อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด เกศสุริยงชมดง

Page 1

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด เกศสุริยงชมดง

พิมพ์พร เอี่ยมละออ

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทยฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2561


อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด “เกศสุริยงชมดง” ของ นางสาวพิมพ์พร เอี่ยมละออ ได้รับการพิจารณาให้นับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต (นาฏศิลป์ไทย) คณะกรรมการอาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ...................................................................................................................อาจารย์ที่ปรึกษา (อาจารย์ภูริตา เรืองจิรยศ) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.รุ่งนภา ฉิมพุฒ) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์รัชดาพร สุคโต) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.จิตติมา นาคีเภท) ...................................................................................................................กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประภาศรี ศรีประดิษฐ์) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์อุบลวรรณ โตอวยพร) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์วรวิทย์ ทองเนื้ออ่อน) อนุมัติ ........................................................................... (ดร.จิตติมา นาคีเภท) หัวหน้าภาควิชาศิลปะการแสดง


ประกาศคุณูปการ อาศรมศึ ก ษาทางนาฏศิ ล ป์ ไทย ชุ ด เกศสุ ริ ย งชมดง ฉบั บ นี้ ส าเร็ จ ลุ ล่ ว งไปได้ ด้ ว ยดี ต้องกราบขอบพระคุณ อาจารย์ น พวรรณ จัน ทรักษา อาจารย์ผู้ ท รงคุ ณ วุฒิ ในการถ่ายทอดท่ารา และให้องค์ความรู้เกี่ยวกับการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง รวมทั้งคอยให้คาปรึกษา คาแนะนา และให้กาลังใจมาโดยตลอด ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์ภูริตา เรืองจิรยศ อาจารย์ที่ปรึกษา และอาจารย์ประจา รายวิชาอาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ที่ได้กรุณาให้คาปรึกษา คาชี้แนะ และปรับแก้ไข ตลอดจน การตรวจรูปเล่มให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ขอก ราบ ขอ บ พ ระคุ ณ ค ณ าจารย์ แล ะเจ้ า ห น้ าที่ ภ าค วิ ช าศิ ล ป ะการแส ด ง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ให้คาปรึกษาและคอยให้ความช่วยเหลือมาโดยตลอด ขอบคุ ณ เพื่ อ น พี่ และน้ อ งทุ ก คน ในภาควิ ช าศิ ล ปะการแสดง คณะมนุ ษ ยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ให้คอยให้ความช่วยเหลือและคอยเป็นกาลังใจมาโดยตลอด ขอกราบคุณพระคุณ บิดา มารดา และครอบครัวเอี่ยมละออ ที่ สนับสนุนทุนทรัพย์ คอยให้ คาปรึกษาและให้กาลังใจมาโดยตลอด รวมถึงยังเป็นแรงผลักดันให้งานนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี พิมพ์พร เอี่ยมละออ


สารบัญ บทที่

หน้า

1 บทนา…………………………………………………………...................................….……...…..…… ความสาคัญของการถ่ายทอดท่ารา....…………………...…….........…………….......……… วัตถุประสงค์......................................………………...……….........…………….......……… วิธีดาเนินงาน.....................................………………...……….........……………....…...…… ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ................………………...……….........…………….......……… นิยามศัพท์เฉพาะ..............................……………………….............……………....…...……

1 1 2 2 3 4

2 ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา................................................................................................. ประวัติส่วนตัว...................................……………………….........……….......…………...… ประวัติการศึกษา................................……………………….........……………...…...……… ประวัติการทางาน..............................……………………….........……………………....…… ผลงานทางด้านวิชาการและการแสดง……………………….........……………......………… ประวัติการสืบทอดและการถ่ายทอดท่ารา……………..……….........………......………… แผนผังการสืบทอดและถ่ายทอดท่ารา.……………………….........……....……....……...…

5 5 6 6 6 13 14

3 วิธีดาเนินการสืบทอดและฝึกหัด.................................................................................. ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด.......……………………….........…………....……..……… ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด...........….........……………..........……… อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด......……………………….........…………….......…...…… พัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด.……………………….........……………........……...…

22 22 22 23 24


สารบัญ (ต่อ) บทที่ 4 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด เกศสุริยงชมดง….....……………....……….……...…… ประวัติความเป็นมาของการแสดง………………..……….........……………....………...…… เรื่องย่อของการแสดง……………………...................….........…………..…....……...……… บทร้อง……………………….........……………....……...............................................……… ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง……………………….........…………….............……....……… ฉากและองค์ประกอบการแสดง……………………….........……………....…........………… เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า……………………….........…………….........…...………… นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง……………………….........……………................……...……… กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่………………………................……………....…………....… กลวิธีในการรา................................……………………….........……………....…………...…

หน้า 29 29 30 31 33 37 39 47 50 98

5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ............................................................................................. 99 บทสรุป................................……………………......………….....................…….…....……. 99 ข้อเสนอแนะ………………………………........................……....…………………....…...……. 102 บรรณานุกรม............................................................................................................................... 103 ภาคผนวก………………………....……………………………………….………………...................................... 105 ประวัติผู้วิจัย………………………………………………………….……………............................................... 111


สารบัญตาราง ตาราง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

หน้า แสดงวิธีการดาเนินงาน………………………………....…...........................…...…..........……… แสดงประวัติการศึกษาของ อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา………..................………......... แสดงประวัติการทางานของ อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา……………………………........... แสดงผลงานการแสดงในต่างประเทศของ อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา………………..… แสดงระยะเวลาในการถ่ายทอดท่ารา……………………………………................................... แสดงพัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด……………………………………........................... แสดงองค์ประกอบส่วนศิราภรณ์……………………………………....……...….......................... แสดงองค์ประกอบส่วนถนิมพิมพาภรณ์……………………………………....……...…............... แสดงองค์ประกอบส่วนพัตราภรณ์…………………………………....……...….......................... แสดงท่าราการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง...........................................

2 6 6 9 23 24 40 42 44 51


สารบัญภาพ ภาพ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24

หน้า อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา……………………………………....……………......................... การสืบทอดท่าราการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง.............................. อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็นนางเมขลาในละครเรื่องพระมหาชนก อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็นอิเหนา…………………….........………………...... อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็นอิเหนา แสดงร่วมกับ อาจารย์เสาวรักษ์ ยมะคุปต์……………………………………....……………........................... อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็นนางสีดาที่ประเทศอินเดีย……….........…….... อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็นพระลอ ตอนตามไก่………………….........….... อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็นพราหมณ์เกศสุริยง ตอน สุวรรณหงส์ ชมถา……....………………………....…………..................................................................... อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็นนางกุสุมา…………………………………………….. อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา ได้เข้าเฝ้าสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี................................................................................................... อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็นนางวิมาลา.................................................. อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็นกวางทอง.................................................... อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็นพราหมณ์แปลง........................................... อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็นพราหมณ์เกศสุริยงรบยักษ์กุมภณฑ์............ อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็นนางวิมาลา.................................................. อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็นพระรถเสน.................................................. วงปี่พาทย์เครื่องห้า.................................................................................................... ปี.่ ............................................................................................................................... ระนาดเอก.................................................................................................................. ฆ้องวงใหญ่................................................................................................................. ตะโพน....................................................................................................................... กลองทัด..................................................................................................................... ฉิ่ง ฉาบ...................................................................................................................... ศร..............................................................................................................................

5 14 15 15 16 16 17 17 18 18 19 19 20 20 21 21 34 34 35 35 36 36 37 37


สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพ 25 26 27 28 29

หน้า ตาแหน่งการวางต้นไม้ในการแสดง............................................................................. เครื่องแต่งกายชุดเกศสุริยงชมดง............................................................................... การแต่งหน้าชุดเกศสุริยงชมดง.................................................................................. อุณาโลมเลขหก.......................................................................................................... อุณาโลมเลขเก้า.........................................................................................................

39 40 46 46 46


1

บทที่ 1 บทนำ ควำมสำคัญของกำรถ่ำยทอดท่ำรำ นาฏศิลป์ไทยเป็นศิลปะที่แสดงถึงความเจริญรุ่งเรือง ความเจริญทางจิตใจ ความเข้มแข็ง และความสามัคคีในการรักษาเอกลักษณ์ ของคนในชาติ ซึ่งนาฏศิล ป์ไทยอยู่เคียงคู่กับประเทศไทย มาอย่ า งยาวนาน และมี บ ทบาทส าคั ญ ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ วิ ถี ชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ ตั้ งแต่ เกิ ด จนกระทั่ งตาย นอกจากนี้ยังเป็นส่วนประกอบสาคัญในพิธีกรรมต่าง ๆ ทั้งพิธีหลวงและพิธีราษฎร์ ซึ่งศิลปะการแสดง เหล่ า นี้ จ ะแสดงถึ ง วั ฒ นธรรมอั น ทรงคุ ณ ค่ า ที่ แ ฝงไปด้ ว ยปั ญ ญาและความเป็ น เอกลั ก ษณ์ ไทย ซึ่งนาฏศิลป์ไทยถือเป็นศิลปะการแสดงแห่งการฟ้อน การร่ายรา เพื่อความบันเทิงที่มนุษย์ ได้ปรุงแต่ง จากลี ลาตามธรรมชาติ ให้ มีความประณีต สวยงาม ให้ เกิดความบันเทิง โน้มน้าวอารมณ์ ของผู้ชมให้ ค ล้ อ ย ต าม โด ย มี อ งค์ ป ระก อ บ ท างด น ต รี แ ล ะก ารขั บ ร้ อ งม าป ระก อ บ กั บ ก าร่ า ย ร า เพื่ อส่ งเสริ มคุณ ค่ ามากขึ้ น โดยศิล ปะการร่ายราจะงดงามได้ ต้อ งใช้ เวลาในการฝึ ก อย่างยาวนาน การแสดงราเดี่ยวก็เป็นการแสดงนาฏศิลป์ไทยประเภทหนึ่ง ซึ่งใช้ผู้แสดงเพียงคนเดียว เพื่อให้ผู้ชมได้ เห็ น ถึ ง ความงดงามในลี ล าการร าและเพื่ อ แสดงฝี มื อ ในการร า เช่ น การร าฉุ ย ฉายพราหมณ์ การราลงสรงโทนอิเหนา การรารถเสนทรงเครื่อง หรือการราเกศสุริยงชมดง เป็นต้น (วิมลศรี อุปรมัย, 2553, หน้า 60.) การศึกษานาฏศิลป์ จึงเป็นการศึกษาวัฒนธรรมแขนงหนึ่ง ซึ่ง อยู่ในส่วนของศิลปะ สาขาวิจิตรศิลป์ อันประกอบด้วย จิตรกรรม สถาปัตยกรรม วรรณคดี ดนตรี และนาฏศิลป์ นอกจาก นาฏศิลป์จะแสดงความเป็นอารยธรรม ของประเทศไทย ทั้งยังเป็นแหล่งรวมแห่งศิลปะและการแสดง หลายรูปแบบเข้าด้วยกัน โดยมีมนุษย์หรือองค์กรเป็นศูนย์กลางในการอนุรักษ์ สร้างสรรค์ และสืบทอด ต่อไป (สุจิตต์ วงษ์เทศ, 2532, หน้า 76-79.) ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มีการประเมินองค์ความรู้ ตามหลั กสู ตรศิล ปศาสตรบั ณ ฑิต ที่นิสิ ตได้ศึกษามาตลอดระยะเวลา 4 ปี โดยการจัด สอบราเดี่ยว มาตรฐานทางด้ า นนาฏศิ ล ป์ ไทย ซึ่ งอยู่ ในการเรี ย นการสอนในรายวิ ช า อาศรมศึ ก ษา เพื่ อ เป็ น การเพิ่ ม พู น ความรู้ ค วามสามารถในการราให้ ถู ก ต้ อ งตามแบบแผน และเพื่ อ รวบรวมองค์ ค วามรู้ จากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านนาฏศิลป์ไทย ในการเรี ยนครั้งนี้ผู้ศึกษามีความศรัทธาในองค์ ความรู้ ข องผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ท างด้ านนาฏศิ ล ป์ ไทย คื อ ท่ านอาจารย์ น พวรรณ จั น ทรัก ษา ต าแหน่ ง นาฏศิล ปิ น ระดับ อาวุโส ส านั กการสั งคีต กรมศิล ปากร กระทรวงวัฒ นธรรม เป็นผู้ ถ่ายทอดท่ารา ชุด “เกศสุริยงชมดง” เพื่อเป็นประโยชน์ทางการศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ ไทย และผู้ที่มีความศรัทธา ในศาสตร์ด้านดังกล่าวสืบต่อไป นางเกศสุริย ง เป็ น ตัว ละครผู้ ห ญิ ง และมีบทบาทส าคัญ ในละครนอก เรื่อง สุวรรณหงส์ ซึ่งกรมศิลปากรได้นาบทละคร เรื่อง สุวรรณหงส์ (ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงภูวเนตรนรินทร ฤทธิ์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย) มาปรับปรุง และสร้างเป็นบทละครขึ้น ใหม่ นางเกศสุ ริยง เป็ น บุตรสาวผู้เลอโฉมของพญายักษ์ นามว่า สุวรรณวิก แห่ งเมืองมัตตัง ถึงแม้ นางเกศสุ ริ ย งจะมี ช าติ ก าเนิ ด เป็ น นางยั ก ษ์ แต่ น างก็ มี จิ ต ใจดี อ่ อ นโยน กล้ าหาญ และเด็ ด เดี่ ย ว


2 เนื่ องจากนางมี ความกล้ าที่ เดิน ทางเข้าไปในป่ าเพี ยงล าพัง เพื่อ ตามหาพระสุ ว รรณหงส์ ผู้ เป็ นสามี ด้วยความรัก ความเป็นห่วง และซื่อสัตย์ การแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด เกศสุ ริ ย งชมดง อยู่ ในละครนอก เรื่ อ ง สุ ว รรณหงส์ ตอน เดินป่า กล่าวถึง นางเกศสุริยงออกเดินทางตามรอยเลือดของพระสุวรรณหงส์ ซึ่งพระสุวรรณหงส์ โดนหอกพยนต์ของพระพี่เลี้ยงนางเกศสุริยงแทงเข้าที่อก เมื่อพระอินทร์ทรงทราบเรื่อง เกิดความ สงสารจึ งเสด็ จ ลงมาแปลงกายให้ น างเกศสุ ริย งเป็ น พราหมณ์ ห นุ่ ม เพื่ อ ความปลอดภั ยและความ สะดวกสบายในระหว่างการเดินทาง ซึ่งในระหว่างเดินทางอยู่ในป่า พราหมณ์เกศสุริยงก็ชมพรรณไม้ไป แล้วในใจก็คิดถึงพระสุวรรณหงส์ผู้เป็นพระสวามี จากข้อมูลข้างต้น ผู้ศึกษาจึงต้องการที่ จะศึกษาการ แสดงราเดี่ย วมาตรฐาน ชุด เกศสุ ริยงชมดง ในฉบับของ อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา เพื่อให้ เกิด ประโยชน์ต่อตัวของนิสิตและพัฒนาความสามารถในการราต่อไป วัตถุประสงค์ เพื่ อ ศึ ก ษาค้ น คว้ า องค์ ป ระกอบการแสดง และกลวิ ธี ข องการแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุด ราเกศสุริยงชมดง ในฉบับของ อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา วิธีดำเนินงำน การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง มีวิธีการดาเนินงานดังต่อไปนี้ ตำรำง 1 แสดงวิธีกำรดำเนินงำน

วิธีดำเนินงำน 1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับประวัติ การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง 2. ศึกษาจากสื่อ วีดีทัศน์ 3. ขอรับการถ่ายทอดกระบวน ท่ า ร า อาจารย์ น พวรรณ จั น ทรั ก ษา โดยแบ่ ง เป็ น 4 ครั้ง ได้แก่ - ครั้งที่ 1 วันที่ 9 กรกฎาคม 2561

แผนกำรดำเนินงำนเดือนมิถุนำยน – เดือนกันยำยน ( พ.ศ. 2561 ) มิถุนำยน กรกฎำคม สิงหำคม กันยำยน 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4


3 ตำรำง 1 (ต่อ)

วิธีดำเนินงำน

แผนกำรดำเนินงำนเดือนมิถุนำยน – เดือนกันยำยน ( พ.ศ. 2561 ) มิถุนำยน กรกฎำคม สิงหำคม กันยำยน 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

- ครั้งที่ 2 วันที่ 10 กรกฎาคม 2561 - ครั้งที่ 3 วันที่ 20 สิงหาคม 2561 - ครั้งที่ 4 วันที่ 21 สิงหาคม 2561 4. สอบร าเดี่ ย วมาตรฐานกั บ ค ณ ะ ก รร ม ก าร ป ระ จ า ภาควิ ช าศิ ล ปะการแสดง โดยแบ่งเป็น 4 ครั้ง ได้แก่ - สอบ 25% วันที่ 8 สิงหาคม 2651 - สอบ 50% วันที่ 15 สิงหาคม 2651 - สอบ 75% วันที่ 22 สิงหาคม 2651 - สอบ 100% วันที่ 29 สิงหาคม 2651 5. สอบราเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด เกศสุ ริ ย งชมดง กั บ ท่ า น คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ วันที่ 31 สิงหาคม 2561 6. สรุปผล ส่งรูปเล่ม ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ ทราบถึงกลวิธีการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง ในฉบับของ อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา


4 นิยำมคำศัพท์เฉพำะ ศร หมายถึง อาวุธชนิดหนึ่ง ประกอบไปด้วยคันสาหรับยิง เรียกว่า คันศร กับลูกสาหรับยิง เป็นไม้ หรือโลหะยาวปลายแหลม เรียกว่า ลูกศร เรียกสายคันศรว่า ลูกศร และเรียกอาการที่ยิงลูกศร ออกไปว่า ยิงศร หรือแผลงศร (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542, 2542, หน้า 1091) พราหมณ์ หมายถึ ง คนในวรรณะที่ 1 แห่ งสั งคมฮิ น ดู ซึ่ งมี 4 วรรณะ ได้ แ ก่ พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ และศูทร, ผู้ที่ไว้ผมยาว นุ่งขาว ห่มขาว โดยพราหมณ์เป็นวรรณะที่มีความสาคัญที่สุด ในศาสนาพราหมณ์ (ฮิ น ดู ) โดยทุ ก ชั้ น วรรณะต้ อ งให้ ค วามเคารพ ศรั ท ธา นอกจากนั้ น ยั ง เป็ น พวกมังสวิรัติ คือ ไม่รับประทานเนื้อสัตว์ วรรณะพราหมณ์มีหน้าที่หลักในศาสนา คือ เป็นพระและ นักปรัชญาประจาศาสนาพราหมณ์ โดยจะติดต่อเป็นสื่อกลางระหว่างเทพเจ้ากับมนุษย์ (พิมพ์รัตน์ นะวะศิร,ิ 2548, หน้า 29 – 37) อุณ าโลม หมายถึง สั ญ ลั กษณ์ ที่บ่ งบอกถึงลั กษณะการแต่งกายและการแต่งหน้าส าหรับ ผู้แสดงเป็นพราหมณ์ โดย คาว่า อุณาโลม มาจากคาว่า อุณา หรือ อุระ ที่แปลว่า อก ส่วนคาว่า โลม มาจากคาว่า โลมา ที่ แปลว่า ขน ดั งนั้ น อุณ าโลม หมายถึง ขนหน้าอก ซึ่งเป็ นของพระนารายณ์ เนื่องจากพราหมณ์นับถือพระนารายณ์ ว่าเป็นเทพแห่งพราหมณ์ ซึ่งเชื่อมโยงกับตานานการแสดงโขน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระคเณศเสียงา ส่วนการเจิมหน้าด้วยสีแดงนี้ถือว่า เป็นสิ่งมงคลที่พราหมณ์ จะต้องทาตอนเช้าก่อนออกจากบ้าน ซึ่ งในการละครไทยนามาเขียนเป็นเลขเก้าไทย เพราะถือตามคติ ความเชื่อว่าเป็นเลขมงคล บางคนจะเขียนเป็นเลขหกไทย ตามลักษณะการวนของหอยสังข์ ที่เรียกว่า ทักษิณาวัตร คือ การวนขวา (พิมพ์รัตน์ นะวะศิริ, 2548, หน้า 114 – 115)


16

บทที่ 2 ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา อาศรมศึ ก ษาทางนาฏศิ ล ป์ ไ ทย ชุ ด เกศสุ ริ ย งชมดง ได้ รั บ ความกรุ ณ าจาก ท่ า น อาจารย์น พวรรณ จัน ทรักษา นาฏศิล ปินระดับอาวุโส สานักการสังคีต กรมศิล ปากร กระทรวง วัฒนธรรม เป็นผู้ถ่ายทอดท่ารา การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง ในบทนี้ประกอบไป ด้วย ประวัติส่วนตัวผู้ถ่ายทอดท่ารา, ผลงานด้านนาฏศิลป์และผลงงานที่เกี่ยวข้อง, การสืบทอด ท่าราทางด้านนาฏศิลป์ไทย, แผนผังการสืบทอด และการถ่ายทอดท่ารา ดังนี้

ภาพ 1 อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา ที่มา: นพวรรณ จันทรักษา, 2561 ประวัติส่วนตัว อาจารย์ น พวรรณ จั น ทรั ก ษา เกิ ด วั น ที่ 3 ตุ ล าคม 2509 เป็ น บุ ต รของนายสุ เทพ หาญกาญจนสุวัฒ น์ และนางบุญ ลือ หาญกาญจนสุวัฒ น์ ปัจจุบันอาศัยอยู่ บ้านเลขที่ 104/118 หมู่ บ้ า นบั ว ทอง หมู่ ที่ 6 ซอย 19/5 ต าบลรั ก พั ฒ นา อ าเภอบางบั ว ทอง จั ง หวั ด นนทบุ รี รหัสไปรษณีย์ 11110


6 ประวัติการศึกษา ตาราง 2 แสดงประวัติการศึกษาของ อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา คุณวุฒิและวิชาเอก นาฏศิลป์ชั้นต้น นาฏศิลป์ชั้นกลาง นาฏศิลป์ชั้นสูง ศึกษาศาสตร์บัณฑิต (เอกนาฏศิลป์ไทย) ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต

ปีที่สาเร็จการศึกษา พ.ศ. 2524 พ.ศ. 2527 พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 พ.ศ. 2554

สถาบัน วิทยาลัยนาฏศิลป์ กรุงเทพฯ วิทยาลัยนาฏศิลป์ กรุงเทพฯ วิทยาลัยนาฏศิลป์ กรุงเทพฯ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการทางาน ตาราง 3 แสดงประวัติการทางานของ อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา วัน เดือน ปี 1 กรกฎาคม 2534 1 กรกฎาคม 2536 1 ตุลาคม 2538 5 สิงหาคม 2542 21 พฤษภาคม 2545 28 กันยายน 2547 11 ธันวาคม 2551 12 พฤศจิกายน 2559

