6.1 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับงานวิชาการ งานวิจัยฉบับนี้จากการศึกษาผู้วิจัยมีข้อเสนอเกี่ยวกับงานวิชาการในประเด็นสนามวิจัย เป็นพื้นที่ที่เรียกร้องให้มีการศึกษา วิจัยด้านมนุษยศาสตร์ (วิจัยเชิงคุณภาพ) ที่มุ่งเน้นการน�ำแนวคิดประกบงานวิจัย เช่น แนวคิดเกี่ยวกับอัตลักษณ์วัฒนธรรม (Cultural Identity) 6.2 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาต่อยอด งานวิจัยฉบับนี้จากการศึกษาผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาต่อยอดในส่วนที่ว่า วัสดุดินมูลกระบือนั้นมี ส่วนประกอบและคุณสมบัติที่เหมาะสมต่อการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ อาทิเช่น การพัฒนาต่อยอดให้เป็นวัสดุก่อผนังอาคาร อันเนื่องจากวัสดุเดิมนั้นถูกน�ำไปใช้เป็นวัสดุสร้างผนังอาคารอยู่แล้ว หากมาการปรับปรุงพัฒนาส่วนประกอบ รวมถึง กระบวนการผลิต และน�ำไปพัฒนาต่อเป็นผลิตภัณฑ์ประเภทของตกแต่งด้วยการอัดขึ้นรูปได้

7. กิตติกรรมประกาศ

งานวิจัยเรื่อง คุณสมบัติผนังดินมูลกระบือ บ้านหนองโนใต้ ต�ำบลนาดูน อ�ำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม ผู้วิจัยขอ ขอบคุณทางคณะผู้บริหาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ ที่อนุมัติให้ทุนในการท�ำวิจัยฉบับนี้ งานวิจัยฉบับนี้ผู้วิจัยต้องขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งด้านการให้ข้อมูล น�ำลงสนามวิจัยอันประกอบไปด้วยแม่อาง (นางอภิญญา เหล่าม่วง) ผู้มีเมตตาให้ข้อมูล น�ำลงสนาม เป็นผู้ประสานงานกับคนในชุมชนล่วงหน้าก่อนผู้วิจัยลงสนามวิจัย ทุกครั้ง ครูเซียง (นายปรีชา การุณ) ผู้บุกเบิกสร้างโรงละครหมอล�ำหุ่นเพื่อชุมชน โฮม ทอง ศรี อุปถัมภ์ ผู้มีจิตรพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ ผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์ทั้งการแสดงละครหุ่น ทั้งการออกแบบประดิษฐ์สร้างหุ่นละครที่มี เอกลักษณ์ อัตลักษณ์อันเฉพาะตัว คุณยายศรี (คุณยายสมศรี พาดีจันทร์) คุณยายผู้ให้อันยิ่งใหญ่ ให้ทั่งพื้นที่การสร้างโรง ละครเพื่อเด็กๆ ให้ทั้งการดูแลอุปการะเด็กๆ ทุกคนร่วมทั้งผู้วิจัย ทั้งท่านยังมีเมตตาอนุเคราะห์ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงาน วิจัยนี้

37


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

8. เอกสารอ้างอิง กระบือโรงงานปุ๋ยเคลื่อนที่. (ม.ป.ป) [ออนไลน์]. ได้จาก: http://pirun.ku.ac.th/ [สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2561]. ธิดารัตน์ ศรีผดุง, ทองค�ำ ขู่ค�ำราม. (2560). การศึกษาเปรียบเทียบผลการใช้ปุ๋ยมูลสัตว์จาก โค ไก่ และสุกร ในการพัฒนาการปลูกบวบเหลี่ยมสายพันธุ์การค้า. วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. ชาติ ชายแดนใต้. (ม.ป.ป.). บทความเรื่อง เรื่องของขี้วัว. [ออนไลน์]. ได้จาก: http://tulyakul.blogspot.com/2014/05/blog-post_20.html [สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2561]. โสภนา ศรีจ�ำปา. (ม.ป.ป). [ออนไลน์]. บทความเรื่อง สรรพคุณครอบจักรวาลของมูลวัวที่อินเดีย. ได้จาก: https://www.gotoknow.org/posts/180319. [สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2561]. กัลยา บุญญานุวัตร และคณะ. (ม.ป.ป.). ถ่านชีวภาพมูลโคเพื่อ : ลดก๊าซเรือนกระจกและก�ำจัด ความยากจน. กองบ�ำรุงพันธุสัตว์ กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. เซลลูโลส. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. ได้จาก: http://www.digitalschool.club/digitalschool/ science1_2_2/science2_1/more/cellulose_1.php [สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2651]. ภาวดี เมธะคานนท์. (ม.ป.ป.) [ออนไลน์]. http://www2.mtec.or.th/th/search sys/search_proj/detail.asp?proj_id=MT-S-45-POL-07-190-I&lang=1 โครงการ การสกัด แยกและวิเคราะห์เฮมิเซลลูโลสจากหญ้าแฝก. ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. [สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2561]. คุณสมบัติของ เฮมิเซลลูโลส. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. ได้จาก: https://www.ban1gun.com [สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2561]. ธายุกร พระบ�ำรุง และคณะ.(2559) สมบัติทางกายภาพและเคมีของดินจอมปลวกบางประการที่เป็น ประโยชน์ต่อการปลูกผักที่บ้านดอนจ�ำปา ต�ำบลโพนงาม อ�ำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม. ในการประชุมวิชาการ “มหาวิทยาลัยมหาสารคามวิจัย”ครั้งที่ 12. (หน้าที่ 619-629). วันที่ 8 กันยายน 2559. อ�ำนาจ สุวรรณฤทธิ์ และคณะ. (ม.ป.ป.). สมบัติของดินจอมปลวกที่จ�ำกัดความเจริญเติบโตของพืช. ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

38


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

สัมภาษณ์

นางสมศรี พาดีจันทร์. (3 กันยายน 2559). สัมภาษณ์. ผู้อาวุโส. บ้านหนองโนใต้ ต�ำบลนาดูน อ�ำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม นายปรีชา การุณ. (3 กันยายน 2559). สัมภาษณ์. ราษฏร. บ้านหนองโนใต้ ต�ำบลนาดูน อ�ำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม นางอภิญญา เหล่าม่วง. (3 กันยายน 2559). สัมภาษณ์. ราษฏร. บ้านหนองโนใต้ ต�ำบลนาดูน อ�ำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม

39


พัฒนาชุดอุปกรณ์ ต่อ-ประกอบไม้ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย ส�ำหรับฝึกปฏิบตั กิ ารงานไม้ The Development of treenail to increase security for wood-work practice

ประทักษ์ คูณทอง*

16/2 ซ.สรรพสิทธิ์ 7 ถ.สรรพสิทธิ์ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000

Pratak koonthong

16/2 Sappasit Rd. Nai Mueang Ubonratchathaini 34000 *E-mail: kkk_rockers@hotmail.con


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

บทคัดย่อ เทคโนโลยีงานไม้ มีความส�ำคัญในการสร้างพื้นฐานทักษะ ตั้งแต่กระบวนการออกแบบ จนถึงการสร้างชิ้นงานจริง การ ฝึกทักษะและการใช้ความรู้ในการออกแบบและสร้างผลิตภัณฑ์งานไม้ ความสวยงามของผลิตภัณฑ์ไม้ ขึ้นอยู่กับการปฏิบัติ งานอย่างถูกต้อง ปฏิบัติงานได้อย่างถูกวิธี มีรูปแบบกระบวนการ การเข้าใจเรื่องการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ในงานไม้ เพือ่ น�ำทักษะและกระบวนการต่าง ๆ น�ำไปใช้ได้จริงในการท�ำงาน และชีวติ ประจ�ำวันการพัฒนาชุดอุปกรณ์ ต่อ-ประกอบไม้ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย ส�ำหรับฝึกปฏิบัติการงานไม้ ในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้เล็งเห็นปัญหาที่จะส่งผลกระทบในการฝึกปฏิบัติการ งานไม้ และสามารถลดการใช้อุปกรณ์เพื่อต่อ-ประกอบไม้ และเพิ่มความสะดวก และปลอดภัยในการฝึกปฏิบัติการงานไม้ เพื่อเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการใช้งานได้อีกทางหนึ่ง ส่งผลให้ผู้ที่ใช้งานนั้นเกิดทักษะในการฝึกปฏิบัติการเพื่มมากขึ้น เพิ่ม ศักยภาพในการผลิตชิ้นงานได้มีความหลากหลาย และ ได้ชุดอุปกรณ์ ต่อ-ประกอบไม้ ที่ครบถ้วนทั้ง 4 ด้าน คือ (1) ด้าน รูปทรง (2) ด้านประโยชน์ใช้สอย (3) ด้านความแข็งแรง และ (4) ด้านการผลิต โดยผลการวิเคราะห์ขนั้ ตอนในการหารูปแบบ และความเหมาะสมใน การพัฒนาชุดอุปกรณ์ ต่อ-ประกอบไม้ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย ส�ำหรับฝึกปฏิบัติการงานไม้ พบว่า ผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับ ความเหมาะสมในขั้นตอน การพัฒนาชุดอุปกรณ์ ต่อ-ประกอบไม้ เพื่อเพิ่ม ความปลอดภัย ส�ำหรับฝึกปฏิบัติการงานไม้ โดยการประเมินในทั้ง 4 ด้าน ตามกรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย คือ รูปแบบ ประโยชน์ใช้สอย ความแข็งแรง และ การผลิต โดยระดับความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก (x¯ = 4.27) ผลการวิเคราะห์ ความคิดเห็น จากการทดสอบ และฝึกปฏิบตั กิ ารจาก ชุดอุปกรณ์ ส�ำหรับการต่อ – ประกอบไม้ โดยประเมินจากผูฝ้ กึ ปฏิบตั ิ การงานไม้ ทั้งหมด 30 ท่าน โดยประเมินตามกรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย 3 ด้าน คือ หน้าที่ใช้สอย การใช้งาน และความ ปลอดภัย โดยระดับความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก (x¯ = 4.11) ค�ำส�ำคัญ: อุปกรณ์ ต่อ-ประกอบไม้, ความปลอดภัย, ฝึกปฏิบัติการงานไม้

ABSTRACT Technology on wood-work is important to build fundamental skills from the design process to the actual work-piece. Skill training and use of knowledge in designing and building wood-work products which are the beauty of wood products depend on the correct operation. Proper work has a process model, the understanding of tool usage in wood-work to bring skills and the processes on the practical work and daily life. Development of equipment treenail to increase security for this wood-work, the researcher realized the problems that would affect the wood-work practice and could reduce the use of equipment to further, and add convenience and safe to practical wood-work are to reduce other cost. As a result, users would be more skillful in the practice with the increased productivity in production and variety of complete treenail equipment with four aspects: shape, functional strength, and production.By analyzing the steps to find the pattern and fit of the development of treenail equipment to increase security for wood-work practice, it was found that 3 experts were (1)Associate Professor Dr. Watiroytau Pichai Sotpibal (2)Associate Professor Udomsak Saributr (3)Assistant Professor Dr. Tanet Pirom, who have comments about suitability in the procedure development of treenail equipment to increase the security for wood-work practice. The evaluation in all four aspects according to the conceptual framework used in the research is as follow Form Utility, Strength and Production by the appropriate level at a high level (x¯ = 4.27)

41


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

The analysis of the opinions of the test and the training of wood-based equipment was evaluated by 30 wood-work instructors which were based on three research frameworks Functional Usability, Usability and Safety by suitability at a high level (x¯ = 4.11) Keywords: treenail, Increase security, wood-work practice

1. บทน�ำ เทคโนโลยีงานไม้ มีความส�ำคัญในการสร้างพืน้ ฐานทักษะ ตัง้ แต่กระบวนการออกแบบ จนถึงการสร้างชิน้ งานจริง การฝึก ทักษะและการใช้ความรูใ้ นการออกแบบและสร้างผลิตภัณฑ์งานไม้ ความสวยงามของผลิตภัณฑ์ไม้ ขึน้ อยูก่ บั การปฏิบตั งิ าน อย่างถูกต้อง ปฏิบัติงานได้อย่างถูกวิธี มีรูปแบบกระบวนการ การเข้าใจเรื่องการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ในงานไม้ เพื่อ น�ำทักษะและกระบวนการต่างๆ น�ำไปใช้ได้จริงในการท�ำงาน และชีวิตประจ�ำวัน อุตสาหกรรมไม้ และเฟอร์นิเจอร์ใน ประเทศไทย มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง แต่ในแง่ฝีมือช่าง เฟอร์นิเจอร์และการสืบสานต่อมรดกทางวิชาชีพกลับสวนทาง กับเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ และ เครื่องมือช่างเฟอร์นิเจอร์ที่ปัจจุบันเป็นระบบไฟฟ้าที่ช่วยให้ช่างเฟอร์นิเจอร์ ท�ำงานได้เร็วขึ้น สะดวกสบาย และมีความปลอดภัยมากขึ้น หากผู้ใช้งาน ในการสร้างสรรค์เฟอร์นิเจอร์ มีความรู้ในเชิงทาง ช่างด้านเฟอร์นิเจอร์ และมีเครื่องมือที่มีคุณภาพ สามารถ แข่งขันได้ให้งานที่ได้มีคุณภาพดี แต่ผู้ใช้งานยังขาดทักษะและ เทคนิคความเขาใจ ซึ่งอาจสร้างความเสียหาย ให้แก่ชิ้นงาน รวมทั้งความปลอดภัยของผู้ใช้งานเครื่องมือที่ใช้ในการต่อประกอบ ดังนัน้ ผูใ้ ช้งานจึงจ�ำเป็นต้องเรียนรูเ้ ทคนิคต่างๆเพือ่ ให้ได้ งานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ รวมถึงตองค�ำนึงด้านความปลอดภัย ของผูใ้ ช้งานเป็นหลัก การใช้งานอุปกรณ์ในการเข้าไม้ หรือการต่อประกอบไม้นนั้ ส่วนใหญ่จะเกิดจากความประมาทและไม่ เข้าใจการใช้งานของเครือ่ งมือดังกล่าว ท�ำให้ตอ้ งระวังในการท�ำงานสูงโดยเฉพาะมีชนิ้ ส่วนส�ำคัญ ปัญหาในการต่อ-ประกอบไม้ ในการฝึกปฏิบตั กิ ารงานไม้ คือ ความปลอดภัยในการใช้อปุ กรณ์ และการใช้เครือ่ งมือทีซ่ บั ซ้อน ท�ำให้ระยะเวลาในการท�ำงานนัน้ เพิ่มมากขึ้น เพิ่มค่าใช้จ่ายในการต่อประกอบไม้ และการต่อประกอบไม้ชุดเครื่องมือบางชนิดไม่มีความแม่นย�ำ อาจก่อ อันตรายโดยตรงกับผู้ใช้งาน ผูว้ จิ ยั มีวตั ถุประสงค์ทจี่ ะพัฒนาอุปกรณ์สำ� หรับการ ต่อ-ประกอบไม้ เพือ่ ความปลอดภัยในการใช้งาน การลดระยะเวลา ในการท�ำงาน ลดการใช้เครื่องมือที่มีความซับซ้อน ลดค่าใช้จ่ายในการผลิต เพิ่มความแม่นย�ำ มีความคล่องตัวในการใช้งาน และชุดอุปกรณ์ที่สามารถได้ใช้อีกต่อไปในระยะยาว เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์งานไม้ มีคุณภาพ เพิ่มทักษะการใช้เครื่องมือพื้น ฐานในการสร้างสรรค์ผลงานออกแบบผลิตภัณฑ์ทใ่ี ห้มคี วามปลอดภัย ประโยชน์ใช้สอย และการใช้งานด้านอืน่ ๆ ทีส่ ร้างสรรค์ ในโอกาสต่อไป

2. วัตถุประสงค์ 2.1 ศึกษาปัญหาและความต้องการในการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือการต่อ-ประกอบไม้ 2.2 พัฒนาชุดอุปกรณ์ ต่อ-ประกอบไม้ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย ส�ำหรับฝึกปฏิบัติการงานไม้ 2.3 ประเมินชุดอุปกรณ์ต่อ-ประกอบไม้ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย ส�ำหรับฝึกปฏิบัติการงานไม้

