JADC Vol.2 (May - August 2019)

Page 1

Vol.1 No.2 : May - August 2019 ISSN (Print Edition): 2673-0332

ISSN (Online Edition): 2673-0340



Vol.1 No.2 May - August 2019 ISSN (Print Edition): 2673-0332 ISSN (Online Edition): 2673-0340


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

Journal of Architecture, Design and Construction ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2562 Vol.1 No.2 May - August 2019 ISSN (Print Edition) : 2673-0332 ISSN (Online Edition) : 2673-0340

เจ้าของ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วัตถุประสงค์ เพื่อเผยแพร่ผลงานวิชาการในรูปแบบของผลงานวิชาการและบทความวิจัย ที่มีคุณภาพด้านทางด้านสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง เพือ่ เป็นการรวบรวม และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรู้ ผลงานวิชาการ ผลงานวิจยั องค์ความรู้ ของคณาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการ นิสิต นักศึกษา สถาปนิก วิศวกร นักออกแบบและบุคลากรทั้งภายในและภายนอก มหาวิทยาลัยที่มีความสนใจ จุดมุ่งหมายและขอบเขต วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง รับพิจารณาตีพมิ พ์ผลงานทางวิชาการประเภทบทความวิชาการ และ บทความวิจยั ทางด้านสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง ทัง้ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ โดยวารสารมีขอบเขต เนือ้ หาทางวิชาการที่สนใจใน 9 สาขา ดังต่อไปนี้ 1. สถาปัตยกรรมศาสตร์ (Architecture) 2. สถาปัตยกรรมไทย (Thai Architecture) 3. สถาปัตยกรรมผังเมืองและการผังเมือง (Urban Architecture & Urban Planning) 4. สถาปัตยกรรมภายใน (Interior Architecture) 5. ภูมิสถาปัตยกรรม (Landscape Architecture) 6. การออกแบบสร้างสรรค์ และนฤมิตศิลป์ (Creative Design & Creative Arts) 7. การออกแบบนิเทศศิลป์ และการออกแบบอุตสาหกรรม(Communication Design& Industrial design) 8. การจัดการงานก่อสร้าง (Construction Management) 9. สาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง คณะที่ปรึกษากองบรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พลเดช เชาวรัตน์

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

บรรณาธิการ อาจารย์ ดร.ธนายุทธ ไชยธงรัตน์

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

กองบรรณาธิการภายนอกมหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์เอื้อมพร วีสมหมาย รองศาสตราจารย์ ดร.ชัยสิทธิ์ ด่านกิตติกุล รองศาสตราจารย์ ดร.ภาวิณี เอี่ยมตระกูล รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภกรณ์ ดิษฐพันธุ์ รองศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต นิตยะ รองศาสตราจารย์จันทนี เพชรานนท์ รองศาสตราจารย์ ดร. นิรัช สุดสังข์ รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ เหลืองบุตรนาค รองศาสตราจารย์ ดร.กอปร ศรีนาวิน

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ทรงคุณวุฒิ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น


รองศาสตราจารย์ประสิทธิ์ คุณุรัตน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นภดล ตั้งสกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุมพร มูรพันธุ์

มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

กองบรรณาธิการภายในมหาวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชนาถ ทิวะสิงห์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดิฐา แสงวัฒนะชัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิพัทธา หรรนภา อาจารย์ ดร.วีรพล เจียมวิสุทธิ์ อาจารย์ฐิติรัตน์ นิมิตบรรณสาร อาจารย์อ�ำภา บัวระภา

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ออกแบบปกและจัดรูปเล่ม อาจารย์ ดร.วีรพล เจียมวิสุทธิ์ อาจารย์ฐิติรัตน์ นิมิตรบรรณสาร

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ผู้ช่วยบรรณาธิการ นางสาวนิกานต์ดา ทองน้อย

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ก�ำหนดออกวารสาร ปีละ 3 ฉบับ คือ ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย.) ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค.) ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค.) ลักษณะบทความ 1. ต้องไม่เคยเผยแพร่ในวารสารอื่นใดมาก่อนหรือไม่อยู่ในขั้นตอนการพิจารณา เพื่อเผยแพร่ในวารสารอื่น ๆ 2. บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ ได้รับการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะสาขาวิชา (Peer Review) อย่างน้อย 2 ท่าน 3. บทความทีต่ พี มิ พ์ในวารสารทุกบทความเป็นของผูเ้ ขียนแต่ละท่าน ไม่ใช่ความคิดเห็นและความรับผิดชอบใด ๆ ของกอง บรรณาธิการวารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 4. บทความทุกบทความทีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์เป็นลิขสิทธิข์ องวารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง มหาวิทยาลัย มหาสารคาม การเผยแพร่ต่อไปต้องได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์ ส่งบทความทางระบบอิเล็กทรอนิกที่ https://www.tci-thaijo.org/index.php/Jadc/index ส�ำนักงานกองบรรณาธิการ ส�ำนักงานวารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อาคารคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ต�ำบลขามเรียง อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150 โทรศัพท์ (043) 754381 โทรสาร (043) 754382 โทรศัพท์มือถือ (086) 4555990 E-mail: Jadcarch@msu.ac.th website: https://www.tci-thaijo.org/index.php/Jadc/index Facebook: วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง พิมพ์เมื่อ สิงหาคม 2562 พิมพ์ที่ หจก.อภิชาติการพิมพ์ (เสริมไทยเก่า) 50 ถนนผังเมืองบรรชา ต�ำบลตลาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม 44000


บทบรรณาธิการ วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฉบับนีเ้ ป็นวารสารปีที่ 1 ฉบับ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2562 ได้รบั เกียรติจากผูเ้ ขียนบทความวิชาการและบทความวิจยั ทัง้ ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ส่งบทความเพือ่ ตีพมิ พ์เผยแพร่ จ�ำนวน 5 บทความ แบ่งเป็นบทความวิชาการ 1 บทความ และบทความวิจยั 4 บทความ โดยสรุปเนือ้ หาภายในเล่ม ดังนี้ บทความวิชาการ เรือ่ ง “อดีต ปัจจุบนั อนาคต” ทิศทางการอนุรกั ษ์อทุ ยานประวัตศิ าสตร์ในประเทศไทย โดยวิโรจน์ ชีวาสุขถาวร สาระส�ำคัญของบทความ คือ น�ำเสนอถึงแนวทางปฏิบตั กิ าร อนุรกั ษ์มรดกทางวัฒนธรรม ในแต่ละพืน้ ทีท่ มี่ คี วามหลากหลายแตกต่าง ทัง้ ใน ด้านบริบทกายภาพของพืน้ ที่ รวมถึงปัญหาทีส่ ง่ ผลต่อการด�ำเนินการด้านการอนุรกั ษ์ บทความวิจยั ที่ 1 เรือ่ ง “ลักษณะทางกายภาพของพืน้ ทีใ่ ห้บริการตรวจรักษาและส่วนเกีย่ วเนือ่ งแผนกผูป้ ว่ ยนอก : กรณีศกึ ษา แผนกสูตนิ รีเวชและแผนกกุมารเวช” โดยพาขวัญ รูปแก้ว และ ไตรวัฒน์ วิรยศิริ ผูว้ จิ ยั โดยศึกษาข้อมูลในด้านความหมาย และเอกสารอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ลงพืน้ ทีก่ รณีศกึ ษา ส�ำรวจ สังเกตุ สัมภาษณ์ผเู้ ชีย่ วชาญและผูใ้ ช้พนื้ ที่ และวิเคราะห์ขอ้ มูล ผลการศึกษาพบว่าห้องตรวจของ แผนกสูตนิ รีเวชและแผนกกุมารเวชนัน้ มีลกั ษณะทางกายภาพทีแ่ ตกต่างจากห้องตรวจและวินจิ ฉัยของแผนกผูป้ ว่ ยนอกแผนกอืน่ เนือ่ งจาก การตรวจทางนรีเวชมีการใช้อุปกรณ์เฉพาะทาง ในทางเดียวกันห้องตรวจและวินิจฉัยแผนกกุมารเวชจะมีลักษณะทางกายภาพที่ เสริมสร้างบรรยากาศทีแ่ ตกต่างจากห้องตรวจและวินจิ ฉัยทัว่ ไป เพือ่ ให้ผปู้ ว่ ยเด็กทีม่ ารับบริการนัน้ มีความผ่อนคลาย บทความวิจยั ที่ 2 เรือ่ ง “รูปแบบการเกิดอาชญากรรมคดีลกั ทรัพย์ในพืน้ ทีส่ าธารณะ ย่านเยาวราช-ส�ำเพ็ง กรุงเทพมหานคร” โดยบุษยา พุทธอินทร์และ ไขศรี ภักดิส์ ขุ เจริญ ผูว้ จิ ยั ได้ศกึ ษารูปแบบการเกิดอาชญากรรมดังกล่าว ร่วมกับต�ำแหน่งร้านค้าภายในอาคาร พาณิชย์ และร้านค้าแผงลอย มีวตั ถุประสงค์เพือ่ อธิบายปรากฎการณ์ และลักษณะการเกิดอาชญากรรม ทีม่ คี วามสอดคล้องกับกิจกรรม การค้าในช่วงเวลาต่างๆ ภายในย่าน จากการศึกษา พบว่า อาชญากรรมมักเกิดขึน้ ในช่วงเวลาเฉพาะของพืน้ ทีย่ า่ น ทีม่ กี ารเปิดท�ำการของ กิจกรรมการค้าข้างทาง โดยเฉพาะในต�ำแหน่งใกล้บริเวณทางร่วมทางแยกของเส้นทางเดินเท้าในพืน้ ที่ ซึง่ เป็นปรากฏการณ์ของการ มีจำ� นวนผูส้ ญ ั จรทีม่ าจับจ่ายซือ้ สินค้าและบริการ เพิม่ มากขึน้ กว่าจากระดับการสัญจรอิสระทีม่ วี ตั ถุประสงค์การสัญจรอืน่ ๆ โดยทัว่ ไป ของพืน้ ทีย่ า่ น สามารถสือ่ นัยถึงพืน้ ทีเ่ ฉพาะในช่วงเวลาดังกล่าวนัน้ เป็นสถานทีแ่ ละช่วงเวลาทีเ่ หมาะสมทีม่ เี หยือ่ อาชญากรรมรวมตัว เป็นกลุม่ เป้าหมายจ�ำนวนมาก ซึง่ เอือ้ ให้อาชญากรสามารถอาํ พรางตัวไปในหมูผ่ คู้ นขณะก่อเหตุได้ และใช้ทางร่วมแยกหลบหนีออกไป โดยทีส่ ายตาเฝ้าระวังอันเป็นดัชนีความปลอดภัยของการเดินเท้าในเมือง ไม่สามารถท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ บทความวิจยั ที่ 3 เรือ่ ง “ความสัมพันธ์ของการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงพืน้ ทีก่ บั ปริมาณผูใ้ ช้รถไฟฟ้า ในกรุงเทพมหานคร กรณีศกึ ษา รถไฟฟ้าสายสุขมุ วิทและสายสีลม” โดยวัชรินทร์ ขวัญไฝ และณัฐพงศ์ พันธ์นอ้ ย เป็นการศึกษาความ สัมพันธ์ของลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงพืน้ ทีก่ บั ปริมาณผูใ้ ช้รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานคร ตามแนวคิด Node-Place Model โดยศึกษาพืน้ ทีร่ อบสถานีรศั มี 500 เมตรของเส้นทางรถไฟฟ้าสายสุขมุ วิทและสายสีลมเป็นจ�ำนวนทัง้ สิน้ 33 สถานี การศึกษาพบว่า หนาแน่นการใช้ประโยชน์อาคาร ลักษณะประโยชน์อาคารประเภทพาณิชยกรรมและประเภทสาธารณูปการ รวมถึง ปัจจัยด้านความสามารถในการเข้าถึงประเภท สถานีรว่ ม จ�ำนวนสายรถเมล์ จ�ำนวนทีจ่ อดรถสาธารณะและจ�ำนวนสายรถตูโ้ ดยสาร สาธารณะ ทัง้ หมดมีความสัมพันธ์กบั จ�ำนวนผูโ้ ดยสารในแต่ละสถานี บทความวิจยั ที่ 4 เรือ่ ง “รูปแบบการค้นหาเส้นทางในพืน้ ทีช่ มุ ชนประวัตศิ าสตร์ยา่ นพระอาทิตย์ กรุงเทพมหานคร” โดยดุษฎี บุญฤกษ์ และ ไขศรี ภักดิส์ ขุ เจริญ ผูว้ จิ ยั ได้ศกึ ษารูปแบบการค้นหาเส้นทางของกลุม่ คนทีเ่ ข้ามาใช้งานพืน้ ที่ 2 กลุม่ ได้แก่ กลุม่ คนที่ คุน้ เคยและไม่คนุ้ เคยกับพืน้ ที่ โดยท�ำการบันทึกรูปแบบของการสัญจรของคนเดินเท้า ในช่วงวันและเวลาต่าง ๆ ผลการศึกษา พบว่า กลุม่ คนทัง้ 2 ประเภท มีรปู แบบการค้นหาเส้นทางทีแ่ ตกต่างกันและแยกออกจากกัน ท�ำให้เกิดการใช้งานพืน้ ทีใ่ นบางบริเวณอย่างไม่เป็น อเนกประโยชน์ ผลการศึกษาชีใ้ ห้เห็นถึงแนวทางการเพิม่ ศักยภาพของการเข้าถึง รวมไปถึงข้อเสนอแนะในการกระจายกิจกรรมของพืน้ ที่ ชุมชนประวัตศิ าสตร์ เพือ่ ให้เกิดสมดุลของการสัญจรเพือ่ ผ่านและการสัญจรเพือ่ เข้าถึงของคนเดินเท้ากลุม่ ต่างๆ อย่างเต็มศักยภาพมากขึน้ ส�ำหรับรายละเอียดบทความทั้งหมดนี้ สามารถเรียนรู้ได้จากบทความดังกล่าวในวารสารฉบับนี้ และพบกันอีกในวารสาร สถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน – ธันวาคม 2562 ทัง้ นีก้ องบรรณาธิการขอขอบพระคุณ ทัง้ ผูท้ รงคุณวุฒิ นักวิชาการ รวมถึงคณะผูบ้ ริหารของคณะฯ และสถาบันฯ ทีส่ นับสนุนการจัดท�ำวารสารวิชาการฉบับนี้ หากมีขอ้ บกพร่อง ประการใด กองบรรณาธิการขอน้อมรับเพือ่ จักได้นำ� ไปปรับปรุงต่อไป อาจารย์ ดร.ธนายุทธ ไชยธงรัตน์ บรรณาธิการ tanayut.c@msu.ac.th 18 สิงหาคม 2562


สารบัญ หน้า บทความวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………................... “อดีต ปัจจุบัน อนาคต” ทิศทางการอนุรักษ์อุทยานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย “Past-Present-Future” Directions of conservation of the Historical Park in Thailand วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร (Wiroj Shewasukthaworn)

8

บทความวิจัย ……………………………………………………………………………………………………………….................. ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ให้บริการตรวจรักษาและส่วนเกี่ยวเนื่องแผนกผู้ป่วยนอก: กรณีศึกษาแผนกสูตินรีเวชและแผนกกุมารเวช Physical Characteristics of Examination Area and Related Parts in Out-Patient Department: A Case Study Obstetrics and Gynecology Department and Pediatrics Department พาขวัญ รูปแก้ว และไตรวัฒน์ วิรยศิริ (Pakwan Roopkaew and Traiwat Viryasiri)

24

รูปแบบการเกิดอาชญากรรมคดีลักทรัพย์ในพื้นที่สาธารณะย่านเยาวราช-ส�ำเพ็ง กรุงเทพมหานคร Patterns of Crime Against Property In Public Spaces, Yaowarat - Sampheng District, Bangkok บุษยา พุทธอินทร์ และไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ (Busaya Putthain and Khaisri Paksukcharern)

38

ความสัมพันธ์ของการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงพื้นที่ กับปริมาณผู้ ใช้รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา รถไฟฟ้าสายสุขุมวิทและสายสีลม Relation Between Building Use and Accessibility with Number of Railway System Passengers in Bangkok Case Study of Sukhumvit Line and Silom Line วัชรินทร์ ขวัญไฝ และณัฐพงศ์ พันธ์น้อย (Watcharin Khwanfai and Nattapong Punnoi)

52

รูปแบบการค้นหาเส้นทางในพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ย่านพระอาทิตย์ กรุงเทพมหานคร Wayfinding patterns in Phra Arthit Historical Community Area, Bangkok ดุษฎี บุญฤกษ์ และไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ (Dusadee Boonreak and Khaisri Paksukcharern)

68



บทความวิชาการ - Academic Article -


“อดีต ปัจจุบนั อนาคต” ทิศทางการอนุรกั ษ์อทุ ยานประวัตศิ าสตร์ ในประเทศไทย “Past-Present-Future” Directions of conservation of the Historical Park in Thailand Received : March 17, 2019 Revised : April 1, 2019 Accepted : July 31, 2019

วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150

Wiroj Shewasukthaworn

Assistant Professor, Faculty of Architecture Urban Design and Creative Arts, Mahasarakham University, Maha Sarakham, Thailand 44150 Email: wiroj.shewa@gmail.com


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

บทคัดย่อ1 บทความนี้น�ำเสนอทิศทางของการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม น�ำเสนอประเด็นของพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์ ทีส่ ำ� คัญในประเทศไทย ในบทความจะแบ่งเนือ้ หาเป็น 4 ส่วน คือ ส่วนแรก เป็นค�ำจ�ำจัดความด้านการอนุรกั ษ์ฯ โดยศึกษาจาก กฏหมายและกฏบัตรด้านการอนุรักษ์ที่เกี่ยวข้อง ส่วนที่ 2 น�ำเสนอแนวคิดด้านการอนุรักษ์มรดกทาง วัฒนธรรมที่ผ่านมา ทัง้ แนวคิดในส่วนตะวันตกและประเทศไทย โดยสรุปเนือ้ หาหลักรวมถึงเหตุการณ์สำ� คัญทีเ่ กีย่ ว ข้อง เพือ่ ให้ทราบถึงแนวทาง การปฏิบัติที่ผ่านมาในอดีต ส่วนที่ 3 เป็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาวะการณ์ในอดีตและ ปัจจุบันของอุทยานประวัติศาสตร์ ในประเทศไทย โดยยกตัวอย่าง 3 กรณีศกึ ษาทีส่ ำ� คัญ คือ อุทยานประวัตศิ าสตร์สโุ ขทัย อุทยานประวัตศิ าสตร์พระนครศรีอยุธยา และอุทยานประวัตศิ าสตร์พมิ าย น�ำเสนอถึงแนวทางปฏิบตั กิ าร อนุรกั ษ์มรดกทางวัฒนธรรม ในแต่ละพืน้ ทีท่ มี่ คี วามหลากหลาย แตกต่าง ทัง้ ในด้านบริบทกายภาพของพืน้ ที่ รวมถึงปัญหาทีส่ ง่ ผลต่อการด�ำเนินการด้านการอนุรกั ษ์ ส่วนที่ 4 เป็นการอภิปราย ถึงแนวทางการพัฒนาเพื่อน�ำเสนอทิศทาง ของอุทยานประวัติศาสตร์ ในประเทศไทยในอนาคต ค�ำส�ำคัญ: การอนุรักษ์ , มรดกทางวัฒนธรรม , อุทยานประวัติศาสตร์

ABSTRACT This paper presents the directions of conservation of the cultural heritage, historic park in Thailand. There are four sections in the article. The first section is the definitions of ‘conservation’ which will derive from relevant laws and the charters. The second section presents the overall Western and Thai concepts of conservation of cultural heritage applied in the past. It summarises the main arguments and the past important events. The third section demonstrates the past and current situations of the historical parks in Thailand. This insight investigation will be conducted through three case studies which are the Sukhothai Historical Park, the Ayutthaya Historical Park and the Phimai Historical Park. The study focuses on the implementation of conservation policies in different areas. Each case noticeably has a distinguished physical area and specific problems of the policy implementation. The last section discusses the future directions of the historic park conservation. Keywords: Conservation, Cultural heritage, Historic Park

1. ค�ำจ�ำกัดความ “การอนุรักษ์” การอนุรกั ษ์ (Conservation) เป็นหลักการทีถ่ อื ว่ามีความส�ำคัญในการฟืน้ ฟูโบราณสถานและสภาพ แวดล้อมชุมชน ปัจจุบนั แนวความคิดในด้านการอนุรกั ษ์ได้รบั การตืน่ ตัวจากสาธารณะเป็นอย่างมาก ค�ำว่า “การอนุรกั ษ์” ได้ระบุไว้ในระเบียบ กรมศิลปากรว่าด้วยการอนุรักษ์โบราณสถาน พ.ศ.2528 โดยมีความหมายว่า “การดูแลรักษาเพื่อให้คงคุณค่าไว้ และหมาย รวมถึงการป้องกัน การรักษา การสงวน การปฏิสังขรณ์ และการบูรณะด้วย” อีกความหมายหนึ่ง คือ การรักษาแหล่งทางวัฒนธรรมหรือโบราณสถานไว้ มิให้ถูกท�ำลายหรือเปลี่ยนแปลง หรือ ป้องกันวัสดุ มิให้ผพุ งั เน่าเปือ่ ยเสือ่ มสลาย รวมความถึงการบ�ำรุงรักษาการซ่อมเล็ก ๆ น้อย ๆ การท�ำให้วสั ดุ แข็งแรง หรืออีก ความหมายหนึง่ คือการสงวนรักษาความเป็นของแท้ดงั้ เดิมและความสมบูรณ์ของทรัพยากรทาง วัฒนธรรม (นิคม มูสกิ ะคามะ, 2548) 1

บทความวิชาการนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชาสัมมนา หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง

11


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ในกฏบัตรว่าด้วยเรื่องการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม The Burra Charter ที่จัดท�ำขึ้นในปี พ.ศ.2522 และแก้ไข ปีลา่ สุด พ.ศ.2542 กล่าวถึงค�ำจ�ำกัดความของ Conservation ไว้บท Article 1 ว่า “all the processes of looking after a place so as to retain its cultural significance.” ทุกกระบวนการในการรักษาสถานที่ ที่มีนัยความส�ำคัญทาง วัฒนธรรมของตน (The Australia ICOMOS Charter, 1999) จากความหมาย ค�ำจ�ำกัดความต่างๆของค�ำว่าอนุรักษ์ แสดงให้เห็นว่าการอนุรักษ์นั้นไม่ได้ระบุเฉพาะสิ่งที่ มนุษย์ สร้างขึ้น เช่น งานสถาปัตยกรรม งานศิลปะเท่านั้น แต่หากรวมถึงทุกอย่างที่อยู่รอบตัวที่ล้วนมีความส�ำคัญกับมนุษย์ เช่น ธรรมชาติ สัตว์ป่า วัฒนธรรม แม้กระทั่งสิทธิมนุษยชนก็รวมอยู่ในความหมายของค�ำว่าอนุรักษ์ ด้วยเช่นกัน

2. สรุปเหตุการณ์ในด้านการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมในอดีตที่ผ่านมา ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุดลงในปี พ.ศ.2461 เมืองต่าง ๆ ในยุโรปได้รับความเสียหายอันเนื่องมาจาก ภัยสงคราม การฟื้นฟูอนุรักษ์เมืองจึงถือเป็นความจ�ำเป็นอย่างเร่งด่วนที่จะต้องรีบด�ำเนินการเพื่อปรับสภาพให้ฟื้น จาก สงครามให้เร็วทีส่ ดุ โบราณสถานทัว่ ยุโรปก็ได้รบั ผลกระทบเช่นกัน ในปี พ.ศ.2462 ได้มกี ารจัดตัง้ องค์กร League of Nation ขึ้น อีก 3 ปีต่อมา องค์กรดังกล่าวได้มีการน�ำประเด็นด้านมรดกทางวัฒนธรรมขึ้นมาพิจารณา จนท�ำให้ เกิดส�ำนักงานการ พิพธิ ภัณฑ์นานาชาติ (International Museum Office) ขึน้ โดยส�ำนักงานหลักตัง้ อยูท่ กี่ รุงปารีส ประเทศฝรัง่ เศส ส�ำนักงาน การพิพิธภัณฑ์นานาชาติได้ริเริ่มที่จัดให้มีประชุมนานาชาติ ว่าด้วยเรื่องการศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการตรวจสอบ และอนุรักษ์งานศิลปะขึ้นในปี พ.ศ.2473 ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี อีก 1 ปีตอ่ มาประเทศสมาชิกต่าง ๆ จ�ำนวน 23 ประเทศ มีการประชุมเพือ่ รวบรวมปัญหาทีเ่ กีย่ วข้องกับ การอนุรกั ษ์ โบราณสถาน สถาปัตยกรรม ที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีก โดยที่ประชุมได้มีมติให้น�ำผลการประชุมมาท�ำการประกาศเพื่อ เป็นกฏบัตรด้านการบูรณะฟืน้ ฟูโบราณสถานทางประวัตศิ าสตร์ทเี่ รียกว่า Athens Charter ถือเป็นกฏบัตรด้านการอนุรกั ษ์ ฉบับแรกที่เกิดขึ้น การพัฒนาของกฏบัตรมีอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ประสบผลส�ำเร็จ ในด้านการอนุรักษ์อย่างครอบคลุม มีการ พัฒนามาเป็น The Venice Charter ในอีก 33 ปีต่อมา ในปี พ.ศ.2507 ซึ่งมีการเน้นในด้านการอนุรักษ์ที่ลงรายละเอียด มากขึ้น ถือเป็นหลักสากลที่ใช้ในการปฏิบัติกันทั่วโลกมาตลอด 81 ปี ที่ผ่านมาหลังการร่าง Athens Charter หน่วยงานที่ดูแลก�ำกับด้านการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของ แต่ละ ประเทศก็ได้มีการน�ำกฏบัตรต่าง ๆ ไปปรับใช้และปรับเปลี่ยนกฏบัตรให้เหมาะสมกับบริบทของตน รวมถึง ICOMOS ที่ถือ เป็นหน่วยงานอิสระที่ดูแลด้านการอนุรักษ์ในระดับสากล ก็ได้มีการออกกฏบัตรเพื่อการอนุรักษ์เพิ่ม เติมอีกหลายฉบับ (Icomosthai, 2013) เพือ่ เติมเต็มในส่วนรายละเอียดทีไ่ ม่ได้ปรากฏใน Athens Charter และ The Venice Charter เนือ้ หา สาระของกฏบัตรที่มีการเพิ่มเติมขึ้นจากเริ่มแรก Athens Charter และ The Venice Charter ที่จะเน้นเรื่องโบราณสถาน เป็นหลัก เน้นการสงวนรักษาในขั้นต้น และไม่สนับสนุนการสร้างใหม่ต่อเติมโบราณสถาน (The Athens Charter for the Restoration of Historic Monuments, 1931) มี การปรับเปลี่ยนเนื้อหาภายในโดยเพิ่มแนวทางการพัฒนาที่เริ่มมอง บริบทรอบตัวมากขึ้น จึงเกิดแนวคิดการอนุรักษ์ในรูปแบบอุทยานประวัติศาสตร์ ที่เริ่มมีการมองการอนุรักษ์นอกเหนือ จากตัวโบราณสถาน ค�ำนึงถึง Setting โดยรอบ หรือสนใจภูมิทัศน์วัฒนธรรม และสิ่งปลูกสร้างอื่น ๆ ใกล้กับโบราณสถาน จนกระทั่ง The Burra Charter ที่ปรับปรุง ครั้งล่าสุดในปี พ.ศ.2542 เพิ่มรายละเอียดในส่วนการอนุรักษ์ที่ครอบคลุมขึ้น กว่าเดิม มีการเน้นด้านนโยบายที่เข้ามามีบทบาท และที่ส�ำคัญ ที่สุดคือเริ่มให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ (The Burra Charter, 1999) ซึ่งแต่เดิมไม่ได้ระบุไว้ในกฏบัตร นอกจากนี้ในปี พ.ศ.2542 ที่ประชุม ICOMOS ยังได้ออก กฎบัตรเพิ่มเติมอีกสองร่าง คือ กฎบัตรระหว่างประเทศว่าด้วยเรื่องการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม International Cultural Tourism Charter 1999 และกฎบัตรว่าด้วยมรดกสิ่งก่อสร้างพื้นถิ่น Charter on the Built Vernacular Heritage 1999 แสดงให้เห็นถึงการพัฒนาในด้านการอนุรักษ์ที่มองนอกเหนือจากตัวโบราณสถานที่เป็นหลักมาแต่อดีต แต่กลับมาให้

12


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ความส�ำคัญเกี่ยวกับบริบทโดยรอบรวมถึงด้านวัฒนธรรมความส�ำคัญของวิถีชีวิตชุมชนท้องถิ่น สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น และ ให้สิทธิในการมีส่วนร่วมของประชาชนในด้านการอนุรักษ์ที่เพิ่มขึ้น การพัฒนาของกฏบัตรด้านการอนุรักษ์ที่ผ่านมาล้วนเป็นผลดีต่อการอนุรักษ์โบราณสถานในทุกแง่มุม จะ เห็นได้ว่า ในส่วนท้ายของ Athens Charter กรรมาธิการได้เห็นพ้องต้องกันว่าการบูรณะเป็นเรื่องที่ซับซ้อน ยุ่งยาก และแต่ละแห่งมี ปัญหาไม่เหมือนกัน หลักการข้างต้นควรน�ำมาตรวจสอบและอภิปรายกันในบางครัง้ แสดงให้เห็นถึง แนวความคิดทีเ่ ปิดกว้าง มาตัง้ แต่อดีต 81 ปี สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาปรับเปลีย่ นแนวทางการอนุรกั ษ์ทเี่ หมาะสม ต่อบริบทพืน้ ทีเ่ พือ่ ให้การอนุรกั ษ์ บรรลุวัตถุประสงค์อย่างสูงสุด ในส่วนการอนุรกั ษ์ฯ ในประเทศไทย สามารถสืบค้นได้ตงั้ แต่สมัยสุโขทัย โดยส่วนใหญ่จะเป็นการก่อเพิม่ เติมศาสนสถาน ให้มีความสูงใหญ่ คงทนถาวรกว่าเดิม ดังจะพบได้เห็นในโบราณสถานหลายแห่งในปัจจุบัน การบูรณะปฏิสังขรณ์ในช่วง เวลานัน้ แสดงให้เห็นถึงความเชือ่ และความศรัทธาสืบสานพุทธศาสนาเป็นหลัก (วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร, 2561) ในสมัยอยุธยา สาระส�ำคัญในด้านการอนุรักษ์ส่วนใหญ่มักจะเป็นการซ่อมแซม เนื่องจากสมัยอยุธยามีการตั้งถิ่นฐานสืบเนื่องมาเป็นเวลา ยาวนานเกือบ 413 ปี อาคารที่สร้างในช่วงเวลาสมัยอยุธยาตอนต้นเริ่มมีการเสื่อมสภาพ จากกาลเวลา จากการใช้งาน หรือ ถูกภัยธรรมชาติ เช่น ฟ้าผ่า ท�ำให้อาคารต่าง ๆ ถูกเพลิงไหม้ รวมถึงมีการปฏิสังขรณ์จากศรัทธาที่มีการสร้างเพื่อสืบสาน พระพุทธศาสนา (สมเด็จพระพนรัตน์,2535) ที่ถือเป็นการปฏิบัติที่สืบเนื่องมาตั้งแต่ในสมัยสุโขทัยเรื่อยมา ในส่วนสมัย รัตนโกสินทร์ตอนต้นจะเริ่มจากหลังเสียกรุงครั้งที่ 2 เป็นช่วงการสร้างบ้านแปงเมือง มีศึกสงครามประชิด การบูรณะ ปฏิสังขรณ์ศาสนสถานต่าง ๆ จึงไม่ค่อยขยายตัวเท่าที่ควร มีการแต่บูรณะวัดใหญ่ ๆ ที่ส�ำคัญเท่านั้น เพื่อเป็นศูนย์กลางแห่ง ศรัทธาของพระนคร รวมถึงมีการชะลอพระพุทธรูปส�ำคัญ ๆ จากหัวเมืองต่าง ๆ เข้ามาไว้ในพระนครเป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งถือ เป็นการรักษาไว้ก่อนที่พระพุทธรูปเหล่านั้นจะถูกท�ำลายลง (วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร, 2561) การอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเริ่มจะเป็นรูปธรรมขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 3 พระองค์โปรดฯ ให้มีการอนุรักษ์บูรณะวัดวาอารามใหญ่น้อยทั้งปวง บางแห่งก็มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบขึ้นใหม่ เป็นแบบ พระราชนิยม คืออาคารก่ออิฐถือปูนผสมรูปแบบจีนเข้าไปเพือ่ ความคงทนของสถาปัตยกรรม การอนุรกั ษ์ฯ เริม่ พัฒนาขึน้ มาก ในช่วงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 มีการออกกฎต่าง ๆ เพื่อควบคุม พื้นที่โบราณสถาน และ เริ่มตระหนักถึงการสงวนรักษาโบราณสถานให้เป็นสมบัติของชาติ ต่อมาเมือ่ มีการตัง้ กรมศิลปากรขึน้ เพือ่ ท�ำหน้าทีด่ แู ลการอนุรกั ษ์โบราณสถานของชาติไว้ การพัฒนาด้าน การอนุรกั ษ์ ของชาติจึงมีการขึ้นตามล�ำดับ มีการน�ำวิธีการเทคนิคต่าง ๆ ของตะวันตกมาใช้ โดยในช่วงแรกยังเน้นการ สงวนรักษาเป็น หลัก ภายหลังการเปลีย่ นแปลงการปกครองก็ยงั คงพบอุปสรรคในด้านการอนุรกั ษ์ฯ เนือ่ งจากนโยบายของรัฐทีไ่ ม่สอดคล้อง ต่อการอนุรกั ษ์ เช่น มีการประกาศให้สามารถน�ำอิฐเก่าไปประมูลขายได้ การประกาศ ขายทีด่ นิ ในพืน้ ทีท่ บั ซ้อนโบราณสถาน รวมถึงการเติบโตทางเศรษฐกิจก็ส่งผลให้โบราณสถานหลายแห่งถูกท�ำลายลงไป ในช่วง พ.ศ.2500 การอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมในประเทศไทยเริ่มมีความชัดเจนขึ้นอีกครั้ง มีการ ด�ำเนินงาน พัฒนาพื้นที่โบราณสถานให้เป็นอุทยานประวัติศาสตร์ มีการอนุรักษ์โบราณสถานที่ส�ำคัญของชาติหลาย แห่ง เพื่อพัฒนา ศักยภาพให้เป็นแหล่งท่องเทีย่ วทางวัฒนธรรม การประกาศขึน้ บัญชีอทุ ยานประวัตศิ าสตร์สโุ ขทัย และอุทยานประวัตศิ าสตร์ พระนครศรีอยุธยาเข้าสู่มรดกโลก ส่งผลให้มีนักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมชมเป็นจ�ำนวนมาก การพัฒนาดังกล่าวส่งผลกระทบ ต่อการอนุรักษ์โบราณสถานไม่มากก็น้อย ในปัจจุบันกระแสการพัฒนาดังกล่าวก็ยัง คงสืบเนื่องต่อมาจนถึงปัจจุบัน การอนุรักษ์ฯ ในประเทศไทยมีการด�ำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรมมาตั้งแต่ 60 ปีที่ผ่านมา โบราณสถานหลายแห่ง ถูกท�ำลายลง เนื่องจากปัจจัยในด้านต่าง ๆ ทั้งทางด้านนโยบายจากภาครัฐ จากภาวะทางเศรษฐกิจแม้กระทั่ง การขยายตัว ของเมือง หน่วยงานที่รับผิดชอบหลักด้านการอนุรักษ์ คือ กรมศิลปากร ที่ถือเป็นหน่วยงานที่มีการ บริหารจัดการที่เป็น การรวมศูนย์ ใช้หน่วยงานกลางในการก�ำกับดูแลรักษา และปฏิบัติการ โดยยึดหลักการอนุรักษ์ ที่ใกล้เคียงกับกฏบัตร The Venice Charter เป็นหลัก เมื่อแนวทางการอนุรักษ์พัฒนาเริ่มมองบริบทรอบตัวมากขึ้น จึงเริ่มโครงการอุทยาน

13


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ประวัติศาสตร์ ที่เน้นสภาพแวดล้อมรอบตัวของบริบทมากขึ้น แต่จากการบริหารจัดการที่รวมศูนย์ ขาดแนวทางการปฏิบัติ ที่มีประสิทธิภาพ ขาดการกระจายอ�ำนาจในด้านการด�ำเนินการจึงท�ำให้การอนุรักษ์ ที่ผ่านมาในบางส่วนยังไม่ประสบผล ส�ำเร็จเท่าที่ควร เช่น การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ รวมถึงขาด การตรวจสอบจากภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาค วิชาการ ภาคท้องถิ่น และภาคประชาชน

3. การวิเคราะห์อุทยานประวัติศาสตร์กับทิศทางของการอนุรักษ์ อุทยานประวัตศิ าสตร์เป็นแนวความคิดในการอนุรกั ษ์มรดกทางวัฒนธรรม ทีพ่ ฒ ั นามาจากการอนุรกั ษ์ โบราณสถาน เดี่ยว ๆ เริ่มต้นในประเทศไทยช่วงประมาณ พ.ศ.2519 โดยมีความหมายให้เป็นพื้นที่ที่ก�ำหนดขอบเขต ให้พื้นที่หนึ่งซึ่งมี เนื้อหาทางประวัติศาสตร์ องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม ร่วมกับสภาพแวดล้อม ทั้งที่มนุษย์สร้างขึ้นและ โดยธรรมชาติ อันมนุษย์ใช้งาน (เช่น แม่นำ�้ หรือภูเขาในพืน้ ทีน่ นั้ ) อันจะท�ำให้สาระประวัตศิ าสตร์ และการควบคุมหรือพิทกั ษ์ รักษาพื้นที่ประวัติศาสตร์ให้ด�ำรงไว้ได้ บริเวณสถานที่ซึ่งมีความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ และโบราณคดี ที่มีองค์ประกอบ ส�ำคัญ 3 ประการ คือ 1. อาคารสถาปัตยกรรม ซากโบราณสถาน ที่อยู่อาศัย วัดวาอาราม และศาสนสถาน 2. สภาพแวดล้อมของโบราณสถานรวมทั้งสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ เช่น สระน�้ำ คูคลอง ถนนและทางเดิน สวนป่า 3. การผสมผสานกันระหว่างการก่อสร้างของมนุษย์กบั ธรรมชาติสภาพแวดล้อม (สารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชน, 2556) บทความนีจ้ ะน�ำเสนอกรณีศกึ ษาในด้านการอนุรกั ษ์ ฯ ของอุทยานประวัตศิ าสตร์ทเี่ กิดขึน้ ในประเทศไทย เพือ่ แสดง ให้เห็นถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งทางด้านกายภาพ ที่ตั้ง ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม โดย อุทยานประวัติศาสตร์ที่ยกมา 3 แห่ง ได้แก่ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา และ อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย โดยสองแห่งแรกนั้นได้รับการประกาศใหเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมแล้ว ในปี พ.ศ.2534 ในส่วนแห่งที่ 3 ก�ำลังอยู่ในช่วงที่ศึกษาข้อมูลเพื่อด�ำเนินการขอเป็นมรดกโลกในอนาคต ในปี พ.ศ.2519 แนวคิดการจัดตัง้ อุทยานประวัตศิ าสตร์ ถือเป็นแนวคิดการอนุรกั ษ์ทมี่ คี วามทันสมัยมากในช่วง เวลานัน้ เนือ่ งจากได้ ด�ำเนินโครงการก่อนทีก่ ฏบัตรดังกล่าวจะออกมาถึง 6 ปี แต่การด�ำเนินงานในช่วงแรกนัน้ ประสบปัญหาค่อนข้างมาก เนือ่ งสภาพโบราณสถานทีท่ งิ้ ร้างไว้เป็น เวลานานประกอบกับการถูกบุกรุกจากประชาชนในพืน้ ทีเ่ พือ่ ใช้ในการอยูอ่ าศัย และ การเกษตร รวมถึงการบุกเข้าท�ำลายโบราณสถานเพื่อที่จะหาโบราณวัตถุ สถานการณ์ดังกล่าวท�ำให้โบราณสถานในพื้นที่ ถูกท�ำลายเป็นจ�ำนวนมาก อุทยานประวัตศิ าสตร์สโุ ขทัย (ภาพที่ 1) ถือเป็นโครงการน�ำร่องในด้านการอนุรกั ษ์ฯ ในลักษณะของกลุม่ โบราณสถาน ทีพ่ ยายามค�ำนึงถึงบริบทของการอนุรกั ษ์โดยรอบพืน้ ทีเ่ ป็นแห่งแรกในประเทศไทย โครงการนีไ้ ด้ใช้เวลาด�ำเนินการถึง 15 ปี ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2531 จึงท�ำการเปิดอย่างเป็นทางการ และในวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2534 องค์การยูเนสโก ได้ประกาศให้ อุทยานแห่งนีเ้ ป็นแหล่งมรดกโลกร่วมกับอุทยานประวัตศิ าสตร์กำ� แพงเพชร และอุทยานประวัตศิ าสตร์ศรีสชั นาลัย ด้วยการด�ำเนินงานทีใ่ ช้เวลายาวนาน แสดงให้เห็นถึงความซับซ้อนและความยากล�ำบากในการด�ำเนินงานเป็นอย่างมาก ทัง้ งานด้านขุดแต่งทางโบราณคดีทตี่ อ้ งท�ำงานแข่งกับเวลา เนือ่ งจากโบราณวัตถุจำ� นวนมากถูกลักลอบขุดเพือ่ น�ำไปจ�ำหน่าย รวมถึงงานอนุรกั ษ์โบราณสถานทีอ่ าคารส่วนใหญ่สร้างขึน้ จากศิลาแลง และอิฐทีอ่ ยูใ่ นสภาพทีช่ ำ� รุดจากกาลเวลา การบูรณะ และการเสริมโครงสร้างจึงเป็นงานที่ต้องอาศัยเทคนิคพิเศษเฉพาะ แต่อย่างไรก็ตามในการด�ำเนินงานอนุรักษ์โบราณสถาน ในอุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์สุโขทัยในช่ว งแรก จึงเน้น การบู ร ณะแบบก่ อ เสริ มขึ้ น ใหม่ ต ามหลั ก ฐานองค์ ประกอบทาง สถาปัตยกรรมทีย่ งั คงหลงเหลืออยูใ่ ห้ตวั โบราณสมบูรณ์ขนึ้ ซึง่ การด�ำเนินงานในช่วงแรกเน้นการบูรณะโบราณสถานทีส่ ำ� คัญ ๆ ภายในเมืองเป็นหลัก (กรมศิลปากร, 2512) เช่น วัดมหาธาตุ ที่มีการบูรณะเสริมองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของ เจดีย์ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ โดยเฉพาะที่กลุ่มเจดีย์ประธาน และเจดีย์ที่ส�ำคัญภายในวัด (ภาพที่ 2) วัดศรีชุม (ภาพที่ 3) มีการบูรณะองค์พระพุทธรูปภายในมณฑปให้มีสภาพที่สมบูรณ์ในปี พ.ศ.2496-2499 (วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร, 2561) จะเห็น