ตาแหน่ง นาฏศิลปิน 1 นาฏศิลปิน 2 นาฏศิลปิน 3 นาฏศิลปิน 4 นาฏศิลปิน 5 นาฏศิลปิน 6 นาฏศิลปินชานาญงาน นาฏศิลปินอาวุโส

สังกัด กองการสังคีต กองการสังคีต กองการสังคีต สถาบันนาฏดุริยางศิลป์ สถาบันนาฏดุริยางศิลป์ สานักการสังคีต สานักการสังคีต สานักการสังคีต

ท่านอาจารย์ น พวรรณ จันทรักษา เริ่ม รับ ราชการเมื่ อวัน ที่ 1 กรกฎาคม 2534 และ ปัจจุบันดารงตาแหน่ง นาฏศิลปินอาวุโส สานักการสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม ผลงานทางด้านวิชาการและการแสดง อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา เป็นผู้ที่มีประสบการณ์ทั้งในด้านการแสดงโขนและละคร ประเภทต่าง ๆ มากมาย ดังนี้ 1. การแสดงโขน เรื่อง รามเกียรติ์ 1.1 รับบทเป็นนางสีดา ตอน ลักสีดา, สามนักขาหึง, ลักษมีสีดา, ทศกัณฐ์ลงสวน, สีดาผูกคอ, สีดาลุยไฟ, คืนนคร, นางลอย, หนุมานถวายแหวน, นางลอยบทพระราชนิพนธ์ในรัชกาล ที่ 6, พรหมมาสตร์, พระรามครองเมือง


7 1.2 รับบทเป็นนางเบญกาย ตอน นางลอย 1.3 รับบทเป็นสามพระมารดา ตอน คืนนคร 1.4 รับบทเป็นนางมณโฑ ตอน มณโฑเทวี 1.5 รับบทเป็นกวางทอง ตอน พระรามตามกวาง 2. การแสดงละครเบิกโรง 2.1 รับบทเป็นพราหมณ์แปลง ตอน พระคเณศร์เสียงา 2.2 รับบทเป็นพระแม่โพสพ ตอน พระไพศรพณ์เทพเจ้าแห่งธัญชาติ 3. การแสดงละครใน 3.1 เรื่องอิเหนา รับบทเป็น อิเหนา ตอน ศึกกระหมังกุหนิง, ลานางจินตะหรา, อิเหนาสั่งถ้า, อิเหนาชมดง, ลาสองนาง, ไหว้พระ, เข้าเฝ้าท้าวดาหา, สึกชี, ยลสมรอาวรณ์รัก 3.2 เรื่องอิเหนา รับบทเป็นสุหรานากง ตอน สุหรานากงรากริช 3.3 เรื่องอิเหนา รับบทเป็นวิหยาสะกา ตอน ศึกกระหมังกุหนิง, หลงรูปวิเลขา, รักนักจึงตักษัย 3.4 เรื่องอิเหนา รับบทเป็นย่าหรัน ตอน ย่าหรันตามนกยูง, ยลสมรอาวรณ์รัก, เสน่หาพาจร, กริชร่วมตระกูล 3.5 เรื่องอิเหนา รับบทเป็นอุณากรรณ ตอน ลมหอบ, พรปะตาระกาหลา, อุณากรรณเข้าเมือง ประมอตัน, อุณากรรณและปันหยีรับอุบะรัก, ชมไพร, ลาบวช 3.6 เรื่องอิเหนา รับบทเป็นปันหยี ตอน ประสันตาต่อนก, ปันหยีรบระตูบุศิหนา, ลงสรงโทน ปันหยี 3.7 เรื่องอิเหนา รับ บทเป็ น สั งคามาระตา ตอน อิเหนาชมดง, สังคามาระตารบวิหยาสะกา, ศึกกระหมังกุหนิง, กริชร่วมตระกูล 3.8 เรื่องอิเหนา รั บ บทเป็ น ระตูบุ ศสิ ห นา ตอน ประสั นตาต่อ นก, ปัน หยีรบระตู บุศ สิ ห นา, ระตูบุศสิหนาลานางดรสา 4. การแสดงละครนอก 4.1 เรื่องสุวรรณหงส์ รับบทเป็นพราหมณ์เกศสุริยง ตอน นางเกศสุริยงพบพระอินทร์, รบยักษ์ กุมภณฑ์, ชุบชีวิตพระสุวรรณหงส์, ฉุยฉายพราหมณ์เล็กพราหมณ์โต, ชมถ้า 4.2 เรื่องไชยเชษฐ์ รับบทเป็นไชยเชษฐ์ ตอน ประพาสป่า 4.3 เรื่องไชยเชษฐ์ รับบทเป็นนารายธิเบศร์ ตอน นารายธิเบศร์เข้าเฝ้าท้าวสิงหล 4.4 เรื่องไชยเชษฐ์ รับบทเป็นนางสุวิชาญ ตอน นางสุวิชาญจาปาทอง 4.5 เรื่องโกมินทร์ รับบทเป็นโกมล 4.6 เรื่องพระอภัยมณี รับบทเป็นศรีสุวรรณ ตอน สินสมุทรพบศรีสุวรรณ 4.7 เรื่องพระอภัยมณี รับบทเป็นนางเงือก ตอน กาเนิดสุดสารทถึงสุดสาครลาแม่


8

5.

6.

7.

8.

4.8 เรื่องไกรทอง รับบทเป็นนางวิมาลา ตอนไกรทองอาสาปราบชาละวัน, ท้าวราไพทานายฝัน, ไกรทองได้วิมาลา, พ้อบน, พ้อล่าง, ชาละวันจากสองนาง 4.9 เรื่องไกรทอง รับบทเป็นนางเลื่อมลายวรรณ ตอน ชาละวันจากสองนาง 4.10 เรื่องแก้วหน้าม้า รับบทเป็นพระปิ่นทอง ตอน พระปิ่นทองเกี้ยวนางมณี 4.11 เรื่องพระไชยสุริยา รับบทเป็นนางสุมาลี ตอน พระไชยสุริยานางสุมาลีหนีน้า การแสดงละครชาตรี 5.1 เรื่องรถเสน รับบทเป็นรถเสน ตอน รถเสนพบพระฤาษี, อภิเษกเมรี, ลานางเมรี 5.2 เรื่องมโนราห์ รับบทเป็นพระสุธน ตอน พระสุธนพบนางมโนราห์, พระสุธนเลือกคู่ การแสดงละครดึกดาบรรพ์ 6.1 เรื่องอิเหนา รับบทเป็นอิเหนา ตอน ไหว้พระ, ชมดง, บวงสรวง 6.2 เรื่องสังข์ศิลป์ชัย รับบทเป็นพระอินทร์ ตอน พระอินทร์ช่วยสังข์ศิลป์ชัย 6.3 เรื่องสังข์ทอง รับบทเป็นท้าวสามล ตอน มณฑาลงกระท่อม การแสดงละครพันทาง 7.1 เรื่องพระลอ รับบทเป็นพระลอ ตอน ลาแม่, เสี่ยงน้า, ตามไก่, ลงสวน, เข้าห้อง 7.2 เรื่องพระลอ รับบทเป็นพระเพื่อน ตอน ฟังขับซอ, เข้าห้อง 7.3 เรื่องพระลอ รับบทเป็นพระแพง ตอน ฟังขับซอ, เข้าห้อง 7.4 เรื่องราชาธิราช รับบทเป็นเม้ยมะนิก ตอน พระยาน้องชมตลาดถึงเม้ยมะนิกระเริงรัก 7.5 เรื่องราชาธิราช รับบทเป็นพระราชธิดา ตอน แลกพระธิดา 7.6 เรื่องราชาธิราช รับบทเป็นสมิงพระราม ตอน สมิงพระรามแต่งงาน 7.7 เรื่องลิลิตตะเลงพ่าย รับบทเป็นพระมเหสีเอกอุปราช 7.8 เรื่องผู้ชนะสิบทิศ รับบทเป็นนางกุสุมา การแสดงละครเสภา 8.1 เรื่องขุนช้างขุนแผน รับบทเป็นนางพิมพิลาไลย ตอน กาเนิดนางพิม, ขอนางพิม, แต่งงาน นางพิม, ต้นโพธิ์เสี่ยงทาย, ต้นโพธิ์บอกเหตุ 8.2 เรื่ องขุน ช้างขุน แผน รับ บทเป็น นางวันทอง ตอน อุบายขุนช้าง, แม่วันทองของขุนช้าง, ได้นางลาวทอง, พิษรักแรงหึง, ตามนาง, ขุนแผนฟันม่าน, ขุนแผนพาวันทองหนี , ขุนแผน ไปหา พระพิจิตร, กาเนิดพลายงาม, ขุนช้างลวงพลายงามไปฆ่า 8.3 เรื่องขุนช้างขุนแผน รับบทเป็นนางบัวคลี่ ตอน ได้มุมารทอง 8.4 เรื่องขุนช้างขุนแผน รับบทเป็นนางตานี ตอน พลายบัวเกี้ยวนางตานี 8.5 เรื่ อ งขุ น ช้ างขุ น แผน รั บ บทเป็ น นางศรีม าลา ตอน ศรีม าลาสร้อ ยฟ้ าละเลงขนมเบื้ อ ง, พระไวยขึ้นบ้านพระพิจิตร, ขุนแผนพลายงามอาสาตีเมืองเชียงใหม่


9 9. การแสดงละครประเภทอื่น ๆ 9.1 เรื่องอายุวัฒนกุมาร รับบทเป็นพราหมณ์สัจจา 9.2 เรื่องพระมหาเวสสันดร รับบทเป็นนางอมิตตา 9.3 เรื่องสามัคคีเภท รับบทเป็นลีนะราณี 9.4 เรื่องพระพรหมนารถ รับบทเป็นพระธิดารุจจา 9.5 เรื่องพระภูริฑัต รับบทเป็นนางสมุทรชา 9.6 เรื่องไท รับบทเป็นคุณหญิง 9.7 เรื่องสามก๊ก รับบทเป็นนางไต้เกียว 9.8 เรื่องตาม่องล่าย รับบทเป็นยมโดย 9.9 เรื่องพระมหาชนก รับบทเป็นนางมณีเมขลา 9.10 เรื่องพรหมสมภพ รับบทเป็นนางอุ่นเรือน 9.11 เรื่องพระเจ้ากรุงธน รับบทเป็นนางประไพ 9.12 เรื่องพระสุพรรณกัลยา รับบทเป็นพระสุพรรณกัลยา 9.13 เรื่องสมเด็จพระนเรศวรมหาราช รับบทเป็นพระมเหสี 9.14 เรื่องพ่อขุนผาเมือง รับบทเป็นนางปัทมาวดี 9.15 เรื่องดั่งเม็ดทราย รับบทเป็นแม่ครู 9.16 เรื่องเวนิสวาณิช รับบทเป็นนางเปอร์เซีย ตาราง 4 ผลงานการแสดงในต่างประเทศของ อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา วัน เดือน ปี 6 – 12 กันยายน 2535 กันยายน 2537

ประเทศ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

โอกาส เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม

ประเทศญี่ปุ่น

2537

ประเทศออสเตรเลีย

เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม อ.สถาพร สนทอง เป็นหัวหน้าคณะ เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม อ.สถาพร สนทอง เป็นหัวหน้าคณะ

หน้าที่ นักแสดง ซัดชาตรี เซิ้ง นักแสดง รากริชสุหรานากง นักแสดง การแสดงโขน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน ลักสีดา แสดงเป็นกวางทอง


10 ตาราง 4 (ต่อ) วัน เดือน ปี 24 – 30 สิงหาคม 2538 21 – 25 พฤษภาคม 2540

ประเทศ สหพันธรัฐเยอรมัน

โอกาส เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม

กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น

15 – 27 กันยายน 2540

เมืองแวนคูเวอร์ ประเทศแคนาคา

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จนาคณะนาฏศิลป์ ไปเผยแพร่วัฒนธรรมไทย เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม

12 – 18 พฤศจิกายน 2544 5 เมษายน – 3 พฤษภาคม 2544

กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น

งานนาฏศิลป์สายรุ้ง

ชิคาโก นิวยอกร์ ไม อามี่ เดนเวอร์ ลอส แองเจลิส ประเทศ สหรัฐอเมริกา

เผยแพร่นาฏศิลป์ไทย

14 – 27 สิงหาคม 2545

เมืองปักกิ่ง ซีอาน เซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จนาคณะนาฏศิลป์ ร่วมแสดงในงาน สายสัมพันธ์ไทย-จีน ครั้งที่ 2

28 ตุลาคม – 7 พฤศจิกายน 2545

เมืองปักกิ่ง หางโจ เซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน

เผยแพร่นาฏศิลป์ไทย

หน้าที่ นักแสดง ฟ้อนเหนือ/เก็บใบชา ภูไท 3 เผ่า นักแสดง ระบาศรีชัยสิงห์ นักแสดง การแสดงโขน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน ลักสีดา แสดงเป็นสีดา นักแสดง ราอวยพร นักแสดง ชุดวสันตนิยาย แสดงเป็น นางมณีเมขลา ฟ้อนแพน ฟ้อนภูไท นักแสดง การแสดงโขน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน ลักสีดา แสดงเป็นสีดา รองเง็ง/ภูไท นักแสดง ระบาสายรุ้ง ระบากลองไทย-จีน


11 ตาราง 4 (ต่อ) วัน เดือน ปี 6 – 11 เมษายน 2546

ประเทศ เมืองมิวนิด สหพันธรัฐเยอรมัน ประเทศออสเตรีย

14 – 21 กรกฎาคม 2546 18 – 27 มิถุนายน 2547

กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น

โอกาส สมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จนาคณะนาฏศิลป์ ไปเผยแพร่วัฒนธรรมไทย งาน Japanese International Dance Festival 400 ปี ความสัมพันธ์ไมตรี ไทย- เนเธอร์แลนด์

หน้าที่ นักแสดง ระบาดาวดึงส์

นักแสดง ระบาไทย –ญี่ปุ่น เทวดา ประเทศ นักแสดง เนเธอร์แลนด์ การแสดงโขน ประเทศเบลเยี่ยม เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน ลักสีดา แสดงเป็น กวางทอง เซิ้งไทภูเขา 27 ตุลาคม – ชิคาโก ลาสเวกัส เผยแพร่นาฏศิลป์ไทย นักแสดง 24 พฤศจิกายน ซานฟานซิสโก ลอส การแสดงโขน 2547 แองเจลิส เรื่อง รามเกียรติ์ ประเทศ ตอน ลักสีดา สหรัฐอเมริกา ระบาสี่ภาค 25 พฤษภาคม – กรุงโรม งาน Thai Festival In Room นักแสดง การ 4 มิถุนายน ประเทศอิตาลี แสดงโขน เรื่อง 2548 รามเกียรติ์ ตอน ลักสีดา แสดงเป็น กวางทอง ตอน นางลอย แสดง เป็นสีดา 9 – 15 กรุงมอสโคร งานวัฒนธรรมไทย นักแสดง การ กันยายน ประเทศรัสเซีย แสดงโขน เรื่อง 2548 รามเกียรติ์ ตอน ลักสีดา แสดงเป็น กวางทอง ระบาสี่ภาค


12 ตาราง 4 (ต่อ) วัน เดือน ปี 28 สิงหาคม – 2 กันยายน 2549 14 กันยายน – 8 ตุลาคม 2549 9 – 11 สิงหาคม 2550

ประเทศ เมืองปักกิ่ง สาธารณรัฐ ประชาชนจีน กรุงปารีสและ เมืองลียงก์ ประเทศฝรั่งเศส กรุงเดลลี ประเทศอินเดีย

24 – 29 มิถุนายน 2552 12 – 25 ธันวาคม 2552

กรุงบันดาร์เสรี เบกาวัน ประเทศ บรูไนดารุสซาลาม เมืองปักกิ่ง สาธารณรัฐ ประชาชนจีน

23 – 24 กุภาพันธ์ 2557

พระมหาโพธิเจดีย์ พุทธคยาเมืองคยา รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย

โอกาส งานศิลปะเอเซีย

หน้าที่ นักแสดง

งานวัฒนธรรมไทย

นักแสดง ฟ้อนที เซิ้งกะโป๋ นักแสดง การแสดงโขน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน ลักสีดา แสดงเป็น กวางทอง

สมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเปิดนิทรรศการภาพถ่าย ฝีพระหัตถ์“Bharata In Reflection”และทรงระนาด เอกเบิกโรงการแสดงโขนไทย สู่แดนรามายณะ เพื่อเฉลิม ฉลองโอกาสครบรอบ 60 ปี ความสัมพันธ์ทางการทูต ระหว่าง ไทย – อินเดีย งาน Thailand Grand Fair สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้า จุฬาภรณ์วลัยลักษณ์อัครราชกุมารี เสด็จนาคณะนาฏศิลป์ ร่วมแสดงในงานสายสัมพันธ์ ไทย – จีน ครั้งที่ 4 งานการสมโภช เพื่อเป็นพุทธบูชา โครงการหุ้มทองคายอดฉัตร พระมหาเจดีย์พุทธคยา

นักแสดง ถวายพระพร ฟ้อนที นักแสดง ระบาฉิ่ง ภูไท เถิดเทิง เลขาคณะ และนักแสดง การแสดงละคร เรื่อง พระ มหาชนก ตอน พระมหาชนก สดับธรรม


13 ตาราง 4 (ต่อ) วัน เดือน ปี 6 – 13 มิถุนายน 2557 11 – 14 มีนาคม 2559

ประเทศ มณฑลส่านซี สาธารณรัฐ ประชาชนจีน ประเทศอินเดีย

โอกาส งานเทศกาลไทย

หน้าที่ หัวหน้าคณะ และนักแสดง ราตารีออกยอเก็ต งาน Watch Live Cultural นักแสดง Festiveal การแสดงโขน เรื่อง รามเกียรติ์สีดา ตอนคืนนคร หมายเหตุ คาสั่งแรก แสดงเป็น สาม มารดา รถบัส 1 คันหลงทาง ผู้แสดงสีดา มาไม่ทันเวลาแสดง

ประวัติการสืบทอดและการถ่ายทอดท่ารา อาจารย์ น พวรรณ จั น ทรั ก ษา ได้ รั บ การถ่ ายทอดองค์ ค วามรู้ ท างด้ า นนาฏศิ ล ป์ ไทย จากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญหลายท่าน ดังนี้ 1. อาจารย์บุนนาค 3. อาจารย์นันทินี 5. อาจารย์กรรณิการ์ 7. อาจารย์จินดารัตน์ 9. อาจารย์ใบศรี 11. อาจารย์สุกัญญา 13. อาจารย์แพรวดาว 15. อาจารย์ตวงฤดี 17. อาจารย์อุษา 19. อาจารย์วรวรรณ 21. อาจารย์ภรรตรี 23. อาจารย์ศิริวัฒน์ 25. อาจารย์อิงอร 27. อาจารย์วันทนี

ทรรทรานนท์ เวชสุทัศน์ วงศ์สวัสดิ์ วิรยิ ะวงศ์ แสงอนันต์ ธรรมานนท์ พรหมรักษา ถาพรพาสี แดงวิจิตร พลับประสิทธิ์ เอี่ยมสอาด ดิษนันท์ ศรีสัตตบุษย์ ม่วงบุญ

2. อาจารย์พัชรา 4. อาจารย์นงลักษณ์ 6. อาจารย์อิสระ 8. อาจารย์ชุมศรี 10. อาจารย์นพรัตน์ 12. อาจารย์ราณี 14. อาจารย์รัจนา 16. อาจารย์เรญู 18. อาจารย์ดวงเนตร 20. อาจารย์นิษา 22. อาจารย์นริมล 24. อาจารย์สุภางค์ 26. อาจารย์กัญญา 28. อาจารย์ธนันดา

บัวทอง เทพหัสดิน โพธิเวส มณีวัน หวังในธรรม ชัยสงคราม พวงประยงค์ จีนเจริญ ดุริยประณีต ถนอมรูป มั่นวิชาชัย แก้วกระหนก โลหิตตาจล มณีฉาย


14 แผนผังการสืบทอดและถ่ายทอดท่ารา อาจารย์ น พวรรณ จั น ทรัก ษา ได้ รับ การถ่ายทอดท่ าราการแสดงราเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด เกศสุริ ย งชมดง จากผู้ ทรงคุณ วุฒิ และผู้ เชี่ยวชาญทางด้านนาฏศิล ป์ไทย จานวน 2 ท่าน คือ ท่าน อาจารย์ ศิ ริ วั ฒ น์ ดิ ษ ยนั น ท์ และท่ า นอาจารย์ วั น ทนี ย์ ม่ ว งบุ ญ ซึ่ ง อาจารย์ ทั้ ง สองท่ า นได้ รั บ การถ่ายทอดท่ารา ชุด เกศสุริยงชมดง มาจาก ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี โดยมีลาดับการถ่ายทอด ท่าราตามแผนผัง ดังนี้ ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ศิลปินแห่งชาติ สาขา ศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์ไทย) ประจาปี 2528

อาจารย์วันทนีย์ ม่วงบุญ อาจารย์ศุภชัย จันทร์สุวรรณ์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์ไทย) ประจาปี 2548 อาจารย์พิมพ์รัตน์ นะวะศิริ

อาจารย์ศิริวัฒน์ ดิษยนันท์ ศิลปินแห่งชาติ สาขา ศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์ไทย) ประจาปี 2541 อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา สถาบันการศึกษาอื่นๆ - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี - มหาวิทยาลัยทักษิณ

ปี 2561 นางสาวพิมพ์พร เอี่ยมละออ ภาพ 2 การสืบทอดท่าราการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง ที่มา: พิมพ์พร เอี่ยมละออ, 2561


15

ภาพ 3 อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็น นางเมขลา ในละครเรื่องพระมหาชนก ที่มา: นพวรรณ จันทรักษา, 2561

ภาพ 4 อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็น อิเหนา ที่มา: นพวรรณ จันทรักษา, 2561


16

ภาพ 5 อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็น อิเหนา แสดงร่วมกับ อาจารย์เสาวรักษ์ ยมะคุปต์ ที่มา: นพวรรณ จันทรักษา, 2561

ภาพ 6 อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็น นางสีดา ณ ประเทศอินเดีย ที่มา: นพวรรณ จันทรักษา, 2561


17

ภาพ 7 อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็น พระลอ ตอนตามไก่ ที่มา: นพวรรณ จันทรักษา, 2561

ภาพ 8 อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็น พราหมณ์เกศสุริยง ตอนสุวรรณหงส์ชมถา ที่มา: นพวรรณ จันทรักษา, 2561


18

ภาพ 9 อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็น นางกุสุมา ที่มา: นพวรรณ จันทรักษา, 2561

ภาพ 10 อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา ได้เข้าเฝ้าสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่มา: นพวรรณ จันทรักษา, 2561


19

ภาพ 11 อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็น นางวิมาลา ที่มา: นพวรรณ จันทรักษา, 2561

ภาพ 12 อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็น กวางทอง ที่มา: นพวรรณ จันทรักษา, 2561


20

ภาพ 13 อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็น พราหมณ์แปลง ที่มา: นพวรรณ จันทรักษา, 2561

ภาพ 14 อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็น พราหมณ์เกศสุริยงรบยักษ์กุมภณฑ์ ที่มา: นพวรรณ จันทรักษา, 2561


21

ภาพ 15 อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็น นางวิมาลา ที่มา: นพวรรณ จันทรักษา, 2561

ภาพ 16 อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา รับบทเป็น พระรถเสน ที่มา: นพวรรณ จันทรักษา, 2561


บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรสืบทอดและฝึกหัด ผู้ ศึ ก ษาได้ รั บ การถ่ า ยทอดท่ า ร าการแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด เกศสุ ริ ย งชมดง มาจาก อาจารย์ น พวรรณ จั น ทรั กษา นาฏศิ ล ปิ น อาวุโส ส านั กการสั งคีต กรมศิล ปากร กระทรวงวัฒ นธรรม ในบทนี้จะกล่าวถึงขั้นตอนในการสืบทอดท่าและฝึกหัด , ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด , อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด และพัฒนาการในการถ่ายทอดและฝึกหัด ดังนี้ ขั้นตอนในกำรสืบทอดและฝึกหัด ผู้ศึกษาได้รับความกรุณาจากท่านผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านนาฏศิลป์ไทย คือ ท่านอาจารย์นพวรรณ จันทรักษา เป็นผู้ให้ความรู้และถ่ายทอดท่าราการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง โดยมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาเกี่ยวกับความสาคัญและความเป็นมาของเพลงเกศสุริยงชมดง 2. ศึกษาทานองเพลง เนื้อเพลง ท่องจาบท และฝึกร้องเพลงเกศสุริยงชมดง 3. เริ่มต่อท่าราจากการดูวีดีโอที่บันทึกการแสดงไว้ 4. เริ่มต่อท่าราจากผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านนาฏศิลป์ไทย 5. ฝึกปฏิบัติท่าราและรับคาแนะนาในการปฏิบัติท่ารา เพื่อให้ท่ารามีความถูกต้องและสวยงาม 6. ทบทวนท่าราเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ พร้อมทั้งปรับปรุงแก้ไขท่าราตามคาแนะนาของครู ผู้ถ่ายทอดท่ารา และอาจารย์ที่ปรึกษา ทุกครั้ง ระยะเวลำและสถำนที่กำรสืบทอดและฝึกหัด ระยะเวลาในการถ่ายทอดท่าราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง เริ่มตั้งแต่วันที่ 9 กรกฎาคม 2561 – 31 สิงหาคม 2561


23 ตำรำง 5 แสดงระยะเวลำในกำรถ่ำยทอดท่ำรำ วัน เวลำ 9 กรกฎาคม 2561 10.00 – 11.00 น. 10 กรกฎาคม 2561 10.00 – 11.00 น. 20 สิงหาคม 2561 10.00 – 11.00 น. 21 สิงหาคม 2561 10.30 – 11.30 น.