3. กรอบแนวคิดที่ใช้ ในการวิจัย

การพัฒนาชุดอุปกรณ์ ต่อ-ประกอบไม้ เพือ่ เพิม่ ความปลอดภัย ส�ำหรับฝึกปฏิบตั กิ าร งานไม้ ประกอบด้วยกรอบแนวคิด

42


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

ดังต่อไปนี้ กรอบแนวคิดในการพัฒนาชุดอุปกรณ์ ต่อ-ประกอบไม้ เพื่อใช้ฝึกปฏิบัติงานเทคโนโลยีงานไม้และโลหะ โดยใช้ กรอบแนวคิดของ (สถาพร ดีบุญมี ณ ชุมแพ, 2550) 3 ด้าน คือ 3.1 ความปลอดภัย ผูอ้ อกแบบต้องเข้าใจในการออกแบบอย่างแท้จริง มีการศึกษาข้อมูล มีการทดสอบ มีการประเมินผล และมีการแก้ปัญหาก่อนที่ผลงานสู่ตลาด เพื่อให้เกิดความปลอดภัยแก่ผู้ใช้ 3.2 ความแข็งแรง ความแข็งแรงของผลิตภัณฑ์ นักออกแบบต้องศึกษาชนิดของวัตถุดบิ คุณภาพ คุณลักษณะของวัตถุดบิ แต่ละชนิดก่อนน�ำไปใช้ในการออกแบบ 3.3 การผลิต การที่ท�ำให้ต้นทุนการผลิตต�่ำ ควรมีการวางแผนด�ำเนินการผลิตโดยรอบคอบและจะต้องค�ำนึงถึงความ สัมพันธ์ในการออกแบบผลิตภัณฑ์

4. วิธีด�ำเนินการวิจัย วิธกี ารด�ำเนินงานวิจยั เรือ่ ง การพัฒนาชุดอุปกรณ์ ต่อ-ประกอบไม้ เพือ่ เพิม่ ความปลอดภัย ส�ำหรับฝึกปฏิบตั กิ าร งานไม้ โดยผู้วิจัยจึงได้ด�ำเนินการวิจัย ดังต่อไปนี้ 4.1 ขั้นตอนการศึกษาปัญหาและความต้องการในการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือการต่อ -ประกอบไม้ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ โดยหาข้อมูลจากนักศึกษา ในรูปแบบของการใช้งานอุปกรณ์ในปัจจุบัน เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ และศึกษาจาก เอกสาร หนังสือ และวารสาร ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นแนวทางของการท�ำวิจัย เครือ่ งมือทีใ่ ช้เก็บรวบรวมข้อมูลปัญหาและความต้องการในการใช้อปุ กรณ์และเครือ่ งมือการต่อ-ประกอบไม้ ข้อมูลจาก ภาคเอกสาร ศึกษาถึงผลกระทบและปัญหา บันทึกโดยกล้องถ่ายภาพ ผูว้ จิ ยั ใช้กล้องถ่ายภาพเป็นเครือ่ งมือในการเก็บรวบรวม ข้อมูล แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์ ผู้วิจัยได้ส�ำรวจสัมภาษณ์ข้อมูลเบื้องต้นโดยนักศึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบต่อไป ทั้งการส�ำรวจเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ในการใช้ต่อประกอบไม้แบบเดิม และการศึกษาจากเอกสาร หนังสือ และวารสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อ เป็นแนวทางของการท�ำวิจัย 4.2 ขั้นตอน การออกแบบชุดอุปกรณ์ต่อ-ประกอบไม้ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย ส�ำหรับฝึกปฏิบัติการงานไม้ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้มีความรู้ ประสบการณ์ ด้านเทคโนโลยีการออกแบบ โดยค�ำนึงถึงรูปแบบของผลิตภัณฑ์ตามกรอบ ของวัตถุประสงค์ในการวิจยั เพือ่ หาแนวทางในการออกแบบชุดอุปกรณ์ตอ่ -ประกอบไม้ ส�ำหรับการฝึกปฏิบตั งิ าน เทคโนโลยี งานไม้และโลหะ โดยมีผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด จ�ำนวน 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบและประเมินการออกแบบ โดยประเมินหาความ เหมาะสมในการออกแบบชุดอุปกรณ์ตอ่ ประกอบไม้ ในครัง้ นี้ และเพือ่ หาแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เครือ่ งมือทีใ่ ช้เก็บ รวบรวมข้อมูลการพัฒนาผลิตภัณฑ์ แบบสอบถาม ความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมในการออกแบบชุดอุปกรณ์ต่อ ประกอบไม้ เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ 2 แบบประเมิน ความเหมาะสมในการออกแบบชุดอุปกรณ์ ทั้งในรูป แบบของผลิตภัณฑ์ โดยประเมินใน 4 ด้าน ดังนี้ รูปแบบ ประโยชน์ใช้สอย ความแข็งแรง ด้านการผลิต น�ำเสนอรูปแบบการ พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ประเมิน 4.3 ขั้นตอนการประเมินคุณสมบัติชุดอุปกรณ์ต่อ-ประกอบไม้ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย ส�ำหรับฝึกปฏิบัติการงานไม้ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้มีความรู้ ประสบการณ์ ด้านเทคโนโลยีการออกแบบ โดยค�ำนึงถึงรูปแบบชุดอุปกรณ์ต่อ ประกอบไม้ จ�ำนวน 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบและประเมินความเหมาะสมในการออกแบบชุดอุปกรณ์ ทั้งในรูปแบบของผลิตภัณฑ์ วัสดุที่ ใช้ในการผลิต และรูปแบบในการฝึกปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย โดยประเมินใน 4 ด้าน รูปแบบ ด้านประโยชน์ใช้สอย ด้านความแข็งแรง และด้านการผลิต น�ำเสนอผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการพัฒนาแล้ว เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ประเมิน

43


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

ผูว้ จิ ยั มีวตั ถุประสงค์ทจี่ ะพัฒนาอุปกรณ์สำ� หรับการ ต่อ-ประกอบไม้ เพือ่ ความปลอดภัยในการใช้งาน การลดระยะเวลา ในการท�ำงาน ลดการใช้เครื่องมือที่มีความซับซ้อน ลดค่าใช้จ่ายในการผลิต เพิ่มความแม่นย�ำ มีความคล่องตัวในการใช้งาน และชุดอุปกรณ์ทสี่ ามารถได้ใช้อกี ต่อไปในระยะยาว เพือ่ ให้ได้ผลิตภัณฑ์งานไม้ มีคณ ุ ภาพ เพิม่ ทักษะการใช้เครือ่ งมือพืน้ ฐาน ในการสร้างสรรค์ผลงานออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ให้มีความปลอดภัย ประโยชน์ใช้สอย และการใช้งานด้านอื่น ๆ ที่สร้างสรรค์ ในโอกาสต่อไป

5. การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาชุดอุปกรณ์ ต่อ-ประกอบไม้ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย ส�ำหรับฝึกปฏิบัติการงานไม้ ครั้งนี้ ผู้วิจัยได้น�ำข้อมูล จากการสอบถาม และการแสดงความคิดเห็นโดยการตอบแบบสอบถาม จากผู้มีความรู้ ประสบการณ์ ด้านเทคโนโลยีการ ออกแบบ โดยศึกษาหาแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ตามกรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย โดยศึกษา ในด้าน รูปแบบ ประโยชน์ใช้สอย ความแข็งแรง ด้านการผลิต น�ำมาวิเคราะห์แล้วน�ำเสนอในรูปแบบของตาราง และเรียบเรียง โดยแบ่งเป็น 3 ตอน ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ดังนี้ 5.1 ผลการศึกษาในการหาความเหมาะสม เพื่อหาแนวทางพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ ผลการวิเคราะห์พบว่าผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาชุดอุปกรณ์ส�ำหรับการต่อ-ประกอบไม้ พบว่า ผู้ เชี่ยวชาญมีแนวทางความคิดเห็น โดยเรียงล�ำดับจากมากไปหาน้อย คือ เพื่อหาแนวทาง พัฒนาชุดต่อ-ประกอบ ให้มีความ สะดวกในการใช้งานมากขึ้น ร้อยละ 90 เพื่อลดการใช้อุปกรณ์ในการต่อ-ประกอบไม้ ร้อยละ 90 ลดขั้นตอนในการต่อประกอบไม้ ร้อยละ 90 เป็นการสร้างสรรค์รูปลักษณ์ในการออกแบบให้มากขึ้น ร้อยละ 60 ผลการวิเคราะห์พบว่าผูเ้ ชีย่ วชาญมีความคิดเห็นเกีย่ วกับ ชุดอุปกรณ์สำ� หรับการต่อ-ประกอบไม้ ด้านการออกแบบและ พัฒนาผลิตภัณฑ์ พบว่าผู้เชี่ยวชาญมีแนวทางความคิดเห็น โดยเรียงล�ำดับจากมากไปหาน้อย คือ ให้มีความเหมาะสมกับ หน้าที่ใช้สอย ร้อยละ 90 เพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการฝึกปฏิบัติงาน ร้อยละ 90 เพื่อต้องการให้เกิดความแข็งแรงร้อยละ 60 เพื่อเพิ่มความแปลกใหม่ของงานผลิตภัณฑ์ ร้อยละ 60 แนวทางความคิดเห็นการน�ำชุดอุปกรณ์ต่อ-ประกอบไม้ ด้านการผลิตเพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ฝึกปฏิบัติการ พบว่าผูเ้ ชีย่ วชาญมีแนวทางความคิดเห็น โดยเรียงล�ำดับจากมากไปหาน้อย คือ เพือ่ ต้องการลดความเสีย่ งในการเกิดอันตราย กับผู้ใช้งาน ร้อยละ 90 รูปแบบที่ง่ายต่อการใช้งานร้อยละ 90 เพื่อส่งต่อความรู้ให้กับผู้ที่ฝึกปฏิบัติการงานไม้เบื้องต้น 90 เพื่อให้มีความเหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอย ร้อยละ 60 เพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิต ร้อยละ 60

44


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

ตารางที่ 1 จ�ำนวนและค่าร้อยละความเหมาะสมเพื่อหาแนวทางพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ รายการ

ผู้เชี่ยวชาญ

ร้อยละ

1.1 เพื่อหาแนวทาง พัฒนาชุดต่อ-ประกอบ ให้มีความสะดวกในการใช้งานมากขึ้น

3

90

1.2 เพื่อลดการใช้อุปกรณ์ในการต่อ-ประกอบไม้

3

90

1.3 ลดขั้นตอนในการต่อ-ประกอบไม้

3

90

1.4 เป็นการสร้างสรรค์รูปลักษณ์ในการออกแบบให้มากขึ้น

2

60

2.1 เพื่อต้องการให้เกิดความแข็งแรง

2

60

2.2 ให้มีความเหมาะสมกับหน้าที่ใช้สอย

3

90

2.3 เพื่อเพิ่มความแปลกใหม่ของงานผลิตภัณฑ์

2

60

2.4 เพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการฝึกปฏิบัติงาน

3

90

3.1 เพื่อต้องการลดความเสี่ยงในการเกิดอันตรายกับผู้ใช้งาน

3

90

3.2 เพื่อให้มีความเหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอย

2

60

3.3 เพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิต

2

60

3.4 รูปแบบที่ง่ายต่อการใช้งาน

3

90

3.5 เพื่อส่งต่อความรู้ให้กับผู้ที่ฝึกปฏิบัติการงานไม้เบื้องต้น

3

90

1. ความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาชุดอุปกรณ์สำ�หรับการต่อ-ประกอบไม้

2. ความคิดเห็น เกี่ยวกับ ชุดอุปกรณ์สำ�หรับการต่อ-ประกอบไม้ ด้านการออกแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ในครั้งนี้ อย่างไร

3. ความคิดเห็นใน การนำ�ชุดอุปกรณ์ต่อ-ประกอบไม้ ด้านการผลิตเพื่อเพิ่ม ความปลอดภัยในการใช้ฝึกปฏิบัติการ

5.2 ผลการวิเคราะห์การหารูปแบบและความเหมาะสมของชุดอุปกรณ์ ส�ำหรับการต่อ ประกอบไม้ เพื่อเพิ่มความ ปลอดภัย ส�ำหรับฝึกปฏิบัติการงานไม้ การวิเคราะห์ความคิดเห็นเกีย่ วกับการหารูปแบบและความเหมาะสมของชุดอุปกรณ์ ส�ำหรับการต่อ – ประกอบไม้ เพือ่ เพิ่มความปลอดภัย ส�ำหรับฝึกปฏิบัติการ งานไม้ โดยการประเมินในทั้ง 4 ด้าน คือ หน้าที่ใช้สอย ความแข็งแรง การใช้งาน และความปลอดภัย โดยมีความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน ดังแสดงในตารางที่ 2

ภาพที่ 1 ชุดอุปกรณ์ในการต่อ-ประกอบไม้

45


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

ตารางที่ 2 รูปแบบและความเหมาะสมของชุดอุปกรณ์ส�ำหรับต่อประกอบไม้ N=3 X

SD

ระดับ ความคิดเห็น

1.1 รูปแบบมีความเหมาะสมในการใช้งาน

4.10

0.94

มาก

1.2 มีการใช้งานได้อย่างคุ้มค่าและหลากหลายหน้าที

3.92

0.77

มาก

1.3 มีความแม่นยำ�กับการใช้งาน

3.88

0.55

มาก

2.1 มีความแข็งแรงในการใช้งาน

3.97

1.02

มาก

2.2 ใช้วัสดุที่ใช้มีความเหมาะสม

3.48

0.67

ปานกลาง

2.3 มีรูปทรงและโครงสร้างที่เหมาะสม

3.50

0.76

ปานกลาง

3.1 มีความเหมาะสมกับการใช้งาน

3.99

0.78

มาก

3.2 ชุดอุปกรณ์ใช้งานง่าย

4.11

0.94

มาก

3.3 ชุดอุปกรณ์สามารถดูแลรักษาง่าย

3.44

0.34

ปานกลาง

4.1 ชุดอุปกรณ์มีความปลอดภัยกับการใช้งาน

3.91

0.77

มาก

4.2 ผู้ใช้สามารถใช้งานได้โดยไม่ต้องศึกษาข้อมูลมาก่อน

4.23

0.83

มาก

4.3 ประสิทธิภาพของชุดอุปกรณ์ด้านความปลอดภัย

4.27

0.70

มาก

ลักษณะที่ประเมิน 1. ด้านหน้าที่ใช้สอย

2. ด้านความแข็งแรง

3. ด้านการใช้งาน

4. ด้านความปลอดภัย

จากตารางที่ 2 ในภาพรวม พบว่าผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการหารูปแบบและความเหมาะสมของ ชุดอุปกรณ์ ส�ำหรับการต่อ – ประกอบไม้ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย ส�ำหรับฝึกปฏิบัติการ งานไม้ โดยการประเมินในทั้ง 4 ด้าน คือ หน้าที่ใช้สอย ความแข็งแรง การใช้งาน และความปลอดภัย โดยมีความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน มีระดับ ความเหมาะสม โดยเรียงล�ำดับจากมากไปหาน้อย 5 ล�ำดับ คือ ด้านหน้าทีใ่ ช้สอย รูปแบบมีความเหมาะสมในการใช้งาน โดยมีคา่ เฉลีย่ (x¯ = 4.10) มีการใช้งานได้อย่างคุม้ ค่าและหลากหลาย หน้าที่ (x¯ = 3.92) มีความแม่นย�ำกับการใช้งาน (x¯ = 3.88) ด้านความแข็งแรง มีความแข็งแรงในการใช้งาน (x¯ = 3.97) มีรูปทรงและโครงสร้างที่เหมาะสม (x¯ = 3.50) ใช้วัสดุที่ใช้ มีความเหมาะสม (x¯ = 3.48) ด้านการใช้งาน ชุดอุปกรณ์ใช้งานง่าย (x¯ = 4.11) มีความเหมาะสมกับการใช้งาน (x¯ = 3.99) ชุดอุปกรณ์สามารถดูแล รักษาง่าย (x¯ = 4.44) ด้านความปลอดภัย ผู้ใช้สามารถใช้งานได้โดยไม่ต้องศึกษาข้อมูลมาก่อน (x¯ = 4.43)ประสิทธิภาพของชุดอุปกรณ์ด้าน ความปลอดภัย (x¯ = 4.27) ชุดอุปกรณ์มีความปลอดภัยกับการใช้งาน (x¯ = 3.91)

