อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด รถเสนทรงเครื่อง
กฤตเมธ เชื้อม่วง
อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทยฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2561
อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด “รถเสนทรงเครื่อง" ของ นายกฤตเมธ เชื้อม่วง ได้ รั บ การพิ จ ารณาให้ นั บ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการศึ ก ษาตามหลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต (นาฏศิ ล ป์ ไ ทย) คณะกรรมการอาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ...................................................................................................................อาจารย์ที่ปรึกษา (ดร.รุ่งนภา ฉิมพุฒ) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์รัชดาพร สุคโต) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.จิตติมา นาคีเภท) ...................................................................................................................กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประภาศรี ศรีประดิษฐ์) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์อุบลวรรณ โตอวยพร) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์ภูริตา เรืองจิรยศ) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์วรวิทย์ ทองเนื้ออ่อน) อนุมัติ ................................................................ (ดร.จิตติมา นาคีเภท) หัวหน้าภาควิชาศิลปะการแสดง
ประกาศคุณูปการ
ผู้ วิจั ย ขอกราบขอบพระคุณ เป็นอย่า งสู งเนื่อ งด้ว ยความกรุณาและความอนุเคราะห์ จาก ดร. รุ่งนภา ฉิมพุฒ ซึ่งได้ให้คาปรึกษาและความช่วยเหลือในเรื่องของการรารถเสนทรงเครื่องด้วย ความเอาใจใส่ ตลอดจนได้ให้ข้อคิดต่างๆ ในกระบวนการรา อยู่เป็นประจาเสมอมา จนทาให้การสอบ ราเดี่ยวมาตรฐานครั้งนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ ที่นี้ ขอบกราบของพระคุณ อาจารย์พัชรา บัวทอง นาฏศิลปินระดับชานาญงาน สานักการสังคีต กรมศิล ปากร อาจารย์ผู้ ถ่ายทอดท่าราชุดรถเสนทรงเครื่อง ที่ท่านได้เสี ยสละเวลาอันมี ค่า กรุณา ถ่ายทอดท่าราและเพิ่มเติมเทคนิคในการราออกมาให้สมบูณร์แบบ ขอบกราบขอบพระคุณบิดา มารดา และครอบครัวที่ได้ให้กาลังใจและให้ทุนในการสนับสนุน การศึกษาวิจัยฉบับนี้มาโดยตลอดจนสาเร็จลุล่วง ขอบขอบคุณเพื่อนร่วมปีการศึกษา รวมถึงพี่และน้อง ในสาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิช า ศิลปะการแสดง คณะมนุ ษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ให้กาลังใจ และคอยช่วยเหลือและให้ คาปรึกษาในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้มาโดยตลอด สุ ดท้ายนี้ คุณความดีและกุศลที่พึงบังเกิดมาจากวิจัยฉบับนี้ เป็นผลมาจาก ความเมตตา กรุณา ของบิดา มารดา ที่ให้กาลังใจเสมอมา และคณาจารย์ทุกท่านผู้ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้แก่ ผู้วิจัย จึงขอกราบขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ กฤตเมธ เชื้อม่วง 27 กันยายน 2561
สารบัญ หน้า ประกาศคุณูปการ ..................................................................................................................................... ก สารบัญ ..................................................................................................................................................... ข สารบัญภาพ ............................................................................................................................................. ค สารบัญตาราง ........................................................................................................................................... ง บทที่ 1
บทนา ................................................................................................................................... 1 1.1 ความสาคัญของการถ่ายทอดท่ารา ......................................................................... 1 1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย ........................................................................................ 2 1.3 วิธีดาเนินงานวิจัย ................................................................................................... 2 1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ..................................................................................... 3
2
ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา ......................................................................................................... 4 2.1 ประวัติส่วนตัว ........................................................................................................ 5 2.2 ประวัติการศึกษา .................................................................................................... 5 2.3 ประวัติการทางาน................................................................................................... 6 2.4 ผลงานด้านการแสดง .............................................................................................. 6 2.5 แผนผังการสืบทอดและการถ่ายทอดท่าราชุดรถเสนทรงเครื่อง .............................15
สารบัญ (ต่อ) บทที่
หน้า
2 (ต่อ) 3
วิธีดาเนินการสืบทอดและฝึกหัด ......................................................................................... 16 3.1 ขั้นตอนในการถ่ายทอดและฝึกหัด ........................................................................17 3.2 ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด .......................................................18 3.3 อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด .........................................................................20 3.5 พัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด .....................................................................21
4
อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด รถเสนทรงเครื่อง .......................................................... 23 4.1 ประวัติความเป็นมาของการแสดง .........................................................................23 4.2 เรื่องย่อของการแสดง ...........................................................................................23 4.3 บทร้อง .................................................................................................................27 4.4 ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง ................................................................................40 4.5 ฉากและองค์ประกอบการแสดง ............................................................................43 4.6 เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า............................................................................45 4.7 นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง ..................................................................................47 4.8 กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่ ..............................................................................52 4.9 กลวิธีในการรา ......................................................................................................81
สารบัญ (ต่อ) บทที่
หน้า
3 (ต่อ) 5
บทสรุปและข้อเสนอแนะ .................................................................................................... 84 5.1 บทสรุป.................................................................................................................84 5.2 ข้อเสนอแนะ.........................................................................................................86 บรรณานุกรม ..............................................................................................................87 ภาคผนวก ...................................................................................................................88 ประวัติผู้วิจัย ...............................................................................................................95
สารบัญตาราง
ตาราง
หน้า
1 วิธีดาเนินงาน……………………………………………………………..…………....…......…...…………
2
2 ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด………………………………….........…………....
18
3 พัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด………………………………………………....…..…………...
21
4 ตารางการปฏิบัติท่ารารถเสนทรงเครื่อง….……………………………………....….........……....
52
สารบัญภาพ ภาพที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27
