อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด พระลักษมณ์ลงสรง

Page 1

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด พระลักษมณ์ลงสรง

ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทยฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2561


อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด “พระลักษมณ์ลงสรง” ของ นายณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา ได้รับการพิจารณาให้นับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต (นาฏศิลป์ไทย) คณะกรรมการอาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ...................................................................................................................อาจารย์ที่ปรึกษา (อาจารย์วรวิทย์ ทองเนื้ออ่อน) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.รุ่งนภา ฉิมพุฒ) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์รัชดาพร สุคโต) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.จิตติมา นาคีเภท) ...................................................................................................................กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประภาศรี ศรีประดิษฐ์) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์อุบลวรรณ โตอวยพร) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์ภูริตา เรืองจิรยศ) อนุมัติ ................................................................ (ดร.จิตติมา นาคีเภท) หัวหน้าภาควิชาศิลปะการแสดง


ประกาศคุณูปการ ขอกราบขอบพระคุ ณ อาจารย์ ค มสั น ฐ หั ว เมื อ งลาด นาฏศิ ล ปิ น อาวุ โ ส ส านั ก การสั ง คี ต กรมศิล ปากร ที่ได้มีความกรุ ณาถ่ายทอดกระบวนท่าราการแสดงราเดี่ยวชุด พระลั กษมณ์ล งสรง รวมทั้งองค์ความรู้และประวัติความเป็นมาของทั้งการแสดงชุด พระลักษมณ์ลงสรง และนาฏศิลป์ไทย ให้แก่ผู้ศึกษาในครั้งนี้ ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์วรวิทย์ ทองเนื้ออ่อน อาจารย์ประจาสาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ได้ให้คาปรึกษาและทาการฝึกซ้อม กระบวนท่าราชุดพระลักษมณ์ลงสรง ให้แก่ผู้ศึกษาในครั้งนี้ ในท้ายที่สุ ดนี้ ผู้ศึกษาหวังว่าการศึกษาการแสดงชุด พระลักษมณ์ล งสรง ในครั้งนี้ จะเป็น ประโยชน์ต่อผู้ศึกษาและนิสิตสาขาวิชานาฏศิลป์ไทยต่อไป ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา


สารบัญ บทที่

หน้า

1 บทนา…………………………………………………………................................….……...…..…… ความสาคัญของการถ่ายทอดท่ารา....……………………….........…………….......……… วัตถุประสงค์......................................……………………….........…………….......……… วิธีดาเนินงาน.....................................……………………….........……………....…...…… ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ................……………………….........…………….......……… นิยามศัพท์เฉพาะ..............................……………………….........……………....…...……

1 1 1 2 3 3

2 ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา............................................................................................. ประวัติส่วนตัว...................................……………………….........………....…………...… ประวัติการศึกษา................................……………………….........……………...………… ประวัติการทางาน..............................……………………….........………………………… ผลงานทางด้านวิชาการและการแสดง……………………….........……………...………… แผนผังการสืบทอดและถ่ายทอดท่ารา.……………………….........…………....……...…

4 4 4 5 6 20

3 วิธีดาเนินการสืบทอดและฝึกหัด.............................................................................. ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด....................................................................... ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด.......……………………….........………. ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการ.........................................................................

21 21 22 23


สารบัญ (ต่อ) บทที่

หน้า

4 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด พระลักษมณ์ลงสรง….....……………....…………… ประวัติความเป็นมาของการแสดง………………..……….........……………....…………… เรื่องย่อของการแสดง……………………...................….........…………..…....…………… บทร้อง……………………….........……………....……...........................................……… ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง……………………….........…………….............…………… ฉากและองค์ประกอบการแสดง……………………….........……………....….....………… เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า……………………….........…………….........…………… นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง……………………….........……………................…………… กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่………………………................……………....……………. กลวิธีในการรา................................……………………….........……………....……………

24 24 24 25 25 26 27 29 32 60

5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ........................................................................................... บทสรุป................................……………………......………….....................…….………… ข้อเสนอแนะ………………………………........................……....…………………....………..

61 61 62

บรรณานุกรม.............................................................................................................................

63

ภาคผนวก………………………....……………………………………….………………....................................

63

ประวัติผู้วิจัย………………………………………………………….…………….............................................

78


สารบัญตาราง ตาราง 1 2 3 4 5

หน้า แสดงวิธีการดาเนินงาน………………………………....…......…...…………………………………… แสดงประวัติการรับราชการของอาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด………………………………. แสดงประวัติการฝึกอบรมและศึกษาดูงานของอาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด………….. แสดงระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัดท่าราชุดพระลักษมณ์ลงสรง……... แสดงกระบวนท่าราชุด พระลักษมณ์ลงสรง………………………………....…......…...………

2 5 6 21 32


สารบัญภาพ ภาพ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

หน้า อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด……………………………………............................................ อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นพระอิศวร…………………………...................... อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นพระนารายณ์……………………....................... อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นพระราม……………………………..................... อาจารย์ ค มสั น ฐ หั ว เมื อ งลาด รั บ บทเป็ น พระลั ก ษมณ์ ในการแสดงโขนเรื่ อ ง รามเกียรติ์ ตอน นาคบาศ………………………………………………………………………………. อาจารย์ ค มสั น ฐ หั ว เมื อ งลาด รั บ บทเป็ น พระลั ก ษมณ์ ในการแสดงโขนเรื่ อ ง รามเกียรติ์ ตอน พุ่งหอกกบิลพัท…………………………………………………………………….. อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับเป็นพระลักษมณ์ ในการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ ตอน สามนักขาหึง…………………………………............................................................... อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นพระลักษมณ์ ในการแสดงโขนกลางแปลง เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นางลอย……………………………………………………………………….. อาจารย์ ค มสั น ฐ หั ว เมื อ งลาด รั บ บทเป็ น พระลั ก ษมณ์ ในการแสดงโขนเรื่ อ ง รามเกียรติ์ ตอน เข้าห้องวานรินทร์…………………………………….................................. อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นพระอินทร์ ในการแสดงละครนอกเรื่อง สังข์ศิลป์ชัย ตอน ตกเหว……………………………………....……………............................... อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รั บบทเป็นปู่เจ้าสมิงพราย ในการแสดงละครพันทาง เรื่อง พระลอ ตอน ปู่เจ้าเรียกไก่……………………………………....…………....................... อาจารย์คมสันฐหัวเมืองลาด รับบทเป็นพระลักษมณ์ ในการแสดงละครดึกดาบรรพ์ เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน สามนักขาหีง……………………………………....…………….............. อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด ในการแสดงละครเรื่องอิเหนา (แต่งกายแบบชวา)...... อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นนางสี ดา การแสดงโขนเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นางลอย………………………………………………………………………………………………. อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นนางสีดา ในการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ลักสีดา…………………………………....................................................................... อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นนางสีดา ในการแสดงโขนเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน สีดาออกศึก………….......................................................................................... อาจารย์ ค มสั น ฐ หั ว เมื อ งลาด รั บ บทเป็ น นางเมขลา ในการแสดงชุ ด เมขลารามสูร……………………………………............................................................................. อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นนางสุพรรณมัจฉา ในการแสดงชุดหนุมาน จับนางสุพรรณมัจฉา……………………………………....……………....................................

4 8 8 9 9 10 10 11 11 12 12 13 13 14 14 15 15 16


สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพ 19 อาจารย์ ค มสั น ฐ หั ว เมื อ งลาด รั บ บทเป็ น นางอรุ ณ วดี ในการแสดงโขนเรื่ อ ง รามเกียรติ์ ตอน พระฤาษีกไลยโกฏ-กาเนิดสีดา……………………................................. 20 อาจารย์ ค มสั น ฐ หั ว เมื อ งลาด รั บ บทเป็ น นางเบญกาย ในการแสดงโขนเรื่ อ ง รามเกียรติ์ ตอน ขับพิเภก……………………………………....…………….............................. 21 อาจารย์ คมสั น ฐ หั ว เมือ งลาด รับ บทเป็ นนางมณี ในการแสดงละครนอกเรื่ อ ง แก้วหน้าม้า ตอน ถอดรูป……………………………………....…………................................. 22 อาจารย์ คมสั นฐ หัว เมืองลาด รับบทเป็นนางรจนา ในการแสดงละครนอกเรื่อง สังข์ทอง ตอน เลือกคู่……………………………………....…………….................................... 23 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นนางเกศสุริยง ในการแสดงละครนอกเรื่อง สุวรรณหงส์……………………………………....…………….................................................... 24 อาจารย์ คมสั น ฐ หั ว เมื อ งลาด รั บ เป็ น นางวิม าลา ในการแสดงละครนอกเรื่ อ ง ไกรทอง………………………………………………………………………………………………………… 25 อาจารย์ ค มสั น ฐ หั ว เมื อ งลาด รั บ บทเป็ น นางละเวง ในการแสดงนอกเรื่ อ ง พระอภัยมณี……………................................................................................................ 26 วงปี่พาทย์ไม้แข็ง…………............................................................................................ 27 ลักษณะการตั้งอุปกรณ์ประกอบการแสดง……………………………………........................ 28 ลักษณะการแต่งกาย……………………………………....……………...................................... 29 ลักษณะการแต่งหน้า……………………………………....…………........................................ 30 พบอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา วันที่ 20-23 มิถุนายน 2561………………………………….. 31 พบอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา วันที่ 14-15 สิงหาคม 2561…………………………………... 32 การสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย วันที่ 31 สิงหาคม 2561………….. 33 ชฎาพระ……………………………………........................................................................... 34 ฉลององค์แขนยาว หรือเสื้อแขนยาว……………………………………....……………............. 35 สนับเพลา หรือกางเกง……………………………………....…………..................................... 36 ภูษา หรือผ้ายก……………………………………....……………............................................. 37 ห้อยหน้า……………………………………....……………....................................................... 38 ห้อยข้าง………………………………………………………………………………………………………. 39 รัดสะเอว…………………………………............................................................................. 40 อินทรธนู…………........................................................................................................ 41 กรองคอ……………………………………........................................................................... 42 ทับทรวง……………………………………....……………........................................................ 43 สังวาล พร้อมตาบทิศ……………………………………....………….......................................

หน้า 16 17 17 18 18 19 19 26 27 28 29 66 67 68 69 69 70 70 71 71 72 72 73 73 74


สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพ 44 45 46 47 48 49 50

หน้า ปะวะหล่า……………………………………....……………...................................................... แหวนรอบข้อมือ……………………………………....……………........................................... ทองกร หรือกาไลแผง……………………………………………………………………………………. เข็มขัด…………………………………................................................................................ กาไลข้อเท้า…………................................................................................................... แหวนรอบข้อเท้า……………………………………............................................................. ศร……………………………………....…………….................................................................