46


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

5.3 ผลการวิเคราะห์การประเมินหาความเหมาะสมของชุดอุปกรณ์ ส�ำหรับการต่อ ประกอบไม้ เพือ่ เพิม่ ความปลอดภัย ส�ำหรับฝึกปฏิบัติการ งานไม้ วิเคราะห์ความคิดเห็นเกี่ยวกับ การทดสอบฝึกปฏิบัติการ ของชุดอุปกรณ์ ส�ำหรับการต่อ – ประกอบไม้ เพื่อเพิ่มความ ปลอดภัย ส�ำหรับฝึกปฏิบัติการ งานไม้ โดยการประเมินในทั้ง 3 ด้าน คือ หน้าที่ใช้สอย การใช้งาน และความปลอดภัย โดยมีความคิดเห็นจากผู้ฝึกปฏิบัติการ ทั้งหมด 30 คน ตาม (ตารางที่ 3) ดังนี้

ภาพที่ 2 ชุดอุปกรณ์ ต่อ – ประกอบไม้ ที่ได้พัฒนาแล้ว ตารางที่ 3 การประเมินความเหมาะสมของชุดอุปกรณ์สำ� หรับการต่อไม้ประกอบเพือ่ เพิม่ ความปลอดภัย ส�ำหรับผูฝ้ กึ ปฏิบตั กิ าร ผู้เชี่ยวชาญ

¯ X

SD

ระดับ ความคิดเห็น

1.1 รูปแบบมีความเหมาะสมในการใช้งาน

3.97

0.88

มาก

1.2 มีการใช้งานได้อย่างคุ้มค่าและหลากหลายหน้าที

4.11

0.95

มาก

1.3 มีความแม่นยำ�กับการใช้งาน

3.80

0.70

มาก

2.1 มีความเหมาะสมกับการใช้งาน

4.21

0.78

มาก

2.2 ชุดอุปกรณ์ใช้งานง่าย

4.17

1.04

มาก

2.3 ชุดอุปกรณ์สามารถดูแลรักษาง่าย

4.34

0.77

มาก

3.1 ชุดอุปกรณ์มีความปลอดภัยกับการใช้งาน

4.33

0.85

มาก

3.2 ผู้ใช้สามารถใช้งานได้โดยไม่ต้องศึกษาข้อมูลมาก่อน

4.20

0.83

มาก

3.3 ประสิทธิภาพของชุดอุปกรณ์ด้านความปลอดภัย

3.80

0.87

มาก

ลักษณะที่ประเมิน 1. ด้านหน้าที่ใช้สอย

2. ด้านการใช้งาน

3. ด้านความปลอดภัย

47


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

จากตารางที่ 3 พบว่า ผู้ฝึกปฏิบัติการ มีความคิดเห็น เกี่ยวกับ ชุดอุปกรณ์ ส�ำหรับการต่อ – ประกอบไม้ เพื่อเพิ่มความ ปลอดภัย ส�ำหรับฝึกปฏิบัติการ งานไม้ โดยประเมิน ทั้ง 3 ด้าน คือ หน้าที่ใช้สอย การใช้งาน และความปลอดภัย มีความ คิดเห็นจากผู้ฝึกปฏิบัติการ ทั้งหมด 30 ท่าน โดยเรียงล�ำดับจากน้อยไปหามาก ได้ดังต่อไปนี้ ด้านหน้าที่ใช้สอย มีการใช้งานได้อย่างคุ้มค่าและหลากหลายหน้าที่ (x¯ = 4.11, SD = 0.95) รูปแบบมีความเหมาะสม ในการใช้งาน โดยมีค่าเฉลี่ย (x¯ = 3.97, SD = 0.88) มีความแม่นย�ำกับการใช้งาน (x¯ = 3.80, SD = 0.70) ด้านการใช้งาน ชุดอุปกรณ์มคี วามคล่องตัวในการใช้งาน (x¯ = 4.34, SD = 0.77) มีความเหมาะสมกับการใช้งาน (x= ¯ 4.21, SD = 0.78) ชุดอุปกรณ์ใช้งานง่าย (x¯ = 4.17, SD = 1.04) ด้านความปลอดภัย ชุดอุปกรณ์มคี วามปลอดภัยกับการใช้งาน (x¯ = 4.33, SD = 0.85) ผูใ้ ช้สามารถใช้งานได้โดยไม่ตอ้ ง ศึกษาข้อมูลมาก่อน (x¯ = 4.20, SD = 0.83) ประสิทธิภาพของชุดอุปกรณ์ด้านความปลอดภัย (x¯ = 3.80, SD = 0.87)

6. สรุป และอภิปรายผลการวิจัย จากการวิเคราะห์ขนั้ ตอนทัง้ 3 ขัน้ ตอนนัน้ สรุปผลการวิจยั ได้ คือ ชุดอุปกรณ์ ต่อ-ประกอบไม้ จากการพัฒนาตามกรอบ แนวคิดและทฤษฎี และการสอบถาม ปรึกษา ทั้งผู้เชี่ยวชาญ และกลุ่มผู้ประเมินและให้ความรู้ นั้นพบว่าชุดเครื่องมือ มีความสอดคล้องกับการใช้งานเบื้องต้นอยู่ในเกณฑ์ที่ดี นิสิตที่ทดลองฝึกใช้เครื่องมือนั้น ไม่ต้องเรียนรู้และศึกษาการใช้ เครือ่ งมือมาก่อน ซึง่ ชุดอุปกรณ์นสี้ ามารถเริม่ ใช้งานจริงได้เลย และลดการใช้อปุ กรณ์ในการต่อประกอบ ลดระยะเวลาในการ ฝึกปฏิบัติงาน ลดค่าใช้จ่าย และเพิ่มทิศทางและศักยภาพด้านการผลิตในการต่อประกอบไม้อีกด้วย แต่ยังพบปัญหาอีก หลาย ๆ ด้าน เช่น เรื่องของการเลือกใช้วัสดุที่ยังมีน�้ำหนักค่อนข้างมากเกินไป จึงน่าจะใช้วัสดุที่น�้ำหนักเบา เช่น อลูมิเนียม หรือ สเตนเลส มาใช้ใช้ในการออกแบบ และชุดอุปกรณ์น่าจะมีการเพิ่มในการต่อประกอบ ให้ได้หลายองศามากขึ้น เพื่อให้ มีความหลากหลายในการใช้งานที่เพิ่มมากยิ่งขึ้น

7. ข้อเสนอแนะ ในอนาคตการออกแบบผลิตภัณฑ์ไม้ มีแนวโน้มน่าจะเป็นที่สนใจและนิยมในกลุ่มของผู้ที่รักงานไม้ และต้องการความ สะดวก ปลอดภัย ในการใช้อุปกรณ์ในการท�ำงานไม้ รูปร่าง รูปทรง ที่สวยงามของงานไม้นั้น ส่วนหนึ่งก็ขึ้นอยู่กับการเครื่อง ใช้อปุ กรณ์ทมี่ คี วามสอดคล้อง และเหมาะสมในการใช้งาน ชุดอุปกรณ์ แต่กม็ ปี ญ ั หาของชุดอุปกรณ์ ทีม่ นี ำ�้ หนักค่อนข้างมาก และการพัฒนาครั้งต่อไป ควรที่จะใช้วัสดุที่มีความคงทน และมีน�้ำหนักเบา การจัดเก็บ และเพิ่มองศาในการเข้ามุม หรือ เพิ่มความหลากหลายในการใช้ชุดอุปกรณ์ให้มากยิ่งขึ้น ซึ่งชุดอุปกรณ์ที่ผู้วิจัยได้ออกแบบและพัฒนาขึ้นมานี้ก็เพื่อหวังเป็น อย่างยิ่งว่า จะเป็นส่วนหนึ่งในการน�ำไปใช้งานได้จริง ตามวัตถุประสงค์ที่สร้างสรรค์ และพัฒนาอุปกรณ์ส�ำหรับการ ต่อประกอบไม้ เพื่อให้มีความปลอดภัยในการใช้งาน การลดระยะเวลาในการท�ำงาน ลดการใช้เครื่องมือที่มีความซับซ้อน ลด ค่าใช้จ่ายในการผลิต เพิ่มความแม่นย�ำ มีความคล่องตัวในการใช้งาน และชุดอุปกรณ์ที่สามารถได้ใช้อีกต่อไปในระยะยาว เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์งานไม้ มีคุณภาพ เพิ่มทักษะการใช้เครื่องมือพื้นฐานในการสร้างสรรค์ผลงานออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ให้มี ความปลอดภัย ประโยชน์ใช้สอย และการใช้งานด้านอื่น ๆ ที่สร้างสรรค์ ในโอกาสต่อไป

48


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

8. กิตติกรรมประกาศ การพัฒนาชุดอุปกรณ์ ต่อ-ประกอบไม้ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย ส�ำหรับฝึกปฏิบัติการงานไม้ ผู้วิจัยขอขอบพระคุณ ผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน ที่ให้ความอนุเคราะห์ ได้แก่ รองศาสตราจารย์ ดร. ว่าที่ร้อยโท พิชัย สดภิบาล รองศาสตราจารย์ อุดมศักดิ์ สาริบุตร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธเนศ ภิรมย์การ ผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน ที่เสียสละเวลาตรวจวิจัยในครั้งนี้ ให้มี ความสมบูรณ์เพิ่มมากยิ่งขึ้น ขอขอบพระคุณที่ปรึกษาโครงการงานวิจัย ในครั้งนี้ ที่ตรวจงานวิจัยจนเสร็จสมบูรณ์ตาม จุดมุ่งหมายที่ได้คาดหวังไว้ ขอบพระคุณผู้ที่ให้การสนับสนุนทุก ๆ ท่าน อาจารย์ที่ให้ข้อเสนอแนะข้อมูลที่น่าสนใจ ซึ่งท�ำให้ งานวิจยั ครัง้ นีม้ แี นวทางทีช่ ดั เจน มีประสิทธิภาพ ท�ำให้เกิดการพัฒนาต่อยอดเพือ่ ให้เกิดประโยชน์และการน�ำไปใช้ในโอกาส ต่อไป

9. บรรณานุกรม ชาลี ลัทธิ, วรพงษ์ ลีพรหมมา ชวิน เป้าอารีย์ และ สุรเดช สุทธาวาทิน . (2527). ช่างทั่วไป. กรม อาชีวศึกษา. นวลน้อย บุญวงศ์. (2539). หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วัฒนะ จุฑะวิภาต. (2535).การออกแบบ. กรุงเทพมหานคร : ปรารถนา. วิฑูรย์ สิมะโชคดี. (2537). อุบัติเหตุ.เอกสารอัดส�ำเนา สถาพร ดีบุญมี ณ ชุมแพ (2550). การศึกษาการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม : โอเดียนสโตร์. สาคร คันธโชติ. (2528). การออกแบบเครื่องเรือน. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. สาคร คันธโชติ. (2538). การออกแบบและการพัฒนาผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ส�ำนักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม. (2542). เอกสารอัดส�ำเนา อาชัญ นักสอน. (2558). ศิลปะการออกแบบหัตถอุตสาหกรรม.กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล กรุ๊ป. อุดมศักดิ์ สาริบุตร. (2550). ออกแบบเฟอร์นิเจอร์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

49


โมเดลสมการโครงสร้าง หลักธรรมภิบาลในการจัดซือ้ จัดจ้าง ภาครัฐ The Structural Equation Model of the Good Governance in Government Procurement

ธนายุทธ ไชยธงรัตน์1 และณรงค์ เหลืองบุตรนาค2 1

อาจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2 รองศาสตราจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40002

Tanayut Chaitongrat1 and Narong Leungbootnak2 1

Lecturer, Faculty of Architecture, Urban Design and Creative Arts, Mahasarakham University, Mahasarakham, Thailand, 44150 2 Associate Professor, Department of Civil Engineering, Faculty of Engineering, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand, 40002 *E-mail: Tanayut.c@msu.ac.th


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

บทคัดย่อ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะโมเดลสมการโครงสร้างหลักธรรมภิบาล ในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ซึ่งเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างหน่วยงาน ภาครัฐ จ�ำนวน 353 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมส�ำเร็จรูป SPSS Version 20 และ AMOS Version 6.0 การศึกษา พบว่าลักษณะ โมเดลสมการโครงสร้างหลักธรรมภิบาลในการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐ มีความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระดับนัยส�ำคัญ ทางสถิติ 0.05 นอกจากนี้ตัวแบบมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 66.8 ตามล�ำดับ ค�ำส�ำคัญ: หลักธรรมภิบาล, การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ, โมเดลสมการโครงสร้าง

ABSTRACT The Compatibility Model. Objective of this research were to study the Good Governance in Government Procurement, study The Structural Equation Model of the Good Governance in Government Procurement. The research method is the survey with questionnaire from Government sector 353 samples. Then, The data analysis of SPSS program Version 20 and AMOS Version 6.0 for structural equation model. It was found that the Structural Equation Model of the the Good Governance in Government Procurement were significantly correlated behavior, p=0.05 Furthermore, the developed model was 66.8 % consistent with the empirical data. Keywords: Good Governance, Government Procurement, Structural Equation Model

1. บทน�ำ การก�ำกับดูแลองค์กรภาครัฐตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี (Good Governance) เป็นหลัก การสากลทีไ่ ด้การยอมรับจากสถาบันนานาชาติ ว่าเป็นปัจจัยส�ำคัญในการท�ำให้องค์กรประสบความส�ำเร็จ (ส�ำนักงานคณะ กรรมการพัฒนาระบบราชการ, 2552) และเป็นทีย่ อมรับกันในหมูอ่ งค์กรโลกบาล เพือ่ การพัฒนาระหว่างประเทศทัง้ หลายว่า เป็นแนวคิดและปัจจัยส�ำคัญทีช่ ว่ ยส่งเสริมการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนและเห็นได้ชดั จากการให้ทนุ ช่วยเหลือแก่ประเทศใดจะพิจารณา จาก “ระดับธรรมาภิบาล” และ “ระดับความรับผิดทางการเมือง” ของประเทศนัน้ ๆ (Elkington, 2006) ซึง่ ผลจากการใช้ หลักธรรมภิบาลจะช่วยให้การด�ำเนินนโยบายได้อย่างจริงจังในการลดความยากจน พัฒนาประชาธิปไตย พัฒนาการบริหารงาน ให้โปร่งใส และมีความรับผิดชอบ (Brand, 2007). หลักบริหารจัดการบ้านทีด่ ี (Good Governance) มีความจ�ำเป็นอย่างยิง่ ส�ำหรับประเทศไทย (ทิวากร แก้วมณี, 2559) เริม่ มีบทบาทในประเทศไทย เมือ่ ปี พ.ศ.2540 จากเหตุการณ์วกิ ฤตเศรษฐกิจ ทีส่ ง่ ผลกระทบเชิงลบต่อทุกภาคส่วนของสังคม โดย สาเหตุหนึ่งเกิดจากการบริหารจัดการในระดับชาติ และระดับองค์กรทั้งในภาครัฐและเอกชนที่มีความบกพร่องที่ขาด ประสิทธิภาพและขาดจริยธรรม (ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, 2552) เหตุทกี่ ล่าวมาข้างต้นนัน้ ให้มงุ่ เน้นและ ส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐไม่วา่ จะเป็น ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และหน่วยงานของรัฐทีไ่ ม่สงั กัด ส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง มีความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการก�ำกับดูแลองค์กรภาครัฐตามหลักธรรมาภิบาลของ การบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี และน�ำไปปฏิบตั อิ ย่างเป็นรูปธรรมสูม่ าตรฐานสากล