หน้า ภาพอาจารย์พัชรา บัวทอง .................................................................................................... 1 ภาพอาจารย์พัชรา บัวทอง แสดงเป็นอิเหนาตอนตัดดอกไม้ฉายกริช ..................................... 7 ภาพอาจารย์พัชรา บัวทองแสดงเป็นนกยูง ตอนย่าหรันตามนกยูง ......................................... 7 ภาพอาจารย์พัชรา บัวทอง แสดงเป็นนางอุษา ละครในเรื่องอุณรุฑ...................................... 8 ภาพอาจารย์พัชรา บัวทอง แสดงเป็นพระสังข์ตอนเด็ก ......................................................... 9 ภาพอาจารย์พัชรา บัวทอง แสดงพระลอ เป็นละครพันทาง ................................................. 10 ภาพอาจารย์พัชรา บัวทอง แสดงเป็นอั้วสิมละครพันทาง เรื่องพญาผานอง ........................ 10 ภาพอาจารย์พัชรา บัวทอง แสดงเป็นมโนห์รา ตอนเลือกเข้าห้อง – บูชายัญ...................... 11 ภาพอาจารย์พัชรา บัวทอง แสดงเป็นนางวันทองละครนอก เรื่องขุนช้างขุนแผน................ 12 ภาพอาจารย์พัชรา บัวทอง แสดงเป็นนางแว่นแก้วเรื่องไกรทอง .......................................... 13 ภาพอาจารย์พัชรา บัวทอง แสดงเป็นวัชชีรานีละครเรื่องสามัคคีเภท ................................... 14 ภาพอาจารย์พัชรา บัวทอง แสดงเป็นสุวรรณสาม ละครชาดกเรื่องสุวรรณสาม ................... 14 ภาพท่ารับสอดสร้อย (ท่าเชื่อม) ........................................................................................... 30 ภาพท่ารับสอดสร้อย (ท่าสาเร็จ) .......................................................................................... 30 ภาพท่ารับผาลาเพียงไหล่ (ท่าเชื่อม) .................................................................................... 31 ภาพท่ารับผาลาเพียงไหล่ (ท่าสาเร็จ) ................................................................................... 31 ภาพท่ารับนางนอน (ท่าเชื่อม) ............................................................................................. 32 ภาพท่ารับนางนอน (ท่าสาเร็จ) ............................................................................................ 32 ภาพท่ารับบัวชูฝัก (ท่าเชื่อม) ............................................................................................... 33 ภาพท่ารับบัวชูฝัก (ท่าสาเร็จ) .............................................................................................. 33 ภาพท่ารับกระหวัดเกล้า (ท่าเชื่อม) ...................................................................................... 34 ภาพท่ารับกระหวัดเกล้า (ท่าสาเร็จ) .................................................................................... 34 ภาพท่ารับกลางอัมพร (ท่าเชื่อม) ......................................................................................... 35 ภาพท่ารับกลางอัมพร (ท่าสาเร็จ) ........................................................................................ 35 ภาพท่ารับแมงมุมชักใย (จีบสั้น) (ท่าเชื่อม) .......................................................................... 36 ภาพท่ารับแมงมุมชักใย (จีบสั้น) (ท่าสาเร็จ)......................................................................... 36 ภาพท่ารับแมงมุมชักใย (จีบยาว) (ท่าเชื่อม)......................................................................... 37
สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 48 50 51 52 53
หน้า ภาพท่ารับแมงมุมชักใย (จีบยาว) (ท่าสาเร็จ) ....................................................................... 37 ภาพท่าโบก.......................................................................................................................... 38 ภาพท่าโยก หรือ การซัดท่า (ท่าเชื่อม) ................................................................................ 39 ภาพท่าโยก หรือ การซัดท่า (ท่าสาเร็จ) ............................................................................... 39 ภาพปี่ .................................................................................................................................. 40 ภาพโทนชาตรี ..................................................................................................................... 41 ภาพกลองชาตรี (กลองตุ๊ก) .................................................................................................. 41 ภาพฆ้องคู่ ........................................................................................................................... 42 ภาพฉิ่ง ................................................................................................................................ 42 ภาพวงปี่พาทย์ไม้แข็ง .......................................................................................................... 43 ภาพเตียง / ตั่ง .................................................................................................................... 43 ภาพคันฉ่อง และ พานพระเครื่องสาอาง .............................................................................. 44 ภาพหมอนสามเหลี่ยม ......................................................................................................... 44 ภาพเครื่องแต่งกายรารถเสนทรงเครื่อง................................................................................ 46 ภาพอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราและนิสิตผู้รับการถ่ายทอดท่ารา .............................................. 90 ภาพอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราและนิสิตผู้รับการถ่ายทอดท่ารา ............................................. 90 ภาพอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราและนิสิตผู้รับการถ่ายทอดท่ารา .............................................. 91 ภาพวันถ่ายรูปสูจิบัตร ......................................................................................................... 91 ภาพวันซ้อมใหญ่.................................................................................................................. 92 ภาพวันซ้อมใหญ่.................................................................................................................. 92 ภาพวันซ้อมใหญ่.................................................................................................................. 93 ภาพวันซ้อมใหญ่.................................................................................................................. 93 ภาพวันแสดงจริง ................................................................................................................. 94 ภาพวันแสดงจริง ................................................................................................................. 94 ภาพวันแสดงจริง ................................................................................................................. 95 ภาพวันแสดงจริง ................................................................................................................. 95
บทที่ 1
บทนา
1.1 ความสาคัญของการถ่ายทอดท่ารา นาฏศิลป์ เป็นศิลปะของการแสดงและการร่ายราของมนุษย์ถูกประดิษฐ์ขึ้นมาจากธรรมชาติ เพื่อให้เกิด ความสวยงามและสนุกสนาน ในการแสดงและการร่ายรานั้นมักจะใช้ดนตรีและบทร้องเป็น องค์ประกอบสาคัญเพื่อ สื่อถึงอารมณ์และบ่งบอกความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นนั้น ในประเทศไทย สามารถแบ่งนาฏศิลป์ออกได้หลายประเภทเช่น โขน ละครรา ระบา และการแสดงพื้นเมืองภาคต่างๆ ซึ่งการแสดงของนาฏศิลป์แต่ละประเภทนั้น ล้วนแต่มีเอกลักษณ์และความงามเฉพาะที่แตกต่างกันทั้ง เครื่องแต่งกาย ดนตรีประกอบ และท่าร่ายรา การราฉุยฉายถือเป็นการราอีกประเภทหนึ่งที่มี เอกลักษณ์เฉพาะ ซึ่งจะแสดงออกมาผ่านทางการร่ายรา ประกอบบทร้อง ดนตรี และเครื่องแต่งกาย สามารถบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของตัวละครนั้นได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้นาฏศิลป์ไทยยังมีการแบ่ง ประเภทของละครได้อีกหลายประเภท เช่น ละครนอก ละครใน ละครพันทาง และละครชาตรี เป็นต้น ละครชาตรีกาเนิดขึ้นตั้งแต่สมัยอยุธยา มีผู้สันนิษฐานว่าคงจะเกิดจากการนาเอาการขับร้อง และระบาราฟ้อนประกอบดนตรี ซึ่งไทยเรามีอยู่ตั้งแต่สมัยสุโขทัยมาผสมกับการแสดงละครเป็นเรื่อง แบบของอินเดีย ดังที่นายธนิต อยู่โพธิ์ ได้กล่าวไว้ว่า วิธีการบางอย่างของละครชาตรีที่มีผู้เล่นเป็นหลัก 3 คน คือตัวทาบทเป็นผู้ชายคือ นายโรง หรือยืนเครื่อง 1 ตัว ทาบทเป็นผู้หญิงหรือตัวนาง 1 ตัว และ ตัวทาบทเบ็ดเตล็ด 1 ตัว ทั้งละครประเภทนี้เที่ยวเร่ร่อนไปตามหัวบ้านหัวเมืองต่างๆ เป็นอย่างละครเร่ เหมือนอย่างละครอินเดียที่เรียกว่า “ยาตรา” ตามความหมายของคาว่า เดิน หรือ เคลื่อนย้าย ถ้า กระนั้นละครโนห์ราชาตรี อาจปรับปรุงมาตามแบบละครยาตราของอินเดียก็ได้ ( ประยงค์ ปาณินท์ , 2523: หน้า 18 ) ในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้มีผู้คิดนาเอาละครชาตรีกับละครนอกมาผสมกัน เรียกว่า “ละครชาตรีเข้าเครื่อง” หรือ ละครชาตรีเครื่องใหญ่ การแสดงแบบนี้บางครั้งก็มีฉากแบบละครนอก แต่บางครั้งก็ไม่มีฉากอย่างละครชาตรี ดนตรีประกอบก็จะใช้ผสม คือใช้เครื่องดนตรีของละครชาตรี ผสมกับวงปี่พาทย์ของละครนอก การแสดงเริ่มด้วยจากการราซัดชาตรี แล้วลงโรงจับเรื่องด้วยเพลงวา
1
แบบละครนอก ส่วนเพลงและวิธีการแสดงก็ใช้ทั้งละครชาตรีและละครนอกปนกัน การแสดงแบบนี้ยัง เป็นที่นิยมกันมาจนถึงสมัยปัจจุบันนี้ ( ประยงค์ ปาณินท์ , 2523: หน้า 19 ) การแสดง ชุด รถเสนทรงเครื่องเป็นการแสดงที่ประดิษฐ์ขึ้นโดย อาจารย์พัชรา บัวทอง นาฏ ศิลปินระดับชานาญงาน สานักการสังคีต กรมศิลปากร ประพันธ์บทโดย อาจารย์สมรัตน์ ทองแท้ ศิลปินอาวุโส สานักการสังคีต กรมศิลปากร การแสดงราชุดรถเสนทรงเครื่องเกิดขึ้นจากที่พระรถเสน นาสารไปให้นางเมรีโดยได้รับคาสั่งจากนางสมุดชา แต่ในระหว่างทางได้เจอกับพระฤๅษี พระฤๅษีเลย แอบแปลงสารไปเสียใหม่ว่า “ถึงกลางวันให้แต่งกลางวัน ถึงกลางคืนให้แต่งกลางคืน” ด้วยเหตุนี้ อาจารย์พัชรา บัวทอง เห็นถึงความสาคัญของพระรถเสนที่กาลังจะเข้าพิธีอภิเษกสมรสกับนางเมรี จึง แต่งการแสดงชุดรถเสนทรงเครื่องขึ้นมา ออกแสดงครั้งแรกในรายการศรีสุขนาฏกรรม พ.ศ 2555 เรื่อง พระรถเมรี ตอนเข้าห้องนางเมรี ที่โรงละครแห่งชาติ ซึ่งการแสดงชุด รถเสนทรงเครื่อง ถือว่าเป็น การแสดงชั้นสูงอีกละดับหนึ่งที่มีกระบวนท่าราประณีตแสดงให้เห็นลีลากระบวนท่าราในลักษณะอย่าง ละครชาตรี อันมีความงดงาม และสมบูรณ์ตามแบบนาฏศิลป์ไทย การแสดงราชุดรถเสนทรงเครื่อง เป็นการราแต่งองค์ทรงเครื่อง เพื่อที่จะไปเข้าพิธีอภิเษกสมรสกับนางเมรี (สัมภาษณ์อาจารย์พัชรา บัว ทอง,วันที่ 18 พฤศจิกายน 2560) การราเดี่ยวทางด้านนาฏศิลป์ไทยถือได้ว่าเป็นการอวดฝีมือในการแสดง และเป็นส่วนหนึ่งของ การเรียนรู้ ในรายวิชาอาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ในชั้นปีที่ 4 ตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยการให้ นิสิตได้ไปศึกษาและรับการถ่ายทอด ท่าราจากผู้เชี่ยวชาญ เพื่อเป็นการประเมินองค์ความรู้ตลอด ระยะเวลา 4 ปีที่ผ่านมา และเป็นการอนุรักษ์และสืบ สานการแสดงไว้คงอยู่ต่อไป ทั้งยังเป็นการเพื่อ เพิ่มความรู้ความสามารถในการร่ายราให้ถูกต้องตามแบบแผนที่มีมา แต่โบราณ และประกอบกับเพื่อ รวบรวมความรู้ที่ได้รับจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านนาฏศิลป์ไทย โดยการเรียนครั้งนี้ ผู้วิจัยมีความสนใจใน การแสดงชุด รารถเสนทรงเครื่อง โดยมีผู้เชี่ยวชาญทางด้านนาฏศิลป์ไทยคือ อาจารย์พัชรา บัวทอง เป็นผู้ถ่ายทอดท่าราให้ ทั้งนี้ผู้วิจัยจึงได้ทาการศึกษาและจดบันทึกท่าราไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อ เป็น ประโยชน์แก่การศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ไทยต่อไป
2