14


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ได้ว่าในช่วงเวลานี้ผู้ปฏิบัติงานพยายาม ที่จะด�ำเนินงานให้ตรงตามข้อก�ำหนดของกฏบัตร The Venice Charter ที่ว่าการ ซ่อมแซมแทนทีส่ ว่ นทีข่ าดหายไป และต้องมีความกลมกลืนกับสภาพโดยรวม แต่ในขณะเดียวกันจะต้องเห็นได้ ถึงความแตก ต่างไปจากส่วนดัง้ เดิม เพือ่ ทีว่ า่ การบูรณะจะไม่สร้างหลักฐานทางด้านศิลปะ หรือข้อมูลทางประวัตศิ าสตร์ทเี่ ป็นเท็จ ซึง่ การ ด�ำเนินงานในช่วงนัน้ ก็ยงั คงค�ำนึงถึงข้อก�ำหนดดังกล่าว พบว่าอิฐใหม่ทนี่ ำ� มาซ่อมแซม โบราณสถานจะมีการระบุปที ดี่ ำ� เนิน การไว้อย่างชัดเจน แต่ด้วยฝีมือเชิงช่างที่แตกต่างจากช่างโบราณ จึงส่งผล โดยตรงต่อรูปแบบองค์ประกอบโบราณสถาน อย่างชัดเจน บางส่วนมีการต่อเติมเพิม่ จนผิดรูปแบบทีแ่ ท้จริงแม้วา่ ในส่วนของโครงสร้างภายหลังการบูรณะแล้วจะมีความ มั่งคงมากขึ้นก็ตาม (ภาพที่ 4)

ภาพที่ 1 ขอบเขตอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ที่มา: กรมศิลปากร

ภาพที่ 2 กลุ่มเจดีย์ประธานวัดมหาธาตุ สุโขทัย ภายในอุทยานประวัตศาสตร์สุโขทัย ที่มีการบูรณะ เสริมเติมองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมให้ครบ

ภาพที่ 3 พระอจนะ ภายในมณฑปวัดศรีชุม ที่บูรณะองค์พระขึ้นใหม่หมดทั้งองค์

ภาพที่ 4 เจดีย์วัดสรศักดิ์ ภายในอุทยานประวัตศาสตร์สุโขทัยเป็นเจดีย์ ที่ได้รับการบูรณะขึ้นใหม่ทั้งองค์ ในปี พ.ศ.2536

ภาพที่ 5 เจดีย์ภายในวัดพระพายหลวง ที่มีการ บูรณะเพิ่มเติมจนผิดรูปแบบ อันเป็นการลบเลือนหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ และสร้างหลักฐานเท็จ

15


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ภายหลังจากการได้รบั ประกาศให้เป็นมรดกโลก การอนุรกั ษ์และบูรณะโบราณสถานทีอ่ ทุ ยานประวัตศิ าสตร์สโุ ขทัย ได้ด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องภายใต้การดูแลของกรมศิลปากร แต่การด�ำเนินการในช่วงเวลาดังกล่าว จะเน้นการพัฒนาเพื่อ ตอบสนองในด้านท่องเที่ยวมากขึ้น ตัวอย่างเช่นที่ วัดสรศักดิ์ที่ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของเมืองสุโขทัย จากการศึกษาภาพถ่าย เก่าพบว่าแต่เดิมก่อนการด�ำเนินการทางโบราณคดีมีลักษณะเป็นเพียงเนินดิน ภายหลังการขุดแต่งเหลือเพียงส่วนฐานที่ยัง ไม่สามารถสันนิษฐานรูปแบบขององค์เจดียไ์ ด้ชดั เจน แต่จากหลักฐานจารึกทีก่ ล่าวว่าเจดียอ์ งค์นมี้ ลี กั ษณะรูปแบบเป็นเจดีย์ ที่มีช้างล้อม (กรมศิลปากร, 2526) ในปี พ.ศ.2536 กรมศิลปากร จึงได้ด�ำเนินการบูรณะเจดีย์วัดสรศักดิ์นี้ขึ้นมาใหม่ให้เป็น เจดียท์ สี่ มบูรณ์ทงั้ องค์ มีการน�ำประติมากรรมรูปช้างทีป่ น้ั ขึน้ ใหม่มาประดับโดยรอบฐานเจดีย์ (ภาพที่ 4) ตัวอย่างการอนุรกั ษ์ ในกรณีศกึ ษานีจ้ งึ ขัดต่อหลักการของ The Venice Charter อย่างชัดเจน เนือ่ งจากในกฏบัตรได้กล่าวไว้วา่ ไม่สามารถท�ำการ ต่อเติมใดใดได้ ในกรณีที่สร้างขึ้นมาใหม่ทั้งหมดในที่ตั้งเดิมก็อาจอยู่ในเกณฑ์ของการสร้างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ เป็นเท็จได้ ถือเป็นการท�ำลายหลักฐานทางประวัติศาสตร์ลงอย่างสิ้นเชิง นอกจากปัญหาดังกล่าวที่พบแล้ว การอนุรักษ์ โบราณสถานหลายแห่ง ก็ยังเน้นการซ่อมเสริมเพื่อให้ตัวโบราณสถานสมบูรณ์ ที่ขัดจากหลักฐานเดิมที่ปรากฏ อันเป็นการ สร้างหลักฐานองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมทีเ่ ป็นเท็จเช่นกัน เช่น ทีเ่ จดียร์ ายวัดพระพายหลวง (ภาพที่ 5) ทีม่ กี ารซ่อมเสริม เสียจนไม่สามารถสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมดั้งเดิมได้ แต่อย่างไรก็ดปี จั จัยในเชิงบวกของการด�ำเนินงานอนุรกั ษ์อทุ ยานประวัตศิ าสตร์สโุ ขทัย คือ เมืองทีส่ ร้างใหม่ถกู ย้าย ไปทางทิศตะวันออกของเมืองเก่าห่างประมาณ 10 กิโลเมตร ท�ำให้ปญ ั หาการทับซ้อนของการใช้พนื้ ทีม่ ไี ม่มากเท่าทีค่ วร แต่ ก็ยงั ประสบปัญหาบ้างในบางพืน้ ที่ การก�ำหนดพืน้ ทีอ่ ทุ ยานประวัตศิ าสตร์โดยเฉพาะในส่วนทีส่ ำ� คัญๆจึงท�ำได้งา่ ย จะมีกแ็ ต่ ชุมชนบริเวณพืน้ ทีว่ ดั ตะพังทองทีเ่ ป็นชุมชนเล็ก ๆ ด้านหน้าอุทยานประวัตศิ าสตร์ ทีเ่ ป็นส่วนบริการของนักท่องเทีย่ วทีไ่ ม่คอ่ ย ส่งผลกระทบต่ออุทยานประวัติศาสตร์เท่าที่ควร รวมถึงปัญหาน�้ำท่วมซึ่งไม่ส่งผลเสียหายต่อพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์ แต่อย่างใด แต่จะส่งผลกระทบต่อเมืองใหม่ทตี่ งั้ ริมฝัง่ แม่นำ�้ ยมแทน แสดงให้เห็นถึงภูมปิ ญ ั ญาในการตัง้ เมืองตัง้ แต่สมัยอดีต ได้เป็นอย่างดี ในปัจจุบนั การบูรณะในส่วนโบราณสถานทีอ่ ทุ ยานประวัตศิ าสตร์สโุ ขทัยเริม่ มีการด�ำเนินงานน้อยลง มีแต่การสงวน รักษาไว้ เช่น การเสริมความมั่นคงของโบราณสถาน การก�ำจัดวัชพืชและการท�ำความสะอาดลวดลายปูนปั้นที่ถูกตะไคร่ ปกคลุม เป็นต้น แต่กย็ งั พบว่ายังมีการปรับและพัฒนาพืน้ ทีภ่ ายในอุทยานประวัตศิ าสตร์ มีการจัดภูมทิ ศั น์เพือ่ ให้เป็นพืน้ ที่ ทีป่ ระชาชนทัว่ ไปสามารถเข้ามาพักผ่อนได้ พบว่าต้นไม้ใหญ่บางส่วนถูกโค่นล้มจากการปรับภูมทิ ศั น์ถอื เป็นเรือ่ งทีน่ า่ เสียดาย แต่ยังพบข้อดีในด้านการจัดการคือมีการควบคุมไม่ให้รถยนต์เข้าไปภายในมากนัก และส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวใช้จักรยาน ในการขับขี่ภายในอุทยานประวัติศาสตร์ กรณีศึกษาที่ 2 อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา โครงการนี้เริ่มต้นในปี พ.ศ.2510 โดยใช้ชื่อ โครงการ ส�ำรวจขุดแต่งและบูรณะปรับปรุงโบราณสถาน มีวัตถุประสงค์ที่จะประสานงานร่วมมือกับองค์กรต่าง ๆ เพื่อ พัฒนาพื้นที่ เกาะเมืองอยุธยาให้เป็นที่กินดีอยู่ดีของประชาชนตลอดจนอนุรักษ์โบราณสถานไว้ให้เป็นสถานที่พักผ่อน หย่อนใจและเป็น สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วของประชาชน เนือ่ งจากพืน้ ทีภ่ ายในเกาะเมืองอยุธยานัน้ พบว่า มีปญ ั หาด้านการ ท�ำลายโบราณสถานเป็น อย่างมาก หากย้อนอดีตไปก่อนหน้านี้ประมาณ 10 ปี ในปี พ.ศ.2500 เกิดเหตุการณ์ กรุแตกที่วัดราชบูรณะ ขโมยที่ลักลอบ ขุดกรุได้ทรัพย์สินเครื่องทองเป็นจ�ำนวนมาก ภายหลังกรมศิลปากรจึงเข้ามาด�ำเนินการขุดแต่งและพบทรัพย์สินเพียง บางส่วนเท่านั้น ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี ได้มกี ารปรับปรุงพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจของชาติ มี การจัดท�ำแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยมีการใช้แผนพัฒนาฯฉบับแรกในปี พ.ศ.2504-2509 การ พัฒนาประเทศตามแผน พัฒนาดังกล่าว ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนเปลี่ยนแปลงทางด้านกายภาพของเมืองเป็นอย่างมาก การพัฒนานี้ส่งผลกระทบไปสู่ โบราณสถานเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีการขยายของเมืองเป็นจ�ำนวนมากท�ำให้โบราณสถานบางส่วนถูกรุกล�้ำพื้นที่ ปัญหา ดังกล่าวยังส่งผลกระทบมาให้เห็นถึงปัจจุบัน

16


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ภาพที่ 7 เจดีย์วัดพระศรีสรรเพชญ์ที่ได้รับการอนุรักษ์ ก่อปูนผอกใหม่ ถือเป็นแนวทางการอนุรักษ์ ที่ไม่ดำ�เนินการตามหลักการของกฏบัตรสากล

ภาพที่ 6 ขอบเขตพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาที่มา: แผนแม่บทเพือ่ การพัฒนาอุทยานประวัตศิ าสตร์พระนครศรีอยุธยา ระยะที2่ ภาพที่ 8 เจดีย์วัดสามปลิ้ม การตัดถนนโรจนะ

ในปี พ.ศ.2520 จึงได้มีการริเริ่มการจัดตั้งอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาขึ้นเพื่อท�ำการบูรณะ ปรับปรุง โบราณสถานอย่างจริงจัง ก่อนหน้านั้นในปี พ.ศ.2499 ได้มีการบูรณะปฏิสังขรณ์วิหารหลวงพ่อมงคลบพิตร โดยใช้เงินที่ได้ รับบริจาคจาก นายอูนุ ผูน้ ำ� พม่า สบทบกับงบประมาณรัฐบาลไทย การบูรณะครัง้ นีไ้ ด้ทำ� ตามแบบร่างของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยา นริศรานุวตั วิ งศ์ ทีท่ รงศึกษารูปแบบทีใ่ กล้เคียงกับวิหารสมัยพระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ ให้มากทีส่ ดุ โครงการดังกล่าวถือเป็นการ บูรณะสร้างอาคารขึ้นมาใหม่ในพื้นที่เดิม (สมชาติ จึงสิริอารักษ์, 2555) การด�ำเนินการบูรณะโบราณสถานภายในเกาะเมืองอยุธยาช่วงแรก จะพบว่าแนวทางการอนุรกั ษ์จะเน้นในการเสริมสร้าง ความมัน่ คงของตัวโบราณสถานเป็นหลัก แต่กย็ งั มีบางแห่งทีไ่ ด้รบั การบูรณะโดยการสร้างเสริมขึน้ ใหม่โดย การพอกปูนทับ โบราณสถานทั้งองค์ ถือเป็นการอนุรักษ์ที่ไม่ถูกต้องตามหลักการของกฏบัตร The Venice Charter โบราณสถานในกลุ่ม ดังกล่าวได้แก่ เจดีย์สามองค์วัดพระศรีสรรเพชญ์ (ภาพที่ 7) เจดีย์วัดใหญ่ไชยมงคล พระปรางค์วัดราชบูรณะ และเจดีย์วัด สามปลิ้ม (ภาพที่ 8) เป็นต้น การจัดท�ำแผนแม่บทเพือ่ การอนุรกั ษ์และพัฒนาพืน้ ทีเ่ กาะเมืองพระนครศรีอยุธยา จัดท�ำขึน้ มาถึงสามช่วง มีวตั ถุประสงค์ เพื่อสร้างกรอบในการอนุรักษ์ และแนวทางการพัฒนาให้ถูกหลักทางวิชาการ แต่อย่างไรก็ตามนครประวัติศาสตร์แห่งนี้ ยังคงประสบปัญหาในหลายด้าน ทั้งด้านมลพิษทางเสียง ฝุ่น ควัน จากยานยนต์ที่สัญจรโดยรอบพื้นที่ รวมถึงปัญหาจาก พ่อค้าแม่คา้ ทีม่ าค้าขายภายในพืน้ ทีโ่ บราณสถานทีส่ ำ� คัญ ปัญหากรรมสิทธิท์ ดี่ นิ ทีม่ ชี มุ ชนบางส่วนตัง้ ถิน่ ฐานทับซ้อนกับพืน้ ที่ โบราณสถาน แม้บางแห่งจะได้รับการย้ายไปอยู่แห่งอื่นแล้วก็ตาม ซึ่งแต่งต่างกับอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยโดยสิ้นเชิง รวมถึงปัญหาการพัฒนาสาธานูปโภคทีไ่ ร้ทศิ ทาง เช่นการขยายถนนภายในเกาะ เป็นต้น ล้วนเป็นการท�ำลายสภาพแวดล้อม ของบริบทเมืองประวัติศาสตร์ทั้งสิ้น

17


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ภาพที่ 9 พระปรางค์วัดบรมพุทธาราม ที่ได้รับการอนุรักษ์ ในปี พ.ศ. 2545 ด้วยการต่อยอดขึ้นใหม่ แบบไม่ถูกสัดส่วน

ภาพที่ 10 ภายในโบราณสถานวัดกุฎีดาว ที่มีการปูพื้นด้วยกระเบื้องดินเผาทั้งวัด การอนุรักษ์เกิดขึ้นในปี พ.ศ.2544-2545

ส่วนปัญหาการอนุรกั ษ์โบราณสถานในพืน้ ทีอ่ ทุ ยานประวัตศิ าสตร์พระนครศรีอยุธยาพบว่า ในช่วงปี พ.ศ.2543-2544 โบราณสถานหลายแห่งได้รบั การบูรณะโดยขาดความรูแ้ ละความเข้าใจในการปฏิบตั ทิ ถี่ กู ต้อง มีการต่อเติมโบราณสถานขึน้ ใหม่โดยไม่ค�ำนึงถึงรูปแบบดั้งเดิมหรือองค์ประกอบเดิมที่มีมาแต่อดีต ถือเป็นการท�ำลายหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เช่น การต่อเติมยอดพระปรางค์ทวี่ ดั บรมพุทธารามแบบผิดสัดส่วน (ภาพที9่ ) หรือการปรับพืน้ ทีโ่ บราณสถานหลายแห่ง โดยการ ใช้วสั ดุกระเบือ้ งปูพนื้ โบราณสถานทัง้ หมดท�ำให้โบราณสถานขาดคุณค่า และขาดสุนทรียภาพของความสวยงาม (ภาพที1่ 0) เนื่องจากการด�ำเนินการดังกล่าวมีความจ�ำเป็นต้องท�ำลายต้นไม้ที่ขึ้นโดยรอบโบราณสถานเกือบทั้งหมด การด�ำเนินงาน บูรณะโบราณสถานในช่วงนีเ้ ป็นการบูรณะแบบจ้างเหมา โดยกรมศิลปากรเป็นผูจ้ า้ งบริษทั เอกชนรับเหมามาปฏิบตั กิ ารแทน หน่วยงานรัฐ ท�ำให้อาจก่อให้เกิดปัญหาการบูรณะของช่างฝีมอื ทีข่ าดความช�ำนาญ รวมถึงมีการเร่งงานให้เสร็จตามวันเวลา ทีร่ ะบุไว้ในสัญญา ปัญหาดังกล่าวล้วนเป็นปัจจัยทีอ่ าจส่งผลต่อเสียหายให้แก่ตวั โบราณสถานไม่มากก็นอ้ ย รูปแบบการจ้าง เหมาในการบูรณะนี้ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์จากนักวิชาการ ด้านโบราณคดี นักประวัติศาสตร์ และองค์กรด้านการอนุรักษ์ เป็นอย่างมากแต่ปัญหา ดังกล่าวก็ยังไม่สามารถหาแนวทางการแก้ไขที่เหมาะสมได้เท่าที่ควร (สมชาติ จึงสิริอารักษ์, 2544) นอกจากนี้ลักษณะเกาะเมืองอยุธยาที่มีลักษณะชัยภูมิที่เป็นเกาะมีแม่น�้ำสามสายโอบล้อม ท�ำให้พื้นที่เป็น จุดเสี่ยง ต่อการประสบอุทกภัยเป็นประจ�ำทุกปี ดังที่ปรากฏในปี พ.ศ.2554 พบว่ามหาอุทกภัยได้สร้างความเสียหาย ให้กับพื้นที่ อุทยานประวัติศาสตร์เป็นอย่างวงกว้าง จากปัญหาดังกล่าวที่กล่าวมาทั้งหมด ล้วนเป็นเหตุที่สุ่มเสี่ยงต่อ การเสียหายของ โบราณสถาน และเสี่ยงต่อการถูกถอดจากการเป็นมรดกโลกเป็นอย่างยิ่งหากยังไม่มีแนวทางการ แก้ไขปรับปรุงใด ๆ อย่าง รีบเร่งที่เป็นรูปธรรม กรณีศึกษาที่ 3 อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย (ภาพที่ 11) โบราณสถานที่ส�ำคัญของพื้นที่ คือ ปราสาทหินพิมาย (ภาพที่ 12) ถือเป็นปราสาทหินในวัฒนธรรมขอมทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย การอนุรกั ษ์ปราสาทหลังนีเ้ ริม่ ต้นขึน้ ในปี พ.ศ.2477 โดยการด�ำเนินการของพลตรีหลวงวิจติ รวาทการ อธิบดีกรมศิลปากรในขณะนัน้ เริม่ เสนอให้มกี ารบูรณะปราสาทหินพิมาย ต่อมาอีก 2 ปีจงึ เริม่ มีการขุดแต่งเพือ่ เตรียมการบูรณะแต่โครงการอนุรกั ษ์ดงั กล่าวก็ตอ้ งหยุดชะงักลง ในปี พ.ศ.2507 เริม่ โครงการ บูรณะปราสาทหินพิมายอีกครั้ง เว้นช่วงห่างจากการขุดแต่งครั้งแรกถึง 30 ปี การอนุรักษ์ตัวปราสาทเลือกใช้วิธีอนัสติโลซิส ภายใต้การด�ำเนินงานของกรมศิลปากรร่วมกับยูเนสโกและส�ำนัก ฝรั่งเศสแต่งปลายบูรพาทิศ โดยให้ความช่วยเหลือทาง ด้านการเงินและทางเทคนิคพร้อมส่งผูเ้ ชีย่ วชาญเข้ามาร่วม ให้คำ� แนะน�ำ คือ แบร์นารด์ - ฟิฟปิ ป์ โกรส์ลเิ ยร์ (Bernard-Philippe Groslier) เป็นผู้อ�ำนวยการโครงการ ปิแอร์ ปิชาร์ด (Pierre Pichard) สถาปนิก และไพฟ์เฟร์ (Pfeiffer) นักโบราณคดี

18


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

โดยฝ่ายไทยมีหม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงษ์ เป็นผูร้ บั ผิดชอบด�ำเนินโครงการ ใช้เวลาด�ำเนินโครงการ 6 ปี การบูรณะจึงแล้วเสร็จ (ปิ่นรัชฎ์ กาญจนัษฐิติ, 2552)

ภาพที่ 12 ปราสาทหินพิมาย โบราณสถาน ที่สำ�คัญ ในอุทยานประวัติศาสตร์พิมาย

ภาพที่ 11 ขอบเขตพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย ที่มา: กรมศิลปากร

ภาพที่ 13 ประตูเมืองพิมายด้านทิศเหนือ ปัจจุบันอยู่ในระหว่างรอการอนุรักษ์

กรมศิลปากรได้ด�ำเนินการขุดแต่งและบูรณะ โดยของบประมาณเป็นรายปีต่อเนื่องเรื่อยมาจนกระทั่งมีการ จัดตั้ง ให้เป็นอุทยานประวัตศิ าสตร์พมิ ายขึน้ ในวันที่ 12 เมษายน พ.ศ.2532 ในพืน้ ทีน่ อกเหนือจากตัวปราสาทหิน ทีถ่ อื เป็นโบราณ สถานทีส่ ำ� คัญแล้ว ภายในอุทยานประวัตศิ าสตร์พมิ ายยังประกอบด้วยโบราณสถานอีกหลายแห่ง เช่น เมรุพรหมทัต กุฎฤิ าษี ที่เป็นอโรคยาศาลประจ�ำเมือง ก�ำแพงเมือง ประตูเมืองทิศต่าง ๆ และสระน�้ำโบราณ (บาราย) ซึ่งโบราณสถาน ในปัจจุบัน บางแห่งได้รบั การอนุรกั ษ์ให้อยูใ่ นสภาพทีส่ มบูรณ์แล้ว แต่บางแห่งก็ยงั อยูใ่ นสภาพทีข่ าดการดูแล เช่น ประตูเมืองด้านทิศเหนือ (ภาพที่ 13) ที่ปัจจุบันทรุดโทรมและมีการสร้างค�้ำยันเหล็กไว้รอการบูรณะในอนาคต (คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมือง และนฤมิตศิลป์, 2552) ในอุทยานประวัตศิ าสตร์พมิ าย ก็พบปัญหาในด้านการอนุรกั ษ์ทไี่ ม่ตา่ งจากอุทยานประวัตศิ าสตร์อยุธยา คือ การรุก ล�้ำพื้นที่โบราณสถานที่มีมาตั้งแต่อดีต การสร้างเมืองใหม่ทับซ้อนเมืองโบราณท�ำให้โบราณสถานบางแห่งถูกรุกล�้ำและถูก ท�ำลาย (ภาพที1่ 4) สร้างความเสียหายแก่โบราณสถานเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในส่วนก�ำแพงเมืองพิมาย ทีม่ กี ารสร้างอาคาร ทับพืน้ ทีแ่ นวก�ำแพงเมืองเดิม รวมถึงสถานทีร่ าชการบางแห่งก็ยงั รุกล�ำ้ พืน้ ทีก่ ำ� แพงเมืองโบราณ เช่น อาคารพิพธิ ภัณฑสถาน แห่งชาติพมิ าย โรงเรียนพิมายวิทยา เป็นต้น รวมถึงบารายใหญ่ทตี่ งั้ อยูท่ างทิศใต้ของเมือง ปัจจุบนั มีการถมพืน้ ทีเ่ พือ่ ใช้สร้าง โรงงานอุตสาหกรรม และอาคารพักอาศัยบางส่วน (ภาพที่15) จากปัญหาดังกล่าวกรมศิลปากรจึงได้ด�ำเนินการจัดท�ำแผน แม่บทเพือ่ การอนุรกั ษ์ขนึ้ ในปี พ.ศ.2552 โดยมีวตั ถุประสงค์ของโครงการเพือ่ การส�ำรวจศึกษาข้อมูลต่าง ๆ ในพืน้ ทีโ่ ดยรอบ ในการจัดท�ำแผนแม่บทประกอบด้วยการบูรณาการองค์ความรู้ ทีเ่ กีย่ วข้องเป็นองค์รวมในการด�ำเนินงานอนุรกั ษ์และพัฒนา

19


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ภาพที่ 14 อาคารแถวที่เปิดเป็นร้านค้าพาณิชย์ที่ตั้งอยู่ ด้านหน้าปราสาทหินพิมาย และสร้างทับบนพื้นที่สระน�้ำโบราณ

ภาพที่ 15 อาคารที่สร้างทับบนพื้นที่สระน�้ำโบราณ (บารายใหญ่)

อุทยานประวัตศิ าสตร์พมิ าย เพือ่ แก้ปญ ั หาการบุกรุกพืน้ ทีแ่ ละท�ำลายโบราณสถาน รวมถึงการศึกษาในการด�ำเนินงานอนุรกั ษ์ มรดกทางวัฒนธรรม (คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์, 2552) ปัจจุบันโครงการดังกล่าวได้ด�ำเนินการ ตามแผนเพียงแค่การอนุรกั ษ์โบราณสถานเพียงเท่านัน้ แต่ยงั ไม่สามารถ ด�ำเนินการเรือ่ งการบุกรุกพืน้ ทีไ่ ด้ รวมถึงยังประสบ ปัญหาเกี่ยวกับการประกาศขอบเขตโบราณสถานที่ยังเป็นข้อพิพาทระหว่างประชาชนในพื้นที่กับหน่วยงานกรมศิลปากร

4. บทสรุป ข้อเสนอแนะแนวทางการอนุรกั ษ์มรดกทางวัฒนธรรม เราจะไปทางไหน? เมือ่ ศึกษาทฤษฎีแนวคิดทีเ่ กีย่ วข้องในการอนุรกั ษ์ หลายทฤษฎีทำ� ให้สามารถประมวลได้วา่ คุณสมบัตขิ องการอนุรกั ษ์ โบราณสถานที่ดี ไม่ใช่เป็นหน้าที่เพียงแต่ภาครัฐเท่านั้น ภาคประชาชนควรที่จะมีบทบาทมากขึ้นกว่าแต่ก่อน หน้าที่หน่วยงานภาครัฐ ความมีหลักในการบริหารและแผนในการปฏิบัติงานที่ดี รู้หน้าที่หลักของตนเองและ ขอบเขตของอ�ำนาจที่ได้รับ และต้องมีเอกภาพในการจัดการองค์กรที่สอดคล้องกับระบบสังคม กฏหมาย และวัฒนธรรม รวมถึงควรมีการกระจายอ�ำนาจสูท่ อ้ งถิน่ ให้มากขึน้ จากการศึกษาทฤษฎีการอนุรกั ษ์ของประเทศอังกฤษ ( English Heritage) พบว่าได้มีการกระจายอ�ำนาจในการอนุรักษ์ออกเป็น 2 ส่วน ทั้งส่วนกลาง (รัฐบาล) และส่วนท้องถิ่น (เทศบาล) ตามความ ส�ำคัญและคุณค่าของโบราณสถานนัน้ สนับสนุนการมีสว่ นร่วมของประชาชนโดยตรง ทัง้ ทางด้าน การก�ำหนดแผนนโยบาย หรือองค์กรอิสระ โดยมีอำ� นาจในการตรวจสอบการปฏิบตั งิ านของผูป้ ฏิบตั ขิ องรัฐ เมือ่ น�ำ ทฤษฎีดงั กล่าวมาพิจารณาพบว่ามี ความสอดคล้องบางประการกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ของไทย ที่เริ่ม กระจายอ�ำนาจไปสู่ส่วนท้องถิ่นมากขึ้น แม้ว่าอาจจะยังไม่เต็มใบนักก็ตาม รวมถึงการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนในการ อนุรักษ์ที่เริ่มมีการเปิดรับความคิดของคน ในชุมชนมากขึ้น หน้าที่ของภาคประชาชน ประชาชนเองต้องเป็นประชาชนที่มีคุณภาพ มีความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ ทราบ ถึงความส�ำคัญของโบราณสถาน วัฒนธรรมของตน รวมถึงวิธีการอนุรักษ์เบื้องต้น รวมทั้งการจัดตั้งกลุ่ม หรือองค์กรอิสระ ที่สามารถตรวจสอบการท�ำงานของภาครัฐได้อย่างเป็นเอกภาพ แต่พบว่าส่วนใหญ่ในอดีตแนวทางการอนุรักษ์โบราณสถานในประเทศไทยจะเน้นการรวมศูนย์เป็นหลัก โดยเจ้า หน่วยงานรัฐจะท�ำหน้าทีน่ ี้ ภาคประชาชนยังไม่มบี ทบาทในการเสนอแนวความคิดเท่าทีค่ วร ในช่วงก่อนการด�ำเนินโครงการ อุทยานประวัติศาสตร์ของประเทศไทยโบราณสถานบางแห่งถูกท�ำลายลงจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของประชาชนในพื้นที่ และนโยบายบางช่วงของภาครัฐแทนที่จะส่งเสริมการอนุรักษ์ ในทางตรงกันข้ามกับออกนโยบายที่ส่งผลให้ เกิดการท�ำลาย

20


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

โบราณสถาน เช่น ในปี พ.ศ.2486 ได้ออกพระราชบัญญัติให้น�ำที่ราชพัสดุออกจ�ำหน่ายแก่ราษฎร ท�ำให้มีการจ�ำหน่ายที่ดิน และพัสดุหลายแห่งในพื้นที่พระนครศรีอยุธยา ออกจ�ำหน่ายแก่ประชาชนเป็นจ�ำนวนมาก นโยบายดังกล่าวท�ำให้โบราณ สถานภายในเกาะเมืองบางส่วนถูกบุกรรุกเป็นอย่างมาก ในปี พ.ศ.2490 ซึง่ ถือเป็นช่วงทีเ่ ศรษฐกิจตกต�ำ่ กระทรวงวัฒนธรรม จึงอนุญาตให้มีการประมูลซากอิฐเก่าจากซากโบราณสถาน วัดร้าง เพื่อเป็นรายได้ของแผ่นดิน ท�ำให้โบราณสถานภายใน เมืองพระนครศรีอยุธยาและพื้นที่โดยรอบเสียหายเป็นจ�ำนวนมากถือ ถือเป็นภัยคุกคามจากนโยบายของรัฐบาล ครั้งที่ 2 ที่ส่งผลต่อความเสียหายของโบราณสถานในเมืองพระนครศรีอยุธยา แนวทางการด�ำเนินงานการอนุรักษ์โบราณสถานในบางครั้งแทนที่จะส่งเสริมให้โบราณสถานด�ำรงคงอยู่ แต่อาจ ส่งผลเสียกลายเป็นการท�ำลายให้โบราณสถานหมดคุณค่าลงไปโดยปริยาย และยังเป็นการท�ำลายหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ ที่ทรงคุณค่าที่มีมาแต่อดีตให้หมดไป การบูรณะในช่วงแรกทั้งที่อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาและอุทยาน ประวัติศาสตร์สุโขทัย พบว่าบางส่วนมีการอนุรักษ์โดยการสร้างผอกทับโบราณสถานเดิม รวมถึงมีการต่อเติมรูปแบบของ โบราณสถานทีม่ ากเกินกว่าหลักฐานทีป่ รากฏอยู่ ลักษณะดังกล่าวเป็นการด�ำเนินงานด้านการอนุรกั ษ์ทขี่ ดั กับกฏบัตรสากล แสดงให้เห็นถึงการด�ำเนินงานที่ขาดความรู้ และขาดประสบการณ์ แนวคิดเรื่องอุทยานประวัติศาสตร์ ที่ระบุไว้ในกฏบัตร สากล The Florence Charter หากศึกษาให้ดีจะเห็นได้ว่านอกจาก ตัวโบราณสถานที่เราต้องอนุรักษ์เป็นหลักแล้วนั้น ยังคงต้องค�ำนึงถึงบริบทโดยล้อมของพื้นที่รอบ ๆ โบราณสถานอีกด้วย เช่น ต้นไม้ใหญ่ สภาพแวดล้อมต่าง ๆ รวมถึงจะต้อง ไม่สร้างสิง่ ของใด ๆ ขึน้ มาบดบังโบราณสถาน แต่การด�ำเนินงานของอุทยานประวัตศิ าสตร์ในประเทศไทยส่วนใหญ่ ค�ำนึงถึง ข้อก�ำหนดนี้เพียงครึ่งเดียว คือการเน้นการเสริมความสมบูรณ์ของตัวโบราณสถานเป็นหลัก ขาดการสนใจบริบทรอบข้าง เท่าที่ควร พบว่าว่าอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย และอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ในบางส่วนมีการโค่นต้นไม้ เก่าลงเพื่อเปิดพื้นที่ให้เป็นที่จอดรถ และมีการปลูกไม้ประดับแทนต้นไม้เดิม ลักษณะดังกล่าวท�ำให้ตัวโบราณสถานขาด บริบทของความเป็นเมืองประวัติศาสตร์โดยสิ้นเชิง นอกจากนี้การใช้วัสดุกระเบื้องดินเผาปูพื้นโดยรอบโบราณสถานโดย เฉพาะที่อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา แสดงให้เห็นถึงการอนุรักษ์ที่ขาดความสนใจต่อบริบทโดยรอบ จริงอยู่ว่า อาจจะพบหลักฐานว่าวัดในสมัยอยุธยาแต่เดิมนิยมที่จะมีการปูกระเบื้องดินเผาในพื้นที่วัด แต่ก็ไม่มีความจ�ำเป็นที่จะต้อง บูรณะด้วยการปูกระเบื้องใหม่ในพื้นที่โบราณสถานทั้งหมด หากเราด�ำเนินการตามแนวทางการเสนอแนะตามกฏบัตร Athens Charter ที่เน้นการคงอยู่โดยไม่ไปต่อเติมส่วนใดๆของโบราณสถาน ข้อเสนอแนะเพียงแค่เปิดส่วนที่ขุดพบว่าพื้นที่ นีเ้ คยปูกระเบือ้ งมาตัง้ แต่ในอดีตเพียงบางส่วน เราก็สามารถอนุรกั ษ์ทงั้ โบราณสถานรวมถึงให้ความรูใ้ นด้านโบราณคดี และ รักษาพื้นที่บริบทสภาพแวดล้อมทางประวัติศาสตร์โดยรอบได้ในเวลาเดียวกัน ในส่วนของการบุกรุกพื้นที่โบราณสถานของประชาชน ก็ถือเป็นปัญหาหนึ่งในด้านการจัดการเนื่องจาก ปัญหาดัง กล่าวเป็นปัญหาทีล่ ะเอียดอ่อนเป็นการรวมปัญหาด้านสังคมเข้ามาด้วย จะเห็นได้วา่ การด�ำเนินงานของ อุทยานประวัตศิ าสตร์ พระนครศรีอยุธยา และอุทยานประวัติศาสตร์พิมาย มีการประสบปัญหาในเรื่องนี้เป็นอย่างมาก ประชาชนตั้งถิ่นฐานทับ ซ้อนอยู่ในพื้นที่โบราณสถานเป็นจ�ำนวนมาก จึงต้องมีการออกกฏหมายเวนคืนพื้นที่เป็นจ�ำนวนมาก ใช้งบประมาณในการ เวนคืนเป็นเงินจ�ำนวนมหาศาล ท�ำให้ประชาชนในพืน้ บางส่วนประสบปัญหาตามมา แต่หลักการ ดังกล่าวก็เหมาะสมในบาง สถานการณ์เท่านัน้ ควรเน้นเฉพาะส่วนพืน้ ทีโ่ บราณสถานหลักทีส่ ำ� คัญไม่ใช่พนื้ ทีท่ งั้ หมด พบว่ามีการด�ำเนินงานโดยใช้แนวคิด ที่ต้องการให้อุทยานประวัติศาสตร์เป็นพื้นที่ที่ปราศจากผู้คนอยู่อาศัย (Dead Monument) เหลือแต่เพียงโบราณสถาน และต้นไม้ทปี่ ลูกขึน้ ใหม่เท่านัน้ มีรวั้ รอบขอบชิด มีประตูควบคุมการเปิดปิดเป็นเวลา โดยขอยกตัวอย่างกรณีศกึ ษาทีอ่ ทุ ยาน ประวัติศาสตร์พิมาย ที่ปัจจุบันพื้นที่หน้าปราสาทจะเต็มไปด้วยอาคารตึกแถว ร้านค้า ตลาด ชุมชน (ภาพที่ 16) เป็นพื้นที่ ทีป่ ระชาชนในเมืองออกมาท�ำมาหากิน และเป็นพืน้ ทีก่ จิ กรรมต่าง ๆ ของเมือง หากเรา จินตนาการตามแนวคิดดังกล่าวข้างต้น วันหนึง่ แนวทางการอนุรกั ษ์ทสี่ ดุ ขัว้ คือโบราณสถานทีป่ ราศจากผูค้ น (Dead Monument) นีเ้ กิดขึน้ จริง ตึกแถวต้องหายไป จะท�ำให้การด�ำรงชีวิตของผู้คนในพื้นที่ต้องเปลี่ยนไป กิจกรรมที่เคยมีในพื้นที่ก็จะขาดหายไป เกิดพื้นที่ร้างผู้คน เหลือเพียง ปราสาทหินหลังเดียวที่ตั้งตระหง่านท่ามกลางต้นไม้ขนาดเล็กที่ปลูกขึ้นใหม่ (ภาพที่ 17-18) ก็คงไม่ต่างกับเมืองร้าง มันจะ

21


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ภาพที่ 16 มุมมองด้านทิศใต้ของเมืองพิมาย ที่มองเห็นปราสาทหินพิมายเป็นฉากหลังในปัจจุบัน

ภาพที่ 17 แนวทางการอนุรักษ์ทางเลือก ควบคุมป้ายโฆษณา และเสาไฟฟ้า เพือ่ เพิม่ ส่งเสริมมุมมอง ของตัวปราสาทหินพิมายให้โดดเด่น แนวทางนี้ เน้นให้คนยังมีส่วนในการด�ำรงอยู่ร่วมกับ โบราณสถานท�ำให้เมืองยังคงมีชีวิตอยู่

ภาพที่ 18 แนวอนุรักษ์แบบสุดขั้ว ทุกอย่างหายไป เหลือแต่โบราณสถาน กับการจัดภูมิทัศน์ใหม่ ที่ปราศจากชีวิต

22


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

เหมาะสมหรือไม่ ถือเป็นเรื่องที่น่าคิดเป็นอย่างยิ่ง หากเราดูเนื้อหากฏบัตรสากลในด้านการอนุรักษ์จะพบว่ากฏบัตรที่ออก มาในช่วงหลังที่ออกมาเพิ่มเติมนั้น จะเน้นให้ประชาชนสามารถอยู่ร่วมกับกับโบราณสถานได้ และเน้นการให้ประชาชนมี ส่วนร่วมในการอนุรักษ์ มีสิทธิในการเสนอแนะ แนวทางที่เหมาะสมที่เหมาะกับพื้นที่ของตน ซึ่งก็จะตรงกับในหลายทฤษฎีด้านการอนุรักษ์ จะท�ำให้ประชาชนเกิด จิตส�ำนึกในการหวงแหนมรดกทางวัฒนธรรมของคนในพื้นที่ได้มากกว่าที่เป็นอยู่ หากเป็นดังนั้นแนวคิดในการด�ำเนินงาน อุทยานประวัติศาสตร์ของไทยที่ผ่านมาถือว่ามาถูกทางหรือไม่ หน่วยงานที่ดูแลด้านการอนุรักษ์ให้ความส�ำคัญของคนใน พืน้ ทีม่ ากเพียงพอแล้วหรือยัง เพราะหากต้องการให้อทุ ยานประวัตศิ าสตร์เป็นเพียงแค่สวนสาธารณะรองรับให้ผคู้ นมาท่องเทีย่ ว เพื่อดึงเม็ดเงินด้านเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว แต่ไม่ได้ท�ำให้คนพื้นที่เกิดส�ำนักรัก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์แล้ว โบราณ สถานเหล่านั้นก็คงไม่ต่างจากกองหิน กองอิฐโบราณกองหนึ่งเท่านั้น และก็คงเป็นการยากที่จะสร้างให้ประชาชนในพื้นที่ เกิดตระหนัก และก้าวไปสู่การอนุรักษ์แบบยั่งยืนได้ สุดท้ายยังพบปัญหาที่น่ากังวลต่อการจัดกิจกรรมภายในพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์อีกเรื่อง คือ การจัดงานแสงสี เสียง ที่เน้นด้านการท่องเที่ยวให้คนเข้ามา ชมโบราณสถานยามค�่ำคืนประกอบกับการแสดงต่าง ๆ การแสดงดังกล่าวมีการ ใช้เครื่องเสียงที่มีก�ำลังขับมาก ๆ วางไว้ใกล้กับโบราณสถาน เสียงที่ดังมาก ๆ สร้างแรงสั่นสะเทือนที่สามารถท�ำให้โบราณ สถานพังทลายได้ไม่ยาก รวมถึงมีการ จุดดอกไม้ไฟระหว่างการแสดงที่มีผลกระทบต่อโบราณสถานโดยตรง เนื่องจากเวที การแสดงส่วนใหญ่ใช้พนื้ ทีภ่ ายใน โบราณสถานเป็นหลัก ในอุทยานประวัตศิ าสตร์สโุ ขทัยจะใช้พนื้ ทีบ่ ริเวณวัดมหาธาตุ และ วัดสระศรี อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาใช้พื้นที่บริเวณบึงพระรามใกล้วัดมหาธาตุ ส่วนอุทยานประวัติศาสตร์ พิมาย ใช้พื้นที่บริเวณภายในลานปราสาท ระหว่างการจัดงาน แสง สี เสียง ในบางแห่งจะมีการจัดพื้นที่ภายในโบราณสถาน เป็นทีน่ งั่ รับประทานอาหาร ให้แก่นกั ท่องเทีย่ วชาวต่างประเทศ เพือ่ ชมแสง สี เสียง ระหว่างทานอาหาร พบว่านักท่องเทีย่ ว ต่างชาติบางกลุม่ มีการดืม่ เครือ่ งดืม่ ทีม่ แี อลกอฮอล์ภายในโบราณสถาน หากพิจารณาให้ลกึ ซึง้ โบราณสถานนัน้ เคยมีสถานะ เป็นวัดในพุทธศาสนา กิจกรรมลักษณะนีเ้ หมาะสมหรือไม่ ดังนัน้ ควรมีการก�ำหนดกิจกรรมภายในพืน้ ทีอ่ ทุ ยานประวัตศิ าสตร์ ให้เหมาะสม ก�ำหนดโซนให้การกิจกรรมให้เหมาะสม ไม่ควรให้นโยบายส่งเสริมการท่องเทีย่ วมามีบทบาทมากกว่านโยบาย ด้านการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม หากเป็นเช่นนั้นแล้วเราจะอนุรักษ์ไปเพื่ออะไร จึงเป็นค�ำถามปลายเปิดที่ยากที่จะหา ค�ำตอบ

7.