51


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

เมือ่ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 การจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐได้ถกู ก�ำหนดและด�ำเนินการภายใต้ พรบ.การจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐ พ.ศ. 2560 โดยมีหลักการส�ำคัญในการน�ำระบบการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government Procurement: e-GP) เพือ่ เป็นศูนย์กลางข้อมูลการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐของประเทศ โดยมีจดุ ประสงค์ให้หน่วยงานภาครัฐและ เอกชนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลการจัดซือ้ จัดจ้างและพัสดุภาครัฐของประเทศ (พระราชบัญญัตกิ ารจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐ, 2560) นอกจากนีผ้ ลการศึกษาในหลายด้านเกีย่ วกับแง่มมุ ต่าง ๆ ของการใช้งานระบบจัดซือ้ จัดจ้างด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government Procurement: e-GP) ไม่ตอบโจทย์เชิงนโยบายและวิธปี ฏิบตั ิ e-GP ให้มปี ระสิทธิภาพ (Concha et al., 2012; Vaidya et al., 2004) และการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐงานส่วนใหญ่ไม่ได้คำ� นึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลทีเ่ พียงพอ ทัง้ ในแง่ของมูลค่าและ ความเสีย่ งของการใช้งานระบบ e-GP (Trkman & McCormack, 2010) นอกจากนีง้ านศึกษาของ Neupane et al. (2012) ท�ำให้เชือ่ ได้วา่ ระบบ e-GP ทีเ่ หมาะสมสามารถลดการทุจริตในหน่วยงานของรัฐ และการด�ำเนินการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐยัง สะท้อนความตึงเครียดระหว่างความคาดหวังของสังคมเกีย่ วกับมาตรฐานการก�ำกับดูแลตามความต้องการด้านการจัดการและ อิทธิพลทางการเมืองทีเ่ ปิดเผย และผลการศึกษาทีผ่ า่ นมาส่วนให้เห็นถึงข้อดีและข้อเสียของระบบ e-GP ของผูม้ สี ว่ นได้เสียที่ กว้างขึน้ ไม่วา่ จะเป็นด้านความเชือ่ มัน่ ทางธุรกิจ ด้านความโปร่งใสและการลดความเสีย่ งต่าง ๆ ให้สามารถบรรลุผลตามเป้า หมายของการจัดซือ้ จัดจ้างนัน้ ๆ (Curtin University of Technology, 2007) โดยการจัดซือ้ จัดจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์ได้พสิ จู น์ ตัวเองว่าเป็นเครือ่ งมือทีม่ ปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิง่ ขึน้ จากผลการศึกษาในปัจจุบนั ยังไม่ทราบชัดว่าหลักธรรมาภิบาลในการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐมีองค์ประกอบทีส่ ำ� คัญอะไรบ้าง โดยเฉพาะระบบ e-GP ทีป่ ระเทศไทยก�ำลังด�ำเนินการปรับระบบการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐของประเทศ ซึง่ บริบททางวิชาการ ด้านหลักธรรมภิบาลในการจัดซือ้ จัดจ้างยังไม่พบผลการศึกษา ดังนัน้ จึงท�ำให้ผวู้ จิ ยั สนใจลักษณะของโมเดลสมการโครงสร้าง หลักธรรมาภิบาลการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐ เพือ่ ประโยชน์ตอ่ การขับเคลือ่ นและน�ำเสนอหลักการธรรมภิบาลในการบริหารการ จัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐให้เกิดความแข็งแกร่ง เพียงพอทีจ่ ะแข่งขันกับต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะช่วยให้ประเทศ ชาติมกี ารพัฒนาอย่างยัง่ ยืนต่อไป

2. แนวคิดที่เกี่ยวข้อง จากหลักธรรมาภิบาลก�ำเนิดมาในเงื่อนไขของธนาคารโลกที่ปล่อยเงินกู้แก่ประเทศก�ำลังพัฒนา (Maldonado, 2010) โดยมีจุดประสงค์เพื่อป้องกันปัญหาการด�ำเนินงานที่ไม่มีประสิทธิภาพและทุจริตคอรัปชั่นของรัฐบาลผู้กู้ (ส�ำนักงานคณะ กรรมการพัฒนาระบบราชการ, 2552) ต่อมามีหน่วยงานต่าง ๆ ได้ให้ความส�ำคัญเป็นอย่างมาก เช่น คณะกรรมการธิการ เศรษฐกิจและสังคมส�ำหรับเอเชียและแปซิฟกิ แห่งสหประชาชาติ (UNESCAP) ส�ำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) องค์การการค้าโลก (WTO) และองค์กรเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) ธรรมาภิบาลที่เกิดขึ้นและเชื่อมโยงไปยังสังคมต่าง ๆ ทั้งระดับมหภาค (Macro) หรือระดับจุลภาค (Micro) ซึ่งสถาบัน อภิบาลแห่งแคนาดา (The Institute on Governance : IOG) (Graham et al, 2003) ระบุว่าเมื่อกล่าวถึง ธรรมาภิบาล จะมีขอบเขตครอบคลุม 4 ระดับด้วยกัน คือ (1) ระดับโลก (Global Governance) เพื่อแก้ปัญหาระหว่างประเทศ หรือ ระหว่างรัฐต่อรัฐทีไ่ ม่มกี ฎเกณฑ์ให้ยดึ ถือปฏิบตั ริ วมถึงกฎ ระเบียบระหว่างประเทศว่าด้วยเสถียรภาพด้านการไหลเวียนทาง เศรษฐกิจ เงินทุน และสินค้า เป็นต้น (2) ระดับชาติ (National Governance) ซึง่ ครอบคลุมทุกเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับมาตรฐาน ทางการเมือง เศรษฐกิจ และการปกครองของประเทศ อันประกอบด้วย กฎหมายการบริหาร (Administration Law) เศรษฐศาสตร์การเมือง (Political Economy) และแนวคิดสถาบันนิยมใหม่ (New Institutionalism) (Sabel, 1993) (3) ระดับองค์กร (Organizational Governance) ประกอบด้วยแนวทางหรือกระบวนทัศน์การจัดการ ถ้าเป็นองค์กรภาครัฐ ก็เป็นการจัดการสาธารณะ (Public Management) เน้นหลักการจัดการที่ให้ความส�ำคัญกับผลงานหรือผลการปฏิบัติงาน (Performance) ทีเ่ กิดจากระบบอ�ำนาจทีไ่ ด้รบั มอบ (Mandates) และอยูภ่ ายใต้เงือ่ นไขข้อจ�ำกัดเท่าทีเ่ ป็นอยู่ ซึง่ เป็นแนวคิด

52


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

ที่มองหลักการจัดการสาธารณะในระยะสั้น (Lynn, Heinrich and Hill, 2001: 59) และ (4) ระดับชุมชน (Community Governance) เป็นเรือ่ งเกีย่ วกับการด�ำเนินงานของชุมชนต่าง ๆ โดยปัจจัยหลักธรรมาภิบาล ผูว้ จิ ยั ได้สรุปดังแสดงในตารางที่ 1 หลักธรรมภิบาลมีความส�ำคัญในการบริหารจัดการทุกระดับ ดังนั้นแนวคิดหลักธรรมภิบาลจึงจ�ำเป็นต่อการก�ำหนดให้ เป็นหลักการบริหารการจัดซื้อจัดจ้างเช่นกัน ดังนั้นผู้วิจัยจึงก�ำหนดโมเดลสมมติฐานองค์ประกอบของหลักธรรมาภิบาล การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ดังภาพประกอบ 1 โดยแบบจ�ำลองสมการโครงสร้างจากตัวแปรสังเกตจ�ำนวน 15 ตัวแปร ที่ได้ จากการวิเคราะห์ปัจจัย (Factor Analysis) น�ำมาสร้างเป็นแบบจ�ำลองสมการโครงสร้างตั้งต้น ตามแนวคิดของธนายุทธ ไชยธงรัตน์และณรงค์ เหลืองบุตรนาค (2560) (ภาพที่ 1) กับตัวแปรแฝงทีเ่ ป็นค่าคาดหวังของงานวิจยั นี้ คือ Procurement Process Model (PPM) จ�ำนวน 4 ตัวแปร ได้แก่ การบริหารจัดการวางแผนการจัดซื้อจัดจ้าง (Plan Procurement Management; PlanP) การด�ำเนินงานการจัดซื้อจัดจ้าง (Conduct Procurement, ConductP) การก�ำกับดูแล (Administer Procurement, AdP) และปิดการจัดซื้อจัดจ้าง (Closed Procurement, ClosedP) โดยมีสมมติฐาน ดังนี้ สมมติฐานที่ 1 (H1) ปัจจัยด้านหลักธรรมภิบาล มีความสัมพันธ์เชิงสาเหตุต่อการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ สมมติฐานที่ 2 (H2) โมเดลสมการโครงสร้างหลักธรรมภิบาลในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ เพื่อการทดสอบว่าโมเดล เส้นทางที่สร้างขึ้นตามทฤษฎีมีความสอดคล้องกับข้อมูลจริงเชิงประจักษ์หรือไม่

Total

กพร.

Thailand

3

หลักความโปร่งใส(Transparency)

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

12

4

หลักการตอบสนอง(Responsiveness)

✓ ✓

✓ ✓

5

5

หลักการกระจายอำ�นาจ(Decentralization)

✓ ✓

3

6

หลักภาระความรับผิดชอบ(Accountability)

✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓

10

7

หลักเสมอภาค(Equity)

✓ ✓ ✓

✓ ✓

6

8

หลักนิติธรรม (Rule of Law)

✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

9

9

หลักความซื่อสัตย์ (Integrity)

10

หลักความคุ้มค่า (Economy)

11

หลักการมีส่วนร่วม(Participation)

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

12

12

หลักความมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus)

4

13

หลักการคาดคะเนได้ (Predictability)

14

หลักป้องกันการทุจริต (Combating corruption)

15

หลักมุ่งเน้น ฉันทามติ (consensus oriented)

หลักประสิทธิผล(Effectiveness)

2

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

IDA

EU

USA

UNESCAP

UNSCAP

8

หลักประสิทธิภาพ(Efficiency)

✓ ✓ ✓ ✓

1

UNDP

AfDB’s

ADB

Items

WB

No

UN

ตารางที่ 1 สรุปปัจจัยด้านหลักธรรมาภิบาล

✓ ✓

7

2

2

✓ ✓

1

1

✓ ✓

5

53


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

3. วิธีการศึกษา โมเดลสมการโครงสร้างหลักธรรมภิบาลในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ มีขั้นตอนการด�ำเนินการศึกษาวิจัย ดังนี้ 3.1 ศึกษาเอกสารหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อรวบรวมตัวชี้วัด (Manifest variable) ที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยด้านหลัก ธรรมภิบาลในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ 3.2 จัดหมวดหมู่ตัวชี้วัดต่าง ๆ จากการวิเคราะห์ปรับปรุงแก้ไขโดยผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง จ�ำนวน 5 ท่าน เพื่อหาข้อสรุปในการจัดสร้างแบบสอบถาม ส�ำหรับกลุ่มตัวอย่าง ผลจากการปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมท�ำให้ได้ ปัจจัย 15 ปัจจัย ดังแสดงในภาพที่ 1

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย 3.3 จัดท�ำแบบสอบถาม เพือ่ รวบรวมข้อมูลตามตัวชีว้ ดั ทีไ่ ด้จากข้อ 5.2 หาคุณภาพของแบบสอบถาม โดยทดลองใช้กบั กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 30 ตัวอย่าง น�ำมาหาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามได้เท่ากับ 0.980 3.4 ผู้วิจัยเลือกใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธี Web Surveys (W. Lawrence Neuman, 2006) โดยเผยแพร่แบบ สอบถามบนเว๊บไซต์ของกรมบัญชีกลาง (www.gprocurement.go.th) ระหว่างเดือนเมษายน 2559 ถึง พฤษภาคม 2559 ได้รับการตอบกลับ จ�ำนวน 353 ชุด และขนาดของกลุ่มตัวอย่างเป็นไปตามแนวคิดของ Andy field (2013) ที่กลุ่มตัวอย่าง ทีไ่ ม่ตำ�่ กว่า 300 ตัวอย่าง โดยได้มาจากการสุม่ แบบการสุม่ อย่างมีระบบ (Systematic Random Sampling) (W.Lawrence Neuman, 2006: 230-232) 3.5 การตรวจสอบเงือ่ นไขเบือ้ งต้น (Assumptions) ส�ำหรับการวิเคราะห์สมการเชิงโครงสร้าง เป็นการตรวจสอบความ กลมกลืน (Goodness of Fit) ของโมเดลตามเกณฑ์การตรวจสอบ 7 ข้อ อันประกอบด้วย p-value หรือ X2, X2/df, Normal fit index (NFI), Goodness of Fit Index (GFI), Fit Index (CFI), Standardized RMR, Root Mean Square Error of Approximate (RMSEA) (ยุทธ ไกยวรรณ์, 2556 ; กริช แรงสูงเนิน, 2554; ระพินทร์ โพธิ์ศรี, 2551; ชัยวิชิต เชียร ชนะ, 2558; ธานินทร์ ศิลป์จารุ, 2555; Andy Field, 2013)

54


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

4. ผลการวิจัย ผลการวิเคราะห์สมการโครงสร้างหลักธรรมภิบาลในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ พบว่า โมเดลเริ่มต้นไม่มีความสอดคล้อง กับข้อมูลเชิงประจักษ์ ไม่สามารถมารถสรุปและแปรผลได้ โดยมีคา่ สถิตทิ ไี่ ม่ผา่ นเกณฑ์ตามทีก่ ำ� หนด ดังนี้ ค่าสถิติ ไคสแควร์ มีนัยส�ำคัญ (P-value <0.05) ค่าไค-สแควร์สั มพันธ์เท่ากับ 5.676 (สูงกว่าเกณฑ์) ดัชนี NFI มีค่าเท่ากับ 0.881 (ต�่ำกว่า เกณฑ์) ดัชนี GFI มีค่าเท่ากับ 0.786 (ต�่ำกว่าเกณฑ์) ดัชนี CFI มีค่าเท่ากับ 0.899 (ต�่ำกว่าเกณฑ์) ค่า Standardized RMR มีค่าเท่ากับ 0.041 และค่า RMSEA มีค่าเท่ากับ 0.115 (สูงกว่าเกณฑ์) แสดงว่าโมเดลยังไม่สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ จึงมีความจ�ำเป็นต้องปรับโมเดลให้มีความกลมกลืนมากขึ้น โดยผู้วิจัยได้ปรับโมเดลตามค่าเสนอแนะจากดัชนีปรับโมเดล (Model Modification Indices : MI) ผลการวิเคราะห์โมเดลทีป่ รับแล้ว ค่าสถิติ ไคสแควร์ ไม่มนี ยั ส�ำคัญ (P-value =0.050) ค่าไค-สแควร์สัมพันธ์เท่ากับ 1.258 ดัชนี NFI มีค่าเท่ากับ 0.982 ดัชนี GFI มีค่าเท่ากับ 0.967 ดัชนี CFI มีค่าเท่ากับ 0.996 ค่า Standardized RMR มีค่าเท่ากับ 0.040 และค่า RMSEA มีค่าเท่ากับ 0.027 ค่าสถิติทั้งหมดผ่านเกณฑ์ตามที่ก�ำหนด แสดงว่า สมการเชิงโครงสร้างหลักธรรมภิบาลในการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ดังแสดงในภาพที่ 2 ผลการวิเคราะห์ความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลการวัดของแต่ละตัวแปรแฝง เพือ่ ให้ทราบถึงความสัมพันธ์ ดังปรากฏ ในตารางที่ 3 พิจารณาประมาณค่าพารามิเตอร์ในการวิเคราะห์ถดถอย (R2) จากผลลัพธ์ของการวิเคราะห์ของการวิเคราะห์ สมการเชิงโครงสร้าง พบว่า ค่า R2 มีค่า 0.688 หมายความว่า องค์ประกอบปัจจัย สามารถอธิบายโมเดลสมการโครงสร้าง หลักธรรมภิบาลในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ได้ร้อยละ 68.8

ภาพที่ 2 โมเดลสมการโครงสร้างหลักธรรมภิบาลในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

55


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

ตารางที่ 2 ค่าดัชนีโมเดลความสัมพันธ์สมการโครงสร้างหลักธรรมภิบาลในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ก่อนและหลังปรับโดยการเชื่อมค่าความคลาดเคลื่อน ค่าดัชนี เกณฑ์ X2/df < 3.00 2 p-value of X > 0.05

ก่อนการปรับโมเดล ค่าสถิติ ผลการพิจารณา

หลังการปรับโมเดล ค่าสถิติ ผลการพิจารณา

5.676 ไม่ผ่านเกณฑ์ 1.258

ผ่านเกณฑ์

<0.001 ไม่ผ่านเกณฑ์ 0.050

ผ่านเกณฑ์

NFI

> 0.90

0.881 ไม่ผ่านเกณฑ์ 0.982

ผ่านเกณฑ์

GFI

> 0.90

0.786 ไม่ผ่านเกณฑ์ 0.967

ผ่านเกณฑ์

CFI

> 0.95

0.899 ไม่ผ่านเกณฑ์ 0.996

ผ่านเกณฑ์

RMR

< 0.08

0.041 ผ่านเกณฑ์ 0.040

ผ่านเกณฑ์

< 0.08

0.115 ไม่ผ่านเกณฑ์ 0.027

ผ่านเกณฑ์

RMSEA

แบบจ�ำลองสมการโครงสร้างที่ผ่านการวิเคราะห์ที่แสดงดังภาพที่ 2 เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อโมเดลสมการโครงสร้าง หลักธรรมภิบาลในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ เมื่อน�ำมาเขียนเป็นสมการพยากรณ์จะได้ดังสมการที่ (1) – (2) Procurement Process Model (PPM) = (0.604 * GGP) + res1 (1) Good Governance factors (GPP) = (0.748*GG04) + (0.953*GG06) + (2) (0.927*GG8) + (0.716*GG12) + (0.742*GG14) + (0.702*GG13) + (0.760*GG02) + (1.00*GG15) + (0.774*GG01) + (0.826*GG10) + (0.816*GG11) + (0.847*GG05) + (0.880*GG7) + (0.899*GG09) ตารางที่ 3 ค่าความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลการวัดแต่ละตัวแปรแฝงของโมเดลสมการโครงสร้างหลักธรรมภิบาล ในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ตัวแปรแฝง

ตัวแปร Regression Weights สังเกต

Good

R2

S.E.