รำยกำร ปฏิ บั ติ แ ละเข้ า รั บ การถ่ า ยทอดร า เดี่ย วมาตรฐาน ชุด เกศสุ ริยงชมดง ต่ อ ท่ า ร าเพลงรั ว เพลงมอญแปลง (สร้อย) และพากย์ชมดง ปฏิบัติและเข้ารับการถ่ายทอดรา เดี่ยว ชุด เกศสุริยงชมดง ต่อท่ารา เพลงกระบอกทอง เพลงร่ายรุด และ เพลงเขมรราชบุรี ปฏิบัติและเข้ารับการถ่ายทอดรา เดี่ยว ชุด เกศสุริยงชมดง ปรับท่ารา ตั้งแต่เพลรัว จนถึงเพลงเขมรราชบุรี ปรับท่าการแผลงศร การตั้งวง การใช้ น้าหนักมือในการชี้ การตักตัว การ มองในละคร เสริมทีในละคร ปฏิบัติและเข้ารับการถ่ายทอดรา เดี่ยว ชุด เกศสุริยงชมดง ปรับท่ารา เพลงเขมรราชบุรี ปรับท่าไหว้ การใช้ น้าหนักมือในการชี้ เพิ่มการซอยเท้า ในท่องเพลงทอดกรกราย ปรับสรีระ ในการขัดคันศร

สถำนที่ ชั้น 4 ในห้อง กลุ่มนาฏศิลป์ สานักการสังคีต กรมศิลปากร ชั้น 4 หน้าห้อง กลุ่มนาฏศิลป์ สานักการสังคีต กรมศิลปากร ชั้น 4 หน้าห้อง กลุ่มนาฏศิลป์ สานักการสังคีต กรมศิลปากร

ผู้ฝึกซ้อม อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา

ชั้น 2 หน้าโรง อาจารย์นพวรรณ ละคร (โรงเล็ก) จันทรักษา กลุ่มนาฏศิลป์ สานักการสังคีต กรมศิลปากร

อุปกรณ์ในกำรสืบทอดและฝึกหัด 1. เครื่องเสียง 2. แผ่นเสียงเพลงเกศสุริยงชมดง 3. บทร้องเพลงเกศสุริยงชมดง 4. กล้องบันทึกภาพ 5. ผ้าโจงกระเบนสีม่วง 1 ผืน 6. เข็มขัดสาหรับรัดผ้าโจงกระเบน 7. สมุดจดบันทึก และอุปกรณ์เครื่องเขียน สาหรับจดบันทึก 8. ศร (อาวุธสาหรับการแสดง)


24 พัฒนำกำรในกำรสืบทอดและฝึกหัด หลังจากการเข้ารับการถ่ายทอดท่าราการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง จากท่าน อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา ในแต่ละครั้งแล้ว ผู้ศึกษาได้กลับมาฝึกซ้อมปฏิบัติด้วยตนเอง และฝึกซ้อมกับ อาจารย์ที่ปรึกษา คือ อาจารย์ภูริตา เรืองจิรยศ เพื่อเป็นการพัฒนาฝีมือในการรา รวมถึงเพื่อให้เข้าใจถึงตัว ละคร คือ นางเกศสุริยง มากยิ่งขึ้น สามารถสรุปเป็นตารางพัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด ได้ดังนี้ ตำรำง 6 แสดงพัฒนำกำรในกำรสืบทอดและฝึกหัด วัน เดือน ปี พัฒนำกำรในกำรสืบทอดและฝึกหัด 9 ปฏิ บั ติ แ ละเข้ า รั บ การถ่ า ยทอดร าเดี่ ย วมาตรฐาน กรกฎาคม ชุด เกศสุริยงชมดง 2561 - ต่อท่าราเพลงรัว เพลงมอญแปลง (สร้อย) และ พากย์ชมดง - แก้ไขการวิ่งสอดสร้อย การตั้งวงหน้า 10 ปฏิ บั ติ แ ละเข้ า รั บ การถ่ า ยทอดร าเดี่ ย วมาตรฐาน กรกฎาคม ชุด เกศสุริยงชมดง 2561 - ต่อท่ าราเพลงกระบอกทอง เพลงร่ายรุด และ เพลงเขมรราชบุรี - แก้ ไขท่ า แผลงศร ปรั บ ที ในการตั ก ตั ว การใช้ ใบหน้ า ในการมอง ให้ ผู้ ศึ ก ษาฝึ ก การใช้ ศ ร ให้ ท าความเข้ า ใจเกี่ ย วตั ว ละคร และฝึ ก แยก ทานองเพลงให้ชัดเจน เพราะในเพลงเกศสุริยง ชมดงมี ทั้ งคาร้อ งที่ ช้ าและเร็ว และให้ ผู้ ศึ กษา หมั่น ฝึ กฝนซ้ อมรา ให้ ท่ ารามีกระบวนท่ าที่ช้ า นิ่มนวล 14 – 28 ฝึกปฏิบัติการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยง กรกฎาคม ชมดง 2561

สถำนที่ ชั้น 4 ในห้อง กลุ่มนาฏศิลป์ สานักการ สังคีต กรม ศิลปากร ชั้น 4 หน้าห้อง กลุ่มนาฏศิลป์ สานักการ สังคีต กรม ศิลปากร

ผู้ฝึกซ้อม อ.นพวรรณ จันทรักษา

อ.นพวรรณ จันทรักษา

อาคารกิจกรรม ฝึกปฏิบัติ ด้านศิลปะ ด้วยตนเอง และวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย นเรศวร


25 ตำรำง 6 (ต่อ) วัน เดือน ปี พัฒนำกำรในกำรสืบทอดและฝึกหัด สถำนที่ ผู้ฝึกซ้อม 29 ฝึกปฏิบัติการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยง ห้องภาควิชา อ.ภูริตา กรกฎาคม ชมดง ศิลปะการแสดง เรืองจิรยศ 2561 - ปรับอารมณ์ในการแสดง คณะ - การใช้สายตายังลอยอยู่ มนุษยศาสตร์ - ยังไม่เห็นศรัทราในการบูชาพระอินทร์ มหาวิทยาลัย - ยังราไม่ทันจังหวะ นเรศวร - การใช้อาวุธยังไม่คล่องมือ 30 กรกฎาคม ฝึกปฏิบัติการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยง อาคารกิจกรรม ฝึกปฏิบัติ – ชมดง ด้านศิลปะ และ ด้วยตนเอง 19 สิงหาคม วัฒนธรรม 2561 มหาวิทยาลัย นเรศวร 20 ปฏิบั ติและเข้ารับการถ่ายทอดราเดี่ยวมาตรฐาน ชั้น 4 หน้าห้อง อ.นพวรรณ สิงหาคม ชุด เกศสุริยงชมดง กลุ่มนาฏศิลป์ จันทรักษา 2561 - ปรั บ ท่ า ร าตั้ ง แต่ เพลรั ว จนถึ ง เพลงเขมร สานักการสังคีต ราชบุรี กรมศิลปากร - ปรับท่าการแผลงศร ท่าสอดสร้อยวิ่งซอยเท้า ให้ พ อดี กั บ จั ง หวะเพลง ท่ า เศร้ า และท่ า ร้องไห้ ให้เก็บมือเข้าหาตัวมากขึ้น - การตั้งวง การใช้น้าหนักมือในการชี้ การตัก ตัว การมองในละคร เสริมทีในละคร การใช้ จังหวะเข่า 23 – 25 ฝึกปฏิบัติการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยง อาคารกิจกรรม ฝึกปฏิบัติ สิงหาคม ชมดง ด้านศิลปะ และ ด้วยตนเอง 2561 วัฒนธรรม มหาวิทยาลัย นเรศวร


26 ตำรำง 6 (ต่อ) วัน เดือน ปี พัฒนำกำรในกำรสืบทอดและฝึกหัด 26 – 30 ฝึกปฏิบัติการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยง สิงหาคม ชมดง 2561 - ปรับอารมณ์ในการแสดง - ยังไม่เห็นศรัทราในการบูชาพระอินทร์ - ยังราไม่ทันจังหวะ - ปรับท่าราบางส่วนให้ดูสวยยิ่งขึ้น - สายตาชอบมองพื้น

สถำนที่ ผู้ฝึกซ้อม ห้องภาควิชา อ.ภูริตา ศิลปะการแสดง เรืองจิรยศ คณะ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร

ตลอดระยะเวลาที่ ได้รั บ การถ่ายทอดท่าราการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุ ริยงชมดง จากท่านอาจารย์นพวรรณ จันทรักษา ผู้ศึกษาได้ขออนุญาตจากท่านอาจารย์ในการบันทึกภาพเคลื่อนไหว ทุกครั้งที่ได้รับการถ่ายทอดท่ารา เพื่อนามาเป็นแนวทางในการตรวจสอบความถูกต้องของท่ารา และเพื่อ การเก็บรายละเอียดของท่ารา ซึ่งการถ่ายทอดท่าราในครั้งนี้ผู้ศึกษาได้พบปัญหาและมีวิธีในการแก้ไข ดังนี้ 1. การเก็บรายละเอียดของท่ารา 1.1 การเชื่อมท่ารา 1.2 ลีลาท่ารา 1.3 การใช้อาวุธ 1.4 อารมณ์กับความสัมพันธ์ของท่ารา 1.5 การใช้สายตาในการรา 1.6 ปรับท่าราให้เหมาะสมกับสรีระของผู้แสดง 2. สภาพปัญหา 2.1 ผู้แสดงยังราได้ไม่นิ่มนวล 2.2 ผู้แสดงยังราเร็วเกินไป 2.3 ท่าเชื่อมในการแสดงยังไม่สวยงาม 2.4 ผู้แสดงยังใช้อาวุธได้ไม่คล่องมือ 2.5 ผู้แสดงยังขาดอารมณ์ในการแสดง 2.6 น้าหนักมือในการชี้นิ้ว ต้องชัดเจน เพื่อบอกคนดูให้รู้ถึงสิ่งที่เราจะสื่อออกไป


27 3. วิธีการแก้ไข 3.1 ผู้แสดงต้องฝึกปฏิบัติท่าราอย่างหนัก 3.2 ผู้แสดงต้องฝึกแบ่งท่อนเพลง เพื่อแบ่งช่วงอารมณ์ของการแสดง 3.3 ผู้แสดงต้องฝึกร้องเพลงให้คล่อง เมื่อเวลาแสดงจะได้เข้าใจจังหวะของเพลง 3.4 ผู้ต้องฝึกใช้อาวุธทุกวัน เพื่อการถืออาวุธ หรือการราคู่กับอาวุธจะได้คล่องมือ 3.5 ผู้แสดงต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับตัวละครที่ตนเองแสดง เพื่อให้เกิดความรู้ และ ความเข้าใจเกี่ยวกับตัวละครนั้นอย่างลึกซึ้ง จากการรับการถ่ายทอดท่าราและกลวิธีในการราการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง ของท่ านอาจารย์ น พวรรณ จั น ทรั ก ษา ท าให้ ผู้ ศึ กษาเกิ ด ความเข้ าใจเกี่ ย วตั ว ละครที่ แ สดงมากยิ่งขึ้ น ทั้ งนี้ ผู้ ศึ ก ษาได้ ฝึ ก ปฏิ บั ติ ท่ าร าอย่ างต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ให้ เกิ ด ความช านาญและเพื่ อ พั ฒ นาฝี มื อ ในการร า จนสามารถขึ้นแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง ได้อย่างสมบูรณ์ ข้อเสนอแนะในการถ่ายทอดท่ารา การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง จากท่าน อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา ผู้ถ่ายทอดท่ารา (จากข้อมูลในแบบประเมินของภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร) ดังนี้ 1. ขอชื่นชมระบบการทางาน ในการส่งนักศึกษามารับการถ่ายทอดท่ารา มีการประสานงาน ที่ดี มีขั้นตอนที่ถูกต้องตามแบบแผนและธรรมเนียมปฏิบัติ 2. นั ก ศึ ก ษาของ ม.นเรศวร ได้ รั บ การชื่ น ชมในเรื่ อ ง มารยาท ความใฝ่ รู้ และมี น้ าใจ ขอให้อบรมและรักษาไว้สาหรับรุ่นต่อ ๆ ไป 3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบมีความใส่ใจ และสนใจในรายละเอียด ติดตามตรวจสอบ ทาให้ผลของ งานประสบความสาเร็จได้เป็นอย่างดี 4. การรั บ การถ่ ายทอดท่ ารา ควรศึ ก ษาประวัติ ข องกระบวนท่ ารา เพื่ อ ท าความเข้ าใจถึ ง ความแตกต่าง เน้นผู้ที่เคยแสดงจริง และต้นแบบผู้ถ่ายทอดท่าราในแต่ละอาจารย์ก่อนเข้ารับการถ่ายทอด ข้ อ เสนอแนะ การแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด เกศสุ ริ ย งชมดง จากท่ า นคณะกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านนาฏศิลป์ไทย จานวน 5 ท่าน ดังนี้ 1. ดร.นพรั ต น์ ศุ ภ าการ หวังในธรรม ผู้ เชี่ ย วชาญการสอนนาฏศิ ล ป์ ไทย สถาบั น บั ณ ฑิ ต พัฒนศิลป์กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม - รูปร่างสมเป็นพราหมณ์ 2. ดร.ไพฑู ร ย์ เข้ ม แข็ ง ผู้ เชี่ ย วชาญการสอนนาฏศิ ล ป์ ไทย วิ ท ยาลั ย นาฏศิ ล ป์ กระทรวง วัฒนธรรม - การแต่ ง กายสวยงามเรี ย บร้ อ ยดี จั ง หวะลี ล าท่ า ร า ร าได้ ห มดไม้ ห มดมื อ ตอนชมดง ตอนชมต้นไม้ ควรชี้ให้สูงอีกนิด และตอนจะแผลงศรทาให้เต็มตัวอีกนิดจะสง่างาม ผู้แสดงทาการบ้านมาดี


28 3. อาจารย์ ต วงฤดี ถาพรสี ข้ า ราชการบ านาญ ส านั ก การสั ง คี ต กรมศิ ล ปากร กระทรวง วัฒนธรรม ปัจจุบันเป็น อาจารย์พิเศษ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา - ไม่มี 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฐิติมา วิทยาวงศรุจิ ผู้มีความรู้ความสามารถพิเศษทางด้านนาฏศิลป์ไทย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร - ก็โอเค ราบรื่น ดูสวยงามดี การเข้าอารมณ์พอได้อยู่ ยังไม่เต็มนัก แต่ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ดี ทรงตัวให้มั่นคง ใช้อุปกรณ์ให้คล่อง 5. รองศาสตราจารย์ นุ ชนาฏ ดีเจริญ ผู้มีความรู้ความสามารถพิเศษทางด้านนาฏศิล ป์ไทย สาขาวิชาศิลปะการแสดง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา - อารมณ์ในการแสดง การใช้พื้นที่บนเวทีทาได้ดี


บทที่ 4 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด เกศสุริยงชมดง ประวัติความเป็นมาของการแสดง การแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุด เกศสุ ริย งชมดง เป็ น การราตี บ ทที่ ป รากฏอยู่ ในการแสดง ละครนอก เรื่อง สุวรรณหงส์ ตอน เดินป่า โดยนางเกศสุริยงเป็นบุตรสาวผู้เลอโฉมของพญายักษ์ นามว่า สุวรรณวิก แห่งเมืองมัตตัง และมีพระสวามี คือ พระสุวรรณหงส์ นางเกศสุริยงขึ้นชื่อว่าเป็น ชายาที่มี ความจงรักภักดี และซื่อสัตย์ต่อพระสวามีเป็นอย่างมาก นางเกศสุริยงเป็นคนที่มีจิตใจเด็ดเดี่ยว กล้าหาญ และเข็ ม แข็ ง อี ก ทั้ งยั งมี รู ป ร่ างหน้ าตาที่ ง ดงาม ถึ งแม้ จ ะแปลงกายเป็ น พราหมณ์ ซึ่ งอยู่ ในร่ างผู้ ช าย แล้วก็ตาม แต่ความงดงามของผู้หญิงก็ ยังคงแสดงออกมาอย่างชัดเจน การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง เป็นการราแบบผู้เมีย หรือ เรียกว่า ราแบบพราหมณ์ ซึ่งเป็นการราที่มีลักษณะเฉพาะ ของตัวพราหมณ์ ที่มีการผสมผสานกั นระหว่างกระบวนท่าราของตัวพระและกระบวนท่าราของตัวนาง ในการแสดงจะมี อุ ป กรณ์ ที่ น างเกศสุ ริย งถื อ รา คื อ ศร ซึ่ ง พระอิ น ทร์ได้ ป ระทานไว้ ให้ นางเกศสุ ริย ง เพื่อป้องกันตัว ซึ่งกระบวนท่าราจึงมีความเข้มแข็ง อ่อนช้อย และงดงาม บทละครที่ใช้ในการแสดงนั้น ทางกรมศิลปากรได้ป รับปรุงมาจาก บทละครของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์ (พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย) นามาแสดงครั้งแรกในสมัย พันโท หลวงรณสิทธิชัย ซึ่งในขณะนั้นท่านดารงตาแหน่งอธิบดีกรมศิลปากร ปี พุทธศักราช 2494 ซึ่งผู้รับบทพราหมณ์ เกศสุริยงในตอนเดินป่ า คือ นางส่องชาติ ชื่นศิริ จึงถือได้ว่าเป็นผู้แสดงและรับบท พราหมณ์เกศสุริยง ตอน เดินป่า เป็นคนแรกของกรมศิลปากร โดยมีคุณครูลมุล ยมะคุปต์ เป็นผู้ฝึกซ้อมและถ่ายทอดกระบวน ท่าราให้ ต่อมาการแสดงละครนอกเรื่อง สุวรรณหงส์ ได้มีการปรับเปลี่ยนนักแสดงใหม่ในปี พุทธศักราช 2519 จากเดิ มที่ มี ผู้ แ สดงเป็ น พราหมณ์ เกศสุ ริยง 2 คน คือ นางส่ องชาติ ชื่ น ศิริ ซึ่งรับ บทเกศสุ ริย ง ตอน เดินป่า และนางสาวจาเรียง พุทธประดับ รับบทเกศสุริยง ตอน เข้าเมืองและตอนชมถ้า การแสดง ละครในครั้ งนั้ น มีก ารปรั บ เปลี่ ย นนั ก แสดงในบทของนางเกศสุ ริย ง โดยจะใช้ นั ก แสดงเพี ยงคนเดี ย ว ตลอดทั้งเรื่อง ซึ่งผู้รั บ บทเป็ น พราหมณ์ เกศสุริยงในขณะนั้น ก็คือ นางสาววันทนี ย์ ม่ว งบุญ โดยได้รับ การฝึกซ้อมและถ่ายทอด ท่ารา จากท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี และต่อมา นางสาววันทนี ย์ ม่วงบุญ ก็ได้ถ่ายทอดกระบวนท่าราของพราหมณ์เกศสุริยง ตอน เดินป่า ให้ กับนางนพวรรณ จันทรักษา และ นางสาวพิมพ์รัตน์ นะวะศิริ (พิมพ์รัตน์ นะวะศิริ, 2548, หน้า 68 – 69)