เอกสารอ้างอิง

กรมศิลปากร. (2526). จารึกสมัยสุโขทัย. กรุงเทพมหานคร: กรมศิลปากร. _________. (2532). ทฤษฎีและแนวปฏิบตั กิ ารอนุรกั ษ์อนุสรณ์สถานและแหล่งโบราณคดี. กรุงเทพมหานคร:กรมศิลปากร. _________. (2528). ระเบียบกรมศิลปากรว่าด้วยการอนุรักษ์โบราณสถาน. มปท. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. (2552). รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการ จัดท�ำแผน แม่บทเพือ่ การอนุรกั ษ์ และพัฒนาอุทยานประวัตศิ าสตร์พมิ าย. มหาสารคาม: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. (2553). รายงานฉบับสมบูรณ์แผนแม่บทระยะที่ 2 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2553 โครงการการอนุรักษ์และพัฒนานครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศิลปากร. นิคม มูสิกะคามะ. (2548). แนวปฏิบัติในการสงวนรักษาโบราณสถาน “ตามพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 แก้ไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2535”. กรุงเทพมหานคร: กรมศิลปากร.

23


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ยงธนิศร์ พิมลเสถียร. (2548). “40 ปี หลังเวนิชชาร์เตอร์”.เอกสารประกอบการสัมมนา ประจ�ำปี 2548 2 ทศวรรษอิโคโมสไทย : การอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรม เส้นทางสู่กฎบัตรประเทศไทย. ปิ่นรัชฎ์ กาญจนัษฐิติ. (2552). การอนุรักษ์มรดกสถาปัตยกรรมและชุมชน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์. วสุ โปษยะนันทน์. (2548). “วิเคราะห์ ระเบียบกรมศิลปากรว่าด้วยการอนุรกั ษ์โบราณสถาน”.เอกสารประกอบการสัมมนา ประจ�ำปี 2548 2 ทศวรรษอิโคโมสไทย : การอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรม เส้นทางสู่กฎบัตรประเทศไทย. _________. (2537). การศึกษาเปรียบเทียบการบูรณะโบราณสถาน อนัสติโลซิส. กรุงเทพมหานคร: กรมศิลปากร. วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร. (2561). ประวัตศิ าสตร์สถาปัตยกรรมไทย พัฒนาการ แนวความคิด และการคลีค่ ลายรูปแบบ. ขอนแก่น: เพ็ญ พริ้นติ้ง จ�ำกัด. สมชาติ จึงสิริอารักษ์.(2545).“วัดกุฎีดาวหลังการบูรณในปี พ.ศ.2544 ปัญหาจินตภาพและความถูกต้องทางประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม”.เมืองโบราณ, ปีที่ 27(2), 8-14. ________. (2555).“ความและแนวความคิดในการอนุรักษ์โบราณสถานของไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน”.เมืองโบราณ, ปีที่ 38(2), 84-103. สมเด็จพระพนรัตน์. (2535). พระราชพงศาวกรุงศรีอยุธยาและจุลยุทธการวงศ์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ ราชวิทยาลัย. สุนนท์ ปาละกะวงศ์ ณ อยุธยา.(2537). “70ปี แห่งการอนุรักษ์มรดกทางสถาปัตยกรรม”. หน้าจั่ว วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, (12), 30-48. สิทธิพร ภิรมย์รื่น. (2547) “แนวความคิดและหลักการอนุรักษ์ชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม. เอกสาร การประชุมสัมมนาวิชาการเรือ่ ง สถาปัตยกรรมสูโ่ ลกกว้างสร้างเครือข่ายเชือ่ มโยงท้องถิน่ . คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 12-14 พฤษภาคม 2547. Charter on the Built Vernacular Heritage. (1999). ICOMOS 12th General Assembly, in Mexico, October 1999. Mexico _________Charter on the Protection and Management of Underwater Cultural Heritage, Lausanne:1996. The Fine Arts Department. (1992). Inventory of Sukhothai Monuments in Sukhothai Historical Park. ICOMOS 12th General Assembly.(1999). International Cultural Tourism Charter, Mexico City:. _________The Florence Charter-Historic Gardens, Florence:1981. _________The Venice Charter, Venice:1964. _________Thailand: The Fine Arts Department. _________The Athens Charter for the Restoration of Historic Monuments, Athens: 1931. _________The Burra Charter, “The Australia ICOMOS Charter for Places of Cultural Significance, Burra: 1999.

24


บทความวิจัย

- Research Article -


ลักษณะทางกายภาพ ของพื้นทีใ่ ห้บริการตรวจรักษา และส่วนเกีย่ วเนือ่ งแผนกผูป้ ว่ ยนอก : กรณีศกึ ษาแผนกสูตนิ รีเวช และแผนกกุมารเวช Physical Characteristics of Examination Area and Related Parts in Out-Patient Department: A Case Study Obstetrics and Gynecology Department and Pediatrics Department Received : May 24, 2019 Revised : June 19, 2019 Accepted : July 15, 2019

พาขวัญ รูปแก้ว1* และ ไตรวัฒน์ วิรยศิริ2 1

นักศึกษาปริญญาโท คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

2

ศาสตราจารย์ ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

Pakwan Roopkaew1* and Traiwat Viryasiri2 1

Graduate Student, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand, 10330

2

Professor, Department of Architecture, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand, 10330

*Email: pakwan278@gmail.com


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

บทคัดย่อ งานวิจยั เรือ่ งคุณสมบัตผิ นังดินมูลกระบือ บ้านหนองโนใต้ ต�ำบลนาดูน อ�ำเภอนาดูน จังหวัดหาสารคาม มีจดุ มุง่ หมาย บทความนีน้ ำ� เสนองานวิจยั ด้านกายภาพของพืน้ ทีใ่ ห้บริการตรวจรักษาและส่วนเกีย่ วเนือ่ ง แผนกผูป้ ว่ ยนอกแผนกสูตนิ รีเวช และกุมารเวช โดยเข้าศึกษาพืน้ ทีข่ องโรงพยาบาล 3 กลุม่ ได้แก่ โรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ โรงพยาบาลรัฐ และโรงพยาบาล เอกชน เพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพ การวางผัง ลักษณะการใช้พื้นที่และปัญหาจากการใช้พื้นที่ให้บริการตรวจโรคและ ส่วนเกี่ยวเนื่องแผนกสูตินรีเวชและแผนกกุมารเวช และหาปัจจัยที่ส่งผลต่อลักษณะทางกายภาพและการวางผังของแผนก ดินมูลกระบือ, วัสดุท้องถิ่นกรณีศึกษา ส�ำรวจ สังเกตุ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ใช้พื้นที่ เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลและ วิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการศึกษาและอภิปรายผล โดยจากการศึกษาพบว่า ห้องตรวจของแผนกสูตินรีเวชและแผนกกุมารเวชนั้น มีลักษณะทางกายภาพที่แตกต่าง จากห้องตรวจและวินิจฉัยของแผนกผู้ป่วยนอกแผนกอื่น เนื่องจากการตรวจทางนรีเวชมีการใช้อุปกรณ์เฉพาะทาง ในทาง เดียวกันห้องตรวจและวินจิ ฉัยแผนกกุมารเวชจะมีลกั ษณะทางกายภาพทีเ่ สริมสร้างบรรยากาศทีแ่ ตกต่างจากห้องตรวจและ วินิจฉัยทั่วไป เพื่อให้ผู้ป่วยเด็กที่มารับบริการนั้นมีความผ่อนคลาย ค�ำส�ำคัญ: แผนกผู้ป่วยนอก แผนกสูตินรีเวช แผนกกุมารเวช

ABSTRACT This article presents the physical research of examination area and related parts of the outpatient department, obstetrics and gynecology department and pediatrics department. This research studied the areas of hospitals in 3 groups: medical schools hospitals, public hospitals and private hospitals to study physical characteristics, planning, use of space and problems from the use of areas for examination area and related parts of the obstetrics and gynecology department and pediatric department to find factors that affect the physical characteristics and planning of the gynecology and pediatric department with a research process by studying information in terms of meaning, experts and users interview, case studies survey and observations, collect data, process and analyze data, summary of study results and discussion of results The study found that the examination room of the obstetrics and gynecology department and the pediatrics department have a physical characteristic that is different from the examination and diagnosis rooms of other department's outpatient departments because the gynecological examination uses specialized equipment. In the same way, the pediatric department's examination room have a physical appearance that creates a different atmosphere from the general examination and diagnostic room so that patients who come to receive the service are relaxed. Keywords: Outpatient Department, Obstetrics and gynecology department, Pediatrics department

27


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

1. บทน�ำ โรงพยาบาลเป็นสถานที่ให้บริการด้านสาธารณสุขพื้นฐานที่จ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ มีหน้าที่หลักในการ ให้บริการด้านสุขภาพแก่ผู้คนในสังคม โดยในปัจจุบันปัญหาทางด้านสุขภาพยังคงเป็นปัญหาส�ำคัญที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลจึงต้องมีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการให้บริการเพียงพอต่อความต้องการของผู้ป่วย พื้นที่ในโรงพยาบาลที่มีผู้ป่วยเข้ามาใช้บริการอย่างต่อเนื่องได้แก่แผนกผู้ป่วยนอก และหอผู้ป่วยใน แผนกผู้ป่วยนอกเป็น พืน้ ทีท่ ำ� การตรวจคัดกรองโรคเบือ้ งต้น วินจิ ฉัยและบ�ำบัดรักษาโรคทัว่ ไป ซึง่ ในแต่ละวันมีผปู้ ว่ ยจ�ำนวนมากทีเ่ ข้ามาใช้บริการ ในโรงพยาบาลล้วนเข้ามารับบริการในส่วนนีท้ งั้ สิน้ การออกแบบพืน้ ทีภ่ ายในแผนกผูป้ ว่ ยนอกและห้องตรวจวินจิ ฉัยส�ำหรับ ผู้ป่วยนอกที่มีคุณภาพ และเป็นไปตามมาตรฐาน จึงมีความส�ำคัญอย่างมาก โดยค�ำนึงถึงทั้งด้านวิธีการรักษา การใช้งาน พื้นที่ เส้นทางสัญจรของแพทย์ บุคลากรและผู้ป่วย แผนกสูตนิ รีเวชและแผนกกุมารเวชเป็นแผนกทีม่ คี วามเกีย่ วเนือ่ งกันของผูม้ ารับริการ เนือ่ งจากแผนกสูตนิ รีเวชเป็น แผนกที่ให้บริการทางการแพทย์เกี่ยวกับโรคของระบบสืบพันธุ์ของเพศหญิงรวมไปถึงการดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในระยะตั้งครรภ์ และระยะหลังคลอดบุตร จึงมีความซับซ้อนในด้านขั้นตอนการให้บริการ และมีการใช้เครื่องมือเฉพาะทางที่ต้องการพื้นที่ ในการท�ำงานของผูใ้ ห้บริการแตกต่างจากห้องตรวจทัว่ ไป อีกทัง้ ต้องค�ำนึงถึงความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยของผูป้ ว่ ย ในส่วนของแผนกกุมารเวชเป็นแผนกที่ให้บริการทางการแพทย์เกี่ยวกับโรคในทารก เด็ก และวัยรุ่นจึงมีความต้องการพื้นที่ ที่แตกต่างจากแผนกผู้ป่วยนอกทั่วไป นอกจากนี้ในปัจจุบันโรงพยาบาลได้ถูกแบ่งประเภทตามการดูแลควบคุมบริการเป็น โรงพยาบาลรัฐบาลและโรงพยาบาลเอกชน จึงเกิดความสนใจทีจ่ ะศึกษาพืน้ ทีใ่ ห้บริการตรวจโรคและส่วนเกีย่ วเนือ่ งในแผนก สูตินรีเวชและแผนกกุมารเวชของโรงพยาบาลที่ต่างประเภทกัน 1.1 วัตถุประสงค์ในการวิจัย เพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพและการวางผังของพื้นที่ให้บริการตรวจโรคและส่วนเกี่ยวเนื่องแผนกสูตินรีเวชและ แผนกกุมารเวชของโรงพยาบาลทัง้ 3 กลุม่ ได้แก่ โรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ โรงพยาบาลรัฐ และโรงพยาบาลเอกชน ลักษณะ การใช้พื้นที่และปัญหาจากการใช้พื้นที่ของพื้นที่ให้บริการตรวจโรคและส่วนเกี่ยวเนื่องแผนกสูตินรีเวชและแผนกกุมารเวช และหาปัจจัยที่ส่งผลต่อลักษณะทางกายภาพและการวางผังของแผนกสูตินรีเวชและแผนกกุมารเวช ขอบเขตของงานวิจัย ศึกษาลักษณะทางกายภาพและการใช้งานของพื้นที่ให้บริการตรวจโรคในแผนกและส่วนเกี่ยวเนื่องในแผนกสูตินรีเวชและ แผนกกุมารเวช ในเวลาท�ำการซึ่งเป็นการให้บริการหลักเท่านั้น ไม่นับรวมคลินิกพิเศษนอกเวลา ศึกษาพื้นที่ให้บริการตรวจ โรคและส่วนเกี่ยวเนื่องในแผนกสูตินรีเวชและแผนกกุมารเวชของโรงพยาบาลกรณีศึกษาทั้งหมด 3 กลุ่ม ประกอบไปด้วย โรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ โรงพยาบาลรัฐ และ โรงพยาบาลเอกชน โดยวิจัยนี้จะไม่วิจัยในผู้ป่วยและแพทย์ 1.2 ระเบียบวิธีการวิจัย เป็นการศึกษาเชิงประจักษ์ เพื่อเข้าใจลักษณะขนาดของพื้นที่และลักษณะเฉพาะของพื้นที่ให้บริการตรวจโรคและ ส่วนเกี่ยวเนื่องในแผนกสูตินรีเวชและแผนกกุมารเวช โดยสืบค้นจากเอกสาร ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวกับแผนกสูตินรีเวชและ แผนกกุมารเวช ในด้านความหมาย ขอบเขต แนวทางการออกแบบ วิจัย และเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาจาก การสืบค้นเอกสารและหนังสือ ก�ำหนดกรอบการศึกษา สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ สถาปนิกจากส�ำนักงานสถาปนิกที่มี ความเชีย่ วชาญในการออกแบบอาคารสถานพยาบาล ศึกษาจากแบบสถาปัตยกรรมของพืน้ ทีก่ รณีศกึ ษา เก็บข้อมูลจากการ สัมภาษณ์พยาบาลผูใ้ ช้งานพืน้ ที่ เก็บรวบรวมข้อมูลทางด้านกายภาพและศึกษาการใช้พนื้ ทีใ่ ห้บริการตรวจโรคและส่วนเกีย่ ว เนื่องในแผนกสูตินรีเวชและแผนกกุมารเวช ท�ำการรวบรวมข้อมูลด้วยการสังเกตการใช้พื้นที่ในแผนกสูตินรีเวชและแผนก กุมารเวช และสัมภาษณ์พยาบาลที่ให้บริการในแผนกสูตินรีเวชและแผนกกุมารเวช เมื่อรวบรวมข้อมูลปัจจุบันในประเด็น ส�ำคัญต่างๆ จึงวิเคราะห์ขอ้ มูลสภาพการใช้พนื้ ที่ ปัญหาในการใช้พนื้ ที่ ความต้องการในการใช้พนื้ ที่ น�ำมาสรุปผลการศึกษา ปัญหาด้านกายภาพของแผนกสูตินรีเวชและแผนกกุมารเวช

28


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

1.3 ผลที่คาดว่าจะได้รับและการน�ำไปใช้ประโยชน์ ในบทความนีจ้ ะท�ำให้มคี วามเข้าใจในลักษณะทางกายภาพของส่วนผูป้ ว่ ยนอก แผนกสูตนิ รีเวชและกุมารเวช รวบรวม ประเด็นส�ำคัญจากข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ สภาพทางกายภาพของห้องตรวจและวินิจฉัยโรค และการใช้พนื้ ที่ อาทิเช่น การสัญจรภายในพืน้ ทีบ่ ริการในแต่ละแผนก ปัญหาและข้อจ�ำกัดต่างๆ ของส่วนบริการผูป้ ว่ ยนอก แผนกสูตินรีเวชและกุมารเวช ซึ่งผู้ที่สนใจสามารถน�ำผลการวิจัยและข้อเสนอแนะเป็นกรณีศึกษาส�ำหรับการแก้ไขปัญหา และการพัฒนาโรงพยาบาลในอนาคตต่อไป 1.4 ค�ำจ�ำกัดความงานวิจัย พืน้ ทีใ่ ห้บริการตรวจรักษา หมายถึง พืน้ ทีท่ ผี่ ปู้ ว่ ยรับบริการรักษาจาก แพทย์หรือพยาบาลในแผนก ได้แก่ ห้องตรวจ (Examination Room) และห้องหัตถการ (Treatment) พื้นที่ส่วนเกี่ยวเนื่อง หมายถึง พื้นที่หรือบริเวณที่ผู้ป่วยและญาติ สามารถเข้าไปใช้งาน เป็นพื้นที่อ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้ป่วยและญาติเมื่อมารับบริการในแผนก ได้แก่ ส่วนประชาสัมพันธ์ (Reception) ส่วนคัดกรอง (Screening) พื้นที่พักคอย(Waiting area) และห้องน�้ำ(Toilet)

2. ข้อมูลเบื้องต้นของพื้นที่แผนกผู้ป่วยนอก แผนกผู้ป่วยนอก (out-patient department) เป็นส่วนที่ให้บริการตรวจโรค ให้ค�ำปรึกษา บ�ำบัดรักษาพยาบาล แก่ผู้ป่วยที่มารับการบริการทางการแพทย์ทั่วไปของโรงพยาบาล ซึ่งไม่ใช่ผู้ป่วยที่มีอาการหนักหรืออาการผิดปกติมากนัก ผู้รับบริการบางท่านอาจต้องไปรับการบริการในหลาย หน่วยงาน เช่น แผนกชันสูตร (Laboratory) แผนกรังสี (X-Ray) แผนกเภสัชกรรม (Pharmacy) ผูป้ ว่ ยจ�ำนวนหนึง่ หากมีอาการหนักอาจต้องรับการรักษาตัวต่อในส่วนผูป้ ว่ ยใน ผูป้ ว่ ยจ�ำนวน หนึ่งอาจอยู่ในสภาพที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ เช่น อาจต้องอยู่บนรถเข็น (wheel chair) หรือเตียงเข็น (stretcher) เป็นต้น (อวยชัย วุฒิโฆษิต 2551) คลินิกสูติ-นรีเวช (Obstetrics and Gynecology Clinic) เป็นแผนกที่ให้บริการตรวจครรภ์และตรวจรักษาโรค ภายในของสตรี (Gynetrics) ซึ่งควรอยู่ในต�ำแหน่งชั้นล่าง และไม่ต้องเดินไกลนัก ควรมีการป้องกันการติดเชื้อ ห้องตรวจ ควรค�ำนึงถึงความเป็นส่วนตัวของผู้ป่วยตามสมควร และมีห้องน�้ำอยู่ภายในทุกห้องด้วยิเพื่อเก็บตัวอย่างปัสสาวะ ลักษณะ เตียงตรวจใช้เตียงชนิดมีขาหยั่งเพื่อสามารถใช้ไฟส่องตรวจภายในได้ ขนาดพื้นที่ห้องตรวจจึงควรใหญ่กว่าห้องตรวจทั่วไป มีเครื่องชั่งน�้ำหนักและวัดส่วนสูงด้วย (อวยชัย วุฒิโฆษิต 2551) คลินิกกุมารเวช (Pediatrics Clinic) เป็นแผนกที่ให้บริการตรวจรักษาโรคเกี่ยวกับเด็กที่มีอายุต�่ำกว่า 14 ปีโดยการ ตรวจรักษาส่วนใหญ่ จะเป็นด้านอายุรกรรม และศัลยกรรม แผนกนีถ้ า้ เป็นไปได้ควรแยกออกจาก ส่วนตรวจผูใ้ หญ่เนือ่ งจาก เด็กติดเชื้อได้ง่ายอาจอยู่ชั้นล่างหรื้อชั้นสองก็ได้ สิ่งส�ำคัญคือการจัดบรรยากาศภายในให้ดูสนุกสนาน เช่นมีบริเวณเด็กเล่น (Play Area) ในส่วนพักรอส�ำหรับเด็กเล็ก ส่วนบรรยากาศในห้องตรวจต้องมีสีสันสดใสดูสนุกสนาน ท�ำให้เด็กไม่รู้สึกกลัว แพทย์ผู้ตรวจ มีเครื่องชั่งน�้ำหนัก และเครื่องวัดส่วนสูงด้วย (อวยชัย วุฒิโฆษิต 2551) พืน้ ทีใ่ ช้สอยทีจ่ าํ เป็นสาํ หรับการให้บริการและการปฏิบตั งิ านของแผนกผูป้ ว่ ยนอก1 สามารถจาํ แนกได้เป็น 3 ส่วนหลัก รวม 20 พื้นที่การใช้งานในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิระดับต้นถึงระดับกลาง และ 22 พื้นที่การใช้งาน ในโรงพยาบาลระดับ ทุตยิ ภูมริ ะดับสูงถึงระดับตติยภูมดิ งั นี้ ( คูม่ อื การออกแบบอาคารสถานบริการสุขภาพและสภาพแวดล้อมแผนกผูป้ ว่ ยนอก, 2558) 2.1 ส่วนที่ 1: พื้นที่บริการส่วนหน้าสําหรับผู้ป่วยหรือผู้มารับบริการและญาติ ได้แก่ 2.1.1 รับ-ส่งผู้ป่วย 2.1.2 ศูนย์เปล แนวทางพัฒนาระบบบริการทุตยิ ภูมแิ ละตติยภูมิ สาํ นักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (ฉบับปรับปรุง)

1

29


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

2.1.3 พักรอผู้ป่วย-ญาติ (Waiting Area) ใช้สําหรับนั่งรอการรับบริการต่างๆ ของแผนกขนาดของพื้นที่รวม ขึ้นอยู่กับจํานวนที่นั่งสูงสุดที่ต้องการ สามารถเข้าถึงได้สะดวกจากเส้นทางเดินหลัก ลิฟต์ และบันได 2.1.4 ประชาสัมพันธ์ (Reception) ใช้สําหรับผู้ป่วยหรือผู้รับบริการสอบถามข้อมูล เกี่ยวกับบริการหรือ สถานทีต่ งั้ แผนกให้บริการ ต่างๆ ขนาดของพืน้ ทีร่ วม ขึน้ อยูก่ บั จํานวนเจ้าหน้าทีแ่ ละสือ่ ประชาสัมพันธ์ ที่ต้องการ ควรตั้งอยู่ในบริเวณที่เจ้าหน้าที่สามารถมองเห็นผู้ป่วยในแผนกอย่างทั่วถึง สามารถเข้าถึง ได้สะดวกจากทางเข้าหลักและทางเดินหลักของแผนก 2.1.5 ซักประวัต-ิ คัดกรอง ใช้ในการซักประวัติ ชัง่ น�ำ้ หนัก วัดส่วนสูง และวัดความดันของผูป้ ว่ ย โดยเจ้าหน้าที ่ พยาบาล เพื่อเป็นข้อมูลให้กับแพทย์ผู้ตรวจ ขนาดของพื้นที่รวมขึ้นอยู่กับจํานวนเจ้าหน้าที่และเครื่อง ชัง่ น�ำ้ หนักและวัดส่วนสูง เข้าถึงได้สะดวกจากทางเข้าหลัก ทางเดินหลัก และโต๊ะประชาสัมพันธ์ของแผนก 2.1.6 สุขาผูร้ บั บริการ ใช้ทาํ กิจวัตรส่วนตัว และใช้ชาํ ระล้าง ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ขนาดของพืน้ ทีร่ วมขึน้ อยูก่ บั จํานวน และชนิดของสุขภัณฑ์ สามารถ เข้าถึงได้สะดวกจากพื้นที่พักรอ 2.2 ส่วนที่ 2: พื้นที่ปฏิบัติงานหลักของแผนกโดยผู้ให้บริการหรือเจ้าหน้าที่ ได้แก่ 2.1.7 ตรวจโรคทัว่ ไป/ ตรวจเฉพาะโรค (โรคไม่ตดิ ต่อ) ใช้ในการตรวจโรคให้ กับผูป้ ว่ ยหรือ ผูร้ บั บริการ โดยแพทย์ ทัว่ ไป และ แพทย์เฉพาะทางแต่ละสาขา โดยมีความดันอากาศภายในห้องตรวจเป็นบวก ขนาดของห้องตรวจ ควรมีขนาด กว้าง x ยาว ไม่น้อยกว่า 3.00x3.00 เมตร สามารถเข้าถึงได้สะดวกจากพื้นที่พักรอและ พื้นที่คัดกรอง 2.1.8 ตรวจโรคติดต่อ อาจมีเพิม่ เติมในโรงพยาบาลระดับทุตยิ ภูมริ ะดับสูงถึงระดับตติยภูมิ ใช้ในการตรวจโรค ผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ ซึ่งป่วยด้วยโรคติดต่อโดยแพทย์ทั่วไปและแพทย์เฉพาะทางแต่ละสาขา โดยมี ความดันอากาศภายในห้องเป็นลบ ขนาดของห้องตรวจควรมีขนาด กว้าง x ยาว ไม่นอ้ ยกว่า 3.00x3.00 เมตร สามารถเข้าถึงได้สะดวกจากพื้นที่พักรอและพื้นที่คัดกรอง 2.1.9 ตรวจภายใน ใช้ในการตรวจโรคทางสูติ-นรีเวชกรรม และการวางแผนครอบครัว ขนาดของห้องตรวจ ควรมีขนาดกว้าง x ยาว ไม่น้อยกว่า 2.50x3.60 เมตร (ไม่รวมสุขา) สามารถเข้าถึงได้สะดวกจากพื้นที่ พักรอและพื้นที่คัดกรอง 2.1.10 รักษาพยาบาล (Treatment) ใช้สาํ หรับทําหัตถการให้กบั ผูป้ ว่ ยหรือผูร้ บั บริการโดยเจ้าหน้าทีพ่ ยาบาล ขนาดของพื้นที่รวม ควรมีขนาด กว้าง x ยาว ไม่น้อยกว่า 3.50x3.80 เมตร เข้าถึงได้สะดวกจากพื้นที่ พักรอและเส้นทางเดินหลักของแผนก 2.1.11 ให้คาํ ปรึกษา ใช้สาํ หรับให้คาํ ปรึกษาแก่ผปู้ ว่ ยหรือผูร้ บั บริการ และญาติ ควรมีลกั ษณะห้องทีเ่ ก็บเสียง ได้ดีและมีประตูเข้า-ออกสําหรับผู้ป่วย แยกออกจากของเจ้าหน้าที่ ขนาดของพื้นที่รวมควรมีขนาด กว้าง x ยาว ไม่น้อยกว่า 3.00x3.00 เมตรหรือ 9.00 ตารางเมตร สามารถเข้าถึงได้สะดวกจากพื้นที่ พักรอและพื้นที่คัดกรอง 2.1.12 ผ่าตัดเล็ก ห้องผ่าตัดเล็กอาจมีในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ใช้ในกรณีทมี่ กี ารผ่าตัดขนาดเล็ก ซึง่ ไม่ยงุ่ ยาก ซับซ้อนหรือไม่จาํ เป็นต้องใช้ทมี ผ่าตัดขนาดใหญ่ เฉพาะห้องผ่าตัดควรมีขนาด กว้าง x ยาว ไม่นอ้ ย กว่า 4.00x5.00 เมตร สามารถเข้าถึงได้สะดวกจากเส้นทางสัญจรหลัก ระหว่างแผนกผูป้ ว่ ยนอกกับแผนกฉุกเฉิน 2.1.13 หัวหน้าแผนก 2.1.14 พักแพทย์ 2.1.15 ห้องประชุม

30


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

2.3 ส่วนที่ 3: พื้นที่สนับสนุนการให้บริการและการปฏิบัติงาน ได้แก่ 2.1.16 เอนกประสงค์/ พักเจ้าหน้าที่ 2.1.17 เตรียมอาหารว่าง/ เครื่องดื่ม 2.1.18 เก็บอุปกรณ์ทางการแพทย์ 2.1.19 เก็บของสะอาด 2.1.20 เก็บของใช้ส่วนตัว/ เปลี่ยนชุด 2.1.21 สุขาเจ้าหน้าที่และผู้ให้บริการ 2.1.22 ล้าง-เก็บอุปกรณ์ทําความสะอาดอาคาร

3. ระเบียบวิธีวิจัย การวิจยั นีเ้ ข้าศึกษาพืน้ ทีข่ องโรงพยาบาล 3 กลุม่ ได้แก่ โรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ โรงพยาบาลรัฐ และโรงพยาบาลเอกชน รวมทัง้ สิน้ 7 แห่ง ผูว้ จิ ยั ได้เข้าท�ำการศึกษาพืน้ ทีแ่ ละศึกษาจากผังสถาปัตยกรรมของโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์จำ� นวน 2 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาล A1 และโรงพยาบาล A2 พื้นที่เข้าศึกษาของโรงพยาบาล A1 จ�ำนวน 3 พื้นที่ ได้แก่ แผนกนรีเวชกรรม และวางแผนครอบครัว แผนกสูติกรรม และแผนกกุมารเวชกรรม พื้นที่เข้าศึกษาของโรงพยาบาล A2 จ�ำนวน 2 พื้นที่ ได้แก่ แผนกสูตินรีเวช และแผนกกุมารเวชศาสตร์ ในส่วนของโรงพยาบาลรัฐ ผู้วิจัยเข้าท�ำการศึกษาพื้นที่และศึกษาจากผัง สถาปัตยกรรมของโรงพยาบาลรัฐจ�ำนวน 2 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาล B1 และโรงพยาบาล B2 พืน้ ทีเ่ ข้าศึกษาของโรงพยาบาล B1 จ�ำนวน 3 พื้นที่ ได้แก่ แผนกนรีเวช แผนกฝากครรภ์ และ แผนกกุมารเวชกรรม พื้นที่เข้าศึกษาของโรงพยาบาล B2 จ�ำนวน 3 พื้นที่ ได้แก่ แผนกนรีเวช แผนกฝากครรภ์ และ แผนกกุมารเวชกรรม ในกลุ่มโรงพยาบาลสุดท้ายผู้วิจัย ได้เข้าท�ำการศึกษาพื้นที่และศึกษาจากผังสถาปัตยกรรมของโรงพยาบาลเอกชนจ�ำนวน 3 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาล C1 โรงพยาบาล C2 และโรงพยาบาล C3 พื้นที่เข้าศึกษาของโรงพยาบาล C1 จ�ำนวน 2 พื้นที่ ได้แก่ แผนกสูตินรีเวชกรรม และ แผนกกุมารเวชกรรม พื้นที่เข้าศึกษาของโรงพยาบาล C2 จ�ำนวน 2 พื้นที่ ได้แก่ คลินิกสุขภาพสตรี และ คลินิกเด็ก พื้นที่ เข้าศึกษาของโรงพยาบาล C3 จ�ำนวน 2 พื้นที่ ได้แก่ แผนกสูตินรีเวชกรรม และ แผนกกุมารเวชกรรม

31


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

32


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

4. การวิเคราะห์ข้อมูลแผนกสูตินรีเวช

4.1 การวิเคราะห์ผู้ใช้งาน ผู้ใช้งานในแผนกสูตินรีเวช แบ่งได้เป็น 3 กลุ่มดังนี้

4.1.1 ผู้มารับบริการ ได้แก่ ผู้ป่วยโรคทางนรีเวช ผู้ป่วยตั้งครรภ์ และ ญาติผู้ป่วย โดยลักษณะของผู้ป่วยมีทั้ง สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ นั่งรถเข็น และเตียงนอน 4.1.2 ผูใ้ ห้บริการทางการแพทย์ ได้แก่ แพทย์ พยาบาล ผูช้ ว่ ยพยาบาล และ นักศึกษาแพทย์ ในโรงพยาบาล โรงเรียนแพทย์ 4.1.3 เจ้าหน้าที่สนับสนุน ได้แก่ เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ และ พนักงานท�ำความสะอาด 4.2 การวิเคราะห์การสัญจรในพื้นที่

(ก)

(ข) ภาพที่ 1 แผนภาพแสดงขั้นตอนรับบริการของ (ก) ผู้ป่วยโรคทางนรีเวช และ (ข) ผู้ป่วยตั้งครรภ์

ในแผนกสูตินรีเวชของโรงพยาบาลมีขั้นตอนการให้บริการหลัก (ภาพซ้าย) ที่คล้ายกันในผู้ป่วยลักษณะโรคเดียวกัน แต่จะมีข้อแตกต่างที่แตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่มโรงพยาบาล ขั้นตอนแรกในการมารับบริการของผู้ป่วยแผนกสูตินรีเวช คือการติดต่อเวชระเบียนที่ส่วนประชาสัมพันธ์ โดยจะมีเจ้าหน้าที่หรือพยาบาลเป็บผู้ให้บริการ ถัดไปเป็นส่วนคัดกรองที่ให้ บริการโดยพยาบาล จะมีการชั่งน�้ำหนัก วัดไข้ วัดความดัน และคัดกรองโรค อาจจะมีการให้ผู้ป่วยเก็บตัวอย่างปัสสาวะ ในขั้นตอนถัดจากนี้ในผู้ป่วยตั้งครรภ์ (ภาพขวา) จากนั้นผู้ป่วยจะนั่งรอในส่วนพักคอยเพื่อรอพบแพทย์ในห้องตรวจและ วินจิ ฉัยตามล�ำดับ ในห้องตรวจนัน้ แพทย์จะท�ำการซักถามอาการและใหค�ำปรึกษา หากมีการตรวจภายในร่วมด้วยผูป้ ว่ ยจะ ต้องท�ำการเปลี่ยนชุดส�ำหรับการตรวจภายใน ในโรงพยาบาลบางแห่งสามารถเปลี่ยนชุดได้ในห้องตรวจภายใน ในพื้นที่ ส�ำหรับเปลี่ยนชุด ในบางโรงพยาบาลผู้ป่วยอาจจะต้องไปเปลี่ยนที่ห้องน�้ำสาธารณะเนื่องจากมีพื้นที่ไม่เพียงพอ การตรวจ ภายในจะตรวจบนเตียงตรวจภายในซึ่งเป็นอุปกรณ์เฉพาะทาง ในขั้นตอนการตรวจภายในนี้จะใช้เวลาประมาณ 10 นาที หลังจากพบแพทย์เสร็จแล้วผูป้ ว่ ยจึงไปท�ำการนัดหมายครัง้ ต่อไปส�ำหรับผูป้ ว่ ยทีต่ อ้ งมีการติดตามอาการทีส่ ว่ นประชาสัมพันธ์ และไปรับยาที่ห้องรับยา

33


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

4.3 การวิเคราะห์พื้นที่การใช้งานและปัญหาที่พบ จากการเข้าส�ำรวจพื้นที่ของโรงพยาบาล A2 ซึ่งเป็นโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ พบว่าอาคารที่ตั้งของแผนกมีอายุ ใช้งานเป็นเวลานาน เมือ่ เวลาผ่านไปทางโรงพยาบาลมีจำ� นวนผูป้ ว่ ยทีม่ ากขึน้ ท�ำให้มกี ารปรับปรุงภายในแผนกให้มพี นื้ ทีก่ าร ใช้งานให้มากที่สุด ดังนั้นห้องตรวจของแผนกสูตินรีเวชโรงพยาบาล A2 จึงไม่มีทางบริการด้านหลังห้องตรวจและวินิจฉัย โรคเนื่องจากข้อจ�ำกัดทางพื้นที่ ท�ำให้บุคลากรทางการแพทย์ไม่สามารถสัญจรไปมาระหว่างห้องตรวจได้ ซึ่งเป็นลักษณะ การท�ำงานโดยปกติของแพทย์ในโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ที่จะมีการปรึกษากัน ในส่วนของโรงพยาบาลรัฐมีผู้ป่วยเป็น จ�ำนวนมากโดยเฉพาะแผนกผู้ป่วยนอก รวมถึงพื้นที่พักคอยไม่เพียงพอต่อการใช้งานและมีการที่ใช้งานพื้นที่ไม่ตรงกับ การออกแบบ หนึง่ ในกรณีศกึ ษาคือ โรงพยาบาล B1 พบว่าห้องตรวจและวินจิ ฉัยโรคแผนกสูตนิ รีเวชเป็นห้องตรวจมาตรฐาน ทั่วไป ไม่ได้ออกแบบมาให้ตรงกับการใช้งานเฉพาะทาง มีการใช้ทางเดินของผู้ให้บริการด้านหลังห้องตรวจเป็นพื้นที่พักรอ ของผู้มารับบริการ ในกรณีศึกษาถัดมาคือโรงพยาบาล B2 พบว่าในแผนกสูตินรีเวชมีการปรับเปลี่ยนย้ายพื้นที่จากเดิมที่ถูก ออกแบบไว้ให้เป็นห้องประชุม และห้องเก็บเอกสาร ส่งผลให้ห้องตรวจของแผนกสูตินรีเวชในปัจจุบันมีเส้นทางสัญจรที่ ไม่เป็นล�ำดับในขั้นตอนการให้บริการทางการแพทย์และ ไม่มีความเป็นส่วนตัวเนื่องจากมีช่องเปิดของผนังแต่ละห้องเชื่อม ถึงกัน นอกจากนี้ในปัจจุบันโรงพยาบาลได้มีการรับนักศึกษาแพทย์เข้ามาท�ำการศึกษาในโรงพยาบาลมากขึ้นท�ำให้หลาย พื้นที่ไม่เพียงพอ ในส่วนของโรงพยาบาลเอกชน พบว่าในโรงพยาบาล C1 แผนกสูตินรีเวชมีการปรับเปลี่ยนการใช้งาน จากพื้นที่เดิมที่ผู้ออกแบบได้ออกแบบไว้ เนื่องจากมีการใช้งานบ้างอย่างเพิ่มขึ้นมา เช่น มีการปรับเปลี่ยนห้องให้นมบุตร เป็นห้องซักประวัตผิ ปู้ ว่ ยในภายหลัง เนือ่ งจากผูม้ ารับบริการของโรงพยาบาลเอกชนนัน้ ให้ความส�ำคัญในเรือ่ งความเป็นส่วน ตัวอีกทั้งในผู้ป่วยของแผนกสูตินรีเวชและกุมารเวชบางรายมีปัญหาสุขภาพที่อ่อนไหว จากการส�ำรวจพบว่าจ�ำนวนห้อง มีไม่เพียงพอต่อเครือ่ งมือทีจ่ ดั หามาภายหลังเนือ่ งจากโรงพยาบาลเอกชนมีการจัดซือ้ เครือ่ งมือทางการแพทย์ใหม่ๆ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการตรวจรักษาจึงท�ำให้ต้องมีการปรับปรุงห้องที่มีการใช้งานอยู่แล้วเพื่อมารองรับเครื่องมือใหม่ ซึ่งท�ำให้ เกิดปัญหาเส้นทางสัญจรระหว่างห้องมีการทับซ้อนกัน ในกรณีศกึ ษาถัดมาคือ โรงพยาบาล C2 ในแผนกสูตนิ รีเวชหรือคลินกิ สุขภาพสตรีมีการจัดวางต�ำแหน่งของที่ท�ำการพยาบาลที่ไม่สามารถมองผู้มารับบริการได้อย่างทั่วถึง เป็นอุปสรรคต่อการ ท�ำงานของเจ้าหน้าที่พยาบาล ภายในห้องตรวจและวินิจฉัยมีเตียงตรวจภายในที่สามารถปรับเป็นเตียงตรวจแบบปกติได้ จึงท�ำให้ผู้ใช้งานสารมารถใช้พื้นที่ในห้องตรวจและวินิจฉัยโรคได้อย่างคุ้มค่า