C.R.

p

Estimate

GG04 0.82

0.045

18.161

**

0.748

0.559

Governance

GG06 1.033

0.048

21.549

**

0.953

0.825

factors

GG08 1.036

0.045

23.09

**

0.927

0.780

(GPP)

GG12 0.878

0.051

17.292

**

0.716

0.512

GG14 0.832

0.049

17.093

**

0.742

0.551

GG13 0.788

0.06

13.054

**

0.702

0.619

GG02 0.785

0.042

18.699

**

0.760

0.577

GG15 1.124

0.189

5.958

**

1.000

0.683

56

Estimate

Standardized Regression Weight


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

ตารางที่ 3 (ต่อ) ค่าความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลการวัดแต่ละตัวแปรแฝงของโมเดลสมการโครงสร้างหลัก ธรรมภิบาลในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ตัวแปรแฝง

ตัวแปร Regression Weights สังเกต

Good

Estimate

Standardized Regression Weight

R2

S.E.

C.R.

p

Estimate

GG01 0.853

0.044

19.314

**

0.774

0.599

Governance

GG10 0.94

0.043

21.85

**

0.826

0.682

factors

GG11 0.968

0.046

21.008

**

0.812

0.659

(GPP)

GG05 0.941

0.041

23.023

**

0.847

0.717

GG07 0.973

0.039

25.003

**

0.880

0.775

GG09 1

-

0.899

0.809

สัมประสิทธิ์เส้นทาง (Path coefficient) =0.604

Procurement

PlanPM 1

-

-

-

-

-

0.798

0.712

Process Model ConductP 1.723

0.096

17.87

**

0.890

0.793

(PPM)

0.05

17.778

**

0.907

0.823

0.065

16.99

**

0.848

0.719

AdP 0.892 ClosedP 1.105

สัมประสิทธิ์เส้นทาง (Path coefficient) =

0.688

หมายเหตุ : *** ระดับส�ำคัญทางสถิติที่ 0.05 (p<0.05) จากผลการวิจัยในตารางที่ 3 แสดงค่าความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลการวัดแต่ละตัวแปรแฝง เมื่อน�ำแต่ละ ตัวแปรแฝงมาประกอบเป็นโมเดล โดยรวมพบว่า โมเดลสมการโครงสร้างหลักธรรมภิบาลในการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐมีความ สัมพันธ์อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติทุกตัวแปร ซึ่งสามารถอธิบายค่าน�้ำหนักความสัมพันธ์ (Standardized regression weights) ขององค์ประกอบอยูร่ ะหว่าง 0.702 ถึง 1.011 ซึง่ ตัวแปรสังเกตทุกตัวแปรตัวแปรมีความสัมพันธ์อย่างมีนยั ส�ำคัญ ทางสถิตติ อ่ ตัวแปรแฝง และค่าสหสัมพันธ์พหุคณ ู ยกก�ำลังสอง (R2) ซึง่ เป็นค่าสัมประสิทธิก์ ารพยากรณ์ตวั แปรสังเกต (หลัก ธรรมภิบาล) ได้ร้อยละ 55.9 ถึง 82.5 โดยค่าน�้ำหนังองค์ประกอบที่สูงที่สุด คือ ด้านความโปร่งใส (ß = 1.011) รองลงมา คือ ด้านความเสมอภาค (ß = 0.953) หลักคุณธรรม (ß = 0.927) และน้อยที่สุด คือ การต่อต้านการทุจริต (ß = 0.702) การวิจัยครั้งนี้มีสมมติฐานของการวิจัย 2 ข้อ ซึ่งจากผลการวิเคราะห์สามารถน�ำเสนอเป็นรายสมมติฐาน (ตารางที่ 4) ดังนี้ สมมติฐานที่ 1 ปัจจัยด้านหลักธรรมาภิบาล มีมีความสัมพันธ์เชิงสาเหตุต่อการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ พบว่า เป็นไปตาม สมมติฐานของการวิจัยนั่น คือ ตัวแปรแฝง หลักธรรมาภิบาลในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ มีความสัมพันธ์ทางตรงในเชิงบวก ต่อการจัดซื้อจัดจ้างภารัฐ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งให้ค่าสัมประสิทธิ์เส้นทาง (Path Coefficient = 0.604) (DE=0.604) นัน้ หมายความว่า ถ้าการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐมีการก�ำหนดหลักธรรมาภิบาลทีช่ ดั เจน การจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐ จะมีแนวโน้มมีที่มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นไปด้วย สมมติฐานที่ 2 โมเดลสมการโครงสร้างหลักธรรมภิบาลในการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐ เพือ่ การทดสอบว่าโมเดลเส้นทาง ทีส่ ร้างขึน้ ตามทฤษฎีมคี วามสอดคล้องกับข้อมูลจริงเชิงประจักษ์หรือไม่ โดยการประเมินความสอดคล้องของโมเดล (Evaluation

57


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

the Data-Model Fit) ค่าสถิติที่ใช้ในการตรวจสอบความสอดคล้องของตัวแบบเชิงประจักษ์กับโมเดลทางทฤษฎี ก็คือ การ ใช้ค่า p-Value ซึ่งต้องมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (Significant : Sig.) มีค่ามากกว่า p>0.05 จึงถือว่าโมเดลมีความกลมกลืน สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ เมือ่ ค่า p>0.05 ผลทีไ่ ด้จะไม่ Sig. ซึง่ หมายความว่า ไม่แตกต่างกันหรือมีความสอดคล้องกัน ซึ่งค่าที่ค�ำนวณได้จากผลการวิจัย ค่า p = 0.05 (ตามภาพที่ 1) จากรายงานผลการวิเคราะห์ข้างต้น สรุปได้ว่า โมเดลสมการโครงสร้างหลักธรรมภิบาลในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ อยู่ในระดับมาก และความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานข้อทั้ง 2 ข้อ ตารางที่ 4 สรุปผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย

สมมติฐานการวิจัย

อิทธิพล ยอมรับ/ปฏิเสธ

สมมติฐานที่ 1 (H1) โมเดลหลักธรรมาภิบาลใน การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

สมมติฐานที่ 2 (H2) โมเดลสมการโครงสร้างหลักธรรมภิบาลในการ จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ เพื่อการทดสอบว่าโมเดลเส้นทางที่สร้างขึ้นตาม ทฤษฎีมีความสอดคล้องกับข้อมูลจริงเชิงประจักษ์หรือไม่

ผลการทดสอบสมมติฐาน

DE=0.604** -

ยอมรับ ยอมรับ

5. สรุป 5.1 โมเดลสมการโครงสร้างหลักธรรมภิบาลในการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐ ประกอบด้วย 14 ตัวชีว้ ดั ได้แก่ หลักความคุม้ ค่า หลักความเสมอภาค หลักนิตธิ รรม หลักคุณธรรม หลักความรับผิดชอบ หลักความมุน่ เน้นฉันทามติ หลักการมีสว่ นร่วม หลัก ประสิทธิผล ความโปร่งใส หลักประสิทธิภาพ หลักการกระจายอ�ำนาจการต่อต้านการทุจริต หลักความสอดคล้อง และความ สามารถคาดการณ์ได้ โดยทั้ง 2 ปัจจัยมีความสัมพันธ์กันในทางบวกแบบสองทิศทาง 5.2 ค่าความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลการวัดของสมการโครงสร้างหลักธรรมภิบาลในการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐมีคา่ ร้อยละ 68.8

6. อภิปรายผล การประเมินโมเดลสมการโครงสร้างหลักธรรมภิบาลในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ พบว่า 6.1 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงส�ำรวจของหลักธรรมาภิบาลในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ พบว่า ตัวแปรที่ศึกษา ทัง้ หมด 14 ตัว และองค์ประกอบสามารถอธิบายความแปรปรวนของตัวแปรทัง้ หมดได้รอ้ ยละ 68.86 น�ำ้ หนักองค์ประกอบ ของตัวแปรแต่ละตัวมีค่าตั้งแต่ 0.780 ถึง 0.882 แสดงว่าตัวแปรที่น�ำมาวิเคราะห์สามารถใช้ศึกษาหลักธรรมาภิบาลในการ จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐได้ ทั้งนี้เนื่องจากตัวแปรเหล่านี้เป็นตัวแปรที่มีเอกสารและงานวิจัยรองรับ โดยผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสาร และงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องอย่างกว้างขวาง จึงได้ตวั แปรส�ำคัญทีส่ อดคล้องและครอบคลุมโครงสร้างใหญ่ของหลักธรรมาภิบาล ภาครัฐ ที่สามารถจัดกลุ่มเข้าองค์ประกอบได้ 1 องค์ประกอบ แล้วนั้น 6.2 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของหลักธรรมาภิบาลในการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐ พบว่า โมเดลองค์ประกอบ เชิงยืนยันของหลักธรรมาภิบาล ประกอบด้วย 14 องค์ประกอบ โดยที่โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ของ หน่วยงานภาครัฐอยู่ในเกณฑ์ดี โดยมีค่าสถิติวัดความกลมกลืนผ่านเกณฑ์ดีทุกตัว และล�ำดับความส�ำคัญขององค์ประกอบ 3 อันดับหลัก คือ ความโปร่งใส หลักด้านเสมอภาคและหลักคุณธรรม

58


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

เมื่อพิจารณาความส�ำคัญหลักความโปร่งใสและหลักความเสมอภาคในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ สอดคล้องกับความ ตกลงว่าด้วยการจัดซือ้ โดยรัฐขององค์การการค้าโลก (WTO, 2012) และพรบ.การจัดซือ้ จัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 (พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ, 2560) ที่ต้องกระท�ำโดยเปิดเผยเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม มีการปฏิบัติต่อผู้ประกอบการทุกรายโดยเท่าเทียมกัน มีระยะเวลาที่เหมาะสมและเพียงพอต่อการยื่นข้อเสนอ มีหลักฐาน การด�ำเนินงานชัดเจนและมีการเปิดเผยข้อมูลการจัดซือ้ จัดจ้างและการบริหารพัสดุในทุกขัน้ ตอน และหลักคุณธรรมในการ จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ จะเห็นได้ว่า มีความส�ำคัญมากเป็นล�ำดับแรก ๆ โดยมีค่าน�้ำหนักองค์ประกอบใกล้เคียงกัน สอดคล้อง กับงานวิจัย ทิวากร แก้วมณี (2555), Kaufmann, D. Kraay, A and Mastruzzi, M. (2010) และ Lachit, C., (2013) ที่ ยึดมั่นในความถูกตอง โดยรณรงคใหเจาหนาที่ของรัฐยึดถือหลักการจัดซื้อจัดจ้างนี้ในการปฏิบัติหนาที่เพื่อใหเปนตัวอยาง แกสังคม และสนับสนุนให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียพัฒนาตนเอง หลักธรรมาภิบาลการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ประกอบด้วย 2 มิติหลัก คือ (1) กระบวนการของการสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างภาครัฐ ภาคสังคม เอกชน และประชาชน ในการท�ำให้การบริหารราชการแผ่นดินด�ำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้ (2) การบริหาร การปกครองทีด่ ี หรือการบริหาร การปกครองทีเ่ ป็นธรรมโดยมีประกอบ 3 ประการ ด้านความโปร่งใส (Transparency) การตรวจสอบได้ (Accountability) และความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) ตามหลักการ ของส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการร่วมกับมูลนิธิสถาบันวิจัยกฎหมาย (2546)

7.ข้อเสนอแนะ 7.1 ข้อเสนอแนะเพือ่ การน�ำผลการวิจยั จากองค์ประกอบของหลักธรรมาภิบาลไปใช้ในการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐทีพ่ ฒ ั นา ขึน้ นี้ พบว่า มีความเทีย่ งตรงเชิงโครงสร้างดี จึงสามารถน�ำไปใช้การวางนโยบายและทิศทางการก�ำกับดูแลการจัดซือ้ จัดจ้าง ภาครัฐได้ 7.2 หน่วยงานของภาครัฐสามารถน�ำหลักหลักธรรมาภิบาลการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ประกอบด้วย 2 มิติหลัก คือ (1) การบริหารการจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นธรรม และ (2) การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐ ภาคสังคม เอกชน และประชาชน ให้การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด�ำเนินไปอย่าง โปร่งใส เสมอภาคทุกภาคส่วน และมีหลักคุณธรรม 7.3 องค์ประกอบของหลักธรรมาภิบาลการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐที่พัฒนาขึ้น มุ่งเน้นต่อบทบาทของหน่วยงานของรัฐ หากต้องการใช้องค์ประกอบทีค่ ำ� นึงถึงหลักธรรมาภิบาลการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐทีก่ ว้างขวางหรือซับซ้อนมากกว่านี้ อาจเพิม่ เติม มุมมองของผู้ค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในมิติอื่น ๆ ร่วม 7.4 องค์ประกอบของหลักธรรมาภิบาลการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐที่พัฒนาขึ้นในครั้งนี้ เหมาะส�ำหรับศึกษาหลักธรรมาภิ บาลการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ หากต้องการศึกษาในระดับอื่น ๆ จ�ำเป็นต้องปรับปรุงแก้ไขตัวแปรและองค์ประกอบให้เหมาะ สมกับบริบทของระดับการศึกษานั้น ๆ

8. เอกสารอ้างอิง

กริช แรงสูงเนิน. (2554). การวิเคราะห์ปัจจัยด้วย SPSS และ Amos เพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. ชัยวิชิต เชียรชนะ. (2558). การใช้สถิติหลายตัวแปรเพื่อการวิจัย: การออกแบบ การวิเคราะห์ และการตีความหมาย. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ทิวากร แก้วมณี. (2559). Good Governance (ธรรมาภิบาล), World Order (ระเบียบโลก), และตัวแบบการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของไทย. กรุงเทพฯ: สาขาวิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร.