30 เรื่องย่อของการแสดง การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง อยู่ในละครนอก เรื่องสุวรรณหงส์ ตอน เดินป่า กล่ าวถึง พระพี่เลี้ ยงของนางเกศสุริยงเกิด ความวิตกกังวล และเกรงกลัว ความผิดที่ไม่ปกป้องเจ้านาย ของพวกตนตามที่พญายักษ์สั่งไว้ จึงคิดหาทางกาจัดผู้บุกรุกเพื่อไม่ให้ นาความเดือดร้อนมาให้พวกตน จึงวางกับดักไว้ที่หน้าต่าง เมื่อพระสุวรรณหงส์ปรากฏพระองค์ขึ้นที่หน้าต่าง หอกพยนต์ก็ลั่นเสียบพระอุระ (อก) ทันที พระสุวรรณหงส์ ได้รับบาดเจ็บแต่ก็สามารถหนีขึ้นเรือกลั บมาสิ้นพระชนม์ที่พระนครของตน แต่ก่อนจะสิ้นลมหายใจเฮือกสุดท้ายพระองค์ก็ทรงสาบานว่า จะขอล้างแค้นนางเกศสุริยงทุก ๆ ชาติไป ด้ ว ยเหตุ ที่ พ ระองค์ ไม่ ท ราบว่ า ใครเป็ น คนคิ ด ร้ า ยต่ อ พระองค์ พระสุ ว รรณหงส์ ดิ้ น ทุ ร นทุ ร ายและ สิ้นพระชนม์ด้วยความเจ็บปวด ในขณะเดียวกัน ถึงแม้ว่านางเกศสุริยงจะเป็นธิดาของพญายักษ์ผู้โหดร้าย แต่นางก็มีจิตใจดีและอ่อนโยน นางเฝ้าคอยพระสุวรรณหงส์อยู่เป็นเวลาหลายวันแต่ก็ไม่พบว่าพระองค์ จะเสด็จ มา นางจึงมองออกไปนอกหน้าต่าง และก็ต้องแปลกใจที่พบรอยเลือด นางจึงเกิดความสงสั ย แล้วตามรอยเลือดไปจนถึงป่า นางจึงออกเดินทางตามรอยเลือดของพระสุวรรณหงส์ เข้าไปในป่า และ หมดสติอยู่ในป่า เมื่อพระอินทร์ทรงทราบเรื่องก็เกิดความสงสารจึงเสด็จลงมาแปลงกายให้นางเกศสุริยง เป็ น พราหมณ์ ห นุ่ ม เพื่อความปลอดภัยและความสะดวกสบายในระหว่างการเดิน ทาง ซึ่งในระหว่าง เดินทางอยู่ในป่า พราหมณ์เกศสุริยงก็ชมพรรณไม้ไปแล้วในใจก็คิดถึงพระสุวรรณหงส์ผู้เป็นพระสวามี


31 บทร้อง - ปี่พาทย์ทาเพลงรัว - ร้องเพลงมอญแปลง เมื่อนั้น เห็นโกสีย์เหาะกลับลับไป

โฉมเจ้าพราหมณีสีใส ให้เปลี่ยวเปล่าเศร้าในวิญญาณ์ ฯ - สร้อย -

เจ้าพราหมณ์แปลงจาแลงกาย ใฝ่คะนึงถึงภัสดา - พากย์ชมดง สุริยงแปลงองค์เป็นพราหมณ์ เดินตามพนัสแนวดง ฯ ไม้ใหญ่ยางยูงสูงระหง คันทรงส่งกลิ่นฝิ่นฝาง ฯ ไทรย้อยห้อยระย้าขานาง มาข้างธาราวารี ฯ เดินพลางคะนึงถึงสามี เทวีครวญคร่าร่าโศกา ฯ - ปี่พาทย์ทาเพลงโอด - ร้องเพลงกระบอกทอง พระหัตถ์ยกศรศรีของตรีเนตร คิดจะแผลงศรศิลป์ของอินทรา - ร้องเพลงร่ายรุด เดชะพระแสงศรสิทธิ์ ย่างเท้าน้าวศรเอียงอ่อนกาย - ปี่พาทย์ทาเพลงรัว - ปี่พาทย์ทาเพลงเขมรราชบุรี -

เยื้องยาตร์กรายมาในป่า พ่อคู่ชีวาของน้องเอย ชื่นใจเอย ฯ จุลเจิมเฉลิมงาม ปรางปริงปรูปรง ชมพลางเดินพลาง กาสรดโศกี

ทูนไว้เหนือเกศเกศา กัลยากุมศรทอดกรกราย ฯ ให้เห็นอิทธิ์ฤทธิ์ไกรดังใจหมาย ลั่นสายแผลงไปด้วยฤทธี ฯ

(กรมศิลปากร, 2494, หน้า 33)


32 บทร้องและทานองเพลงการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง ผู้ศึกษาได้แบ่งช่วงการ แสดงออกเป็น 9 ช่วง ตามทานองเพลง ดังนี้ ช่วงที่ 1 ใช้ทานองเพลงรัว เพื่อประกอบกิริยาการสาแดงเดชของพระอินทร์ ที่ได้แปลงกายให้ นางเกศสุริยงเป็นพราหมณ์หนุ่ม แล้วพราหมณ์เกศสุริยงฟื้นขึ้นจากการสลบอยู่ในป่า ช่วงที่ 2 ใช้ทานองเพลงมอญแปลง เพื่อบอกว่าตัวละครถูกแปลงเป็นพราหมณ์ และกาลังอยู่ใน บทโศกเศร้า โดยในบทร้องกล่าวว่า “เมื่อนั้น เห็นโกสีย์เหาะกลับลับไป

โฉมเจ้าพราหมณีสีใส ให้เปลี่ยวเปล่าเศร้าในวิญญาณ์ ฯ”

ซึ่งในบทนี้หมายถึง การที่นางเกศสุริยงเห็นพระอินทร์เหาะกลับ ไป มันช่างเหงา และโศกเศร้า เมื่อจะต้องอยู่ในป่าเพียงลาพัง ช่ว งที่ 3 ใช้ ท านองสร้ อ ย เพื่ อ การร้อ งซ้าเพลงมอญแปลงที่ บ อกว่ าตัว ละครก าลั งอยู่ ในบท โศกเศร้า โดยในบทร้องกล่าวว่า “เจ้าพราหมณ์แปลงจาแลงกาย ใฝ่คะนึงถึงภัสดา

เยื้องยาตร์กรายมาในป่า พ่อคู่ชีวาของน้องเอย ชื่นใจเอย ฯ”

ซึ่งบทนี้หมายถึง การบอกว่าตนเองนั้นถูกแปลงเป็นพราหมณ์หนุ่ม โดยพระอินทร์ เดินอยู่ในป่า ทาให้รู้สึกเหงา แล้วก็คิดถึงสามี คิดถึงช่วงเวลาที่อยู่ด้วยกันมันช่างสุขใจ และมีความสุข ช่วงที่ 4 ใช้ทานองพากย์ชมดง การพากย์เป็นการขับที่ใช้บทกวีนิพนธ์ประเภทพากย์ สาหรับ ประกอบการแสดงหนั งใหญ่ โขน ละคร เมื่อพากย์จบบทหนึ่ง ๆ ตะโพนจะตีรับ ท้าให้กลองทัดตีตาม ตูม ตูม แล้วร้องรับด้วยคาว่า เพ้ย ทุกบท พากย์ชมดงใช้สาหรับเวลาผู้แสดงชมสภาพภูมิประเทศ ป่าเขา ลาเนาไพร และสั ตว์น้ อยใหญ่ ซึ่งจะเริ่มทานองตอนต้นเป็นทานองร้องเพลงชมดงนอก ตอนท้ายเป็ น การพากย์ธรรมดา โดยในบทร้องกล่าวว่า “สุริยงแปลงองค์เป็นพราหมณ์ เดินตามพนัสแนวดง ฯ ไม้ใหญ่ยางยูงสูงระหง คันทรงส่งกลิ่นฝิ่นฝาง ฯ ไทรย้อยห้อยระย้าขานาง มาข้างธาราวารี ฯ เดินพลางคะนึงถึงสามี เทวีครวญคร่าร่าโศกา ฯ”

จุลเจิมเฉลิมงาม ปรางปริงปรูปรง ชมพลางเดินพลาง กาสรดโศกี


33 ซึ่งบทนี้หมายถึง นางเกศสุริยงเดินอยู่ในป่าแล้วได้แปลงเป็นพราหมณ์หนุ่มที่มีการเจิมหน้าผาก ในป่ า ไม้ ต้ น ไม้ ที่ สู ง ใหญ่ มี ต้ น ยางยู ง ต้ น มะปราง ต้ น มะปริ ง ต้ น ปรู ต้ น ปรง ต้ น ฝิ่ น ฝาง ต้ น ขานาง มีต้นคันทรงที่สิ่งกลิ่นออกมา ต้นไทรย้อยมันมีรากไทรที่ห้อยย้อยยาวลงมา เดินไปก็ชมต้นไม้แล้วมาเจอ แม่น้า เดินอยู่ในป่าก็ร้องไห้คร่าครวญหาสามี ช่ว งที่ 5 ใช้ ท านองเพลงโอด เพลงโอดเป็ น เพลงหน้ าพาทย์ เพื่ อ ประกอบกิ ริย าการร้อ งไห้ อยู่กับที่ อาจจะเป็นนั่งร้องไห้ นอนร้องไห้ หรือยืนร้องไห้ ช่วงที่ 6 ใช้ทานองเพลงกระบอกทอง เพื่อเปลี่ ยนอารมณ์ในการแสดง และบอกว่ าตัวละคร กาลังคิดจะทาอะไรต่อไป โดยในบทร้องกล่าวว่า “พระหัตถ์ยกศรศรีของตรีเนตร คิดจะแผลงศรศิลป์ของอินทรา

ทูนไว้เหนือเกศเกศา กัลยากุมศรทอดกรกราย ฯ”

ซึ่งบทนี้หมายถึง นางเกศสุริยงได้เทิดทูนศรที่พระอินทร์ประทานมาให้ แล้วคิดที่จะลองแผลงศร เพื่ออิทธิฤทธิ์ ช่วงที่ 7 ใช้ทานองเพลงร่ายรุด ร่ายรุดเป็นเพลงร้องสาหรับประกอบการแสดงละครที่มีจังหวะ และลีลารุกเร้า รวบรัด โดยในบทร้องกล่าวว่า “เดชะพระแสงศรสิทธิ์ ย่างเท้าน้าวศรเอียงอ่อนกาย

ให้เห็นอิทธิ์ฤทธิ์ไกรดังใจหมาย ลั่นสายแผลงไปด้วยฤทธี ฯ”

ซึ่งบทนี้หมายถึง พราหมณ์เกศสุริยงได้อธิฐานให้เห็นถึงความศักดิ์ ของศร ที่พระอินทร์ประทาน มาให้ แล้วเตรียมแผลงศรไปด้วยพลังของตนเอง ช่วงที่ 8 ใช้ทานองเพลงรัว เพื่อประกอบกิริยาการสาแดงอิทธิฤทธิ์ของพราหมณ์เกศสุริยง ช่วงที่ 9 ใช้ทานองเพลงเขมรราชบุรี เพื่อประกอบกิริยาความโศกเศร้าที่ต้องออกเดินทางตามหา พระสุวรรณหงส์เพียงลาพังในป่า ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง การแสดงละนอกจะมีลักษณะมีการดาเนินเรื่ องรวดเร็ว ใช้ภาษาของสามัญชนมุ่ งเน้นเรื่องราว ตลกขบขันไม่มีแบบแผนที่ตายตัว โดยส่วยใหญ่ ใช้วงปี่พาทย์ ไม้นวมเครื่องห้า เครื่องคู่ หรือเครื่องใหญ่ ซึ่ ง จะขึ้ น อยู่ กั บ ความเหมาะสมในแต่ ล ะงาน ในการแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด เกศสุ ริ ย งชมดง ใช้วงปี่พาทย์ไม้นวมเครื่องห้าในการบรรเลงประกอบการแสดง ซึ่งวงปี่พาทย์ ไม้นวมเครื่องห้าจะประกอบ ไปด้วยเครื่องดนตรี 6 ชนิด ได้แก่ 1. ปี่ใน 2. ระนาดเอก 3. ฆ้องวงใหญ่ 4. ตะโพน 5. กลองทัด 6. ฉิ่ง (ทรงวิทย์ แก้วศรี, 2533, หน้า 33)


34

ภาพ 17 วงปี่พาทย์เครื่องห้า ที่มา: ทรงวิทย์ แก้วศรี, 2533, หน้า 33 1. ปี่ ใน เป็ น เครื่ องดนตรีประเภท เครื่องเป่า ที่ช าวไทยประดิษ ฐ์ขึ้น มาอย่างยาวนาน และ เรียกชื่อตามเสียงที่ได้ยิน ปี่จะใช้เป่านาวงดนตรี และใช้กับวงเครื่องตีเป็ นพื้น จึงเรียกวงดนตรีชนิดนี้ว่า วงปี่พาทย์

ภาพ 18 ปี่ ที่มา: ทรงวิทย์ แก้วศรี, 2533, หน้า 26


35 2. ระนาดเอก เป็นเครื่องดนตรีประเภท เครื่องตี ซึ่งมีการวิวัฒนาการมาจากกรับ โดยการนา กรับที่มีขนาดที่แตกต่างกันมาเรียงกันเป็นชุดทาให้มีเสียงที่แตกต่างกัน

ภาพ 19 ระนาดเอก ที่มา: ทรงวิทย์ แก้วศรี, 2533, หน้า 10 3. ฆ้องวงใหญ่ เป็ น เครื่องดนตรีประเภท เครื่องตี ที่มีวิวัฒ นาการในการประดิษฐ์ สร้างจาก ฆ้องเดี่ยว และฆ้องคู่ และฆ้องราง การประดิษฐ์ฆ้องวงมีการสันนิษฐานว่าเป็นเครื่องดนตรี เกิดขึ้นก่อน ระนาด เพราะมีการแกะสลักเครื่องดนตรีปี่พาทย์มาแต่โบราณ

ภาพ 20 ฆ้องวงใหญ่ ที่มา: ทรงวิทย์ แก้วศรี, 2533, หน้า 17


36 4. ตะโพน เป็น เครื่องดนตรีประเภท เครื่องตี ที่ขึงด้วยหนัง รูปร่างคล้าย มุ ทิงค์ของอินเดีย กล่าวคือ มุทิงค์ของอินเดียเป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่งของอินเดีย มีหน้าที่ขึงด้วยหนัง 2 ด้าน ใช้วางบนตักตี หรือมีสายสะพายเมื่อยืนตี แต่ของไทยมีการรองเท้าให้ตัวตะโพนวางนอนอยู่บนเท้าใช้ฝามือตีได้ทั้ง 2 หน้า

ภาพ 21 ตะโพน ที่มา: ทรงวิทย์ แก้วศรี, 2533, หน้า 22 5. กลองทั ด เป็ น เครื่ องดนตรีประเภท เครื่องตี ที่ ขึงด้ว ยหนั งที่ มี ขนาดใหญ่ ขึ้ นหน้ ากลอง ทั้งสองข้างด้วยหนั งวัว หรือหนังควาย ตรึงด้วยหมุด ลูกที่มีเสียงสูงดัง “ตุม” เรียกว่า “ตัวผู้” และลู ก ที่มีเสียงต่าดัง “ต้อม” เรียกว่า “ตัวเมีย”

ภาพ 22 กลองทัด ที่มา: ทรงวิทย์ แก้วศรี, 2533, หน้า 11


37 6. ฉิ่ง เป็นเครื่องดนตรีประเภท เครื่องตี ทาด้วยโลหะ หล่อหนา เว้ากลาง ปากฝากลมรูปคล้าย ถ้วยชาไม่มีก้น ฉิ่งจะเรียกตามเสียงที่เกิดขึ้น จากการเอาฝาหนึ่งกระทบเข้ากับอีกฝาหนึ่งแล้ วยกขึ้น จะได้ ยินเสียงกังวานยาวคล้าย ฉิ่ง แต่ถ้าเอาสองฝานั้น กลับกระทบประกบกันไว้ จะได้ยินเสียงสั้นคล้าย ฉับ

ภาพ 23 ฉิ่ง ฉาบ ที่มา: ทรงวิทย์ แก้วศรี, 2533, หน้า 22 ฉากและองค์ประกอบการแสดง การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง เป็นการราตีบทตามบทละครที่พูดถึงการเดิน อยู่ในป่าเพียงลาพังของนางเกศสุริยง มีการชมพรรณไม้ต่าง ๆ แต่ในใจของนางนั้นก็คิดถึงแต่พระสวามี โดยมีอุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการแสดง ดังนี้ 1. ศร เป็ น อุ ป กรณ์ ที่ ใช้ในการแสดง โดยในเนื้อเรื่อ งกล่ าวถึ ง พระอิน ทร์ป ระทานศรให้ กั บ พราหมณ์เกศสุริยงเพื่อเอาไว้ป้องกันอันตรายต่าง ๆ ซึ่งหัวศรมีลักษณะเป็นหัวพญานาค ด้ามศรเป็นสี ดา ปลายศรมีลายหางของพญานาค (ตามข้อมูลนิยามศัพท์เฉพาะในหน้าที่ 4)

ภาพ 24 ศร ที่มา: พิมพ์พร เอี่ยมละออ, 2561


38 2. องค์ประกอบฉาก ฉากเป็นองค์ประกอบหนึ่งของการแสดง เพื่อให้การแสดงมีความสมจริง และเพิ่มอรรถรสในการรับชมมากยิ่งขึ้น การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง เป็นการราชม พรรณไม้ต่าง ๆ ในขณะที่นางเกศสุริยงเดินอยู่ในป่า ซึ่งอยู่ในบทพากย์ชมดง กล่าวว่า “สุริยงแปลงองค์เป็นพราหมณ์ เดินตามพนัสแนวดง ฯ ไม้ใหญ่ยางยูงสูงระหง คันทรงส่งกลิ่นฝิ่นฝาง ฯ ไทรย้อยห้อยระย้าขานาง มาข้างธาราวารี ฯ เดินพลางคะนึงถึงสามี เทวีครวญคร่าร่าโศกา ฯ”

จุลเจิมเฉลิมงาม ปรางปริงปรูปรง ชมพลางเดินพลาง กาสรดโศกี

บทพากย์ชมดงมีชื่อต้นไม้ที่ปรากฏออกมา 10 ชนิด ได้แก่ 1. ต้นไม้ใหญ่ คือ ต้นไม้ที่มีความสูงใหญ่ (สัญลักษณ์ ) 2. ต้นยางยูง คือ ต้นไม้ที่มีความสูงถึง 45 เมตร ใบไม้ไม่ผลัดใบ ลาต้นตรง เปลือกหนาเรียบ มีใบเดี่ยวรูปไข่ ปลายใบทู่ โคนใบมนกว้าง (สัญลักษณ์ ) 3. ต้นมะปราง คือ ต้นไม้ที่มีความสูง 15 – 30 เมตร มีกิ่งก้านสาขาค่อนข้างทึบ ดอกเป็นช่อ ที่เกิดบริเวณปลายกิ่งแขนง มีผลรูปไข่และกลม ผลดิบมีสีเขียวอ่อน ผลสุกมีสีส้ม (สัญลักษณ์ ) 4. ต้น มะปริง คือ ต้น ไม้ขนาดกลาง มีผ ลคล้ายมะปรางแต่กลมและเล็ กกว่า ผลดิบ มีสี เขียว ผลสุกมีสีเหลืองอมส้ม มีรสหวานอมเปรี้ยวถึงเปรี้ยวจัด (สัญลักษณ์ ) 5. ต้นปรู คือ ต้นไม้ที่มีความสูง 8 – 10 เมตร เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง มีลักษณะ เรือนยอดโปร่ง ค่อนข้างกว้าง มีรูปร่างไม่แน่นอน (สัญลักษณ์ ) 6. ต้นปรง คือ ต้นไม้ที่มีขนาดเล็กคล้ายกับใบของต้นปาล์ ม แต่การเรียงตัวของใบนั้นคล้ายกับ เฟิร์นข้าหลวง (สัญลักษณ์ ) 7. ต้น คัน ทรง คือ ต้น ไม้ชนิดไม้พุ่มกึ่งไม้เลื้อยขนาดกลาง ล าต้นตั้งตรงและมีความสูง 1 – 9 เมตร แตกกิ่งก้านมากตั้งแต่โคนต้น กิ่งก้านมีขนาดเล็กกลมสีเขียว ตามลาต้นจะมีตาที่ทิ้งใบเป็ นตุ่มห่าง ๆ (สัญลักษณ์ ) 8. ต้ น ฝิ่ น ฝาง คื อ ไม้ ล้ ม ลุ ก ปี เดี ย ว ล าต้ น ตั้ งตรง แตกกิ่ ง ก้ า นได้ บ้ าง มี ค วามสู ง 50 – 150 เซนติเมตร ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับกัน รูปขอบขนาน โคนใบเว้า ขอบใบเป็นคลื่น (สัญลักษณ์ ) 9. ต้นไทร คือ ไม้ยืนต้นที่มีขนาดกลางถึงใหญ่ มีความสู ง 10 – 20 เมตร ลาต้นตรงแตกกิ่งก้าน เป็นพุ่มทึบ มีรากอากาศห้อยย้อยลงมาตามกิ่งก้านและลาต้น (สัญลักษณ์ )


39 10. ต้น ขานาง คื อ ไม้ ยื น ต้น ผลั ด ใบที่ มี ขนาดกลางถึ งขนาดใหญ่ มีค วามสู ง 15 – 30 เมตร เปลือกต้นสีขาวนวล เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ ใบเป็นรูปไข่ ขอบใบหยักคล้ายฟัน เลื่อย (สัญลักษณ์ ) จากการรับถ่ายทอดท่าราการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง ในคาร้องพากย์ชมดง มีการวางตาแหน่งของต้นไม้ชนิดต่าง ๆ ไว้ดังนี้

ภาพ 25 ตาแหน่งการวางต้ หน้าเวทีนไม้ในการแสดง ภาพ 25 ตาแหน่งการวางต้นไม้ในการแสดง ที่มา: พิมพ์พร เอี่ยมละออ, 2561 การจั ด การแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐานทางด้ านนาฏศิ ล ป์ ไทย ของ ภาควิ ช าศิ ล ปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจาปี 2561 ในครั้งนี้มีการแสดงทั้งหมดจานวน 19 ชุดการ แสดง โดยการแสดงราเดี่ย วมาตรฐาน ชุด เกศสุ ริยงชมดง เป็นการแสดงล าดับสุ ดท้าย ผู้ ศึกษาจึงไม่ สามารถจัดฉากสาหรับการแสดงชุดนี้ได้ เพื่อเป็นการรักษาระยะเวลาในการดาเนินงานให้เป็นไปตามแผน กาหนดการทีไ่ ด้วางไว้ เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า เครื่องแต่งกายประกอบการแสดงนั้น ถือเป็นองค์ประกอบสาคัญ ที่ส่งเสริมให้การแสดงนั้น ๆ มีลักษณะเฉพาะและเป็นการสร้างจุดเด่นให้ผู้ชมสนใจในตัวละคร เครื่องแต่งกายยืนเครื่องทั้งพระและนาง ในนาฏศิลป์ไทย ยังถือได้ว่าเป็นเอกลักษณ์ประจาชาติไทยที่มีความวิจิตรงดงาม ซึ่งมีจุดเด่นของลวดลาย ดิ้นเลื่อม รวมถึงความแวววาวของเพชรพลอยที่ประดับอยู่บนชุดการแสดง การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง เป็นการราในบทของนางเกศสุริยง ที่กล่าวถึง นางเกศสุริยงถูกพระอิ นทร์แปลงกาย ให้เป็น “พราหมณ์หนุ่ม” จึงมีเครื่องแต่งกายเป็นแบบยืนเครื่องพระ แขนสั้น สีขาวขลิบแดง หรือเรียกอีก


40 อย่างว่า “การแต่งกายยืนเครื่องพราหมณ์ ” ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือ ผู้แสดงจะสวมกระบังหน้าบนศีรษะ โดยมีรายละเอียดการแต่งกาย ดังนี้