1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อเป็นการประมวลองค์ความรู้จากตลอดระยะเวลา 4 ปีที่ได้ศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ ไทย 2. เพื่อรับการถ่ายทอดท่ารา ฝึกท่าร่ายราตามแนวทาง และวิธีการสอนของผู้เชี่ยวชาญ 2. เพื่อศึกษา อนุรักษ์ และเผยแพร่กระบวนการท่ารา ชุด รถเสนทรงเครื่อง 1.3 วิธีดาเนินการวิจัย ตารางที่ 1 : วิธีการดาเนินงาน ขั้นตอนการดาเนินงานเดือนสิงหาคม – ธันวาคม วิธีการดาเนินงาน 1. ศึกษาประวัติราเดี่ยวรถเสน ทรงเครื่อง 2. ศึกษากระบวนท่าราจาก สื่อ วีดีทัศน์ 3. ติดต่อขอรับการถ่ายทอดกระบวนท่า ราจากอาจารย์พัชรา บัวทอง 4. สอบประเมินผล 50% 5. สอบประเมินผล 75% 6. สอบประเมินผล 100% 7. สอบราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด รารถเสน ทรงเครื่อง 8. สรุปผลและส่งรูปเล่มอาศรมศึกษา
พฤษภาคม มิถุนายน
กรกฎาคม
สิงหาคม
กันยายน
3
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ทราบถึงประวัติและความเป็นมาของรารถเสนทรงเครื่อง 2. ทราบถึงรูปแบบและองค์ประกอบการแสดงของการรารถเสนทรงเครื่อง 3. ทราบถึงกระบวนท่ารารถเสนทรงเครื่อง
4
บทที่ 2
ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา
การราเดี่ยวมาตรฐานชุด “รถเสนทรงเครื่อง” ได้รับความอนุเคราะห์ในการถ่ายทอดความรู้ ทางนาฏศิลป์ไทยจากอาจารย์พัชรา บัวทอง นาฏศิลปินระดับชานาญงาน สานักการสังคีต กรม ศิลปากร ผู้ประดิษฐ์ท่าราเป็นคนแรก ออกแสดงครั้งแรกในรายการศรีสุขนาฏกรรม พ.ศ 2555 เรื่อง พระรถเมรี ตอนเข้าห้องนางเมรี ที่โรงละครแห่งชาติ ซึ่งผู้รับการถ่ายทอดท่าราจะขอกล่าวถึงประวัติ และผลงานของอาจารย์พัชรา บัวทอง ดังนี้
ภาพที่ 1 : อาจารย์พัชรา บัวทอง ที่มา : หน่วยทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วันที่ 20 สิงหาคม 2561.
5
2.1 ประวัติส่วนตัว อาจารย์พัชรา บัวทอง เกิดเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2497 ที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร ณ โรงพยาบาลหญิง (โรงพยาบาลราชวิถี) เป็นบุตรีคนที่ 3 ของพลโทหม่อมหลวงขาบ กุญชร (อดีตอธิบดี กรมประชาสัมพันธ์) กับนางสินีนาฏ โพธิเวส (นาฏศิลปินที่มีชื่อเสียงของกรมศิลปากร ในอดีต) มีพี่ น้องร่วมมารดาจานวน 4 คน ปัจจุบันอายุ 64 ปี พักอยู่บ้านเลขที่ 64 / 55 หมู่ 1 ซอยมิตรสัมพันธ์ ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ตาบลบางกร่าง อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี อาจารย์พัชรา บัวทอง เป็น เชื้อสายของศิลปินมาโดยกาเนิดจึงทาให้ฉายแววความเป็นศิลปินมาตั้งแต่วัยเยาว์ 2.2 ประวัติการศึกษา ในปีพุทธศักราช 2503 อาจารย์พัชรา บัวทอง เริ่มการศึกษาในโรงเรียนอนุบาลบ้านสุจริต ขณะนั้นมีอายุได้เพียง 3 ขวบ ก็ถูกส่งตัวไปเรียนวิชาทางด้านนาฏศิลป์ไทยที่โรงเรียนนาฏศิลป์สัมพันธ์ ของคุณครู สั มพัน ธ์ พัน ธ์มณี (ศิล ปิ นแห่ งชาติส าขาศิล ปะการแสดงปีพุทธศักราช 2542) มาอย่าง ต่อเนื่อง จากนั้นได้เข้ารับการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง 4 ที่โรงเรียนขัตติยานีผดุง และเข้าศึกษา ต่อ ณ โรงเรียนนาฏศิลปในปีพุทธศักราช 2507 เนื่องจากอาจารย์พัชรา บัวทอง มีพื้นฐานในด้านการ เรียนนาฏศิลป์ไทยมาก่อน เมื่อเข้ามาเรียนในระยะเริ่มต้น มีการเปิดโรงละครแห่งชาติ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พุทธศักราช 2508 อาจารย์พัชรา บัวทอง ได้รับคั ดเลือกให้มีส่วนร่วมในการแสดงโดยร่วม แสดงเป็นตัวเทวดาตัวน้อย ๆ ในจานวนผู้แสดงเพียงสองคนที่ได้แสดงร่วมกับศิลปินรุ่นพี่ที่มีชื่อเสียง ระดั บ มื อ อาชี พ ในการเปิ ด โรงละครในครั้ ง นั้ น ด้ ว ย ยั ง คงเป็ น เหตุ ก ารณ์ ที่ อ าจารย์ พั ช รา บั ว ทอง ประทับใจจนกระทั่งทุกวันนี้ และในขณะที่กาลังศึกษาในระดับชั้นต้นปีที่ 2 ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์ เสนี (ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง ปีพุทธศักราช 2528) ได้คัดเลือกและถ่ายทอดบทบาทของ ตัวละครสินสมุทรในละครนอก เรื่องพระอภัยมณี โดยมีอาจารย์ ศิริวัฒน์ ดิษยนันท์ (ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิ ล ปะการแสดง ปี พุ ท ธศั ก ราช 2541) แสดงเป็ น พระอภั ย มณี และต่ อ มาเมื่ อ อาจารย์ พัช รา บั วทองเข้ารั บ การศึกษาจนถึง ระดับชั้นกลางปีที่ 2 คุณครูลมุล ยมะคุปต์ (ผู้เชี่ยวชาญด้าน นาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป์ กรมศิลปากร) ได้คัดเลือกและถ่ายทอดบทบาทของตัวละครสมิงนคร อินทร์ในละครพันทางเรื่องราชาธิราชตอน กระทาสัตย์ จนถึง ดูตัวสมิงนครอินทร์ เพื่อทาการแสดงใน งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนซึ่งเป็นการแสดงที่สร้างชื่อเสียงให้กับอาจารย์พัชรา บัวทอง ในคราวนั้นได้ เป็นอย่างมาก จนจบการศึกษาในระดับชั้นสูงปีที่ 2 ในปีพุทธศักราช 2517 ซึ่งในเวลานั้นโรงเรียน นาฏศิลป์ได้เปลี่ยนชื่อเป็นวิทยาลัยนาฏศิลป์ ดังที่กล่าวมาแล้วว่า อาจารย์พัชรา บัวทอง เป็นผู้ที่มีเชื้อ สายความเป็นศิลปินอยู่ในสายเลือดทาให้ฉายแววการเป็นศิลปินที่ชัดเจนขึ้น โดยระหว่างการศึกษาใน ระดับชั้นสูงปีที่ 1 ได้รับการคัดเลือกให้บรรจุในตาแหน่งนาฏศิลปินสารองของแผนกนาฏศิลป์
6
กองการสั งคีต กรมศิล ปากร ควบคู่ไปกับการเรียนจนกระทั่งจบการศึกษาจึงได้ส อบเข้าบรรจุรับ ราชการ ในตาแหน่งศิลปินจัตวาแผนกนาฏศิลป์ กองการสังคีต กรมศิลปากร 2.3 ประวัติการทางาน การรับราชการในกรมศิลปากร เริ่มตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2517 3 มิถุนายน พ.ศ.2517 ทดลองปฏิบัติราชการ แผนกนาฏศิลป์ กองการสังคีต กรมศิลปากร 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2518 ศิลปินจัตวา แผนกนาฏศิลป์ กองการสังคีต กรมศิลปากร 9 กันยายน พ.ศ.2518 นาฏศิลปิน 1 กองการสังคีต กรมศิลปากร 2 ตุลาคม พ.ศ.2519 นาฏศิลปิน 2 กองการสังคีต กรมศิลปากร 1 ตุลาคม พ.ศ.2522 นาฏศิลปิน 3 กองการสังคีต กรมศิลปากร 24 กันยายน พ.ศ.2525 นาฏศิลปิน 4 กองการสังคีต กรมศิลปากร 2 กรกฎาคม พ.ศ.2532 นาฏศิลปิน 5 กองการสังคีต กรมศิลปากร 20 พฤษภาคม พ.ศ.2539 นาฏศิลปิน 6 ว. สถาบันนาฏดุริยางค์ กรมศิลปากร 5 กันยายน พ.ศ.2540 นาฏศิลปิน 7 ว. สถาบันนาฏดุริยางค์ กรมศิลปากร 4 สิงหาคม พ.ศ.2547 เจ้าหน้าที่บริหารงานศิลปิน 8 หัวหน้ากลุ่มจัดการแสดง สานักการสังคีต กรมศิลปากร 1 ตุลาคม พ.ศ.2552 นาฏศิลปินอาวุโส สานักการสังคีต กรมศิลปากร ปัจจุบันเกษียณอายุราชการแล้ว 2.4 ผลงานด้านการแสดง อาจารย์พัชรา บัวทอง เป็นผู้ที่มีความสามารถด้านการแสดงและการถ่ายทอดมากมายหลาย ประเภท อาทิ 1. การแสดงโขน เรื่อง รามเกียรติ์ - แสดงเป็น กวางทอง นางสีดา ตอนลักสีดา - แสดงเป็นนางเบญกาย ตอนนางลอย - แสดงเป็นนางสุพรรณมัจฉา ตอนจองถนน 2. การแสดงละครใน เรื่อง อิเหนา - แสดงเป็นสังคามาระตา ตอนศึกกระหมังกุหนิง - แสดงเป็นสุหรานากง ตอนบวงสรวง
7
-แสดงเป็นอิเหนา ตอนตัดดอกไม้ฉายกริช -แสดงเป็นนกยูง ตอนย่าหรันตามนกยูง
ภาพที่ 2 : อาจารย์พัชรา บัวทอง แสดงเป็นอิเหนาตอนตัดดอกไม้ฉายกริช ที่มา : นางสาวพัชราวลัย ชาญสุวรรณ, วันที่ 20 สิงหาคม 2561.
ภาพที่ 3 : อาจารย์พัชรา บัวทองแสดงเป็นนกยูง ตอนย่าหรันตามนกยูง
8
ที่มา : หน่วยทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วันที่ 20 สิงหาคม 2561.
การแสดงละครในเรื่องอุณรุฑ - แสดงเป็นนางอุษา
ภาพที่ 4 : อาจารย์พัชรา บัวทอง แสดงเป็นนางอุษา ละครในเรื่องอุณรุฑ ที่มา : หน่วยทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วันที่ 20 สิงหาคม 2561. 3. การแสดงละครนอก 3.1 เรื่อง โกมินทร์ - แสดงเป็นโกมินทร์ทั้งตอนการแสดง เป็นผลงานที่สร้างชื่อเสียงให้กับ อาจารย์พัชรา กุณชร ณ อยุธยา ให้เป็นที่รู้จักต่อสายตาประชาชนที่มาชม เป็นอย่างมาก 3.2 เรื่อง พระอภัยมณี - แสดงเป็นสินสมุทรและสุดสาครทุกตอนการแสดง เรื่องสุวรรณหงส์ - แสดงเป็นเกศสุริยงค์ ตอนเดินป่า- รบกุมภณฑ์ 3.3 เรื่อง สังข์ทอง - แสดงเป็นพระสังข์ ตอนเด็ก - แสดงเป็นเขยเล็ก ตอนหาเนื้อ –หาปลา
9
ภาพที่ 5 : อาจารย์พัชรา บัวทอง แสดงเป็นพระสังข์ตอนเด็ก ตอนพระสังข์อ้อนวอนแม่ ตอนท้าวเสนากุฏเข้าเมือง ที่มา : หน่วยทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วันที่ 20 สิงหาคม 2561. 3.4 เรื่อง สังข์ศิลป์ชัย - แสดงเป็นพระสังข์ศิลป์ชัย ตอนตกเหว ตอนพระสังข์อ้อนวอนแม่ ตอนท้าว เสนากุฏเข้าเมือง 4. การแสดงละครพันทาง 4.1 การแสดงละครพันทาง เรื่อง ราชาธิราช - แสดงเป็นสมิงนครอินทร์ ตอนขอดูตัวสมิงนครอินทร์ถึงกระทาสัตย์ - แสดงเป็นสมิงพระราม ตอนสมิงพระรามอาสา (ตัวรบ)
4.2 การแสดงละครพันทาง เรื่อง พระลอ
10
- แสดงเป็นพระลอ ตอนเสี่ยงน้า ตามไก่ และลงสวน
ภาพที่ 6 : อาจารย์พัชรา บัวทอง แสดงหลายยง เป็นละครเสภา เรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอน พลายเพชรพลายบัวออกศึก ที่มา : หน่วยทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วันที่ 20 สิงหาคม 2561. 4.3 การแสดงละครพันทาง เรื่อง พญาผานอง - แสดงเป็นอามป้อม ตอนอั้วสิมครองเมือง - แสดงเป็นนางอั้วสิม
ภาพที่ 7 : อาจารย์พัชรา บัวทอง แสดงเป็นอั้วสิมละครพันทาง เรื่องพญาผานอง ที่มา : หน่วยทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วันที่ 20 สิงหาคม 2561. 5. การแสดงละครชาตรี เรื่อง มโนห์รา
11
- แสดงเป็นมโนห์รา ตอนเข้าห้อง บูชายัญ และเลือกคู่ - แสดงเป็นพระสุธน ตอนเดินป่า
ภาพที่ 8 : อาจารย์พัชรา บัวทอง แสดงเป็นมโนห์รา ตอนเลือกเข้าห้อง – บูชายัญ ที่มา :หน่วยทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วันที่ 20 สิงหาคม 2561.
6. การแสดงละครเสภา 6.1 เรื่องขุนช้างขุนแผน - แสดงเป็นพลายชุมพล ตอนพระไวยแตกทัพ - แสดงเป็นพลายงาม ตอนกาเนิดพลายงาม - แสดงเป็นพลายยง ตอนพลายเพชรพลายบัวออกศึก - แสดงเป็นนางวันทอง ตอนขุนแผนพานางวันทองหนี
12
ภาพที่ 9 : อาจารย์พัชรา บัวทอง แสดงเป็นนางวันทองละครนอก เรื่องขุนช้างขุนแผน ที่มา : หน่วยทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วันที่ 20 สิงหาคม 2561.
6.2 เรื่องไกรทอง -แสดงเป็นนางแว่นแก้ว ตอนพลายเพชรพลายบัวออกศึก -แสดงเป็นวิมาลา ตอนไกรทองอาสา
13
ภาพที่ 10 : อาจารย์พัชรา บัวทอง แสดงเป็นนางแว่นแก้วเรื่องขุนช้านขุนแผน ที่มา : หน่วยทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วันที่ 20 สิงหาคม 2561. 7. การแสดงละครปลุกใจ 7.1 เรื่องเลือดสุพรรณ - แสดงเป็นดวงจันทร์ ซึ่งเป็นผลงานที่สร้างชื่อเสียงอย่างมากอีกเรื่องหนึ่ง การแสดงละคร 7.2 เรื่องสามัคคีเภท - แสดงเป็นวัชชีรานี
14
ภาพที่ 11 : อาจารย์พัชรา บัวทอง แสดงเป็นวัชชีรานีละครเรื่องสามัคคีเภท ที่มา : หน่วยทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วันที่ 20 สิงหาคม 2561. 8. การแสดงละครชาดก เรื่องสุวรรณสาม - แสดงเป็นสุวรรณสาม
ภาพที่ 12 : อาจารย์พัชรา บัวทอง แสดงเป็นสุวรรณสาม ละครชาดกเรื่องสุวรรณสาม ที่มา : หน่วยทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร วันที่ 20 สิงหาคม 2561.