59


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

ธนายุทธ ไชยธงรัตน์ และณรงค์ เหลืองบุตรนาค. (2560). การปรับปรุงรูปแบบการจัดซื้อจัดจ้างงานก่อสร้างของหน่วยงาน ราชการไทยในบริบท AEC. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ธานินทร์ ศิลป์ จารุ. (2555). การวิจยั และวิเคราะห์ขอ้ มูลทางสถิตดิ ว้ ย SPSS. พิมพ์ครัง้ ที่ 11. กรุงเทพฯ: บิสซิเนสอาร์แอนด์ด.ี บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ และบุญมี ลี.้ (2550). รายงานการวิจยั ตัวชีว้ ดั ธรรมาภิบาล. พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพมหานคร : สถาบัน พระปกเกล้า. พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ. (2560). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 134 (ตอนที่ 24 ก). ยุทธ ไกยวรรณ์. (2556). การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้วย Amos. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ระพินทร์ โพธิศ์ รี. (2551). สถิตเิ พือ่ การวิจยั = Statistics for research. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย. (2006). หลักการก�ำกับดูแลกิจการของ OECD. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย. ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2552). คูม่ อื การจัดระดับการก�ำกับดูแลองค์กรภาครัฐ ตามหลักธรรมาภิบาล ของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี. กรุงเทพฯ: บริษัท พรีเมียร์ โปร จ�ำกัด. Andy field. (2013). Discovering statistics using IBM SPSS statistics. 4th edition. SAGE. ; London EC1Y 1SP. Brand, H., (2007). Good governance for the public’s health. European. Journal of Public Health, 17(6), [Online]. Retrieved from https://doi.org/10.1093/eurpub/ckm104. Elkington, J., (2006). Governance for sustainability. Corp. Govern.Int. Rev, 14(6), 522-529. Concha, G., Astudillo, H., Porrúa, M., Pimenta, C., (2012). E-Government procurement observatory, maturity model and early measurements. Government Information Quarterly, 29(1), 43–50. Curtin University of Technology., (2007). International Survey of E-procurement Systems. World Bank Publication. [Online]. Retrieved from http://idbdocs.iadb.org/wsdocs/getdocument.aspx?doc num=1064452 Graham, J., Amos B. and Plumptre, T., (2003). Principles for Good Governance in the 21st Century. Policy Brief No 15, Canada: Institute on Governance. Helmut B. (2007). Good governance for the public’s health. Oxford University Press on behalf of the European Public Health Association. Kaufmann, D. Kraay, A and Mastruzzi, M., (2010). The Worldwide Governance Indicators: Methodology and Analytical Issues. World Bank Policy Research Working, Paper No. 5430. Lachit, C., (2013). Good Governance: Context of Thailand. Romphruek Journal, 2(1), February-May 2013, 78-98.

60


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

Lynn, Jr., L.E., C.J. Heinrich, and C.J. Hill., (2001). Improving Governance a New Logic for Empirical Re search. Washington, D.C.: Georgetown University Press. Maldonado, N., (2010). The World Bank’s Evolving Concept of Good Governance and its Impact on Human Rights. Bonn: University of Bonn, Germany. Narong L., Tanayut C. & Preenithi A., (2018). An Exploratory Factor Analysis of Government Construction Procurement Problems. MATEC Web of Conferences 192, 02057 (2018) [Online]. Retrieved from https://doi.org/10.1051/matecconf/201819202057, ICEAST 2018. Neupane, A., Soar, J., Vaidya, K., & Yong, J., (2012). The potential of e-procurement technology for reducing corruption. International Journal of Information Technology and Management, 11(4), 273-287. Sabel, C.F., (1993). Constitutional Ordering in Historical Context. in Games in Hierarchies and Networks : Analytical and Empirical Approaches to the Study of Governance Institutions, Edited by F.W. Scharpf. Boulder Colo. : Westview Press. Tanayut C., Narong L., Preenithi A. & Patrick M., (2017). Application of Confirmatory Factor Analysis in Government Construction Procurement Problems in Thailand. International Transaction Journal of Engineering, Management & Applied Sciences & Technologies., 8(3), p.221-231. Trkman, P., & McCormack, K., (2010). Estimating the benefits and risks of implementing e-procurement. IEEE Trasactions on Engineering Management, 57(2), 338-349. Vaidya K., Callender G., Sajeev A.S.M., Gao J.B., (2004). Towards a Model for Measuring the Performance of e-Procurement Initiatives in the Australian Public Sector: A Balanced Scorecard Approach, Australian e-Governance Conference, April 14-15, Melbourne. W.Lawrence Neuman., (2006). Social research methods: qualitative and quantitative approaches. 6th ed. Printed in United States of America. WTO., (2012). Agreement on Government Procurement. USA: The University of Michigan Press.

61


แนวทางการปรับปรุงแสงสว่าง เพื่อความสม�ำ่ เสมอในการส่องสว่าง กรณีศึกษา อาคารตลาดเชิงวัฒนธรรม องค์การ บริหารส่วนต�ำบลพระธาตุ อ�ำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม

Lighting Improvement Guidelines for Luminance Uniformity Form Case study; Cultural Market of Phra That Community Na Dun District, Maha Sarakham

ณัฐวัฒน์ จิตศีล*

อาจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อ�ำเภอกันทรวิชยั จังหวัดมหาสารคาม 44150

Nattawat Jitsin*

Lecturer, Faculty of Architecture, Urban Design and Creative Arts, Mahasarakham University, Mahasarakham, Thailand, 44150 *E-mail: nattawat.jitsin@gmail.com


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อน�ำอาคารตลาดเชิงวัฒนธรรมองค์การบริหารส่วนต�ำบลพระธาตุ อ�ำเภอนาดูน จังหวัด มหาสารคาม ที่มีการออกแบบเดิมนั้นน�ำมาท�ำการทดลองเพื่อหาค่าความส่องสว่างที่เกิดขึ้นภายในอาคาร และน�ำผลที่ได้ มาวิเคราะห์คา่ ความส่องสว่างทีเ่ กิดขึน้ ในอาคารนัน้ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการส่องสว่างในอาคารตลาดหรือไม่ ซึง่ มีขนั้ ตอนการวิจัยคือท�ำการจ�ำลองรูปแบบอาคารลงในโปรแกรม DiaLUX 7.9 โดยท�ำการทดลองอาคารตลาดรูปแบบเดิมของ อาคารกรณีศึกษา จากนั้นประเมินค่าความส่องสว่างส�ำหรับอาคารตลาดตามเกณฑ์ที่ 500 ลักซ์ ผลการทดลองอาคารเดิม มีค่าสูงกว่าเกณฑ์ดังกล่าว ซึ่งส่งผลกระทบต่อการมองเห็นของผู้ใช้งานอาคารที่ท�ำให้เกิดแสงบาดตา โดยท�ำการทดลอง ทั้งหมด 3 วัน วันละ 3 ช่วงเวลา คือ ในวันที่ 21 มีนาคม 22 มิถุนายน และ 22 ธันวาคม ในช่วงเวลา 09.00 น. 14.00 น. 16.00 น. จึงได้เสนอแนะแนวทางการแก้ไขด้วยการติดตัง้ แผงบังแดดเพือ่ แก้ปญ ั หาค่าความส่องสว่างทีส่ งู กว่าเกณฑ์ทงั้ หมด 3 รูปแบบ ได้แก่ (1) แผงบังแดดแนวนอน (2) แผงบังแดดแนวตั้ง และ (3) แผงบังแดดแบบผสมแนวนอนและแนวตั้ง ผล การศึกษา พบว่า ค่าความส่องสว่างหลังการติดตั้งแผงบังแดดทั้ง 3 รูปแบบ ยังคงมีค่าความส่องสว่างสูงกว่าเกณฑ์ แต่แผง บังแดดแบบผสม มีค่าความส่องสว่างและความสม�่ำเสมอของแสงที่ใกล้เคียงกับเกณฑ์มาตรฐานและป้องกันแสงแดดได้ผล ดีกว่า การติดตั้งแผงบังแดดแบบแนวนอนและแนวตั้ง เนื่องจากอาคารเป็นอาคารแบบเปิด ไม่มีผนังทั้ง 4 ด้าน จึงท�ำให้แสง สว่างทีส่ อ่ งเข้ามาในอาคารไม่สามารถควบคุมปริมาณการส่องสว่างได้ การท�ำแผงบังแดดเป็นเพียงการปรับปรุงเบือ้ งต้นเพือ่ ให้ได้แสงสว่างที่มีคุณภาพมากขึ้นเท่านั้น ค�ำส�ำคัญ: ตลาด, ค่าความส่องสว่าง, แผงบังแดด

ABSTRACT This research aims to study about Cultural market building, Phra that, District of Nadoon, Mahasarakam where has been renovating in order to calculate the lightening within building and examine that those controls has compromised with Market building standard, or not. The study has built the simulations of building in Dailux 7.9 program. As a consequences of 3 days (21 March, 22 of June and 22 of December) experiment which was studied three times a day, 9.00 am, 1.00 pm and 4.00 pm. The studied indicate that the lighting in this building, is about 500 lux higher than referred standard. The study has recommended the solutions as installing Shading Device for protection of dazzle by these three following types which are (1) horizontal Shading Device (2) vertical Shading Device (3) mix -horizontal and vertical- Shading Device. After installing these three Shading Device, the research results demonstrate that the lightning has still been higher than standard controls. However, mix Shading Device has been controlled the lightening, better than vertical or horizontal Shading Device. Moreover, as a result of open air building, it has no walls covering all 4 sides which the lighting could dazzle, easily. To install Shading Device protection, it is just preliminary solutions for better lightening controls. Keywords: Market, Lightening, Shading Device

63


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

1. บทน�ำ งานวิจยั นีเ้ ป็นการรายงานผลการวิจยั เกีย่ วกับ แนวทางการปรับปรุงแสงสว่างเพือ่ ความสม�ำ่ เสมอในการส่องสว่าง กรณี ศึกษา อาคารตลาดเชิงวัฒนธรรมองค์การบริหารส่วนต�ำบลพระธาตุ อ�ำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม เป็นผลสืบเนือ่ งจากการ ต่อยอดการศึกษาโครงการจัดท�ำตลาดเชิงวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนต�ำบลพระธาตุ อ�ำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม ผูว้ จิ ยั จึงเล็งเห็นแนวทางในการต่อยอดการวิจยั ในประเด็นด้านแสงสว่างภายในอาคาร ซึง่ มีความส�ำคัญในทางสถาปัตยกรรม ด้านการมองเห็นและการใช้งานของมนุษย์ นอกจากนีย้ งั เป็นการเพิม่ ประสิทธิภาพในการส่องสว่าง เพือ่ การใช้งานทีด่ ี และ ประหยัดพลังงานให้มีความเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ เป็นการออกแบบอาคารที่ค�ำนึงถึงการอนุรักษ์พลังงานและ ประสิทธิภาพของการใช้พลังงานในปัจจุบนั ซึง่ เป็นรูปแบบของการวิจยั และพัฒนา (Research and Development) ทีม่ งุ่ น�ำเอาความรูจ้ ากแนวทางการออกแบบอาคารตลาดเชิงวัฒนธรรม มาพัฒนาต่อด้านเทคนิค ด้วยการศึกษาทดลองด้านแสงสว่าง ภายในอาคาร เพื่อพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพและครอบคลุมการศึกษาด้านอาคารมากยิ่งขึ้น โดยรูปแบบอาคารที่ใช้ใน การศึกษามีแนวคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมมาจากศิลปหัตถกรรมในต�ำบลพระธาตุและสิมมาผสมผสานกับรูปแบบของ เรือนอีสาน ดังภาพที่ 1

64

ภาพที่ 1 ภาพจ�ำลอง 3 มิติ อาคารกรณีศึกษาตลาดเชิงวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนต�ำบลพระธาตุ อ�ำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม โดยยังไม่มีการก่อสร้าง


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

2. วัตถุประสงค์การวิจัย 2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการปรับปรุงแก้ไขแสงสว่างภายในอาคารตลาดเชิงวัฒนธรรมฯ และเสนอแนะแนวทางการ ออกแบบ 2.2 เพื่อประยุกต์และพัฒนางานวิจัยด้านสถาปัตยกรรมให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

3. ค�ำจ�ำกัดความงานวิจัย ตลาด หมายถึง ที่ชุมนุมซื้อขายของต่าง ๆ และ หรือ สถานที่ซึ่งปกติจัดไว้ให้ผู้ค้าเป็นที่ชุมนุม เพื่อจ�ำหน่ายสินค้า ประเภทสัตว์ เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ หรืออาหารอันมีสภาพเป็นของสดประกอบหรือปรุงแล้ว หรือของเสียง่าย และหมายความ รวมถึงบริเวณซึ่งจัดไว้ให้ผู้ค้าใช้เป็นชุมนุมเพื่อจ�ำหน่ายสินค้าประเภทดังกล่าวเป็นประจ�ำหรือเป็นครั้งคราวหรือตามวัน ที่ก�ำหนด (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2542) ค่าความส่องสว่าง (Illuminance; Lux) หมายถึง ปริมาณแสงที่กระทบลงบนวัตถุต่อพื้นที่ มีหน่วยเป็นลูเมนต่อ ตารางเมตร หรือ ลักซ์ (lux) โดยเมื่อมีปริมาณแสงตกกระทบลงบนหนึ่งหน่วยพื้นที่ใดๆ จะได้ความส่องสว่าง ค่าความสม�่ำเสมอของการส่องสว่าง (Uniformity) หมายถึง อัตราส่วนที่เกิดจากค่าความส่องสว่างที่ต�่ำสุดต่อ ความเข้มแสงเฉลี่ยในพื้นที่ที่พิจารณา โดยค่าที่สูงขึ้นแสดงว่า ความสม�่ำเสมอของแสงมีมากขึ้น ซึ่งใช้ในการพิจารณา ประสิทธิภาพของแสงในเชิงคุณภาพ

4. วิธีด�ำเนินการวิจัย 4.1 วิธีด�ำเนินการและเครื่องมือในงานวิจัย

งานวิจัยนี้ เป็นการต่อยอดองค์ความรู้ด้านแสงสว่างในอาคาร โดยมีอาคารตลาดเชิงวัฒนธรรมฯ เป็นอาคาร กรณีศึกษา เพื่อน�ำไปสู่การจ�ำลองสภาพการณ์ด้านแสงสว่างภายในอาคาร โดยมีวิธีด�ำเนินการวิจัยด้วยกัน 2 ขั้นตอนหลัก ดังภาพที่ 2 ดังนี้ 4.1.1 ขั้นตอนการประเมินอาคารกรณีศึกษา ด้วยโปรแกรม DIALux 7.9 ผลการทดลอง พบว่า แสงสว่างไม่มี ความสม�่ำเสมอของแสง มีความแตกต่างของค่าความส่องสว่างในแต่ละจุด มีปริมาณแสงบาดตา (Glare) โดยใช้เกณฑ์ มาตรฐานสมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย ก�ำหนดค่าความส่องสว่างทั่วไปในร้านค้าที่ 300-500 ลักซ์ ซึ่งผลจาก การประเมินอาคารกรณีศึกษามีค่าเฉลี่ยสูงกว่ามาตรฐานก�ำหนดในทุกช่วงเวลา 4.1.2 ขั้นตอนการหาแนวทางในการออกแบบปรับปรุงในส่วนที่เกิดปัญหา โดยใช้แนวคิดในการปรับปรุงอาคาร ด้วยการเพิ่มแผงบังแดดในทิศที่มีแสงสว่างส่องเข้ามามากที่สุด โดยก�ำหนดรูปแบบในการศึกษา 3 รูปแบบ ได้แก่ 1) รูป แบบแผงบังแดดแนวนอน (Horizontal Overhangs) 2) รูปแบบแผงบังแดดแนวตั้ง (Vertical Louvers) และ 3) รูป แบบแผงบังแดดผสมแนวนอนและแนวตั้ง ดังภาพที่ 3 เพื่อเปรียบเทียบค่าแสงสว่างที่เหมาะสม ซึ่งจ�ำลองด้วยโปรแกรม DIALux 7.9 ตามช่วงเวลาดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1) การจ�ำลองสภาพการณ์ในวันที่ 21 มีนาคม เนื่องจากเป็นวันที่ช่วงเวลากลางวันจะเท่ากันกับ กลางคืน เรียกว่าวันวิษวุ ตั (Vernal Equinox) โดยท�ำการทดลองวันละ 3 เวลา ได้แก่ เวลา 9.00 น. 14.00 น. และ 16.00 น. 2) การจ�ำลองสภาพการณ์ในวันที่ 22 มิถุนายน เนื่องจากเป็นวันที่ดวงอาทิตย์ขึ้นและตกค่อนไปทาง เหนือสุด เป็นวันที่เวลากลางวันจะยาวกว่าเวลากลางคืน เรียกว่า ซัมเมอร์โซลตีส (Summer Solstice) โดยท�ำการ ทดลองวันละ 3เวลา ได้แก่ เวลา 9.00 น. 14.00 น. และ 16.00 น.