34

ภาพที่ 2 ตัวอย่างผังพื้นและสัญจรของผู้รับบริการในแผนกสูตินรีเวช ที่มา: บริษัท ทีค จ�ำกัด


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ภาพที่ 3 บรรยาการศภายในแผนกสูตินรีเวช

5. การวิเคราะห์ข้อมูลแผนกกุมารเวช 5.1 การวิเคราะห์ผู้ใช้งาน ผู้ใช้งาน ในแผนกสูตินรีเวช แบ่งได้เป็น 3 กลุ่มดังนี้ 5.1.1 ผู้มารับบริการ ได้แก่ ผู้ป่วยเด็กอายุ 0-18ปี แบ่งผู้ป่วยเด็กออกเป็น 2 กลุ่มได้แก่ ผู้ป่วยเด็กป่วย (Sick Baby) ผู้ป่วยเด็กสุขภาพดี (Well baby) ซึ่งเป็นผู้ป่วยที่มาตรวจสุขภาพหรือรับวัคซีน และ ญาติผู้ป่วย โดยลักษณะของผู้ป่วยมีทั้งสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ นั่งรถเข็น

5.1.2 ผูใ้ ห้บริการทางการแพทย์ ได้แก่ แพทย์ พยาบาล ผูช้ ว่ ยพยาบาล และ นักศึกษาแพทย์ ในโรงพยาบาล โรงเรียนแพทย์ 5.1.3 เจ้าหน้าที่สนับสนุน ได้แก่ เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ และ พนักงานท�ำความสะอาด

5.2 การวิเคราะห์การสัญจรในพื้นที่

35


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

(ก)

(ข) ภาพที่ 4 ขั้นตอนรับบริการของผู้ป่วย (ก) แผนกกุมารเวช เด็กดี และ (ข) เด็กป่วย

ในแผนกกุมารเวชของโรงพยาบาลนั้นจะมีข้ันตอนการให้บริการหลัก ที่คล้ายกันในผู้ป่วยลักษณะโรคเดียวกัน แต่จะมีข้อแตกต่างที่แตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่มโรงพยาบาล ขั้นตอนแรกในการมารับบริการของผู้ป่วยแผนกกุมารเวชคือ การติดต่อเวชระเบียนที่ส่วนประชาสัมพันธ์ โดยจะมีเจ้าหน้าที่หรือพยาบาลเป็บผู้ให้บริการ ถัดไปเป็นส่วนคัดกรองที่ให้ บริการโดยพยาบาล จะมีการชั่งน�้ำหนัก วัดไข้ วัดความดัน และคัดกรองโรค โดยในส่วนนี้พยาบาลจะท�ำการแยกเด็กป่วย (ภาพขวา) และเด็กดี (ภาพซ้าย) ไปยังบริเวณที่พักคอยที่แยกจากกัน ในกรณีที่มีผู้ป่วยเป็นโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังนั้น พยาบาลจะพาไปรอในห้องแยกโรคที่เตรียมไว้ ซึ่งอาจจะไม่มีในบางโรงพยาบาล ผู้ป่วยทั่วไปจะนั่งรอในส่วนพักคอยเพื่อรอ พบแพทย์ในห้องตรวจและวินจิ ฉัยตามล�ำดับ ในห้องตรวจนัน้ แพทย์จะท�ำการซักถามอาการและใหค�ำปรึกษา โดยมีญาติผปู้ ว่ ย 1-2 ท่านติดตามเข้าไปด้วย แพทย์จะท�ำการซักประวัติ และตรวจโรคบนเตียงตรวจหรือเก้าอี้ แตกต่างกันไปในผูป้ ว่ ยแต่ละคน ในขัน้ ตอนการตรวจภายในนีจ้ ะใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที หลังจากพบแพทย์เสร็จแล้วผูป้ ว่ ยจึงไปท�ำการนัดหมายครัง้ ต่อไป ส�ำหรับผู้ป่วยที่ต้องมีการติดตามอาการที่ส่วนประชาสัมพันธ์ และไปรับยาที่ห้องรับยา 5.3 การวิเคราะห์พื้นที่การใช้งานและปัญหาที่พบ จากการส�ำรวจโรงพยาบาล A2 พบว่าในแผนกกุมารเวช มีผปู้ ว่ ยเป็นจ�ำนวนมาก อีกทัง้ ผูป้ ว่ ยมีญาติซงึ่ เป็นผูป้ กครอง อีก 1-2 คน ดังนั้นท�ำให้เกิดปัญหาความแออัดของพื้นที่ เนื่องจากโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์มีจ�ำนวนผู้ต่อวัน มากกว่า โรงพยาบาลประเภทอื่น พื้นที่ในแผนกจึงถูกแบ่งตามกลุ่มอาการของผู้ป่วย โดยจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ผู้ป่วยเด็กดี ผูป้ ว่ ยเด็กป่วยด้วยโรคอายุรกรรมทัว่ ไป และ ผูป้ ว่ ยโรคเฉพาะทาง อาคารทีต่ งั้ ของแผนกกุมารเวชนีเ้ ป็นอาคารทีส่ ร้างมาเป็น เวลานาน จึงมีพื้นที่ไม่เพียงพอต่อจ�ำนวนผู้ป่วยที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน จึงท�ำให้ผู้มารับบริการสับสนในเส้นทางสัญจรภายใน แผนก ส่วนตรวจโรคและวินิจฉัยได้น�ำผนังกั้นห้องออก ท�ำให้ส่วนตรวจโรคในของผู้ป่วยเด็กที่ป่วยด้วยโรคอายุกรรมทั่วไป เป็นพื้นที่ตรวจแบบเปิดโล่ง มีเพียงฉากกั้นของส�ำนักงานเท่านั้น สามารถรองรับจ�ำนวนแพทย์ออกตรวจได้มากขึ้น ปัญหา ที่พบในการเปลี่ยนห้องตรวจโรคเป็นแบบส่วนตรวจแบบเปิดโล่งคือ ท�ำให้การตรวจนั้นไม่มีความเป็นส่วนตัว ในส่วนของ แผนกกุมารเวชโรงพยาบาล B2 นั้น จากการเข้าส�ำรวจพบว่าส่วนพักคอยในแผนกได้มีการแบ่งเป็นบริเวณของผู้ป่วยเด็กดี และผู้ป่วยเด็กป่วย พื้นที่ภายในแผนกมีการดัดแปลงภายหลังการออกแบบส่งผลให้มีพื้นที่เหลือใช้ ในแผนกมีส่วนเด็กเล่น ซึ่งจะมีแผนน�ำออกไปในอนาคตเนื่องจากเจ้าหน้าที่ไม่สามารถดูแลได้อย่างทั่วถึง จึงอาจจะท�ำให้ผู้ใช้งานเกิดอันตรายได้ นอกจากนีท้ างแผนกยังไม่สามารถจัดให้เจ้าหน้าทีเ่ ข้ามาท�ำความสะอาดได้ตามเวลา ในแผนกกุมารเวชของโรงพยาบาล C1 ซึ่งเป็นโรพยาบาลเอกชน ได้ท�ำการย้ายแผนกที่ตั้งอยู่ในอาคารเดิมมายังอาคารใหม่ มีการใช้สีสันในการออกแบบ ไม่ว่าจะ เป็นส่วนรอพบแพทย์หรือภายในห้องตรวจโดยใช้พนื้ ทีข่ องหอผูป้ ว่ ยในมาปรับใช้ ท�ำให้ผงั ในแผนกกุมารเวชไม่สอดคล้องต่อ

36


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ล�ำดับการใช้งานภายในแผนกทั้งผู้ให้บริการและผู้มารับบริการ ห้องตรวจและวินิจฉัยของแผนกกุมารเวชนั้นถูกดัดแปลง มากจากห้องพักของผูป้ ว่ ยซึง่ เป็นห้องทีม่ หี อ้ งน�ำ้ ส่วนตัว จึงท�ำให้มพี นื้ ทีภ่ ายในห้องใหญ่กว่าขนาดของห้องตรวจทีไ่ ด้กำ� หนด ตามมาตรฐาน เกิดเป็นพืน้ ทีเ่ หลือใช้ทำ� ให้มกี ารใช้พนื้ ทีอ่ ย่างไม่เต็มประสิทธิภาพ อีกทัง้ ยังมีจำ� นวนห้องน�ำ้ ส�ำหรับผูป้ ว่ ยและ ญาติที่ไม่เพียงพอ โดยผู้มารับบริการสามารถใช้ห้องน�้ำที่อยู่ในห้องที่จัดเป็นส่วนหัตถการหรือห้องคัดกรอง จากแต่เดิมที่ ถูกออกแบบไว้เป็นห้องพักผู้ป่วยใน ในส่วนของแผนกกุมารเวชหรือคลินิกเด็กของโรงพยาบาล C2 จากการส�ำรวจพบว่า ผู้ออกแบบไม่ได้ออกแบบแยกทางสัญจรของผู้ป่วยเด็กดีและเด็กป่วย การไม่ได้ออกแบบแยกบริเวณพักคอยของผู้ป่วยเด็ก ดี และเด็กป่วยอย่างชัดเจนอาจเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเด็กดี (Well baby) ได้รับเชื้อโรคจากผู้ป่วยรายอื่นในแผนกได้ ภายใน แผนกมีการตกแต่งด้วยลวดลายและสีสนั รวมไปถึงในห้องตรวจและเตียงตรวจ จากการส�ำรวจได้พบปัญหาของจ�ำนวนห้อง ที่ไม่เพียงพอต่อการใช้งาน และมีการปรับเปลี่ยนการใช้งานที่ผู้ออกแบบได้ออกแบบไว้ เป็นผลมาจากการที่ผู้ออกแบบ ได้ออกแบบให้หอ้ งให้นมบุตรและห้องเปลีย่ นผ้าอ้อมซึง่ เป็นพืน้ ทีใ่ ช้งานต่อเนือ่ งกันไว้อยูห่ า่ งจากกัน จากการเข้าส�ำรวจพืน้ ที่ ของแผนกกุมารเวชของโรงพยาบาล C3 พบว่าผู้ออกแบบได้มีการออกแบบแยกทางเข้า ส่วนพักคอย ห้องตรวจวินิจฉัยโรค และส่วนเกี่ยวเนื่องแยกจากกัน ท�ำให้ผู้ป่วยเด็กดีและผู้ป่วยเด็กป่วยไม่ได้ใช้พื้นที่หรือเส้นทางสัญจรภายในแผนกร่วมกัน อีกทั้งภายในแผนกยังมีห้องแยกโรคส�ำหรับผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคที่แพร่ได้ง่าย ท�ำให้ไม่ต้องใช้พื้นที่พักคอยร่วมกับผู้ป่วย รายอื่น

ภาพที่ 5 ตัวอย่างผังพื้นและการสัญจรของผู้รับบริการในแผนกกุมารเวช ที่มา: โรงพยาบาลเอกชนกรณีศึกษา

ภาพที่ 6 บรรยาการศภายในแผนกกุมารเวช

37


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

6. สรุปผลวิจัยและข้อเสนอแนะ จากการเข้าส�ำรวจพืน้ ทีพ่ บว่า โรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์เป็นโรงพยาบาลรัฐทีม่ จี ำ� นวนผูป้ ว่ ยและบุคลากรทางการ แพทย์มากกว่าโรงพยาบาลเอกชนท�ำให้พื้นที่การใช้งานในแต่ละส่วนประสบปัญหาไม่เพียงพอต่อผู้ใช้งาน ท�ำให้ต้องมีการ ดัดแปลงบางพื้นที่ภายหลังเพื่อให้รองรับจ�ำนวนผู้ใช้งานที่มากขึ้น ในส่วนพักคอยนั้นไม่เพียงพอต่อผู้ใช้งานเนื่องจากผู้ป่วย เดินทางมายังโรงพยาบาลในช่วงเวลาเดียวกันต่างจากโรงพยาบาลเอกชนที่แผนกผู้ป่วยนอก ส่วนห้องตรวจและวินิจฉัยนั้น จะมีความแตกต่างจากโรงพยาบาลประเภทอืน่ เนือ่ งจากต้องมีการเรียนการสอนในแผนกของนักเรียนแพทย์ จ�ำมีหอ้ งตรวจ ทั้งแบบเดี่ยว และแบบรวมที่จะมีนักศึกษาแพทย์ท�ำการตรวจ 2-3 คนโดยมีอาจารย์แพทย์คอยให้ค�ำปรึษาควบคู่ไปด้วย ภายในแผนกสูตนิ รีเวชนัน้ เป็นแผนกทีต่ อ้ งค�ำนึงถึงขนาดของห้องตรวจทีม่ ขี นาดแตกต่างจากห้องตรวจทัว่ ไป เนือ่ งจากมีเตียง ตรวจเฉพาะทางหรือเตียงตรวจภายใน ทั้งนี้ผู้มารับบริการยังต้องการความเป็นส่วนตัวอีกด้วย ปัญหาส่วนใหญที่พบในการส�ำรวจพื้นที่ คือการออกแบบที่ไม่ตรงกับการใช้งานเนื่องจาก ในช่วงการออกแบบนั้น ยังมีความไม่แน่นอนของการใช้งานในพื้นที่นั้นๆ ท�ำให้มีข้อมูลไม่เพียงพอในการออกแบบให้ตรงกับการใช้งาน ผู้ออกแบบ จึงต้องท�ำความเข้าใจปัจจัยหลักของพื้นที่ที่จะท�ำการออกแบบ ขั้นตอนการท�ำงาน และเส้นทางการสัญจรของผู้ใช้งานใน แผนก ซึ่งการออกแบบแผนกผู้ป่วยนอกและห้องตรวจวินิจฉัยโรคของแต่ละโรงพยาบาลสามารถปรับและยืดหยุ่นได้ตาม บริบท ผูอ้ อกแบบและผูใ้ ช้งานในพืน้ ทีค่ วรมีการปรึกษาและแลกเปลีย่ นความต้องการ เพือ่ พัฒนาให้พนื้ ทีข่ องแผนกและห้อง ตรวจและวินิจฉัยโรค ตรงกับการใช้งานเพื่อจะได้ใช้พื้นที่อย่างคุ้มค่ามากที่สุด 6.1 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการออกแบบ 6.1.1 จ�ำนวนผู้ใช้งาน เนือ่ งจากโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์และโรงพยาบาลรัฐบาลเป็นโรงพยาบาลทีม่ ผี ปู้ ว่ ยเป็นจ�ำนวนมาก ดังนัน้ พืน้ ที่ ในแต่ละส่วนควรสอดคล้องกับผู้มาใช้งาน พื้นที่พักคอยเป็นส่วนที่ผู้มารับบริการใช้เวลานานมากที่สุดในการรอพบแพทย์ ควรออกแบบให้เพียงพอต่อจ�ำนวนผู้ใช้งานในพื้นที่ 6.1.2 เส้นทางสัญจรในแผนก แผนกสูตนิ รีเวชและแผนกุมารเวชในโรงพยาบาลแต่ละลักษณะ จะมีขนั้ ตอนการมารับบริการทีล่ ำ� ดับคล้ายกัน ต่างกันในรายละเอียดบางส่วน ดังนัน้ การออกแบบภายในแผนกควรจัดล�ำดับจากขัน้ ตอนการมารับบริการของผูม้ ารับบริการ จะส่งผลให้ผู้มารับบริการไม่สับสนในล�ำดับและเส้นทางการสัญจรภายในแผนก ท�ำให้การสัญจรภายในแผนกเป็นไปอย่าง ราบรื่น 6.1.3 ลักษณะการใช้งานของแต่ละพื้นที่ ในแต่ละพืน้ ทีห่ รือแต่ละแผนกมีอาจการใช้งานทีเ่ ฉพาะตัว ผูอ้ อกแบบควรท�ำความเข้าใจถึงพืน้ ทีน่ นั้ ๆ เช่นในแผนก สูตนิ รีเวช ผูป้ ว่ ยมีความต้องการด้านความเป็นส่วนตัวดังนัน้ ควรออกแบบให้พนื้ ทีแ่ ต่ละส่วนตอบสนองต่อความต้องการของ ผูใ้ ช้งาน ในแผนกกุมารเวชการออกแบบตกแต่งให้บรรยายากาศน่าดึงดูดใจ จะท�ำให้สามารถดึงดูดความสนใจแก่ผปู้ ว่ ยเด็กได้ 6.2 ข้อเสนอแนะ 6.2.1 การค�ำนึงถึงลักษณะโรงพยาบาล เนื่องจากในโรงพยาบาลแต่ลักษณะจะมีความแตกต่างกันไม่ว่าจะเป็น รูปแบบการให้บริการ จ�ำนวนผู้มารับบริการและให้ บริการ โดยในโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์นนั้ ผูอ้ อกแบบต้องค�ำนึงถึงกลุม่ ผูใ้ ช้งานทีม่ มี ากกว่าโรงพยาบาลลักษณะอืน่ อีกทัง้ ยังมีการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์เกิดขึ้นในพื้นที่ ท�ำให้เกิดความซับซ้อนของการสัญจรภายในแผนก จะต้องมีการ จัดเตรียมพื้นที่เพื่อมารองรับกิจกรรมที่เกิดขึ้น

38


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

6.2.2 การปรับเปลี่ยนของพื้นที่ในอนาคต ในโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ และโรงพยาบาลรัฐนั้นมีจ�ำนวนผู้ใช้งานเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้อาคารปัจจุบัน ที่ท�ำการของแผนกนั้นไม่เพียงพอต่อการใช้งานใน อาจจะมีการสร้างอาคารเพิ่มเติมดังนั้นผู้ออกแบบจึงควรค�ำนึงถึงการ ขยายตัวของโรงพยาบาลในอนาคต ในปัจจุบนั โรงพยาบาลรัฐบางแห่งได้มกี ารรับนักเรียนแพทย์เข้ามาใช้พนื้ ทีข่ องโรงพยาบาล ในการเรียน ดังนั้นจึงมีความต้องการในพื้นที่มากขึ้นเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของผู้ใช้งาน นอกจากนี้ในปัจจุบันเทคโนโลยีได้มี การพัฒนาอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้เกิดการใช้เทคโนโลยีมาแทนการท�ำงานของมนุษย์ในหลากหลากวงการหนึง่ ในนัน้ คือวงการ แพทย์ เทคโนโลยีได้เข้ามามีส่วนในการช่วยวินิจฉัยโรค การผ่าตัด และส่วนของห้องปฏิบัติการ ดังนั้นจึงมีความต้องการ พืน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ เนือ่ งจากทางโรงพยาบาลมีการจัดซือ้ เครือ่ งมือใหม่ๆ ซึง่ อาจจะต้องมีโครงสร้างพิเศษมารองรับ ดังนัน้ ผูอ้ อกแบบ จึงควรค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ในการปรับเปลี่ยนพื้นที่ในอนาคต

7. กิตติกรรมประกาศ บทความรายงานการวิจัยเรื่อง ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ให้บริการตรวจรักษาและส่วนเกี่ยวเนื่องแผนก ผู้ป่วยนอก : กรณีศึกษาแผนกสูตินรีเวชและแผนกกุมารเวช ผู้วิจัยขอขอบพระคุณที่ปรึกษาโครงการงานวิจัย ได้แก่ ศาสตราจารย์นาวาโท ไตรวัฒน์ วิรยศิริ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กุลธิดา แสงนิล ที่ให้ข้อเสนอแนะและให้ค�ำปรึกษาในการ วิจัยครั้งนี้ ขอขอบพระคุณหัวหน้าพยาบาล ผู้ประสานงานในโรงพยาบาลกรณีศึกษาทุกแห่ง และสถาปนิกจากส�ำนักงาน สถาปนิกทีม่ คี วามเชีย่ วชาญออกแบบโรงพยาบาล ทีอ่ ำ� นวยความสะดวกในการเข้าพืน้ ทีศ่ กึ ษาและให้ขอ้ มูลน�ำมาในการวิจยั ครั้งนี้

8. เอกสารอ้างอิง อวยชัย วุฒิโฆษิต. (2551). การออกแบบโรงพยาบาล. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: เอเชียแปซิฟิกปริ้นติ้ง จ�ำกัด. เคนน์ ศรัณฑ์ศิริ. (2559). แนวทางการออกแบบผังพื้นภายในห้องตรวจและวินิจฉัย แผนกผู้ป่วยนอก : กรณีศึกษา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ณ.์ วิทยานิพนธ์ปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ไตรวัฒน์ วิรยศิริ และคนอืน่ ๆ. (2558). รายงานการวิจยั ฉบับสมบูรณ์ เรือ่ ง โครงการการศึกษาสภาพการใช้พนื้ ทีส่ ว่ นผูป้ ว่ ยนอก โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย. กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข. (2558). คู่มือการออกแบบอาคารสถานบริการสุขภาพ และสภาพแวดล้อมแผนกผูป้ ว่ ยนอก. [ออนไลน์]. ได้จาก: http://www.hss.moph.go.th [สืบค้นเมือ่ วันที่ 15 มีนาคม 2562]. Kunders G.D. (2004). Hospitals: Facilities Planning and Management. New Delhi: Tata McGraw Hill Education.

39


รูปแบบการเกิดอาชญากรรม คดีลกั ทรัพย์ในพื้นทีส่ าธารณะ ย่านเยาวราช-ส�ำเพ็ง กรุงเทพมหานคร Patterns of Crime Against Property In Public Spaces, Yaowarat - Sampheng District, Bangkok

Received : Jun 14, 2019 Revised : July 8, 2019 Accepted : July 15, 2019

บุษยา พุทธอินทร์1* และ ไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ2 1 2

นิสิตปริญญาโท ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ประจ�ำ ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Busaya Putthain1* and Khaisri Paksukcharern2 1

Graduate Student, Department of Urban and Regional Planning, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University 2 Lecturer, Department of Urban and Regional Planning, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University *E-mail: 6173324125@student.chula.ac.th


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

บทคัดย่อ บทความนี้สรุปจากงานวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ในการศึกษารูปแบบต�ำแหน่ง ความถี่ รวมทั้งช่วงวันและเวลาการเกิด อาชญากรรม ประเภทคดีลักทรัพย์ ในพื้นที่สาธารณะของย่านเยาวราช-ส�ำเพ็ง กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นย่านพาณิชยกรรม ชั้นในของเมือง ที่มีเอกลักษณ์ และมีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูง ย่านเยาวราช-ส�ำเพ็งอยู่ในพื้นที่เขตรับผิดชอบของสถานี ต�ำรวจนครบาลจักรวรรดิและพลับพลาไชย 2 และมีสถิติการเกิดอาชญากรรมประเภทคดีลักทรัพย์ ในปี พ.ศ. 2550-2561 ระยะเวลา 12 ปี รวมทั้งหมด 1,101 คดี โดยคดีลักทรัพย์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่สาธารณะ เช่น การล้วงกระเป๋า การขโมยสินค้า ที่สามารถระบุต�ำแหน่งการเกิดคดีได้อย่างชัดเจนในพื้นที่ย่าน มีมากถึง 183 คดี การศึกษารูปแบบการเกิดอาชญากรรม ดังกล่าว ร่วมกับต�ำแหน่งร้านค้าภายในอาคารพาณิชย์ และร้านค้าแผงลอย มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายปรากฎการณ์ และ ลักษณะการเกิดอาชญากรรม ที่มีความสอดคล้องกับกิจกรรมการค้าในช่วงเวลาต่างๆ ภายในย่าน ผลการศึกษาพบว่า อาชญากรรมมักเกิดขึ้นในช่วงเวลาเฉพาะของพื้นที่ย่าน ที่มีการเปิดท�ำการของกิจกรรมการค้า ข้างทาง โดยเฉพาะในต�ำแหน่งใกล้บริเวณทางร่วมทางแยกของเส้นทางเดินเท้าในพืน้ ที่ ซึง่ เป็นปรากฏการณ์ของการมีจำ� นวน ผูส้ ญ ั จรทีม่ าจับจ่ายซือ้ สินค้าและบริการ เพิม่ มากขึน้ กว่าจากระดับการสัญจรอิสระทีม่ วี ตั ถุประสงค์การสัญจรอืน่ ๆ โดยทัว่ ไป ของพืน้ ทีย่ า่ น สามารถสือ่ นัยถึงพืน้ ทีเ่ ฉพาะในช่วงเวลาดังกล่าวนัน้ เป็นสถานทีแ่ ละช่วงเวลาทีเ่ หมาะสมทีม่ เี หยือ่ อาชญากรรม รวมตัวเป็นกลุ่มเป้าหมายจ�ำนวนมาก ซึ่งเอื้อให้อาชญากรสามารถอําพรางตัวไปในหมู่ผู้คนขณะก่อเหตุไุด้ และใช้ทางร่วม แยกหลบหนีออกไป โดยที่สายตาเฝ้าระวังอันเป็นดัชนีความปลอดภัยของการเดินเท้าในเมือง ไม่สามารถท�ำงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ค�ำส�ำคัญ: อาชญากรรม, การลักทรัพย์, เยาวราช, ส�ำเพ็ง, การสัญจรอิสระ, สายตาเฝ้าระวัง

ABSTRACT This article was summarized from research studies aiming at studying the patterns, locations, frequencies and time periods of the crimes against the properties in the public spaces, Yaowarat-Sampheng, where is an inner commercial area of Bangkok with identities and high economical values. The area is under the responsibility of Chakrawat and Phapphachai Police Stations where 1,101 cases of the crimes against the properties occurring during 2007 - 2018 (or the period of 12 years) (Royal Thai Police, 2019). The cases of the crimes were such as pickpocketing and larceny. There were 183 cases with locations that could be identified clearly in the area.Thus, the study of the crime pattern in correlation with the location of street retails and vendors in various times and days is mainly aimed to describe their interrelationship if any. The research findings reveal that the time periods of the crimes pattern are unique in the area with street vending, particularly the locations near the intersections of walkways. These are the phenomenon of the commercial attractor movement extra-overlaying on the natural movement of other regular pedestrians. This implies that the mentioned time periods and locations are appropriate for the high numbers of victims or target groups to gather and facilitate criminals to infiltrate in the groups and fleeing by using the intersections. The ‘eyes-on-streets’, a safety indicator of urban pedestrians, are not effective. Keywords: crime, pickpocketing, Yaowarat, Sampheng, natural movement, eyes-on-street

41


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

1. บทน�ำ อาชญากรรมคดีลักทรัพย์ในพื้นที่สาธารณะ อันประกอบไปด้วย การล้วงกระเป๋า การขโมย สินค้า เป็นปัญหาต่อ ความปลอดภัยทีส่ าํ คัญยิง่ ของเมือง นอกจากจะส่งผลกระทบโดยตรงถึงความ ปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ ของคนในเมือง แล้ว ยังมีผลต่อบรรยากาศการดําเนินกิจกรรมของคน เดินเท้าในชีวิตประจําวัน โดยเฉพาะในพื้นที่ย่านการค้าที่มีกิจกรรม เชิงพาณิชย์ เช่น ร้านค้าภายในอาคาร และการค้าข้างทาง (street vendings) ที่หนาแน่น เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มี “กลุ่มเป้า หมาย” (target group) ของอาชญากรค่อนข้างมาก (Baran, Smith and Toker, 2007) และมีความพลุกพล่านของผู้คน และยังสะดวกในการอําพรางตัวของอาชญากรอีกด้วย (วิชชากร พรก�ำเหนิดทรัพย์, 2557) การศึกษานี้อ้างถึงแนวคิดของ “สายตาเฝ้าระวัง” (eyes on street) ของ Jacobs (1960) ที่กล่าวว่า มีผลต่อการ ลดการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่สาธารณะ โดยเฉพาะบนบาทวิถีในเมือง จาก การที่ผู้คนเฝ้ามองและระวังซึ่งกันและกัน ซึง่ เป็นปรากฏการณ์ของพืน้ ทีส่ าธารณะทีม่ ชี วี ติ ชีวาและมี ความปลอดภัย ทัง้ นีก้ ารศึกษานีเ้ สนอข้อโต้แย้งเชิงทฤษฎีทสี่ าํ คัญ กล่าวคือ “สายตาเฝ้าระวัง” ตาม นิยามของ Jacobs จะทําหน้าที่ในการป้องกันหรือลดการเกิดอาชญากรรมได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ก็ ต่อเมื่อสายตาเฝ้าระวังนั้นเกิดจาก “การสัญจรอิสระ” (natural movement) (Hillier,1983) อันเป็นการ สัญจรปกติของคนเดินเท้าในเมือง ที่กระจายตัวกันอยู่มากน้อยไม่เท่ากันบนโครงข่ายพื้นที่สาธารณะของเมือง การสัญจร อิสระที่มีระดับแตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ ซึ่งจะทําให้มีสายตาเฝ้าระวังของผู้คนที่สัญจรผ่านไปมา สามารถป้องกันหรือ ลดการเกิด อาชญากรรมได้ หากพืน้ ทีน่ นั้ ๆ มี “การสัญจรดึงดูด” (attractor movement) หรือการสัญจรทีเ่ กิดขึน้ อันเนือ่ ง มาจากการดึงดูดของ กิจกรรมเชิงพาณิชย์ทั้งร้านค้าภายในอาคาร และการค้าข้างทาง เพิ่มขึ้นจากระดับการสัญจรอิสระ ที่ปกติแล้ว (Hillier,1996) สายตาเฝ้าระวังที่มีประโยชน์ในการป้องกันหรือลดการเกิดอาชญากรรมบนพื้นที่สาธารณะ อาจไม่สามารถทํางานอย่างมีประสิทธิภาพเช่นเดิมอีกต่อไป กรณีศกึ ษาในงานวิจยั ชิน้ นี้ คือ พืน้ ทีย่ า่ นเยาวราช-สําเพ็ง เป็นแหล่งพาณิชยกรรมทีม่ มี ลู ค่าทางเศรษฐกิจสูง มีความ หนาแน่นของกลุม่ คนทีส่ ญ ั จรผ่าน พืน้ ที่ และกลุม่ คนทีส่ ญ ั จรเพือ่ เข้าถึงกิจกรรมการค้าในพืน้ ที่ เป็นสถานทีร่ วมกลุม่ เป้าหมาย หรือเหยื่อของอาชญากรไว้ค่อนข้างมาก มีกิจกรรมการค้า หรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ทรัพย์สินเกิดขึ้นในช่วงเวลาต่างๆ ภายในย่าน ซึ่งมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดอาชญากรรมลักทรัพย์ใน พื้นที่สาธารณะ เช่น การล้วงกระเป๋า การขโมยสินค้า โดยสามารถระบุตําแหน่งการเกิดคดีได้อยา่งชัดเจนและอยู่ในขอบเขตพื้นที่ศึกษา มากถึง 183 คดี บทความนี้เสนอการ ศึกษาและวิเคราะห์ถึง ลักษณะตําแหน่ง ความถี่ของการเกิดอาชญากรรมคดีลักทรัพย์ในพื้นที่สาธารณะร่วมกับตําแหน่ง ร้านค้าและแผงลอยในช่วงเวลาต่างๆ ว่ามีความสอดคล้องกันหรือไม่ อย่างไร

2. แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แนวคิดและทฤษฎีที่อธิบายถึงสาเหตุการเกิดอาชญากรรม เช่น ทฤษฎีการเลือกอย่างมี เหตุผล (Rational Choice Theory) ได้อธิบายบนพื้นฐานความเชื่อที่ว่า “อาชญากรรู้จักใช้เหตุผลใน การก่อเหตุ” โดยการเกิดอาชญากรรมในแต่ละ ครัง้ ไม่ได้เกิดจากความบังเอิญ แต่อาชญากรมีการ ไตร่ตรองมาอย่างรอบคอบถึงเหตุผลต่างๆ ทีป่ ระกอบร่วมกันในการเลือก ก่อเหตุ ซึ่งมี 3 องค์ประกอบ ได้แก่ การเลือกสถานที่ก่อเหตุ การเลือกเป้าหมายหรือเหยื่อ และการเรียนรู้เทคนิคการ เป็นอาชญากร เช่นเดียวกันกับทฤษฎีสามเหลี่ยมอาชญากรรม (Crime Triangle Theory) (Erk, 1994 อ้างถึงใน Miro, 2014) ทีอ่ ธิบายถึง 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ผูก้ ระทําผิดหรือคนร้าย (offender) 2) เหยือ่ (victim) หรือเป้าหมายในสถานที่ ต่างๆ 3) โอกาส (opportunity) หรือ ช่วงเวลา (time) และสถานที่ (place) ที่เหมาะสมที่คนร้ายมีความสามารถจะลงมือ กระทําความผิดหรือก่ออาชญากรรม ดังนั้น เมื่อเหตุการณ์หรือสถานการณ์ครบองค์ประกอบทั้ง 3 ด้าน จะส่งผลให้เกิดการ ก่ออาชญากรรมขึ้น

42


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ทั้งนี้ Baran, Smith and Toker (2007) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอาชญากรรม ประทุษร้าย แก่ทรัพย์สิน ได้แก่ การ ชิงทรัพย์ ลักขโมย การโจรกรรมรถยนต์ ในเมืองแครี่ (Cary) ประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่า อาชญากรรมประทุษร้ายแก่ ทรัพย์สินมักเกิดบนพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดิน ประเภทพาณิชยกรรม จะมีความสัมพันธ์กับการเกิดอาชญากรรมที่ เกี่ยวข้องกับทรัพย์สิน เช่น อพาร์ทเมนท์ โรงแรม ห้างสรรพสินค้า เน่ืองจากบริเวณดังกล่าวมักเกาะตัวอยู่ตามถนนบริเวณ ที่มี จํานวนผู้คนสัญจรอยู่ทั่วไปมาก กล่าวได้ว่าในเมืองแครี่ รัฐนอร์ทคาโรลิน่า ประเทศสหรัฐอเมริกา อาชญากรมักเลือก พื้นที่ที่ง่ายต่อการเข้าถึง และเป็นสถานท่ีที่รวมตัวกันของเป้าหมายหรือเหยื่อที่ เหมาะสมนั้นเอง เช่น จํานวนผู้คนที่สัญจร อยู่ทั่วไป อาจกล่าวได้ว่า พื้นที่ที่มีชีวิตชีวา มีร้านค้า หรือ ย่านพาณิชยกรรมนั้น คือลักษณะที่เอื้อให้เกิดอาชญากรรม ประทุษร้ายแก่ทรัพย์สิน สอดคล้องกันกับ วิชชากร พรกําเหนิดทรัพย์ (2557) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบพื้นที่กับ รูปแบบการ เกิดอาชญากรรมกลุ่มคดีประทุษร้ายแก่ทรัพย์สินในแขวงชนะสงคราม พบว่า อาชญากรรม ประเภทลักทรัพย์ มักเกิดขึ้น ในบริเวณที่มีการปะปนของคนในพื้นที่และนอกพื้นที่ เพื่อเพิ่มโอกาสในการอ�ำพรางตัวของอาชญากรขณะก่อเหตุ นอกจากนี้ วรยา ไทพาณิชย์ (2543) พบว่า เขตพื้นที่สถานีตํารวจนครบาลบางซื่อ มักจะเกิดคดีประทุษร้ายแก่ ทรัพย์สินในช่วงเวลา 17.00-20.59 น. เนื่องจากเป็นช่วงเวลาที่มีความพลุกพล่านของ ผู้คน โดยอาชญากรจะใช้โอกาสใน การประกอบอาชญากรรม นอกจากนี้จากศึกษาของ ไชยยุทธ ลียะวณิช (2548) พบว่า เขตพื้นที่สถานีตํารวจนครบาล บางรัก จะเกิดคดีลักทรัพย์ในช่วงเวลากลางวัน มากที่สุด คือ 06.01-18.00 น. จากการศึกษาแนวคิดและงานวิจัย สรุปได้ว่า รูปแบบการเกิดอาชญากรรมกลุ่มคดีประทุษร้าย แก่ทรัพย์สิน มักจะ เกิดขึ้นในพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม จะมีความสัมพันธ์ กับการเกิดอาชญากรรมที่เกี่ยวข้องกับ ทรัพย์สิน เช่น อพาร์ทเมนท์ โรงแรม ห้างสรรพสินค้า และร้านค้า เน่ืองจากเป็นพื้นที่ที่มีความพลุกพล่านและขวักไขว่ของ ผู้คนที่สัญจรไปมา หรือเป็นพื้นที่ที่ง่ายต่อการเข้าถึง ซึ่งเป็นลักษณะที่เอื้อให้อาชญากรสามารถอําพรางตัวในขณะก่อเหตุ และหลบหนีไปได้

3. การสัญจรอิสระและสายตาเฝ้าระวังในเมือง การสัญจรอิสระ (natural movement) คือ การสัญจรตามปกติทั่วไปของคน เดินเท้าบนโครงข่ายพื้นที่สาธารณะ ของเมืองทีม่ รี ะดับมากน้อยอันเนือ่ งมาจากลักษณะโครงข่ายทีแ่ ตก ต่างกัน โดยในแต่ละพืน้ ทีจ่ ะมีระดับการสัญจรอิสระมาก น้อยแตกต่างกัน (Hillier,1983) มีผลทําให้บางส่วนคึกคัก บางส่วนเงียบสงบ ทั้งนี้ Jacobs (1961) ได้แสดงแนวคิดเกี่ยวกับการเดินบนพื้นที่สาธารณะ ที่แสดงถึงความคึกคักและมีชีวิตชีวา การ ที่มีผู้คนสัญจรไปมา หรือมีกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมการค้า ของคนในย่าน จะเป็นการเพิ่ม “สายตาเฝ้าระวัง” โดยการ ที่มีสภาพแวดล้อมแบบเปิดกว้าง มีการสัญจรผ่านมากในพื้นที่และมีการดูดซึมคนแปลกหน้าเข้าพื้นที่จะเป็นกลไกในการ ช่วยเป็นหูเป็นตา เฝ้า ระมัดระวังซึ่งกันและกันในพื้นที่สาธาณะของเมือง ซึ่งมีส่วนช่วยทําให้เกิดอุปสรรคต่อการเกิด อาชญากรรม ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิด “สายตาเฝ้าระวัง” ของ Jacobs (1961) และทฤษฎีการสัญจร อิสระ (Theory of Natural Movement) (Hillier, 1993) อาจกล่าวได้ว่า “สายตาเฝ้าระวัง” นั้น หมายถึง สายตาจากผู้คนที่สัญจรผ่านไปมา ซึ่งเกิดขึ้นอย่างเป็นธรรมชาติบนพื้นที่สาธารณะ โดยการ สัญจรอิสระ คือความนิยมในการสัญจรของผู้คนที่มีความสัมพันธ์ กับระบบโครงข่ายการสัญจรของ เมืองทีก่ ระจายตัวอยูม่ ากน้อยไม่เท่ากัน ดังนัน้ “สายตาเฝ้าระวัง” มีอยูใ่ น การสัญจรอิสระ หรือก็คอื สายตาเฝ้าระวังนัน้ มาจากผูค้ นทีส่ ญ ั จรผ่านไปมาในระบบโครงข่ายการสัญจรของเมืองทีม่ รี ะดับการ สัญจรมากน้อย ไม่เท่ากัน โดย “สายตาเฝ้าระวัง” จะมีประสิทธิภาพได้เนือ่ งมาจากการทีม่ ผี คู้ นสัญจร ผ่านไปมาในพืน้ ที่ โดยมีคนแปลกหน้า และคนในพื้นที่เป็นกลไกช่วยเป็นหูเป็นตา เฝ้าระมัดระวังซึ่งกัน และกันในพื้นที่สาธาณะของเมือง