ภาพ 26 เครื่องแต่งกายเกศสุริยงชมดง ที่มา: พิมพ์พร เอี่ยมละออ, 2561 1. เครื่องแต่งกาย เครื่องแต่งกายของการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง สามารถแบ่งเครื่องแต่งกาย ได้เป็น 3 ส่วน คือ 1. ศิราภรณ์ 2. ถนิมพิมพาภรณ์ 3. พัตราภรณ์ โดยแต่ละส่วนมีองค์ประกอบ ดังนี้ 1.1 ศิ ร าภรณ์ มี จ านวน 4 ชิ้ น ได้ แ ก่ กระบั งหน้ า เพชร อุ บ ะและดอกไม้ ทั ด เกี้ ย วมวยผม (ท้ายช้อง) และปิ่นปักผม ตาราง 7 แสดงองค์ประกอบส่วนศิราภรณ์ (สุมนมาลย์ นิ่มเนติพันธ์, 2537, หน้า 227 – 252) ลาดับ 1

ชื่อเรียก กระบังหน้าเพชร

รูปศิราภรณ์

คาอธิบาย มีลักษณะคล้ายกรอบอยู่รอบ หน้า มีลายดอกไม้บนกระบัง หน้า และติดดอกไม้ไหวรอบ กระบังหน้า


41 ตาราง 7 (ต่อ) ลาดับ 2

ชื่อเรียก อุบะและ ดอกไม้ทัด

รูปศิราภรณ์

คาอธิบาย สามารถใช้ ด อกไม้ จ ริ ง หรื อ ดอกไม้ป ระดิษ ฐ์ จากผ้ าหรือ กระดาษก็ได้ ดอกไม้จะติดไว้ ที่กรอบหน้าเหนือขมับ ส่วน อุบะจะห้อยลงมาจากดอกไม้ ทัด โดยตัวพระจะดอกไม้ข้าง ขวา ระดับความยาวของอุบะ ต้องไม่เกินปลายจมูก

3

เกี้ยวมวยผม (ท้ายช้อง)

ใช้ ม ว ย ผ ม ไว้ ที่ ท้ า ย ช้ อ ง ติดดอกไม้ไหวรอบเกี้ยวมวย ผม

4

ปิ่นปักผม

ใช้ ปั ก ผ ม ที่ ท้ าย ช้ อ ง เป็ น ก้านยาว แนวเฉียงลง


42 1.2 ถนิมพิมพาภรณ์ มีจานวน 9 ชิ้น ได้แก่ สังวาลตาบทิศและตาบหลัง ทับทรวง กาไลแผง ปะวะหล่า แหวนรอบมือ เข็มขัดและหัวเข็มขัด กาไลเท้า และแหวนรอบเท้า ตาราง 8 แสดงองค์ประกอบส่วนถนิมพิมพาภรณ์ (สุมนมาลย์ นิ่มเนติพันธ์, 2537, หน้า 227 – 252) ลาดับ 1

ชื่อเรียก สังวาล ตาบทิศ และตาบหลัง

2

ทับทรวง

3

กาไลแผง

รูปถนิมพิมพาภรณ์

คาอธิบาย สังวาล คือ สร้อยของตัวพระ โดยห้อยพาดจากไหล่ไขว้กัน อยู่สองเส้น ตาบทิศ มีลั ก ษณะคล้ ายทั บ ทรวงแต่เล็กกว่า ห้ อยอยู่กับ สังวาลประจาอยู่ที่สะโพกทั้ง สองข้าง ตาบหลั ง มี ลั ก ษณะเหมื อ น ตาบทิ ศ แต่ เล็ ก กว่า ห้ อ ยอยู่ กั บ สั ง ว า ล ต ร ง จุ ด ที่ ประสานกัน ตั ว ตาบหลั งจะ อยู่ประมาณกลางหลัง ทั บ ทรวง มี ลั ก ษณะเป็ น รู ป สี่ เ หลี่ ย มขนมเปี ย กปู น ฝั ง เพชรพลอย ติ ดอยู่ตรงที่ไขว้ สั งว า ล ส ะ พ า ย แ ล่ งทั บ หน้าอก กาไลแผง เป็นเครื่องประดับ สวมข้อ มือ เป็ น แผ่ น เงิน หรือ แผ่ น ทอง ท าเป็ น วงโค้ ง มี ลวดลาย ประดับพลอย


43 ตาราง 8 (ต่อ) ลาดับ 4

ชื่อเรียก ปะวะหล่า

รูปถนิมพิมพาภรณ์

คาอธิบาย ปะวะหล่า เป็นเครื่องประดับ ข้อมืออย่างสายสร้อ ย แต่ทา เป็นลูกกลม ๆ อย่างลูกประ คา ทาด้วยทองบ้าง ด้วยธาตุ อย่างอื่นบ้างแล้วร้อยสลับกัน เป็นพวง แหวนรอบมื อ เป็ น เส้ น ทอง ขดเป็ น วงคล้ ายวงแหวนต่ อ กันไป ใช้สวมข้อมือ

5

แหวนรอบมือ

6

เข็มขัดและ หัวเข็มขัด

เข็มขัด สีทอง ใช้รัดเอว หั วเข็มขัด สีท อง ใส่ไว้ที่เข็ม ขัดเป็นหัวเข็มขัด

7

กาไลเท้า

กาไลเท้า ใช้สวมที่ข้อเท้า

8

แหวนรอบเท้า

แหวนรอบเท้า เป็ นเส้น ทอง ขดเป็ น วงคล้ ายวงแหวนต่ อ กันไป ใช้สวมข้อเท้า


44 1.3 พัตราภรณ์ มีจานวน 8 ชิ้น ได้แก่ กรองศอ ฉลองพระองค์และพาหุรัด สไบกรอง สนับเพลา ผ้านุ่ง รัดสะเอว ห้อยข้าง ห้อยหน้า ตาราง 9 แสดงองค์ประกอบส่วนพัตราภรณ์ (สุมนมาลย์ นิ่มเนติพันธ์, 2537, หน้า 227 – 252) ลาดับ 1

ชื่อเรียก กรองศอ หรือ กรองคอ

2

ฉลองพระองค์ และ พาหุรัด

3

สไบกรอง (พิมพ์รัตน์ นะวะศิริ, 2548, หน้า 68-69)

4

สนับเพลา

รูปพัตราภรณ์

คาอธิบาย กรองศอ เป็นเครื่องประดับที่ เลี ยนแบบมาจากเครื่องทรง ของเจ้าฟ้า เป็นแผ่นผื นผ้ ามี ลักษณะกลม ที่ริมมีรอยโค้ง เป็นหยัก ๆ เมื่อนามาทาเป็น เครื่ อ งละคร จะใช้ ดิ้ น และ เลื่อมปักเป็นลวดลายนก ฉลองพระองค์ เป็ น เสื้ อพระ แขนสั้ น สี ข าวขลิ บ แดง ปั ก ลายอุณาโลม ใช้สวมใส่เวลา แต่งชุดเครื่อง พาหุ รั ด คื อ เครื่ อ งประดั บ ที่ เย็บติดกับปลายเสื้ อแขนสั้ น ของตั ว พระ ด้านบนมี ค วาม โค้งกระดกขึ้น ส ไบ ก รอ ง เป็ น ส ไบ ที่ ใช้ สาหรับห่มไว้เพื่อบอกว่า เป็น ผู้ ห ญิ ง ที่ ถู ก แ ป ล ง เป็ น พราหมณ์ สนั บ เพลา สี ข าวขลิ บ แดง ก า ง เก ง ชั้ น ใน มี ข า ย า ว ประมาณครึ่งน่อง ที่ปลายขา มี เชิ ง ปลายงอนปั ก ด้ ว ยดิ้ น แล้วนุ่งผ้าผ้านุ่งทับ


45 ตาราง 9 (ต่อ) ลาดับ 5

ชื่อเรียก ผ้านุ่ง

รูปพัตราภรณ์

คาอธิบาย ผ้ า นุ่ ง เป็ น ผ้ า ยกสี ข าวทอง นุ่งผ้าแบบไว้จีบหงส์

6

รัดสะเอว

รัดสะเอว สีขาวขลิบแดง ใช้ รั ด เอวเมื่ อสวม เสื้ อ เส ร็ จ เรียบร้อยแล้ว

7

ห้อยข้าง

ห้ อยข้ าง สี ขาวขลิ บ แดง ใช้ มั ด ส อ งข้ างเวล าแต่ งชุ ด เครื่อง เรียกว่าห้อยข้าง

8

ห้อยหน้า

ห้ อ ยหน้ า สี ข าวขลิ บ แดง ใช้ มั ด ที่ เอวแล้ ว ปล่ อ ยชาย ห้ อ ยลงมาตรงกลาง เวลา แต่งชุดเครื่อง


46 2. การแต่งหน้าเกศสุริยงชมดง การแต่งหน้าการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง เป็นการแต่งหน้าตามแบบละครรา และเนื่ องจากผู้ แสดงสวมบทบาทนางเกศสุ ริยงที่ ถูกแปลงเป็ นพราหมณ์ จึ งต้องมีการเขียน อุณ าโลม (ตามข้อมูลนิยามศัพท์เฉพาะในหน้าที่ 4) ไว้ตรงกลางหน้าผาก ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของการแต่งหน้า แบบพราหมณ์

ภาพ 27 การแต่งหน้าเกศสุรยิ งชมดง ที่มา: พิมพ์พร เอี่ยมละออ, 2561

ภาพ 28 อุณาโลมเลขหก ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561

ภาพ 29 อุณาโลมเลขเก้า


47 นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง อาจารย์ สุ ม นมาลย์ นิ่ ม เนติ พั น ธ์ (สุ ม นมาลย์ นิ่ ม เนติ พั น ธ์ , 2537, หน้ า 212) ได้ ก ล่ า วถึ ง นาฏยศั พ ท์ ไว้ ในหนั งสื อ การละครไทยว่ า “ค าว่า นาฏยศั พ ท์ หมายถึ ง ศั พ ท์ ที่ ใช้ ส าหรับ การละคร โดยเฉพาะ แบ่งออกเป็น 3 หมวด คือ 1. นามศัพท์ 2. กิริยาศัพท์ 3. นาฏยศัพท์เบ็ดเตล็ด ดังนี้ 1. นามศัพท์ คือ ศัพท์ที่เรียกชื่อท่าราต่าง ๆ บ่งบอกอาการกิริยาหรือวิธีปฏิบัติท่านั้น ๆ หมายรวมถึง ตาแหน่ง และระดับที่งามอย่างมาตรฐานด้วย ได้แก่ 1.1 กระทบ มี 2 แบบ คือ นั่งกระทบ และยืนกระทบ 1.1.1 นั่งกระทบ คือ การกระแทกตัวตั้งต้นด้วยการนั่งคุกเข่าแข็ง ลงหน้าขาทั้งสองข้าง ยกก้น ขึ้นเล็กน้อยแล้วกระแทกตัวลงทาจังหวะเหมือนอาการสะดุ้ง 1.1.2 ยืนกระทบ คือ การกระทบเข่า และกระทบส้น 1.2 วง คือ ส่วนโค้งของลาแขน ได้แก่ วงบน วงล่าง วงกลาง วงหน้า วงหงาย 1.2.1 วงบน ตัวพระจะกันวงออกข้างลาตัวเฉียงมาทางด้านหน้าเล็กน้อย (แนวเดียวกันกับ หน้ าขาที่เปิ ดออก) ยกขึ้นให้ ป ลายมืออยู่ในระดับแง่ศีรษะ ตัว นาง จะกัน วงเฉียงมา ด้านหน้ามากกว่าตัวพระเล็กน้อย และลดระดับวงให้ให้อยู่ที่ระดับหางคิ้ว 1.2.2 วงล่าง มือที่ตั้งวงอยู่บริเวณหัวเข็มขัดหรือชายพก ตัวพระจะกันกว้างออกไปอีกเล็กน้อย 1.2.3 วงกลาง ทั้งตัวพระและตัวนาง ลดระดับวงลงให้สูงเพียงระดับหัวไหล่ ทอดลาแขนให้โค้ง ไปด้านหน้า ปลายมือชี้เข้าระดับปาก เช่นเดียวกันทั้งตัวพระ และตัวนาง 1.2.4 วงหงาย หรือ วงบัวบาน เป็นวงพิเศษที่มีลักษณะไม่เป็นเส้นโค้ง กล่าวคือท่อนขนบน และล่างและและข้อมือหักเป็นมุม ฝ่ ามือที่ตั้งวงจะหงายขึ้น ปลายนิ้วจะชี้ออกด้านข้าง (เช่น ท่าพรหมสี่หน้า) หรือตกลงด้านล่าง (เช่น ท่านางนอน) 1.3 จีบ คือ การจรดปลายนิ้วหัวแม่มือที่ข้อแรกของปลายนิ้วชี้ นิ้วที่เหลือทั้งสามกรีดออกไปด้านหลัง มือให้มากที่สุด ที่สาคัญคือ จะต้องหักข้อมือเข้าหาลาแขนให้มากที่สุด ท่าจีบแบบเป็น จีบหงาย จีบคว่า จีบปรกข้าง จีบหลัง 1.3.1 จีบหงาย คือ การจีบที่หงายฝ่ามือขึ้น ปลายนิ้วที่จีบชี้ขึ้น 1.3.2 จีบคว่า คือ การจีบที่คว่ามือลง ปลายนิ้วที่จีบชี้ลงเบื้องล่าง 1.3.3 จีบ ปรกหน้ า หรื อ จีบ ตลบหน้ า คื อ การจีบ ที่อยู่ระดั บใบหน้า หั นปลายนิ้ วที่ จีบชี้ ที่ บริเวณดวงตา 1.3.4 จีบปรกข้าง ลักษณะคล้ายวงบัวบานระดับสูง แต่หักข้อมือที่จีบเข้าหาแง่ศีรษะ 1.3.5 จี บ หลั ง หรื อ จี บ ส่ งหลั ง คื อ การทอดแขนไปด้านหลั งให้ ตึ ง มื อ ที่ จีบ พลิ ก หงายขึ้ น ด้านบน การจีบส่งหลังจะต้องเหยียดออกไปด้านหลังให้สุดและปลายนิ้วที่จีบจะไม่ชี้ เข้า มาที่ก้นโดยเด็ดขาด


48 1.4 ประ คือ อาการของเท้าข้างใดข้างหนึ่ง ใช้จมูกเท้าตบพื้นเบา ๆ แล้วยกขึ้น โดยให้อีกเท้าหนึ่งยืน ย่อเข่ารับน้าหนักตัว การประเท้าของตัวพระและตัวนางจะแตกต่างกันตรงที่ตัวพระต้องแยกหรือ แบะเข่าออกให้ ได้ เหลี่ ย ม แล้ ว จึงประเท้ าที่ ป ระแล้ ว ยกขึ้น สู งระดับ กลางน่องของขาที่ยืน รับ น้าหนัก ปลายเท้าชี้ออกด้านข้าง ส่วนตัวนางไม่แบะเข่า ยืนให้เท้าที่จะเตรียมประเหลื่อมจากเท้า ที่รับน้าหนักไปข้างหน้าประมาณครึ่งเท้า เมื่อประแล้วยกเท้าขึ้นสูงระดับครึ่งน่อง ปลายเท้าชี้ ออกด้านหน้า ถ้าจะให้ดูงามยิ่งขึ้นจะต้องกระดกปลายนิ้วเท้าให้งอนขึ้นเล็กน้อยทั้งตัวพระและตัว นาง 1.5 กระดก คือ อาการปฏิบัติต่อเนื่องจาการกระทุ้ง โดยยืนขาเดียวย่อเข่าโดยใช้ เท้าหน้าที่ยืนย่อเข่า อยู่รับน้าหนักตัว ถีบเข่าหรือส่งเข่าข้างที่ยกนั้น ไปทางด้านหลัง แล้วหนีบน่องให้ฉี กต้นขามาก ที่ สุ ด (เท้ า ที่ ย กจะต้ อ งอยู่ ใกล้ กั น ให้ ได้ ม ากที่ สุ ด ) หั ก ข้ อ เท้ าลงให้ ป ลายเท้ า ตกลงเบื้ อ งล่ า ง การกระดกเท้าอาจต่อเนื่องจากกระทุ้งเท้าก็ได้หรือกระดกโดยไม่กระทุ้งก็ได้ ตัวพระเมื่อกระดก เท้าจะต้องกันเข่าหรือเปิดเข่าให้ขากางออกจากขาที่ยืนรับน้าหนักตัวอยู่ กระดกนี้แบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ กระดกหลัง และกระดกเสี้ยว 1.5.1 กระดกหลัง คือ อาการของเท้าที่กระดกไปข้างหลัง เมื่อมองจากด้านหน้าจะไม่เห็นเท้า หลังที่กระดกเลย 1.5.2 กระดกเสี้ ย ว คื อ อาการของเท้ าที่ ก ระดกอยู่ ด้านข้างของล าตั ว โดยให้ เท้ าที่ ยืน รั บ น้าหนักหันปลายเท้าไปด้านหลัง 1.6 จรดเท้า คือ กิริยาที่จมูกเท้าแตะลงบนพื้ น โดยส้นเท้าจะลอยขึ้นจากพื้นเล็กน้อย สามารถปฏิบัติ ได้ทั้งในขณะที่ขาที่ยืนน้าหนักเหยียดตรงหรือย่อลง 1.7 ล่อแก้ว เป็นลักษณะมือพิเศษ โดยใช้ปลายนิ้วกลางขัดที่ข้อแรกของนิ้วหัวแม่มือเป็นรูปวงกลม นิ้ว ทีเ่ หลือเหยียออกไปด้านหลัง พร้อมหักข้อมือเข้าหาลาแขน 1.8 ก้าวเท้า คือ การวางเท้าที่ยกลงสู่พื้น โดยวางส้นเท้าลงก่อน แล้วจึงตามด้วยปลายเท้า ทิ้งน้าหนัก ตัวลงไปยังเท้าที่ก้าวให้หมด การก้าวเท้ามี 2 วิธี คือ ก้าวหน้า และกาวข้าง 1.8.1 ก้าวหน้ า หมายถึง การก้าวเท้ าไปข้างหน้า ตัว พระจะต้องแบะเข่าออกให้ ได้เหลี่ ยม ปลายเท้าที่กาวจะเฉียงไปทางด้านข้างเล็กน้อย กันให้ส้นเท้าหน้าอยู่ในแนวกันกับหัวแม่ เท้าหลัง ห่างกันประมาณหนึ่งคืบ เท้าหลังเปิดส้นเท้า สาหรับตัวนางไม่แบะเข่า และ ก้าวเท้าให้ปลายเท้าชี้ค่อนไปทางด้านหน้า ห่างจากส้นเท้าหลังที่เปิดส้นเท้าขึ้นประมาณ หนึ่งคืบ 1.8.2 ก้าวข้าง หมายถึง การก้าวเท้าเฉียงไปทางด้านข้างของเท้าที่ยก จะเป็นเท้าข้างใดก็ได้ ในขณะที่ลาตัวอยู่ด้านหน้า ตัวพระจะก้าวเฉียงออกจากด้านข้างให้มากกว่าก้าวหน้า ส าหรับ ตั ว นางก้าวข้างจะต้ องกะปลายเท้ ากับ ส้ นเท้ าหลั งให้ อยู่ ในแนวเฉีย งห่ างกั น ประมาณหนึ่งคืบ


49 1.9 กระทุ้ง คือ อาการที่ใช้จมูกเท้าที่วางเปิดส้นเท้าอยู่ด้านหลัง (ปฏิบัติต่อเนื่องจากการก้าวหน้าหรือ ก้าวข้าง) กระทุ้งลงกับพื้นเบา ๆ 1.10 ถัดเท้า คือ การใช้จมูกเท้าข้างใดข้างหนึ่ง ถัดหรือกับพื้นเบา ๆ ให้เท้าลอยแล้วจึงวางลง โดย ให้เท้าอีกด้านหนึ่งย่าอยู่กับที่ หรือก้าวเดิน เช่น การเดินโดยถัดเท้า ในจังหวะหน้าทับเพลงเร็ว “ตุ๊บ ทิ ง ทิง ” จะต้องเริ่ มก้าวเท้าซ้ายก่อน ในจังหวะตุ๊บ แล้ ว ถัดเท้าขวาในจังหวะทิง (แรก) แล้ววางเท้าขวาลงในจังหวะ ทิง (ที่ 2) เป็นต้น การถัดเท้าสามารถถัดได้ทั้งเท้าซ้ายและเท้าขวา ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของแต่ละกระบวนท่ารา 1.11 ซอยเท้า คือ การย่าเท้าถี่ ๆ ของเท้าที่อยู่เสมอกัน ให้ตัวเคลื่อนไปในทิศทางต่าง ๆ หรือยู่กับที่ 1.12 ขยั่นเท้า คือ การย่าเท้าถี่ ๆ ของเท้าที่เสมอกัน หรือไว้กัน ให้เคลื่อนไปในข้างหน้า หรือด้านข้าง 1.13 ฉายเท้า คือ การใช้เท้าข้างใดข้างหนึ่งยืนเป็นหลัก ส่วนเท้าอีกข้างหนึ่งใช้จมูกเท้าจรดพื้น เปิดส้น ขึ้น แล้วฉายหรือลากจมูกเท้าไปด้านข้าง ในลักษณะครึ่งวงกลม 1.14 สะดุดเท้า คือ การใช้เท้าข้างหนึ่งยืนเป็นหลัก ส่วนเท้าอีกข้างหนึ่งนั้นไสเท้าออกไปด้านหน้าหรือ ด้านข้างอย่างแรง พร้อมทิ้งน้าหนักตัวไปด้วย 2. กิ ริ ย าศั พ ท์ คื อ ศั พ ท์ เพื่ อ เสริ ม วิ ธี ป ฏิ บั ติ ห รือ กิ ริ ย าของท่ า ว่ าเป็ น ไปในลั ก ษะงามหรื อ ไม่ เพี ย งใด แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ศัพท์เสริม และศัพท์เสื่อม 2.1 ศัพท์เสริม คือ คาที่แสดงวิธีปฏิบัติหรือกิริยาของท่าที่มุ่งหวังให้ได้มาตรฐานขึ้ น ให้งามมากขึ้น มีดังนี้ 2.1.1 ทรงตัว หมาถึง ลักษณะของลาตัวตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้าให้ตั้งตรง 2.1.2 กันวง หมายถึง ลักษณะของวงให้อยู่ในระดับ ทั้งพระและนางกันออกข้าง ๆ 2.1.3 ลดวง หมายถึง ลดระดับปลายนิ้วและส่วนแขนให้ลาดลงกว่าเดิม 2.1.4 ส่งมือ หมายถึง ต้องการยกระดับปลายมือให้สูงขึ้น 2.1.5 ตึงมือ หมายถึง ให้เก็งมือขึงให้ตึง อย่าหย่อน 2.1.6 ตึงเอว หมายถึง ให้ส่วนหลังตรงสะเอวต้องตั้งตรงอยู่เสมอ 2.1.7 ตึงไหล่ หมายถึง ให้แบะไหล่ทั้งคู่ไม่ห่อ 2.1.8 กดไหล่ หมายถึง ให้เอียงไหล่ โน้มตัวไปข้างใดข้างหนึ่ง 2.1.9 ทับตัว หมายถึง ไม่ปล่อยให้หงายไปข้างหลัง 2.1.10 ถีบเข่า หมายถึง กิริยากระดกที่ต้องส่งเข่าไปข้างหลังมาก ๆ 2.1.11 หักข้อ หมายถึง หลักของการราต้องหักข้อมือเข้าหาลาแขน หักข้อเท้ าทุกครั้งเมื่อเวลา ยกเท้าหรือกระดกเท้า เป็นกิริยาที่ใช้ทั้งมือและเท้า ท่าราจะสวยหรือไม่อยู่ที่การหักข้อ 2.1.12 ตักตัว หมายถึง การย้อนตัวหนักหลัง แล้วกลับมาหนักหน้า และลักคอพร้อมกับยั้งเท้า ข้างที่กาลังจะก้าวไปด้านหน้า จากนั้นก้าวไปด้านหน้าพร้อมกับลักคอแล้วกลับมาเอี ยง มองมื อ ข้ า งที่ ก าลั ง ปฏิ บั ติ เมื่ อ มี ก ารยั้ ง เท้ า จึ ง มี ก ารลั ก คอ แล้ ว เมื่ อ ก้ า วเสร็ จ แล้ ว จึงกลับมาเอียงตามปกติ