74 75 75 76 76 77 77


1

บทที่ 1 บทนา ความสาคัญของการถ่ายทอดท่ารา นาฏศิ ล ป์ ไ ทย เป็ น ศิ ล ปะประจ าชาติ อี ก แขนงหนึ่ ง ที่ มี ลั ก ษณะโดดเด่ น เป็ น เอกลั ก ษณ์ เฉพาะตัวที่ชัดเจน เป็นวิจิตรศิลป์ที่มีคุณค่าต่อจิตใจของผู้ที่สัมผัส ผู้ที่จะทาให้นาฏศิลป์ทรงคุณค่าและ งดงามประณี ต และเป็ น ที่ พ อใจของผู้ ที่ ไ ด้ ชื่ น ชมก็ คื อ ศิ ล ปิ น หรื อ นั ก แสดง ซึ่ ง เป็ น ผู้ สื บ ทอด ศิลปวัฒนธรรมแขนงนี้ไว้ ซึ่งจะต้องศึกษาทั้งหลักการและวิธีการผสมผสานกับประสบการณ์ที่สั่งสมมา จึงมีท่าราที่สวยงามและถูกต้องตามแบบแผนทุกกระบวนท่า การถ่ายทอดกระบวนท่ารา เป็นสิ่งสาคัญต่อนาฏศิลป์ไทย เมื่อมีครูหรือผู้ประดิษฐ์กระบวน ท่าราขึ้น ซึ่งหากมีการเกิดเหตุสุดวิสัยทาให้ครูหรือผู้ประดิษฐ์ท่าราไม่สามารถที่จะราได้ จึงจาเป็นที่ จะต้องถ่ายทอดกระบวนท่าราให้แก่ศิษย์หรือตามสถาบันการศึกษาต่าง ๆ เพื่อที่จะไม่ให้กระบวนท่ารา นั้นสูญหายไปตามกาลเวลา สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ตระหนั ก ถึ ง ความส าคั ญ ในการฝึ ก หั ด กระบวนท่ า ร านาฏศิ ล ป์ ไ ทย เพื่ อ เป็ น การเพิ่ ม พู น ความรู้ ความสามารถในการราให้ถูกต้องตามแบบแผน จึงได้จัดให้มีการเรียนการสอนในรายวิชาอาศรมศึกษา ขึ้น เพื่อคงไว้ซึ่งรู ป แบบการเรี ย นการสอนที่มีมาแต่โบราณ ประกอบการรวบรวมองค์ความรู้จาก ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านนาฏศิลป์ไทย คือ อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด ตาแหน่งนาฏศิลปินอาวุโส สานัก การสังคีต กรมศิลปากร การแสดงพระลั กษมณ์ล งสรง อยู่ใ นการแสดงโขน เรื่ อง รามเกียรติ์ ตอน ศึ กนาคบาศ พระลั ก ษมณ์ เ ป็ น พระราชโอรสของท้ า วทศรถและนางสมุ ท รชา เป็ น พระอนุ ช าของพ ระราม มีพระวรกายสีเหลือง เป็นบทบาทการแสดงตอนที่ได้ ทรงเครื่องเพื่อเตรียมทาศึกกับอินทรชิต ซึ่งได้รับ คาสั่งจากทศกัณฐ์ให้ มาแก้แค้นแทนอาของตนหรือกุมภกรรณ ซึ่งประเพณี ที่ก่อนจะประกอบพิธีกรรม หรื อทาภารกิจ ส าคัญ จะต้องมีการช าระร่างกายเพื่อความเป็นสวัสดิมงคลแก่ตนเอง บทร้องพระ ลักษมณ์ลงสรง ปรับปรุงบทโดย อาจารย์เสรี หวังในธรรม ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง และ ประดิ ษ ฐ์ ท่ า ร าโดย อาจารย์ ธ งไชย โพธยารมย์ ซึ่ ง ได้ ถ่ า ยทอดกระบวนท่ า ร าเป็ น ท่ า นแรก คือ อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด นาฏศิลปินอาวุโส สานักการสังคีต กรมศิลปากร การราพระลักษมณ์ลงสรง เป็นการแสดงราเดี่ยวที่มีกระบวนท่าราที่งดงาม ทั้งนี้ผู้ศึกษาจึงมี ความสนใจที่จะทาการศึกษาและบันทึกท่าราไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อเป็นประโยชน์ทางการศึกษา ทางด้านนาฏศิลป์ไทยสืบไป วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาค้นคว้าองค์ ประกอบการแสดงและกลวิธีของการราพระลักษมณ์ลงสรง ฉบับของ อาจารย์คมสันฐ์ หัวเมืองลาด


2 วิธีการดาเนินงาน ผู้ศึกษาได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการแสดงชุด พระลักษมณ์ลงสรง จากสื่อ วีดีทัศน์ และได้ ดาเนินการขอรับการถ่ายทอดท่าราจากอาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด และทาการสอบประเมินผลการ แสดงชุด พระลักษมณ์ลงสรง พร้อมวางแผนการดาเนินงานดังตารางต่อไปนี้ ตาราง 1 แสดงวิธีการดาเนินงาน

วิธีการดาเนินงาน

แผนการดาเนินงานเดือนมิถุนายน – เดือนกันยายน ( พ.ศ. 2561 ) มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

1. ศึ ก ษ า ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ปร ะวั ติ กา ร แส ด งร า เดี่ ย ว มาตรฐาน ชุด พระลักษมณ์ลง สรง 2. ศึกษาจากสื่อ วีดีทัศน์ 3. ขอรับการถ่ายทอดกระบวน ท่ า ร าจากอาจารย์ ค มสั น ฐ หัวเมืองลาด 4. สอบ 25% - 100% 5. สอบราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด พระลักษมณ์ลงสรง กับท่าน คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ วันที่ 31 สิงหาคม 2561 6. สรุปผล ส่งรูปเล่ม ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ทราบถึงกลวิธีการแสดงชุดพระลักษมณ์ลงสรง ฉบับของอาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด นิยามศัพท์เฉพาะ พระลักษมณ์: เป็นพระราชโอรสของท้าวทศรถกับนางสมุทรชา เป็นพระอนุชาของพระราม และพระราชโอรสฝาแฝดกับพระสัตรุด เป็นอวตารของพญาอนันตนาคราช และสังข์ มีกายสีทอง


3 ราลงสรง: เป็นการราที่แสดงท่าทางการอาบน้าและแต่งตัวของตัวละคร โดยมีบทร้องบรรยาย ลักษณะการอาบน้าและเครื่องแต่งกายของตัวละคร ใช้ในการแสดงโขนและละครกับตัวละครฝ่ายพระ หรือตัวเอกของเรื่อง ลงสรงโทน: เป็นเพลงหน้าพาทย์ ใช้ประกอบกิริยาอาบน้าของตัวละคร โดยมีบทแต่งตัว โดยมี บทแต่งตัวควบคู่กันไป เดิมมีแต่ทานองร้อง หลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปะบรรเลง) จึงได้แต่ ทานอง รับด้วยปี่พาทย์ บรรเลงประกอบกิริยาของตัวละครดังกล่าว เพลงเสมอ: เป็นเพลงหน้าพาทย์ใช้บรรเลงประกอบกิริยาไป-มา ในระยะใกล้ของตัวละคร โดยปกติต้องบรรเลงออกด้วยเพลงรัวลาเดียว เพลงบาทสกุณี: เป็นเพลงหน้าพาทย์ชั้นสูง สาหรับประกอบการแสดงโขนละคร ในโอกาสที่ตัว ละครสูงศักดิ์เดินเรื่องหรือเคลื่อนที่ไปช้า ๆ ระยะใกล้ ๆ แสดงอากัปกิริย าโอ่อ่า มีเกียรติ ตัวละคร เหล่านั้น เช่น พระราม พระลักษมณ์ เทวดา เพลงนี้เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เสมอตีนนก


บทที่ 2 ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา ประวัติส่วนตัว

ภาพ 1 อาจารย์คมสัณฐ หัวเมืองลาด ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด เกิด เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2503 ตามทะเบียนเกิด ซึ่ง มารดาของอาจารย์แจ้งเกิดช้า 1 ปี อาจารย์เป็นบุตรคนกลางของนายคาหล้า หัวเมืองลาด อาชีพ ข้าราชการกรมสรรพากร กับนางมาลัย พรมสาขา ณ สกลนคร อาชีพข้าราชครู ปัจจุบันครูอาศัยอยู่ ณ บ้านเลขที่ 49/183 ถนนกาญจนาภิเษก ตาบลเสาธงหิน อาเภอบางใหญ่ จังหวั ดกรุงเทพมหานคร มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 3 คน ได้แก่ นายอนวัฒน์ พรมสาขา ณ สกลนคร อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด และนางกนกมรกต หัวเมืองลาด (สมรสแล้ว) เนื่องจากบิดาของอาจารย์รับราชการจึงทา ให้ครอบครัวครูต้องย้ายที่อยู่อาศัยไปตามที่ทางานของบิดา ประวัติด้านการศึกษา อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด เริ่มเข้ารับระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่จังหวัดสกลนคร ต่อจากนั้นมารดาได้ส่งเข้ามาเรียนที่วิทยาลัยนาฏศิลป (กรุงเทพมหานคร) เพราะอาจเห็นว่าครูมีความ สนใจในเรื่องความสวยงามตั้งแต่ยังเด็ก เนื่องจากในขณะนั้นครูยังเล็ กอยู่ จึงไม่รู้ทิศทางของตัวเอง จึง ลองเข้าสอบมาในปี พ.ศ. 2513 ได้รับเลือกให้เรียนโขนพระ โดยครูที่สอนพื้นฐานในการราให้ ได้แก่ ครูวง ล้อมแก้ว (ถึงแก่กรรม), ครูอาคม สายาคม (ถึงแก่กรรม), ครูสัญชัย สุขสาเนียง (ถึงแก่กรรม),


5

ครูลมุล ยมะคุปต์ (ถึงแก่กรรม), ครูประพิศพรรณ ศรีเพ็ญ (ถึงแก่กรรม), ครูอุดม อังศุธร, ครูธีรยุทธ์ ยวงศรี และครูสมบัติ แก้วสุจริต ต่อมามีรุ่นพี่ที่สาเร็จการศึกษาก่อนเข้ามาสอน ได้แก่ ครูวีรชัย มีบ่อ ทรัพย์ , ครูไพฑูรย์ เข้มแข็ง , ครูศุภ ชัย จันทร์สุว รรณ นอกจากนี้ยังมีครูตัวนางที่มีโอกาสได้รับการ ถ่ายทอดกระบวนท่า ได้แก่ ครูเฉลย ศุขะวณิช (ถึงแก่กรรม), ครูจาเรียง พุธประดับ (ถึงแก่กรรม), ครูนิตยา จามรมาน และครูนพรัตน์ หวังในธรรม ครูโขนยักษ์ ได้แก่ ครูทองเริ่ม อินทรณัฐ (ถึงแก่ กรรม) สอนเพลงหน้าพาทย์ในระดับปริ ญญาตรี และจบการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพนาฏศิลป์ ชั้นสูง เมื่อปี พ.ศ. 2523 หลังจากเรียนจบหลักสูตรนาฏศิลป์ชั้นสูงก็เข้าศึกษาต่อปริญญาศิลปศาสตร บัณฑิต (นาฏศิลป์ไทย) ที่วิทยาลัยนาฏศิลป สมทบวิทยาลัยเทคโนโลยีฯ อีก 2 ปี และจบการศึกษาเมื่อ ปี พ.ศ.2525 จากนั้นเข้ารับการศึกษาต่อในระดับมหาบัณฑิตที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (การจัดการ บริหารงานวัฒนธรรมด้านการแสดง) จบการศึกษาเมื่อปี พ.ศ. 2545 ประวัติด้านการทางาน เมื่อจบเทคโนโลยี และอาชีวศึกษาที่วิทยาลัยนาฏศิล ปสมทบ คณะนาฏศิลป์และดุริยางค์ ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2523 ก็สอบบรรจุเข้ารับราชการครูที่วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2525 ในเดือนพฤษภาคม เป็นระยะเวลาประมาณ 4 ปี จึงกลับเข้ามารับข้าราชการพลเรือน ที่สานัก การสังคีต ในกรุงเทพมหานคร ตาราง 2 แสดงประวัติการรับราชการของอาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด วัน เดือน ปี 12 พฤษภาคม 2526 1 ตุลาคม 2531 20 กรกฎาคม 2535 23 กรกฎาคม 2540 11 ธันวาคม 2551 ปัจจุบัน

ตาแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 นาฏศิลปิน 4 นาฏศิลปิน 5 นาฏศิลปิน 6 นาฏศิลปิน ระดับชานาญงาน นาฏศิ ล ปิ น ระดั บ อาวุ โ ส

สังกัด กองศิลปศึกษา กองการสังคีต สถาบันนาฏดุริยางคศิลป์ สถาบันนาฏดุริยางคศิลป์ สานักการสังคีต สานักการสังคีต

หมายเหตุ: จากเริ่มรับราชการจนถึงปัจจุบัน แสดงเฉพาะที่ได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งในระดับที่ สูงขึ้น และการเปลี่ยนแปลงในการดารงตาแหน่งในสายงานต่าง ๆ ปัจจุบันนอกเหนือจากหน้าที่ทางราชการแล้วอาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด ยังเป็นอาจารย์ พิเศษให้กับสถาบันทางการศึกษาทางด้านนาฏยศิลป์ไทยอีกหลายแห่ง เช่น - อาจารย์ผู้ฝึกสอนนาฏศิลป์ ชมรมดนตรีไทย และนาฏศิลป์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง - วิทยากรสอนนาฏศิลป์ไทย โครงการเครือข่ายศิลปิน ศิลปากร - วิทยากรสอนนาฏศิลป์ ให้กับวิทยาลัยนาฏศิลปในส่วนภูมิภาค - วิทยากรสอนนาฏศิลป์ ให้กับมหาวิทยาลัยศิลปากร - วิทยากรสอนนาฏศิลป์ ให้กับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์