43


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

4. วิธีการด�ำเนินการ การด�ำเนินงานมี 2 ขัน้ ตอน ได้แก่ 1) ศึกษาข้อมูลทุตยิ ภูมถิ งึ ลักษะทางกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม รวมทัง้ น�ำข้อมูล บันทึกประจ�ำวันการเกิดอาชญากรรมลักทรัพย์บนพืน้ ทีส่ าธารณะในพืน้ ทีเ่ ขตรับผิดชอบของสถานีตำ� รวจนครบาลจักรวรรดิ และพลับพลาไชย 2 กรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2550 - 2561 (ระยะเวลา 12 ปี) จ�ำนวน 183 คดี และท�ำการส�ำรวจและ บันทึกต�ำแหน่งร้านค้าและแผงลอยภายในย่าน 2) วิเคราะห์รปู แบบการเกิดอาชญากรรมลักทรัพย์บนพืน้ ทีส่ าธารณะ ร่วมกับ ต�ำแหน่งร้านค้าและแผงลอย

5. พื้นที่ศึกษา พื้ น ที่ ย ่ า นเยาวราช-ส� ำ เพ็ ง เป็ น พื้ น ที่ ศึ ก ษาอยู ่ ใ นเขตรั บ ผิ ด ชอบของสถานี ต� ำ รวจนครบาลจั ก รวรรดิ แ ละ พลับพลาไชย 2 กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ทั้งหมด 348 ไร่

ทิศเหนือ จรด ถนนเจริญกรุง ทิศใต้ จรด ถนนทรงวาด ถนนอนุวงศ์ ถนนจักรวรรดิ์และถนนบพิตรพิมุข ทิศตะวันออก จรด สี่แยกเฉลิมบุรี ทิศตะวันตก จรด คลองบางล�ำพู-คลองโอ่งอ่าง

ภาพที่ 1 ขอบเขตพื้นที่ศึกษาและสถานที่ส�ำคัญในย่านเยาวราช-ส�ำเพ็ง ในเขตรับผิดชอบของสถานีต�ำรวจนครบาลจักรวรรดิและพลับพลาไชย 2 กรุงเทพมหานคร

6. ข้อมูลทั่วไปทางกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม พื้นที่ย่านเยาวราช-สําเพ็ง ในอดีตสมัยรัชกาลที่ 1 เป็นย่านชุมชนและแหล่งการค้าของชาวจีนแห่งแรก ในกรุงเทพมหานคร มีการขายสินค้าอุปโภคบริโภคภายในประเทศและนําเข้าจาก ต่างประเทศ เป็นแหล่งรวมอบายมุข ระดับใหญ่ที่มีแหล่งชุมชนอาศัยอยู่หนาแน่น มีความแออัดและมีสุขภาวะไม่ดี ในสมัยรัชกาลที่ 5 จึงมีการตัดถนนเยาวราช

44


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ผ่าน ประกอบกับการสร้างตึกแถวริมถนนในสมัยนัน้ ทําให้เกิดย่านใหม่ ซึง่ เปิดโอกาสให้ชาวจีนจาํ นวนมากได้เริม่ ขยับขยาย กิจการของตัวเองนับตั้งแต่นั้น จึงเป็นจุดเริ่มต้นของห้างร้านถาวรทันสมัย เกิดเป็นย่านศูนย์กลางธุรกิจและการค้าที่เจริญ รุ่งเรืองแห่งใหม่ของอําเภอสําเพ็ง จนกระทั่งปัจจุบัน ย่านเยาวราชมีการผ่อนผันให้ทําการค้าหาบเร่แผงลอยได้ เพื่อส่งเสริม เศรษฐกิจ สร้างความคึกคัก มีชีวิตชีวาและเป็นแหล่งรวมกิจการการค้าข้างทางที่มีชื่อเสียงและอัตลักษณ์มากที่สุดแห่งหนึ่ง ของกรุงเทพมหานคร ภายในย่านมีธนาคาร ร้านทอง ภัตตาคาร ร้านอาหารแห้ง ร้านค้า และการค้าข้างทางที่หลากหลาย ในขณะทีพ่ นื้ ทีต่ อ่ เนือ่ งย่านสําเพ็งเป็นตลาดสินค้าขายปลีกและส่ง ประเภทสินค้า กิฟ๊ ต์ชอ็ ป เครือ่ งใช้ เครือ่ งประดับ และสินค้า จิปาถะในชีวิตประจําวัน จากลักษณะย่านพาณิชยกรรมนี้จึงมักเกิดอาชญากรรมลักทรัพย์บนพื้นที่สาธารณะภายในย่าน สร้างความไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของคนภายในย่านเยาวราช-สําเพ็ง

7. ต�ำแหน่ง ความถี่ และช่วงเวลาการเกิดอาชญากรรมประเภทลักทรัพย์ในพื้นที่ สาธารณะ การเกิดอาชญากรรมประเภทลักทรัพย์ในพืน้ ทีส่ าธารณะมักเกิดในย่านพาณิชยกรรม ซึง่ มีกจิ กรรมเชิงพาณิชย์ โดย เฉพาะอย่างยิง่ ในย่านเยาวราช-สาํ เพ็ง ทีม่ กี ารผ่อนผันพิเศษ ท�ำให้สามารถทาํ การค้าข้างทางได้ โดยมีจำ� นวนคดีอาชญากรรม ที่สามารถระบุตําแหน่งได้ มากถึง 183 คดี ซึ่งถือว่ามาก หากเปรียบเทียบกับพื้นที่อื่นๆ ในย่านใกล้เคียง หรืองานวิจัยที่ใกล้ เคียงนี้ที่มีจ�ำนวนคดีอาชญากรรมต่อสิบปี เพียงไม่ถึง 20 คดี เช่น งานวิจัยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบพื้นที่กับ รูป แบบการเกิดอาชญากรรมกลุ่มคดีประทุษร้ายแก่ทรัพย์สินในแขวงชนะสงคราม (วิชชากร พรกําเหนิดทรัพย์, 2557) จึง เปรียบเทียบได้ว่า ย่านเยาวราช-ส�ำเพ็งเป็นย่านที่มีสถิติอาชญากรรมลักทรัพย์ในพื้นที่สาธารณะสูง เนื่องมาจากลักษณะ ความเป็นย่านพาณิชยกรรมอันส�ำคัญของเมือง

ภาพที่ 2 ต�ำแหน่งการเกิดอาชญากรรมคดีลักทรัพย์บนพื้นที่สาธารณะในย่านเยาวราช-ส�ำเพ็ง ปี พ.ศ. 2550-2561 ระยะเวลา 12 ปี ที่มา: สถานีต�ำรวจนครบาลจักรวรรดิและพลับพลาไชย 2 กรุงเทพมหานคร

45


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

จากภาพที่ 2 ผลการวิเคราะห์ลกั ษณะต�ำแหน่งและความถีก่ ารเกิดอาชญากรรมลักทรัพย์บนพืน้ ทีส่ าธารณะ พบว่า ถนนทีม่ ตี ำ� แหน่งและความถีข่ องการเกิดอาชญากรรมดังกล่าวสูงทีส่ ดุ 5 ลาํ ดับ1) ถนนเยาวราช 50 ตาํ แหน่ง 2) ซอยวานิช 1 47 ตําแหน่ง 3) ถนนราชวงศ์ 12 ตําแหน่ง 4) ตรอกโรงโคม 10 ตําแหน่ง และ 5) ถนนเพาะพาณิชย์ 9 ต�ำแหน่ง ตามลําดับ จะเห็นได้ว่าไม่ได้เกิดขึ้นเพียงบนถนนสายหลักเท่านั้น ยังพบว่า ลักษณะการเกิดอาชญากรรมลักทรัพย์บนพื้นที่สาธารณะ มักมีการกระจุกตัวเกิดขึ้นตามถนนสายย่อย เช่น ตรอก ซอย ต่าง ๆ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นถนนสายการค้าที่ส�ำคัญของย่าน ที่มีกิจกรรมการค้าอีกด้วย และมีต�ำแหน่งและความถี่มากใกล้บริเวณทางร่วมแยก

ภาพที่ 3 นาฬิกาการเกิดอาชญากรรมคดีลักทรัพย์บนพื้นที่สาธารณะ 4 ช่วงเวลา ในพื้นที่ศึกษา ที่มา : สถานีต�ำรวจนครบาลจักรวรรดิและพลับพลาไชย 2 กรุงเทพมหานคร นอกจากนี้ ยังพบว่า อาชญากรคดีลกั ทรัพย์บนพืน้ ทีส่ าธารณะเลือกช่วงเวลาในการก่อเหตุทเี่ หมาะสม จากภาพที่ 3 นาฬิกาอาชญากรรม หรือจ�ำนวนการเกิดคดีลกั ทรัพย์บนพืน้ ทีส่ าธารณะ แบ่งเป็น 4 ช่วงเวลา โดยช่วงเวลาเช้า 06.00 - 11.59 น. มีจ�ำนวน 27 คดี ช่วงเวลากลางวัน 12.00 - 17.59 น. มีจ�ำนวน 114 คดี ช่วงเวลากลางคืน 18.00 - 00.00 น. มีจ�ำนวน 25 คดี และช่วงเวลาเช้ามืด 00.01 -05.59 น. มีจ�ำนวน 17 คดี พบว่า มีคดีเกิดขึ้นในช่วงกลางวันมากที่สุดอย่างมีนัยส�ำคัญ รองลงมาเป็นช่วงเช้า ลาํ ดับทีส่ ามคือช่วงกลางคืน และลาํ ดับสุดท้ายเป็นช่วงเช้ามืด จะเห็นว่าจ�ำนวนการเกิดคดีอาชญากรรม ดังกล่าวในช่วงเวลาต่าง ๆ มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน

8. ต�ำแหน่งร้านค้าภายในอาคารพาณิชย์และแผงลอย พื้นที่เยาวราช-สําเพ็ง มีรูปแบบการค้า 2 รูปแบบ ได้แก่ ร้านค้าภายในอาคารพาณิชย์ และการค้าข้างทาง หรือ หาบเร่แผงลอย คือการรวมการค้าสองลักษณะไว้ด้วยกัน โดยการค้าแบบเร่ขาย คือ เคลื่อนที่ได้ และการค้าบนแผงซึ่งอยู่ กับที่ เป็นการค้าซึ่งใช้พื้นที่สาธารณะข้างทาง เช่น ริมถนน ตรอก ซอย ทางเท้า ซึ่งสร้างความมีชีวิตชีวาให้แก่ย่าน เมื่อถึง ช่วงเวลาทีร่ า้ นค้าและการค้าข้างทางเปิดทาํ การ จะเป็นช่วงทีม่ ผี คู้ นหลัง่ ไหลเข้ามาเพือ่ ทํากิจกรรมการค้าดังกล่าว เกิดพลวัต การใช้งานบริเวณนั้น นอกจากนี้ รูปแบบการค้าที่ตั้งอยู่รวมตัวกัน เป็นสินค้าประเภทเดียวกัน ย่อมส่งผลต่อแรงดึงดูดความ สนใจให้กับผู้ที่เข้ามาทํากิจกรรม และนักท่องเที่ยวภายในย่าน อาจกล่าวได้ว่า ตําแหน่งการค้าภายในย่านสร้างความหนา แน่นของผู้คนในแต่ละบริเวณที่เข้ามาทํากิจกรรมต่างๆ จากการลงสาํ รวจเก็บข้อมูลของผูศ้ กึ ษา ร้านค้าภายในอาคารพาณิชย์รมิ ถนนเยาวราชมีประเภทร้านค้า ได้แก่ ร้านอาหาร ร้านขายของชํา ร้านขายของแห้งและผลไม้แห้ง ร้านห้างทอง โรงแรม ธนาคาร และร้านค้าทั่วไป ในขณะที่ร้านค้าภายใน อาคารพาณิชย์บนซอยวานิช 1 มีสินค้าเฉพาะชนิดเดียวกันรวมตัวอยู่ในพื้นที่บริเวณใกล้เคียงกัน เช่น ร้านกิ๊ฟต์ช็อป และ เครื่องใช้ในชีวิตประจําวันต่างๆ

46


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

การค้าข้างทาง หรือ แผงลอย ภายในย่าน แบ่งสินค้าเป็น 8 ประเภท ได้แก่ ประเภทอาหารปรุง อาหารแห้ง เกาลัด ผลไม้ เครื่องดื่มหรือน้ําผลไม้ สลากกินแบ่งรัฐบาล สินค้าจิปาถะ เช่น สินค้าไหว้เจ้า สินค้าเครื่องใช้จีน เสื้อผ้าจีน เป็นต้น ประเภทสินค้าที่แผงลอยมักจะรวมกลุ่มขายใกล้เคียงบริเวณเดียวกันกับร้านค้าภายในอาคารพาณิชย์ ได้แก่ ประเภท กิ๊ฟต์ช็อป อาหารแห้ง และอาหารปรุง พื้นที่เยาวราช-สําเพ็ง เป็นย่านที่มีพลวัตหมุนเวียนสลับเปลี่ยนการใช้พื้นที่เพื่อทํากิจกรรมการค้า ตลอดทั้งวัน โดยร้านค้าภายในอาคารพาณิชย์และการค้าข้างทางมีช่วงเวลาเปิดทําการไปจนปิดทําการ สามารถแบ่งออกเป็น 4 ช่วง ได้แก่ ช่วงเช้าเริ่ม ตั้งแต่เวลา 06.00-11.59 น. ช่วงกลางวันเริ่มตั้งแต่เวลา 12.00-17.59 น. ช่วงกลางคืนเริ่มตั้งแต่ 18.0000.00 น. และช่วงเช้ามืด เริ่มตั้งแต่เวลา 00.01-05.59 น. ซึ่งจะวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ร่วมกันกับลักษณะต�ำแหน่งและ ความถี่การเกิดอาชญากรรมคดีลักทรัพย์บนพื้นที่สาธารณะ ในช่วงเวลาต่าง ๆ ในประเด็นถัดไป

ภาพที่ 4 ต�ำแหน่งร้านค้าภายในอาคารพาณิชย์และแผงลอยที่เปิดท�ำการทั้งหมด

ภาพที่ 5 ตัวอย่างร้านค้าภายในอาคารพาณิชย์และแผงลอยที่เปิดท�ำการในซอยวานิช 1

47


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

9. การวิเคราะห์ลักษณะต�ำแหน่งและความถี่คดีลักทรัพย์บนพื้นที่สาธารณะและ ต�ำแหน่งการค้า จากต�ำแหน่งการเกิดอาชญากรรมคดีลักทรัพย์บนพื้นที่สาธารณะ (ภาพที่ 2) ประกอบกับต�ำแหน่งร้านค้าภายใน อาคารพาณิชย์และแผงลอย (ภาพที่ 4) ในช่วงเช้า เวลา 06.00-11.59 น. พบว่า เป็นช่วงเวลาทีม่ กี ารสัญจรอิสระ คือ การเดิน ไปเรียน ไปท�ำงาน ซึ่งมีร้านค้าภายในอาคารพาณิชย์และแผงลอยทยอยเปิดทําการบางส่วน ยังมีกิจกรรมการค้าไม่มากนัก โดยตําแหน่งคดีอาชญากรรมส่วนใหญ่เกิดขึ้นตามบริเวณที่มีร้านค้าและแผงลอยเปิดบางส่วนในช่วงเช้า ได้แก่ บริเวณริม ถนนเยาวราช ริมถนนเจริญกรุง ริมถนนราชวงศ์ ตรอกโรงโคม ซอยวานิช 1 และถนนเพาะพาณิชย์ นอกจากนี้ยังมีต�ำแหน่ง อาชญากรรมที่ไม่ได้เกิดขึ้นตามบริเวณร้านค้าและแผงลอย แต่เกิดขึ้นบริเวณถนนสายหลักและสายรอง คือ ถนนจักรวรรดิ์ และถนนทรงวาด มีลกั ษณะการเกิดคดีอาชญากรรมทีก่ ระจายตัวไปในบริเวณทีม่ กี จิ กรรมการค้าเกิดขึน้ รวมทัง้ บนถนนสายหลัก ทีม่ ผี คู้ นเดินผ่านในช่วงเช้า อาจกล่าวได้วา่ อาชญากรเลือกก่อเหตุในตอนเช้าบริเวณทีม่ คี วามพลุกพล่านของผูค้ นทีท่ ำ� กิจกรรม หรือมีการสัญจรผ่าน

ภาพที่ 6 ความสัมพันธ์ระหว่างต�ำแหน่งการเกิดอาชญากรรมคดีลักทรัพย์บนพื้นที่สาธารณะ และร้านค้าภายในอาคารพาณิชย์กับแผงลอยที่เปิดท�ำการช่วงเช้า จากภาพที่ 7 ในช่วงกลางวัน เวลา 12.00-17.59 น. พบว่า เป็นช่วงเวลาทีม่ กี ารค้าเปิดท�ำการทัง้ หมด ซึง่ สอดคล้อง กันกับช่วงเวลาเดียวทีม่ กี ารเกิดอาชญากรรมมากทีส่ ดุ และจะเห็นได้วา่ มีคดีเพิม่ จากช่วงเช้า โดยมีการกระจุกตัวใกล้บริเวณ ตําแหน่งร้านค้าและแผงลอยในช่วงเวลานี้อย่างชัดเจน พบมากที่บริเวณริมถนนเยาวราชฝั่งตะวันออก ได้แก่ บริเวณถนน มังกร ตรอกโรงโคม ถนนเยาวพานิช และพื้นที่ต่อเนื่อง ส่วนบริเวณย่านส�ำเพ็ง ไดแก่ บริเวณซอยวานิช 1 ตั้งแต่สะพานหัน จนถึงตรอกโรงโคม ถนนเพาะพาณิชย์ และซอยผลิตผล ซึ่งเป็นบริเวณที่มีตำ� แหน่งการค้าที่เปิดท�ำการและมีกิจกรรมอยู่ อย่างหนาแน่นเป็นจํานวนมาก โดยเฉพาะทางร่วมแยก นอกจากนี้ยังมีการเกิดอาชญากรรมที่บริเวณพื้นที่ต่อเนื่องจาก ซอยวานิช 1 ซึง่ ใกล้สถานทีอ่ นั ส�ำคัญ ได้แก่ บริเวณตรอกชัยภูมใิ กล้ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองเซีย้ อึง้ กง ทีม่ กั มีนกั ท่องเทีย่ วเข้ามาท�ำ กิจกรรม ไหว้พระขอพร อาจกล่าวได้วา่ ความหนาแน่นและพลุกพล่านของผูค้ นทีท่ ำ� กิจกรรม เป็นเหตุให้อาชญากรลักทรัพย์ มักเลือกก่อเหตุในช่วงเวลากลางวันนี้

48


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ภาพที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างต�ำแหน่งการเกิดอาชญากรรมคดีลักทรัพย์บนพื้นที่สาธารณะ และร้านค้าภายในอาคารพาณิชย์กับแผงลอยที่เปิดท�ำการช่วงกลางวัน จากภาพที่ 8 ในช่วงกลางคืน เวลา 18.00-00.00 น. พบว่า เป็นช่วงเวลาทีก่ ารค้าทยอยปิดท�ำการลง ยกเว้นบริเวณ ย่านเยาวราช บางส่วนจึงคึกคัก บางส่วนจึงเงียบ ซึง่ สอดคล้องกันกับบริเวณทีม่ คี ดีเกิดขึน้ ได้แก่ ริมถนนเยาวราช ตรอกโรงโคม และพืน้ ทีต่ อ่ เนือ่ ง ซึง่ เป็นบริเวณทีม่ ชี อื่ เสียงโด่งดังในด้านอาหารริมทาง ทําให้เกิดกิจกรรมคึกคักในยามกลางคืน ผู้คนเข้ามา เพื่อทํากิจกรรมการค้า เดินชิมอาหาร และนั่งรับประทานอาหารอย่างหนาแน่น จึงกล่าวได้ว่า ความพลุกพล่านเป็นส่วนที่ ก่อให้เกิดลักษณะทีเ่ อือ้ ให้อาชญากรอ�ำพรางและแฝงตัวไปในหมูผ่ คู้ นขณะก่อเหตุ และสามารถหลบหนีไปได้โดยง่าย นอกจากนี้ ยังมีการเกิดอาชญากรรมในบริเวณอืน่ ๆ ได้แก่ บริเวณถนนบริพตั ร บริเวณถนนจักรวรรดิ์ ถนนอนุวงศ์ และถนนทรงสวัสดิ์ ซึ่งเป็น บริเวณถนนสายหลักและสายรองทีม่ กี ารเข้าถึงได้งา่ ย เนือ่ งจากบริเวณดังกล่าวยังมีผคู้ นสัญจรผ่านและเป็นช่วงเวลาทีค่ วาม สามารถในการมองเห็นลดลง จึงท�ำให้อาชญากรยังสามารถก่อเหตุได้ในช่วงเวลานี้

49


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ภาพที่ 8 ความสัมพันธ์ระหว่างต�ำแหน่งการเกิดอาชญากรรมคดีลักทรัพย์บนพื้นที่สาธารณะ และร้านค้าภายในอาคารพาณิชย์และแผงลอยที่เปิดท�ำการช่วงกลางคืน จากภาพที่ 9 ในช่วงเช้ามืด เวลา 00.01-05.59 น. ผลการศึกษาลักษณะการเกิดอาชญากรรมคดีลกั ทรัพย์บนพืน้ ที่ สาธารณะ พบว่า เป็นช่วงเวลาที่มีจ�ำนวนการเกิดอาชญากรรมคดีลักทรัพย์บนพื้นที่สาธารณะน้อยที่สุด เนื่องจากร้านค้า ส่วนใหญ่ปดิ ท�ำการทัง้ หมด มีเพียงร้านสะดวกซือ้ 24 ชัว่ โมง และแผงลอยในพืน้ ทีบ่ ริเวณตลาดส�ำเพ็งตีสอง เปิดท�ำการ ซึง่ ยังมี กิจกรรมการค้าทีค่ กึ คักเป็นบางส่วนของพืน้ ที่ ซึง่ สอดคล้องกันกับต�ำแหน่งการเกิดอาชญากรรมทีเ่ กิดขึน้ ใกล้บริเวณตาํ แหน่ง แผงลอยและร้านสะดวกซือ้ เท่านัน้ ทัง้ ยังกระจุกตัวบริเวณต�ำแหน่งแผงลอยทีท่ างร่วมแยก ในช่วงเวลานีอ้ ย่างเห็นได้ชดั เจน อาจกล่าวได้ว่า อาชญากรในช่วงเวลานี้ เลือกก่อเหตุเฉพาะบริเวณที่มีผู้คนท�ำกิจกรรมเชิงพาณิชย์เท่านั้น

50

ภาพที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างต�ำแหน่งการเกิดอาชญากรรมคดีลักทรัพย์บนพื้นที่สาธารณะ และร้านค้าภายในอาคารพาณิชย์กับแผงลอยที่เปิดท�ำการช่วงเช้ามืด


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

10. การวิเคราะห์และสรุปรูปแบบการเกิดอาชญากรรมคดีลกั ทรัพย์ในพื้นทีส่ าธารณะ ของย่านเยาวราช-ส�ำเพ็ง การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างต�ำแหน่งการเกิดอาชญากรรมคดีลกั ทรัพย์บนพืน้ ทีส่ าธารณะและร้านค้าภายใน อาคารพาณิชย์กบั แผงลอยทีเ่ ปิดท�ำการทัง้ 4 ช่วงเวลา พบว่า ลักษณะการเกิดอาชญากรรมคดีลกั ทรัพย์บนพืน้ ทีส่ ารธารณะมัก เกิดขึน้ ในบริเวณทีม่ รี า้ นค้าภายในอาคารและแผงลอยทีเ่ ปิดท�ำการ เนือ่ งมาจากเป็นบริเวณพืน้ ทีท่ มี่ กี จิ กรรมการค้า หรือกิจกรรม ทีเ่ กีย่ วข้องกับทรัพย์สนิ เป็นจ�ำนวนมาก มีความพลุกพล่าน หนาแน่น และขวักไขว่ของผูค้ น ซึง่ เป็นสถานทีท่ รี่ วมเป้าหมายของ อาชญากรไว้มาก ซึง่ เอือ้ ให้อาชญากรสามารถอ�ำพรางตัวปะปนไปอย่างแยบยลในหมูผ่ คู้ นเพือ่ ก่อเหตุ และใช้ทางร่วมแยกทีเ่ ชือ่ ม ต่อไปยังพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ เพือ่ การหลบหนี ซึง่ เวลาในการทีอ่ าชญากรเลือกก่อเหตุลกั ทรัพย์บนพืน้ ทีส่ าธารณะ มักเป็นช่วงเวลาทีม่ ี กิจกรรมเชิงพาณิชย์ทหี่ นาแน่น มีผคู้ นเดินปะปนกันเป็นจ�ำนวนมาก นอกจากนีย้ งั มีพนื้ ทีบ่ ริเวณถนนสายหลักและสายรองที่ เข้าถึงได้งา่ ยและมีผคู้ นเดินผ่านทีอ่ าชญากรสามารถเลือกก่อเหตุได้ สอดคล้องกันกับการเกิดคดีกระจุกตัวมากทีส่ ดุ ในช่วงเวลา ทีเ่ กิดกิจกรรมการค้าหนาแน่น คือช่วงกลางวัน ในทางกลับกัน พบว่ามีการเกิดคดีนอ้ ยทีส่ ดุ ในช่วงเวลาเช้ามืด ซึง่ ตรงกันกับที่ ร้านค้าและแผงลอยส่วนใหญ่ปดิ ท�ำการ ซึง่ ในช่วงเวลาเช้ามืดยังมีลกั ษณะต�ำแหน่งและความถีก่ ารเกิดอาชญากรรมเกิดขึน้ เพียง เฉพาะในบริเวณทีม่ แี ผงลอยเปิดท�ำการเท่านัน้

ภาพที่ 10 ความสัมพันธ์ระหว่างต�ำแหน่งการเกิดอาชญากรรมคดีลักทรัพย์บนพื้นที่สาธารณะ และร้านค้าภายในอาคารพาณิชย์กับแผงลอยที่เปิดท�ำการทุกช่วงเวลาทั้งหมด กล่าวโดยสรุปว่า ปรากฎการณ์และลักษณะการเกิดอาชญากรรมคดีลักทรัพย์บนพื้นที่สาธารณะภายในย่าน เยาวราช-ส�ำเพ็ง โดยการอ้างถึง “สายตาเฝ้าระวัง” ตามนิยามของ Jacobs จะท�ำหน้าทีใ่ นการป้องกัน หรือลดอาชญากรรม ก็ต่อเมื่อสายตาเฝ้าระวังนั้นเกิดจาก การสัญจรอิสระ (natural movement) (Hillier, 1983) อันเป็นการสัญจรปกติของ คนเดินเท้าในย่านทีม่ มี ากน้อยไม่เท่ากันในแต่ละบริเวณ จะเห็นได้จากช่วงเช้า ทีม่ ตี ำ� แหน่งร้านค้าและแผงลอยเปิดบางส่วน ซึง่ มีกจิ กรรมเชิงพาณิชย์ทยี่ งั ไม่หนาแน่นมากนักและมีคดีเกิดขึน้ ในบางบริเวณ แต่เมือ่ ใดก็ตามทีม่ กี ารค้าเปิดท�ำการ ก็จะเหนีย่ ว ท�ำท�ำให้มกี ารสัญจรดึงดูด (attractor movement) หรือการสัญจรทีม่ าจากการดึงดูดของกิจกรรมเชิงพาณิชย์ เช่น ร้านค้า

51


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ภาพที่ 10 ตัวอย่างบรรยากาศพลุกพล่านในช่วงกลางคืน (ซ้าย) และกลางวัน (ขวา) ที่การค้าเปิด จากเดิมที่มีการสัญจรปกตินั้นก็จะทําให้มีระดับการสัญจรเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้สายตาเฝ้าระวังไม่สามารถทํางานอย่างมี ประสิทธิภาพเช่นเดิมอีกต่อไป จะเห็นได้จากในช่วงเวลากลางวันที่มีการค้าเปิดท�ำการมากที่สุด ซึ่งตรงกันกับจ�ำนวนและ ต�ำแหน่งคดีอาชญากรรมที่เพิ่มมากขึ้นในบริเวณใกล้ร้านค้าและแผงลอย ดังนั้น กล่าวได้ว่า อาชญากรคดีลักทรัพย์มักเลือกก่อเหตุบริเวณที่เหมาะสม มีเหยื่อมาก สายตาเฝ้าระวังของผู้คน มีประสิทธิภาพลดลง เนือ่ งจากมีกจิ กรรมเชิงพาณิชย์ทหี่ นาแน่น มีการปะปนกันมากของผูค้ นทีห่ ลากหลายในบริเวณดังกล่าว ซึง่ เอือ้ ให้อาชญากรสามารถก่อเหตุลกั ทรัพย์ไปได้โดยทีเ่ หยือ่ อยูใ่ นช่วงเผลอ ไม่รตู้ วั หรือให้ความสนใจไปกับการท�ำกิจกรรม เดินดูสินค้า ต่างๆ โดยอาชญากรใช้การอ�ำพรางตัวปะปนไปในหมู่ผู้คนขณะก่อเหตุ และใช้ทางร่วมแยกหลบหนีออกไปจาก พื้นที่

11. เอกสารอ้างอิง ไชยยุทธ ลียะวณิช. (2548) การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ ส�ำหรับวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของอาชญากรรมกับ สภาพกายภาพชุมชนเมือง: กรณีศึกษา พื้นที่บางรัก กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วรยา ไทพาณิชย์. (2543). ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์เพือ่ การศึกษา การกระจายทางพืน้ ทีข่ องอาชญากรรม. (อักษรศาสตร มหาบัณฑิต),กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, วิชชากร พรก�ำเหนิดทรัพย์. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการเกิดอาชญากรรมกลุ่มคดีประทุษร้ายแก่ทรัพย์สิน ในแขวงชนะสงคราม. (การวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เวสพล ตรีธาราทิพย์. (2559). โครงข่ายกิจกรรมของแผงลอยอาหารกรณีกรณีศึกษาย่านเยาวราช. (การวางแผนภาคและ เมืองมหาบัณฑิต), ,กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ส�ำนักงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ. (2562). สถิติคดีอาญา พ.ศ.2562. [ออนไลน์]. ได้จาก http://pitc.police.go.th/dirlist/dirlist.php?dir=/crimes/2562 [สืบค้นเมือ่ วันที่ 5 พฤษภาคม 2562]. Baran, Smith and Toker. (2007). The Space Syntax and Crime: evidence from a suburban community. International Space Syntax Symposium. Istanbul. Fernando Miro. (2014). Routine Activity Theory. The Encyclopedia of Theoretical Criminology, 1-7.

52


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

Hillier, B., & Hanson, J. (1984). The social logic of space. Cambridge: Cambridge University Press. Hillier, B., Penn, A., Hanson, J., Grajewski, J., & Xu, J. (1993). Natural movement: Or configuration and attraction in urban pedestrian movement. Environment and Planning B: Planning and Design. 20: 29–66. Hillier, B. (1996). Space is the machine: A configurational theory of architecture. Cambridge: Cambridge University Press. Jacobs, J. (1961). The Death and Life of Great American Cities. England: Penguin Books.

53


ความสัมพันธ์ของการใช้ประโยชน์อาคาร และความสามารถในการเข้าถึงพื้นที่ กับปริมาณผู้ใช้รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานคร กรณีศกึ ษา รถไฟฟ้าสายสุขุมวิทและสายสีลม Relation Between Building Use and Accessibility with Number of Railway System Passengers in Bangkok Case Study of Sukhumvit Line and Silom Line. Received : Jun 10, 2019 Revised : July 8, 2019 Accepted : July 15, 2019

วัชรินทร์ ขวัญไฝ1* และ ณัฐพงศ์ พันธ์น้อย2 1

นิสติ ปริญญาโท ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 258 ถนน พญาไท วังใหม่ ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

2

อาจารย์ประจ�ำ ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 258 ถนน พญาไท วังใหม่ ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

Watcharin Khwanfai1* and Nattapong Punnoi2 1

Graduate Student, Department of Urban and Regional Planning,Faculty of Architecture, Chulalongkorn University, 258 Phayathai Road, Wangmai, Pathumwan, Bangkok,10330

2

Lecturer, Department of Urban and Regional Planning, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University 258 Phayathai Road, Wangmai, Pathumwan, Bangkok,10330 *E-mail: 6173345325@student.chula.ac.th


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

บทคัดย่อ บทความนี้ศึกษาความสัมพันธ์ของลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงพื้นที่กับปริมาณผู้ใช้ รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นปัจจัยในการวิเคราะห์คุณลักษณะพื้นที่รอบสถานีตามแนวคิด Node-Place Model โดยศึกษาพื้นที่รอบสถานีรัศมี 500 เมตรของเส้นทางรถไฟฟ้าสายสุขุมวิทและสายสีลมเป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น 33 สถานี ซึ่งมี วัตถุประสงค์ของการวิจยั เพือ่ หาความสัมพันธ์และจัดกลุม่ แบ่งคุณลักษณะของพืน้ ทีร่ อบสถานีเพือ่ เสนอแนวทางการพัฒนา พื้นที่รอบสถานีให้สามารถพัฒนาได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ผลของการศึกษาโดยใช้วิธีการวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ (Correlation coefficient) พบว่าความหนาแน่นการใช้ประโยชน์อาคาร ลักษณะประโยชน์อาคารประเภทพาณิชยกรรม และประเภทสาธารณูปการ รวมถึงปัจจัยด้านความสามารถในการเข้าถึงประเภท สถานีรว่ ม จ�ำนวนสายรถเมล์ จ�ำนวนทีจ่ อดรถ สาธารณะและจ�ำนวนสายรถตูโ้ ดยสารสาธารณะ ทัง้ หมดมีความสัมพันธ์กบั จ�ำนวนผูโ้ ดยสารในแต่ละสถานี ผลของการจัดกลุม่ คุณลักษณะของสถานีโดยใช้วธิ กี ารวิเคราะห์จดั กลุม่ (Cluster analysis) ด้วยเทคนิค Hierarchical Cluster Analysis จาก ค่าปัจจัยลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารและปัจจัยด้านความสามารถในการเข้าถึงพื้นที่ตามแนวคิด Node-Place Model สามารถจ�ำแนกแบ่งคุณลักษณะออกได้ 3 กลุ่ม โดยคุณลักษณะของประเภทสถานีที่แตกต่างกันส่งผลจ�ำนวนผู้โดยสาร แตกต่างกันด้วย ผลของการศึกษาน�ำมาสูข่ อ้ เสนอการพัฒนาพืน้ ทีร่ อบสถานีดว้ ยการพัฒนาการใช้ประโยชน์อาคารให้เป็นไป อย่างเหมาะสม รวมถึงพัฒนาระบบขนส่งมวลชนรองเพื่อเพิ่มศักยภาพในการเข้าถึงพื้นที่รอบสถานีตามคุณลักษณะของ สถานี เพื่อให้เกิดการใช้งานพื้นที่รอบสถานีไปอย่างมีประสิทธิภาพ ค�ำส�ำคัญ: การใช้ประโยชน์อาคาร ความสามารถในการเข้าถึง การจ�ำแนกคุณลักษณะของสถานี รถไฟฟ้าบีทีเอส กรุงเทพมหานคร

ABSTRACT This article examines the relationship between the characteristics of building use and the accessibility to access areas compares with the number of railway system passengers in Bangkok. By studying the area around the stations at the radius of 500 meters of the BTS Sukhumvit Line and Silom Line in a total of 33 stations. The purpose of this research is to correlate and group the characteristics of the area around the station to propose the developing guidelines for areas around the station to maximum capacity. The results of the study using Correlation coefficient, commercial built-up area, public assistance built-up area, exchange station, bus directions, public car parking capacity and public van directions. All that are mentioned are also related to the number of passengers in each station. and the effect of grouping the features of the station using analytical methods grouped (Cluster analysis) with the Hierarchical Cluster Analysis technique based on values, building use and accessibility which were able to classify the features into 3 group. These results classification shows building use and accessibility effect on numbers of railway system passengers. The results of the study lead to the proposal to develop the area around the station by developing the use of the building appropriately. Including the development of a secondary railway system passengers, increasing the potential for access to the area around the stations according to the characteristics of the station in order to effectively use the area around the stations. Keywords: Building Use, Accessibility, Classify Railway Station, Node-Place Model, BTS, Bangkok

55


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

1. บทน�ำ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงทีม่ คี วามส�ำคัญทางด้านเศรษฐกิจและแหล่งงานทีส่ ำ� คัญของประเทศไทย ซึง่ ท�ำให้ กรุงเทพฯเป็นเมืองทีเ่ ป็นศูนย์กลางความเจริญ (Growth Pole) ซึง่ ภาวะนีท้ ำ� ให้กรุงเทพฯมีการเจริญเติบโตของเนือ้ เมืองและ การเพิ่มขึ้นของความหนาแน่นเมืองตลอดเวลาเพื่อรองรับแหล่งงานและประชากรที่จะเพิ่มขึ้นนั้นเองและการเพิ่มขึ้นของ ประชากรรวมถึงกิจกรรมทางเศรษฐกิจทีเ่ พิม่ ขึน้ ส่งผลกระทบต่อปัญหาการจราจรในกรุงเทพฯ จึงท�ำให้รฐั บาลได้ตดั สินใจพัฒนา ระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนและเปิดให้บริการตัง้ แต่ปพี .ศ.2542 การพัฒนาระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนท�ำให้เกิดการพัฒนา เมืองไปตามแนวระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนมากขึน้ แทนทีก่ ารพัฒนาเมืองไปตามถนนในรูปแบบเดิมเหมือนทีผ่ า่ นมา (สรัสไชย องค์ประเสริฐ, 2561) แต่สถานการณ์ปจั จุบนั พบว่า จ�ำนวนผูโ้ ดยสารในระบบรถไฟฟ้ามีจำ� นวนน้อยกว่าทีไ่ ด้มกี ารคาดการณ์ไว้ ท�ำให้การให้ บริการรถไฟฟ้าบางเส้นทางอยูใ่ นสภาวะขาดทุนและส่อเค้าถึงความไม่คมุ้ ค่าในการลงทุนพัฒนาระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สามารถ ราชพลสิทธิ,์ 2559) และยังส่งผลให้ราคาค่าโดยสารรถไฟฟ้าในปัจจุบนั มีราคาแพงเมือ่ เปรียบเทียบกับราคาค่าโดยสาร ระบบขนส่งมวลชนในระดับสากล (สุเมธ องกิตติกลุ , 2562) ทัง้ นีอ้ นาคตรัฐบาลมีแผนการพัฒนาระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ขึน้ อีกหลายเส้นทาง หากไม่มกี ารวางแผนการเพือ่ เพิม่ จ�ำนวนผูโ้ ดยสารอย่างเหมาะสม อาจก่อให้เกิดปัญหาการขาดทุนเพิม่ ขึน้ ท�ำให้ภาครัฐต้องสิน้ เปลืองงบประมาณในการช่วยเหลือการให้บริการระบบขนส่งสาธารณะ และอาจส่งผลให้เกิดการขึน้ ราคา ค่าโดยสารขึน้ อีกในอนาคต ผลการทบทวนงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องบ่งชีว้ า่ การใช้ประโยชน์อาคารทีม่ คี วามหนาแน่นสูงจะมีผลให้จำ� นวนผูใ้ ช้งานระบบ ขนส่งมวลชนมีแนวโน้มสูงขึน้ ตามไปด้วย (Bertaud & Richardson, 2004) อีกทัง้ ปริมาณของระบบขนส่งมวลชนรอง (Feeder) ส่งผลถึงศักยภาพการเข้าถึงสถานีและมีผลต่อจ�ำนวนของผูโ้ ดยสาร (Vale, 2015) แต่ไม่มงี านวิจยั ใดทีอ่ ธิบายถึงความสัมพันธ์ ของจ�ำนวนผูโ้ ดยสารของรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนกับลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงพืน้ ทีใ่ นบริบท ของกรุงเทพมหานครมาก่อน อย่างไรก็ตามแต่ละพืน้ ทีร่ อบสถานีจะมีบริบทและลักษณะแตกต่างกันไปซึง่ เป็นผลให้มปี ริมาณการใช้งานแตกต่างกัน ด้วย จึงมีแนวคิดการวิเคราะห์คณ ุ ลักษณะของสถานีโดยใช้ปจั จัยการพัฒนาและปัจจัยการเชือ่ มต่อ (Node-Place model) เพือ่ จัดกลุม่ ประเภทสถานีและก�ำหนดแนวทางการพัฒนาจากกลุม่ คุณลักษณะสถานี หากรัฐบาลมีแผนทีต่ อ้ งการพัฒนาพืน้ ทีร่ อบ สถานีให้เกิดการใช้งานทีเ่ หมาะสม การจัดกลุม่ คุณลักษณะของสถานีจะช่วยให้สามารถจัดล�ำดับการพัฒนา แผนและรูปแบบ ของการพัฒนาพืน้ ทีไ่ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนัน้ หากสามารถพิสจู น์ได้วา่ จ�ำนวนผูโ้ ดยสารของรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครมีความสัมพันธ์กบั ลักษณะ การใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงพืน้ ทีโ่ ดยรอบสถานี รวมถึงจัดแบ่งกลุม่ ประเภทของสถานีตามลักษณะ การใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึง จะช่วยให้สามารถระบุแนวทางการเพิ่มจ�ำนวนผู้โดยสารของระบบ รถไฟฟ้าในแต่ละสถานีในกรุงเทพมหานครได้ชดั เจนมากยิง่ ขึน้ ซึง่ จะช่วยให้ภาครัฐสามารถหลีกเลีย่ งภาวะการขาดทุนจากการ ให้บริการรถไฟฟ้า ประหยัดงบประมาณของรัฐในการช่วยเหลือ และมีสว่ นช่วยท�ำให้ราคาค่าโดยสารรถไฟฟ้าลดลง งานวิจยั นีจ้ งึ ใช้พนื้ ทีร่ อบสถานีของระบบรถไฟฟ้าสายสุขมุ วิทและสายสีลมเป็นกรณีศกึ ษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงกับจ�ำนวนผูโ้ ดยสารในกรุงเทพมหานคร เนือ่ งจากรถไฟฟ้าทัง้ สองเส้นทางได้ เปิดให้บริการแก่ประชาชนในกรุงเทพมหานครเป็นสายแรกและให้บริการอย่างต่อเนือ่ งถึงปัจจุบนั อีกทัง้ ยังประกอบด้วยสถานี หลากหลายรูปแบบทัง้ สถานีศนู ย์กลางเมืองและสถานีชานเมือง งานวิจยั มุง่ เน้นการตรวจสอบความสัมพันธ์ของลักษณะการใช้ ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงพืน้ ทีร่ อบสถานีกบั จ�ำนวนผูโ้ ดยสารของแต่ละสถานีของรถไฟฟ้าสายสุขมุ วิท และสายสีลม พร้อมทัง้ จัดแบ่งประเภทของสถานีรถไฟฟ้าสายดังกล่าวตามลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถ ในการเข้าถึงพืน้ ทีร่ อบสถานี เพือ่ เสนอแนะวิธกี ารเพิม่ จ�ำนวนผูโ้ ดยสารรถไฟฟ้าทีเ่ หมาะสมกับสภาพและลักษณะของแต่ละ สถานี