50 2.2 ศัพท์เสื่อม คือ คาที่แสดงวิธีปฏิบัติหรือกิริยาของท่าที่แสดงระดับที่ไม่ได้มาตรฐาน เพื่อบอกกล่าว ให้ผู้ราแก้ไขกิริยาท่านั้นให้ถูกต้องตามมาตรฐาน 2.2.1 วงล้า คือ วงที่ต่ากว่ามาตรฐาน 2.2.2 วงคว่า คือ กิริยาวงที่ข้อศกโก่งขึ้น เพราะไม่หงายท้องแขน 2.2.3 วงเหยียด คือ การตั้งวงที่ไม่งอแขน ยกแยกเหยียดยาวยื่นไป 2.2.4 วงหัก คือ การหักของลาแขนเข้ามากเกินไป ตรงข้ามกับวงเหยียด 2.2.5 วงล้น คือ การตั้งวงที่เดินระดับแง่ศีรษะ 2.2.6 ฟาดคอ คือ การเอียงศีรษะมากไปจนคออ่อนคอพับ 2.2.7 ราเลื้อย คือ ท่วงทีราในการเปลี่ยนท่าไม่กระชับจังหวะ 2.2.8 ราลน คือ การราก่อนจังหวะ 3. นาฏยศั พ ท์ เบ็ ด เตล็ ด คื อ ค าที่ มี ค วามหมายเฉพาะนอกเหนื อ จากนามศั พ ท์ แ ละกิ ริ ย าศั พ ท์ มีความหมายที่เข้าใจตรงกัน และปฏิบัติตรงตามกันสืบเนื่องมา” กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่ การแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด เกศสุ ริ ย งชมดง เป็ น การร าตี บ ทตามบทละครที่ ก ล่ า วถึ ง การเดินทางของนางเกศสุริยงไปในป่าเพียงลาพังที่มีการชมพรรณไม้ต่าง ๆ ในป่า แต่มีความรู้สึกเหงา และความโศกเศร้าเพราะคิดถึงสามี ในการแสดงสามารถแบ่งกระบวนท่าราออกเป็น 9 ช่วง ตามทานอง เพลง โดยมีท่ารา จานวน 85 ท่า ดังนี้ ช่วงที่ 1 ใช้ทานองเพลงรัว ช่วงที่ 2 ใช้ทานองมอญแปลง ช่วงที่ 3 ใช้ทานองสร้อย ช่วงที่ 5 ใช้ทานองเพลงโอด ช่วงที่ 6 ใช้ทานองเพลงกระบอกทอง ช่วงที่ 7 ใช้ทานองเพลงร่ายรุด ช่วงที่ 8 ใช้ทานองเพลงรัว ช่วงที่ 9 ใช้ทานองเพลงเขมรราชบุรี


51 ตาราง 10 แสดงท่าราการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา ปี่พาทย์ทาเพลงรัว

1

อธิบายท่ารา ท่าสอดสร้อยมาลา ศีรษะ: เอียงซ้าย มือ: มือขวาถือศรตั้งวงบน มือซ้ายจีบที่ชายพก เท้า: วางเท้าซ้ายไป ด้านหน้า เปิดส้นเท้า หลัง วิ่งซอยเท้า ออกมา ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: จนหมดห้องเพลง

ปี่พาทย์ทาเพลงรัว 2

ท่าเตรียมกลายมือลง ศีรษะ: เอียงซ้าย มือ: มือขวาถือศรหักข้อมือ ลง มือซ้ายตั้งวงหน้ า ระดับอก เท้า: เท้าซ้ายเลื่อมเท้าขวา ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: ลงท้ายจังหวะ

3

ท่ากลายมือลง ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือทั้งสองกลาย ออกเป็น มือขวาถือ ศรตั้งวงบน มือซ้าย ส่งจีบหลัง เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้ายนั่งทับ ส้น

ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: หมดจังหวะเพลง


52 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

4

เมื่อนั้น

5

โฉมเจ้า

ภาพท่ารา ปี่พาทย์ทาเพลงมอญแปลง

อธิบายท่ารา ท่านั่ง ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือขวาถือศรระดับวง ล่าง มือซ้ายวางไว้บน หน้าขา จากนั้นกลาย มือซ้ายแล้ววางมือไว้ ที่หน้าขาเช่นเดิม มือ ขวาปฏิบัติเช่นเดิม เท้า: นั่งทับส้น ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: กระทบ 2 ครั้ง เตรียมจีบเข้าอก ศีรษะ: เอียงซ้าย มือ: ตั้งมือซ้ายระดับอก มือขวาปฏิบัติเช่นเดิม เท้า: นั่งทับส้น ทิศ: หน้า กลางเวที จั ง หวะ: กระทบจั ง หวะ 1 ครั้ง


53 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา ปี่พาทย์ทาเพลงมอญแปลง

อธิบายท่ารา

6

พราหมณี

จีบเข้าอก ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือซ้ายจีบหงายระดับ อก มือขวาปฏิบัติ เช่นเดิม เท้า: นั่งทับส้น ทิศ: หน้า กลางเวที จั ง หวะ: กระทบจั ง หวะ 1 ครั้ง

7

สีใส

ท่าเฉิดฉิน ศีรษะ: เอียงขวา มื อ : เลื่ อ นมื อ ซ้ า ยขึ้ น มา ระดับปาก มือขวาถือ ศรตั้ ง วงบน จากนั้ น ม้วนจีบมือซ้ายเป็นตั้ง วงหน้ า มื อ ขวาพลิ ก ศรลงมื อ เป็ น ท่ า บั ว บาน เท้า: นั่งกระดกเสี้ยวขวา ทิศ: หน้า กลางเวที จั ง หวะ: กระทบจั ง หวะ 2 ครั้ง


54 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา ปี่พาทย์ทาเพลงมอญแปลง

อธิบายท่ารา

8

เห็นโกสีย์

ท่ามอง ศีรษะ: เอียงขวา มื อ : มื อ ซ้ า ยตั้ ง วงบน มื อ ขวาถื อ ศรระดั บ วง ล่าง เท้า: ตั้งเข่าเท้าซ้าย ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: หมดราร้อง

9

เหาะกลับ

ท่าเหาะ ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือซ้ายตั้งวงแทงมือลง ระดั บ ข้ า งล าตั ว มื อ ขวาหั กข้อมื อแทงศร ลงระดั บ ข้ า งล าตั ว จากนั้ น มื อ ซ้ ายตั้ งวง แขนตึ ง มื อ ขวาพลิ ก ศรขึ้นแล้ วพลิกให้ หั ว ศรตก เป็นมือบัวบาน ระดับข้างลาตัว เท้า: นั่งกระดกเสี้ยวขวา ทิศ: หน้า กลางเวที จั ง หวะ: กระทบจั ง หวะ 2 ครั้ง


55 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา ปี่พาทย์ทาเพลงมอญแปลง

อธิบายท่ารา

10

ลับไป

ท่ามอง ศีรษะ: เอียงขวา มื อ : เปลี่ ย นมื อ ถื อ ศรเป็ น มื อ ซ้ า ย มื อ ขวาจี บ ปรกข้ างแล้ ว ม้ ว นมื อ อกเป็นตั้งวงบน เท้า: นั่งทับส้น ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: หมดราร้อง

11

ให้เปลี่ยวเปล่า เศร้าใน

ท่าจีบเข้าอก ศีรษะ: เอียงขวา มื อ : เปลี่ ย นมื อ ถื อ ศรเป็ น มื อ ขวา มื อ ซ้ า ยจี บ หงายระดั บ อก เอี ย ง ขวา เท้า: นั่งตั้งเข่าซ้ายแล้ วลุ ก ขึ้นยืน ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: หมดราร้อง


56 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

12

วิญญาณ์

ภาพท่ารา ปี่พาทย์ทาเพลงมอญแปลง

อธิบายท่ารา ท่าเศร้า ศีรษะ: เอียงซ้าย มือ: มือซ้ายตั้งวงระดับอก มือ ขวาถือ ศรแขนตึ ง ระดับไหล่ จากนั้นมือ ซ้ายเลื่อนมาจีบหงาย ระดั บ อก มื อ ขวาถื อ ศรตั้งวงล่าง เท้า: สะดุดเท้าซ้าย จาก นั้นลากเท้ากลับมา ทิศ: วิ่งไปทางด้านซ้ายของ เว ที แ ล้ ว ล า ก เท้ า กลับมาตรงกลางเวที จังหวะ: หมดราร้อง

ทานองสร้อย 13

เจ้าพราหมณ์ แปลง

ท่าจีบเข้าอก ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือซ้ายจีบหงายระดับ อก มื อ ขวาถื อ ศรตั้ ง วงล่าง เท้า: ยกเท้าขวา ทิ ศ : ด้ า นหน้ า ตรงกลาง เวที จังหวะ: หมดราร้อง


57 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

14

จาแลงกาย

15

เยื้องยาตร์

ภาพท่ารา ทานองสร้อย

อธิบายท่ารา ท่าแปลงกาย ศีรษะ: เอียงซ้าย มือ: มือทั้งสองจีบคว่าแขน งอระดั บ อก จากนั้ น ยืดยุบ แล้วมือทั้งสอง กลายออก เท้า: วางเท้าซ้าย ก้าวข้าง เท้ า ข ว า แ ล้ ว วิ่ ง หมุนรอบตัว ทิศ: ตรงกลางเวที จังหวะ: ยืด ยุบ 1 ครั้ง ท่าเยื้องกราย ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือซ้ายตั้งวงแทงมือลง ที่ ข้ า งล าตั ว มื อ ขวา หั ก ข้ อ มื อ แทงศรลง จากนั้ น มือ ซ้ ายตั้ งวง แขนตึงระดับไหล่ มือ ขวาพลิ ก ศรขึ้ น แล้ ว พ ลิ ก ให้ หั ว ศ ร ต ก ระดับข้างลาตัว เท้า: ก้าวหน้าเท้าขวา ขยั่น เท้าไปทางซ้าย ทิศ: ตรงกลางเวที จังหวะ: ยืดยุบ 1 ครั้ง


58 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

16

กราย

17

มาในป่า

ภาพท่ารา ทานองสร้อย

อธิบายท่ารา ท่าเยื้องกราย ศีรษะ: เอียงซ้าย มือ: มือซ้ายจีบคว่าแล้วตั้ง วงแทงมื อ ลงระดั บ ข้างล าตัว มือขวาตั้ ง ศรขึ้ น แขนตึ ง ระดั บ ไหล่ เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้าย พร้อมกับขยั่นเท้าไป ทางด้านขวา ทิ ศ : ด้ า นหน้ า ตรงกลาง เวที จังหวะ: ยืดยุบ 1 ครั้ง ท่าม้วนมือชี้นิ้ว ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือขวาถือศรระดับวง ล่ า ง มื อ ซ้ า ยเก็ บ มื อ เหลื อ แค่ นิ้ ว ชี้ แล้ ว ม้วนมือเข้าหาตัวแล้ว หมุนออก เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิ ศ : ด้ า นหน้ า ตรงกลาง เวที จังหวะ: หมดคาร้อง


59 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

18

ใฝ่คะนึง

19

ถึงภัสดา

ภาพท่ารา ทานองสร้อย

อธิบายท่ารา ท่านึกถึง ศีรษะ: เอียงขวา มื อ : เปลี่ ย นมื อ ถื อ ศรเป็ น มื อ ซ้ า ย ตั้ ง ศ ร ไว้ ด้านหน้ า มื อขวาหั ก ข้อมือ กามือและกรีด นิ้ ว แล้ ว น าไปไว้ ใ ต้ คาง ศอกมือขวาวาง ขัดกับศร เท้า: เท้ายืนท่าตัวพระ ทิ ศ : ด้ า นหน้ า ตรงกลาง เวที จังหวะ: หมดคาร้อง ท่าไว้มือ ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือซ้ายถือศรระดับวง ล่ าง มื อขวาตั้ งวงกด ข้ อ มื อ ลงแล้ ว ตั้ ง มื อ ขึ้น เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิ ศ : ด้ า นหน้ า ตรงกลาง เวที จังหวะ: หมดคาร้อง


60 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

20

พ่อคู่ชีวา

21

ของน้องเอย

ภาพท่ารา ทานองสร้อย

อธิบายท่ารา ท่าประสานนิ้ว ศีรษะ: เอียงซ้าย มื อ : เปลี่ ย นมื อ ถื อ ศรเป็ น มื อ ขวา ซ้ า ยเก็ บ นิ้ ว มือเหลือแค่นิ้วชี้ แล้ว หั ก ข้ อ มื อ ขึ้ น ตั้ งมื อ คู่ กับมือขวา เท้า: ถอยเท้าซ้าย ก้าวข้าง เท้าขวา ทิศ: ตรงกลางเวที จังหวะ: หมดคาร้อง ท่าเศร้า ศีรษะ: เอียงซ้าย มือ: มือซ้ายตั้งวงระดับอก มือ ขวาถือ ศรแขนตึ ง จากนั้ น มื อ ซ้ ายเลื่ อ น มาจี บ ระดั บ อก มื อ ขวาถือศรตั้งวงล่าง เท้า: สะดุดเท้าซ้าย จากนั้นลากเท้า กลับมา ทิศ: วิ่งไปทางด้านซ้ายของ เว ที แ ล้ ว ล า ก เท้ า กลับมาตรงกลางเวที จังหวะ: หมดราร้อง


61 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

22

ชื่นใจเอย

ภาพท่ารา ทานองสร้อย

อธิบายท่ารา ท่ารัก ศีรษะ: เอียงขวา มื อ : มื อ ทั้ ง สองแบมื อ เข้ า หาตัว เท้า: ถอนเท้าซ้าย ยืนเปิด จมูกเท้าขวา ทิ ศ : ด้ า นหน้ า ตรงกลาง เวที จังหวะ: หมดราร้อง

พากย์ชมดง 23

สุริยง

ท่าจีบเข้าอก ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือซ้ายจีบหงายระดับ อก มื อ ขวาถื อ ศรตั้ ง วงล่าง เท้า: ยกเท้าขวา ทิ ศ : ด้ า นหน้ า ตรงกลาง เวที จังหวะ: หมดราร้อง


62 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

24

แปลงองค์

25

เป็นพราหมณ์

ภาพท่ารา พากย์ชมดง

อธิบายท่ารา ท่าแปลงกาย ศีรษะ: เอียงซ้าย มือ: มือทั้งสองจีบคว่าแขน งอระดั บ อก จากนั้ น ยื ด ยุ บ มื อ ทั้ งส อ ง กลายออก เท้า: วางเท้าซ้าย ก้าวข้าง เท้ า ข ว า แ ล้ ว วิ่ ง หมุนรอบตัว ทิ ศ : ด้ า นหน้ า ตรงกลาง เวที จังหวะ: ยืด ยุบ 1 ครั้ง ท่านางนอนแขนตึง ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มื อขวาหั กข้อ มือ แล้ ว ม้วนศรออก ให้หัวศร ต่ อ ศอกมื อ ซ้ า ย มื อ ซ้ า ย ตั้ ง ว ง ก ล า ง จากนั้ น พลิ ก มื อ ลง เป็นวงบัวบานแขนตึง เท้า: กระดกเสี้ยวขวา ทิ ศ : ด้ า นหน้ า ตรงกลาง เวที จังหวะ: หมดคาร้อง


63 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

26

จุลเจิม

27

เฉลิมงาม

ภาพท่ารา พากย์ชมดง

อธิบายท่ารา ท่าเจิมหน้าผาก ศีรษะ: เอียงขวา มื อ : มื อ ข ว า ถื อ ศ ร ขั ด ไว้ ด้ า นหลั ง มื อ ซ้ า ยเก็ บ มื อ เห ลื อ แ ค่ นิ้ ว โป้ ง แล้ วดึ งมื อ มาตั้ งขึ้ น ระดับหน้าผาก เท้ า : ทิ้ ง ตั ว ไปด้ า นหน้ า แล้ ว ย้อนตัวกลั บมายืนแตะ เท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า ตรงกลางเวที จังหวะ: หมดคาร้อง ท่าเฉิดฉิน ศีรษะ: เอียงขวา มื อ : มื อ ซ้ า ยตั้ ง วงหน้ า มื อ ขวาพลิ ก ศรลงมื อ เป็ น ท่าบัวบาน เท้า: ยกเท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า ตรงกลางเวที จังหวะ: หมดคาร้อง


64 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

28

เดินตามพนัส

29

แนวดง

ภาพท่ารา พากย์ชมดง

อธิบายท่ารา ท่าเดิน ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือทั้งสองจีบคว่าทาง ด้ า นขวาแล้ ว ปล่ อ ย มื อ เป็ น ตั้ ง วงพร้ อ ม กั บ เ ลื่ อ น มื อ ไ ป ทางด้านซ้าย เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิ ศ : ด้ า นหน้ า ตรงกลาง เวที จังหวะ: เดิน 1 ครัง้ ท่าม้วนมือชี้นิ้ว ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือขวาถือศรระดับวง ล่ า ง มื อ ซ้ า ยเก็ บ มื อ เหลื อ แค่ นิ้ ว ชี้ แล้ ว ม้วนมือเข้าหาตัวแล้ว หมุนออก เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้าย แล้ว ซอยเท้า ทิศ: ทางซ้าย แล้ วกลับมา กลางเวที จังหวะ: หมดคาร้อง


65 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ 30

บทร้อง

ภาพท่ารา พากย์ชมดง (รับ)

อธิบายท่ารา ท่ารับ ท่าผาลา ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือขวาถือศรตั้งวงบน หั ก ข้ อ มื อ เข้ า หาตั ว มื อ ซ้ า ยตั้ ง วงกลาง จากนั้ น ม้ ว นมื อ ขวา เป็นตั้งวงบน มือซ้าย พลิ ก มื อ ลงเป็ น วงบั ว บาน เท้า: วิ่งซอยเท้ารอจังหวะ ลง จากนั้ น ก้ า วข้ า ง เท้ า ซ้ า ยแล้ ว ยกเท้ า ขวา ทิศ: ทางซ้าย แล้ วกลับมา กลางเวที จั ง หวะ: เมื่ อ ถึ ง จั ง หวะลง ให้ ห่ ม เข่ า ลง 1 ครั้ง


66 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา พากย์ชมดง

อธิบายท่ารา

31

ไม้ใหญ่

ท่าชี้ต้นไม้ใหญ่ ศีรษะ: เอียงซ้าย มื อ : เปลี่ ย นมื อ ถื อ ศรเป็ น มื อ ซ้ า ยระดั บ วงล่ า ง มื อ ขวาขี้ นิ้ ว ระดั บ วง บนแขนงอ เท้า: กระดกเสี้ยวซ้าย ทิศ: ด้านขวาของเวที จังหวะ: หมดคาร้อง

32

ยางยูง

ท่าชี้ต้นต้นยางยูง ศีรษะ: เอียงขวา มื อ : เปลี่ ย นมื อ ถื อ ศรเป็ น มือ ขวา ระดับ วงล่ าง มื อ ซ้า ยขี้ นิ้ ว ระดั บ วง บนแขนงอ เท้า: กระดกเสี้ยวขวา ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: หมดคาร้อง


67 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ 33

บทร้อง

ภาพท่ารา พากย์ชมดง (สร้อย)

อธิบายท่ารา ท่าตักตัว ศี ร ษะ: ศี ร ษะลั ก คอซ้ า ย แล้ ว กลั บ ไปเอี ย ง ขวา มือ: มือขวาปฏิบัติเช่นเดิม มือซ้ายม้วนข้อมือเข้า หาตั ว แล้ ว กลั บ ไปขี้ นิ้ ว เช่ น เดิ ม มื อ ขวา ปฏิ บั ติ เ ช่ น เดิ ม มื อ ซ้ายม้วนข้อมือเข้าหา ตั ว แล้ ว กลั บ ไปขี้ นิ้ ว เช่นเดิม เท้ า : วางเท้ า ขวายั้ ง เท้ า แล้วก้าวหน้าเท้าขวา จากนั้ น ยั้ ง เท้ า ซ้ า ย แล้วก้าวข้างเท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จั ง หวะ: ตั ก ตั ว ทั้ ง หมด 3 ครั้ง


68 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา พากย์ชมดง

อธิบายท่ารา

34

สูงระหง

ท่าต้นไม้สูง ศีรษะ: เอียงขวา มื อ: มื อ ซ้ ายคว่ ามื อกดนิ้ ว ลงตั้งมือระดับอก มือ ป ฏิ บั ติ เ ช่ น เ ดิ ม จากนั้ น ก้ า วข้ า งเท้ า ซ้ า ย แล้ ว ดึ ง มื อ ซ้ า ย ให้อยู่ระดับวงบน เท้า: กระดกเสี้ยวขวา ทิศ: ด้านซ้ายของเวที จังหวะ: ยืดตัวขึ้น

35

ปรางปริง

ท่าชี้ต้นไม้ใกล้ๆ ศีรษะ: เอียงซ้าย มื อ : เปลี่ ย นมื อ ถื อ ศรเป็ น มื อ ซ้ า ยระดั บ วงล่ า ง มือ ขวาขี้นิ้ ว ระดั บ วง บน เท้า: ก้าวข้างเท้าขวา ทิศ: กลางเวที หั นเฉียงไป ขวา จังหวะ: ชี้ 2 ครั้ง


69 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา พากย์ชมดง

อธิบายท่ารา

36

ปรูปรง

ท่าชี้ต้นไม้ใกล้ ๆ ศีรษะ: เอียงขวา มื อ : เปลี่ ย นมื อ ถื อ ศรเป็ น มือขวา ระดับวงล่ าง มือซ้ายขี้นิ้ วระดับ วง กลาง เท้า: ก้าวข้างเท้าซ้าย ทิศ: กลางเวที หั นเฉียงไป ซ้าย จังหวะ: ชี้ 2 ครั้ง