6

- วิทยากรสอนนาฏศิลป์ ให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา - วิทยากรสอนนาฏศิลป์ ให้กับโรงเรียนราชวินิต - ที่ปรึกษาผลงานคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นต้น การฝึกอบรมและดูงาน ตาราง 3 แสดงประวัติ การฝึกอบรมและดูงานเมื่อได้รั บค าสั่งตั้งแต่เ ริ่ มเข้า รั บราชการของ อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด วัน เดือน ปี 9-11 มกราคม 2552

หลักสูตร โครงการระบบการจั ด การองค์ ค วามรู้ ด้ า น นาฏศิลป์ไทย (กระบวนท่าราโขนพระ) 15 มกราคม 2552 สัมมนาทิศทางประเทศไทย ในมิติวัฒนธรรม 23 มกราคม 2552 สัมมนาโครงการแลกเปลี่ยนนาฏศิลป์–ดนตรี 16-19 มีนาคม 2552 โครงการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านนาฏศิลป์ ไทยและดนตรีระหว่างไทยกับญี่ปุ่น 25-26 มีนาคม 2552 เสวนาเนื่ อ งในวั น คล้ า ยวั น สถาปนา กรม ศิลปากร 98 ปี 22-23 มิถุนายน 2552 30 ส.ค.-1 ก.ย. 2552 25 ธันวาคม 2552 19-22 มกราคม 2553 29 มี.ค.-1 เม.ย. 2553 31 พฤษภาคม 2553

สถาบัน อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ศูนย์วัฒนธรรม หอวชิราวุธานุสรณ์ วิทยาลัยนาฏศิลป กาฬสินธุ์ ห้องดารงราชานุภาพ พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ สัมมนาโครงการพัฒนาบุคลากร โรงแรมชลจันทร์ จังหวัดชลบุรี เผยแพร่ความรู้นาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป เชียงใหม่ ป ร ะ ชุ ม ง บ ป ร ะ ม า ณ ข อ ง ก ร ม ศิ ล ป า ก ร หอสมุดแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2554 – 2556 ท่าวาสุกรี สั ม มนาเรื่ อง องค์ คว ามรู้ ข อ งอาจาร ย์ จังหวัดนครราชสีมา เสรี หวังในธรรม องค์ความรู้ด้านนาฏศิลป์เกี่ยวกับการแสดง วิทยาลัยนาฏศิลป เชียงใหม่ สัมมนาเชิงปฏิบัติการ ท่าราต่าง ๆ โรงแรมรอยั ล ปริ้ น เซส หลานหลวง กรุงเทพฯ


7

ตาราง 3 (ต่อ) วัน เดือน ปี 11 มิถุนายน 2553

หลักสูตร สัมมนาเชิงปฏิบัติการ “การระดมความคิดเห็น และข้ อ มู ล พื้ น ฐานที่ ใ ช้ ใ นการพิ จ ารณาการ แสดง” 16-18 มิถุนายน 2553 สัมมนาเชิงปฏิบัติการ “การระดมความคิดเห็น และข้ อ มู ล พื้ น ฐานที่ ใ ช้ ใ นการพิ จ ารณาการ แสดง” 28-29 มิถุนายน 2553 โครงการพั ฒ นาบุ ค ลากรเฉพาะด้ า นนาฏ ดุริยางคศิลป์ คีตศิลป์

สถานที่ โรงละครแห่งชาติ (โรง เล็ก) โ ร ง แ ร ม MILLFORD PARADISE RESORT โรงแรมจันทรารีสอร์ท จังหวัดนครนายก

ผลงานด้านการแสดง 1. ผลงานการแสดงสมัยกาลังศึกษาอยู่ที่วิทยาลัยนาศศิลป - การแสดงชุดแรกที่ได้แสดง คือ เป็นตัวประกอบเอก (กุมาร) ในเรื่องสิงหไกรภพ - เริ่มเป็นที่รู้จักในการแสดง ไหว้ครูชาตรี ระดับชั้นต้น 1 - ผลงานการแสดงที่มีชื่อเสียง ได้แก่ การแสดงละครเรื่องสังข์ทอง รับบทพระสังข์ ที่โรงละคร แห่งชาติ - ผลงานการแสดงในบทตัวนาง ได้แก่ นางเบญกาย, นางมณีเมขลา - ได้รับบทพระราม เมื่อศึกษาในระดับชั้นกลาง 3 อยู่หลายตอน เช่น ตอนนางลอย ตอนศึก มังกรกัณฐ์ เป็นต้น -ได้รับบทเทพเจ้า เช่น พระอิศวร, พระนารายณ์, พระพรหม, พระวิษณุกรรม, พระอินทร์, ตลอดจนเทวดาต่าง ๆ 2. ผลงานการแสดงเมื่อจบการศึกษา (ทางานข้าราชการ) โขนตัวพระ เช่น พระราม, พระลักษมณ์, พระพรต, พระสัตรุด, พระอิศวร, พระนารายณ์, พระพรหม, พระวิษณุกรรม, พระอินทร์, พระเพลิง, พระพาย, พระอินทร์, ตลอดจนเทวดาน้อยต่าง ๆ โขนตัวนาง เช่น นางสีดา, นางเบญกาย, นางมณีเมขลา, นางมณโฑ, นางนารายณ์, ตลอดจน นางกานัลต่าง ๆ ตัวพระ (ละคร) เช่น พระลอ, พระอภัยมณี, ศรีสุวรรณ, สินสมุทร, สุดสาคร, คาวี, วิหยาสะ กา, อุณากรรณ, พลายชุมพล เป็นต้น ตัวนาง (ละคร) เช่น นางวิมาลา ในเรื่องไกรทอง, นางรจนา ในเรื่องสังข์ทอง, นางจันท์สุดา ในเรื่องพหลวิชัยคาวี, นางยอพระกลิ่น ในเรื่องมณีพิชัย, นางมโนห์รา ในเรื่องมโนห์รา, นางเกศสุริยง ในเรื่องสุวรรณหงส์, นางธนูทอง ในเรื่องโกมินทร์, นางละเวง ในเรื่องพระอภัยมณี เป็นต้น


8

ภาพ 2 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นพระอิศวร ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561

ภาพ 3 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นพระนารายณ์ ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561


9

ภาพ 4 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นพระราม ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561

ภาพ 5 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นพระลักษมณ์ ในการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นาคบาศ ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561


10

ภาพ 6 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นพระลักษมณ์ ในการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ ตอน พุ่งหอกกบิลพัท ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561

ภาพ 7 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นพระลักษมณ์ ในการแสดงโขน เรื่องรามเกียรติ์ ตอน สามนักขาหึง ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561


11

ภาพ 8 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นพระลักษมณ์ ในการแสดงโขนกลางแปลง เรื่องรามเกียรติ์ ตอน นางลอย ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561

ภาพ 9 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นมานพ ในการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ ตอน เข้าห้องนางวานรินทร์ ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561


12

ภาพ 10 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นพระอินทร์ ในการแสดงละครนอก เรื่องสังข์ศิลป์ชัย ตอน ตกเหว ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561

ภาพ 11 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นปู่เจ้าสมิงพราย ในการแสดงละครพันทาง เรื่องพระลอ ตอน ปูเ่ จ้าเรียกไก่ ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561


13

ภาพ 12 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นพระลักษมณ์ ในการแสดงละครดึกดาบรรพ์ เรื่องรามเกียรติ์ ตอน สามนักขาหึง ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561

ภาพ 13 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด ในการแสดงละครเรื่องอิเหนา (แต่งกายแบบชวา) ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561


14

ภาพ 14 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นนางสีดา ในการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นางลอย ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561

ภาพ 15 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นนางสีดา ในการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ลักสีดา ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561


15

ภาพ 16 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นนางสีดา ในการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ ตอน สีดาออกศึก ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561

ภาพ 17 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นนางเมขลา ในการแสดงชุดเมขลา-รามสูร ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561


16

ภาพ 18 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นนางสุพรรณมัจฉา ในการแสดงชุดหนุมาน จับนางสุพรรณมัจฉา ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561

ภาพ 19 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นนางอรุณวดี ในการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ ตอน พระฤาษีกไลยโกศ-กาเนิดสีดา ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561


17

ภาพ 20 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นนางเบญกาย ในการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ขับพิเภก ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561

ภาพ 21 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นนางมณี ในการแสดงละครนอกเรื่องแก้วหน้าม้า ตอน ถอดรูป ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561


18

ภาพ 22 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นนางรจนา ในการแสดงละครนอกเรื่องสังข์ทอง ตอน เลือกคู่ ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561

ภาพ 23 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นนางเกศสุริยง ในการแสดงละครนอก เรื่องสุวรรณหงส์ ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561


19

ภาพ 24 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นนางวิมาลา ในการแสดงละครนอกเรื่อง ไกรทอง ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561

ภาพ 25 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด รับบทเป็นนางละเวง ในการแสดงละครนอก เรื่องพระอภัยมณี ที่มา: คมสันฐ หัวเมืองลาด, 2561


20

แผนผังการสืบทอดและถ่ายทอดท่ารา อาจารย์ คมสัน ฐ หัว เมืองลาด ได้รับการถ่ายทอดกระบวนท่าราชุด พระลั กษมณ์ลงสรง จากอาจารย์ธงไชย โพธยารมณ์ ซึ่งท่านเป็นผู้ประดิษฐ์ ท่ารา เพื่อแสดงกระบวนท่าการลงสรงของ พระลักษมณ์ ในตอนที่พระลักษมณ์มีบทบาทสาคัญก่อนที่จะออกศึกในแต่ละครั้ง ซึ่งมีผู้ที่ได้รับ การ ถ่ายทอดกระบวนท่านี้ หลายคน อาทิ อาจารย์คมสันฐ หั ว เมืองลาด, อาจารย์ส มเจตน์ ภู่ นา และ อาจารย์หัสดิน ปานประสิทธิ์ แต่ในปัจจุบันไม่ได้แสดงการราพระลักษมณ์ลงสรงนี้เป็นเวลากว่า 12 ปี เนื่องด้วยใช้เวลานานในการแสดง ทาให้การจัดการแสดงโขนในปัจจุบันตัดตอนลงสรงออกไป แล้วเข้า สู่กระบวนการรบเลย อาจารย์ คมสันฐ หัวเมืองลาด เคยแสดงเนื่องในงานแสดงดนตรีเพื่อประชาชน ณ ศูนย์สังคีต กรมศิลปากร ประมาณปี พ.ศ. 2532 นอกจากนั้น ก็จะใช้แสดงเป็นกรณีศึกษาหรือใน กรณีที่แสดงถวายต่อหน้าพระพักตร์เท่านั้น ซึ่งกระบวนท่าราพระลักษมณ์ลงสรงนี้ไม่มีการบรรจุไว้ใน หลักสูตรการเรียนของวิทยาลัยนาฏศิลป์ หรือสถาบันการศึกษาใด ๆ ดังตารางต่อไปนี้ แผนผังลาดับการสืบทอด การแสดงราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาศศิลป์ไทย ชุด พระลักษมณ์ลงสรง อาจารย์ธงชัย โพธิยารม อดีตผู้เชี่ยวชาญนาศศิลป์ไทย สานักการ สังคีตกรมศิลปากร

อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด นาฏศิลปินอาวุโส สานักการสังคีตกรม ศิลปากร

อาจารย์สมเจต ภู่นา นาฏศิลปินอาวุโส สานักการสังคีตกรมศิลปากร

อาจารย์หัสดิน ปานประสิทธิ์ นาฏศิลปินอาวุโส สานักการสังคีต กรมศิลปากร

นายณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา นิสิตชั้นปีที่ 4 สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร


21

บทที่ 3 วิธีดาเนินการสืบทอดและฝึกหัด การศึกษาศิลปะประเภทต่าง ๆ ที่เป็นวิทยาการชั้นสูง เกิดจากพระราชสานักจนมีการเผยแพร่ ออกไปสู่สังคมทุกชนชั้น การศึกษาวิชานาฏศิลป์ไทยยังคงเป็นวิชาที่มีคุณค่าสูง เพราะผู้ที่สนใจจะศึกษา จะต้องเป็นครูผู้ที่ถ่ายทอดได้พิจารณาแล้วว่า จะสามารถรับการถ่ายทอดศิลป์วิทยาแขนงนี้ไว้ได้ โดยเฉพาะ เชิงอนุรักษ์สืบทอด ดังนั้นขั้นตอนในการศึกษาที่สาคัญคือ การเดินทางไปศึกษากับครูผู้ทรงคุณวุฒิ ณ ที่ พานัก หรือสถานที่ที่ครูใช้เป็นที่ถ่ายทอดศิลปะดังกล่าว การศึกษาในรายวิชาอาศรมศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ไทย เป็นวิชาที่มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ค้นคว้ารวบรวมความรู้จ ากผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ ความช านาญที่ได้สั่งสมประสบการณ์จ นเกิดความ เชี่ยวชาญทางนาฏศิลป์ไทยจนเป็ นที่ยอมรับในวงการวิชาชีพ ในการศึกษามีลักษณะเป็นการถ่ายทอด ประกอบการฝึกหัดปฏิบัติจากผู้ทรงคุณวุฒิโดยตรง โดยมุ่งกระบวนการฝึกทักษะเป็นสาคัญ ทั้งนี้มีการ กาหนดระยะเวลาเนื้อหาวิชาที่ศึกษา กิจกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอน ตลอดจนมีการบันทึกท่าราไว้เป็น หลักฐานทางวิชาการ ในการศึ ก ษาครั้ ง นี้ ผู้ ศึ ก ษาได้ ท าการศึ ก ษาและขออนุ ญ าตถ่ า ยทอดกระบวนท่ า ร าจาก ผู้ทรงคุณวุฒิ คือ อาจารย์ คมสั นฐ หัวเมืองลาด นาฏศิล ปินอาวุโ ส ส านักการสังคีต กรมศิลปากร โดย คัดเลือกเพลงราเดี่ยวมาตรฐานตามเกณฑ์ที่หลักสูตรกาหนดจานวน 1 เพลง คือ พระลักษมณ์ลงสรง ตาราง 4 แสดงระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัดท่าราพระลักษมณ์ลงสรง รายการ 1. ศึกษาและฝึกปฏิบัติตามในวิดีโอการ แสดงราเดี่ยว ชุด พระลักษมณ์ลงสรง 2. เข้าพบอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราการ แสดงราเดี่ยว ชุด พระลักษมณ์ลงสรง 3. ฝึกปฎิบัติการแสดงราเดี่ยว ชุด พระ ลักษมณ์ลงสรง 4. ฝึกปฎิบัติการแสดงราเดี่ยว ชุด พระ ลักษมณ์ลงสรง

วัน/เวลา/สถานที่ 17-19 มิถุนายน 2561

ผู้ฝึกซ้อม ฝึกซ้อมด้วยตนเอง

20-23 มิถุนายน 2561 อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด สานักการสังคีต กรมศิลปากร 24-30 มิถุนายน 2561 ฝึกซ้อมด้วยตนเอง ตึก IT มหาวิทยาลัยนเรศวร 5-6 กรกฎาคม 2561 อาจารย์วรวิทย์ ทองเนื้ออ่อน คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร


22

ตาราง 4 (ต่อ) รายการ วัน/เวลา/สถานที่ 5. ฝึกปฎิบัติการแสดงราเดี่ยว ชุด พระ 10-13 กรกฎาคม 2561 ลักษมณ์ลงสรง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 6. ฝึกปฎิบัติการแสดงราเดี่ยว ชุด พระ 14-31 กรกฎาคม 2561 ลักษมณ์ลงสรง ตึก IT มหาวิทยาลัยนเรศวร 7. การสอบราเดี่ยว ชุด พระลักษมณ์ลง 1 สิงหาคม 2561 สรง ตึก IT มหาวิทยาลัยนเรศวร 8. การสอบราเดี่ยว ชุด พระลักษมณ์ลง 8 สิงหาคม 2561 สรง ตึก IT มหาวิทยาลัยนเรศวร 9. เข้าพบอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราการ 14-15 สิงหาคม 2561 แสดงราเดี่ยว ชุด พระลักษมณ์ลงสรง สานักการสังคีต กรมศิลปากร 10. ฝึกปฎิบัติการแสดงราเดี่ยว ชุด พระ 16-21 สิงหาคม 2561 ลักษมณ์ลงสรง ตึก IT มหาวิทยาลัยนเรศวร 11. การสอบราเดี่ยว ชุด พระลักษมณ์ 22 สิงหาคม 2561 ลงสรง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 12. ฝึกปฎิบัติการแสดงราเดี่ยว ชุด พระ 23-27 สิงหาคม 2561 ลักษมณ์ลงสรง ตึก IT มหาวิทยาลัยนเรศวร 13. การสอบราเดี่ยว ชุด พระลักษมณ์ 29-30 สิงหาคม 2561 ลงสรง โรงละครเฉลิ ม พระเกี ย รติ ฯ มหาวิทยาลัยนเรศวร 14. การสอบราเดี่ยว ชุด พระลักษมณ์ 31 สิงหาคม 2561 ลงสรง โรงละครเฉลิมพระเกียรติฯ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ผู้ฝึกซ้อม อาจารย์วรวิทย์ ทองเนื้ออ่อน ฝึกซ้อมด้วยตนเอง อาจารย์ทุกท่านในสาขาวิชา นาฏศิลป์ไทย อาจารย์ทุกท่านในสาขาวิชา นาฏศิลป์ไทย อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด ฝึกซ้อมด้วยตนเอง อาจารย์ทุกท่านในสาขาวิชา นาฏศิลป์ไทย ฝึกซ้อมด้วยตนเอง อาจารย์ทุกท่านในสาขาวิชา นาฏศิลป์ไทย คณะกรรมการ


23

ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการ 1. ดร.นพรัตน์ศุภาการ หวังในธรรม - ผู้แสดงเหมาะสมกับบทพระลักษมณ์ ฝีมือใช้ได้เลย 2. ดร.ไพฑูรย์ เข้มแข็ง - แต่งกายสวยงามเรียบร้อยดี ตอนเสมอออกมาอยากให้นิ่งอีก - ท่าห่าฝน ทาท่าจีบโปรย ถ้าให้มือจีบสูงอีกนิดจะสมบูรณ์ เหมือนน้าฝนลงมาจากฟ้า จังหวะลีลา ใช้ได้ ผู้แสดงทาการบ้านมาดี - การใช้พื้นที่บนเวทีส่วนใหญ่จะราอยู่ตรงหน้าเตียง ควรจะออกมาข้างหน้าได้บ้าง - หน้าพาทย์บาทสกุณีทาการบ้านมาดี จังหวะถูกต้อง แต่ตอนเข้าหันก้นไปนิด 3. อาจารย์ตวงฤดี ถาพรพาสี - ไม่มี 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฐิติมา วิทยาวงศรุจิ - ราเหมือนไม่มีแรง วงล้า จังหวะก็ไม่แน่น เก็บหัวแม่โป้งด้วยนะคะ 5. รองศาสตราจารย์นุชนาฏ ดีเจริญ - ราไม่หมดมือ เหมือนไม่หักข้อมือ จังหวะไม่กระชับ ตามองต่า


24

บทที่ 4 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด พระลักษมณ์ลงสรง จากรายวิ ช าอาศรมศึ ก ษา เพื่ อ ศึ ก ษาค้ น คว้ า องค์ ป ระกอบการแสดงและกลวิ ธี ข องการร า พระลักษมณ์ลงสรง ฉบับของอาจารย์คมสันฐ์ หัวเมืองลาด ประวัติความเป็นมาของการแสดง การแสดงชุ ด พระลั ก ษมณ์ ล งสรง อยู่ ใ นประเภทลงสรงโทน ปรากฏในการแสดงโขนเรื่ อ ง รามเกียรติ์ ในหลายชุดหลายตอน อาทิ ชุดศึกนาคบาศ, อสูรกาปั่นขัดตาทัพ และศึกกุมภกรรณ เป็นบท พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย แต่เมื่อนามาแสดงได้ตัดทอนบทพระราชนิพนธ์ เพื่อปรับให้ใช้เวลาในการแสดงที่น้อยลง ซึ่งในแต่ละตอนนั้น บทลงสรงจะแตกต่างกันออกไป ซึ่งผู้ศึกษาได้ ทาเลือกการแสดงชุดพระลักษมณ์ลงสรง ที่ปรากฏอยู่ในการแสดงโขน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน ศึกนาคบาศ เรื่องย่อของการแสดง การแสดงชุ ด พระลั ก ษมณ์ ล งสรง อยู่ ใ นการแสดงโขน เรื่ อ ง รามเกี ย รติ์ ตอน ศึ ก นาคบาศ บทพระราชนิ พ นธ์ ในพระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาลั ย เนื้ อ เรื่ อ งกล่ า วถึ ง ทศกั ณ ฐ์ เ มื่ อ รู้ ว่ า กุมภกรรณตายก็เสีย ใจและโกรธแค้นมาก จึงสั่งให้ อินทรชิตไปแก้แค้นแทนอาของตน พระรามให้พระ ลักษมณ์ออกรบกับอินทรชิตก็ยังไม่สามารถเอาชนะได้ อินทรชิตจึงบอกให้พระลักษมณ์มารบกันใหม่ใน วันรุ่งขึ้น ฝุายอินทรชิตเมื่อกลับเข้าลงกาแล้วคิดว่าศัตรูมีกาลังกล้าแข็งมาก จึงทูลทศกัณฐ์ว่าจะไปทาพิธีชุบ ศรนาคบาศที่เขาอากาศ โดยให้ฝูงนาคมาคายพิษลงบนศรเป็นเวลา 7 วันจึงจะเสร็จพิธี ระหว่างที่อินทรชิต ไปทาพิธีชุบศร ทศกัณฐ์จึงให้มังกรกัณฐ์โอรสพระยาขรผู้เป็นหลานไปรบขัดตาทัพไว้ก่อนพระรามได้ออกไป รบคู่มังกรกัณฐ์ยิงศรทะลุเกราะเพชร พระรามจึงแผลงศรไปถูกศรของมังกรกัณฐ์หัก และถูกเหล่ ายักษ์ตาย ลงเป็นจานวนมาก มังกรกัณฐ์จึงหนีไปซ่อนในกลีบเมฆและเนรมิตรูปมายาของตนขึ้นมามากมาย พร้อมกับ บันดาลให้ฝนเพลิงตกลงมา พิเภกบอกวิธีสังหารมังกรกัณฐ์ พระรามได้แผลงศรพรหมมาศไปสังหารตัวจริง ตาย รู ป มายาก็ ห ายไปจนหมดสิ้ น สารั ณ ทู ตจึ ง กลั บ ไปบอกทศกั ณ ฐ์ ทศกั ณ ฐ์ จึ ง ได้ ให้ วิ รุญ มุ ข ลู ก ของ วิรุญจาบังยกทัพไปขัดตาทัพอีกครั้ง ต่อมาพระรามรู้ว่าอินทรชิตไม่ยกทัพมาเพราะไปตั้งพิธีชุบศรนาคบาศ ในโพรงไม้โรทันที่เขาอากาศ จึงสั่งให้ชามพูวราชแปลงเป็นหมีไปกัดไม้ที่อินทรชิตทาพิธีให้หักโค่นลงการ เรียกพิษนาคจึงไม่ต่อเนื่องอานาจจึงเสื่อมลง ฝุายอินทรชิตเมื่ อเสียพิธีแล้ว จึงไปยังเขามรกตเพื่อสมทบกับ ทัพวิรุญมุข พระรามได้ให้พระลักษมณ์ออกไปรบอีก พระลักษมณ์จึงทาการลงสรงทรงเครื่องแล้วจึงออกไป รบกับอินทรชิตแต่ก็ถูกศรนาคบาศของอินทรชิต จนสลบ พิเภกกลับมาบอกพระรามว่าพระลักษมณ์ต้องศร นาคบาศแต่ ยั ง ไม่ สิ้ น ชี พ ให้ พ ระรามแผลงศรพลายวาตไปเรี ย กพญาครุ ฑ มา เหล่ า พญานาคเมื่อ เห็ น พญาครุฑก็หนีไป พระลักษมณ์และไพร่พลลิงจึงฟื้นขึ้นและได้ยกทัพกลับพลับพลาไป