15
2.5 แผนผังการสืบทอดและการถ่ายทอดท่าราชุดรถเสนทรงเครื่อง
อาจารย์พัชรา บัวทอง
อาจารย์มณีรัตน์ มุ่งดี
นางพัชรมนต์ ฉิมพุฒ
นายกฤตเมธ เชื้อม่วง
อาจารย์พัชรา บัวทอง ได้คิดประดิษฐ์ท่ารา ชุด รถเสนทรงเครื่อง ได้ถ่ายทอดท่าราให้แก่ อาจารย์มณัรัตน์ มุ่งดี ออกแสดงครั้งแรกในรายการศรีสุขนาฏกรรม พ.ศ 2555 เรื่อง พระรถเมรี ตอน เข้าห้องนางเมรี ที่โรงละครแห่งชาติ อาจารย์พัชรา บัวทอง ได้ถ่ายทอดท่าราให้แก่ นายกฤตเมธ เชื้อ ม่วง ในการสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทยอีกด้วย
16
บทที่ 3
วิธีดาเนินการสืบทอดและฝึกหัด
การศึกษา คือ กระบวนการสั่ งสอน กระบวนการฝึ กอบรม หรือกระบวนการถ่ายทอด ความรู้ความเชี่ยวชาญต่างๆ และกระบวนการปลูกฝังนิสัย ทัศนคติ ค่านิยม ตลอดจนความรู้สึกนึกคิด ที่รวมเรียกว่า ประสบการณ์ ในอดีตการศึกษาเป็นกระบวนการหนึ่งที่มุ่งรักษาวัฒนธรรมของสังคม แต่ ในปัจจุบั นโลกแห่ งวิวัฒนาการทั้งด้านสังคมและข่าวสาร การศึกษาจึงถูกปรับเปลี่ยนให้กลายเป็น กระบวนการเพื่ อพัฒ นาทรั พ ยากรมนุษ ย์ให้ มีความเจริ ญทั้ง แก่ตนเองและสั งคม การศึกษาจึงถู ก นาไปใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าในทุกๆด้าน ในอดีตสถานศึกษาที่ทุกคนสามารถเข้าไปศึกษาหาความรู้ได้คือ วัด เพราะวัดเป็นศูนย์รวม ของกิ จ กรรมทางสั ง คม นอกจากนี้ ยั ง มี บ้ า นของนั ก ปราชญ์ ร าชบั ณ ฑิ ต และบ้ า นของขุ น นางผู้ มี ความสามารถ โดยเฉพาะพระราชสานักก็จะเป็นที่ศึกษาสาหรับพระราชวงศ์และลูกหลานของเหล่าขุน นาง นอกจากความรู้ที่เป็นวิชาสามัญทั่วไปแล้ว การศึกษาศิลปะประเภทต่างๆ ที่เป็นวิทยาการขั้นสูง ก็ เกิดขึ้น จากภายในราชสานัก จนมีการเผยแพร่ออกไปสู่ สั งคมทุกชนชั้น โดยเฉพาะการศึกษาด้าน นาฏศิลป์ไทย ที่แต่เดิมนั้นถือว่านาฏศิลป์ไทยเป็นเครื่องราชูปโภคสาหรับพระมหากษัตริย์ ต่อมาได้รับ การเผยแพร่ไปสู่วัง ตลอดจนบ้านขุนนางและสามัญชน การศึกษาวิชานาฏศิลป์ยังถือได้ว่าเป็นวิขาที่มี คุณ ค่า สู ง เนื่ อ งจากผู้ ที่ จ ะเข้ ามาศึก ษาได้ นั้น ต้ องผ่ านการพิ จารณาจากครูผู้ ถ่ ายทอดว่ าเป็ นผู้ ที่ มี ความสามารถที่จะรับการถ่ายทอดศิลปะแขนงนี้ได้ โดยเฉพาะในเชิงอนุรักษ์สืบทอด ดังนั้นขั้นตอนใน การศึกษาที่สาคัญก็คือ การเดินทางไปศึกษากับครูผู้ทรงคุณวุฒิด้วยตนเอง ณ ที่พานักหรือสถานที่ที่ครู ใช้เป็นที่ถ่ายทอดดังกล่าว (กรวิภา บุญถาวร โครงการสอบราเดี่ยวมาตรฐาน, 2560)
17
การสอนราเดี่ยวมาตรฐาน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูลจากผู้ทรงคุณวุฒิ ที่มีความรู้ ความชานาญที่ได้สั่งสมประสบการณ์จนเกิดเป็นความเชี่ยวชาญทางด้านนาฏศิลป์ไทยโดย เป็ น ที่ย อมรั บ ในวงวิช าชีพในการศึกษามีลั กษณะเป็นการถ่ายทอดประกอบการฝึ กหั ดปฏิบัติจาก ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ โ ดยตรง โดยมุ่ ง ที่ ก ระบวนการฝึ ก ทั ก ษะเป็ น ส าคั ญ อี ก ทั้ ง มี ก ารก าหนดระยะเวลา เนื้อหาวิชาที่ศึกษา กิจกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอน ตลอดจนมีการบันทึกท่าราไว้เป็นลายลักษณ์ อักษร ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ขอฝากตัวเป็นศิษย์แก่อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ คือ อาจารย์พัชรา บัวทอง และเมื่อท่านยินดีทาการถ่ายทอดวิชาในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้เรียนปรึกษาในเรื่องของการคัดเลือก เพลงที่ราตามเกณฑ์ที่หลักสูตรกาหนดจานวน 1 เพลง ประกอบเหตุผลในการคัดเลือกดังนี้ การแสดงชุดรถเสนทรงเครื่อง จัดอยู่ในการราประเภทราเดี่ยวเป็นกระบวนท่าราซึ่งแสดงออก ถึงความสามารถของผู้ร่ายราในการปฏิบัติท่วงท่า
ให้มีความสอดคล้องกับเนื้อเพลงและทานองเพลง
อวัยวะทุกส่วนของร่างกายจะต้องมีความสัมพันธ์กันเพื่อประกอบเป็นกระบวนท่าราให้มีความอ่อนช้อย สวยงามและยังเป็นการราอวดฝีมือ ซึ่งการแสดง ชุด รถเสนทรงเครื่อง ถือว่าเป็นการแสดงชั้นสูงอีก ระดับหนึ่ง
ที่มีกระบวนท่าราประณีตแสดงให้เห็นถึงลีลากระบวนท่าราในลักษณะอย่างละครชาตรี
อันมีความงดงาม และสมบูรณ์ตามแบบนาฏศิลป์ไทย การแสดงราชุดรถเสนทรงเครื่อง เป็นการราแต่ง องค์ทรงเครื่อง เพื่อที่จะไปเข้าพิธีอภิเษกสมรสกับนางเมรี (สัมภาษณ์อาจารย์พัชรา บัวทอง,วันที่ 18 พฤศจิกายน 2560) 3.1 ขั้นตอนในการถ่ายทอดและฝึกหัด วิธีการเรียนมีลักษณะเป็นการถ่ายทอดแบบตัวต่อตัว ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1
ศึกษาเกี่ยวกับความสาคัญและความเป็นมาของเพลงที่เรียน
ขั้นตอนที่ 2
บันทึกเทปเพลงที่จะเรียน พร้อมศึกษาบทที่จะรา
ขั้นตอนที่ 3
ฝึกหัดท่าราตามเพลงและภาพจากวีดีโอ
ขั้นตอนที่ 4
รับคาแนะนา และฝึกปฏิบัติให้ถูกต้องและสวยงาม
18
ขั้นตอนที่ 5
ทบทวนท่ารา
3.2 ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด ตารางที่ 2 : ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด วัน/เวลา 23 มิถุนายน 2561 10.00-15.00 น.
สถานที่เรียน
เนื้อหาที่เรียน
โรงเรียนสถาบันสันติราษฏร์
- ถ่ายทอดท่าราตั้งแต่ออก จนจบเนื้อเพลง
กรุงเทพมหานคร
รารถเสนทรงเครื่อง - แก้ไขวิ่งเลี้ยวเป็นเลข 8 ท่าออกเปลี่ยนมือ สอดสร้อยให้เปลี่ยนมือสอดสร้อยก่อนเลี้ยว - แก้ ไ ขท่ า ร าตรงค าว่ า “บรรจงสอดสนั บ เพลา” - แก้ไขท่าตรงคาว่า “บุษบัน” ให้สอดมือจีบ แก้ว -
แก้ไขตรงคาว่า “ชายไหวฉายวะวับ ”
ตรงที่พรมมือที่หน้าขาให้กรีดนิ้วด้วย - แก้ไขเรื่องการแตะเท้าให้กันเข่า - แก้ไขตรงคาว่า “ทองกร” มือจีบต้องอยู่ที่ ระดับข้อมือ
19
วัน/เวลา
สถานที่เรียน
เนื้อหาที่เรียน
11 กรกฎาคม 2561
ห้องกลุ่มนาฏศิลป์
- ถ่ายทอดท่าราเพลงเสมอจน
11.00-12.00 น.
กรุงเทพมหานคร
จบเพลงรารถเสนทรงเครื่อง - ราเข้าเพลงตั้งแต่แรกจนจบ เพลง 1 ครั้ง - แก้ไขระดับของวง ทั้งการจีบ และการตั้งวงระดับของตัวพระ - แก้ไขระดับการใช้สายตาและ อารมณ์ในการแสดง - แก้ ไ ขท่ า ร าให้ ส มบู ร ณ์ ม าก ยิ่งขึ้น
20
วัน/เวลา
สถานที่เรียน
26 สิงหาคม 2561
โรงเรียนสถาบันสันติราษฏร์
10.00-14.30 น.
กรุงเทพมหานคร
เนื้อหาที่เรียน -
ทบทวนท่าราเพลงรถเสน
ทรงเครื่อง 5 ครั้ง -
แก้ไขท่าราให้ส มบูรณ์มาก
ยิ่งขึ้น - แก้ไขการใช้มือบอกตาแหน่ง ของเครื่องแต่งการแต่ล ะจุดให้ ชัดเจนมากยิ่งขึ้น - แก้ไขลีลาการเชื่อมท่าราให้ท่า ต่างๆ ให้ถูกต้อง - เพิ่มลีลาและอารมณ์ของการ แสดงให้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
3.3 อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด อุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอน 1. เครื่องเสียงและแผ่นบันทึกเสียง 2. กล้องบันทึกภาพ 3. ผ้าโจงกระเบนสีม่วง 1 ผืน (สาหรับนุ่งฝึกหัดท่ารา) 4. สมุดบันทึกและเครื่องเขียน
21
อุปกรณ์เฉพาะการถ่ายทอดท่าราเพลงรารถเสนทรงเครื่อง 1. แผ่นเสียงเพลงรารถเสนทรงเครื่อง 2. บทประกอบการรารถเสนทรงเครื่อง 3.4 พัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด ตารางที่ 3 : พัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด วัน/เดือน/ปี
พัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด
23 มิถุนายม 2561
- ถ่ายทอดท่าราตั้งแต่ออก จนจบเนื้อเพลงรารถเสนทรงเครื่อง แก้ไขวิ่ง เลี้ยวเป็นเลข 8 ท่าออกเปลี่ยนมือสอดสร้อยให้เปลี่ยนมือสอดสร้อยก่อน เลี้ยว และปรับเปลี่ยนแก้ไขท่ารา เช่น การสอดจีบ การพรมมือกรีดนิ้ว การแตะเท้า
11 กรกฎาคม 2561
- ถ่ายทอดท่าราเพลงเสมอจนจบเพลงรารถเสนทรงเครื่อง - ทบทวนท่าราตั้งแต่ต้นจนจบเพลงรารถเสนทรงเครื่อง -แก้ไขในส่วนของการใช้สายตา อารมณ์ในการแสดง
26 สิงหาคม 2561
- ทบทวนท่าราเพลงรถเสนทรงเครื่อง 5 ครั้ง - แก้ไขท่าราให้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น - แก้ไขการใช้มือบอกตาแหน่งของเครื่องแต่งการแต่ละจุดให้ชัดเจนมาก ยิ่งขึ้น - แก้ไขลีลาการเชื่อมท่าราให้ท่าต่างๆ ให้ถูกต้อง - เพิ่มลีลาและอารมณ์ของการแสดงให้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
22
จากการศึ ก ษาวิ ธี ด าเนิ น การสื บ ทอดและฝึ ก หั ด การแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐานชุ ด รถเสน ทรงเครื่ อง จากอาจารย์พัช รา บั วทอง ที่ได้ให้ ความกรุณาในการถ่ายทอดท่าราการแสดงราเดี่ยว มาตรฐาน ชุด รถเสนทรงเครื่องให้แก่ผู้วิจัย โดยในแต่ ละครั้งที่ได้รับการถ่ายทอดท่ารานั้น ผู้วิจัยได้นา กลวิธีในการสอนของครูท่านมาปรับใช้ให้ท่าราแม่นยาและดูสวยงาม สามารถขึ้นแสดงบนเวทีในการ สอบราเดี่ยวมาตรฐานได้อย่างมั่นใจ
23
บทที่ 4
อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด รถเสนทรงเครื่อง 4.1 ประวัติความเป็นมาของการแสดง การแสดง ชุด รถเสนทรงเครื่องเป็นการแสดงที่ประดิษฐ์ขึ้นโดย อาจารย์พัชรา บัวทอง นาฏ ศิลปินระดับชานาญงาน สานักการสังคีต กรมศิลปากร ประพันธ์บทโดย อาจารย์สมรัตน์ ทองแท้ ศิลปินอาวุโส สานักการสังคีต กรมศิลปากร การแสดงราชุดรถเสนทรงเครื่องเกิดขึ้นจากที่พระรถเสน นาสารไปให้นางเมรีโดยได้รับคาสั่งจากนางสมุดชา แต่ในระหว่างทางได้เจอกับพระฤๅษี พระฤๅษีเลย แอบแปลงสารไปเสียใหม่ว่า “ถึงกลางวันให้แต่งกลางวัน ถึงกลางคืนให้แต่งกลางคืน” ด้วยเหตุนี้ อาจารย์พัชรา บัวทอง เห็นถึงความสาคัญของพระรถเสนที่กาลังจะเข้าพิธีอภิเษกสมรสกับนางเมรี จึง แต่งการแสดงชุดรถเสนทรงเครื่องขึ้นมา ออกแสดงครั้งแรกในรายการศรีสุขนาฏกรรม พ.ศ 2555 เรื่อง พระรถเมรี ตอนเข้าห้องนางเมรี ที่โรงละครแห่งชาติ ซึ่งการแสดงชุด รถเสนทรงเครื่อง ถือว่าเป็น การแสดงชั้นสูงอีกละดับหนึ่งที่มีกระบวนท่าราประณีต อย่างละครชาตรี