37

คันทรง

ท่าชี้ต้นไม้ใกล้ ๆ ศีรษะ: เอียงซ้าย มื อ : เปลี่ ย นมื อ ถื อ ศรเป็ น มื อ ซ้ า ยระดั บ วงล่ า ง มือ ขวาขี้นิ้ ว ระดั บ วง บนกลาง เท้า: ก้าวข้างเท้าขวา ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: ชี้ 1 ครั้ง


70 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

38

ส่งกลิ่น

39

ฝิ่นฝาง

ภาพท่ารา พากย์ชมดง

อธิบายท่ารา ท่าส่งกลิ่น ศีรษะ: เอียงขวา มื อ : เปลี่ ย นมื อ ถื อ ศรเป็ น มือขวา ระดับวงล่ าง มือซ้ายจีบระดับปาก แล้ ว ม้ ว นมื อ อกเป็ น ตั้งวง กลาง เท้า: ก้าวข้างเท้าซ้าย แล้ว วิ่งซอยเท้า ทิ ศ : ด้ า นหน้ า กลางเวที แล้วหมุนรอบตัว จังหวะ: หมดคาร้อง ท่าชี้ต้นฝิ่นฝาง ศีรษะ: เอียงซ้าย มื อ : เปลี่ ย นมื อ ถื อ ศรเป็ น มื อ ซ้ า ยระดั บ วงล่ า ง มือ ขวาขี้นิ้ ว ระดั บ วง บนกลางแขนตึง เท้า: กระดกเสี้ยวเท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: หมดคาร้อง


71 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ 40

บทร้อง

ภาพท่ารา พากย์ชมดง (รับ)

อธิบายท่ารา ท่ารับจีบยาว ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือขวาถือศรตั้งวงบน หั ก ข้ อ มื อ เข้ า หาตั ว มื อ ซ้ า ยตั้ ง วงกลาง จากนั้ น ม้ ว นมื อ ขวา เป็นตั้งวงบน มือซ้าย พ ลิ ก มื อ ลงเป็ น จี บ หงายแขนตึ ง ระดั บ ไหล่ เท้า: วิ่งซอยเท้ารอจังหวะ ลง จากนั้ น ก้ า วข้ า ง เท้ า ซ้ า ย พร้ อ มกั บ ยกเท้าขวา ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จั ง หวะ: เมื่ อ ถึ ง จั ง หวะลง ให้ ห่ ม เข่ า ลง 1 ครั้ง


72 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา พากย์ชมดง

อธิบายท่ารา

41

ไทรย้อย

ท่าจีบย้อย ศี ร ษ ะ: ทิ้ งห น้ าออกม า เอียงขวา มือ: มือซ้ายจีบปรกข้างเข้า ตั ว มื อ ขวาถื อ ศรหั ก ข้อมือเข้าหาตัว เท้า: ก้าวข้างเท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: หมดคาร้อง

42

ห้อยระย้า

ท่าจีบย้อย ศี ร ษ ะ: ทิ้ งห น้ าออกม า เอียงขวา มือ: มือซ้ายจีบปรกข้างเข้า ตั ว มื อ ขวาถื อ ศรหั ก ข้ อ มื อ เข้ า ห า ตั ว จากนั้ น เลื่ อ นมื อ ลง ต่าลงเรื่อย ๆ เท้า: เดินย่าเท้า ทิศ: หมุนรอบตัวเอง จังหวะ: เดินย่าเท้า 4 ครั้ง


73 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา พากย์ชมดง (สร้อย)

43

อธิบายท่ารา ท่าเดิน ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือทั้งสองจีบคว่าทาง ด้ า นขวาแล้ ว ปล่ อ ย มื อ เป็ น ตั้ ง วงพร้ อ ม กั บ เ ลื่ อ น มื อ ไ ป ทางด้านซ้าย เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: เดิน 2 ครั้ง

พากย์ชมดง 44

ขานาง

ท่าชี้ต้นไม้ต้นเล็ก ศีรษะ: เอียงขวา มองต่า มื อ : เปลี่ ย นมื อ ถื อ ศรเป็ น มื อ ซ้ า ยระดั บ วงล่ า ง มือ ขวาขี้นิ้ ว ระดั บ วง บนกลางแขนตึง เท้า: กระดกเท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: หมดคาร้อง


74 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

45

ชมพลาง

46

เดินพลาง

ภาพท่ารา พากย์ชมดง

อธิบายท่ารา ท่ามองต้นไม้ ศีรษะ: เอียงขวา มื อ: มื อ ซ้ ายคว่ ามื อกดนิ้ ว ลงตั้งมือระดับอก มือ ขวาพลิ กให้ หั ว ศรตก เป็นมือบัวบานระดับ ข้างลาตัว เท้า: ก้าวหน้าเท้าขวา ทิ ศ : จากนั้ น วิ่ ง หมุ น รอบ ตั ว เ อ ง ไ ป ท า ง ด้านซ้าย จังหวะ: หมดคาร้อง ท่าเดิน ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือทั้งสองจีบคว่าทาง ด้ า นขวาแล้ ว ปล่ อ ย มื อ เป็ น ตั้ ง วงพร้ อ ม กั บ เ ลื่ อ น มื อ ไ ป ทางด้านซ้าย เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิ ศ : หั น หน้ า ไปทางด้ า น ขวามือ กลางเวที จังหวะ: เดิน 1 ครั้ง


75 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

47

มาข้างธารา

48

วารี

ภาพท่ารา พากย์ชมดง

อธิบายท่ารา ท่าเดิน ศีรษะ: เอียงซ้าย มือ: มือทั้งสองจีบคว่าทาง ด้ า นซ้ า ยแล้ ว ปล่ อ ย มื อ เป็ น ตั้ ง วงพร้ อ ม กั บ เ ลื่ อ น มื อ ไ ป ทางด้านขวา เท้า: ก้าวหน้าเท้าขวา ทิ ศ : หั น หน้ า ไปทางด้ า น ขวามือ วิ่งไปทางด้าน ขวาของเวที จังหวะ: เดิน 1 ครั้ง ท่ากลายมือ ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือขวาถือศรหักข้อมือ ลง มือซ้ายตั้งวงหน้า ระดับอก จากนั้น มือ ทั้งสองกลายออกเป็น มือขวาถือศรตั้งวงบน มือซ้ายส่งจีบหลัง เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิ ศ : หั น หน้ า ไปทางด้ า น ขวามือ วิ่งไปทางด้าน ขวาของเวที จังหวะ: หมดคาร้อง


76 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ 49

บทร้อง

ภาพท่ารา พากย์ชมดง (รับ)

อธิบายท่ารา ท่ารับ ท่าสอดสร้อยมาลา ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือขวาถือศรตั้งวงบน หั ก ข้ อ มื อ เข้ า หาตั ว มื อ ซ้ า ย ตั้ ง ว ง ล่ า ง จากนั้ น ม้ ว นมื อ ขวา เป็นตั้งวงบน มือซ้าย ม้ ว นจี บ หงายระดั บ ชายพก เท้า: วิ่งซอยเท้ารอจังหวะ ลง จากนั้ น ก้ า วข้ า ง เท้าซ้าย ยกเท้าขวา ทิศ: ด้านหน้า กลางงเวที จั ง หวะ: เมื่ อ ถึ ง จั ง หวะลง ให้ ห่ ม เข่ า ลง 1 ครั้ง


77 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา พากย์ชมดง

อธิบายท่ารา

50

เดินพลาง

ท่าเดิน ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือทั้งสองจีบคว่าทาง ด้ า นขวาแล้ ว ปล่ อ ย มื อ เป็ น ตั้ ง วงพร้ อ ม กั บ เ ลื่ อ น มื อ ไ ป ทางด้านซ้าย เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า กลางงเวที จังหวะ: เดิน 1 ครั้ง

51

คะนึง

ท่ามอง ศีรษะ: เอียงขวา มือ : มือ ซ้ ายตั้ งวงบน มื อ ข ว าถื อ ศ รแ ข น ตึ ง ระดับไหล่ เท้ า : สะดุ ด เท้ า ซ้ า ย ก้ า ว ข้างเท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า ทางซ้ายของ เวที จังหวะ: หมดคาร้อง


78 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา พากย์ชมดง

อธิบายท่ารา

52

ถึงสามี

ท่าไว้มือ ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือซ้ายถือศรระดับวง ล่ าง มื อขวาตั้ งวงกด ข้ อ มื อ ลงแล้ ว ตั้ ง มื อ ขึ้น เท้า: ยืนเปิดจมูกเท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า ทางซ้ายของ เวที จังหวะ: หมดคาร้อง

53

กาสรด

ท่าเศร้าระทม ศีรษะ: เอียงซ้าย มื อ : เปลี่ ย นมื อ ถื อ ศรเป็ น มื อ ขวา มื อ ทั้ ง สอง ไขว้กัน คว่ามือกดนิ้ ว ลงระดับชายพก เท้า: เปิดจมูกเท้าซ้าย ลาก เท้ า ขวาไปทางขวา แล้ ว ลากเท้ า ซ้ า ยมา ชิดเท้าขวา ทิศ: ด้านหน้า ทางซ้ายของ เวที จังหวะ: หมดคาร้อง


79 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

54

โศกี

55

เทวีครวญคร่า

ภาพท่ารา พากย์ชมดง

อธิบายท่ารา ท่าเศร้าระทม ศีรษะ: เอียงขวา มื อ : เปลี่ ย นมื อ ถื อ ศรเป็ น มื อ ขวา มื อ ทั้ ง สอง ไขว้กัน คว่ามือกดนิ้ ว ลงระดับชายพก เท้า: เปิดจมูกเท้าขวา ลาก เท้ า ซ้ า ยไปทางซ้ า ย แล้ ว ลากเท้ า ขวามา ชิดเท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า ทางขวาของ เวที จังหวะ: หมดคาร้อง ท่าร้องไห้เช็ดน้าตา ศีรษะ: เอียงซ้าย มื อ : มื อ ขวาถื อ ศรปฏิ บั ติ เช่นเดิม มือซ้ายเลื่อน ขึ้ น ม า ใช้ นิ้ ว ชี้ ซั บ น้าตา เท้า: เปิดจมูกเท้าซ้าย ลาก เท้ า ขวาไปทางขวา แล้ ว ลากเท้ า ซ้ า ยมา ชิดเท้าขวา ทิศ: ทางซ้ายของเวที จังหวะ: หมดคาร้อง


80 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

56

โศกี

57

เทวีครวญคร่า

ภาพท่ารา พากย์ชมดง

อธิบายท่ารา ท่าเศร้าระทม ศีรษะ: เอียงขวา มื อ : เปลี่ ย นมื อ ถื อ ศรเป็ น มื อ ขวา มื อ ทั้ ง สอง ไขว้กัน คว่ามือกดนิ้ ว ลงระดับชายพก เท้า: เปิดจมูกเท้าขวา ลาก เท้ า ซ้ า ยไปทางซ้ า ย แล้ ว ลากเท้ า ขวามา ชิดเท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า ทางขวาของ เวที จังหวะ: หมดคาร้อง ท่าร้องไห้เช็ดน้าตา ศีรษะ: เอียงซ้าย มื อ : มื อ ขวาถื อ ศรปฏิ บั ติ เช่นเดิม มือซ้ายเลื่อน ขึ้ น ม า ใช้ นิ้ ว ชี้ ซั บ น้าตา เท้า: เปิดจมูกเท้าซ้าย ลาก เท้ า ขวาไปทางขวา แล้ ว ลากเท้ า ซ้ า ยมา ชิดเท้าขวา ทิศ: ทางซ้ายของเวที จังหวะ: หมดคาร้อง


81 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

58

ร่าโศกา

ภาพท่ารา พากย์ชมดง

อธิบายท่ารา ท่าร้องไห้เช็ดน้าตา ศีรษะ: เอียงซ้าย มื อ : มื อ ขวาถื อ ศรปฏิ บั ติ เช่นเดิม มือซ้ายเลื่อน ขึ้ น ม า ใช้ นิ้ ว ชี้ ซั บ น้าตา เท้า: เปิดจมูกเท้าซ้าย ลาก เท้ า ขวาไปทางขวา แล้ ว ลากเท้ า ซ้ า ยมา ชิดเท้าขวา ทิศ: ทางซ้ายของเวที จังหวะ: หมดคาร้อง

พากย์ชมดง (รับ) 59

ท่ารับ ท่านางนอน ศีรษะ: เอียงขวา มื อ : มื อ ซ้ า ยตั้ ง วงกลาง มือขวาถือศรแขนตึ ง ระดั บ ไหล่ เอี ย งขวา จากนั้น มือขวาถือศร มือทั้งสองไขว้กันคว่า มื อ กดนิ้ วลงระดั บ ชายพก มือซ้ายเลื่อน ขึ้ น ม า ใช้ นิ้ ว ชี้ ซั บ น้าตา


82 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ 59 (ต่อ)

บทร้อง

ภาพท่ารา พากย์ชมดง (รับ)

อธิบายท่ารา จากนั้นมือขวาถือศร ตั้ ง วงล่ า งหั ก ข้ อ มื อ ออกจากตั ว มื อ ซ้ า ย ตั้ ง วงกลาง ม้ ว นมื อ ขวาเป็นตั้งวงล่าง มือ ซ้ายพลิกมือลงเป็นวง บัวบานแขนงอ เท้ า : สะดุ ด เท้ า แล้ ว เลื่ อ น เท้ า ขวาชิ ด เท้ า ซ้ า ย จากนั้ น วิ่ ง ซอยเท้ า รอจังหวะลง จากนั้น ก้าวข้างเท้าซ้าย แล้ว ยกเท้าขวา ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จั ง หวะ: เมื่ อ ถึ ง จั ง หวะลง ให้ ห่ ม เข่ า ลง 1 ครั้ง


83 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ 60

บทร้อง

ภาพท่ารา ปี่พาทย์ทาเพลงโอด

อธิบายท่ารา ท่านอนร้องไห้ ศี ร ษะ: กลมหน้ า เป็ น เลข แปด มือ : มื อซ้ ายจี บ หงายแขน ตึงระดับไหล่ตีไหล่ไป ด้ า นหลั ง แล้ ว ตี ไ หล่ กลับมาด้านหน้าแล้ว ม้วนมือซ้ายมาแตะที่ หน้าผาก มือขวาวาง ศรไว้ ด้ า นหน้ า แล้ ว น ามื อ มาแตะพื้ น ไว้ มือ ขวาถื อศร มือ ซั บ น้าตา เท้ า : ค่ อ ย ๆ นั่ ง ลงแล้ ว นอน ท อดตั ว ลงไป จากนั้ น ลุ ก ขึ้ น นั่ ง ตั้ ง เข่า ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: สะดุ้งตัวเพื่อสะอื้น ตามจั ง หวะ จน หมดจังหวะ


84 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา ปี่พาทย์ทาเพลงกระบอกทอง

อธิบายท่ารา

61

พระหัตถ์ยกศร ศรี

ท่าเทพนม ศีรษะ: หน้าตรง มื อ : มื อ ทั้ ง สองไหว้ ร ะดั บ อก เท้า: นั่งตั้งเข่าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: หมดคาร้อง

62

ของตรีเนตร

ท่าเทพนม ศีรษะ: หน้าตรง มือ: ลุ กขึ้นพร้อมกับเลื่ อน ขึ้นไหว้ระดับแง่ศีรษะ แล้ ว เลื่ อ นลงมามาที่ ระดับอก เท้า: ลุกขึ้นพร้อมกับ กระดกเท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: หมดคาร้อง


85 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

63

ทูนไว้เหนือเกศ

64

เกศา

ภาพท่ารา ปี่พาทย์ทาเพลงกระบอกทอง

อธิบายท่ารา ท่าไหว้สูง ศีรษะ: เอียงซ้าย มือ: มือทั้ งสองเลื่อนขึ้นไป ทางด้ า นขวา ระดั บ ศีรษะ เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: หมดคาร้อง

ท่ารองรับศร ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือทั้งสองแบมือ รองรับศร เท้า: กระดกเท้าขวา ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: หมดคาร้อง


86 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

65

คิดจะแผลงศร ศิลป์

ภาพท่ารา ปี่พาทย์ทาเพลงกระบอกทอง

อธิบายท่ารา ท่าแผลงศร ศีรษะ: เอียงขวา มื อ : มื อ ขวาจี บ เข้ า หาศร มื อ ซ้ า ยถื อ ศรระดั บ ชายพกจากนั้นทาท่า น้าวศร เท้า: ถอนเท้าขวา ยืนขาตึง แตะเท้าซ้าย จากนั้น ก้ า ว ห น้ า เท้ า ซ้ า ย แล้วยืดตัวขึ้น ยกเท้า ขวา ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จั ง หวะ: หนั ก หน้ า หนั ก หลั ง แล้ ว ยื ด ตั ว ขึ้น


87 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา ปี่พาทย์ทาเพลงกระบอกทอง

อธิบายท่ารา

66

ของอินทรา

ท่าไหว้สูง ศีรษะ: เอียงซ้าย มื อ : มื อ ทั้ ง สองไหว้ เลื่ อ น ขึ้ น ไปทางด้ า นซ้ า ย ระดับศีรษะ เท้า: ก้าวหน้าเท้าขวา แล้ว กระดกเท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: หมดคาร้อง

67

กัลยากุมศร

ท่าจีบยาว ศีรษะ: เอียงซ้าย มื อ : มื อ ซ้ า ยตั้ ง วงบน มื อ ขวาถื อ ศรหั ก ข้ อ มื อ เข้ า ห าตั ว แขน ตึ ง ระดับไหล่ เท้า: เลื่อมเท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: หมดคาร้อง


88 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

68

ทอดกรกราย

ภาพท่ารา ปี่พาทย์ทาเพลงกระบอกทอง

อธิบายท่ารา ท่ากรายมือ ศีรษะ: เอียงขวา มื อ : มื อ ทั้ ง ส อ ง ก ร า ย ออกเป็ น มื อ ขวา ถือศรตั้งวงบน มือ ซ้ายส่งจีบหลัง เท้ า: ก้ าวห น้ าเท้ าซ้ าย จากนั้นขยั่นเท้าอยู่ กับที่ ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: หมดคาร้อง

ร้องเพลงร่ายรุด 69

เดชะพระแสงศร สิทธิ์

ท่าเทพนม ศีรษะ: หน้าตรง มื อ : มื อ ทั้ ง สองไหว้ ร ะดั บ อ ก แ ล้ ว เลื่ อ น ขึ้ น ระดั บ แง่ ศี ร ษะแล้ ว เลื่อนลงมามาที่ระดับ อก เท้า: กระดกเท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: หมดคาร้อง


89 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา ร้องเพลงร่ายรุด

อธิบายท่ารา

70

ให้เห็นอิทธิ์ฤทธิ์ ไกรดังใจหมาย

ท่าเฉิดฉิน ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือซ้ายตั้งวงหน้า มือ ขวาพลิกศรลงมือเป็น ท่าบัวบาน เท้า: ยกเท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: หมดคาร้อง

71

ย่างเท้าน้าวศร เอียงอ่อนกาย

ท่าขัดศร ศีรษะ: เอียงขวา มื อ : เปลี่ ย นมื อ ถื อ ศรเป็ น มื อ ซ้ า ย มื อ ขวาจี บ แล้ ว ม้ ว นข้ อ มื อ จี บ เป็นจีบหงายออกหั ก ข้ อ มื อ ออก ระดั บ วง บน มือซ้ายถือศรขัด ไว้กับแขนขวา เท้า: ยกเท้าขวา ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: หมดคาร้อง


90 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

72

ลั่นสายแผลงไป ด้วยฤทธี

ภาพท่ารา ร้องเพลงร่ายรุด

อธิบายท่ารา ท่าแผลงศร ศีรษะ: เอียงขวา มื อ : มื อ ขวาจี บ เข้ า หาศร มื อ ซ้ า ยถื อ ศรระดั บ ชายพกจากนั้นทาท่า น้าวศร เท้า: ถอนเท้าขวา ยืนขาตึง แตะเท้าซ้าย จากนั้น ก้ า ว ห น้ า เท้ า ซ้ า ย แล้วยืดตัวขึ้น ยกเท้า ขวา ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จั ง หวะ: หนั ก หน้ า หนั ก หลั ง แล้ ว ยื ด ตั ว ขึ้น


91 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ 73

บทร้อง

ภาพท่ารา ปี่พาทย์ทาเพลงรัว

อธิบายท่ารา ท่าเทพนม ศีรษะ: หน้าตรง มื อ : มื อ ทั้ งส อ งไห ว้ ขึ้ น ระดั บ แง่ ศี ร ษะ แล้ ว เลื่ อ นลงมาระดั บ อก ทั้งด้านขวา ด้านซ้าย และด้านหน้า เท้ า : ถอนเท้ าขวา ยกเท้ า ซ้ า ยแล้ ว ก้ า วลงเท้ า ซ้ า ย จากนั้ น หั น ไป ท า ง ด้ า น ซ้ า ย ประเท้ า ขวายกเท้ า ขวา หั น มาด้านหน้ า ยืนประสมเท้า ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: เมื่อก้าวเท้ าลงให้ ห่ มเข่ า ลงทุ กค น ครั้ ง เมื่ อ ประสม เท้ายืดยุบพร้อมกับ ไหว้


92 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ 74

บทร้อง

ภาพท่ารา ปี่พาทย์ทาเพลงรัว

อธิบายท่ารา ท่าแผลงศร ศีรษะ: เอียงขวา มื อ : มื อ ขวาจี บ เข้ า หาศร มื อ ซ้ า ยถื อ ศรระดั บ ชายพกจากนั้นทาท่า น้าวศร เท้า: ถอนเท้าขวา ยืนขาตึง แตะเท้าซ้าย จากนั้น ก้ า ว ห น้ า เท้ า ซ้ า ย แล้วยืดตัวขึ้น ยกเท้า ขวา ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จั ง หวะ: หนั ก หน้ า หนั ก หลั ง แล้ ว ยื ด ตั ว ขึ้น


93 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา ปี่พาทย์ทาเพลงเขมรราชบุรี

อธิบายท่ารา

75

ท่ามอง ศีรษะ: เอียงขวา มือ : มือ ซ้ ายตั้ งวงบน มื อ ข ว าถื อ ศ รแ ข น ตึ ง ระดับไหล่ เท้ า : สะดุ ด เท้ า ซ้ า ย ก้ า ว ข้างเท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า ทางซ้ายของ เวที จังหวะ: หมดจังหวะ

76

ท่ามอง ศีรษะ: เอียงซ้าย มือ: มือขวาถือศรหักข้อมือ ออกระดับวงล่าง มือ ซ้ายส่งจีบหลัง เท้า: ก้าวหน้าเท้าขวา ทิศ: หมุนมาทางด้านหน้ า เวที จังหวะ: หมดจังหวะ


94 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา ปี่พาทย์ทาเพลงเขมรราชบุรี

อธิบายท่ารา

77

ท่าจีบอก ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือขวาถือศรระดับวง ล่าง มือซ้ายจีบเข้าที่ อก เท้า: ยืนเปิดจมูกเท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: หมดจังหวะ

78

ท่าจีบอก ศีรษะ: เอียงซ้าย มือ: มือขวาถือศร มือซ้าย คว่ามือกดนิ้วลง ประกบเข้ากับมือขวา เท้า: ถอยเท้าซ้าย ก้าวข้าง เท้าขวา ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: หมดจังหวะ