56


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

2. วัตถุประสงค์ในการศึกษา

1. ศึกษาลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงพืน้ ทีร่ อบสถานี

2. ศึกษาหาความสัมพันธ์ของลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงพืน้ ทีร่ อบสถานีกบั จ�ำนวน ผูโ้ ดยสารในแต่ละสถานี 3. จัดกลุ่มแบ่งคุณลักษณะของสถานีจากลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงพื้นที่รอบ สถานีด้วย จึงมีแนวคิดการวิเคราะห์คุณลักษณะของสถานีโดยใช้ปัจจัยการพัฒนาและปัจจัยการเชื่อมต่อ (Node-Place model) เพื่อจัดกลุ่มประเภทสถานีและก�ำหนดแนวทางการพัฒนาจากกลุ่มคุณลักษณะสถานี หากรัฐบาลมีแผนที่ต้องการ พัฒนาพืน้ ทีร่ อบสถานีให้เกิดการใช้งานทีเ่ หมาะสม การจัดกลุม่ คุณลักษณะของสถานีจะช่วยให้สามารถจัดล�ำดับการพัฒนา แผนและรูปแบบของการพัฒนาพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3. การทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ระบบขนส่งมวลชนเป็นหนึง่ ในปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ จนท�ำให้เกิดความต้องการในใช้งานและก่อให้เกิด การเดินทางขึน้ Meyer และ Miller (1984) มีการอธิบายความสัมพันธ์ของการใช้ประโยชน์และระบบขนส่งมวลชน โดยใช้คำ� ว่า “การปฏิสมั พันธ์ระหว่างการใช้ทดี่ นิ กับขนส่งมวลชน (Land-use and Transport Interaction)” โดยระบุไว้วา่ การปรับปรุง การจราจรส่งผลต่อการเพิม่ ประสิทธิภาพการเข้าถึงศูนย์กลางทางกิจกรรมในชีวติ ประจ�ำวัน ท�ำให้พนื้ ทีเ่ หล่านัน้ ดึงดูดลูกค้าและ กิจกรรมก่อให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงขึน้ โดยกล่าวอีกนัยหนึง่ คือการพัฒนาระบบขนส่งจะก่อให้การพัฒนาพืน้ ที่ ซึง่ การ พัฒนาพืน้ ทีจ่ ะก่อให้เกิดความต้องการใช้งานและก่อให้เกิดความต้องการในการเดินทางขึน้ มา ซึง่ สอดคล้องกับแนวความคิด ของนิตยา ประพุทธนิตสิ าร (2547) ทีไ่ ด้ระบุไว้วา่ ระบบการขนส่ง (Transportation system) จะสามารถบ่งชีถ้ งึ การเข้าถึง บริเวณในชุมชนเมืองและเมือ่ ระดับในการเข้าถึงพืน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ความต้องการการใช้ทดี่ นิ ก็จะเพิม่ ขึน้ ตามมาซึง่ เป็นผลให้เกิดการ เพิม่ ขึน้ ของปริมาณความต้องการเดินทาง ผลการวิจยั ของ Bertaud และ Richardson (2004) ได้ขอ้ สรุปว่า ความหนาแน่นของการใช้ประโยชน์อาคารส่งผลต่อ จ�ำนวนผูโ้ ดยสารของระบบขนส่งสาธารณะและยังมีงานวิจยั ทีศ่ กึ ษามาตรการในการพัฒนาความสามารถในการเข้าถึงของการ ใช้ประโยชน์ทดี่ นิ Geursและ Van Wee (2004) ระบุไว้วา่ พฤติกรรมการเดินทางของผูโ้ ดยสารนัน้ จะขึน้ อยูก่ บั ความสามารถ ในการเข้าถึงพื้นที่ และรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดิน ซึ่งรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ต่างกันจะส่งผลให้เกิดการใช้งานที่ แตกต่างกันด้วย (Sarkar & Mallikarjuna, 2013) อย่างไรก็ตามแต่ละพืน้ ทีย่ อ่ มมีลกั ษณะการใช้งานและความสามารถในการเข้าถึงทีแ่ ตกต่างกันออกไป โดยมีแนวคิดการ ในการศึกษาความแตกต่างกันของพืน้ ทีร่ อบสถานี เพือ่ จ�ำแนกคุณลักษณะของพืน้ ทีร่ อบสถานี ซึง่ เรียกว่า Node-Place Model โดยแนวคิดนีถ้ กู พัฒนาและใช้ครัง้ แรกทีป่ ระเทศเนเธอร์แลนด์โดย Bertolini (1999) โดยน�ำค่าปัจจัยด้านความสามารถในการ เข้าถึง (Node Value) และปัจจัยด้านการพัฒนาพืน้ ที่ (Place Value) มาวิเคราะห์หาความแตกต่างกันของพืน้ ทีร่ อบสถานี โมเดลนีจ้ ะแสดงความสัมพันธ์ของค่าดัชนีของการใช้การพัฒนาทีด่ นิ และจุดเชือ่ มต่อคมนาคม ในรูปแบบแกน x และแกน y โดยทีแ่ กน x แทนค่าดัชนีการพัฒนาทีด่ นิ และแกน y แทนค่าดัชนีจดุ เชือ่ มโยงคมนาคมในพืน้ ที่ โดยจากภาพที่ 1 จะสามารถ จ�ำแนกสถานีออกเป็น 5 ประเภทลักษณะดังนี้

57


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ภาพที่ 1 แนวคิด Node-Place Model ที่มา : (Vale, 2015) 1. การใช้งานเข้มข้น (Stress) เป็นบริเวณทีม่ คี า่ Node-Value และค่า Place-Value มีคา่ อยูใ่ นระดับสูง อธิบายได้วา่ บริเวณพืน้ ทีม่ กี ารพัฒนาทัง้ ระบบขนส่งมวลชนและการพัฒนาพืน้ ทีอ่ ย่างเข้มข้น ซึง่ ท�ำมีการใช้งานในพืน้ ทีบ่ ริเวณนีส้ งู เนือ่ งจาก มีการพัฒนามากท�ำให้มพี นื้ ทีว่ า่ งน้อย 2. การใช้งานสมดุล (Balance) เป็นบริเวณทีม่ คี า่ Node-Value และค่า Place-Value มีคา่ อยูใ่ นระดับปานกลางอธิบาย ได้วา่ บริเวณพืน้ ทีม่ กี ารพัฒนาทัง้ ระบบขนส่งมวลชนและการพัฒนาพืน้ ทีอ่ ย่างเหมาะสม 3. การใช้งานบางเบา (Dependency) เป็นบริเวณทีม่ คี า่ Node-Value และค่า Place-Value มีคา่ อยูใ่ นระดับต�ำ่ อธิบาย ได้วา่ บริเวณพืน้ ทีม่ กี ารพัฒนาทัง้ ระบบขนส่งมวลชนและการพัฒนาพืน้ ทีอ่ ย่างบางเบาจะเกิดขึน้ บริเวณทีม่ คี วามหนาแน่นต�ำ่ 4. การใช้งานไม่สมดุลเพราะคมนาคม (Unbalance Node) เป็นบริเวณทีม่ คี า่ Node-Value สูงกว่า Place-Value อธิบายได้วา่ บริเวณนีม้ พี นื้ ทีม่ กี ารพัฒนาระบบขนส่งมวลชนสูงกว่าการพัฒนาพืน้ ที่ อาจจะยังไม่มกี ารใช้ประโยชน์ทดี่ นิ อย่าง เหมาะสม 5. การใช้งานไม่สมดุลเพราะการพัฒนา (Unbalance Place) เป็นบริเวณทีม่ คี า่ Node-Value ต�ำ่ กว่า Place-Value อธิบายได้วา่ บริเวณพืน้ ทีม่ พี ฒ ั นาพืน้ ทีม่ ากกว่าการพัฒนาระบบขนส่งมวลชน David S. Vale ได้ใช้แนวคิด Node-Place Model เพือ่ จ�ำแนกคุณลักษณะพืน้ ทีร่ อบสถานีโดยบูรณาการการใช้ประโยชน์ ทีด่ นิ ระบบขนส่งมวลชนและการเดินเท้า (Vale, 2015) โดยก�ำหนดตัวแปรปัจจัยทีใ่ ช้ของด้านความสามารถในการเข้าถึง คือ จ�ำนวนเส้นทางและความถีข่ องรถไฟสาธารณะ จ�ำนวนสถานี จ�ำนวนเส้นทางการใช้บริการของระบบขนส่งมวลชนรอง (รถเมล์, รถบริการสาธารณะ) จุดขึน้ ลงทางด่วนและจ�ำนวนของทีจ่ อดรถ ส่วนการก�ำหนดตัวแปรของปัจจัยด้านการพัฒนาประกอบ ไปด้วย จ�ำนวนผูพ้ กั อาศัย จ�ำนวนแรงงานประเภทการให้บริการ จ�ำนวนแรงงานของการให้บริการประเภทสาธารณูปการ จ�ำนวน แรงงานอุตสาหกรรมและค่าดัชนีของความหลากหลายของพืน้ ที่ โดยท�ำการจัดกลุม่ คุณลักษณะออกได้เป็น 7 กลุม่ ประเภท และ David S. Vale ได้ทำ� การศึกษาถึงลักษณะทางเท้าไปด้วยแล้วพบว่า กลุม่ ทีไ่ ด้คะแนนของค่าดัชนีปจั จัยความสามารถ

58


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ในการเข้าถึงและด้านการพัฒนาดีทงั้ คูจ่ ะมีการพัฒนาของทางเดินเท้าดีเช่นกัน ยังมีงานวิจยั ทีศ่ กึ ษาผลกระทบของคุณลักษณะ สถานีรถไฟฟ้าบีทเี อสต่อราคาคอนโดมีเนียม (ธีรวัฒน์ เสรีอรุโณ, 2560) ซึง่ เป็นจัดกลุม่ คุณลักษณะประเภทของสถานีในบริบท ของกรุงเทพฯ โดย ธีรวัฒน์ เสรีอรุโณ (2560) ได้ทำ� การแบ่งย่อยปัจจัยความสามารถในการเข้าถึงออกเป็น 2 ด้านคือปัจจัย ด้านการเดินทางและปัจจัยด้านการเชือ่ มโยง โดยเพิม่ ระยะทางและลักษณะของเส้นทางมาเป็นตัวแปรทีเ่ พิม่ จากงานวิจยั ของ David S. Vale ส่วนในด้านของปัจจัยด้านการพัฒนานัน้ ธีรวัฒน์ เสรีอรุโณ (2560) ใช้ลกั ษณะของการใช้ประโยชน์อาคารมาใช้ แทนจ�ำนวนแรงงาน โดยค�ำนวณจากความหนาแน่นของการใช้ประโยชน์อาคารและแบ่งตามลักษณะของการใช้งานคือ พืน้ ที่ อยูอ่ าศัย พืน้ ทีพ่ าณิชยกรรม พืน้ ทีข่ องโครงสร้างพืน้ ฐาน พืน้ ทีใ่ ช้งานแบบผสมผสานและความหลากหลายของการใช้งาน โดย ผลของการจัดกลุม่ ออกมาได้ 3 ลักษณะประเภทสถานี คือ กลุม่ สถานีศนู ย์กลาง กลุม่ สถานีทวั่ ไป และกลุม่ สถานียา่ นพาณิชยกรรม โดยทัง้ 3 กลุม่ จะมีปจั จัยทีส่ ง่ ผลต่อราคาคอนโดมิเนียมต่างกันออกไป ผลจาการทบทวนงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องสรุปได้วา่ เมือ่ มีการพัฒนาระบบรถไฟฟ้ามวลชนขึน้ จะท�ำให้ความต้องการการใช้ ทีด่ นิ เพิม่ ขึน้ ตามมา ซึง่ เป็นผลให้เกิดการเพิม่ ขึน้ ของปริมาณความต้องการเดินทาง แต่ดว้ ยลักษณะการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ และ ความสามารถในการเข้าถึงพืน้ ทีร่ อบสถานีทแี่ ตกต่างกันจะมีผลท�ำให้จำ� นวนผูโ้ ดยสารแตกต่างกันออกไปด้วย แนวคิด NodePlace Model จึงถูกน�ำมาใช้เพือ่ วิเคราะห์และจ�ำแนกคุณลักษณะของพืน้ ทีร่ อบสถานีวา่ มีศกั ยภาพเป็นอย่างไร โดยใช้ปจั จัย ด้านการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงพืน้ ทีร่ อบสถานี งานวิจยั ครัง้ นีจ้ งึ น�ำแนวคิด Node-Place Model มาประยุกต์ใช้เพือ่ หาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ประโยชน์อาคารและความสามรถของการเข้าถึงกับจ�ำนวนผูโ้ ดยสาร รวมถึง จัดกลุม่ คุณลักษณะประเภทสถานีโดยมีรายละเอียดของวิธวี จิ ยั ดังต่อไปนี้

4. ระเบียบวิธีวิจัย วัตถุประสงค์ของการวิจยั คือ หาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึง พื้นที่รอบสถานีกับจ�ำนวนผู้โดยสารในแต่ละสถานีและจัดกลุ่มคุณลักษณะประเภทสถานี จึงท�ำให้เครื่องมือที่ใช้ในการ วิเคราะห์จึงแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1.ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient) เพื่อตรวจสอบความ สัมพันธ์ของข้อมูลและ 2.วิเคราะห์การจัดกลุ่ม (Cluster analysis) เพื่อใช้ในการจัดกลุ่มคุณลักษณะประเภทสถานีโดยมี ระเบียบวิธีวิจัยดังต่อไปนี้

4.1 พื้นที่ศึกษา พื้นที่รอบสถานีรัศมี 500 เมตรของสายสุขุมวิทและสายสีลม รวมทั้งสิ้น 33 สถานี

4.2 ขอบเขตของการศึกษา จากการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการประยุกต์ใช้แนวคิด Node-Place Model ใน การจัดกลุ่มคุณลักษณะ สถานีของการวิจยั ในครัง้ นี้ สามารถระบุปจั จัยออกเป็น 2 ด้านคือ ปัจจัยด้านลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารและปัจจัยด้าน ความสามารถในการเข้าถึงพื้นที่ เพื่อมาหาความสัมพันธ์กับจ�ำนวนผู้โดยสารรถไฟขนส่งมวลชนโดยแต่ละปัจจัยมีข้อมูลที่ เกี่ยวข้องดังนี้ (ตารางที่ 1) 1.) ปัจจัยการใช้ประโยชน์อาคารรอบพื้นที่สถานี โดยเป็นข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์(GIS) ข้อมูลการใช้ประโยชน์ อาคารปีพ.ศ. 2558 จากส�ำนักงานผังเมืองกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยข้อมูลทัง้ หมด 6 ตัวแปรด้วยกันคือ 1.ความหนาแน่น การใช้ประโยชน์อาคาร 2.พืน้ ทีก่ ารใช้ประโยชน์อาคารประเภททีพ่ กั อาศัย 3.พืน้ ทีก่ ารใช้ประโยชน์อาคารประเภทพาณิชยกรรม 4.พื้นที่การใช้ประโยชน์อาคารประเภทผสมผสาน (อาคารที่มีสัดส่วนการใช้พื้นที่พาณิชยกรรมและที่พักอาศัยเท่าๆ กัน) 5.พื้นที่การใช้ประโยชน์อาคารประเภทสาธารณูปการ 6.พื้นที่การใช้ประโยชน์อาคารอื่น ๆ (เกษตรกรรมและอุตสาหกรรม)

59


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

2.) ปัจจัยด้านความสามารถในการเข้าถึงพื้นที่รอบสถานีจากการส�ำรวจพื้นที่ ประกอบด้วยข้อมูลทั้งหมด 6 ตัวแปรด้วยกันคือ 1.สถานีรว่ มของรถไฟฟ้า 2.จ�ำนวนสายรถเมล์ 3.จ�ำนวนทีจ่ อดรถ 4.จ�ำนวนสายรถตูส้ าธารณะ 5.จ�ำนวน สายเรือสาธารณะ 6.จ�ำนวนสายรถโดยสารประจ�ำทางด่วนพิเศษ (BRT) 3.) จ�ำนวนผู้โดยสารในแต่สถานีซึ่งข้อมูลของกลุ่มนี้มีเพียงค่าเฉลี่ยของจ�ำนวนผู้โดยสารรายวันในแต่ละสถานี ของปี พ.ศ.2560 4.3 วิธีการรวบรวมข้อมูลและสังเคราะห์ข้อมูล 4.3.1 การเก็บข้อมูล ข้อมูลที่น�ำใช้ในการวิเคราะห์สามารถแบ่งวิธีการเก็บข้อมูลออกเป็น 2 ลักษณะการดังนี้ (ตารางที่ 1) 1.) ข้อมูลจากการส�ำรวจ ได้แก่ จ�ำนวนสายรถเมล์ จ�ำนวนสายของเรือโดยสารสาธารณะ และสถานีร่วมของ รถไฟฟ้า เป็นต้น 2.) ข้อมูลจากหน่วยงานที่รับผิดชอบได้แก่ การใช้ประโยชน์อาคาร จ�ำนวนที่จอดรถ จ�ำนวนสายรถตู้โดยสาร สาธารณะและจ�ำนวนสายรถโดยสารประจ�ำทางด่วนพิเศษ (BRT) ตารางที่ 1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา ข้อมูลในการวิเคราะห์

หน่วย

แหล่งที่มาของข้อมูล

จำ�นวนผู้โดยสารเฉลี่ยใน แต่ละสถานี

คน

บริษัทระบบขนส่งมวลชน กรุงเทพ จำ�กัด

จำ�นวนเส้นทางของการ เดินทางด้วยรถไฟฟ้า

เส้นทาง

บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮ ลดิ้งส์ จำ�กัด (มหาชน)

จำ�นวนเส้นทางของรถเมล์ สาธารณะ

เส้นทาง

องค์การขนส่งมวลชน กรุงเทพ

จำ�นวนเส้นทางของรถตู้ สาธารณะ

เส้นทาง

สำ�รวจ

จำ�นวนเส้นทางของ BRT

เส้นทาง

สำ�รวจ

คัน

สำ�รวจ

ตารางเมตร

สำ�นักงานผังเมือง กรุงเทพมหานคร

ตารางเมตร

สำ�นักงานผังเมือง กรุงเทพมหานคร

ปริมาณที่จอดรถ สาธารณะ พื้นที่ก่อสร้างการใช้ ประโยชน์อาคารประเภท ที่พักอาศัย พื้นที่ก่อสร้างการใช้ ประโยชน์อาคารประเภท พาณิชยกรรม

60

ด้านปัจจัย

ความสามารถ ในการเข้าถึงพื้นที่

ลักษณะ การใช้ประโยชน์อาคาร


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ข้อมูลในการวิเคราะห์ (ต่อ)

พื้นที่ก่อสร้างการใช้ ประโยชน์อาคารประเภท แบบผสมผสาน พื้นที่ก่อสร้างการใช้ ประโยชน์อาคารประเภท สาธารณูปการ พื้นที่ก่อสร้างการใช้ ประโยชน์อาคารประเภท ที่อื่น ๆ

หน่วย

แหล่งที่มาของข้อมูล

ตารางเมตร

สำ�นักงานผังเมือง กรุงเทพมหานคร

ตารางเมตร

สำ�นักงานผังเมือง กรุงเทพมหานคร

ตารางเมตร

สำ�นักงานผังเมือง กรุงเทพมหานคร

(ต่อ)

ด้านปัจจัย

(ต่อ)

(ต่อ)

ลักษณะ การใช้ประโยชน์อาคาร

4.3.2 การสังเคราะห์ข้อมูล จากการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องพบว่าข้อมูลที่น�ำมาใช้มีความหลากหลายของหน่วยข้อมูลทั้งลักษณะการ ใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงพืน้ ที่ มีผลให้ไม่สามารถน�ำมาเปรียบเทียบและหาความสัมพันธ์กนั ได้ จึง จ�ำเป็นต้องน�ำข้อมูลท�ำให้อยูใ่ นในรูปค่ามาตรฐาน (Z-score) เพือ่ ให้สามารถน�ำมาเปรียบเทียบค่าของข้อมูลได้วา่ จะมีความ แตกต่างกันอย่างไร ถึงแม้ข้อมูลจะต่างชุดกัน รวมถึงเมื่อได้สังเคราะห์ข้อมูลให้อยู่ในรูปค่ามาตรฐานแล้วจะสามารถน�ำมา รวมกันเพื่อระบุเป็นค่าปัจจัยของทั้งสองด้าน โดยระบุชื่อเป็นค่าปัจจัยด้านลักษณะการใช้ประโยชน์อาคาร (Building Use Index) และค่าปัจจัยด้านความสามารถในการเข้าถึง (Accessibility Index) โดยค่ามาตรฐาน (Z-score) สามารถค�ำนวณ ได้จากสมการ (1) นี้ Z-score = ( X-X ) / S (1) โดยที่ Z คือ คะแนน Z – score X คือ คะแนนดิบ X คือ ค่าเฉลี่ย S คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากนั้นเมื่อได้ค่ามาตรฐาน (Z-score) ของข้อมูลตัวแปรทุกตัวแล้วจึงน�ำผลที่ได้รวมกันหารด้วยจ�ำนวนของ ตัวแปร (Garau et al, 2015) เพื่อหาค่าของปัจจัยการใช้ประโยชน์อาคารและค่าปัจจัยความสามารถในการเข้าถึงได้จาก สมการ (2)

xin = ( x1+x2+……..xn) / n คือ

ค่าดัชนีของปัจจัย

x1

คือ

ค่ามาตรฐานตัวแปรตัวที่ 1

x2

คือ

ค่ามาตรฐานตัวแปรตัวที่ 2

n

คือ

จ�ำนวนตัวแปรที่น�ำมาคิด

โดยที่ xin

(2)

61


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

4.4 วิธีการวิเคราะห์ ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลจะเป็นการวิเคราะห์ 2 ส่วนคือการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์โดยวิธกี ารวิเคราะห์คา่ สหสัมพันธ์ (Correlation coefficient) และการวิเคราะห์และจัดกลุ่มคุณลักษณะประเภทของสถานีด้วยวิธีการวิเคราะห์การจัดกลุ่ม (Cluster analysis) โดยแต่ละวิธีมีรายละเอียดดังนี้ 1) การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ (Correlation coefficient) การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของแต่ละปัจจัยในกลุม่ การใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงพืน้ ทีร่ อบสถานี กับจ�ำนวนผู้โดยใช้วิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation coefficient) เพื่อบอกระดับความสัมพันธ์ของข้อมูล โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ หากค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มีค่าเขาใกล -1 หรือ 1 แสดงถึงการมีความสัมพันธ์กันใน ระดับสูง แต่หากมีคาเขาใกล้ 0 แสดงถึงการมความสัมพันธ์ในระดับน้อยหรือไม่มีเลย (Hinkle, Wiersma, & Jurs, 1998) 2) การวิเคราะห์การจัดกลุ่มคุณลักษณะของสถานี (Cluster analysis) จากนั้นวิเคราะห์โดยโปรแกรม SPSS โดยวิธีการวิเคราะห์การจัดกลุ่ม (Cluster analysis) ด้วยเทคนิค Hierarchical Cluster Analysis ด้วยวิธกี ารแบ่งกลุม่ แบบ Between-groups linkage ซึง่ เป็นวิธกี ารค�ำนวนหาระยะค่าเฉลีย่ ของคะแนน ปัจจัยที่น�ำมาวิเคราะห์ และแบ่งกลุ่มของพื้นที่รอบสถานีรถไฟฟ้าทั้ง 33 สถานีโดยพิจารณาจากแผนภูมิ Dendrogram

5. ผลการวิจัย 5.1 ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงพื้นที่รอบสถานีกับจ�ำนวน ผู้โดยสารแต่ละสถานี ผลการส�ำรวจข้อมูลการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงพื้นที่รอบสถานีน�ำมาเป็นปัจจัย ในการน�ำมาวิเคราะห์ความสัมพันธ์กับจ�ำนวนผู้โดยสารแต่ละสถานีโดยใช้โปรแกรม SPSS ด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient) ผลออกมาได้ดัง ตารางที่ 2 นี้ ตารางที่ 2 ความสัมพันธ์การใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงพื้นที่รอบสถานีกับจ�ำนวนผู้โดยสาร จำ�นวนผู้ โดยสาร

การใช้ประโยชน์อาคาร

ความสามารถในการเข้าถึง

Correlation

.504**

.749**

Significance

0.003

0.000

ค่าสถิติ ** ความสัมพันธ์มีนัยส�ำคัญที่ระดับ 0.01

ตารางที่ 2 เห็นได้ปัจจัยการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงทั้งคู่มีค่านัยส�ำคัญทางสถิติ (Significance ) กับจ�ำนวนผู้โดยสารในแต่ละสถานีน้อยกว่า .05 ซึ่งแปลว่าปัจจัยทั้งสองด้านมีความสัมพันธ์กับจ�ำนวน ผูโ้ ดยสาร โดยปัจจัยด้านการใช้ประโยชน์มคี า่ สัมประสิทธิส์ มั พันธ์ (Correlation) อยูท่ ี่ 0.504 ซึง่ หมายความว่า การใช้ประโยชน์ อาคารมีความสัมพันธ์กับจ�ำนวนผู้โดยสารในระดับปานกลาง ส่วนปัจจัยด้านความสามารถในการเข้าถึงมีค่าสัมประสิทธิ์ สัมพันธ์ (Correlation) อยู่ที่ .749 ซึ่งหมายความว่า ความสามารถในการเข้าถึงพื้นที่มีความสัมพันธ์กับจ�ำนวนผู้โดยสาร ในระดับสูง

62


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

5.2 ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารและประเภทความสามารถในการเข้าถึงพื้นที่ รอบสถานีกับจ�ำนวนผู้โดยสารแต่ละสถานี ผลการส�ำรวจข้อมูลของปัจจัยด้านลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารและข้อมูลของปัจจัยด้านความสามารถในการ เข้าถึงพื้นที่รอบสถานีน�ำมาเป็นปัจจัยในการน�ำมาวิเคราะห์ความสัมพันธ์กับจ�ำนวนผู้โดยสารด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient) ผลออกมาได้ดังนี้ ตารางที่ 3 และ ตารางที่ 4 ตารางที่ 3 ความสัมพันธ์ข้อมูลลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารกับจ�ำนวนผู้โดยสาร จำ�นวนผู้ โดยสาร

ที่พักอาศัย

พาณิชยกรรม

ผสมผสาน

สาธารณูปการ

อื่น ๆ

Correlation

-0.105

.521**

-0.151

.531**

-0.048

Significant

0.561

0.002

0.401

0.001

0.791

หมายเหตุ มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

ตารางที่ 3 พบว่าข้อมูลทีม่ คี า่ นัยส�ำคัญทางสถิติ (Significance) น้อยกว่า 0.5 ประกอบด้วย พืน้ ทีก่ ารใช้ประโยชน์ อาคารประเภทพาณิชยกรรมและพื้นที่การใช้ประโยชน์อาคารประเภทสาธารณูปการ ซึ่งมีแปลได้ว่าข้อมูลทั้งสองมีความ สัมพันธ์ทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.01 กับจ�ำนวนผูโ้ ดยสารในแต่ละสถานี และเมือ่ พิจารณาจากค่าสัมประสิทธิส์ มั พันธ์ (Correlation) อยู่ที่ 0.521และ 0.531 ตามล�ำดับ ซึ่งหมายความว่าพื้นที่การใช้ประโยชน์อาคารประเภทพาณิชยกรรมและพื้นที่การใช้ ประโยชน์อาคารประเภทสาธารณูปการมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับจ�ำนวนผู้โดยสารรถไฟฟ้า ตารางที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างประเภทของความสามารถในการเข้าถึงกับจ�ำนวนผู้โดยสาร จำ�นวนผู้ โดยสาร

สถานีร่วม

จำ�นวนสาย รถเมล์

ที่จอดรถ สาธารณะ

จำ�นวนสาย รถตู้

จำ�นวนสาย เรือโดยสาร

จำ�นวนสาย BRT

Correlation

.723**

.471**

.724**

.521**

-0.097

-0.047

Significant

0.000

0.006

0.000

0.002

0.592

0.794

หมายเหตุ มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

ตารางที่ 4 พบว่าข้อมูลทีม่ คี า่ นัยส�ำคัญทางสถิติ (Significance) น้อยกว่า 0.5 ประกอบด้วย 4 ตัวแปร คือ สถานี ร่วม จ�ำนวนสายรถเมล์ จ�ำนวนที่จอดรถสาธารณะ และจ�ำนวนสายรถตู้โดยสารสาธารณะจากผลทางสถิติสามารถสรุป ได้ว่าระบบขนส่งทั้ง 4 ตัวแปรมีความสัมพันธ์ทางสถิติท่ีระดับ 0.01 กับจ�ำนวนผู้โดยสารในแต่ละสถานีซ่ึงหมายความว่า ระบบขนส่งมวลชนรองไม่ว่าจะเป็น สถานีร่วม จ�ำนวนสายรถเมล์ จ�ำนวนที่จอดรถสาธารณะและจ�ำนวนสายรถตู้โดยสาร มีความสัมพันธ์กับจ�ำนวนผู้โดยสารรถไฟฟ้า

63


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

5.3 การจัดกลุ่มคุณลักษณะสถานี การจัดกลุม่ ด้วยการใช้ปจั จัยด้านลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารและปัจจัยด้านความสามารถในการเข้าถึงพืน้ ที่ ของรถไฟฟ้าสายสุขมุ วิทและสายสีลมทัง้ 33 สถานี ผลการวิเคราะห์การจัดกลุม่ สามารถแบ่งออกมาได้เป็น 3 กลุม่ คุณลักษณะ สถานีดังนี้ กลุ่มที่ 1 คือ กลุ่มที่มีค่าปัจจัยด้านการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงพื้นที่ต�่ำทั้งคู่ สถานีที่ จัดอยูใ่ นกลุม่ นีม้ ี 21 สถานีประกอบไปด้วย สถานีทองหล่อ สถานีธนบุรี สถานีโพธิน์ มิ ติ สถานีวงเวียนใหญ่ สถานีสะพานควาย สถานีพระโขนง สถานีบางจาก สถานีอุดมสุข สถานีปุณณวิถี สถานีอ่อนนุช สถานีบางหว้า สถานีบางนา สถานีสนามเป้า สถานีเอกมัย สถานีราชด�ำริ สถานีสุรศักดิ์ สถานีอารีย์ สถานีพร้อมพงษ์ สถานีเพลินจิต สถานีนานาและสถานีวุฒากาศ

ภาพที่ 2 ค่าปัจจัยด้านการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงกลุ่มที่ 1 ด้านการใช้ประโยชน์อาคาร ในภาพรวมกลุม่ นีม้ คี วามหนาแน่นต�ำ่ มาก รวมถึงมีการใช้ประโยชน์อาคารทุกในทุก ประเภทน้อยกว่ากลุม่ อืน่ อีกทัง้ มีอาคารทีม่ กี ารใช้ประโยชน์ประเภทพาณิชยกรรมและสาธารณูปการอยูใ่ นระดับน้อยมาก แต่พบว่าการใช้ประโยชน์อาคารส่วนใหญ่เป็นที่พักอาศัย ด้านความสามารถในการเข้าถึง ในภาพรวมกลุ่มนี้มีคะแนนของความสามารถในการเขาถึงอยู่ในระดับต�่ำที่สุด ซึ่งเป็นผลมาจากในแต่ละปัจจัยของด้านความสามารถในการเข้าถึงมีค่าต�่ำทุกปัจจัย กลุม่ ที่ 2 กลุม่ ทีม่ คี า่ ปัจจัยด้านการใช้ประโยชน์อาคารและปัจจัยด้านความสามารถในการเข้าถึงพืน้ ทีอ่ ยูใ่ นระดับ สูงกว่าค่าเฉลี่ย สถานีที่จัดอยู่ในกลุ่มนี้มี 9 สถานีประกอบไปด้วยสถานีพญาไท สถานีราชเทวี สถานีอโศก สถานีตลาดพลู สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ สถานีสะพานตากสิน สถานีช่องนนทรี สถานีชิดลมและสถานีศาลาแดง

64

ภาพที่ 3 ค่าปัจจัยด้านการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงกลุ่มที่ 2


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ด้านการใช้ประโยชน์อาคาร ในภาพรวมกลุ่มนี้มีความหนาแน่นอยู่ในระดับมากที่สุด มีการใช้ประโยชน์อาคาร ประเภทพาณิชยกรรมอยู่ในระดับมาก ความสามารถในการเข้าถึง ในภาพรวมกลุ่มนี้มีคะแนนของความสามารถในการเข้าถึงอยู่ในระดับปานกลาง ซึง่ เป็นผลมาจากในแต่ละปัจจัยของระบบขนส่งมวลชนรองประเภทสถานีรว่ ม จ�ำนวนสายรถเมล์และเรือสาธารณะในพืน้ ที่ รอบสถานี กลุ่มที่ 3 ที่มีค่าปัจจัยด้านความสามารถในการเข้าถึงพื้นที่อยู่ในระดับสูงมาก ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีค่าเฉลี่ยจ�ำนวน ผูโ้ ดยสารสูงทีส่ ดุ สถานีทจี่ ดั อยูใ่ นกลุม่ นีม้ ี 3 สถานีประกอบไปด้วย สถานีอนุสาวรียช์ ยั สมรภูมิ สถานีสยามและสถานีหมอชิต ด้านการใช้ประโยชน์อาคาร ในภาพรวมกลุม่ นีม้ คี วามหนาแน่นอยูใ่ นระดับต�ำ่ กว่าค่าเฉลีย่ แต่มกี ารใช้ประโยชน์ อาคารประเภทสาธารณูปการมากที่สุด โดยมีการใช้ประโยชน์อาคารประเภทอื่นอยู่ในระดับน้อยมาก ความสามารถในการเข้าถึงในภาพรวมกลุม่ นีม้ คี ะแนนของความสามารถในการเข้าถึงอยูใ่ นระดับสูงมาก ซึง่ เป็น ผลมาจากในแต่ละปัจจัยของระบบขนส่งมวลชนรองประเภทสถานีร่วม จ�ำนวนสายรถเมล์ ที่จอดรถสาธารณะและรถตู้ โดยสารสาธารณะในพื้นที่มีจ�ำนวนมาก

ภาพที่ 4 ค่าปัจจัยด้านการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงกลุ่มที่ 3 จากผลการวิเคราะห์การจัดกลุม่ สามารถจ�ำแนกคุณลักษณะสถานีออกได้เป็น 3 กลุม่ หากพิจารณาเปรียบเทียบ ค่าเฉลี่ยค่าปัจจัยด้านใช้ประโยชน์อาคาร ความสามารถในการเข้าถึง และจ�ำนวนผู้โดยสารในแต่ละกลุ่ม จะพบว่าค่าปัจจัย ด้านการใช้ประโยชน์อาคารและปัจจัยด้านความสามารถในการเข้าถึงส่งผลต่อจ�ำนวนผู้โดยสารต่างกันดังนี้ กลุ่มที่ 1 มีค่า ปัจจัยด้านการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงมีคา่ น้อยกว่าค่าเฉลีย่ พบว่ามีคา่ ของจ�ำนวนผูโ้ ดยสารน้อย ตามไปด้วย กลุ่มที่ 2 มีค่าของการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงอยู่ในช่วงระดับสูงกว่าค่าเฉลี่ย พบว่า มีค่าของจ�ำนวนผู้โดยสารมากกว่ากลุ่มแรก กลุ่มที่ 3 ค่าปัจจัยของการใช้ประโยชน์อาคารอยู่ในระดับต�่ำกว่าค่าเฉลี่ยแต่ มีค่าปัจจัยด้านความสามารถในการเข้าถึงอยู่ในระดับที่สูงมากพบว่ามีค่าของจ�ำนวนผู้โดยสารสูงที่สุด (ตารางที่ 5)

65


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ตารางที่ 5 ค่าเฉลี่ยปัจจัยการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงและจ�ำนวนผู้โดยสารในแต่ละกลุ่ม ค่าปัจจัย

กลุ่มคุณลักษณะของสถานี กลุ่ม 1

กลุ่ม 2

กลุ่ม 3

การใช้ประโยชน์อาคาร

-0.34

0.76

0.1

ความสามารถในการเข้าถึง

-2

0.26

2.34

จำ�นวนผู้โดยสาร

-0.44

0.31

2.14

เมื่อเราพิจารณาจากตางรางที่ 5 และผลการวิจัยข้างต้นทั้งหมด สามารถสรุปได้ว่าปัจจัยด้านการใช้ประโยชน์ อาคารและปัจจัยด้านความสามารถในการเข้าถึงพื้นที่รอบสถานีมีความสัมพันธ์กับจ�ำนวนผู้โดยสาร อีกทั้งลักษณะการใช้ ประโยชน์อาคารและรูปแบบของระบบขนส่งมวลชนที่แตกต่างกันยังมีความสัมพันธ์กับจ�ำนวนผู้โดยสารต่างกันอีกด้วย โดยสามารถสรุปลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารและรูปแบบของระบบขนส่งมวลชนที่มีความสัมพันธ์กับจ�ำนวนผู้โดยสาร กับลักษณะของพื้นที่รอบสถานีตามกลุ่มคุณลักษณะประเภทสถานีได้ดังต่อไปนี้ (ภาพที่5) กลุม่ ที่ 1 เป็นกลุม่ ทีม่ คี วามหนาแน่นของการใช้ประโยชน์อาคารน้อยทีส่ ดุ และส่วนใหญ่มกี ารใช้ประโยชน์อาคาร เป็นประเภทที่พักอาศัย ซึ่งอาจจะเป็นเพราะสถานีในกลุ่มนี้เป็นสถานีที่อยู่ปลายสายของรถไฟฟ้าซึ่งลักษณะของพื้นที่รอบ สถานีจะเป็นที่ดินขนาดเล็ก รูปร่างของขนาดแปลงที่ดินไม่เหมาะสมในการพัฒนา จึงเป็นผลให้ไม่มีการพัฒนาการใช้ ประโยชน์อาคารให้เป็นไปอย่างเหมาะสมหรือหากมีการพัฒนาก็จะเป็นการพัฒนาที่อยู่อาศัยเป็นส่วนมากเนื่องจากเพราะ ว่าที่ดินมีราคาถูกซึ่งผลการวิเคราะห์พบว่าลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารประเภทที่พักอาศัยไม่มีความสัมพันธ์กับจ�ำนวน ผู้โดยสารรถไฟฟ้า อีกทั้งความสามารถในการเข้าถึงพื้นที่อยู่ในระดับต�่ำ อาจจะเป็นเพราะโคร่งขายของถนนไม่เพียงพอ สัดส่วนของถนนอยูร่ ะดับทีน่ อ้ ยเป็นผลให้ทำ� ให้รถเมล์มเี ส้นทางการให้บริการทีซ่ อ้ นทับกันและไม่ครอบคลุม รวมถึงไม่มกี าร พัฒนาระบบขนส่งมวลชนรองประเภทอื่น ๆให้สามารถใช้งานรวมกันรถไฟฟ้าได้ จึงส่งผลให้จ�ำนวนผู้โดยสารในสถานี ในกลุ่มนี้มีจ�ำนวนอยู่ในระดับที่น้อยกว่ากลุ่มสถานีอื่น กลุม่ ที่ 2 เป็นกลุม่ ทีม่ คี วามหนาแน่นของการใช้ประโยชน์อาคารอยูใ่ นระดับสูงกว่าค่าเฉลีย่ เพราะส่วนเป็นสถานี ทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีศ่ นู ย์กลางเมือง ลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารในกลุม่ มีสดั ส่วนการใช้ประโยชน์อาคารทัง้ ประเภทพาณิชยกรรม มากทีส่ ดุ ซึง่ เป็นรูปแบบลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั จ�ำนวนผูโ้ ดยสารและเนือ่ งจากเป็นพืน้ ทีม่ เี ส้นทาง โครงข่ายของระบบถนนทีม่ ากพอ ท�ำให้พนื้ ทีร่ อบสถานีในกลุม่ นีม่ จี ำ� นวนของสายรถเมล์จำ� นวนมาก รวมถึงบางสถานีมรี ะบบ ขนส่งมวลรองประเภทเรือโดยสาร รถเมล์โดยสารด่วนพิเศษ (BRT) ซึง่ มีสว่ นช่วยให้ความสามารถในการเข้าถึงพืน้ ทีเ่ พิม่ มากขึน้ ด้วยลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงของพืน้ ทีร่ อบสถานีในกลุม่ นีอ้ ยูใ่ นระดับมากกว่าค่าเฉลีย่ จึงท�ำให้มีจ�ำนวนผู้โดยสารมากกว่าในกลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มที่มีความหนาแน่นของการใช้ประโยชน์อาคารอยู่ในระดับต�่ำกว่าค่าเฉลี่ยแต่มากกว่า กลุ่มที่ 1 โดยลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารส่วนใหญ่เป็นการใช้งานประเภทสาธารณูปการ เนื่องจากเป็นที่ดินของรัฐเป็น ส่วนใหญ่ ท�ำให้การพัฒนาอาจจะยังไม่เต็มศักยภาพอย่างที่ควรจะเป็นและลักษณะเด่นที่ส�ำคัญของกลุ่มนี้คือเป็นกลุ่มที่มี ค่าปัจจัยด้านความสามารถในการเข้าถึงอยู่ในระดับสูงมากเนื่องจากบริบทของพื้นที่เป็นพื้นที่ศูนย์กลางการเชื่อมต่อของ ระบบขนส่งมวลชนประเภทต่าง ๆ เข้ามายังพื้นที่ ทั้งรถเมล์โดยสาร รถตู้สาธารณะและสถานีร่วม ซึ่งท�ำให้พื้นที่รอบสถานี ในกลุม่ นีม้ หี น้าทีใ่ นการเป็นพืน้ ทีส่ ำ� หรับการเปลีย่ นถ่ายผูโ้ ดยสารจากระบบขนส่งมวลชนประเภทอืน่ ๆ เข้ามาสูร่ ะบบรถไฟฟ้า จึงท�ำให้จ�ำนวนของผู้โดยสารในกลุ่มสถานีมีจ�ำนวนมากที่สุด