อันมีความงดงาม
แสดงให้เห็นลีลากระบวนท่าราในลักษณะ
และสมบูรณ์ตามแบบนาฏศิลป์ไทย
การแสดงราชุดรถเสน
ทรงเครื่อง เป็นการราแต่งองค์ทรงเครื่อง เพื่อที่จะไปเข้าพิธีอภิเษกสมรสกับนางเมรี (สัมภาษณ์ อาจารย์พัชรา บัวทอง,วันที่ 18 พฤศจิกายน 2560) 4.2 เรื่องย่อของการแสดง เรื่องพระรถเมรีน่าจะมาจากเรื่องรถเสนชาดกซึ่งเป็นชาดกเรื่องที่47
ในหนังสือปัญญาส
ชาดก (ชาดก 50 เรื่อง) เมื่อได้ฟังนิทานชาดกแล้วผู้ฟังก็นามาเปรียบเทียบกับชีวิตจริงมิใช่แต่เพียง สานักในกฏแห่งกรรมตามคาสอนเท่านั้น
แต่ยังจินตนาการสภาพบ้านเมืองในเรื่องชาดกให้เข้ากับ
สภาพจริงของบ้านเมืองของตนด้วย จึงเกิดเป็นนิทานพื้นบ้าน หรือตานานของชื่อสถานที่ต่างๆใน ท้องถิ่นของตน ดังเช่น เรื่อง " พระรถเมรี" (บางคนเรียกว่า "นางสิบสอง") เป็นความเชื่อของชาวบ้าน ในภาคกลาง บริเวณฝั่งตะวันออกของอ่าวไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ชาวอาเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี และ ชาวอาเภอราชสาส์น จังหวัดฉะเชิงเทรา เชื่อว่าเป็นเรื่องจริง
24
พระรถสิทธิ์ เป็นเจ้าของครองเมืองนครที่ไม่มีพระมเหสีได้ครองเมืองไพศาลีด้วยความสงบ สุขเรื่อยมา เมื่อนั้นมีเศรษฐีร่ารวยมากคนหนึ่งชื่อ พรหมจันทร์มีภรรยาอยู่กินกันมานานแต่บุตรธิดาไม่ มีจึงพากันไปหาพระฤาษีเพื่อขอบุตรธิดา พระฤาษีจึงให้เก็บก้อนกรวดที่ปากบ่อน้าหน้าอาศรมและให้ นึกถึงพระฤาษี ทุกครั้งเมื่อภาวนา เศรษฐีเก็บก้อนกรวดไปสิบสองก้อน หลังจากนั้นภรรยาได้ตั้งท้องมีธิดาติดต่อกันมาเรื่อยจน ได้สิบสองคน เศรษฐีก็เลี้ยงดูลูกสาวด้วยความเอ็นดูอยู่ต่อมาเศรษฐีค้าขายขาดทุนจนไม่มีอาหารเลี้ยงดู ลูกสาวทั้งสิบสองคน ในที่สุดจึงตัดสินใจที่จะนาลูกสาวทั้งหมดไปปล่อยปุา ขณะที่ปรึกษากันระหว่าง ผัวเมีย นางเภา ลูกสาวคนสุดท้องแอบได้ยินจึงเก็บก้อนกรวดไว้เป็นจานวนมากครั้งเมื่อพาเข้าไปตัดฟืน นางเภาจะเดินหลังท้ายและเอาก้อนกรวดทิ้งตามทางเพื่อเป็นเครื่องหมาย
เมื่อไปถึงปุาพ่อใช้ให้ลูกๆ
แยกย้ายกันไปตัดฟืนหาผลไม้ในปุากว้าง ส่วนพ่อเห็นลูกจากไปในปุาหมดแล้วก็หลบหนีกลับบ้าน ครั้นตกเย็นลูกสาวทั้งสิบสองคน ได้กลับมายังที่นัดพบ รออยู่นาน ไม่เห็นพ่อต่างร้องไห้คร่า ครวญ นางพราวจึงบอกพี่ๆ ว่าตนจะพากลับบ้าน นางเภาก็พาพี่ๆเดินตามก้อนกรวดที่นางไปโปรย เอาไว้ตอนเดินทางมา
ส่วนพ่อแม่ซึ่งอดอยากกันมานานตั้งใจจะกินข้าวกินปลาให้อิ่มหมีพีมันเสียที
ขณะที่จะลงมือกินข้าวลูกๆก็กลับมาถึงบ้าน เศรษฐีได้หาวิธีไปปล่อยลูกสาวในปุากันอีกครั้ง ครั้งสุดท้ายนางเภาไม่มีโอกาสที่จะเก็บก้อน กรวดเหมือนครั้งก่อน เมื่อพ่อพาไปปุาหาฟืนหาผลไม้ก็จายอมไปและได้เอาขนมที่พ่อแม่ให้กินระหว่าง เดินทางโปรยตามทางเพื่อเป็นเครื่องหมายกลับบ้าน แต่นกกาเห็นขนมก็ตามจิกกินขนมจนหมดสิ้นครั้น พอหนีกลับบ้านนางทั้ง สิบสอง จึงไม่สามารถจะเดินทางกลับบ้านได้พากันร่อนเร่ พเนจรไปเรื่อยๆหา ทิศทางไม่ได้ในที่สุดหลงเข้าไปในเมืองยักษ์โดยอาศัยอยู่กับนางสันทมาร (สนธมาร,สนทรา) ยักษ์แม่ หม้ายมีลูกสาวบุญธรรมชื่อนางเมรี นางสิบสอง ไม่ทราบว่านางสันทมารเป็นยักษ์จึงอาศัยอยู่ด้วย นาง สันทมารต้องออกปุาไปจับสัตว์กินเป็นอาหารเสมอๆ วันหนึ่งนางสิบสองซุกซนไปตรวจดูสิ่งต่างๆได้พบกระดูกคนและสัตว์จานวนมาก พวกนาง จึงรู้ว่านางสันทมารนั้นเป็นยักษ์ จึงพากันหนีด้วยความกลัว นางสันทมารกลับมา ทราบจากเมรีว่านาง สิบสองหนีไปก็โกรธ จึงออกติดตามหวังจะจับกินเป็นอาหาร แต่ด้วยบุญญาธิการของนางสิบสอง ยังมี อยู่บ้างพวกสัตว์ ปุา เสือ ช้าง ช่วยกันกาบังนางสิบสอง ไม่ให้นางสันทมารเห็น
25
ในที่สุดนางสิบสองก็เดินมายังเมืองไพศาลี
พระรถสิทธิ์เจ้าเมืองเสด็จมาพบเข้าทรงพอ
พระทัยมากจึงรับนางสิบสองคนมาเป็นพระมเหสี ส่วนนางสันทมารได้ติดตามมาจนถึงเมืองไพศาลีเมื่อ ทราบว่านางสิบสองได้เป็นพระมเหสีของพระรถสิทธิ์ก็ยิ่งเคียดแค้น จึงแปลงกายเป็นหญิงงามทาอุบาย ร้องห่มร้องไห้ จนได้เฝูาพระรถสิทธิ์ นางเล่าว่าตนชื่อนางสมุดชา ถูกบิดาบังคับให้แต่งงานกับเศรษฐี นางจึงหนีมาพระรถสิทธิ์จึงรับนางสมุดชาไว้เป็นชายา
นางสมุดชามีความเคียดแค้นนางสิบสองเป็น
ทุนเดิมอยู่แล้วจึงทาเสน่ห์มารยาให้พระรถสิทธิ์หลงใหลจนลืมมเหสีเก่าทั้งสิบสอง วันหนึ่ง นางสมุดชาทาอุบาย โดยนางแกล้งปุวยแล้วหมอหลวงเยียวยารักษาไม่หายนอกจาก จะต้องใช้ดวงตาของสาวที่เกิดจากพ่อแม่เดียวกันสิบสองนาง เป็นเครื่องยาจึงจะรักษาหาย ด้วยเวท มนตร์ของนางยักษ์สันทมารนั้นจึงสั่งควักลูกตานางสิบสองมาเป็นเครื่องยาแต่นางเภาถูกควักลูกตา เพียงข้างเดียว เพราะเมื่อครั้งหนีนางยักษ์สันทมารนั้น นางทั้งสิบสองคนจับปลากินประทังความหิวพี่ๆ จับปลาได้ก็จะร้อยกับเชือกโดยแทงตาทะลุทั้งสองข้าง ส่วนนางเภานั้นร้อยปลาจากปากปลาไปทะลุตา ข้างเดียวฉะนั้นนนางจึงถูกควักลูกตาข้างเดียวเพราะผลกรรมครั้งนั้น ขณะนั้นมเหสีทั้งสิบสองได้ตั้งครรภ์กับพระรถสิทธิ์ทุกคน นางสันทมารจึงให้ทหารจับนางไป ขังไว้ในอุโมงค์มืดๆมีอาหารกินบ้างอดบ้าง เพราะตกอยู่ในอานาจเสน่ห์มารยาของนางยักษ์
ส่วนพระรถสิทธิ์ไม่ทราบว่ามเหสีทั้งสิบสองคนตั้งครรภ์ นางทั้งสิบสองคนต้องหิวโซอยู่ในอุโมงค์มืดนั้นจน
คลอดบุตร เมื่อพี่สาวใหญ่คลอดบุตรออกมาต่างก็ช่วยกันฉีกเนื้อแบ่งกันกินนางเภารับส่วนแบ่งเก็บไว้ได้ 11 ชิ้น ครั้นตนคลอดบุตรออกมาบ้างก็นาเนื้อเด็กทั้ง 11 ชิ้นส่งพี่ๆฉะนั้นลูกของนางเภาจึงรอดชีวิต นางเภาก็เลี้ยงลูกมาในอุโมงค์นั้นจนเจริญวัยวิ่งเล่น และได้ตั้งชื่อว่า “รถเสน” พระอินทร์ทราบเรื่องนางสิบสองถูกทรมาน จึงมาช่วยโดยแปลงกายเป็นไก่มาหากินอยู่หน้า อุโมงค์ พระรถเสนเลี้ยงไก่พระอินทร์และนาไก่มาท้าชนพนันกับชาวบ้านก็ได้ชนะทุกครั้งแลกเป็นข้าว อาหารมาเลี้ยงแม่และปูาๆ จนมีชื่อเสียงเลื่องลือไปทั่ว ความทราบถึงพระกรรณพระรถสิทธิ์ พระองค์ เรียกเข้าเฝูาทาให้ทราบว่า พระรถเสนเป็นพระโอรส นางสมุดชาทราบเรื่องคิดกาจัดพระรถเสนด้วย การหาอุบายให้พระรถสิทธิ์สั่งพระรถเสนเดินทางไปยังเมืองยักษ์เพื่อนา “มะงั่วรู้หาว มะนาวรู้โห่” (บางสานวนว่า มะม่วงไม่รู้หาว มะนาวไม่รู้โห่) มาเป็นเครื่องยารักษานางอีก นางสมุดชาเขียนสารให้ พระรถเสนถือไปหานางเมรีโดยเขียนสั่งว่า “ถึงกลางวันให้ฆ่ากลางวัน ถึงกลางคืนให้ฆ่ากลางคืน”
26
พระรถเสนก็ควบม้าไปยังเมืองยักษ์ตามคาสั่งพระบิดา ม้าของพระรถเสนนี้เป็นม้ากายสิทธิ์ วิ่งราวกับลมพัดและพูดได้ด้วย ครั้นมาถึงอาศรมพระฤๅษีก็ขอหยุดพักหลับนอน พระฤๅษีผู้มีญาณพิเศษ ทราบเหตุการณ์จึงแอบแก้ข้อความในจดหมาย ที่เรียกว่า “ฤๅษีแปลงสาร” เสียใหม่ว่า “ถึงกลางวันให้ แต่งกลางวัน ถึงกลางคืนให้แต่งกลางคืน” เมื่อพระรถเสนไปถึงเมืองยักษ์พวกนางเมรี
ก็นาสาราของนางสมุดชามอบให้เพื่อจะได้ขอ
มะงั่วรู้หาว มะนาวรู้โห่ นางเมรีทราบเรื่องราวตามสารก็ทาตามคาสั่งแม่ทุกประการ คือ อภิเษกสมรส และยกเมืองให้พระรถเสนครอง พระรถเสนอยู่ในเมืองยักษ์ด้วยความสุข แต่ถึงกระนั้นพระองค์ก็ยังระลึกถึงมารดาและปูา ของพระองค์ จึงคิดหาอุบายโดยการจัดเลี้ยงสุราอาหาร นางเมรีเมามายและหลอกถามถึงหอดวงตา นางสิบสอง อีกทั้งกล่องบรรจุดวงใจของนางสันทมาร นางเมรีก็พูดด้วยความมึนเมา บอกเรื่องราวและ ที่เก็บสิ่งของสาคัญตลอดจนยาวิเศษขนานต่างๆแก่พระรถเสนจนหมดสิ้น พระรถเสนจึงนากล่องดวงใจ ห่อดวงตาและยารักษารวมทั้งยาวิเศษที่โปรยเป็นภูเขา เป็นไฟ เป็นมหาสมุทรติดตัว หนีออกจากเมือง ไป ครั้นเมื่อนางเมรีหายจากความมึนเมาไม่เห็นพระรถเสน
นางจึงรู้ว่าพระรถเสนหนีไปแล้ว
นางกับเสนายักษ์ได้ออกติดตามพระรถเสนด้วยความรัก พระรถเสนควบม้าหนีมา แต่นางเมรีก็ตามทัน พระรถเสนโปรยยาให้เป็นมหาสมุทรนางเมรีสิ้นแรงฤทธิ์ ไม่สามารถจะข้ามมหาสมุทรได้ นางเฝูาราพัน อ้อนวอนให้พระรถเสนกลับเมืองไปอยู่กับนางแต่ม้าได้ทัดทานไว้ นางเมรีเศร้าโศกคร่าคราญจนดวงใจ แตกสิ้นใจตาย พระรถเสนกล่าวขอโทษต่อหน้าศพนางแล้วให้เสนายักษ์นากลับเมือง ในที่สุดพระรถ เสนก็ตัดสินใจกลับเมืองไปช่วยมารดาและปูาๆ เมื่อกลับมาถึงเมืองไพศาลี สามารถมองเห็นได้ทั้งสิบสองนาง
พระรถเสนนาดวงตามารดาและปูาๆ
พร้อมกับยารักษาจน
พระรถเสนเข้าเฝูาพระราชบิดาพร้อมกับทูลว่านางสมุดชาเป็น
ยักษิณี นางสมุดชารู้เรื่องจึงแปลงกายเป็นยักษ์หวังจะฆ่าพระรถเสนเสีย แต่พระรถเสนต่อสู้กับนาง สมุดชาสามารถและทาลายกล่องดวงใจของนางสมุดชาจนสิ้นใจตาย พระรถสิทธ์จึงง้องอนมเหสีทั้งสิบ สองนาง พร้อมทั้งขอโทษที่พระองค์ลงทัณฑ์นางเพราะความมัวเมาในเสน่ห์มารยาของนางยักษิณี ใน ที่สุดพระรถสิทธ์ก็ครองเมืองกับมเหสีทั้งสิบสองคนอย่างสันติสุข (กรุงเทพมหานคร : สานักพระราชวัง,2537) หน้า 32.)