95 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา ปี่พาทย์ทาเพลงเขมรราชบุรี

อธิบายท่ารา

79

ท่ามองนิ้ว ศีรษะ: เอียงขวา มื อ : เปลี่ ย นมื อ ถื อ ศรเป็ น มื อ ซ้ า ยระดั บ วงล่ า ง มื อ ขวาเก็ บ นิ้ ว เหลื อ แ ค่ นิ้ ว ชี้ ตั้ ง มื อ ขึ้ น ระดับหน้า เท้า: ยืนเปิดจมูกเท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: หมดจังหวะ

80

ท่าเศร้าระทม ศีรษะ: เอียงซ้าย มื อ : เปลี่ ย นมื อ ถื อ ศรเป็ น มื อ ขวา มื อ ทั้ ง สอง ไขว้กัน คว่ามือกดนิ้ ว ลงระดับชายพก เท้า: เปิดจมูกเท้าซ้าย ลาก เท้ า ขวาไปทางขวา แล้ ว ลากเท้ า ซ้ า ยมา ชิดเท้าขวา ทิศ: ด้านหน้า ทางซ้ายของ เวที จังหวะ: หมดจังหวะ


96 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา ปี่พาทย์ทาเพลงเขมรราชบุรี

อธิบายท่ารา

81

ท่ามอง ศีรษะ: เอียงซ้าย มือ: มือขวาถือศรตั้งวงบน มื อ ซ้ า ยตั้ ง วงกลาง ระดับไหล่แขนตึง เท้า: ก้าวข้างเท้าขวา แล้ว วิ่งหมุนรอบตัวไปทาง ด้านขวา ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: หมดจังหวะ

82

ท่าว่างเปล่า ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือทั้งสองแบหักข้อมือ แล้วขยับออกจากกัน เท้ า : ยื น เปิ ด จมู ก เท้ า ซ้ า ย ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: หมดจังหวะ


97 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ 83

84

บทร้อง

ภาพท่ารา ปี่พาทย์ทาเพลงเขมรราชบุรี

อธิบายท่ารา ท่าเดิน ศีรษะ: เอียงขวา ทิ้งหน้า มื อ: มื อทั้ งส องจี บ ค ว่ า ด้ า นขวาแล้ ว ปล่ อ ย มื อ เป็ น ตั้ ง วงพร้ อ ม กั บ เ ลื่ อ น มื อ ไ ป ทางด้านซ้าย เท้า: ก้าวข้างเท้าซ้าย จากนั้นหมุนตัวไป ทางด้านซ้าย ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: หมดจังหวะ ท่าเดิน ศีรษะ: เอียงซ้าย ทิ้งหน้า มื อ: มื อทั้ งส องจี บ ค ว่ า ทางซ้ า ยแล้ ว ปล่ อ ย มื อ เป็ น ตั้ ง วงพร้ อ ม กั บ เ ลื่ อ น มื อ ไ ป ทางขวา เท้า: ก้าวข้างเท้าซ้าย จากนั้นหมุนตัวไป ทางด้านซ้าย ทิศ: ด้านซ้ายของเวที จังหวะ: หมดจังหวะ


98 ตาราง 10 (ต่อ) ลาดับ 85

บทร้อง

ภาพท่ารา ปี่พาทย์ทาเพลงเขมรราชบุรี

อธิบายท่ารา ท่าชักแป้งผัดหน้า ศีรษะ: เอียงขวา มือ: มือขวาถือศรระดับวง บน มือซ้ายตั้งวงหน้า เท้า: ก้าวข้างเท้าขวา จากนั้นวิ่งเข้าเวทีไป ทางซ้าย ทิ ศ : ด้ า นหน้ า ด้ า นซ้ า ย ของเวที จังหวะ: หมดจังหวะ

กลวิธีในการรา การแสดงร าเดี่ย วมาตรฐาน ชุ ด เกศสุ ริยงชมดง เป็ น การราตีบ ทที่ ป รากฏอยู่ ในการแสดง ละครนอก เรื่อง สุวรรณหงส์ ตอน เดินป่า การแสดงชุดนี้เป็นการราแบบ “ผู้เมีย” หรือเรียกอีกอย่างหนึ่ง ว่า “ราแบบพราหมณ์ ” ซึ่งเป็นการราที่มีลักษณะเฉพาะของตัวพราหมณ์ ที่มีการผสมผสานกันระหว่าง กระบวนท่าราของตัวพระและกระบวนท่ าราของตัวนาง ในการแสดงจะมีอุปกรณ์ที่นางเกศสุริยงถือรา คือ ศร ซึ่งพระอินทร์ได้ประทานไว้ให้นางเกศสุริยงเพื่อป้องกันตัว จึงมีกระบวนท่าราที่มีความเข้มแข็ง อ่อนช้อย และงดงาม ซึ่งในบทละครมีการกล่าวถึงพรรณไม้ต่าง ๆ ในขณะที่นางเกศสุริยงเดินอยู่ในป่า โดยการราจะเน้นการแสดงอารมณ์ ให้ผู้ชมทราบถึงความโศกเศร้า และคิดถึง พระสุวรรณหงส์ ผู้เป็นสามี จากท่าทาง และสายตาของผู้แสดงที่ แสดงออกมาในขณะนั้น กลวิธีการราเกศสุริยงชมดง ในฉบับของ อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา ประกอบไปด้วยการชี้ไปยังพรรณไม้ต่าง ๆ ที่จะต้องลงน้าหนักมือให้ชัดเจน “การตักตัว” ถือเป็นท่าเฉพาะในการแสดงลีลาท่าราของการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง โดยในการตักตัวต้องใช้ ทั้งสายตา นิ้วมือ ข้อมือ และการย่าเท้า ให้สัมพันธ์กัน เพื่อท่ารานั้นจะได้มีลีลา ที่สวยงาม และต้องมีการฝึกปฏิบัติท่าราและอารมณ์ของนางเกศสุริยงให้มีจริตความเป็นตัวนาง รวมถึง ต้องปรับบุคลิกลักษณะที่เป็นตัวนางด้วย แต่ต้องคงกระบวนท่าราทีเ่ ป็นตัวพระ เนื่องจากการแสดงราเดี่ยว มาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง นั้น ยังคงเป็นการราแบบพราหมณ์ และกลวิธีอย่างสุดท้ายคือ ผู้แสดงต้อง ราให้มีความนิ่มนวลและต้องเข้ากับจังหวะทานองเพลงด้วย เนื่องจากการแสดงชุดนี้มีจังหวะทานองเพลง ในแต่ละช่วงช้าและเร็วไม่เท่ากัน


บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ จากการศึกษาและรวบรวมข้อ มูล การแสดงราเดี่ ยวมาตรฐาน ชุ ด เกศสุ ริยงชมดง ผู้ ศึก ษา สามารถสรุปประวัติการแสดง องค์ประกอบการแสดง และกระบวนท่ารา ได้ดังนี้ บทสรุป การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง อยู่ในละครนอกเรื่องสุวรรณหงส์ ตอน เดินป่า กล่าวถึง นางเกศสุริยงออกเดินทางตามรอยเลือดของพระสุวรรณหงส์ ซึ่ง พระสุวรรณหงส์โดนหอกพยนต์ ของพระพี่เลี้ยงนางเกศสุริยงแทงเข้าที่อก เมื่อพระอินทร์ทรงทราบเรื่องก็เกิดความสงสารจึงเสด็จลงมา แปลงกายให้ น างเกศสุ ริ ย งเป็ น พราหมณ์ ห นุ่ ม เพื่ อความปลอดภั ยและความสะดวกสบายในระหว่าง การเดิ น ทาง ซึ่ ง ในระหว่ า งเดิ น ทางอยู่ ในป่ า พราหมณ์ เกศสุ ริ ย งก็ ช มพรรณไม้ ไปแล้ ว ในใจก็ คิ ด ถึ ง พระสุวรรณหงส์ผู้เป็นพระสวามี การแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด เกศสุ ริ ย งชมดง เป็ น การราตี บ ทที่ ป รากฏอยู่ ในการแสดง ละครนอก เรื่อง สุวรรณหงส์ ตอน เดินป่า โดยนางเกศสุริยงเป็นบุตรสาวผู้เลอโฉมของพญายักษ์ นามว่า สุวรรณวิก แห่งเมืองมัตตัง และมีพระสวามี คือ พระสุ วรรณหงส์ นางเกศสุริยงขึ้นชื่อว่าเป็น ชายาที่มี ความจงรักภักดี และซื่อสัตย์ต่อพระสวามีเป็นอย่างมาก นางเกศสุริยงเป็นคนที่มีจิตใจเด็ดเดี่ยว กล้าหาญ และเข็มแข็ง อีกทั้งยังมีรูปร่างหน้าตาที่งดงาม ถึงแม้จะแปลงกายเป็นพราหมณ์ซึ่งอยู่ในร่างผู้ชายแล้วก็ตาม แต่ความงดงามของผู้หญิงก็แสดงออกมาอย่างชัดเจน การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง เป็นการราแบบผู้เมีย หรือ เรียกว่า ราแบบ พราหมณ์ ซึ่งเป็นการราที่มีลักษณะเฉพาะของตัวพราหมณ์ ที่มีการผสมผสานกันระหว่างกระบวนท่ารา ของตั ว พระและกระบวนท่ าร าของตั ว นาง ในการแสดงจะมี อุป กรณ์ ที่ น างเกศสุ ริย งถื อรา คือ ศร ซึ่ ง พระอินทร์ได้ประทานไว้ให้นางเกศสุริยงเพื่อป้องกันตัว ซึ่งกระบวนท่ารามีความเข้มแข็ง อ่อนช้อย และ งดงามเครื่องแต่งกายการแสดงราเดี่ยวมาตรฐานด้านนาฏศิลป์ไทย ชุดเกศสุริยงชมดง เป็นการราของ พราหมณ์เกศสุริยง เนื่องจากนางเกศสุริยงถูกพระอินทร์แปลงกายให้เป็นพราหมณ์หนุ่ม จึงมีการแต่งกาย แบบยืนเครื่องพระ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องพราหมณ์ สีขาวขลิบแดง คือ ศีรษะสวมกระบังหน้า มีอุปกรณ์ในการแสดงคือ ศร เพลงและดนตรีประกอบการแสดง ใช้วงปี่พาทย์ไม้นวมเครื่องห้าบรรเลงเพลงดังต่อไปนี้


100 บทร้อง / ทำนองเพลง - ปี่พาทย์ทาเพลงรัว - ร้องเพลงมอญแปลง เมื่อนั้น เห็นโกสีย์เหาะกลับลับไป

โฉมเจ้าพราหมณีสีใส ให้เปลี่ยวเปล่าเศร้าในวิญญาณ์ ฯ - สร้อย -

เจ้าพราหมณ์แปลงจาแลงกาย ใฝ่คะนึงถึงภัสดา - พากย์ชมดง สุริยงแปลงองค์เป็นพราหมณ์ เดินตามพนัสแนวดง ฯ ไม้ใหญ่ยางยูงสูงระหง คันทรงส่งกลิ่นฝิ่นฝาง ฯ ไทรย้อยห้อยระย้าขานาง มาข้างธาราวารี ฯ เดินพลางคะนึงถึงสามี เทวีครวญคร่าร่าโศกา ฯ - ปี่พาทย์ทาเพลงโอด - ร้องเพลงกระบอกทอง พระหัตถ์ยกศรศรีของตรีเนตร คิดจะแผลงศรศิลป์ของอินทรา - ร้องเพลงร่ายรุด เดชะพระแสงศรสิทธิ์ ย่างเท้าน้าวศรเอียงอ่อนกาย - ปี่พาทย์ทาเพลงรัว - ปี่พาทย์ทาเพลงเขมรราชบุรี -

เยื้องยาตร์กรายมาในป่า พ่อคู่ชีวาของน้องเอย ชื่นใจเอย ฯ จุลเจิมเฉลิมงาม ปรางปริงปรูปรง ชมพลางเดินพลาง กาสรดโศกี

ทูนไว้เหนือเกศเกศา กัลยากุมศรทอดกรกราย ฯ ให้เห็นอิทธิ์ฤทธิ์ไกรดังใจหมาย ลั่นสายแผลงไปด้วยฤทธี ฯ (กรมศิลปากร, 2494, หน้า 33)

องค์ประกอบฉากการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง เป็นการราชมพรรณไม้ต่าง ๆ ที่พราหมณ์เกศสุริยงเดินอยู่ในป่า จากบทพากย์ชมดง ที่มีชื่อต้นไม้ที่ปรากฏออกมา 10 ชนิด ดังนี้ 1. ต้นไม้ ใหญ่ 2. ต้นยางยูง 3. ต้นมะปราง 4. ต้นมะปริง 5. ต้นปรู 6. ต้นปรง 7. ต้นคันทรง 8. ต้นฝิ่นฝาง 9. ต้น ไทร 10. ต้นขานาง


101 การแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด เกศสุ ริ ย งชมดง เป็ น การร าของนางเกศสุ ริ ย ง เนื่ อ งจาก นางเกศสุริยงถูกพระอินทร์แปลงกายให้เป็น “พราหมณ์หนุ่ม” จึงมีการแต่งกายแบบยืนเครื่องพระแขนสั้น สีขาวขลิบแดง หรือเรียกอีกอย่างว่า “ยืนเครื่องพราหมณ์” คือ ใส่กระบังหน้า และมีการแต่งหน้าตามแบบ ละครร า และเนื่ อ งจากผู้ แ สดงสวมบทบาทนางเกศสุ ริ ยงที่ ถู ก แปลงเป็ น พราหมณ์ จึ งต้ อ งมี ก ารเขี ย น อุณ าโลม (ตามข้อ มู ล นิ ย ามศั พ ท์ เฉพาะในหน้ าที่ 4) ไว้ต รงกลางหน้ าผาก ซึ่ งเป็ น ลั กษณะเฉพาะของ การแต่งหน้าแบบพราหมณ์ การแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด เกศสุ ริ ย งชมดง เป็ น การร าตี บ ทตามบทละครที่ ก ล่ าวถึ ง การเดินทางของนางเกศสุริยงไปในป่าเพียงลาพัง ซึ่งจะมีการชมพรรณไม้ต่าง ๆ ในป่า แต่มีความรู้สึกเหงา และความโศกเศร้าเพราะคิดถึงสามี โดยในการแสดงชุดนี้มีท่าราจานวนทั้งหมด 85 ท่า ซึ่งผู้ศึกษาได้แบ่ง กระบวนท่าราออกเป็น 9 ช่วง ตามทานองเพลง ดังนี้ ช่วงที่ 1 ใช้ทานองเพลงรัว ช่วงที่ 2 ใช้ทานองมอญแปลง ช่วงที่ 3 ใช้ทานองสร้อย ช่วงที่ 5 ใช้ทานองเพลงโอด ช่วงที่ 6 ใช้ทานองเพลงกระบอกทอง ช่วงที่ 7 ใช้ทานองเพลงร่ายรุด ช่วงที่ 8 ใช้ทานองเพลงรัว ช่วงที่ 9 ใช้ทานองเพลงเขมรราชบุรี การแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด เกศสุ ริย งชมดง เป็ น การราตี บ ทที่ ป รากฏอยู่ ในการแสดง ละครนอก เรื่อง สุวรรณหงส์ ตอน เดินป่า การแสดงชุดนี้เป็นการราแบบ “ผู้เมีย” หรือเรียกอีกอย่างหนึ่ง ว่า “ราแบบพราหมณ์ ” ซึ่งเป็นการราที่มีลักษณะเฉพาะของตัวพราหมณ์ ที่มีการผสมผสานกันระหว่าง กระบวนท่าราของตัวพระและกระบวนท่าราของตัวนาง ในการแสดงจะมีอุปกรณ์ที่นางเกศสุริยงถือรา คือ ศร ซึ่งพระอิน ทร์ได้ประทานไว้ให้ นางเกศสุริยงเพื่ อป้องกันตัว จึงมีกระบวนท่าราที่มีความเข้มแข็ง อ่อนช้อย และงดงาม ซึ่งในบทละครมีการกล่าวถึงพรรณไม้ต่าง ๆ ในขณะที่นางเกศสุริยงเดินอยู่ในป่า โดยการราจะเน้นการแสดงอารมณ์ ให้ผู้ชมทราบถึงความโศกเศร้า และคิดถึงพระสุวรรณหงส์ ผู้เป็นสามี จากท่าทาง และสายตาของผู้แสดงที่แสดงออกมาในขณะนั้น กลวิธีการราเกศสุริยงชมดง ในฉบับของ อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา ประกอบไปด้วยการชี้ไปยังพรรณไม้ต่าง ๆ ที่จะต้องลงน้าหนักมือให้ชัดเจน “การตักตัว” ถือเป็นท่าเฉพาะในการแสดงลีลาท่าราของการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง โดยในการตักตัวต้องใช้ทั้งสายตา นิ้วมือ ข้อมือ และการย่าเท้า ให้ สัมพันธ์กันเพื่อท่ารานั้นจะได้มีลีล า ที่สวยงาม และต้องมีการฝึกปฏิบัติท่าราและอารมณ์ของนางเกศสุริยงให้มีจริตความเป็นตัวนาง รวมถึง ต้องปรับบุคลิกลักษณะที่เป็นตัวนางด้วย แต่ต้องคงกระบวนท่าราที่เป็นตัวพระ เนื่ องจากการแสดงราเดี่ยว มาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง นั้น ยังคงเป็นการราแบบพราหมณ์ และกลวิธีอย่างสุดท้ายคือ ผู้แสดงต้องรา ให้มีความนิ่มนวลและต้องเข้ากับจังหวะทานองเพลงด้วย เนื่องจากการแสดงชุดนี้มีจังหวะทานองเพลง ในแต่ละช่วงช้าและเร็วไม่เท่ากัน


102 ข้อเสนอแนะ 1. ผู้แสดงควรมีความชอบและความสนใจในตัวละครนั้น ๆ เพื่อเวลาขึ้นแสดงจริงผู้แสดงจะได้ ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด และเรื่องราว ให้สมกับบทบาทของตัวละครนั้น 2. ควรมี ก ารเตรี ย มพร้ อ มทางด้ านร่างกาย และด้านความรู้ ค วามเข้ าใจในการแสดงราเดี่ ย ว มาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง ก่อนที่จะเข้ารับการถ่ายทอดกระบวนท่าราจากท่านผู้ทรงคุณวุฒิทางด้าน นาฏศิลป์ไทย เพื่อความรวดเร็วในการรับการถ่ายทอดท่ารา และที่สาคัญเพื่อที่ท่านจะได้มีเวลามากขึ้น ในการดูท่าราและเพิ่มหรือเก็บรายละเอียดท่ารานั้นให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 3. การถ่ า ยทอดกระบวนท่ า ร าจากท่ า นผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ท างด้ า นนาฏศิ ล ป์ ไทยนั้ น อาจจะมี การปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสมหรือศักยภาพของผู้แสดง ดังนั้นหลังจากได้รบั การถ่ายทอดท่าราแล้ว ผู้ศึกษาจึงควรมีการจดบันทึกท่าราเป็นลายลักษณ์อักษรทุกครั้ง เพื่อเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการช่วยจา เพื่อการซ้อมในครั้งต่อ ๆ ไป 4. หากผู้ศึกษาเกิดข้อสงสัยขึ้นเมื่อใดก็ควรจะถามผู้ถ่ายทอดท่า ราทันทีอย่าปล่อยให้คาถามนั้น ผ่านเลยไป เพราะสิ่งเหล่านี้จะก่อให้เกิดประโยชน์กับตนเองในการพัฒนาฝีมือในการรา


บรรณนานุกรม


111

บรรณานุกรม กรมศิลปากร. (2494). บทละครนอก เรื่อง สุวรรณหงส์. กรุงเทพฯ. กรมศิลปากร. (2530). หนังสือเครื่องดนตรีไทย. กรุงเทพฯ: พิฆเณศ. ชัพ วิช ญ์ ใจหาญ. (2555). ฉุ ยฉายพราหมณ์ เกศสุริยงแปลง. การศึกษาค้นคว้าด้วยตัว เอง ศศบ, มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก. ทรงวิทย์ แก้วศรี. (2533). ดนตรีไทย โครงสร้าง อภิธานศัพท์ และสาระสังเขป. กรุงเทพฯ: รุ่งศิลป์ การพิมพ์. พิมพ์รัตน์ นะวะศิริ. (2548). การราของตัวพราหมณ์ ในการแสดงละครนอก. วิทยานิพนธ์ ศศม, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. ราชบัณฑิตสถาน. (2542). พจนานุกรม ฉบับราชบัณ ฑิตสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: นามีบุ๊คส์ บลิเคชั่นส์ วิมลศรี อุปรมัย. (2553). นาฏกรรมและการละคร. กรุงเทพฯ: แอคทีฟ พริ้นท์ จากัด. สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2532). ร้องราทาเพลง : ดนตรีและนาฏศิลป์ชาวสยาม. กรุงเทพฯ: เรืองแก้วการ พิมพ์. สุมนมาลย์ นิ่มเนติพันธ์. (2537). การละครไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช จากัด. สุรพล วิรุฬรักษ์. (2543). วิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยในกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุรพล วิรุฬห์รักษ์. (2549). นาฏศิลป์รัชกาลที่ 9. กรุงเทพฯ: ธรรมดาเพรส จากัด.


ภาคผนวก


106 ภาคผนวก ก ประมวลภาพการถ่ายทอดท่ารา เกศสุริยงชมดง จากอาจารย์นพวรรณ จันทรักษา

อาจารย์นพวรรณ จันทรักษา (ผู้ถ่ายทอดท่ารา) (ซ้าย) และนางสาวพิมพ์พร เอี่ยมละออ (ผู้รับการถ่ายทอดท่ารา) (ขวา)

การถ่ายทอดท่าราการกระทบจังหวะในเพลงมอญแปลง


107

การถ่ายทอดท่าราการสอดสร้อยในเพลงรัว

การถ่ายทอดท่าราการร้องไห้ในเพลงโอด


108 ภาคผนวก ข ประมวลภาพวันจัดแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด เกศสุริยงชมดง

ท่าชื่นใจเอย

ท่าไม้ใหญ่


109

ท่าเดิน

ท่าประสานมือ


110

อาจารย์ภูริตา เรืองจิรยศ อาจารย์ที่ปรึกษา (ซ้าย) นางสาวพิมพ์พร เอี่ยมละออ (ขวา)

การถ่ายภาพร่วมกับคณะกรรมการตัดสินการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ปี 2561


ประวัติผู้วิจัย


119

ประวัติผู้วิจัย ชื่อ – ชื่อสกุล วัน เดือน ปี เกิด ที่อยู่ปัจจุบัน ประวัติการศึกษา

พิมพ์พร เอี่ยมละออ 22 กันยายน 2539 77/162 หมู่บ้านมงกุฎเพชร หมู่ที่ 6 ตาบล สระแก้ว อาเภอ เมือง จังหวัด กาแพงเพชร 62000 ปัจจุบันกาลังศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย คณะมนุษยศาสตร์ ภาควิชาศิลปะการแสดง มหาวิทยาลัยนเรศวร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.