25

บทร้อง บทร้องที่ใช้ในการแสดงชุด พระลักษมณ์ลงสรง ปรากฏอยู่ในบทพระราชนิพนธ์ เรื่อง รามเกียรติ์ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ซึ่งมีบทดังนี้ ๏โทน ไขสหัสธาราดังห่าฝน ต้องสกลซ่านเซ็นเย็นใส ทรงกระแจะจันทน์ปรุงจรุงใจ ลูบไล้เครื่องต้นสุคนธา สอดสนับเพราพริ้งยิ่งยง บรรจงทรงทิพย์ภูษา ตาดทองฉลององค์อลงการ์ ห้อยหน้าผ้าทิพย์ขลิบสุวรรณ ปั้นเหน่งเพชรไพโรจน์โชติช่วง ตาบประดับทับทรวงดวงกุดั่น ทองกรพุกามแก้วแพรวพรัน ธามรงค์เรือนสุวรรณกัมพู ทรงมงกุฎแก้วระยับประดับพลอย อุบะบุปผาร้อยห้อยจอนหู ขัดพระขรรค์เคยสังหารผลาญศัตรู จับธนูศรชัยไคลคลา ฯ 8 คา ฯ เสมอ (พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย, 2498, หน้า 226-227) ซึ่งเมื่อนาบทนี้มาทาการแสดง จึงได้ทาการตัดทอนบทให้สั้นลงเพื่อโอกาสและเวลาอันสมควร ซึ่งบทที่ผู้ศึกษาได้รับการถ่ายทอดกระบวนท่ารานี้ ได้รับการปรับปรุงบท โดย อาจารย์เสรี หวังในธรรม ศิลปินแห่งชาติ (คมสันฐ หัวเมืองลาด, ผู้ให้สัมภาษณ์, 22 มิถุนายน 2561) โดยบทร้องที่ได้ทาการปรับปรุง บทร้อง มีดังนี้ -ปี่พาทย์ทาเพลงเสมอ-ร้องเพลงลงสรงโทนไขสหัสธาราดังห่าฝน ต้องสกลซ่านเซ็นเย็นใส ทรงกระแจะจันทน์ปรุงจรุงใจ ลูบไล้เครื่องต้นสุคนธา สอดสนับเพราพริ้งยิ่งยง บรรจงทรงทิพย์ภูษา ฉลององค์ทรงชุดยุทธนา จับเทพศาสตราแล้วคลาไคล -ปี่พาทย์ทาเพลงบาทสกุณีดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง วงดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง คือ วงปี่พาทย์ไม้แข็ง อันประกอบไปด้วย ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ปี่ใน กลองทัด ตะโพน และฉิ่ง


26

ภาพ 26 วงปี่พาทย์ไม้แข็ง ที่มา: ดนตรีวิถีไทย, 2561 ฉากและองค์ประกอบการแสดง การแสดงชุดพระลักษมณ์ลงสรง มีอุปกรณ์การแสดงซึ่งสมมติว่าเป็น ห้องลงสรง โดยมีประกอบ ฉากดังต่อไปนี้ 1. เครื่องราชูปโภค -เครื่องทรงพระสาอาง ได้แก่ ผอบ และคณโฑ 2. เตียงใหญ่สีแดง 3. โต๊ะหมู่ 1 ตัว สาหรับพานวางศร


27

ภาพ 27 ลักษณะการตั้งอุปกรณ์ประกอบการแสดง ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561 เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า 1. การแต่งกาย การแสดงชุด พระลักษมณ์ลงสรง โดยการแต่งกายพระลักษมณ์นั้น อ้างอิงจาก ลักษณะสีกายของพระลักษมณ์ ซึ่งมีสีกายเป็นทอง อันมีลักษณะการแต่งกายดังนี้ 1.1 เครื่องประดับศีรษะ 1. ชฎายอดชัย และพวงอุบะ ดอกไม้ทัด 1.2 เครื่องแต่งกาย 1. เสื้อแขนยาวสีเหลือง 2. สนับเพลาสีเหลืองขลิบม่วง 3. ผ้ายกสีม่วง 4. กรองคอสีม่วง 5. อินทรธนูสีม่วง 6. รัดสะเอวสีเหลืองขลิบม่วง 7. ห้อยหน้าสีเหลืองขลิบม่วง 8. ห้อยข้างปลายสะบัดสีเหลืองขลิบม่วง


28

1.3 เครื่องประดับ 1. ทับทรวงสีทอง 2. สังวาลสีทอง พร้อมตาบทิศสีทอง 3. กาไลแผงสีทอง (ทองกร) 4. ปะวะหล่า 5. แหวนรอบข้อมือสีทอง 6. หัวเข็มขัดสีทอง พร้อมสายเข็มขัดสีทอง 7. กาไลข้อเท้าสีทอง (หัวบัว) 8. แหวนรอบข้อเท้าสีทอง 1.4 อุปกรณ์ประกอบการแสดง 1. ศร 1 คัน

ภาพ 28 ลักษณะการแต่งกาย ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561


29

2. การแต่งหน้า ลักษณะของการแต่งหน้า คือ เป็นลักษณะของการแต่งหน้าแบบละครไทย โดยการผัดหน้า เขียนคิ้วให้มีลักษณะโก่งสีดา ทาปากสีแดงสด เขียนขอบตาให้มีความเข็ม

ภาพ 28 ลักษณะการแต่งหน้า ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561 นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง นาฏยศัพท์ หมายถึง ศัพท์ที่เกี่ยวกับลักษณะท่าราที่ใ ช้ในการฝึกหัดเพื่อใช้ในการแสดงโขน ละคร ผู้รวบรวมและผู้ให้คาอธิบายเป็นคนแรก คือ ครูอาคม สายาคม จัดทาเป็นตาราเมื่อ พ.ศ. 2497 ซึ่งครู อาคม สายาคม เรียบเรียงจากความรู้ในการปฏิบัติของท่านเอง รวมทั้งการสอบถามจากบรรดาครูอาวุโส ทั้งปวงที่อยู่ในกรมศิลปากร และได้ใช้เป็นต้นแบบของตารารุ่นหลัง ต่อมาเมื่อศิลปินให้ความสาคัญกับ วิชาการทางด้านนาฏศิลป์มากขึ้น จึงมีผู้เขียนตาราอันมีเรื่องราวเกี่ยวกับนาฏยศัพท์ในนาฏศิลป์ไทยนี้ สอดแทรกอยู่ ห ลายเล่ มด้ว ยกัน ซึ่งตลอดระยะเวลาของการถ่ายทอดและฝึ กหัด ครูผู้ทรงคุณวุฒิ จะให้ นาฏยศัพท์นี้เองเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดท่ารา ซึ่งผู้เรียนจะต้องเป็นผู้ที่รู้จักและมีความชานาญในเรื่อง นาฏยศัพท์มาแล้วเป็นอย่างดี มิเช่นนั้นการสื่อสารระหว่างครูและผู้เรียนจะเป็นไปได้อย่างลาบาก การแสดงชุดพระลักษมณ์ลงสรง เป็นกระบวนท่าราซึ่งแสดงออกถึงความสามารถไหวพริบของ ผู้แสดงในการปฏิบัติท่วงท่าให้มีความสอดคล้องกับทานองและเนื้อเพลงอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย จะต้อง


30

มีความสัมพันธ์กันเพื่อประกอบเป็ นกระบวนท่านาฏยศัพท์ขึ้นมา โดยนาฏยศัพท์ที่พบในการแสดงชุดพระ ลักษมณ์ลงสรง มีดังนี้ 1. วง คือ ช่วงมือและแขนที่กางออก ปลายมือจะตั้งขึ้น ลาแขนโค้งไม่หักหรืองอเป็นเหลี่ยม วง โดยทั่วไปมี 5 ชนิด ได้แก่ วงบน หรือวงสูง วงกลาง วงต่า วงหน้า และวงหงายหรือวงบัวบาน - วงบน หรือวงสูง ตัวพระจะกางแขนออกข้างลาตัวเฉียงมาด้านหน้าเล็กน้ อยยกขึ้นสูงใน ระดับแง่ศีรษะ ในระดับปลายหางคิ้ว - วงกลาง อยู่ด้านข้างระดับไหล่ค่อนมาข้างหลังเล็กน้อย - วงล่าง อยู่ด้านหน้าตรงหัวเข็มขัดหรือชายพก ตัวพระวงจะเฉียงข้างเล็กน้อย - วงหน้า อยู่ด้านหน้าระดับปาก - วงหงายหรือวงบัวบาน จัดเป็นวงพิเศษที่มีรูปร่างไม่เหมือนวงทั้ง 4 ดังกล่าวคือ จากวง ดังกล่าวนามาพลิกข้อมือหงายฝุามือขึ้นให้ปลายนิ้วชี้ออกด้านข้างหรือตกลงล่าง 2. จีบ คือ การจรดหัวแม่มือและนิ้วชี้เข้าหากันตรงข้อปลายของนิ้วชี้ นิ้วที่เหลือ ทั้งสามตึงและ กรีดออกให้มากที่สุด จีบมี 5 ชนิด ได้แก่ จีบหงาย จีบคว่า จีบปรกหน้า ปรกข้าง และจีบส่งหลัง - จีบหงาย คือการจีบที่หงายฝุามือขึ้น ให้ปลายนิ้วที่จรดกันตั้งขึ้น จีบทุกครั้งจะต้องหัก ข้อมือเข้าลาแขนด้วย - จีบคว่า คือการจีบที่พลิกข้อมือให้ปลายนิ้วตกลงล่าง - จีบปรกข้าง คือ ลักษณะเหมือนจีบหงายอยู่ด้านหน้า หันปลายนิ้วเข้าหาหน้าผาก - จีบปรกข้าง คือลักษณะเหมือนจีบหงายแต่อยู่ด้านข้างระดับศีรษะ หันปลายนิ้วเข้าหา ศีรษะ - จีบส่งหลัง คือการส่งจีบไปข้างหลัง ตั้งแขนและพยายามให้แขนที่ส่งไปหลังนี้นห่างจาก ลาตัว ปลายนิ้วที่จีบจะต้องชี้ขึ้นข้างบน 3. เอียงศีรษะ ศีรษะมักเอียงพร้อมกับการกดไหล่ เช่น กดไหล่ขวาก็เอียงศีรษะทางขวา เป็นต้น 4. ลั กคอ คือ ศีร ษะเอี ย งเป็น คนละทางกับ ไหล่ ที่ กดลง เช่ น กดไหล่ ขวาเอีย งศีร ษะข้า งซ้ า ย เป็นต้น 5. ประเท้า คือ อาการของเท้าข้างใดข้างหนึ่ง ใช้จมูกเท้าตบพื้นเบาๆ แล้วยกขึ้นโดยให้เท้าอีกข้าง หนึ่งยืนรับน้าหนักตัว การประเท้าของตัวพระต้องแยกหรือแบะเข่าออกให้ได้เหลี่ยมแล้วจึงประเท้ายกขึ้น อยู่สู งระดับ กลางน่ องของขาที่ยืนรั บน้าหนักปลายเท้าชี้ออกด้านข้าง ถ้าจะให้ดูสวยงามยิ่งขึ้น จะต้อง กระดกปลายนิ้วเท้าให้งอนขึ้นเล็กน้อย 6. ก้าวเท้า คือ การวางเท้าที่ยกสูงจากพื้น โดยวางส้นเท้าลงก่อนแล้วจึงตามด้วยปลายนิ้วเท้าทิ้ง น้าหนักตัวลงไปยังเท้าที่ก้าวให้หมด การก้าวเท้ามี 2 วิธี คือ ก้าวหน้าและก้าวข้าง - ก้าวหน้า หมายถึง ก้าวเท้าไปข้างหน้า จะต้องแบะเข่าออกให้ได้เหลี่ยมปลายเท้าที่ก้าว จะเอียงไปด้านข้างให้ส้นเท้าหน้าอยู่ในแนวเดียวกับหัวแม่เท้าหลังห่างกันประมาณคืบครึ่งหรือหนึ่งฟุต เปิดส้นเท้าหลัง