(ศิลปากร,กรม.พระรถเมรี.
27
4.3 บทร้อง บทรารถเสนทรงเครื่อง -ปี่พาทย์ทาเพลงรัวชาตรี-ร้องเพลงเทพชาตรีเมื่อนั้น
รถเสนพริ้งเพริศเฉิดฉวี
เสด็จมาทรงเครื่องเรืองรูจี
เข้ามงคลกับโฉมศรีเมรีนุช -ร้องเพลงร่ายชาตรี 2-
บรรจงสอดสนับเพลาเงางามงอน ภูษาซ้อนยกทองผ่องผุด ฉลององค์ผจงถ้วนล้วนเลิศชุด
ปักลวดลายคล้ายโกมุทบุษบัน
ชายแครงชายไหวฉายวะวับ
รัดสะเอวเปลวปรับสลับสรรค์
กนกแขนกรองคอล้อรับกัน
ทับทรวงดวงกุดั่นคั่นเพชรรุ้ง
สวมสังวาลตาบทิพย์ระยิบแถว
ทองกรวาวแววแก้วพลอยหุง
ธามรงค์นพรัตน์จรัสกรุง
ข้อบาททองถลุงรุ่งเรืองตา
มงกุฎเทริดเพริศวิไลดอกไม้ทัด
เจิดจรัสพวงอุบะระนาสา
แล้วเสด็จลีลาศยาตรา
ดาเนินมาสู่สถานงานพิธี -ปี่พาทย์ทาเพลงเสมอ(พัชรมนต์ ฉิมพุฒ โครงการสอบราเดี่ยวมาตรฐาน, 2555)
ลักษณะบทประพันธ์ของราเดี่ยวชุด รถเสนทรงเครื่อง ที่ประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดย อาจารย์ สมรัต น์ ทองแท้ ศิลปินอวุโส สานักการสังคีต กรมศิลปากร จะใช้เพลงราทั้งหมด 3 เพลง คือ เพลงเทพชาตรี เพลงร่ายชาตรี และเพลงเสมอ ดังนี้
28
เพลงที่1 เพลงเทพชาตรี เพลงเทพชาตรี เป็นเพลงเก่าแก่มาแต่สมัยโบราณ ไม่ทราบนามผู้แต่ง จัดอยู่ในประเภทเพลง เกล็ดภาษา อัตราชั้นเดียว เรียกว่าเพลงชาตรี เป็นเพลงสาเนียงทางภาคใต้ ครูบุญยงค์ นามาปรับปรุง เป็น อัตรา 2 ชั้น และ 3 ชั้น โดยเน้นอารมณ์เพลงให้มีความสนุกสนานเร้าใจ ทั้งยังได้ปรับปรุงท่วงทา นองในอัตราชั้นเดียวเป็นทางเดี่ยวสาหรับบรรเลงอวดฝีมือความสามารถของนักดนตรี เพลงที่ 2 ร้องร่ายชาตรี ในสมัยโบราณตัวละครมักจะเป็นผู้ด้นกลอนและร้องเป็นทานองเพลงร่าย และปัจจุบันเพลง ร้องมักมีคาว่า ชาตรี อยู่ด้วย มีอัตราจังหวะชั้นเดียวมีลูกคู่ร้องรับ เพลงที่ 3 เพลงเสมอ เพลงเสมอเป็ น เพลงหน้ าพาทย์อีกเพลงหนึ่ง ซึ่งใช้กั นทั่ว ไปในการแสดงโขนละคร คาว่ า “เสมอ” นั้นเป็นภาษาไทยซึ่งอาจจะเพี้ยนมาจากคาในภาษาเขมรว่า “ถะเมอ” แปลว่าเดิน เพราะ เพลงเสมอเป็นเพลงเดินที่ใช้ในการเดินในระยะสั้น หรือเป็นเพลงเดินในการพิธีอย่างใดอย่างหนึ่ง มี ความเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ไปในลักษณะที่ช้าๆ เพลงเสมอว่ากันโดยทั่วไปแล้วเป็นเพลงสั้นมี 9 จังหวะ หรือที่ศัพท์นาฏศิลป์ของไทยเรียกว่า ไม้กลอง ผู้ราเพลงเสมอต้องก้าวเท้าลงตามจังหวะเพลง 9 ครั้ง คือก้าวไปข้างหน้า 5 ก้าว และถอยกลับมาข้างหลังอีก 4 ก้าว ยอเว้นเพลงเสมอบางอย่างซึ่งมีจังหวะ มากกว่านั้น (พัชรมนต์ ฉิมพุฒ โครงการสอบราเดี่ยวมาตรฐาน, 2555) การแต่งบทร้องรถเสนทรงเครื่องของ อาจารย์ สมรัตน์ ทองแท้ ซึ่งเป็นบทละครที่แต่งขึ้นใหม่ โดยใช้แสดงในละครนอกเรื่อง พระรถเมรี ตอน เข้าห้องนางเมรี บทร้องจะบ่งบอกถึงลักษณะของ เครื่องแต่งกาย และจะมีการใช้คาเชื่อมอยู่ด้วย เพื่อให้บทร้องสอดคล้องกัน โดยบทร้องของเพลงรถ เสนทรงเครื่อง ในช่วงเพลงเทพชาตรี จะมีการใช้คาเชื่อมที่เป็นคาของนาฏศิลป์ไทย หรือนาฏยศัพท์ ของทางนาฏศิลป์ เชื่อมอยู่ด้วยกัน ซึ่งจะสื่อความหมายของกิริยาศัพท์ หรือการใช้ท่าทางในการราใน รูปแบบที่เป็นพื้นฐาน คือบทร้องดังต่อไปนี้
29
เมื่อนั้น
รถเสนพริ้งเพริศเฉิดฉวี
เสด็จมาทรงเครื่องเรืองรูจี
เข้ามงคลกับโฉมศรีเมรีนุช (พัชรมนต์ ฉิมพุฒ โครงการสอบราเดี่ยวมาตรฐาน, 2555)
บทร้องรถเสนทรงเครื่อง ในช่วงบทร้องร่ายชาตรี มีการใช้คาเชื่อมที่สื่อความหมายของรารถ เสนทรงเครื่องได้ชัดเจน และเข้าใจกับบทร้องได้ง่ายขึ้น จะสื่อความหมายว่า กาลังแต่งองค์ทรงเครื่อง หรือการแต่งตัวของตัวละครที่กาลังร่ายรา โดยในบทร้องจะบ่งบอกถึงการแต่งตัวที่ละชิ้นตั้งแต่ล่ างขึ้น บน ซึ่งเป็นการแสดงตามแบบแผนของนาฏศิลป์ไทย คือบทร้องดังต่อไปนี้ บรรจงสอดสนับเพลาเงางามงอน
ภูษาซ้อนยกทองผ่องผุด
ฉลององค์ผจงถ้วนล้วนเลิศชุด
ปักลวดลายคล้ายโกมุทบุษบัน
ชายแครงชายไหวฉายวะวับ
รัดสะเอวเปลวปรับสลับสรรค์
กนกแขนกรองคอล้อรับกัน
ทับทรวงดวงกุดั่นคั่นเพชรรุ้ง
สวมสังวาลตาบทิพย์ระยิบแถว
ทองกรวาวแววแก้วพลอยหุง
ธามรงค์นพรัตน์จรัสกรุง
ข้อบาททองถลุงรุ่งเรืองตา
มงกุฎเทริดเพริศวิไลดอกไม้ทัด
เจิดจรัสพวงอุบะระนาสา
แล้วเสด็จลีลาศยาตรา
ดาเนินมาสู่สถานงานพิธี (พัชรมนต์ ฉิมพุฒ โครงการสอบราเดี่ยวมาตรฐาน, 2555)
โดยการแสดงราเดี่ยวรถเสนทรงเครื่องเป็นการราที่บ่งบอกถึงลักษณะของเครื่องแต่งการและเพลงที่ สาคัญของการแสดงชุดนี้คือ เพลงร่ายชาตรี ซึ่งเพลงร่ายชาตรีจะเป็นเพลงที่บ่งบอกถึงการทรงเครื่อง ของการแสดงราเดี่ยวรถเสนทรงเครื่องได้อย่างชัดเจนซึ่งเพลงร่ายชาตรีจะประกอบไปด้วยรา 1 บท และรับ 1 ท่า ซึ่งท่ารับจะเป็นท่าที่มาจาก ราแม่บทใหญ่ และ ซัดชาตรี ซึ่งผู้วิจัยวิเคราะห์ได้ว่า ท่า รับมาจากราแม่บทใหญ่ 6 ท่า ซัดชาตรี 2 ท่า ดังนี้
30
1. ท่ารับที่มาจากแม่บทใหญ่มีทั้งหมด 6 ท่า ดังนี้ ท่าที่ 1 ท่าสอดสร้อย มือซ้ายจีบปกข้างมือขวาตั้งวงชายพก เอียงข้างขวา ก้าวหน้าเท้าขวา พร้อมกับส่ายไหล่เล็กน้อย
จากนั้นกรายจีบมือขวาตั้งวงบนมือซ้ายจีบหงายชายพกพร้อมกับแตะส้น
เท้าซ้ายแล้วกลับเองซ้าย
ภาพที่ 13 : ท่ารับสอดสร้อย (ท่าเชื่อม) ที่มา : แสดงท่ารา โดย นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561
ภาพที่ 14 : ท่ารับสอดสร้อย (ท่าสาเร็จ) ที่มา : แสดงท่ารา โดย นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561
31
ท่าที่ 2 ท่าผาลาเพียงไหล่ มือขวาจีบปกข้างมือซ้ายตั้งวงระดับไหล่ก้าวหน้าเท้าขวาเอียงซ้าย พร้อมกับส่ายไหล่เล็กน้อย จากนั้นมือซ้ายมือขวากรายจีบเป็นตั้งวงบน มือซ้ายแขนงอปลายนิ้วตก แตะเท้าซ้ายแล้วกลับเอียงขวา
ภาพที่ 14 : ท่ารับผาลาเพียงไหล่ (ท่าเชื่อม) ที่มา : แสดงท่ารา โดย นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561
ภาพที่ 16 : ท่ารับผาลาเพียงไหล่ (ท่าสาเร็จ) ที่มา : แสดงท่ารา โดย นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561
32
ท่าที่ 3 ท่านางนอน มือขวาตั้งวงล้างมือซ้ายจีบหงายชายพกก้าวหน้าเท้าซ้ายเอียงขวา พร้อม กับส่ายไหล่เล็กน้อย จากนั้นมือซ้ายตั้งวงปลายนิ้วตกมือขวากรายจีบเป็นตั้งวงระดับชายพกแตะส้นเท้า ซ้ายแล้วกลับเอียงซ้าย
ภาพที่ 17 : ท่ารับนางนอน (ท่าเชื่อม) ที่มา : แสดงท่ารา โดย นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561
ภาพที่ 18 : ท่ารับนางนอน (ท่าสาเร็จ) ที่มา : แสดงท่ารา โดย นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561
33
ท่าที่ 4 บัวชูฝัก มือซ้ายตั้งวงบนมือขวาจีบหงายชายพกก้าวหน้าเท้าขวาเอียงซ้ายพร้อมกับ ส่ายไหล่เล็กน้อย
จากนั้นมือซ้ายเป็นเป็นท่าบัวชูฝักมือขวากรายจีบเป็นตั้งวงชายพกแตะส้นเท้าซ้าย
แล้วกลับเอียงซ้าย
ภาพที่ 19 : ท่ารับบัวชูฝัก (ท่าเชื่อม) ที่มา : แสดงท่ารา โดย นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561
ภาพที่ 20 : ท่ารับบัวชูฝัก (ท่าสาเร็จ) ที่มา : แสดงท่ารา โดย นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561
34
ท่าที่ 5 ท่ากระหวัดเกล้า มือซ้ายตั้งวงมือขวาจีบระดับบนศีรษะ ก้าวหน้าเท้าขวา เอียงขวา จากนัน้ มือซ้ายเปลี่ยนเป็นจีบมือขวากรายมือออกเป็นตั้งวงระดับบนศีรษะ พร้อมกับส่ายไหล่เล็กน้อย แล้วกลับเอียงขวา แตะส้นเท้าซ้าย
ภาพที่ 21 : ท่ารับกระหวัดเกล้า (ท่าเชื่อม) ที่มา : แสดงท่ารา โดย นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561