65


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

3) การจ�ำลองสภาพการณ์ในวันที่ 22 ธันวาคม เนื่องจากเป็นวันที่ดวงอาทิตย์ขึ้นและตกค่อนไปทาง ใต้สุด เป็นวันที่จะมีเวลากลางคืนยาวกว่ากลางวัน เป็นช่วงฤดูหนาวเรียกว่า วินเทอร์โซลตีส (Winter Solstice) โดย ท�ำการทดลองวันละ 3 เวลา ได้แก่ เวลา 9.00 น. 14.00 น. และ 16.00 น.

ภาพที่ 2 วิธีด�ำเนินการวิจัย

ภาพที่ 3 แผงบังแดดทั้ง 3 รูปแบบ ที่มา: Shading (2018)

66


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

4.2 รายละเอียดอาคารกรณีศึกษา ที่ตั้งโครงการ บริเวณด้านหน้าของที่ดินองค์การบริหารส่วนต�ำบลพระธาตุ อ�ำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม ลักษณะอาคาร เป็นอาคารตลาดขนาดเล็ก มีแท่นวางขายสินค้า 10 แท่น เป็นอาคารโล่ง ชั้นเดียว ไม่มีผนัง ขนาดพื้นที่ 90 ตารางเมตร กว้าง 7.50 เมตร ยาว 12.00 เมตร โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก หลังคาเมททัลชีท พื้นปูกระเบื้อง ดังภาพ ที่ 4 – 6

ภาพที่ 4 แปลนพื้นอาคารตลาดวัฒนธรรมฯ

(ก)

(ข)

ภาพที่ 5 (ก) รูปด้าน A อาคารตลาดวัฒนธรรมฯ และ (ข) รูปด้าน B อาคารตลาดวัฒนธรรมฯ

67


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

(ค)

(ง)

ภาพที่ 6 (ค) รูปด้าน C อาคารตลาดวัฒนธรรมฯ และ (ง) รูปด้าน D อาคารตลาดวัฒนธรรมฯ

5. ผลการทดลอง จากผลการประเมินค่าแสงสว่างภายในอาคารเดิมที่ออกแบบไว้นั้น พบว่า ค่าความส่องสว่างที่ อาคาร คือค่าความ ส่องสว่างอยู่ที่ 2,134-4,142 ลักซ์ ซึ่งเกินกว่าค่ามาตรฐานการส่องสว่างภายในตลาด ส่วนภายในบริเวณช่วงกลางอาคาร ค่าความส่องสว่างอยู่ที่ 256-494 ลักซ์ ลักษณะเช่นนี้ท�ำให้เกิดความแตกต่างของค่าความส่องสว่างที่มากและน้อย จนท�ำให้เกิดความไม่สบายทางด้านสายตา คือแสงจ้าหรือแสงบาดตา (Glare) ส่งผลต่อการมองเห็นของผู้ใช้งานภายใน อาคาร จึงได้น�ำไปสู่การหาแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขอาคารด้วยการทดลองติดแผงบังแดด ดังนี้ 5.1 รูปแบบแผงบังแดดและการติดตั้งกับอาคารกรณีศึกษา แนวทางการแก้ไขด้วยการเพิ่มแบบแผงบังแดดให้กับอาคารตลาดเชิงวัฒนธรรมฯ โดยการศึกษารูปแบบ มาตรฐานและเลือกรูปแบบที่เหมาะสมในการทดลองหาค่าความส่องสว่างที่เหมาะสมที่สุดต่อการแก้ปัญหานี้ ซึ่งจาก ศึกษาจึงได้เลือกใช้ 3 รูปแบบตามมาตรฐาน ได้แก่ 1) แผงบังแดดแนวตั้ง (Vertical Louvers) ซึ่งมีขนาดความสูง 1.20 เมตร ยาว 2.50 เมตร เว้นช่องว่างแนวตั้ง ทุก ๆ 15 เซนติเมตร (สันติภาพ และ ช�ำนาญ, 2558) ดังภาพที่ 7 2) แผงบังแดดแนวนอน (Horizontal Overhangs) ซึ่งมีขนาดความสูง 1.20 เมตร ยาว 2.50 เมตร เว้นช่องว่าง แนวนอนทุก ๆ 15 เซนติเมตร (สันติภาพ และ ช�ำนาญ, 2558) ดังภาพที่ 8 3) แผงบังแดดผสมแนวตั้งและแนวนอน (Combination of vertical and horizontal shading) ซึ่งมีขนาด ความสูง 1.20 เมตร ยาว 2.50 เมตร เว้นช่องว่างแนวนอนและแนวนอนทุก ๆ 15 เซนติเมตร (สันติภาพ และ ช�ำนาญ, 2558) ดังภาพที่ 9

68


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

(ก)

(ข)

ภาพที่ 7 (ก) รูปแบบแผงบังแดดแนวตั้ง และ (ข) ทัศนียภาพการติดตั้งแผงบังแดดแนวตั้ง

(ก)

(ข)

ภาพที่ 8 (ก) ภาพจ�ำลองรูปแบบแผงบังแดดแนวนอน และ (ข) ทัศนียภาพการติดตั้งแผงบังแดดแนวนอน

(ก)

(ข)

ภาพที่ 9 (ก) ภาพจ�ำลองรูปแบบแผงบังแดดแบบผสมแนวตั้งและแนวนอน และ (ข) ทัศนียภาพ การติดตั้งแผงบังแดดแบบผสม

69


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

5.2 ผลการทดลองแผงบังแดดทั้ง 3 รูปแบบ 1) ผลการทดลองแผงบังแดดแนวตั้ง (Vertical Louvers) พบว่า ยังมีค่าความส่องสว่างที่สูงกว่ามาตรฐาน ส�ำหรับอาคารตลาดที่ 500 ลักซ์ ในทุกช่วงเวลา โดยช่วงเดือนมิถุนายน เวลา 9.00 น. มีค่าความส่องสว่างเฉลี่ยใกล้เคียง กับมาตรฐานมากที่สุด คือ 790 ลักซ์ ดังภาพที่ 10

ภาพที่ 10 แผนภูมิผลการทดสอบค่าความส่องสว่างแผงบังแดดแนวตั้ง 2) ผลการทดลองแผงบังแดดแนวนอน (Horizontal Overhangs) พบว่า ยังมีค่าความส่องสว่างที่สูงกว่า มาตรฐานส�ำหรับอาคารตลาดที่ 500 ลักซ์ ในทุกช่วงเวลา โดยช่วงเดือนมิถุนายน เวลา 9.00 น. มีค่าความส่องสว่าง เฉลี่ยใกล้เคียงกับมาตรฐานมากที่สุด คือ 808 ลักซ์ ดังภาพที่ 11

ภาพที่ 11 แผนภูมิผลการทดสอบค่าความส่องสว่างแผงบังแดดแนวนอน

70


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

3) ผลการทดลองแผงบังแดดผสมแนวตั้งและแนวนอน (Combination of vertical and horizontal shading) พบว่า ยังมีค่าความส่องสว่างที่สูงกว่ามาตรฐานส�ำหรับอาคารตลาดที่ 500 ลักซ์ ในทุกช่วงเวลา โดยช่วงเดือนมิถุนายน เวลา 14.00 น. มีค่าความส่องสว่างเฉลี่ยใกล้เคียงกับมาตรฐานมากที่สุด คือ 729 ลักซ์ ดังภาพที่ 12

ภาพที่ 12 แผนภูมิผลการทดสอบค่าความส่องสว่างแผงบังแดดผสมแนวตั้งและแนวนอน 5.3 ผลการเปรียบเทียบค่าความส่องสว่างเฉลี่ยของกรณีศึกษาและแผงกันแดงทั้ง 3 รูปแบบ จากผลการทดลองค่าความส่องสว่างของอาคารกรณีศึกษาและแนวทางการปรับปรุงออกแบบแผงบังแดดทั้ง 3 รูปแบบ เพื่อหารูปแบบที่เหมาะสมในการแก้ปัญหาเรื่องแสงบาดตาที่เข้าสู่อาคารกรณีศึกษา จึงได้น�ำค่าความส่องสว่าง เฉลี่ยทั้ง 4 รูปแบบ มาเปรียบเทียบกัน โดยผลการเปรียบเทียบ พบว่า ทั้งอาคารกรณีศึกษาและรูปแบบแผงบังแดดทั้ง 3 รูปแบบ มีค่าความส่องสว่างต�่ำที่สุดในเดือนมิถุนายน ช่วงเวลา 9.00 น. และ 14.00 น. ซึ่งต�่ำกว่าเดือนมีนาคมและ ธันวาคม โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 758 – 959 ลักซ์ ซึ่งใกล้เคียงกับค่ามาตรฐานที่ 500 ลักซ์ ดังภาพที่ 13

ภาพที่ 13 การเปรียบเทียบค่าความส่องสว่างเฉลี่ยของกรณีศึกษาและแผงบังแดดทั้ง 3 รูปแบบ

71


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

6. สรุปผลการศึกษาและการอภิปรายผลการทดลอง 6.1 การติดตั้งแผงบังแดดแนวตั้ง (Vertical Shading) ผลการทดลองพบว่า ค่าความส่องสว่างยังมีค่าเกินกว่าตราฐานที่ 790 ลักซ์ และมีความแตกต่างระหว่างค่า ความส่องสว่างต�่ำที่สุดและสูงที่สุดที่มาก คือ 2,619 ลักซ์ ค่าความส่องสว่างยังเกินกว่ามาตรฐาน และยังมีลักษณะของ แสงที่ส่องสว่างมากเกินไปในบางจุด คือทิศใต้ไปจนถึงทางทิศตะวันตก โดยมีความสม�่ำเสมอของการส่องสว่างที่ดีขึ้นกว่า การทดลองใช้แผงบังแดดแนวนอน และดีกว่าการไม่ติดตั้งแผงกันแดด 6.2 การติดตั้งแผงบังแดดแนวนอน (Horizontal Shading) ผลการทดลองพบว่า ค่าความส่องสว่างยังมีค่าเกินกว่าตราฐานที่ 808 ลักซ์ และมีความแตกต่างระหว่างค่า ความส่องสว่างต�่ำที่สุดและสูงที่สุดอยู่ที่ 2,710 ลักซ์ เกิดแสงสว่างที่มากเกินกว่ามาตรฐานและท�ำให้เกิดแสงบาดตา จะ เกิดขึ้นในทิศตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงทิศตะวันตก 6.3 การติดตัง้ แผงบังแดดแบบผสมแนวตัง้ และแนวนอน (Combination of vertical and horizontal shading) ผลการทดลองพบว่า ค่าความส่องสว่างยังมีค่าเกินกว่าตราฐานที่ 729 ลักซ์ และมีความแตกต่างระหว่างค่า ความส่องสว่างต�่ำที่สุดและสูงที่สุดที่มาก คือ 2,894 ลักซ์ โดยมีค่าความสม�่ำเสมอของความส่องสว่างที่ดีขึ้นกว่าการไม่ ติดตั้งแผงบังแดด ค่าความส่องสว่างยังเกินกว่ามาตรฐาน และยังมีลักษณะของแสงที่ส่องสว่างมากเกินไปในบางจุด คือ ทิศใต้ไปจนถึงทางทิศตะวันตก เช่นเดียวกับการติดตั้งแผงบังแดดแบบแนวตั้ง จากผลการทดลองดังกล่าว สามารถสรุปและอภิปรายผลได้ว่า การติดตั้งแผงบังแดดทั้ง 3 รูปแบบนั้น รูปแบบที่ 2 การติดตั้งแผงกันแดดแบบแนวนอน ค่าความส่องสว่างมีความใกล้เคียงกับอาคารก่อนการติดตั้งแผงกันแดด การติดตั้ง แผงกันแดดรูปแบบที่ 1 แผงบังแดดแนวตั้ง และรูปแบบที่ 3 การติดตั้งแผงบังแดดแบบผสม ดังภาพที่ 14 มีผลต่อค่า ความส่องสว่างและความสม�่ำเสมอของแสงที่ใกล้เคียงกัน และได้ผลดีกว่าการติดตั้งแผงกันแดดแบบแนวนอน และ เนื่องจากอาคารเป็นอาคารแบบเปิด ไม่มีผนังทั้ง 4 ด้าน จึงท�ำให้แสงสว่างที่ส่องเข้ามาในอาคารไม่สามารถควบคุม ปริมาณการส่องสว่างได้ การท�ำแผงบังแดดเป็นเพียงการปรับปรุงเบื้องต้นเพื่อให้ได้แสงสว่างที่มีคุณภาพมากขึ้นเท่านั้น ดังนั้น หากมีความเป็นไปได้ในการก่อสร้างอาคารตลาดนี้ อาจต้องค�ำนึงถึงการใช้งานที่ได้ประสิทธิภาพในด้านการใช้ แสงธรรมชาติมากกว่ารูปแบบอาคารเพียงอย่างเดียว

72

ภาพที่ 14 ภาพจ�ำลองรูปแบบการติดตั้งแผงกันแดดแบบผสมแนวตั้งและแนวนอน ที่เหมาะสมกับอาคารตลาดเชิงวัฒนธรรมฯ


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

7. ข้อเสนอแนะ 7.1 ศึกษาเรื่องความร้อนที่เข้าสู่ภายในอาคาร ซึ่งอาจมีผลต่อผู้ใช้งานโดยตรง 7.2 ศึกษาเรื่องรูปแบบอาคารตลาดอื่นๆที่อาจมีผนังช่องเปิดเข้ามาใช้ร่วมด้วยในบางทิศทางที่มีปริมาณแสงสว่างที่ เข้ามาสู่อาคารมาก เพื่อใช้ในอาคารได้อย่างเหมาะสม

8. กิตติกรรมประกาศ

งานวิจัยนี้ เป็นผลสืบเนื่องจากการต่อยอดการศึกษาจากโครงการจัดท�ำตลาดเชิงวัฒนธรรมองค์การบริหารส่วนต�ำบล พระธาตุ อ�ำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ ผู้วิจัยจึงขอขอบคุณ มา ณ ที่นี้ และการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนทุนจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม ที่ในการท�ำวิจัยครั้งนี้

9. เอกสารอ้างอิง กฎกระทรวง ฉบับที่ 39. (2537). ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ 2522 หมวด 3, เรื่อง ระบบการ จัดแสงสว่างและการระบายอากาศ ข้อ 11. กรุงเทพฯ: กระทรวงมหาดไทย. ช�ำนาญ ห่อเกียติ. (2540). เทคนิคการส่องสว่าง. กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. (2549). โครงการวิจัยออกแบบหลังคาโถงสูงเพื่อความสบาย ทางด้านแสงสว่างและประหยัดพลังงาน. โครงการวิจัยพลังงานและการออกแบบสถาปัตยกรรม. สาขาสถาปัตยกรรม และการวางแผน. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. สมาคมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย. (2559). คู่มือแนวทางการออกแบบการส่องสว่างภายในอาคาร. กรุงเทพฯ: สมาคมไฟฟ้า แห่งประเทศไทย. อิศราภรณ์ พงษ์บริบูรณ์. (2554). แนวทางการออกแบบช่องแสงด้านบนหลังคาส�ำหรับตลาด. วิทยานิพนธ์ปริญญา สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. สันติภาพ เพียนอก และ ช�ำนาญ บุญญาพุทธิพงศ์. (2558). ประสิทธิภาพวัสดุและการเว้นช่องว่างเพื่อการลดความร้อน ด้วยระแนงแนวนอน. วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 14 (1), 145-160. M. David Egan and Victor W. Olgyay. (2002). Architectural Lighting. New York: McGraw – Hill. Norbert Lechner. (2001). Heating, Cooling, Lighting. New York: John Wiley & Sons Co. Nzeb. (2018). Shading. [Online]. Retrieved from http://www.nzeb.in/knowledge. [accessed 26 August 2018].