31

- ก้าวข้าง หมายถึง ก้าวเท้าที่ยกลงเฉียงไปด้านข้างทิ้งน้าหนักตัวลงไปยังเท้าที่ก้าวจะเป็ น ข้างซ้ายหรือข้างขวาก็ได้ ขณะทาท่า ลาตัวหัวตรงอยู่ด้านหน้า ตัวพระจะต้องก้าวเฉี ยงออกด้านข้างให้ มากกว่าก้าวหน้า 7. กระดกเท้า คือ อาการของเท้าข้างใดข้างหนึ่งยืนย่อเข่ารับน้าหนักตัว ถีบเข่าหรือส่งเข่าอีกข้าง หนึ่งไปข้างหลัง แล้วหนีบน่องให้ชิดหน้าขามากที่สุด หักข้อเท้าให้ปลายเท้าตกลงล่างการกระดกอาจสืบ เนื่องมาจากการกระทุ้งก็ได้ หรือถีบเข่าขึ้นข้างหลังเลย โดยไม่ต้องกระทุ้งเท้าก่อนก็ไ ด้ ตัวพระเวลากระทุ้ง จะต้องกันเข่าหรือเปิดเข่าให้ขากางออก ห่างจากขาที่ยืนย่อเข่ารับน้าหนักตัว 8. จรดเท้า คือ การยืนเต็มเท้าด้วยเท้าข้างใดข้างหนึ่งให้จมูกเท้าอีกข้างหนึ่งจรดพื้น ยกส้นเท้าขึ้น เล้กน้อย โดยต้องให้เท้าที่จรดอยู่ขนานกับเท้าที่ยืนเต็มเท้า เมื่อจรดเท้าแล้วจึงหยุดท่านิ่งสักพักหนึ่ง 9. แตะเท้า คือ การยืนเต็มเท้าด้วยเท้าข้างใดข้างหนึ่งให้จมูกเท้าอีกข้างหนึ่งจรดพื้น ยกส้นเท้าขึ้น เล็กน้อย อาจแตะได้ทั้งขาตึง หรือขางอ โดยเท้าที่จรดอยู่ขนานกับเท้าแล้วจึงปฏิบัติท่าราอื่นต่อไป โดยไม่ หยุดท่านิ่ง 10. ฉายเท้า คือ การยืนเต็มเท้าด้วยเท้าใดเท้าหนึ่ง ใช้จมูกเท้าอีกข้างไสไปด้านข้าง ยกส้นขึ้น เล็กน้อย 11. ผสมเท้า คือ การยืนเต็มเท้าทั้งสองข้างให้ส้นเท้าชิดกัน ตัวพระเปิดปลายเท้าให้แยกออกจาก กัน 12. เหลื่อมเท้า คือ การยืนเต็มเท้าทั้งสองข้าง โดยใช้เท้าข้างใดข้างหนึ่งอยู่ ติดกับกลางฝุาเท้าของ อีกข้างหนึ่ง เปิดปลายเท้าทั้งสองให้แยกออกจากกัน 13. ซอยเท้า หรือขยั่นเท้า คือ การย่อตัวลง แข็งหน้าขายกเท้าซ้ายสลับกับการยกเท้าขวาถี่ ๆ การซอยเท้าสามารถปฏิบัติอยู่กับที่ หรือวิ่งเคลื่อนที่ก็ได้


32

กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่ กระบวนท่าราชุด พระลักษมณ์ลงสรง มีลักษณะของกระบวนท่ารา ดังนี้ ตาราง 5 แสดงกระบวนท่าราชุด พระลักษมณ์ลงสรง ลาดับที่ 1

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง เพลงเสมอ วิ่ง ซอยเท้ า ออกมาจากข้า งเวที โดย ปฏิ บั ติ ท่ า พิ ส มั ย เรี ย งหมอนข้ า งซ้ า ย คื อ มื อ ซ้ า ยตั้ ง วงบน มื อ ขวาตั้ ง วง กลางแขนตึ ง โดยเมื่ อ ก้ า วเท้ า ขวา ศี ร ษะจึ ง เอี ย งขวา และเมื่ อ ก้ า วเท้ า ซ้ า ย ศี ร ษะจึ ง เอี ย งซ้ า ย แต่ ยั ง คง ปฏิ บั ติ ท่ า พิ ส มั ย เรี ย งหมอนเช่ น เดิ ม ก้าวเดินขึ้นไปข้างหน้าจานวน 5 ครั้ง


33

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 2

3

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง เพลงเสมอ เปลี่ยนเป็นมือซ้ายจับที่ห้อยข้างซ้าย มือขวาตั้งวงล่าง จากนั้นฉายเท้าแล้ว วางหลั ง โดยเมื่ อ เท้ า ขวาวางหลั ง ศีรษะจึงเอียงขวา และเมื่ อเท้าซ้า ย วางหลั ง ศี ร ษะจึ ง เอี ย งซ้ า ย โดย ปฏิบัติทั้งหมด 4 ครั้ง

เพลงเสมอ

หั น ตั ว ไ ป ท า ง ด้ า น ข ว า ข อ ง เ ว ที เล็กน้อย เท้าขวาก้าวข้าง มือขวาจีบ คว่าแขนงอระดับไหล่ มื อซ้ายแบมือ ลงแขนงอระดับไหล่ ศีรษะเอียงขวา


34

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 4

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง เพลงเสมอ มื อ ขวาตั้ ง วงหงายแบมื อ ลงระดั บ ศีรษะ มีซ้ายจีบส่งหลัง ยกขาซ้ายขึ้น ศีรษะเอียงซ้าย

5

เพลงเสมอ

ก้ า วเท้ า ซ้ า ยลง แล้ ว เท้ า ขวาจรด พร้ อ มกั บ เปลี่ ย นมื อ ซ้ า ยคลายจี บ ออกเป็นตั้งวงบน มือขวาแทงมือลง แขนตึงระดับไหล่ ศีรษะเอียงซ้าย

6

เพลงเสมอ

วิ่งซอยเท้าหมุนรอบตัวแล้วเดินขึ้นมา ข้ า งหน้ า ก้ า วเท้ า ขวาและประเท้ า ซ้ า ยวางผสมเท้ า ย่ อ เข่ า ลงเล็ ก น้ อ ย มือทั้งสองทาท่านภาพร คือ มือซ้าย ตั้งวงบัวบาน มือขวาตั้งวงกลางแขน ตึ ง พร้ อ มกั บ ยั ก ตั ว ตามจั ง หวะของ เพลงทั้งหมด 6 ครั้ง


35

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 7

8

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง เพลงรัว ยืนเหลื่อมเท้าขวา มือขวาจีบปรกข้าง มื อ ซ้ า ยตั้ ง วงหน้ า ศี ร ษะเอี ย งขวา จากนั้ น เปลี่ ย นเป็ น เหลื่ อ มเท้ า ซ้ า ย มือซ้ายจีบปรกข้าง มือขวาตั้งวงหน้า ศีรษะเอียงซ้าย

เพลงรัว

มื อ ขวาตั้ ว งบน มื อ ซ้ า ยตั้ ง วงหน้ า เหลื่อมเท้าขวา ศีรษะเอียงขวา


36

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 9

10

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง เพลงรัว มื อ ขวากรี ด นิ้ ว แล้ ว เป็ น ตั้ ง วงบน มื อ ซ้ายจีบส่งหลัง เท้าซ้ายวางส้น ศีรษะ เอียงซ้าย

เพลงรัว

มื อ ขวาตั้ ง วงล่ า ง มื อ ซ้ า ยแบมื อ ลง แขนงอระดั บ เอว ประเท้ าขวายกขึ้ น ศี ร ษะเอี ย งซ้ า ย จากนั้ น มื อ ขว า เปลี่ยนเป็นจีบส่งหลัง มือซ้ายปูองหน้า เท้าขวาก้าวข้าง ศีรษะเอียงขวา


37

ตาราง 5 (ต่อ)

11

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง เพลงรัว ยืนท่าตัวพระ มือซ้ายวางที่หน้าขาซ้าย มื อ ขวาเท้ า สะเอว ยื น แตะเท้ า ซ้ า ย ศีรษะเอียงขวา

12

ไขสหัสธารา

เท้ า ขวาก้ า วข้ า ง มื อ ขวาจี บ คว่ าทาง ด้านขวาระดับหน้า มือซ้ายตั้งวงแบมือ ลง บริ เ วณด้ า นข้ า งของระดั บ หน้ า ศีรษะเอียงซ้าย

13

เอื้อน

ยืนแตะเท้าซ้ายขาตึง มือขวาแบมือลง บริเวณด้านข้างระดับหน้า มือซ้ายตั้งวง บริเวณด้านข้างระดับหน้า ศีรษะเอียง ขวา

ลาดับที่

ท่ารา


38

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 14

15

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง ดังห่า เท้า ซ้ายก้าวหน้า มื อซ้า ยจีบ ปรกข้า ง มื อ ขวาตั้ ง วงกลาง ศี ร ษะเอี ย งซ้ า ย จากนั้ น เท้ า ขวาก้ า วข้ า ง มื อ ขวาจี บ ปรกข้ า ง แล้ ว ส่ า ยมือ พร้อ มกั บ ค่อ ยๆ เลื่ อ นลงมาเป็ น ตั้ ง วงกลาง มื อ ซ้ า ย เปลี่ยนเป็นตั้งวงกลาง ศีรษะเอียงขวา

เอื้อน

เท้ า ขวาก้า วหน้ า มื อ ขวาจีบ ปรกข้ า ง มือซ้ายตั้งวงกลาง ศีรษะเอียงขวา


39

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 16

17

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง ฝน เท้ า ซ้ า ยก้ า วข้ า ง มื อ ซ้ า ยจี บ ปรกข้ า ง แล้ วส่ ายมือพร้อมกับค่อย ๆ เลื่ อนลง มาเป็นตั้งวงกลาง มือขวาเปลี่ ยนเป็น ตั้งวงกลาง ศีรษะเอียงซ้าย

ต้องสกล

มือขวาตั้งวงล่าง มือซ้ายตั้งวงระดับเอว เท้ า ซ้ า ยก้ า วหน้ า ศี ร ษะเอี ย งซ้ า ย จากนั้ น เท้ าขวาก้ าวข้ า ง มื อ ขวาเท้ า สะเอว มือซ้ายแขนตึงระดับไหล่ ศีรษะ เอียงขวา


40

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 18

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง ต้องสกล (ซ้า) หมุ น ตั ว ไปทางด้ า นขวาของเวที เท้ า ซ้ายก้าวข้าง มือซ้ายเท้าสะเอว มือขวา แขนตึงระดับไหล่ ศีรษะเอียงซ้าย

19

ซ่านเซน

ก้ า วเท้ า ขวาแล้ ว จรดเท้ า ซ้ า ย ท าท่ า พรหมสี่หน้า คือ มือทั้งสองข้างตั้งวงบัว บาน ศีรษะเอียงขวา

20

เอื้อน

เปลี่ยนเป็นจรดเท้าขวา มือทั้งสองข้าง เลื่ อ นลงมาเป็น ตั้ ง วงล่ าง ศีร ษะเอี ย ง ซ้าย จากนั้น จรดเท้าตามจังหวะแล้ ว หมุนตัวไปทางด้านซ้ายของเวที


41

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 21

22

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง เย็น วิ่งซอยเท้า มือทั้งสองจีบคว่าระดับอก วาดมื อขึ้ น แล้ ว ค่ อ ยคลายออก ศรี ษ ะ ตรง

ไส

เท้ าซ้ า ยก้ า วหน้า มื อ ขวาจี บ ปรกข้ า ง มื อ ซ้ า ยจี บ หงายแขนงอระดั บ ไหล่ ศีรษะเอียงซ้าย


42

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 23

24

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง ไส (ต่อ) มื อ ขวาเปลี่ ย นเป็ น วงบน มื อ ซ้ า ย เปลี่ยนเป็นตั้งวงหงายแขนตึงระดับไหล่ เท้าขวากระดก ศีรษะเอียงขวา