ภาพที่ 22 : ท่ารับกระหวัดเกล้า (ท่าสาเร็จ) ที่มา : แสดงท่ารา โดย นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561
35
ท่าที่ 6 ท่ากลางอัมพร มือซ้ายตั้งวงระดับศีรษะมือขวาจีบปกข้างก้าวเท้าขวา พร้อมกับส่าย ไหร่เล็กน้อย จากนั้นเปลี่ยนเป็นท่ากลางอัมพร แล้วแตะส้นเท้าซ้ายเอียงขวา
ภาพที่ 23 : ท่ารับกลางอัมพร (ท่าเชื่อม) ที่มา : แสดงท่ารา โดย นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561
ภาพที่ 24 : ท่ารับกลางอัมพร (ท่าสาเร็จ) ที่มา : แสดงท่ารา โดย นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561
36
2. ท่ารับที่มาจากเพลงซัดชาตรีมีทั้งหมด 2 ท่า ดังนี้ ท่าที่ 1 ท่าแมงมุมชักใย (จีบสั้น) มือซ้ายตั้งวงระดับอกมือขวาจีบเข้าหาตัวระดับอกก้าวหน้า เท้าขวาเอียงซ้ายจากนั้นวนมือเข้าหาตัวเป็นวงกลม 2 รอบ พร้อมกับส่ายไหล่เล็กน้อย แล้วมือซ้ายดึง จีบลงมาที่หน้าขาซ้ายมือขวาตั้งวงบนแล้วกับเอียงขวา แตะส้นเท้าซ้าย ปฏิบัติเช่นเดียวกัน 2 ครั้ง เริ่ม จากข้างซ้ายย้ายมาข้างขวา
ภาพที่ 25 : ท่ารับแมงมุมชักใย (จีบสั้น) (ท่าเชื่อม) ที่มา : แสดงท่ารา โดย นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561
ภาพที่ 26 : ท่ารับแมงมุมชักใย (จีบสั้น) (ท่าสาเร็จ) ที่มา : แสดงท่ารา โดย นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561
37
ท่าที่ 2 ท่าแมงมุมชักใย (จีบยาว) มือซ้ายตั้งวงระดับอกมือขวาจีบเข้าหาตัวระดับอก ก้าวหน้าเท้าขวาเอียงซ้ายจากนั้นวนมือเข้าหาตัวเป็นวงกลม 2 รอบ พร้อมกับส่ายไหล่เล็กน้อย แล้วมือ ซ้ายดึงจีบลงมาที่ข้างขาซ้ายแขนตึงระดับไหล่มือขวาตั้งวงบนแล้วกับเอียงขวา แตะส้นเท้าซ้าย ปฏิบัติ เช่นเดียวกัน 2 ครั้ง เริ่มจากข้างซ้ายย้ายมาข้างขวา
ภาพที่ 27 : ท่ารับแมงมุมชักใย (จีบยาว) (ท่าเชื่อม) ที่มา : แสดงท่ารา โดย นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561
ภาพที่ 28 : ท่ารับแมงมุมชักใย (จีบยาว) (ท่าสาเร็จ) ที่มา : แสดงท่ารา โดย นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561
38
หลังจากทาท่ารับในแต่ละท่อนเพลงแล้วยังมีท่าเชื่อมก่อนที่จะเริ่มราในบทต่อไป คือ ท่าโยก และ ท่าโบก โดยจะราสลับกันในแต่ละท่ารับ เช่น รับท่าสอดสร้อยให้ใช้ท่าเชื่อมโดยใช่ท่าโบก รับท่า ผาลาเพียงไหล่ให้ใช้ท่าเชื่อมโดยใช้ท่าโยก ปฏิบัติในลักษณะแบบนี้จนจบเพลงร่ายชาตรี ตัวอย่างท่าโบก และ ท่าโยก 4.1.1 ท่าโบก มือขวาจีบคว่ามือซ้ายตั้งวงระดับหน้าอก ก้าวหน้าเท้าซ้าย เอียงซ้าย แล้ว ค่อยๆกรายมือขวาออกเป็นตั้งวงบนมือซ้ายจีบส่งหลัง แล้วกลับเอียงขวา แล้วส้นเท้าขาวแตะพื้นเบาๆ แล้วนิ่ง
ภาพที่ 29 : ท่าโบก ที่มา : แสดงท่ารา โดย นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561 4.1.2 ท่าโยก หรือ การซัดท่า มือซ้ายเท้าเอวมือขวาแขนตึงปลายนิ้วตกดึงมือขึ้นแล้วกดมือ ลงเป็นตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ ทิ้งน้าหนักไปที่เท้าขวา ลักคอข้างซ้ายเล็กน้อย จากนั้นกดมือลงแล้วจีบ กรายมือเป็นตั้งวงบน แล้วค่อยๆนาส้นเท้าขวามาแตะพื้นเบาๆ แล้วกลับเอียงขาวแล้วนิ่ง
39
ภาพที่ 30 : ท่าโยก หรือ การซัดท่า (ท่าเชื่อม) ที่มา : แสดงท่ารา โดย นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561
ภาพที่ 31 : ท่าโยก หรือ การซัดท่า (ท่าสาเร็จ) ที่มา : แสดงท่ารา โดย นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561
40
ซึ่งในแต่ละท่ารับผู้วิจัยสรุปได้ว่าในท่ารับทุกท่าจะต้องมีการส่ายไหล่เล็กน้อยซึ่งการราเดี่ยวรถ เสนทรงเครื่องเป็นการนาละครนอกกับละครชาตรีมาผสมผสานกันและผู้ที่ร่ายราจะต้องเข้าถึงอารมณ์ และสื่อความหมายของตัวละครได้อย่างชัดเจนซึ่งท่ารับจะเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าการซัดท่า 4.4 ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง เครื่องดนตรีที่ใช้ในการประกอบการแสดงรารถเสนทรงเครื่องนิยมใช้วงปี่พาทย์ไม้แข็ง โดย ประกอบไปด้วยเครื่องดนตรี ดังนี้ 1. ปี่
ภาพที่ 32 : ปี่ ที่มา : https://tminstrument.wordpress.com, สืบค้นวันที่ 5 กันยายน 2561
41
2. โทนชาตรี
ภาพที่ 33 : โทนชาตรี ที่มา : https://th.wikipedia.org, สืบค้นวันที่ 5 กันยายน 2561
3. กลองชาตรี (กลองตุ๊ก)
ภาพที่ 34 : กลองชาตรี (กลองตุ๊ก) ที่มา : https://th.wikipedia.org, สืบค้นวันที่ 5 กันยายน 2561
42
4. ฆ้องคู่
ภาที่ 35 : ฆ้องคู่ ที่มา : https://sites.google.com, สืบค้นวันที่ 5 กันยายน 2561
5.ฉิ่ง
ภาพที่ 36 : ฉิ่ง ที่มา : http://pirun.ku.ac.th, สืบค้นวันที่ 5 กันยาายน 2561
43
6. วงปี่พาทย์ไม้แข็ง
ภาพที่ 37 : วงปี่พาทย์ไม้แข็ง ที่มา : https://tminstrument.wordpress.com, สืบค้นวันที่ 5 กันยายน 2561 4.5 ฉากและองค์ประกอบการแสดง การรารถเสนทรงเครื่อง เป็นการแสดงที่อยู่ในละครนอก เรื่อง พระรถเมรี ตอน เข้าห้องนาง เมรี ซึ่งพระรถเสนกาลังแต่งองค์ทรงเครื่องเพื่อไปเข้าพิธีอภิเษกสมรสกับนางเมรี ดังนั้นจึงต้องมีการลง สรงหรือการอาบน้าแต่งตัว โดยมีอุปกรณ์ประกอบฉากที่ตัวละครต้องใช้ คือ เตียง ตั่ง คันฉ่อง พาน พระเครื่องสาอาง และหมอนสามเหลี่ยม จัดอยู่ในห้องทรงเครื่องเพื่อประกอบการแสดง
ภาพที่ 38 : เตียง / ตั่ง ที่มา : สาเนาภาพ นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561
44
ภาพที่ 39 : คันฉ่อง และ พานพระเครื่องสาอาง ที่มา : สาเนาภาพ นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561
ภาพที่ 40 : หมอนสามเหลี่ยม ที่มา : สาเนาภาพ นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 5 กันยายน 2561
45
4.6 เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า การแต่งกายรารถเสนทรงเครื่อง เป็นการแต่งกายชุดยืนเครื่องพระโดยพระรถเสนสวมเทริด พระ และสวมเสื้อ (ฉลององค์) แขนสั้นสีแดงขลิบเขียว (ผ้ายกเขียว) ซึ่งเป็นแบบแผนมาตั้งแต่โบราณ ว่า พระเอกที่ใส่ชุดยืนเครื่องนั้นจะต้องใส่สีแดง ดังนั้นพระรถเสนก็เป็นตัวละครตัวหนึ่งที่เป็นพระเอก ในเรื่องพระรถเมรี เพราะฉะนั้นจึงใส่ชุดยืนเครื่องพระสีแดงตามแบบแผนโบราณ และการแต่งการรา รถเสนทรงเครื่องประกอบไปด้วยเครื่องแต่งกายดังนี้ (สัมภาษณ์อาจารย์พัชรา บัวทอง,วันที่ 18 พฤศจิกายน 2560) 1. เทริดพระ
10. ทับทรวง
2. ดอกไม้ทัด
11. สังวาล
3. อุบะ
12. เข็มขัด (ปั้นเหน่ง)
4. ปะวะหล่า
13. ผ้านุ่ง (ภูษา)
5. กาไลแผง
14. ตาบทิศ
6. พาหุรัด
15. สนับเพลา
7. เสื้อ (ฉลององค์)
16. ห้อยข้าง (ชายแครง)
8. รัดสะเอว
17. ห้อยหน้า (ชายไหว)
9. กรองคอ
18. กาไลข้อเท้า
(พัชรมนต์ ฉิมพุฒ โครงการสอบราเดี่ยวมาตรฐาน, 2555)
46
ภาพที่ 41 : เครื่องแต่งกายรารถเสนทรงเครื่อง ที่มา : ภาพ นายกฤตเมธ เชื้อม่วง, การสอบราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด รารถเสนทรงเครื่อง, วันที่ 5 กันยายน 2561 4.7 นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง นาฏยศัพท์ หมายถึง ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะท่าราที่ใช้ในการฝึกหัด เพื่อใช้ในการแสดง โขน ละคร เป็นคาที่ใช้ในวงการนาฏศิลป์ไทย สามารถสื่อความหมายกันได้ทุกฝุายในการแสดงต่างๆ ดังนี้ (https://www.gotoknow.org/posts/118858, สืบค้นเมื่อ 23 กรกฎาคม 2561) ส่วนที่ 1 ศีรษะ เอียงศีรษะ หรือ อ่อนศรีษะ คือ กิริยาที่จะต้องใช้ร่างกายตั้งแต่ช่วงเอว ไหล่ ขึ้นมา กล่าวคือ เมื่อจะเอียงศีรษะก็ จะต้องเริ่มกดเอว กดไหล่ ข้างเดียวกันกับศีรษะที่เอียง เพื่อเน้นให้เห็นเส้นสรีระของร่างกายเป็นเส้น โค้ง หากเอียงแต่ศีรษะเพียงอย่างเดียว ท่าราจะดูแข็ง และเหมือนคนราคอฟาด (คือ ราคอพับไปมา เหมือนเด็กอนุบาลรา) การเอียงนั้นจะต้องได้สัดส่วนที่พองาม ตัวนางจะกดลาตัวและการเอียงมากกว่า ตัวพระ ตัวพระนั้นการเอียงนี้จะใช้เพียงแง่ศีรษะ (คือ ให้ความรู้สึกว่าเอียงเพียงเล็กน้อย) เท่านั้น