66


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ภาพที่ 5 แผนที่แสดงต�ำแหน่งของกลุ่มคุณลักษณะสถาน

6. บทสรุป ผลของการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารรูปแบบต่าง ๆ และประเภทของของความ สามารถในการเข้าถึงจ�ำนวนผูโ้ ดยสารของแต่ละสถานี พบว่าลักษณะการใช้ประโยชน์อาคารประเภทพาณิชยกรรมและพืน้ ที่ การใช้ประโยชน์อาคารประเภทสาธารณูปการมีความสัมพันธ์กบั จ�ำนวนผูโ้ ดยสารรถไฟฟ้าและในส่วนปัจจัยของความสามารถ ในการเข้าถึงตัวแปรระบบขนส่งมวลชนรอง ประเภทสถานีรว่ ม จ�ำนวนสายรถเมล์ จ�ำนวนทีจ่ อดรถสาธารณะ และจ�ำนวนสาย รถตูโ้ ดยสารสาธารณะ ทัง้ หมดมีความสัมพันธ์กบั จ�ำนวนผูโ้ ดยสาร อีกทัง้ พืน้ ทีร่ อบสถานีรถไฟฟ้าทัง้ 33 สถานีมคี วามแตกต่างกัน การพัฒนาพืน้ ทีร่ อบสถานีจงึ จ�ำเป็นต้องค�ำนึงถึงปัจจัยทีแ่ ตกต่างกันด้วย โดยผลการวิเคราะห์การจัดกลุม่ ด้วยปัจจัยลักษณะ การใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถในการเข้าถึงพืน้ ที่ สามารถจ�ำแนกคุณลักษณะออกได้ 3 กลุม่ โดยแต่ละกลุม่ จะมี ปัจจัยที่แตกต่างกันตามที่ได้กล่าวไปในผลการศึกษา ซึ่งแนวทางของการพัฒนาจะถูกวิเคราะห์จากค่าปัจจัยของแต่ละด้าน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ กลุ่มที่ 1 มีแนวทางการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีคือการเพิ่มความหนาแน่นของการใช้ประโยชน์อาคาร โดยส่งเสริมให้ มีการพัฒนาอาคารประเภทพาณิชยกรรมและประเภทสาธารณูปการเพื่อสร้างแหล่งงานขึ้นในพื้นที่กระตุ้นให้เกิดความ ต้องการเดินทาง รวมถึงเพิม่ ความสามารถในการเข้าถึงพืน้ ทีใ่ ห้มากขึน้ โดยการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนรองให้ครอบคลุม และเชื่อมโยงกันมากขึ้น มีการพัฒนาโคร่งข่ายถนนวางแผนเส้นทางให้บริการของรถเมล์ให้มีความหลากหลาย รวมถึงอาจ จะมีการเพิ่มการให้บริการรถจักรยนต์รับจ้าง รถสองแถวเพื่อให้เกิดการเชื่อมต่อจากสถานีรถไฟฟ้ามากขึ้น กลุ่มที่ 2 มีแนวทางการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีคือการเพิ่มความหนาแน่นของการใช้ประโยชน์อาคาร ถึงแม้พื้นที่จะมี ความหนาแน่นของการใช้ประโยชน์อาคารอยูบ่ า้ งแล้ว โดยเป็นการส่งเสริมให้เพิม่ สัดส่วนลักษณะการใช้งานอาคารประเภท พาณิชยกรรมและประเภทสาธารณูปการมากขึน้ บางสถานี อีกทัง้ พืน้ ทีย่ งั จ�ำเป็นต้องมีการออกแบบพืน้ ทีใ่ ห้เป็นมิตรมากขึน้ เพือ่ ส่งเสริมให้การใช้งานในกลุม่ คนทุกระดับ รวมถึงออกแบบระบบขนส่งมวลชนรองให้มปี ระสิทธิภาพมากเนือ่ งจากลักษณะ ของพื้นที่ในกลุ่มนี้ส่วนใหญ่อยู่ศูนย์กลางเมืองซึ่งมีปริมาณของรถยนต์มาก ท�ำให้ระบบขนส่งมวลชนบางอย่างใช้งานได้ไม่ เต็มประสิทธิภาพเนื่องจากต้องใช้พื้นที่ถนนในการสัญจรเช่น รถเมล์ แนวการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนรองในพื้นที่อาจจะ พัฒนาระบบขนส่งที่ไม่ต้องใช้ถนนเป็นเส้นทางสัญจรเพิ่มประสิทธิภาพของระบบขนส่งมวลรองในพื้นที่

67


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

กลุม่ ที่ 3 มีแนวทางการพัฒนาพืน้ ทีร่ อบสถานีคอื การเพิม่ ความหนาแน่นของการใช้ประโยชน์อาคาร โดยการให้เอกชน สัมปทานเพือ่ พัฒนาพืน้ ที่ โดยส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาอาคารประเภทพาณิชยกรรมเพือ่ สร้างแหล่งงานรวมถึงอาจจะมีการ พัฒนาทีพ่ กั อาศัยขึน้ บางส่วนเพือ่ ท�ำให้เกิดการใช้งานพืน้ ทีร่ อบสถานีมากขึน้ พืน้ ทีร่ อบสถานีในกลุม่ นีส้ ว่ นใหญ่มจี ำ� นวนของ ระบบขนส่งมวลชนรองอยูใ่ นระดับทีส่ งู อยูแ่ ล้วจึงไม่จำ� เป็นต้องพัฒนาด้านความสามารถในการเข้าถึงแต่ควรมีการออกแบบ พืน้ ทีใ่ ห้เกิดความเป็นมิตรต่อการใช้งานเพิม่ มากขึน้ เนือ่ งจากกลุม่ คนทีจ่ ะมีการใช้งานอาจจะได้รบั ผลกระทบต่อระบบขนส่ง และมลพิษในที่จะเกิดขึ้น ทั้งนี้รูปแบบการพัฒนาที่เสนอแนะมาจากการวิเคราะห์ที่ใช้ปัจจัยด้านการใช้ประโยชน์อาคารและความสามารถ ในการเข้าถึงพื้นที่ที่มาจากการศึกษาและทบทวนวรรณกรรม หากจะพัฒนาพื้นที่รอบสถานีให้ควรต้องพิจารณาตามบริบท และสภาพแวดล้อมของพื้นที่รายสถานีด้วย ข้อเสนอจากการศึกษาครั้งนี้พบว่าการลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งมวลชนเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถตอบสนองความต้องการใช้งานของประชาชนได้ ภาครัฐควรจะมีแนวทางการพัฒนาส่งเสริมพื้นที่รอบสถานีให้มี การใช้งานทีห่ ลากหลายและมีความหนาแน่นทีเ่ หมาะสม รวมถึงพัฒนาระบบขนส่งมวลชนรองทีช่ ว่ ยสนับสนุนการใช้ระบบ ขนส่งรถไฟฟ้าให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ โดยในอนาคตภาครัฐควรมีการศึกษาพืน้ ทีร่ อบสถานีโดยใช้แนวความคิดการพัฒนา พืน้ ทีร่ อบสถานีโดยใช้แนวความคิดพัฒนาการใช้ประโยชน์อาคารและพัฒนาความสามารถในการเข้าถึงควบคูก่ บั การวางแผน ระบบขนส่ง เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของระบบขนส่งมวลชนให้มีผู้ใช้งานเพิ่มมากขึ้น

7. กิตติกรรมประกาศ ผูว้ จิ ยั ขอขอบคุณ ส�ำนักงานผังเมืองกรุงเทพมหานคร กรมขนส่งทางบก ส�ำนักงานขนส่งกรุงเทพมหานครพืน้ ที่ 5 และบริษัทระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จ�ำกัด ที่อนุเคราะห์ข้อมูลในการท�ำวิจัยครั้งนี้

68


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

8. เอกสารอ้างอิง ธีรวัฒน์ เสรีอรุโณ. (2560). ผลกระทบของคุณลักษณะของสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสต่อราคาคอนโดมิเนียมใน TOD Influence Zone. (วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ, ประเทศไทย. นิตยา ประพุทธนิติสาร. (2547). ภูมิศาสตร์การขนส่ง. ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ ม.เชียงใหม่. สรัสไชย องค์ประเสริฐ. (2561). แนวทางการพัฒนาพืน้ ทีโ่ ดยรอบ สถานีรถไฟในประเทศไทย. Retrieved from https:// www.matichon.co.th/columnists/news_826240 สามารถ ราชพลสิทธิ์. (2559). รถไฟฟ้าสายสีม่วงกระอัก ! ขาดทุนวันละ 3 ล้าน แนะเร่งสร้างทางเชื่อมเตาปูน-บางซื่อ. Retrieved from https://hilight.kapook.com/view/141113 สุเมธ องกิตติกุล. (2562). ทีดีอาร์ไอชี้ "ค่ารถไฟฟ้าไทย" แพงกว่าสิงคโปร์20% ท�ำคนจนเข้าไม่ถึง. Retrieved from https://www.posttoday.com/economy/590438 Bertaud, A.&Richardson, H. W. (2004). Transit and density: Atlanta, the United States and western Europe. Urban Sprawl in Western Europe and the United States. London: Ashgate, 293-310. Bertolini, L. (1999). Spatial development patterns and public transport: the application of an analytical model in the Netherlands. Planning Practice and Research, 14(2), 199-210. Geurs, K. T.&Van Wee, B. (2004). Accessibility evaluation of land-use and transport strategies: review and research directions. Journal of Transport Geography, 12(2), 127-140. Hinkle, D. E., Wiersma, W.&Jurs, S. G. (1998). Correlation: a measure of relationship. Applied statistics for the behavioral sciences, 4, 105-131. Meyer, M.&Miller, E. (1984). Urban Transportation Planning: A Decision Oriented Approach. New York: McGraw-Hill Book Company. Sarkar, P. P.&Mallikarjuna, C. (2013). Effect of land use on travel behaviour: a case study of Agartala city. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 104, 533-542. Vale, D. S. (2015). Transit-oriented development,intergration of land use and transport,and predestrain accessibility: combrining node-place model with pedestrian shed ration to evaluate and classify station areas in Lisbon. Journal of Transport Geography, 45, 70-80.

69


รูปแบบการค้นหาเส้นทาง ในพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ ย่านพระอาทิตย์ กรุงเทพมหานคร Wayfinding patterns in Phra Arthit Historical Community Area, Bangkok Received : Jun 7, 2019 Revised : July 8, 2019 Accepted : July 15, 2019

ดุษฎี บุญฤกษ์1* และ ไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ2 1

นิสติ ปริญญาโท ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2

อาจารย์ประจ�ำ ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Dusadee Boonreak1* and Khaisri Paksukcharern2 1

Graduate Student, Department of Urban and Regional Planning, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University 2

Lecturer, Department of Urban and Regional Planning, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University *E-mail: 6173319025@student.chula.ac.th


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

บทคัดย่อ ชุมชนประวัติศาสตร์ย่านพระอาทิตย์เป็นพื้นที่ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวสูงในด้านคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรม มีสถานที่ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ที่ขึ้นทะเบียนมรดกทางวัฒนธรรม ได้แก่ ป้อมพระสุเมรุ วัดชนะสงคราม มัสยิดจักรพงษ์ อาคารพิพิธบางล�ำพู และสวนสันติชัยปราการ เป็นต้น แต่พื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ย่านพระอาทิตย์กลับมีการใช้งานที่ ไม่เต็มศักยภาพและไม่เป็นอเนกประโยชน์ ทั้งๆ ที่พื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ควรมีความสมดุลในการสัญจรเพื่อผ่านและ เพื่อเข้าถึงของคนกลุ่มต่างๆ ในพื้นที่อย่างทั่วถึงโดยเฉพาะการสัญจรทางเท้า บทความนี้ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษารูปแบบการค้นหาเส้นทางของกลุม่ คนทีเ่ ข้ามาใช้งานพืน้ ที่ 2 กลุม่ ได้แก่ กลุม่ คน ทีค่ นุ้ เคยและไม่คนุ้ เคยกับพืน้ ที่ โดยท�ำการบันทึกรูปแบบของการสัญจรของคนเดินเท้า ในช่วงวันและเวลาต่างๆ การศึกษา พบว่ากลุม่ คนทัง้ 2 ประเภท มีรปู แบบการค้นหาเส้นทางทีแ่ ตกต่างกันและแยกออกจากกัน ท�ำให้เกิดการใช้งานพืน้ ทีใ่ นบางบริเวณ อย่างไม่เป็นอเนกประโยชน์ ผลการศึกษาชีใ้ ห้เห็นถึงแนวทางการเพิม่ ศักยภาพของการเข้าถึง รวมไปถึงข้อเสนอแนะในการ กระจายกิจกรรมของพืน้ ทีช่ มุ ชนประวัตศิ าสตร์ เพือ่ ให้เกิดสมดุลของการสัญจรเพือ่ ผ่านและการสัญจรเพือ่ เข้าถึงของคนเดินเท้า กลุ่มต่างๆ อย่างเต็มศักยภาพมากขึ้น ค�ำส�ำคัญ: การค้นหาเส้นทาง, พื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์, ย่านพระอาทิตย์

ABSTRACT Phra Arthit historical community area is a unique urban area that has several important cultural heritages. There are historical places registered by the cultural heritage department Thailand such as Phra Sumen Fort, Wat Chana Songkhram, Chakrapong Mosque, Pipit Banglumpoo Museum, Santichai Prakan Park, etc. However, Phra Arthit historical community area is not fully utilized as a mixed-use urban area as it should be. Theoretically, a historical community area should have a mix of move through and move to pedestrian network accessible to various groups of people. This article aims to study the wayfinding patterns of two groups people, those who are familiar and unfamiliar with the area. By observing and analyzing patterns of pedestrian traffic during times and days, it is found that those two groups of people more about the area differently most of the area is single use. The finding shows ways to increase the potential of access and suggestions to distribute activities in a historical community. Also, the results of the study suggest the more distribution of pedestrian attractor area to create a more mix use to attract various groups of people in all areas. Keywords: Wayfinding, Historical Community Area, Phra Arthit Area

71


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

1. บทน�ำ ชุมชนประวัตศิ าสตร์ยา่ นพระอาทิตย์ตงั้ อยูใ่ นพืน้ ทีเ่ กาะรัตนโกสินทร์ กรุงเทพมหานคร เป็นพืน้ ทีท่ มี่ เี อกลักษณ์เฉพาะ ตัวสูงในด้านคุณค่ามรดกวัฒนธรรม กล่าวคือ มีวิถีชีวิตชุมชนเก่าที่มีงานฝีมือเฉพาะเจาะจง เช่น การท�ำทอง รวมทั้งมีชุมชน ดั้งเดิมที่ยังหลงเหลืออยู่ ได้แก่ ชุมชนตรอกมัสยิดจักรพงษ์ ชุมชนตรอกเขียนนิวาสน์ และชุมชนตรอกไก่แจ้ มีสถานที่ส�ำคัญ ทางประวัติศาสตร์ที่ขึ้นทะเบียนมรดกทางวัฒนธรรม ได้แก่ ป้อมพระสุเมรุ วัดชนะสงคราม อาคารพิพิธบางล�ำพู และสวน สันติชัยปราการ เป็นต้น โดยพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ย่านพระอาทิตย์มีเส้นทางในการเข้าถึงพื้นที่หลากหลายรูปแบบ โดยเฉพาะการเดินเท้า มีความหลากหลายของผูใ้ ช้พนื้ ทีท่ งั้ คนไทยทีอ่ าศัยอยูใ่ นชุมชนดัง้ เดิม รวมทัง้ นักท่องเทีย่ วทัง้ ชาวไทย และต่างประเทศ ถึงแม้พนื้ ทีช่ มุ ชนประวัตศิ าสตร์ยา่ นพระอาทิตย์จะมีเส้นทางลัดทีเ่ ป็นตรอกซอกซอยทีน่ อกเหนือไปจากถนนเส้นหลัก ในการสัญจร แต่ก็ยังมีศักยภาพในการเข้าถึงไม่เต็มพื้นที่ ทั้งกลุ่มคนที่คุ้นเคยและไม่คุ้นเคยกับพื้นที่ เช่น คนในชุมชน นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ ทั้งๆ ที่พื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ย่านพระอาทิตย์ควรมีสมดุลในการสัญจรเพื่อผ่าน และเพื่อเข้าถึงของคนกลุ่มต่างๆ อย่างเต็มศักยภาพ โดยพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์เป็นพื้นที่ที่มีลักษณะเฉพาะ ทั้งในมิติทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีการวิวัฒนาการจากอดีตจนถึงปัจจุบัน และมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ลักษณะทางกายภาพของ พื้นที่ล้วนเป็นทั้งเหตุและปัจจัยมาจากสภาพเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ที่ตกทอดมายาวนานจากอดีต (Smailes, 1968) โดยสามารถจ�ำแนกความส�ำคัญของพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ไว้ ดังนี้ ความส�ำคัญของมิติทางกายภาพ: พื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์เป็นพื้นที่ที่มีมรดกทางวัฒนธรรมที่เป็นกายภาพ หลงเหลืออยู่เป็นจ�ำนวนมาก เช่น ศาสนสถานเก่าแก่ อาคารทรงคุณค่า และพื้นที่ที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์อันยาวนาน ซึง่ ควรค่าต่อการเก็บรักษาไว้ โดยลักษณะทางกายภาพของพืน้ ทีช่ มุ ชนประวัตศิ าสตร์ ยังสามารถแสดงถึงเอกลักษณ์ทอ้ งถิน่ ของพื้นที่ และสามารถท�ำให้พื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์เป็นพื้นที่ที่มีความเฉพาะเจาะจง และมีความส�ำคัญในแง่ของมรดก ทางวัฒนธรรมได้ ความส�ำคัญของมิตทิ างเศรษฐกิจ: พืน้ ทีช่ มุ ชนประวัตศิ าสตร์เป็นพืน้ ทีท่ มี่ กี ารพัฒนาการของความเจริญต่อเศรษฐกิจ ของเมืองต่อเนื่องมาจากในอดีต โดยในปัจจุบันพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์สามารถสร้างรายได้ทางเศรษฐกิจให้กับเมือง ในฐานะเป็นแหล่งท่องเที่ยว เนื่องจากมีเอกลักษณ์ที่ดึงดูดให้กับนักท่องเที่ยวที่เข้ามาใช้งานพื้นที่จากมรดกทางวัฒนธรรม ต่างๆ ในพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์มีความส�ำคัญต่อมิติทางเศรษฐกิจ ทั้งในอดีต จนถึงปัจจุบัน ความส�ำคัญของมิติทางสังคม: พื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์นอกจากประกอบไปด้วยชุมชนที่มีความสัมพันธ์กับพื้นที่ มีความใกล้ชดิ กันของชุมชนอยูอ่ าศัย ในลักษณะเครือญาติหรือกลุม่ สังคมดัง้ เดิม ชุมชนในบางพืน้ ทีย่ งั สามารถสร้างเศรษฐกิจ ให้กับพื้นที่ โดยใช้รูปแบบงานฝีมือที่เป็นเอกลักษณ์ เพื่อสร้างเศรษฐกิจให้กับชุมชน ความส�ำคัญของมิติทางวัฒนธรรม: มรดกทางวัฒนธรรมในพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ประกอบไปด้วย มรดกทาง วัฒนธรรมที่จับต้องได้และจับต้องไม่ได้ ซึ่งท�ำให้พื้นที่มีความเฉพาะเจาะจงเป็นเอกลักษณ์ รวมทั้งเป็นจุดดึงดูดในแง่ของ เศรษฐกิจของพืน้ ที่ และในแง่ของการใช้มรดกทางวัฒนธรรมในการด�ำรงชีวติ ของกลุม่ ทางสังคมของพืน้ ที่ จึงกล่าวได้วา่ มิติ ทางวัฒนธรรมเป็นส่วนส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดเป็นชุมชนประวัติศาสตร์ขึ้นมาได้

72


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

2. วิธีด�ำเนินการวิจัย การวิจัยมีการด�ำเนินงาน 2 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ศึกษาข้อมูลทุติยภูมิถึงลักษณะทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรมเบื้องต้นของพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ย่านพระอาทิตย์ รวมไปถึงตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลเพื่อสร้าง แผนที่การส�ำรวจและวิเคราะห์พื้นที่และ 2) เก็บข้อมูลปฐมภูมิด้วยการสังเกตการณ์รูปแบบการค้นหาเส้นทางของ กลุ่มคนที่คุ้นเคยและไม่คุ้นเคยกับพื้นที่ด้วยวิธีสะกดรอย (movement trace) โดยบทความวิจัยชิ้นนี้ ต้องการที่จะท�ำการบันทึกโดยการสังเกตการณ์การค้นหาเส้นทางของคนทั้ง 2 กลุ่ม ในพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ย่านพระอาทิตย์ ว่ามีรูปแบบที่แตกต่างกันอย่างไร

3. พื้นที่ศึกษา พื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ย่านพระอาทิตย์ กรุงเทพมหานคร เป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งของเกาะรัตนโกสินทร์ตอนบน ตั้งอยู่ในแขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร (ภาพที่ 1) ในพื้นที่ประกอบด้วยชุมชนเก่า ได้แก่ ชุมชนตรอก มัสยิดจักรพงษ์ ชุมชนตรอกเขียนนิวาสน์ และชุมชนตรอกไก่แจ้ มีสถานที่ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ที่ขึ้นทะเบียนมรดก ทางวัฒนธรรม ได้แก่ ป้อมพระสุเมรุ วัดชนะสงคราม อาคารพิพิธบางล�ำพู และสวนสันติชัยปราการ เป็นต้น มีขอบเขต

พื้นที่ศึกษา ดังนี้ พื้นที่ศึกษา (study area) - 171 ไร่ (273,600 ตารางเมตร) ทิศเหนือ จรด คลองบางล�ำพู ทิศใต้ จรด ถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้า ทิศตะวันออก จรด ถนนจักรพงษ์

ภาพที่ 1 ขอบเขตพื้นที่ศึกษาและสถานที่ส�ำคัญ

73


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

โดยพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ย่านพระอาทิตย์เป็นย่านที่มีการตั้งถิ่นฐานของกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลายกลุ่มมา ตั้งแต่ในอดีต เช่น มลายู ลาว มอญ จีน และไทย เป็นต้น มีการตั้งถิ่นฐานปะปนกัน แต่ในปัจจุบันสภาพพื้นที่ได้มีการ เปลี่ยนแปลง เนื่องจากการขยายตัวของเมืองและธุรกิจการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่ ส่งผลให้อาคารจ�ำนวนมากมี การเปลี่ยนสภาพเป็นโรงแรม ร้านอาหาร ผับ และบาร์ เป็นจ�ำนวนมาก ประกอบกับมีประชากรจากอื่นที่เข้ามาประกอบ อาชีพภายในพื้นที่อยู่เป็นจ�ำนวนมาก ดังนั้น พื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ย่านพระอาทิตย์จึงมีความหนาแน่นค่อนข้างสูง และมีการผสมผสานของรูปแบบพื้นที่ที่มีการตั้งถิ่นฐานตั้งแต่สมัยอดีตกับการพัฒนาพื้นที่และสร้างขึ้นใหม่จากธุรกิจการ ท่องเที่ยว พื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ย่านพระอาทิตย์ จึงมีโครงข่ายพื้นที่สาธารณะที่หลากหลายรูปแบบ มีรูปทรงที่แตก ต่างกันและการจัดวางพื้นที่ในลักษณะที่ถูกโอบล้อมด้วยสิ่งปลูกสร้าง ตลอดจนเกาะตัวเป็นแนวยาวตามเส้นทางสัญจร ประกอบไปด้วยย่านและชุมชนต่างๆ ดังนี้ ย่านถนนพระอาทิตย์ ถนนพระอาทิตย์เริ่มต้นจากสะพานพระปิ่นเกล้า เลียบแม่น�้ำเจ้าพระยา ยาวไปจรดป้อม พระสุเมรุ ถนนพระอาทิตย์ตั้งชื่อตามป้อมพระอาทิตย์ที่สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ที่ทรงสถาปนากรุงเทพมหานครเป็นราชธานี โดยมีตึกแถวที่ส�ำคัญอยู่บริเวณถนนพระอาทิตย์ ตึกแถวถูกสร้างขึ้นในสมัย รัชกาลที่ 5 โดยลักษณะทางสถาปัตยกรรมได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะตะวันตก ซึ่งนิยมอย่างแพร่หลายในรัชกาลที่ 5 แต่ ก่อนรัชกาลที่ 5 รับอิทธิพลศิลปะตะวันตกมาตกแต่งอาคารหรือรูปทรงเฉพาะวังเจ้านายและบ้านคหบดีเท่านั้น บ้าน เรือนคนธรรมดาหรือบ้านแถวที่เกิดขึ้นนั้นเลียนแบบอิทธิพลของศิลปะแบบจีนมากกว่า ย่านข้าวสารและรามบุตรี บริเวณถนนข้าวสารยาวจนถึงถนนรามบุตรีจรดถนนพระอาทิตย์ นับได้ว่าเป็นจุดมุ่ง หมายของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในการเป็นแหล่งท่องเที่ยวและสถานบันเทิงที่มีชีวิตชีวา มีการเกิดกิจกรรมต่อเนื่อง เกือบตลอดทั้งวัน ในช่วงเวลากลางวัน บริเวณนี้จะเป็นช่วงเวลาของการจับจ่ายใช้สอยสินค้าประเภทของที่ระลึก เสื้อผ้า ต่างๆ ซึ่งถือว่าเป็นจุดขายของย่าน ส่วนในตอนกลางคืนจะคึกคักเป็นพิเศษ เนื่องจากเป็นแหล่งรวมร้านอาหารนานาชาติ ผับ บาร์ รวมถึงเป็นถนนคนเดินที่มีร้านค้าแผงลอยน�ำสินค้ามาขายตลอดแนวตามความยาวถนน นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ เป็นกลุ่มวัยรุ่นและนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ ชุมชนตรอกมัสยิดจักรพงษ์ ประกอบด้วยชุมชนที่อยู่รอบๆ มัสยิดจักรพงษ์ เป็นที่ดินของเอกชนซึ่งอยู่กันมานาน ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ที่ดินส่วนหนึ่งเป็นที่ดินสาธารณะเนื่องจากเป็นแหล่งชุมชนย่านใจกลางเมือง ประกอบด้วยเจ้าของที่ดินปลูกบ้านเป็นห้องแบ่งให้เช่า จึงมีผู้เข้ามาอยู่อาศัยอย่างหนาแน่น ชุมชนตรอกเขียนนิวาสน์ - ไก่แจ้ ประวัติและการตั้งถิ่นฐานในสมัยก่อนบริเวณปากตรอกแห่งนี้เป็นที่ตั้งของบ้าน พระนิติธานภิเษก ผู้พิพากษาศาลฎีกาในสมัยรัชกาลที่ ๖ บ้านสามชั้น มีสิ่งสะดุดตาปรากฏอยู่บนหลังคา คือเสาโลหะ บอกทิศทางลมรูปไก่ ตามอย่างลักษณะบ้านเรือนของชาวตะวันตก จึงท�ำให้ผู้คนในย่านนี้เรียกติดปากกันว่า “บ้านไก่แจ้” และกลายมาเป็นชื่อตรอกไก่แจ้จนทุกวันนี้ ในปัจจุบันมีการปลูกสร้างอาคารขนาดใหญ่ขึ้นทดแทนและเป็นที่อยู่อาศัย เป็นส่วนใหญ่ ส่วนตรอกเขียนนิวาสน์นั้นเหลือเพียงชื่อให้นึกย้อนถึงโรงเรียนเขียนนิวาสน์ หนึ่งในโรงเรียนราษฎร์ซึ่งเคย เปิดกิจการในย่านบางล�ำพู เจ้าของและผู้ก่อตั้งโรงเรียนแห่งนี้คือ ม.ล.เติม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา เปิดรับนักเรียนตั้งแต่ ชั้นอนุบาลถึงประถมสี่และยุบกิจการหลังจากครูเติมเสียชีวิต ปัจจุบันอาณาบริเวณโรงเรียนเปลี่ยนเป็นหมู่บ้านจัดสรร ซึ่งอยู่ในความดูแลของส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหา กษัตริย์ ในปัจจุบันเป็นชุมชนที่มีที่อยู่อาศัยหนาแน่นเช่นเดียว กับตรอกไก่แจ้ ลักษณะที่อยู่อาศัยเป็นกลุ่มอาคารพักอาศัย ส่วนมากเป็นบ้านไม้สูง 2 ชั้น กระจุกตัวรวม กันค่อนข้างแน่น และ ถูกล้อมรอบด้วยอาคารพาณิชย์ที่ติดอยู่ริมถนนซึ่งหันหน้าออกทางถนน มีการเข้าถึงชุมชนได้หลายทิศทาง ซึ่งใช้วิธีการ เดินเท้าเป็นหลัก โดยอาชีพหลักของชุมชน คือ อาชีพรับจ้างและค้าขาย อาชีพรองลงมา คือ อาชีพรับราชการและอาชีพ ส่วนตัว

74


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ภาพที่ 2 พื้นที่ย่านถนนข้าวสารและย่านบางล�ำพู

ภาพที่ 3 พื้นที่ว่างชุมชนมัสยิดจักรพงษ์และตรอกเขียนนิวาสน์ จากข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ย่านพระอาทิตย์ สามารถสรุปได้ว่า พื้นที่มีความส�ำคัญและเป็น ย่านประวัติศาสตร์ที่มีความน่าสนใจในมิติต่างทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม จึงจ�ำเป็นต้องศึกษารูปแบบ ของการค้นหาเส้นทางของกลุ่มคนประเภทต่างๆ ว่ามีรูปแบบการค้นหาเส้นทางในพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ย่าน พระอาทิตย์เป็นอย่างไร จากการสังเกตการณ์เบื้องต้นพบว่า พื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ย่านพระอาทิตย์ประกอบไปด้วย ผูใ้ ช้งาน 2 ประเภทหลัก คือ กลุม่ คนทีค่ นุ้ เคยและไม่คนุ้ เคยกับพืน้ ที่ จากการทบทวนวรรณกรรมจากงานวิจยั ของ ปราณระฟ้า พรหมประวัติ (2550) , พัลยมน หางนาค (2557) และพศิน สุวรรณเดช (2558) มีวิธีการจ�ำแนกกลุ่มคนที่คล้ายคลึงกัน คือ ใช้การสังเกตการณ์โดยใช้การจ�ำแนกจากลักษณะที่มองเห็น ภายนอก ได้แก่ รูปร่างชาติพันธุ์ ลักษณะท่าทาง ลักษณะการแต่งตัว ความเร็วในการเดิน ทิศทางที่จะไป และ ลักษณะการเดินเป็นกลุ่ม ของกลุ่มคนประเภทนั้นๆ โดยสามารถจ�ำแนกตามกลุ่มคนแต่ละประเภทได้ ดังนี้ กลุ่มคนคุ้นเคยพื้นที่ หมายถึง กลุ่มคนที่ใช้พื้นที่อยู่เป็นประจ�ำ รู้ต�ำแหน่งของกิจกรรมต่างๆ ในพื้นที่เป็นอย่างดี สามารถแบ่งเป็นคนในพื้นที่และคนนอกพื้นที่ ได้แก่ คนในชุมชนมัสยิดจักรพงษ์ ตรอกเขียนนิวาสน์ และตรอกไก่แจ้ ส่วน คนนอกพื้นที่ ได้แก่ พ่อค้าแม่ค้าที่เข้ามาใช้งานในพื้นที่อยู่เป็นประจ�ำ คนท�ำงานในพื้นที่ เด็กนักเรียนโรงเรียนต่างๆ เป็นต้น กลุ่มคนไม่คุ้นเคยพื้นที่ หมายถึง กลุ่มคนที่เข้ามาใช้งานพื้นที่เป็นครั้งคราว หรืออาจจะเข้ามาใช้งานพื้นที่เป็นครั้ง แรก โดยคนกลุ่มนี้อาจจะต้องใช้แผนที่น�ำทาง แผนที่จากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือใช้วิธีการบอกทางและถามทาง โดย สามารถใช้วิธีการจ�ำแนกข้างต้นได้เช่นกัน กลุ่มคนประเภทนี้ ได้แก่ กลุ่มนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ กลุ่มคนไทยที่เข้ามา ท�ำธุระในพื้นที่ เป็นต้น

75


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

4. การบันทึกรูปแบบของการค้นหาเส้นทาง การได้มาซึ่งรูปแบบของการค้นหาเส้นทางในเมืองนั้นจ�ำเป็นต้องมีวิธีการเก็บข้อมูล โดยส่วนมากจะมีการใช้วิธี การบันทึกรูปแบบการเดินเท้าด้วยการเก็บข้อมูลเชิงประจักษ์ (observation procedures) การเก็บข้อมูลชนิดนี้สามารถ สร้างเป็นวิธีการเก็บข้อมูลด้วยการเข้าสังเกตการณ์ปรากฏการณการใช้พื้นที่สาธารณะในรูปแบบต่างๆ ของคนเดินเท้า ได้อย่างเป็นระบบ เนื่องจากเมืองเปิดทางเลือกให้ผู้คนสัญจรไปยังบริเวณต่างๆ เพื่อท�ำกิจกรรมที่หลากหลาย จึงจ�ำเป็น ต้องเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบเพื่อให้เห็นถึงภาพรวมของการเข้าใช้พื้นที่ศึกษาในช่วงเวลาต่างๆ ของกลุ่มคนหลากหลาย ประเภทได้อย่างชัดเจน (จุฬวดี สันทัด, 2547 อ้างถึง Dalton, 1977) ดังนั้น วิธีที่จะสามารถบันทึกปรากฏการณการ เดินเท้าในเมืองได้อย่างสมบูรณ์ตามความเหมาะสมกับขนาดของพื้นที่และจุดประสงค์ของการวิจัย ดังนี้ การบันทึกอัตราการสัญจรผ่านของคนเดินเท้าในพื้นที่ เป็นการนับปริมาณคนเดินเท้าที่สัญจรผ่านในแต่ละด่าน (gate) เป็นอัตราของจ�ำนวนคนต่อชั่วโมง 1) การบันทึกรูปแบบการเลือกเส้นทางนิยมสัญจรของคนเดินเท้าในพื้นที่ เป็นการสังเกตและบันทึกรูป แบบการเลือกเส้นทางนิยมสัญจรของคนเดินเท้า เพือ่ ระบุเส้นทางทีค่ นเดินเท้าส่วนใหญ่เ ลือกหรือไม่เ ลือก สัญจรแบบไม่เฉพาะเจาะจง การบันทึกอัตราการสัญจรผ่านของคนเดินเท้าในพื้นที่ สามารถทราบถึงปริมาณของคนเดินเท้าที่สัญจร บนพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ย่านพระอาทิตย์ โดยแสดงปริมาณของคนที่เดินเข้ามาในพื้นที่สูงสุดในแต่ละช่วงเวลา ของวัน ภายในพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ย่านพระอาทิตย์สามารถก�ำหนดด่านทั้งหมด 17 ด่าน ซึ่งเกณฑ์ในการเลือกด่าน คือ เป็นจุดตัดถนนหรือทางแยกที่สามารถเข้าถึงพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ย่านพระอาทิตย์ จ�ำแนกได้เป็น G1-G17 ดังนี้ (ภาพที่ 4) • G1 ถนนสามเสน • G10 ท่าเรือพระอาทิตย์ • G2 ถนนพระสุเมรุ • G11 ถนนล�ำพู (วัดสังเวช) • G3 ซอยไกรสีห์ • G12 ตรอกไก่แจ้ • G4 ถนนตานี • G13 ชุมชนตรอกมัสยิดจักรพงษ์ • G5 ซอยรามบุตรี (ช่วงถนนข้าวสาร) • G14 ซอยรามบุตรี (วัดชนะสงคราม) • G6 ถนนข้าวสาร • G15 วัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร • G7 ปลายถนนจักรพงษ์ • G16 ปลายซอยรามบุตรี • G8 ถนนพระอาทิตย์ (ธรรมศาสตร์) • G17 ตรอกโรงไหม • G9 ท่าเรือปิ่นเกล้า – สะพานปิ่นเกล้า ทั้งนี้ ได้เลือกเก็บข้อมูลตามด่านดังกล่าว โดยแยกระหว่างวันธรรมดา (วันอังคาร - วันพฤหัส) และวัน หยุด (วันเสาร์และอาทิตย์) โดยใช้วิธีเก็บในเวลาเร่งด่วน 7.00-9.00 น. และ 17.00-19.00 น. จึงน�ำปริมาณที่นับได้มา รวมกัน โดยท�ำการแยกเก็บข้อมูลของกลุ่มคน 2 ประเภท คือ กลุ่มคนที่คุ้นเคยและไม่คุ้นเคยกับพื้นที่ การเก็บข้อมูลจะใช้เวลาเก็บด่านละ 6 นาที โดยเก็บระหว่างวันและช่วงเวลาดังกล่าว ในวันพุธที่ 6 ธันวาคม 2561 (วันธรรมดา) และวันเสาร์ที่ 22 ธันวาคม 2561 (วันหยุด) เมื่อท�ำการเก็บข้อมูลแล้วน�ำมาหาค่าเฉลี่ย เป็นอัตราต่อชั่วโมง การเก็บข้อมูลด้วยวิธีนี้ ท�ำให้ทราบถึงปริมาณของคนเดินเท้าที่สัญจรผ่านพื้นที่โดยเฉลี่ยในแต่ละด่าน และบริเวณที่มีคนเดินเท้าสัญจรผ่านสูงสุดในแต่ละช่วงเวลาของวัน