เอื้อน

เท้าขวาก้าวข้าง มือขวาจีบคว่าแขนงอ ระดับอก มือซ้ายตั้งวงระดับ อก ศีรษะ เอี ยงซ้า ย วิ่ง ไปขึ้น เตี ยง โดยก้า วเท้ า ซ้ายขึ้นแล้วนั่งคุกเข่า มือขวาคลายมือ อกเป็ น ตั้ ง วงบน มื อ ซ้ า ยจี บ ส่ ง หลั ง ศีรษะเอียงซ้าย


43

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 25

26

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง ทรงกระแจะ มือซ้ายจีบหงายระดับชายพก มือขวา จันทร์ปรุง เปิดฝาผอบออก จากนั้น มือซ้ายแบมือ หงายระดับหน้าท้อง ใช้มือขวาแตะที่ ข้างในผอบมาลงไว้ที่มือ แล้วจึงปิดฝา ผอบ

จรุง

มือทั้งสองทาท่าถูกัน แล้วมือขวามาถูที่ หน้า มือซ้ายตั้งวงหน้าระดับอก ศีรษะ เอียงขวา


44

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 27

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง ใจ หันตัวมาด้านหน้า มือทั้งสองถูกัน มือ ซ้ายมาถูที่หน้า มือขวาตั้งวงหน้า ศีรษะ เอียงซ้าย

28

ลูบไล้

มื อ ซ้ า ยตั้ ง วงหน้ า มื อ ขวาลู บ ขึ้ น จาก ระดับข้อมือขึ้นมาจนถึงระดับต้นแขน ศีรษะเอียงขวา

29

ลูบไล้ (ซ้า)

มื อ ขวาตั้ ง วงหน้ า มื อ ซ้ า ยลู บ ขึ้ น จาก ระดับข้อมือขึ้นมาจนถึงระดับต้นแขน ศีรษะเอียงซ้าย


45

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 30

31

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง เครื่องต้น มีทั้งสองลูบลงตั้งแต่หน้าอกลงไปจนถึง หน้า ตัก แล้ ว เลื่ อนขึ้ นมาทาท่าพิ ส มั ย เรียงหมอนข้างซ้าย คือ มือซ้ายตั้งวง บน มือ ขวาตั้ ง วงกลางแขนตึ ง ศี ร ษะ เอียงขวา

สุคน

เคลื่อนมือซ้ายลงมาแล้ว ดมแขนตั้งแต่ ต้นแขนไปจนถึงข้อมือ


46

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 32

33

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง ธา ทาท่าพิสมัยเรียงหมอนข้างขวา คือ มือ ขวาตั้งวงบน มือซ้ายตั้งวงกลางแขนตึง ศีรษะเอียงซ้าย จากนั้นเฉียงตัวไปทาง ด้านขวา แล้วเคลื่อนมือขวาลงมาและ ดมจากต้นแขนถึงข้อมือ

เอื้อน

ท่ า โบก มื อ ขวาตั้ ง วงล่ า ง มื อ ซ้ า ยจี บ หงายระดั บ ชายพก ศี ร ษะเอี ย งซ้ า ย จากนั้ น มื อขวาเปลี่ ย นเป็ น จีบ ส่ ง หลั ง มือซ้ายคลายออกเป็นตั้งวงบน ศีรษะ เอียงขวา


47

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 34

35

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง สอดสนับ ก้าวเท้าซ้ายลงจากเตียง มือทั้งสองจีบ ตะแคงมือที่บริเวณเข่า จากนั้นวิ่งซอย เท้าไปที่บริเวณด้านหน้าของเตียง ยก เท้าขวาขึ้น มือทั้งสองคลายเป็นตั้งวงที่ บริเวณเข่า ศีรษะเอียงขวา

เพราพริ้งยิ่ง

หมุนตัวไปทางด้านขวา ยกเท้าซ้ายขึ้น มือทั้งสองจีบหงายที่บริเวณเข่าแขนตึง ศีรษะเอียงซ้าย จากนั้น สะดุ้ง ตัวและ เปลี่ยนเอียงตามจังหวะ


48

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 36

37

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง ยง หมุนตัวไปทางด้านซ้าย ยกเท้าขวาขึ้น มือทั้งสองจีบหงายที่บริเวณเข่าแขนตึง ศีรษะเอียงขวา

บรรจง

มือ ทั้ ง สองดึ งจี บ จากด้ า นหลั ง บริ เ วณ เอวมาข้างหน้า ศีรษะเอียงซ้าย จากนั้น คลายจี บ แบมื อ ลงที่ บ ริ เ วณด้ า นหน้ า ระดับชายพก วางเท้าขวาลงก้าวหน้า ศีรษะเอียงขวา


49

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 38

39

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง บรรจง (ซ้า) หมุนตัว ไปทางด้านขวา มือทั้งสองดึง จีบจากด้านหลังบริเวณเอวมาข้างหน้า ศีรษะเอียงขวา จากนั้นคลายจีบ แบมือ ลงที่บริเวณด้านหน้าระดับชายพก เท้า ซ้ายลงก้าวหน้า ศีรษะเอียงซ้าย

ทรงทิพย์

หมุนตัว มาด้านหน้า ก้าวเท้าขวาแล้ ว ยกเท้าซ้าย มือขวาจีบแล้ว ม้วนมือเป็น วงล่าง มือซ้ายตั้งวงแล้วช้อนมือเป็นจีบ ล่าง ศีรษะเอียงขวา


50

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 40

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง ภู วางเท้าซ้ายแตะลง เปลี่ยนมือขวาเป็น จีบหงายระดับชายพก มือซ้ายตั้งวงล่าง ศี ร ษะเอี ย งซ้ า ย จากนั้ น แตะเท้ า จาก จังหวะ

41

ษา

หมุนตัวไปท้างด้านขวา สะดุดเท้าซ้าย แล้วแตะเท้า มือซ้ายจับที่จีบของผ้ายก มือขวาจีบส่งหลัง ศีรษะเอียงซ้าย

42

เอื้อน

ท่าโบก ก้าวเท้าขวาแล้วยกเท้าซ้ายขึ้น แล้ว วางส้ นลง มือขวาตั้งวงล่างระดับ ชายพก มือซ้ายจีบหงายระดับชายพก ศี ร ษ ะ เ อี ย ง ซ้ า ย จ า ก นั้ น มื อ ข ว า เปลี่ ย นเป็ น จี บ ส่ ง หลั ง มื อ ซ้ า ยคลาย ออกเป็นตั้งวงบน ศีรษะเอียงขวา


51

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 43

44

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง ฉลององค์ เท้าซ้ายข้างแล้วยกเท้าขวาขึ้น มือซ้าย ตั้ ง วงล่ า ง มื อ ขวาสอดจี บ เป็ น ตั้ ง วง หงายระดับศีรษะ ศีรษะเอียงขวา

ทรงชุด

หมุ นตั ว มาทางด้ านซ้า ย ก้ า วเท้ าขวา แล้ ว ยกเท้ า ซ้ า ยขึ้ น มื อ ขวาตั้ ง วงล่ า ง มื อ ซ้ า ยสอดจี บ เป็ น ตั้ ง วงหงายระดั บ ศีรษะ ศีรษะเอียงซ้าย จากนั้นนาเท้า ซ้ า ยวางลงแตะ และแตะเท้ า ตาม จังหวะ


52

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 45

46

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง ยุทธนา แตะเท้าซ้าย มือซ้ายเปลี่ ยนเป็นวงบน มือขวาตั้งวงล่าง แล้ววิ่งรอบตัวหมุนไป ทางด้ า นขวา จากนั้ น มื อ ขวาจี บ ปรก ข้างแล้วคลายออกเป็นตั้งวงบน มือซ้าย ช้อนมือเป็นจีบหงายแขนตึ งระดับไหล่ ก้าวเท้าขวากระดกเท้าซ้าย ศีรษะเอียง ขวา

จับเทพ

เท้าขวาก้าวข้าง มือขวาจีบคว่าแขนงอ ระดับอก มือซ้ายตั้งวงระดับอก ศีรษะ เอียงซ้าย


53

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 47

48

49

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง จับเทพ (ต่อ) วิ่งไปที่ศรเพื่อจะจับศร โดยเท้าซ้ายก้าว ข้าง มือซ้ายจีบหงายระดับชายพก มือ ขวาจับศร ศีรษะเอียงซ้าย

จับเทพ (ซ้า) มือขวาจับศรระดับชายพก มือซ้ายจีบ ส่ ง หลั ง เท้ า ขวาก้ า วข้ า ง ศี ร ษะเอี ย ง ซ้าย

ศาสตรา

ก้าวเท้าขวายกเท้าซ้ายขึ้น มือซ้ายตั้งวง ล่ า ง มื อ ขวาม้ ว นมื อ เป็ น ระดั บ วงบน ศีรษะเอีย งซ้า ย จากนั้ นสะดุ้งตั ว และ เปลี่ยนเอียงตามจังหวะ


54

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 50

51

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง แล้วคลา หั น ตั ว มาด้ า นหน้ า ฉายเท้ า ขวาแล้ ว ก้ า วหน้ า ขยั่ น เท้ า มื อ ขวากดมื อ แล้ ว เป็นวงบน มื อซ้ายกรีดนิ้ ว และเป็นวง ล่าง ศีรษะเอียงขวา

ไคล

ก้าวเท้าขวายกเท้าซ้ายขึ้น มือซ้ายตั้งวง บน มื อ ขวาจั บ ศรแขนตึ ง ระดั บ ไหล่ ศี ร ษะเอี ย งซ้ า ย จากนั้ น มื อ ซ้ า ย เปลี่ยนเป็นจีบส่งหลัง มือ ขวาม้วนมือ ถื อ ศรเป็ น ว งบน ว างเท้ า ซ้ า ยล ง ก้าวหน้า ศีรษะเอียงขวา


55

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 52

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง เอื้อน ท่าโบก ก้าวเท้าขวาแล้วยกเท้าซ้ายขึ้น แล้ววางส้นลง มือขวาจับศรระดับชาย พก มื อ ซ้ า ยจี บ หงายระดั บ ชายพก ศีรษะเอียงซ้าย จากนั้น มือซ้ายคลาย ออกเป็นตั้งวงบนระดับศีรษะ มือขวา จับศรระดับชายพกดังเดิม ศีรษะเอียง ขวา

53

เพลง บาทสกุณี

ก้า วเท้า ขวาแล้ ว ก้า วข้ างเท้ าซ้ าย มื อ ซ้ายตั้งวงล่าง มือขวาถือศรแทงมือแล้ว เป็นวงบน ศีรษะเอียงขวา จากนั้นย้อน ตัวกดเกลียวข้างตามจังหวะ 4 ครั้ง

54

เพลง บาทสกุณี

หมุนตัวไปทางซ้าย ประเท้าขวาขึ้นแล้ว วางลงก้าวข้าง มือขวาจับศรระดับชาย พก มือซ้ายแทงมือแล้ว เปลี่ยนเป็นวง บน ศีรษะเอียงซ้าย จากนั้นย้อนตัว กด เกลียวข้างตามทจังหวะ 4 ครั้ง


56

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 55

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง เพลง หมุนตัวมาด้านหน้า ประเท้าซ้ายยกขึ้น บาทสกุณี มือขวาม้วนมือถือศรเป็นวงบน มือซ้าย ตั้ ง วงกลางแล้ ว เปลี่ ย นเป็ น แบมื อ ลง แขนงอระดั บ เอว ศี ร ษะเอี ย งซ้ า ย จากนั้น เปลี่ยนเอียงและเยื้องตัวตาม จังหวะ 4 ครั้ง

56

เพลง บาทสกุณี

วางเท้าซ้ายลงประเท้าขวายกขึ้น มือ ซ้ายม้วนมือเป็นวงบน มือขวาถือศรตั้ง วงกลางแล้วม้วนมือลงแขนงอระดับเอว โดยมื อ ขวาหนี บ คั น ศรทิ้ ง หั ว ศรลง ศีรษะเอียงขวา จากนั้น เปลี่ ยนเอีย ง และเยื้องตัวตามจังหวะ 4 ครั้ง

57

เพลง บาทสกุณี

หมุนตัวไปด้านขวา ประเท้าซ้ายยกขึ้น มือซ้ายตั้งวงล่าง มือขวาถือม้วนมือเป็น วงบน ศีรษะเอียงซ้าย จากนั้นเยื้องตัว ตามจังหวะ 3 ครั้ง