73


คณะกรรมการ กลั่นกรองบทความ - Peer Review -


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความภายนอกมหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.ชุมพร มูรพันธุ์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง รองศาสตราจารย์ จันทนี เพชรานนท์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง รองศาสตราจารย์ ดร.พัดชา อุทิศวรรณกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.วารุณี หวัง มหาวิทยาลัยขอนแก่น รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ เหลืองบุตรนาค มหาวิทยาลัยขอนแก่น รองศาสตราจารย์ ดร.กอปร ศรีนาวิน มหาวิทยาลัยขอนแก่น รองศาสตราจารย์ ดร.วารุณี หวัง มหาวิทยาลัยขอนแก่น รองศาสตราจารย์ วีรวรรณ ศีติสาร มหาวิทยาลัยขอนแก่น รองศาสตราจารย์ อาวิน อินทรังษี มหาวิทยาลัยศิลปากร รองศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต นิตยะ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อินทิรา พรมพันธุ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทรงยศ วีระทวีมาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นภดล ตั้งสกุล มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรกานต์ รวยสูงเนิน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนสิทธิ์ จันทะรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดวงจันทร์ นาชัยสินธุ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พีร์นิธิ อักษร มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อินทิรา พรมพันธุ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุชัญญา โปษยะนันทน์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ดร.จักรกฤษณ์ เหลืองเจริญรัตน์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ดร.ธีย์ โคตรถา มหาวิทยาลัยราชมงคลกรุงเทพ ดร.สุรางคนา ตรังคานนท์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ดร.วัชรพงศ์ ดีวงษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ดร.พัศพันธน์ ชาญวสุนันท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดร.จักรสิน น้อยไร่ภูมิ ม.ราชมงคลรัตนโกสินทร์ ดร.สินีนาถ ศุกลรัตนเมธี มหาวิทยาลัยศิลปากร ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ มหาวิทยาลัยศิลปากร ดร.ยอดขวัญ สวัสดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ดร.ขาม จาตุรงค์กุล มหาวิทยาลัยขอนแก่น ดร.จันทนีย์ จิรัณธนัฐ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความภายในมหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.พรทิพย์ เรืองธรรม รองศาสตราจารย์ ดร.กฤต โง้วธนสุวรรณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พลเดช เชาวรัตน์

สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาการจัดการงานก่อสร้าง คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตย์ฯ

75


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธราวุฒิ บุญเหลือ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตย์ฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สักรินทร์ แซ่ภู่ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตย์ฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพชรลัดดา เพ็ชรภักดี สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตย์ฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดิฐา แสงวัฒนะชัย สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตย์ฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย์ฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อมฤต หมวดทอง สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย์ฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยนันท์ พรหมเพ็ญ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย์ฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์บริรักษ์ อินทรกุลไชย สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย์ฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์จารุณีย์ นิมิตศิริวัฒน์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย์ฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรีพรรณ์ สุพรรณสมบูรณ์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย์ฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์รัชนูพรรณ ค�ำสิงห์ศรี สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย์ฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุวัฒน์ การถัก สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย์ฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เมธี พิริยการนนท์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตย์ฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชาภรณ์ ช�ำนิก�ำจร สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตย์ฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชนาถ ทิวะสิงห์ สาขาวิชานฤมิตศิลป์ คณะสถาปัตย์ฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัญญา ทองสวัสดี สาขาวิชานฤมิตศิลป์ คณะสถาปัตย์ฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิกรม วงษ์สุวรรณ์ สาขาวิชานฤมิตศิลป์ คณะสถาปัตย์ฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์รังสิทธิ์ ตันสุขี สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตย์ฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดาราลัย ไซมะเริง สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตย์ฯ อาจารย์ ดร.นิพัทธา หรรนภา สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตย์ฯ อาจารย์ ดร.วรากุล ตันทนะเทวินทร์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตย์ฯ อาจารย์ ดร.ธนายุทธ ไชยธงรัตน์ สาขาวิชาการจัดการงานก่อสร้าง คณะสถาปัตย์ฯ อาจารย์ ดร.วรวรรณ เนตรพระ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย์ฯ อาจารย์ ดร.นิลปัทม์ ศรีโสภาพ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย์ฯ

76


ค�ำแนะน�ำ

ส�ำหรับผูเ้ ขียนบทความลงตีพิมพ์


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

ค�ำแนะน�ำส�ำหรับผู้เขียนบทความลงตีพิมพ์

วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จัดพิมพ์ปีละ 3 ฉบับ ฉบับที่ 1 ช่วงเดือน มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 ช่วงเดือนพฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 ช่วงเดือนกันยายน – ธันวาคม โดยมี วัตถุประสงค์ที่จะให้เป็นการรวบรวมผลงานทางวิชาการและงานวิจัยทางด้านสถาปัตยกรรม การออกแบบและการ ก่อสร้าง ซึ่งบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ทุกบทความจะผ่านความการพิจารณาและความเห็นชอบจากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขา ที่เกี่ยวข้องและสงวนสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พุทธศักราช 2521 และเผยแพร่ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ThaiJO การเตรียมบทความ 1. เป็นบทความวิจัย หรือบทความวิชาการ ที่มีความยาวไม่ควรน้อยกว่า 1 หน้า และไม่ควรเกิน 15 หน้า กระดาษ A4 ตามแบบฟอร์ม JADC03-Template (26.5x18.5) ซึ่งดาวน์โหลดได้ที่ https://www.tci-thaijo.org/index.php/ Jadc/index 2. เป็นบทความทีไ่ ม่ได้อยูร่ ะหว่างการพิจารณาตีพมิ พ์ของสือ่ สิง่ พิมพ์อนื่ ๆ และไม่เคยได้รบั การตีพมิ พ์ใน วารสารใด ๆ มาก่อน 3. ต้องไม่มีการละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น ไม่มีการลอกเลียน หรือตัดทอนผลงานวิจัยของผู้อื่นโดยที่ไม่ได้รับ อนุญาตและ มีการอ้างอิงที่เหมาะสม 4. ชนิดและขนาดตัวอักษร ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้ใช้ตวั อักษร TH Sarabun PSK ซึง่ ขนาดตัวอักษร มีรายละเอียด ดังนี้ 4.1 ชื่อบทความ ใช้ตัวอักษรขนาด 18 pt. ตัวหนา 4.2 ชื่อ-สกุลผู้เขียนบทความ ใช้ตัวอักษรขนาด 16 pt. ตัวปกติ 4.3 หัวข้อหลัก ใช้ตัวอักษรขนาด 14 pt. ตัวหนา 4.4 หัวข้อรอง ใช้ตัวอักษรขนาด 14 pt. ตัวเอียง 4.5) เนื้อเรื่องในหัวข้อหลักและหัวข้อรอง ใช้ตัวอักษรขนาด 14 pt. ตัวปกติ 4.6) เนื้อเรื่องในตาราง ใช้ตัวอักษรขนาด 14 pt. ตัวปกติ รูปแบบการเขียนบทความ ควรมีหัวข้อเรื่องเรียงตามล�ำดับ ดังต่อไปนี้ ชื่อเรื่อง ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยมีข้อความที่กระชับ ได้ใจความ และบ่งบอกบทความได้อย่างชัดเจน ชื่อผู้เขียน (Author) ให้ระบุชื่อ นามสกุล ต�ำแหน่ง หน่วยงานและที่อยู่ของผู้เขียนทุกคน บทคัดย่อ (Abstract) บทคัดย่อต้องมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ค�ำส�ำคัญ (Keyword) ค�ำสืบค้นที่เกี่ยวข้องกับบทความ ต้องมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ บทน�ำ (Introduction) กล่าวถึงความส�ำคัญของปัญหาและภูมิหลังของการวิจัย รวมไปถึงวัตถุประสงค์ของงานวิจัย วิธีการศึกษา (Research methods, Materials and Methods) อธิบายถึงอุปกรณ์ หรือวิธีการที่ใช้ในการวิจัย ขั้นตอน การศึกษา เครื่องมือ การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และ/หรือ สถิติที่ใช้ในการศึกษา โดยสามารถแตกออกเป็น หลายหัวข้อได้ ผลการศึกษาและวิจารณ์ (Results and Discussion) บรรยายผล และวิจารณ์ผล สามารถแตกออกเป็นหลายหัวข้อได้ สรุป (Conclusion) บรรยายถึงบทสรุปของงานศึกษา

78


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

ข้อเสนอแนะ (Recommendation) เสนอแนะต่อหน่วยงานทีน่ ำ� ผลไปใช้ และเสนอต่อแนวทางการศึกษาในครัง้ ต่อไป (ถ้ามี) กิตติกรรมประกาศ ขอบคุณทุนสนับสนุน หรือบุคคล (ถ้ามี) เอกสารอ้างอิง (References) การอ้างอิงในบทความให้ใช้ระบบการอ้างอิงในเนื้อหาบทความ แบบ นาม-ปี และหน้า (ชื่อ-นามสกุลผู้แต่ง, ปีที่พิมพ์) ตรงต�ำแหน่งท้ายประโยคที่ต้องการอ้างอิง ทั้งนี้เพื่อความสะดวกสามารถใช้โปรแกรม Endnote หรือใช้บริการจัดรูปแบบเอกสารอ้างอิงออนไลน์ Homepage & Submit paper: https://www.tci-thaijo.org/index.php/Jadc/index ขั้นตอนการส่งบทความ เนื่องด้วยวารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง ก�ำาลังรับการปรับปรุงให้เป็นวารสารออนไลน์ จึงขอให้ ส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1. เตรียมไฟล์ต้นฉบับตามค�ำแนะน�ำการเตรียมต้นฉบับ 2. ผู้เขียนส่งบทความฉบับสมบูรณ์ และไฟล์ภาพที่ใช้ในบทความทางอีเมล Jadcarch@msu.ac.thเพื่อให้กองบรรณาธิ การตรวจสอบเบื้องต้น 3. ลงทะเบียนสมาชิก เข้าเว็บไซต์ https://www.tci-thaijo.org/index.php/Jadc/index ท�ำตามค�ำแนะน�ำส�ำหรับ การใช้งานเบื้องต้นของระบบ ThaiJO2 (ส�ำาหรับผู้แต่ง Author) ซึ่งมีรายละเอียดตามหัวข้อดังนี้ 3.1 การสมัครสมาชิกวารสาร (Author Register) (ผู้ใช้ยังไม่มี Username, Password ในระบบ ThaiJO 3.2 การส่งบทความ (Submission) 3.3 รอตรวจสอบสถานะ การตอบรับ/ปฏิเสธ ทาง E-mail การพิจารณาคุณภาพของบทความ 1. บทความวิจัยและบทความวิชาการ ทางกองบรรณาธิการวารสารจะพิจารณาเบื้องต้นในด้านคุณภาพของบทความ และการพิมพ์ หากเห็นว่าไม่มีคุณภาพเพียงพอจะไม่ด�ำเนินการต่อ หรืออาจส่งให้ปรับแก้ไขก่อน บทความที่พิจารณา แล้วเหมาะสม มีคณ ุ ภาพ จะส่งผูท้ รงคุณวุฒภิ ายนอกตามความเชีย่ วชาญของสาขาวิชา พิจารณากลัน่ กรอง (Peer review) อย่างน้อย 2 ท่าน 2. เมื่อผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณา ผลเป็นประการใดทางกองบรรณาธิการจะแจ้งให้ท่านทราบ 3. ข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิท่านต้องปรับแก้ หากไม่ปรับแก้จะไม่ได้รับการตีพิมพ์ และระยะเวลา การแก้ไขไม่ควรเกิน 2 สัปดาห์ เกณฑ์การพิจารณาบทความ 1. บทความวิจัยและบทความวิชาการ ทางกองบรรณาธิการวารสารจะพิจารณาเบื้องต้น ในด้านคุณภาพของบทความ และการพิมพ์ หากเห็นว่าไม่มีคุณภาพเพียงพอจะไม่ด�ำเนินการต่อ หรืออาจส่งให้ปรับแก้ไขก่อน บทความที่พิจารณา แล้วเหมาะสม มีคณ ุ ภาพ จะส่งผูท้ รงคุณวุฒภิ ายนอกตามความเชีย่ วชาญของสาขาวิชา พิจารณากลัน่ กรอง (Peer review) อย่างน้อย 2 ท่าน 2. เมื่อผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณา ผลเป็นประการใดทางกองบรรณาธิการจะแจ้งให้ท่านทราบ 3. ข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิท่านต้องปรับแก้ หากไม่ปรับแก้จะไม่ได้รับการตีพิมพ์ และระยะเวลา การแก้ไขไม่ควรเกิน 2 สัปดาห์

79


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : มกราคม - เมษายน 2562

ข้อมูลติดต่อบรรณาธิการ ส�ำนักงานวารสารสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ อาคารคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ต�ำบลขามเรียง อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150 Email: Jadcarch@msu.ac.th, website: http://www.tci-thaijo.org/index.php/JADC โทรศัพท์: (043) 754-381, โทรสาร: (043) 754-382, มือถือ (086) 455-5990 (จันทร์-ศุกร์ เวลา 8.30-16.00 น.) การส่งบทความ : ส่งบทความฉบับสมบูรณ์ ถึง อาจารย์ ดร.ธนายุทธ ไชยธงรัตน์ ส�ำนักงานวารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง อาคารคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ต�ำบลขามเรียง อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150 หรือส่งมาที่ Jadcarch@msu.ac.th อ่านและสืบค้นวารสารฉบับย้อนหลังได้ที่ http://www.tci-thaijo.org/index.php/JADC

80



วารสารสถาป ตยกรรม การออกแบบและการก อสร าง

Journal of Architecture, Design and Construction คณะสถาป ตยกรรมศาสตร ผังเมืองและนฤมิตศิลป มหาว�ทยาลัยมหาสารคาม ป ท่ี 1 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2562 Vol.1 No.1 January - April 2019 ISSN (Print Edition): 2673-0332 ISSN (Online Edition): 2673-0340

บทความว�ชาการ

……………………………………………………………………………………………… รูปแบบและป จจัยการคงอยู ของภูมิทัศน พ�้นถิ�น “บ านเร�อนและที่อยู อาศัย” แขวงคำม วน สาธารณรัฐประชาธ�ปไตยประชาชนลาว Patterns and Factors Remain of Vernacular Landscape “Residential” Khammouane Province, Lao PDR อำภา บัวระภา (Umpa Buarapa)

หน า 8

บทความว�จัย

………………………………………………………………………………………………. คุณสมบัติผนังดินมูลกระบือ บ านหนองโนใต ตำบลนาดูน อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม properties of soil wall, buffalo droppings Ban Nong No Tai, Na Dun Subdistrict, Na Dun District, Maha Sarakham Province อภิเชษฐ ตีคลี (Apiched Teekalee)

22

พัฒนาชุดอุปกรณ ต อ-ประกอบไม เพ�่อเพ��มความปลอดภัย สำหรับฝ กปฏิบัติการงานไม The Development of treenail to increase security for wood-work practice ประทักษ คูณทอง (Pratak koonthong)

38

โมเดลสมการโครงสร างหลักธรรมภิบาลในการจัดซื้อจัดจ างภาครัฐ 48 The Structural Equation Model of the Good Governance in Government Procurement ธนายุทธ ไชยธงรัตน และณรงค เหลืองบุตรนาค (Tanayut Chaitongrat and Narong Leungbootnak) แนวทางการปรับปรุงแสงสว างเพ�่อความสม่ำเสมอในการส องสว าง กรณีศึกษาอาคารตลาด 60 เชิงวัฒนธรรมองค การบร�หารส วนตำบลพระธาตุ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม Lighting Improvement Guidelines for Luminance Uniformity Form Case study; Cultural Market of Phra That Community Na Dun District, Maha Sarakham ณัฐวัฒน จ�ตศีล (Nattawat Jitsin)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.