76


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ภาพที่ 4 แผนที่ต�ำแหน่งด่านนับปริมาณการสัญจรผ่านของคนเดินเท้า จากการส�ำรวจอัตราการสัญจรผ่านของกลุ่มคนที่คุ้นเคยกับพื้นที่ในวันธรรมดา พบว่าด่านที่มีคนสัญจร ผ่านมากที่สุด 5 อันดับแรก คือ G3 ซอยไกรสีห์ G2 ถนนพระสุเมรุ G10 ท่าเรือพระอาทิตย์ G4 ถนนตานี และ G8 ถนน พระอาทิตย์ (ธรรมศาสตร์) ตามล�ำดับ จะเห็นได้ว่า G3 ซอยไกรสีห์ มีปริมาณการสัญจรของกลุ่มคนที่คุ้นเคยกับพื้นที่ มากที่สุด เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีตลาดในตอนเช้าและตอนเย็นท�ำให้มีคนสัญจรผ่านเป็นจ�ำนวนมาก G2 ถนนพระสุเมรุ เป็นถนนที่สามารถเชื่อมต่อกับบริเวณพื้นที่อื่นๆ G10 ท่าเรือพระอาทิตย์ เป็นด่านที่มีท่าเรือที่มีคนที่คุ้นเคยพื้นที่เข้ามา ใช้งานทั้งเช้าและเย็นท�ำให้มีปริมาณการสัญจรสูงตามมา (ภาพที่ 5) ในวันหยุด อัตราการสัญจรผ่านของกลุ่มคนที่คุ้นเคยกับพื้นที่จะมีความคล้ายคลึงกันกับในวันธรรมดา แต่จะมีล�ำดับแตกต่างกันเล็กน้อย ดังนี้ G3 ซอยไกรสีห์ G4 ถนนตานี G2 ถนนพระสุเมรุ G1 ถนนสามเสน และ G13 ชุมชนตรอกมัสยิดจักรพงษ์ ตามล�ำดับ โดยมีเหตุผลคล้ายคลึงกันกับอัตราการสัญจรผ่านของกลุ่มคนที่คุ้นเคยกับพื้นที่ ในวันธรรมดา แต่จะเห็นได้ว่าในวันหยุด G10 ท่าเรือพระอาทิตย์ จะมีปริมาณน้อยมากเมื่อเทียบกับวันธรรมดาเนื่องจาก เป็นวันที่มีอัตราความถี่ของท่าเรือต�่ำ รวมไปถึงเป็นวันหยุดงาน จึงมีกลุ่มคนที่คุ้นเคยกับพื้นที่เข้ามาใช้งานในพื้นที่น้อย กว่าวันปกติอย่างเห็นได้ชัด (ภาพที่ 6)

77


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ภาพที่ 5 อัตราเฉลี่ยการสัญจรผ่านคนเดินเท้าของคนที่คุ้นเคย (วันธรรมดา) นอกเหนือจากมีการส�ำรวจอัตราการสัญจรผ่านของกลุ่มคนที่คุ้นเคยกับพื้นที่แล้ว ยังมีการส�ำรวจอัตราการสัญจร ผ่านของกลุ่มคนที่ไม่คุ้นเคยกับพื้นที่ โดยใช้ลักษณะการส�ำรวจในรูปแบบเดียวกัน คือ วันธรรมดาและวันหยุด อัตราการ สัญจรผ่านของกลุ่มคนที่ไม่คุ้นเคยกับพื้นที่ในวันธรรมดา มีด่านที่มีคนสัญจรผ่านมากที่สุด 5 อันดับแรก คือ G6 ถนน ข้าวสาร G14 ซอยรามบุตรี (วัดชนะสงคราม) G7 ปลายถนนจักรพงษ์ G5 ซอยรามบุตรี (ช่วงถนนข้าวสาร) และ G10 ท่าเรือพระอาทิตย์ ตามล�ำดับ จะเห็นได้ว่าปริมาณการสัญจรของกลุ่มคนที่ไม่คุ้นเคยกับพื้นที่ในด่านที่มีปริมาณสูง 5 อันดับ มีปริมาณที่แตกต่างกับปริมาณการสัญจรของกลุ่มคนที่คุ้นเคยกับพื้นที่อย่างชัดเจน ด่านที่มีปริมาณสูงที่สุดของกลุ่มคน ที่ไม่คุ้นเคยกับพื้นที่ G6 ถนนข้าวสาร ส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวที่มาจากถนนข้าวสารที่เข้ามาภายในพื้นที่ศึกษา รองลงมา คือ G14 ซอยรามบุตรี (วัดชนะสงคราม) เป็นพื้นที่ที่เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ส�ำคัญจึงมีปริมาณการสัญจรผ่านจ�ำนวนมาก ส่วน G7 ปลายถนนจักรพงษ์ เป็นพื้นที่ที่เป็นจุดรับส่งนักท่องเที่ยวจึงท�ำให้มีปริมาณสูง โดยการส�ำรวจปริมาณการสัญจร พบว่าด่านที่เป็นทางผ่านสู่ชุมชนจะมีปริมาณคนที่ไม่คุ้นเคยกับพื้นที่สัญจรผ่านน้อยมาก เห็นได้จากปริมาณการสัญจร ตัวอย่างเช่น G13 ชุมชนตรอกมัสยิดจักรพงษ์ และ G12 ตรอกไก่แจ้ (ภาพที่ 7)

78


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ภาพที่ 6 อัตราเฉลี่ยการสัญจรผ่านคนเดินเท้าของคนที่คุ้นเคย (วันหยุด) อัตราการสัญจรผ่านของกลุ่มคนที่ไม่คุ้นเคยกับพื้นที่ในวันหยุดจะมีความคล้ายคลึงกัน แต่มีความต่าง กันเพียงเล็กน้อย มีล�ำดับดังนี้ G6 ถนนข้าวสาร G14 ซอยรามบุตรี (วัดชนะสงคราม) G5 ซอยรามบุตรี (ช่วงถนนข้าวสาร) G1 ถนนสามเสน และ G4 ถนนตานี ส่วนใหญ่จะมีความคล้ายคลึงกันกับอัตราการสัญจรผ่านของกลุ่มคนที่ไม่คุ้นเคยกับ พื้นที่ในวันธรรมดา แต่ในวันหยุดบางกิจกรรมจะไม่ได้เปิดให้บริการ ตัวอย่างเช่น บริการรับส่งการท่องเที่ยวหรือท่าเรือ ที่มีบริการที่ลดลงส่งผลให้นักท่องเที่ยวมีปริมาณที่น้อยลงตามไปด้วย (ภาพที่ 8) ผลจากการบันทึกอัตราการสัญจรผ่านภายของคนเดินเท้าในพื้นที่แสดงให้เห็นถึงปริมาณการสัญจรผ่าน ของคนเดินเท้าทัง้ คนทีค่ นุ้ เคยและไม่คนุ้ เคยกับพืน้ ทีใ่ นวันธรรมดาและวันหยุด ผลทีไ่ ด้ คือ ปริมาณการสัญจรทีแ่ ตกต่างกัน อย่างชัดเจนในแต่ละด่านของกลุ่มคนที่คุ้นเคยและไม่คุ้นเคยกับพื้นที่ แสดงให้เห็นถึงลักษณะการสัญจรไปยังสถานที่ต่างๆ ภายในพื้นที่ที่มีรูปแบบการสัญจรที่แตกต่างกันของคนทั้ง 2 กลุ่ม ด่านที่อยู่บริเวณถนนข้าวสารหรือแหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ ของพื้นที่ เช่น G5 ซอยรามบุตรี (ช่วงถนนข้าวสาร) G6 ถนนข้าวสาร และ G14 ซอยรามบุตรี (วัดชนะสงครามฯ) มี ปริมาณการสัญจรของกลุ่มคนที่ไม่คุ้นเคยกับพื้นที่เป็นจ�ำนวนมาก ส่วนด่านที่อยู่บริเวณชุมชนหรือตรอกซอกซอยที่ สามารถทะลุไปยังพื้นที่ต่างๆ ได้ เช่น G2 ถนนพระสุเมรุ G3 ซอยไกรสีห์ G4 ถนนตานี และ G13 ชุมชนตรอกมัสยิด จักรพงษ์ จะมีปริมาณการสัญจรของกลุ่มคนที่คุ้นเคยกับพื้นที่มากกว่า จากการส�ำรวจพบว่า วันหยุดและวันธรรมดา ปริมาณการสัญจรของกลุม่ คนทีค่ นุ้ เคยและไม่คนุ้ เคยกับพืน้ ทีม่ คี วามแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย แต่โดยรวมแล้วประเภทของ กลุ่มคนจะส่งผลให้ปริมาณการสัญจรของแต่ละด่านมีปริมาณที่แตกต่างกัน

79


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ภาพที่ 7 อัตราเฉลี่ยการสัญจรผ่านคนเดินเท้าของคนที่ไม่คุ้นเคย (วันธรรมดา)

80

ภาพที่ 8 อัตราเฉลี่ยการสัญจรผ่านคนเดินเท้าของคนที่ไม่คุ้นเคย (วันหยุด)


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

5. รูปแบบการค้นหาเส้นทางของพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ย่านพระอาทิตย์ การบันทึกความนิยมในการเลือกเส้นทางสัญจรของคนเดินเท้าในพื้นที่ตามช่วงเวลาต่างๆ ของวัน เป็นการสะกด รอยตามคนในพื้นที่ศึกษาแบบไม่เจาะจง และท�ำการบันทึกเส้นทางนิยมสัญจรของกลุ่มคนที่คุ้นเคยและไม่คุ้นเคยกับพื้นที่ ท�ำให้ทราบถึงศักยภาพในการใช้งานของบริเวณต่างๆ ในพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ย่านพระอาทิตย์ ทั้งนี้ มีการก�ำหนดจุด เริม่ ต้นทีจ่ ะท�ำการ (trace) เส้นทางสัญจรของคนเดินเท้าในพืน้ ที่ ศึกษาไว้ทงั้ หมด 17 จุด (ตามภาพที่ 4) ซึง่ เป็นทางเข้าออก พื้นที่ศึกษาโดยรอบและภายในพื้นที่ศึกษา โดยท�ำการบันทึกรูปแบบการเลือกเส้นนิยมสัญจรของคนเดินเท้าในวันระหว่าง วันธรรมดาและวันหยุดของกลุ่มคนที่คุ้นเคยและไม่คุ้นเคยกับพื้นที่ เนื่องจากเป็นการสุ่มตัวอย่างหารูปแบบเสนทางนิยมสัญจรในช่วงเวลาที่มีการใช้งานมากที่สุด พื้นที่ชุมชน ประวัติศาสตร์ย่านพระอาทิตย์มีเวลาเร่งด่วน ได้แก่ เวลา 07.00-09.00 น. และเวลา 17.00-19.00 น. ที่สอดคล้องกับผล การบันทึกอัตราการสัญจรโดยการนับด่านในการเก็บข้อมูล โดยท�ำการจ�ำแนกกลุม คนออกเป็น 2 กลุม คือ คนทีค่ นุ้ เคยและ ไม่คุ้นเคยกับพื้นที่ โดยก�ำหนดเงื่อนไขในการติดตาม ดังนี้ 1) เวลาในการสะกดรอยจากจุดเริ่มต้นคนละ 10 นาที 2) เวลาที่จะเลิกติดตามเมื่อสิ้นสุดเวลา 10 นาทีหรือเมื่อผู้ถูกติดตามหยุดท�ำกิจกรรมนานเกินกว่า 3 นาที โดยถือว่า ผู้ถูกติดตามถึงจุดหมายปลายทางในการสัญจรแล้ว 3) เลิกติดตามเมื่อผู้ถูกติดตามออกนอกขอบเขตพื้นที่ศึกษาก่อนหมดเวลาที่ก�ำหนดไว้ มีการท�ำการเก็บข้อมูลในวันธรรมดา (อังคาร-พฤหัสบดี) ในพุธที่ 26 ธันวาคม 2561 และวันหยุดสุดสัปดาห์ (เสาร-อาทิตย์) ในเสาร์ที่ 22 ธันวาคม 2561 ทัง้ นี้ เนือ่ งจากอัตราส่วนของจ�ำนวนคนเดินเท้าทีจ่ ะท�ำการสะกดรอยในแต่ล ะด่านย่อมมีจำ� นวน ที่ไม่เท่ากัน ดังนั้น จึงต้องท�ำการ ค�ำนวณหาสัดสวนของคนเดินเทาทีแ่ ท้จริงทีผ่ า่ นการหาสัดสว นดังกล่าว ท�ำได้โดยการบันทึกอัตราการสัญจรผ่านใน แต่ล ะด่านจึงน�ำผลทีไ่ ด้มาหาคา เฉลีย่ เป็นจ�ำนวนผูส้ ญ ั จรผ่านต่อชัว่ โมงเพือ่ หาสัดส่วนของกลุม่ คนทีจ่ ะท�ำการสะกดรอยตาม ในแต่ละด่าน จากการนับปริมาณของกลุ่มคนที่คุ้นเคยและไม่คุ้นเคยกับพื้นที่ในแต่ละด่าน ท�ำให้รู้ถึงอัตราการสัญจรผ่านของคน เดินเท้าในพื้นที่ โดยน�ำปริมาณที่ได้ไปหาสัดส่วน จึงบันทึกรูปแบบการเลือกเส้นทางนิยมสัญจรของคนเดินเท้าในพื้นที่ด้วย วิธีการสะกดรอย สามารถแบ่งออกเป็นรูปแบบของการค้นหาเส้นทางได้ ดังนี้ 5.1 รูปแบบการค้นหาเส้นทางของกลุ่มคนที่คุ้นเคยกับพื้นที่ ผลการบันทึกรูปแบบการค้นหาเส้นทางของคนทีค่ นุ้ เคยกับพืน้ ทีใ่ นวันธรรมดา พบว่าเส้นทางทีก่ ลุม่ คนทีค่ นุ้ เคย กับพืน้ ทีน่ ยิ มสัญจรมากทีส่ ดุ คือ พืน้ ทีบ่ ริเวณถนนจักรพงษ์ พืน้ ทีท่ างผ่านวัดชนะสงคราม พืน้ ทีบ่ ริเวณซอยรามบุตรี (ข้างวัด ชนะสงคราม) และภายในพื้นที่ชุมชนตรอกมัสยิดจักรพงศ์ ตามล�ำดับ จากการส�ำรวจพบว่า การบันทึกรูปแบบการค้นหา เส้นทางของคนทีค่ นุ้ เคยกับพืน้ ทีใ่ นวันธรรมดา มีปริมาณทีแ่ ตกต่างกันไม่ชดั เจน โดยมีการสัญจรผ่านไปทัว่ พืน้ ทีต่ ามถนนใหญ่ และตรอกซอยย่อย พืน้ ทีบ่ ริเวณถนนใหญ่ ได้แก่ ถนนจักรพงษ์ ถนนพระสุเมรุ และถนนพระอาทิตย์ เป็นต้น รวมไปถึงสัญจร ผ่านพืน้ ทีท่ เี่ ป็นตรอก ได้แก่ ชุมชนตรอกมัสยิดจักรพงษ์ ซอยรามบุตรี (ข้างวัดชนะสงคราม) และทางวัดชนะสงคราม เป็นต้น ส่วนใหญ่จะเป็นเส้นทางที่เลือกเดินผ่านจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง หรือเป็นจุดหมายปลายทาง (ภาพที่ 9) ผลการบันทึกรูปแบบการค้นหาเส้นทางของคนทีค่ นุ้ เคยกับพืน้ ทีใ่ นวันหยุด พบว่ามีการค้นหาเส้นทางทีแ่ ตกต่างกัน กับวันธรรมดาเล็กน้อย จากการบันทึกพบว่า เส้นทางที่กลุ่มคนที่คุ้นเคยกับพื้นที่นิยมสัญจรมากที่สุดในวันหยุด คือ พื้นที่ บริเวณถนนจักรพงษ์ พื้นที่ทางผ่านวัดชนะสงคราม พื้นที่บริเวณซอยรามบุตรี (ข้างวัดชนะสงคราม) และภายในพื้นที่ชุมชน ตรอกมัสยิดจักรพงศ์ ตามล�ำดับ โดยรูปแบบของการเลือกเส้นทางนิยมจะมีความคล้ายคลึงกันกับวันธรรมดา บางเส้นทาง อาจจะมีปริมาณทีน่ อ้ ยกว่าบางส่วน ได้แก่ บริเวณท่าเรือ พืน้ ทีบ่ ริเวณซอยรามบุตรี (ข้างวัดชนะสงคราม) ปลายถนนพระอาทิตย์ (ทางเข้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) เป็นต้น (ภาพที่ 10)

81


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

5.2 รูปแบบการค้นหาเส้นทางของกลุ่มคนที่ไม่คุ้นเคยกับพื้นที่ ผลการบันทึกรูปแบบการค้นหาเส้นทางของคนที่ไม่คุ้นเคยกับพื้นที่ในวันธรรมดาพบว่าเส้นทางของกลุ่มคนที่ ไม่คุ้นเคยกับพื้นที่นิยมสัญจรมากที่สุด คือ พื้นที่บริเวณถนนจักรพงษ์ พื้นที่บริเวณซอยรามบุตรี (ข้างวัดชนะสงคราม) พื้นที่ บริเวณถนนพระสุเมรุ และพืน้ ทีบ่ ริเวณถนนพระอาทิตย์ ตามล�ำดับ จากการส�ำรวจพบว่าเส้นทางนิยมของกลุม่ คนทีไ่ ม่คนุ้ เคย กับพืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่แล้วเป็นพืน้ ทีบ่ ริเวณถนนเส้นหลัก มีเพียงพืน้ ทีบ่ ริเวณซอยรามบุตรี (ข้างวัดชนะสงคราม) ทีเ่ ป็นซอยเชือ่ ม ระหว่างถนนเส้นหลักเท่านั้น ซึ่งบริเวณที่เป็นตรอกซอกซอยทะลุต่างๆ ไม่ถูกสัญจรผ่าน หรือถูกผ่านน้อยมาก ได้แก่ ซอย มัสยิดจักรพงศ์ ตรอกเขียนนิวาสน์ ตรอกไก่แจ้ และซอยทะลุวัดชนะสงคราม เป็นต้น ส่วนใหญ่แล้วกลุ่มที่ไม่คุ้นเคยกับพื้นที่ จะเลือกเดินในเส้นทางที่เป็นร้านอาหารหรือร้านขายของต่างๆ มีทั้งวิธีเดินผ่านและเดินเข้าไปยังสถานที่นั้นๆ (ภาพที่ 11) ผลการบันทึกรูปแบบการค้นหาเส้นทางของคนทีไ่ ม่คนุ้ เคยกับพืน้ ทีใ่ นวันหยุดมีรปู แบบคล้ายคลึงกับวันธรรมดา ทัง้ รูปแบบ การสัญจรที่เลือกเดินเฉพาะถนนเส้นหลัก รวมไปถึงไม่เลือกผ่านถนนที่เป็นตรอกซอกซอยต่าง ๆ (ภาพที่ 12)

ภาพที่ 9 รูปแบบการสัญจรผ่านคนเดินเท้าของคนที่คุ้นเคย (วันธรรมดา)

82


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ภาพที่ 10 รูปแบบการสัญจรผ่านคนเดินเท้าของคนที่คุ้นเคย (วันหยุด)

ภาพที่ 11 รูปแบบการสัญจรผ่านคนเดินเท้าของคนที่ไม่คุ้นเคย (วันธรรมดา)

83


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ภาพที่ 12 รูปแบบการสัญจรผ่านคนเดินเท้าของคนที่ไม่คุ้นเคย (วันหยุด)

6. การวิเคราะห์และสรุปผล จากผลการบันทึกรูปแบบการเลือกเส้นทางนิยมสัญจรของคนเดินเท้าของกลุม่ คนทีค่ นุ้ เคยและไม่คนุ้ เคยกับพืน้ ทีใ่ น วันธรรมดาและวันหยุด พบว่ากลุ่มคน 2 ประเภทนี้มีรูปแบบของการค้นหาเส้นทางที่แตกต่างกัน โดยเส้นทางนิยมของกลุ่ม คนที่คุ้นเคยกับพื้นที่ ได้แก่ พื้นที่บริเวณถนนจักรพงษ์ พื้นที่ทางผ่านวัดชนะสงคราม ซอยชุมชนตรอกมัสยิดจักรพงษ์ ถนน พระสุเมรุ และพื้นที่บริเวณซอยรามบุตรี (ข้างวัดชนะสงคราม) ตามล�ำดับ ซึ่งแตกต่างกับกลุ่มคนที่ไม่คุ้นเคยกับพื้นที่ คือ พืน้ ทีบ่ ริเวณถนนจักรพงษ์ พืน้ ทีบ่ ริเวณซอยรามบุตรี (ข้างวัดชนะสงคราม) พืน้ ทีบ่ ริเวณถนนพระสุเมรุ และพืน้ ทีบ่ ริเวณถนน พระอาทิตย์ ทีเ่ ป็นเส้นทางนิยมในการสัญจร โดยในวันธรรมดาและวันหยุดจะมีผลต่อคนแต่ละกลุม่ ในเรือ่ งของปริมาณการ สัญจรรวมไปถึงรูปแบบของการค้นหาเส้นทางในบางพืน้ ทีเ่ ท่านัน้ กล่าวคือ เส้นทางทีเ่ ป็นจุดหมายปลายทางของการท�ำงาน วันวันธรรมดาจะมีการเดินผ่านน้อยลงเมื่อเป็นวันหยุด รวมไปถึงท่าเรือพระอาทิตย์ก็จะมีการใช้งานที่น้อยลงเช่นกัน จากภาพที่ 13 สามารถสรุปได้วา่ พืน้ ทีช่ มุ ชนประวัตศิ าสตร์ยา่ นพระอาทิตย์มพี นื้ ทีท่ มี่ กี ารสัญจรด้วยกัน 4 ลักษณะ คือ 1) เส้นทางการสัญจรของคนที่คุ้นเคยและไม่คุ้นเคยกับพื้นที่ ได้แก่ ถนนจักรพงษ์ ถนนพระสุเมรุ ถนนพระอาทิตย์ ถนนรามบุตรี ทางเดินริมน�้ำเจ้าพระยา 2) เส้นทางการสัญจรผ่านของคนทีค่ นุ้ เคยกับพืน้ ทีเ่ ท่านัน้ ได้แก่ ซอยมัสยิดจักรพงษ์ ตรอกเขียนนิวาสน์ ตรอกไก่แจ้ และทางเดินผ่านวัดชนะสงคราม 3) เส้นทางการสัญจรของคนที่ไม่คุ้นเคยกับพื้นที่เท่านั้น ได้แก่ ซอยโรงไหม 4) เส้นทางการสัญจรทีไ่ ม่ถกู ผ่าน ได้แก่ ซอยหลังวัดชนะสงคราม พืน้ ทีภ่ ายชุมชนในบางพืน้ ทีข่ องชุมชนตรอกมัสยิด จักรพงษ์ ตรอกเขียนนิวาสน์และตรอกไก่แจ้

84


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ภาพที่ 13 รูปแบบการสัญจรผ่านคนเดินเท้าของคนที่คุ้นเคยและไม่คุ้นเคยกับพื้นที่ (ในวันธรรมดาและวันหยุด) กล่าวโดยสรุป จากการบันทึกรูปแบบการเลือกเส้นทางนิยมในการสัญจรของคนทั้ง 2 กลุ่มพบว่า กลุ่มคนที่คุ้นเคย และไม่คุ้นเคยกับพื้นที่มีรูปแบบการค้นหาเส้นทางที่แตกต่างกัน เป็นผลท�ำให้เกิดการใช้งานอย่างไม่เป็นอเนกประโยชน์ ในพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ย่านพระอาทิตย์ กลุ่มคนที่คุ้นเคยกับพื้นที่จะพยายามที่จะเลือกเส้นทางที่เป็นตรอกซอกซอย ทีส่ ามารถทะลุได้ไปยังจุดหมายปลายทางได้ ในทางกลับกันกลุม่ คนทีไ่ ม่คนุ้ เคยเลือกค้นหาเส้นทางเฉพาะถนนเส้นหลักเท่านัน้ โดยจะไม่มกี ารค้นหาเส้นทางทีเ่ ป็นตรอกซอกซอยเพือ่ ไปยังจุดหมายปลายทางหรือเป็นทางลัด แต่จะเลือกเดินเฉพาะถนนทีม่ ี กิจกรรมหรือรูปแบบที่เหมาะสมกับนักท่องเที่ยว ซึ่งเป็นผลให้เกิดการใช้งานอย่างไม่เต็มศักยภาพของคนทุกกลุ่ม

7.ข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาชีใ้ ห้เห็นว่ากิจกรรมภายในพืน้ ทีช่ มุ ชนประวัตศิ าสตร์ยา่ นพระอาทิตย์มกี ารใช้งานทีแ่ ยกส่วนและไม่เป็น อเนกประโยชน์ ดังนั้น ควรเพิ่มศักยภาพของการเข้าถึงในบางพื้นที่ให้มากยิ่งขึ้น หรืออาจจะน�ำกิจกรรมของพื้นที่ชุมชน ประวัติศาสตร์ที่เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมส�ำหรับนักท่องเที่ยว เช่น ร้านอาหาร ร้านขายของ และศูนย์บริการนักท่อง เที่ยวบนพื้นที่ที่ไม่ถูกสัญจรผ่าน รวมไปถึงศูนย์การเรียนรู้ต่างๆ ภายในพื้นที่ เช่น การท�ำทองในพื้นที่ชุมชนมัสยิดจักรพงษ์ เพือ่ สร้างปฏิสมั พันธ์กนั ระหว่างคนในชุมชนและนักท่องเทีย่ ว รวมไปถึงท�ำให้เกิดสมดุลของการสัญจรเพือ่ ผ่านและการสัญจร เพื่อเข้าถึงของคนกลุ่มต่างๆ อย่างเต็มศักยภาพบนพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์มากยิ่งขึ้น

85


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

8. เอกสารอ้างอิง จุฬวดี สันทัด. (2547). การวิเคราะห์โครงข่ายพื้นที่และการสัญจรเพื่อปรับปรุงผังแม่บททางกายภาพ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต), คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์. ปราณระฟ้า พรหมประวัติ. (2550). สนามทัศน์และรูปแบบการใช้พื้นที่ว่างสาธารณะของชุมชนเมือง: กรณีศึกษา ชุมชน ย่านเสาชิงช้า กรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต), ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พศิน สุวรรณเดช. (2558). พฤติกรรมการเดินของนักท่องเทีย่ วชาวต่างชาติในพืน้ ทีก่ รุงรัตนโกสินทร์. (วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต), ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พัลยมล หางนาค. (2557). รูปแบบพื้นที่และการใช้พื้นที่ของย่านพาหุรัด กรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต), ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Dalton, N. (1997). Quick Reference Computer Manual for Student Msc Built Environment: Advanced architectural studies. London: University College London. Smailes, A. E. (1968). The geography of towns. Chicago: Aldine Pub. Co

86


คณะกรรมการ กลั่นกรองบทความ - Peer Review -


ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความภายนอกมหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.ชุมพร มูรพันธุ์ รองศาสตราจารย์ จันทนี เพชรานนท์ รองศาสตราจารย์ ดร.พัดชา อุทิศวรรณกุล รองศาสตราจารย์ ดร.ชูพงษ์ ทองค�ำสมุทร รองศาสตราจารย์ ดร.วารุณี หวัง รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ เหลืองบุตรนาค รองศาสตราจารย์ ดร.กอปร ศรีนาวิน รองศาสตราจารย์ วีรวรรณ ศีติสาร รองศาสตราจารย์ อาวิน อินทรังษี รองศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต นิตยะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อินทิรา พรมพันธุ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทรงยศ วีระทวีมาศ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นภดล ตั้งสกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรกานต์ รวยสูงเนิน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนสิทธิ์ จันทะรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดวงจันทร์ นาชัยสินธุ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พีร์นิธิ อักษร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุชัญญา โปษยะนันทน์ ดร.จักรกฤษณ์ เหลืองเจริญรัตน์ อาจารย์ ดร.ธีย์ โคตรถา อาจารย์ ดร.สุรางคนา ตรังคานนท์ อาจารย์ ดร.วัชรพงศ์ ดีวงษ์ อาจารย์ ดร.พัศพันธน์ ชาญวสุนันท์ อาจารย์ ดร.จักรสิน น้อยไร่ภูมิ อาจารย์ ดร.สินีนาถ ศุกลรัตนเมธี อาจารย์ ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ อาจารย์ ดร.ยอดขวัญ สวัสดี อาจารย์ ดร.ขาม จาตุรงค์กุล อาจารย์ ดร.จันทนีย์ จิรัณธนัฐ

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ทรงคุณวุฒิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยราชมงคลกรุงเทพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ม.ราชมงคลรัตนโกสินทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความภายในมหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.พรทิพย์ เรืองธรรม รองศาสตราจารย์ ดร.กฤต โง้วธนสุวรรณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พลเดช เชาวรัตน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธราวุฒิ บุญเหลือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สักรินทร์ แซ่ภู่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพชรลัดดา เพ็ชรภักดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดิฐา แสงวัฒนะชัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชนาถ ทิวะสิงห์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิพัทธา หรรนภา ผู้ช่วยศาสตราจารย์อมฤต หมวดทอง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยนันท์ พรหมเพ็ญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์บริรักษ์ อินทรกุลไชย ผู้ช่วยศาสตราจารย์จารุณีย์ นิมิตศิริวัฒน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรีพรรณ์ สุพรรณสมบูรณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์รัชนูพรรณ ค�ำสิงห์ศรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์สกลชัย บุญปัญจา ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุวัฒน์ การถัก ผู้ช่วยศาสตราจารย์เมธี พิริยการนนท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชาภรณ์ ช�ำนิก�ำจร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัญญา ทองสวัสดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิกรม วงษ์สุวรรณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์รังสิทธิ์ ตันสุขี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดาราลัย ไซมะเริง อาจารย์ ดร.วรากุล ตันทนะเทวินทร์ อาจารย์ ดร.ธนายุทธ ไชยธงรัตน์ อาจารย์ ดร.วรวรรณ เนตรพระ อาจารย์ ดร.นิลปัทม์ ศรีโสภาพ อาจารย์ ดร.วีรพล เจียมวิสุทธิ์

สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาการจัดการงานก่อสร้าง คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชานฤมิตศิลป์ คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชานฤมิตศิลป์ คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชานฤมิตศิลป์ คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาการจัดการงานก่อสร้าง คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชานฤมิตศิลป์ คณะสถาปัตย์ฯ

89



ค�ำแนะน�ำ

ส�ำหรับผูเ้ ขียนบทความลงตีพิมพ์


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ค�ำแนะน�ำส�ำหรับผู้เขียนบทความลงตีพิมพ์

วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จัดพิมพ์ปีละ 3 ฉบับ ฉบับที่ 1 ช่วงเดือน มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 ช่วงเดือนพฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 ช่วงเดือนกันยายน – ธันวาคม โดยมี วัตถุประสงค์ที่จะให้เป็นการรวบรวมผลงานทางวิชาการและงานวิจัยทางด้านสถาปัตยกรรม การออกแบบและการ ก่อสร้าง ซึ่งบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ทุกบทความจะผ่านความการพิจารณาและความเห็นชอบจากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขา ที่เกี่ยวข้องและสงวนสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พุทธศักราช 2521 และเผยแพร่ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ThaiJO การเตรียมบทความ 1. เป็นบทความวิจัย หรือบทความวิชาการ ที่มีความยาวไม่ควรน้อยกว่า 1 หน้า และไม่ควรเกิน 15 หน้า กระดาษ A4 ตามแบบฟอร์ม JADC03-Template (26.5x18.5) ซึ่งดาวน์โหลดได้ที่ https://www.tci-thaijo.org/index.php/ Jadc/index 2. เป็นบทความทีไ่ ม่ได้อยูร่ ะหว่างการพิจารณาตีพมิ พ์ของสือ่ สิง่ พิมพ์อนื่ ๆ และไม่เคยได้รบั การตีพมิ พ์ใน วารสารใด ๆ มาก่อน 3. ต้องไม่มีการละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น ไม่มีการลอกเลียน หรือตัดทอนผลงานวิจัยของผู้อื่นโดยที่ไม่ได้รับ อนุญาตและ มีการอ้างอิงที่เหมาะสม 4. ชนิดและขนาดตัวอักษร ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้ใช้ตวั อักษร TH Sarabun PSK ซึง่ ขนาดตัวอักษร มีรายละเอียด ดังนี้ 4.1 ชื่อบทความ ใช้ตัวอักษรขนาด 18 pt. ตัวหนา 4.2 ชื่อ-สกุลผู้เขียนบทความ ใช้ตัวอักษรขนาด 16 pt. ตัวปกติ 4.3 หัวข้อหลัก ใช้ตัวอักษรขนาด 14 pt. ตัวหนา 4.4 หัวข้อรอง ใช้ตัวอักษรขนาด 14 pt. ตัวเอียง 4.5) เนื้อเรื่องในหัวข้อหลักและหัวข้อรอง ใช้ตัวอักษรขนาด 14 pt. ตัวปกติ 4.6) เนื้อเรื่องในตาราง ใช้ตัวอักษรขนาด 14 pt. ตัวปกติ รูปแบบการเขียนบทความ ควรมีหัวข้อเรื่องเรียงตามล�ำดับ ดังต่อไปนี้ ชื่อเรื่อง ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยมีข้อความที่กระชับ ได้ใจความ และบ่งบอกบทความได้อย่างชัดเจน ชื่อผู้เขียน (Author) ให้ระบุชื่อ นามสกุล ต�ำแหน่ง หน่วยงานและที่อยู่ของผู้เขียนทุกคน บทคัดย่อ (Abstract) บทคัดย่อต้องมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ค�ำส�ำคัญ (Keyword) ค�ำสืบค้นที่เกี่ยวข้องกับบทความ ต้องมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ บทน�ำ (Introduction) กล่าวถึงความส�ำคัญของปัญหาและภูมิหลังของการวิจัย รวมไปถึงวัตถุประสงค์ของงานวิจัย วิธีการศึกษา (Research methods, Materials and Methods) อธิบายถึงอุปกรณ์ หรือวิธีการที่ใช้ในการวิจัย ขั้นตอน การศึกษา เครื่องมือ การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และ/หรือ สถิติที่ใช้ในการศึกษา โดยสามารถแตกออกเป็น หลายหัวข้อได้ ผลการศึกษาและวิจารณ์ (Results and Discussion) บรรยายผล และวิจารณ์ผล สามารถแตกออกเป็นหลายหัวข้อได้ สรุป (Conclusion) บรรยายถึงบทสรุปของงานศึกษา

92


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ข้อเสนอแนะ (Recommendation) เสนอแนะต่อหน่วยงานทีน่ ำ� ผลไปใช้ และเสนอต่อแนวทางการศึกษาในครัง้ ต่อไป (ถ้ามี) กิตติกรรมประกาศ ขอบคุณทุนสนับสนุน หรือบุคคล (ถ้ามี) เอกสารอ้างอิง (References) การอ้างอิงในบทความให้ใช้ระบบการอ้างอิงในเนื้อหาบทความ แบบ นาม-ปี และหน้า (ชื่อ-นามสกุลผู้แต่ง, ปีที่พิมพ์) ตรงต�ำแหน่งท้ายประโยคที่ต้องการอ้างอิง ทั้งนี้เพื่อความสะดวกสามารถใช้โปรแกรม Endnote หรือใช้บริการจัดรูปแบบเอกสารอ้างอิงออนไลน์ Homepage & Submit paper: https://www.tci-thaijo.org/index.php/Jadc/index ขั้นตอนการส่งบทความ เนื่องด้วยวารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง ก�ำาลังรับการปรับปรุงให้เป็นวารสารออนไลน์ จึงขอให้ ส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1. เตรียมไฟล์ต้นฉบับตามค�ำแนะน�ำการเตรียมต้นฉบับ 2. ผู้เขียนส่งบทความฉบับสมบูรณ์ และไฟล์ภาพที่ใช้ในบทความทางอีเมล Jadcarch@msu.ac.thเพื่อให้กองบรรณาธิ การตรวจสอบเบื้องต้น 3. ลงทะเบียนสมาชิก เข้าเว็บไซต์ https://www.tci-thaijo.org/index.php/Jadc/index ท�ำตามค�ำแนะน�ำส�ำหรับ การใช้งานเบื้องต้นของระบบ ThaiJO2 (ส�ำาหรับผู้แต่ง Author) ซึ่งมีรายละเอียดตามหัวข้อดังนี้ 3.1 การสมัครสมาชิกวารสาร (Author Register) (ผู้ใช้ยังไม่มี Username, Password ในระบบ ThaiJO 3.2 การส่งบทความ (Submission) 3.3 รอตรวจสอบสถานะ การตอบรับ/ปฏิเสธ ทาง E-mail การพิจารณาคุณภาพของบทความ 1. บทความวิจัยและบทความวิชาการ ทางกองบรรณาธิการวารสารจะพิจารณาเบื้องต้นในด้านคุณภาพของบทความ และการพิมพ์ หากเห็นว่าไม่มีคุณภาพเพียงพอจะไม่ด�ำเนินการต่อ หรืออาจส่งให้ปรับแก้ไขก่อน บทความที่พิจารณา แล้วเหมาะสม มีคณ ุ ภาพ จะส่งผูท้ รงคุณวุฒภิ ายนอกตามความเชีย่ วชาญของสาขาวิชา พิจารณากลัน่ กรอง (Peer review) อย่างน้อย 2 ท่าน 2. เมื่อผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณา ผลเป็นประการใดทางกองบรรณาธิการจะแจ้งให้ท่านทราบ 3. ข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิท่านต้องปรับแก้ หากไม่ปรับแก้จะไม่ได้รับการตีพิมพ์ และระยะเวลา การแก้ไขไม่ควรเกิน 2 สัปดาห์ เกณฑ์การพิจารณาบทความ 1. บทความวิจัยและบทความวิชาการ ทางกองบรรณาธิการวารสารจะพิจารณาเบื้องต้น ในด้านคุณภาพของบทความ และการพิมพ์ หากเห็นว่าไม่มีคุณภาพเพียงพอจะไม่ด�ำเนินการต่อ หรืออาจส่งให้ปรับแก้ไขก่อน บทความที่พิจารณา แล้วเหมาะสม มีคณ ุ ภาพ จะส่งผูท้ รงคุณวุฒภิ ายนอกตามความเชีย่ วชาญของสาขาวิชา พิจารณากลัน่ กรอง (Peer review) อย่างน้อย 2 ท่าน 2. เมื่อผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณา ผลเป็นประการใดทางกองบรรณาธิการจะแจ้งให้ท่านทราบ 3. ข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิท่านต้องปรับแก้ หากไม่ปรับแก้จะไม่ได้รับการตีพิมพ์ และระยะเวลา การแก้ไขไม่ควรเกิน 2 สัปดาห์

93


วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม - สิงหาคม 2562

ข้อมูลติดต่อบรรณาธิการ ส�ำนักงานวารสารสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ อาคารคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ต�ำบลขามเรียง อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150 Email: Jadcarch@msu.ac.th, website: http://www.tci-thaijo.org/index.php/JADC โทรศัพท์: (043) 754-381, โทรสาร: (043) 754-382, มือถือ (086) 455-5990 (จันทร์-ศุกร์ เวลา 8.30-16.00 น.) การส่งบทความ : ส่งบทความฉบับสมบูรณ์ ถึง อาจารย์ ดร.ธนายุทธ ไชยธงรัตน์ ส�ำนักงานวารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง อาคารคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ต�ำบลขามเรียง อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150 หรือส่งมาที่ Jadcarch@msu.ac.th อ่านและสืบค้นวารสารฉบับย้อนหลังได้ที่ http://www.tci-thaijo.org/index.php/JADC

94



วารสารสถาป ตยกรรม การออกแบบและการก อสร าง

Journal of Architecture, Design and Construction คณะสถาป ตยกรรมศาสตร ผังเมืองและนฤมิตศิลป มหาว�ทยาลัยมหาสารคาม ป ท่ี 1 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2562 Vol.1 No.2 May - August 2019 ISSN (Print Edition): 2673-0332 ISSN (Online Edition): 2673-0340

บทความว�ชาการ

……………………………………………………………………………………………… “อดีต ป จจุบัน อนาคต” ทิศทางการอนุรักษ อุทยานประวัติศาสตร ในประเทศไทย “Past-Present-Future” Directions of conservation of the Historical Park in Thailand ว�โรจน ชีวาสุขถาวร (Wiroj Shewasukthaworn)

หน า 8

บทความว�จัย

………………………………………………………………………………………………. ลักษณะทางกายภาพของพ�้นที่ให บร�การตรวจรักษาและส วนเกี่ยวเนื่องแผนกผู ป วยนอก: กรณีศึกษาแผนกสูตินร�เวชและแผนกกุมารเวช Physical Characteristics of Examination Area and Related Parts in Out-Patient Department: A Case Study Obstetrics and Gynecology Department and Pediatrics Department พาขวัญ รูปแก ว และไตรวัฒน ว�รยศิร� (Pakwan Roopkaew and Traiwat Viryasiri)

24

รูปแบบการเกิดอาชญากรรมคดีลักทรัพย ในพ�้นที่สาธารณะย านเยาวราช-สำเพ�ง กรุงเทพมหานคร 38 Patterns of Crime Against Property In Public Spaces, Yaowarat - Sampheng District, Bangkok บุษยา พ�ทธอินทร และไขศร� ภักดิส์ ขุ เจร�ญ (Busaya Putthain and Khaisri Paksukcharern) ความสัมพันธ ของการใช ประโยชน อาคารและความสามารถในการเข าถึงพ�้นที่ กับปร�มาณผู ใช รถไฟฟ าในกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา รถไฟฟ าสายสุข�มว�ทและสายสีลม Relation Between Building Use and Accessibility with Number of Railway System Passengers in Bangkok Case Study of Sukhumvit Line and Silom Line วัชร�นทร ขวัญไฝ และณัฐพงศ พันธ นอ ย (Watcharin Khwanfai and Nattapong Punnoi)

52

รูปแบบการค นหาเส นทางในพ�้นที่ชุมชนประวัติศาสตร ย านพระอาทิตย กรุงเทพมหานคร Wayfinding patterns in Phra Arthit Historical Community Area, Bangkok ดุษฎี บุญฤกษ และไขศร� ภักดิส์ ขุ เจร�ญ (Dusadee Boonreak and Khaisri Paksukcharern)

68


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.