57

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 58

59

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง เพลง หมุนตัวไปด้านซ้าย ประเท้าขวายกขึ้น บาทสกุณี มือขวาถือศรตั้งวงล่าง มือซ้ายม้วนมือ เป็นวงบน ศีรษะเอียงขวา จากนั้นเยื้อง ตัวตามจังหวะ 2 ครั้ง

เพลง บาทสกุณี

หมุ นตั ว ไปด้ านขวา ฉายเท้ าขวาแล้ ว ก้าวหน้า ทาท่านภาพรข้างซ้าย คือ มือ ซ้ายตั้งวงบัวบาน มือขวาถือศรระดับวง กลางแขนตึง ศีรษะเอียงขวา จากนั้น เท้าซ้ายก้าวข้าง ศีรษะเอียงซ้าย โดย ปฏิบัติสลับกันไปจานวน 6 ครั้ง


58

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 60

61

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง เพลง หมุนตัว ไปด้านขวา ประเท้า ซ้ายแล้ ว บาทสกุณี ก้าวหน้า ทาท่านภาพรขวา คือ มือขวา จับคันศรทิ้งหัวศรลง มือซ้ายตั้งวงกลาง แขนตึ ง ศี ร ษะเอี ย งซ้ า ย จากนั้ น เท้ า ขวาก้าวข้าง ศีรษะเอียงขวา โดยปฏิบัติ สลับกันไปจานวน 5 ครั้ง

เพลง บาทสกุณี

ถอนเท้าขวายกเท้าซ้ายขึ้น แล้ววางลง ก้าวไขว้ ทาท่าสอดสร้อยมาลาข้างขวา คือ มือขวาจับศรระดับวงบน มือซ้าย จีบล่างศีรษะเอียงซ้าย


59

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 62

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง เพลง หมุ น ตั ว ไปทางด้ า นขวา ประเท้ า ขวา บาทสกุณี ยกขึ้ น มือซ้ ายแบมือลงแขนงอระดั บ เอว มือขวาจับศรระดับวงล่ าง ศีรษะ เอียงซ้าย เท้าขวาก้าวข้าง มือซ้ายตั้งวง บนระดับศีร ษะ วิ่งซอยเท้ าลงไปแล้ ว ขึ้นมาด้านหน้า

63

เพลง บาทสกุณี

ประเท้ า ซ้ า ยยกขึ้ น แล้ ว วางผสมเท้ า ทาท่านภาพรข้างซ้าย ศีรษะเอียงขวา จากนั้น ยักตัวตามจังหวะ 6 ครั้ง

64

เพลง บาทสกุณี

ถอนเท้ า ซ้ า ย เท้ า ขวาฉายเท้ า ไป ทางขวา ศีรษะเอียงซ้าย


60

ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับที่ 65

66

ท่ารา

บทร้อง/ คาอธิบาย ทานองเพลง เพลง หมุ น ตั ว ไปทางด้ า นขวา ฉายเท้ า ขวา บาทสกุณี มือขวาตั้งวงบนระดับศีรษะ มือซ้ายลด มือมาระดับเอว ศีรษะเอียงซ้าย

เพลง บาทสกุณี

ถอนเท้าขวายกเท้าซ้ายขึ้น แล้ ววางลง ก้าวข้าง มือซ้ายตั้งวงหน้า มือขวาถือ ศรตั้งวงบนระดับศีรษะ ศีรษะเอียงขวา แล้ววิ่งซอยเท้าเข้าเวที

กลวิธีในการรา จากการที่ผู้ศึกษาได้รับการถ่ายทอดกระบวนท่าราชุด พระลักษมณ์ลงสรง จากอาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด อาจารย์ได้กรุณาบอกกลวิธีในการราให้แก่ผู้ศึกษา คือ 1. การเดินมือ เพื่อที่จะไปปฏิบัติในท่าอื่น โดยไม่ให้ค้างท่าใดท่าหนึ่งไว้ ต้องค่อย ๆ เคลื่อนมือไป 2. การมองผู้ชม ในการราต้องไม่ละสายตาจากผู้ชม หรือต้องไม่หลบสายตา เพื่อส่งอารมณ์ให้ผู้ชม เข้าใจถึงบทบาทในขณะนั้น 3. รานิ่ง แม้จะเป็นกระบวนท่าราที่เป็นแบบโขน แต่ก็ต้องมีกระบวนท่าราที่สง่าให้สมกับเป็น กษัตริย์


61

บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ จากการศึ ก ษา ผู้ ศึ ก ษาได้ ร วบรวมองค์ ค วามรู้ ที่ ไ ด้ รั บ การถ่ า ยทอดกระบวนท่ า ร าจาก อาจารย์คมสันฐ หัวเมืองลาด นาฏศิลปินอาวุโส สานักการสังคีต กรมศิลปากร ซึ่งท่านได้ความเมตตา กรุณาถ่ายทอดกระบวนท่าราการแสดงชุด พระลักษมณ์ลงสรง สามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้ บทสรุป การแสดงชุดพระลักษมณ์ลงสรง เป็นการแสดงที่ปรากฏอยู่ในการแสดงโขน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน ศึกนาคบาศ บทพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ซึ่งเป็นเนื้อเรื่องที่กล่าวถึง อินทรชิต โอรสของทศกัณฐ์ เมื่อได้ทราบว่ากุมภกรรณผู้เป็นอาของตน ได้เสียท่าให้พระรามจนสิ้นชีพจึงได้ จัดกระบวนทัพเพื่อที่จะไปแก้แค้น ครั้นเมื่อพระรามทราบว่าทัพที่ยกมาเป็นทัพของอินทรชิต โอรสของ ทศกัณฐ์ จึงได้ทรงส่งพระลักษมณ์ผู้เป็นพระอนุชาไปทาศึกแทน แต่ก่อนที่พระลักษมณ์จะทาการยกทัพไป นั้นจึงได้ทาการลงสรงทรงเครื่องเสียก่อน ซึ่งเป็นประเพณีที่ก่อนจะการศึกสงคราม หรือทาการใดๆ จะต้อง ทาการอาบน้าแต่งตัวเพื่อความเป็นสิริมงคล บทร้อง การแสดงชุดพระลักษมณ์ลงสรง เป็นบทพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หล้านภาลัย แต่เดิมนั้นบทลงสรงพระลักษมณ์ลงสรงนี้มีความยืดยาวมาก ซึ่งต่อมาเมื่อได้นาบทลงสรงนี้มา สอดแทรกในการแสดงจึงจาเป็นที่จะต้องทาการตัดทอนบทให้มีความสั้นลง เพื่อเหมาะสมกับโอกาสและ เวลาอันสมควร ดนตรีที่ใช้ในการแสดงชุดพระลักษมณ์ลงสรง ประกอบไปด้วยเพลงหน้าพาทย์จานวน 2 เพลง คือ เพลงเสมอ และเพลงบาทสกุณี และใช้เพลงลงสรงโทนในการประกอบบทร้อง เครื่องแต่งกายการแสดงชุดพระลักษมณ์ลงสรง จะแต่งกายด้วยชุดยืนเครื่องพระสีเหลืองขลิบม่วง แขนยาว สวมชฎายอดชัย และมีการใช้อาวุธประกอบการแสดง คือ ศร ลักษณะของการตั้งฉากประกอบการแสดง จะสมมติว่าเป็นห้องสาหรับแต่งองค์ ทรงเครื่อง ลักษณะของการแต่งหน้าการแสดงชุดพระลักษมณ์ลงสรง เป็นลักษณะของการแต่งหน้าแบบ ละครไทย โดยการผัดหน้า เขียนคิ้วให้มีลักษณะโก่งสีดา ทาปากสีแดงสด เขียนขอบตาให้มีความเข็มฃ ลักษณะของการราการแสดงชุดพระลักษมณ์ลงรง จะเป็นการราในลักษณะของโขน คือ การรานิ่ง และท่าทางโอ่อ่าให้เหมาะกับการเป็นตัวกษัตริย์ รวมทั้งเป็นราตามจังหวะของเพลงหน้าพาทย์และเป็นการ ราตีบทตามบทร้อง กลวิ ธี ใ นการร า คื อ การเดิ น มื อ เพื่ อ ที่ จ ะไปปฏิ บั ติ ใ นท่ า อื่ น โดยไม่ ใ ห้ ค้ า งท่ า ใดท่ า หนึ่ ง ไว้ ต้องค่อย ๆ เคลื่อนมือไป และการมองผู้ชม ในการราต้องไม่ละสายตาจากผู้ชม หรื อต้องไม่หลบสายตา เพื่อส่งอารมณ์ให้ผู้ชมเข้าใจถึงบทบาทในขณะนั้น


62 ข้อเสนอแนะและปัญหา 1. ในการฝึกซ้อมควรฝึกซ้อมในห้องที่มีกระจก ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมากในการที่เวลาจะได้ สังเกตสรีระร่างกายให้ถูกต้อง 2. ควรฝึกหัดใช้อุปกรณ์ให้คล่องมือเสียก่อน ซึ่งหากไม่ได้ทาการฝึกซ้อมมาเสียก่อนอาจจะทาให้ ปัญหาในการแสดงได้ 3. ควรทาการศึกษาประวัติความเป็นมาของการแสดงชุดนี้มาเสียก่อนเพื่อให้ง่ายต่อการจดจาและ รวดเร็วในการจดจาท่ารา 4. ควรทาการฝึกซ้อมกระบวนท่าราไปเสียก่อนเพื่อให้ง่ายต่อการถ่ายทอดท่าราจะได้ความรวดเร็ว ยิ่งขึ้น


63

บรรณานุกรม


64

บรรณานุกรม ศราวุธ อินสน. (2555). โครงการปริญญานิพนธ์ การสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด พระลักษมณ์ลงสรง. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์. (2542). สารานุกรมเพลงไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์. ประภาศรี ศรีประดิษฐ์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์. (2548). เอกสารประกอบการสอน 202213 นาฏศิลป์ ไทยตัวพระ 3. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ศิลปากร, กรม. (2498). บทละคอน เรื่อง รามเกียรติ์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์วัฒนาพานิช. วิชาการ, กรม. (2545). ดนตรีวิถีไทย. กรุงเทพฯ.


65

ภาคผนวก


66

ภาพ เข้าพบอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา วันที่ 20-23 มิถุนายน 2561 ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561

ภาพ เข้าพบอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา วันที่ 20-23 มิถุนายน 2561 ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561


67

ภาพ เข้าพบอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา วันที่ 14-15 สิงหาคม 2561 ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561

ภาพ เข้าพบอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา วันที่ 14-15 สิงหาคม 2561 ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561


68

ภาพ การสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย วันที่ 31 สิงหาคม 2561 ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561

ภาพ การสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย วันที่ 31 สิงหาคม 2561 ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561


69

ภาพ ชฎาพระ ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561

ภาพ ฉลององค์แขนยาว หรือเสื้อแขนยาว ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561


70

ภาพ สนับเพลา หรือกางเกง ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561

ภาพ ภูษา หรือผ้ายก ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561


71

ภาพ ห้อยหน้า ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561

ภาพ ห้อยข้าง ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561


72

ภาพ รัดสะเอว ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561

ภาพ ธินทรธนู ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561


73

ภาพ กรองคอ ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561

ภาพ ทับทรวง ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561


74

ภาพ สังวาล พร้อมตาบทิศ ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561

ภาพ ปะวะหล่า ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561


75

ภาพ แหวนรอบข้อมือ ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561

ภาพ ทองกร หรือกาไลแผง ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561


76

ภาพ เข็มขัด ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561

ภาพ กาไลข้อเท้า ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561


77

ภาพ แหวนรอบข้อเท้า ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561

ภาพ ศร ที่มา: ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา, 2561


78

ประวัติผู้วิจัย


79

ประวัติผู้วิจัย ชื่อ – ชื่อสกุล วัน เดือน ปี เกิด ที่อยู่ปัจจุบัน ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2558

ณัชกรณ์ เกตุเวชสุริยา 7 ตุลาคม 2539 374 ม. 10 ตาบลคลองขลุง อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร 62120 นิสิตชั้นปีที่ 4 สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.