47
มิฉะนั้นเมื่อเวลาสวมชฏาแล้วจะเห็นได้ชัดเจนว่าผู้ใดเอียงมากจนยอดชฎานั้นโอนเอนไปมาอย่างแรง การเอียงศีรษะจึงมีความยากที่จะกาหนด
ต้องหมั่นราในกระจกหรือครูเป็นผู้ตรวจสอบให้งดงาม
ถูกต้อง ส่วนที่ 2 ไหล่ ผึ่งไหล่ หรือ ตึงไหล่ คือ การดันไหล่ให้ผายออกได้แนวประมาณ 180 องศา และจะต้องดันหน้าอกให้แอ่น ขึ้น เพื่อให้ดูสง่ามากยิ่งขึ้น (โดยเฉพาะตัวพระ ในอดีตเมื่อรัดเครื่องจะไม่ใส่นวมอกอย่างปัจจุบัน การ ดันหน้าอกและรูปร่างจึงมีความสาคัญ และเห็นได้ชัดเจนมาก) จึงมีคาใช้ประกอบเมื่อสอนราว่า “อก ผายไหล่ผึ่ง อกตึงไหล่ตั้ง” กดไหล่ คือ การเอียงข้างใดข้างหนึ่ง โดยจะต้องกดมาตั้งแต่ลาตัว (ฝึกหัดด้วยการถองสะเอว) เมื่อกดเอวแล้ว ไหล่ก็จะลดลงตาม การกดไหล่นี้ต้องในระดับระนาบ คือ เมื่อกดลงแล้วไม่ล้าไป ด้านหน้าหรือเบี่ยงไปด้านหลัง ข้อพึงระวังอีกอย่างหนึ่งที่มักจะเป็นปัญหาให้กับผู้ราในปัจจุบัน คือ เมื่อ กดไหล่ลงข้างหนึ่งแล้วจะยกไหล่อีกข้างโดยเจตนา ดูคล้ายหุ่นกระบอกพม่าที่ยกไหล่กระโดดไปมา พึง กดไหล่โดยผ่อนตามธรรมชาติจะดีกว่า ส่วนที่ 3 ลาตัว ทรงตัว คือ การตั้งลาตัวให้ตรง ไม่โอนเอนไปด้านหน้า (ราหน้าคว่า) หรือไปด้านหลัง (ราหน้า หงาย) การทรงตัวนี้ต้องดันหลังให้ตึง ยกอกขึ้นเล็กหน้า แต่ต้องไม่ให้หน้าท้องยืนล้าออกมามาก ต้อง เกร็งหน้าท้องไว้ด้วยเสมอ
48
ส่วนที่ 4 มือและแขน วง หรือ ตั้งวง คือ ช่วงท่อนแขนและมือที่กางออก ข้อมือหักหงายให้อ่อนโค้งเข้าหาลาแขน การจะ ตั้งวงให้ได้สัดส่วนที่งามนั้น มิได้ขึ้นอยู่กับการมีนิ้วมือที่เรียวโค้งไปด้านหลังได้มากๆ แต่อย่างเดียว ขึ้นอยู่กับองศาระหว่างท่อนแขนบนล่าง และท่อนแขนล่างกับข้อมือประกอบด้วย เพราะความหมาย ของ “วง” นั้น คือเป็นส่วนของเส้นโค้ง การตั้งวงจึงต้องทอดแขนแลให้เห็นเป็นเส้นโค้งที่มีสัดส่วน สวยงามตามแบบฉบับของแต่ละบท เช่น พระ นาง ยักษ์ ลิง เป็นต้น ดังนั้น ระดับแขนระหว่างตัว ละครต่างๆ จึงแตกต่างกัน กล่าวโดยรวมคือ ตัวยักษ์จะมีวงกว้างที่สุด รองมาคือ ลิง พระ และนาง ใน เรื่องของระดับวงนี้ ควรได้รับการแนะนาจากผู้เชี่ยวชาญเพื่อจับท่าให้ได้ตามมาตรฐาน ซึ่งสามารถ แบ่งย่อยเป็นระดับต่างๆ ดังนี้ วงสูง หรือ วงบน ตัวพระ กันวงออกข้างลาตัว เฉียงมาทางด้านหน้าเล็กน้อย (แนวเดียวกันกับหน้าขาที่ เปิดออก) ยกขึ้นให้ปลายมืออยู่ในระดับแง่ศีรษะ ตัวนาง จะกันวงเฉียงมาด้านหน้ามากกว่าตัวพระ เล็กน้อย และลดระดับวงให้อยู่ที่ระดับหางคิ้ว วงกลาง ทั้งตัวพระและตัวนาง ลดระดับวงลงให้สูงเพียงระดับหัวไหล่ วงต่า หรือ วงล่าง มือที่ตั้งวงอยู่บริเวณหัวเข็มขัดหรือชายพก ตัวพระจะกันกว้างออกไปอีกเล็กน้อย วงหน้า ทอดลาแขนให้โค้งไปด้านหน้า ปลายมือชี้เข้าระดับปาก เช่นเดียวกันทั้งตัวพระและ นาง
49
วงหงาย หรือ วงบัวบาน เป็นวงพิเศษที่มีลักษณะไม่เป็นเส้นโค้ง กล่าวคือท่อนแขนบนและล่างและข้อมือหัก เป็นมุม ฝุามือที่ตั้งวงจะหงายขึ้น ปลายนิ้วจะชี้ออกด้านข้าง (เช่น ท่าพรหมสี่หน้า) หรือตกลงด้านล่าง (เช่น ท่านางนอน) จีบ คือ การจรดปลายนิ้วหัวแม่มือที่ข้อแรกของปลายนิ้วชี้ นิ้วที่เหลือทั้งสามกรีดออกไป ด้านหลังมือให้มากที่สุด ที่สาคัญคือ จะต้องหักข้อมือเข้าหาลาแขนให้ได้มากที่สุด ท่าจีบแบ่งเป็น จีบหงาย คือ การจีบที่หงายฝุามือขึ้น ปลายนิ้วที่จีบชี้ขึ้น จีบคว่า คือ การจีบที่คว่ามือลง ปลายนิ้วที่จีบชี้ลงเบื้องล่าง จีบปรกหน้า หรือ จีบตลบหน้า คือ การจีบที่อยู่ระดับใบหน้า หันปลายนิ้วที่จีบชี้ที่บริเวณดวงตา จีบปรกข้าง ลักษณะคล้ายวงบัวบานระดับสูง แต่หักข้อมือที่จีบเข้าหาแง่ศีรษะ จีบหลัง หรือ จีบส่งหลัง คือ การทอดแขนไปด้านหลังให้ตึง มือที่จีบพลิกหงายขึ้นด้านบน การจีบส่งหลัง จะต้องเหยียดออกไปด้านหลังให้สุดและปลายนิ้วที่จีบจะไม่ชี้เข้ามาที่ก้นโดยเด็ดขาด ล่อแก้ว เป็นลักษณะมือพิเศษ
โดยใช้ปลายนิ้วกลางขัดที่ข้อแรกของนิ้วหัวแม่มือเป็นรูป
วงกลม นิ้วเหลือเหยียดออกไปด้านหลัง พร้อมหักข้อมือเข้าลาแขน
50
ส่วนที่ 5 เท้า ประ คือ อาการของเท้าข้างใดข้างหนึ่ง ใช้จมูกเท้าตบพื้นเบาๆ แล้วยกขึ้น โดยให้อีกเท้า หนึ่งยืนย่อเข่ารับน้าหนักตัว หรือแบะเข่าออกให้ได้เหลี่ยม
การประเท้าของตัวพระและตัวนางจะแตกต่างกันตรงที่ตัวพระต้องแยก แล้วจึงประ
เท้าที่ประแล้วยกขึ้นสูงระดับกลางน่องของขาที่ยืนรับ
น้าหนัก ปลายเท้าชี้ออกด้านข้าง ส่วนตัวนางไม่แบะเข่า ยืนให้เท้าที่จะเตรียมประเหลื่อมจากเท้าที่รับ น้าหนักไปข้างหน้าประมาณครึ่งเท้า เมื่อประแล้วยกเท้าขึ้นสูงระดับครึ่งน่อง ปลายเท้าชี้ออกด้านหน้า ถ้าจะให้ดูงามยิ่งขึ้นจะต้องกระดกปลายนิ้วเท้าให้งอนขึ้นเล็กน้อยทั้งตัวพระและตัวนาง ก้าวเท้า คือ การวางเท้าที่ยกลงสู่พื้น โดยวางส้นเท้าลงก่อน แล้วจึงตามด้วยปลายเท้า ทิ้ง น้าหนักตัวลงไปยังเท้าที่ก้าวให้หมด การก้าวเท้ามี 2 วิธี คือ ก้าวหน้า หมายถึง การก้าวเท้าไปข้างหน้า ตัวพระจะต้องแบะเข้าออกให้ได้เหลี่ยมปลายเท้าที่ ก้าวจะเฉียงไปทางด้านข้างเล็กน้อย กะให้ส้นเท้าหน้าอยู่ในแนวกันกับหัวแม่เท้าหลัง ห่างกันประมาณ หนึ่งคืบ เท้าหลังเปิดส้นเท้า สาหรับตัวนางไม่แบะเข่า และก้าวเท้าให้ปลายเท้าชี้ค่อนไปทางด้านหน้า ห่างจากส้นเท้าหลังที่เปิดส้นเท้าขึ้นประมาณหนึ่งคืบ ก้าวข้าง หมายถึง การก้าวเท้าเฉียงไปทางด้านข้างของเท้าที่ยก จะเป็นเท้าข้างใดก็ได้ ในขณะ ที่ลาตัวอยู่ด้านหน้า ตัวพระจะก้าวเฉียงออกจากด้านข้างให้มากกว่าก้าวหน้า สาหรับตัวนางก้าวข้าง จะต้องกะปลายเท้ากับส้นเท้าหลังให้อยู่ในแนวเฉียงห่างกันประมาณหนึ่งคืบ กระดก คือ อาการปฏิบัติต่อเนื่องจากการกระทุ้ง โดยยืนขาเดียวย่อเข่าโดยใช้เท้าหน้าที่ยืน ย่อเข่าอยู่รับน้าหนักตัว ถีบเข่าหรือส่งเข่าข้างที่ยกนั้นไปทางด้านหลัง แล้วหนีบน่องให้ชิดต้นขา
51
มากที่สุด (เท้าที่ยกจะต้องอยู่ใกล้ก้นให้ได้มากที่สุด) หักข้อเท้าลงให้ปลายเท้าตกลงเบื้องล่าง การ กระดกอาจสืบเนื่องอาจทาต่อเนื่องจากกระทุ้งเท้าก็ได้หรือกระดกโดยไม่กระทุ้งก็ได้ ตัวพระเมื่อกระดก เท้าจะต้องกันเข่าหรือเปิดเข่าให้ขากางออกจากขาที่ยืนรับน้าหนักตัวอยู่ การกระดกนี้แบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ กระดกหลัง คือ อาการของเท้าที่กระดกไปข้างหลัง เมื่อมองจากด้านหน้าจะไม่เห็นเท้าหลังที่ กระดกเลย กระดกเสี้ยว คือ อากรของเท้าที่กระดกอยู่ด้านข้างของลาตัว โดยให้เท้าที่ยืนรับน้าหนักหันปลาย เท้าไปด้านข้าง ซอยเท้า คือ การย่าเท้าถี่ๆ ของเท้าที่อยู่เสมอกัน ให้ตัวเคลื่อนไปในทิศทางต่างๆหรืออยู่กับที่ ขยั่นเท้า คือ การย่าเท้าถี่ๆ ของเท้าที่อยู่เสมอกัน หรือไว้กัน ให้เคลื่อนตัวไปในข้างหน้าหรือ ด้านข้าง ฉายเท้า คือ การใช้เท้าข้างใดข้างหนึ่งยืนเป็นหลัก ส่วนเท้าอีกข้างหนึ่งใช้จมูกเท้าจรดพื้นปิด ส้นเท้าขึ้น แล้วฉายหรือลากจมูกเท้าไปด้านข้าง ในลักษณะครึ่งวงกลม สะดุดเท้า คือ การใช้เท้าข้างหนึ่งยืนเป็นหลัก ส่วนเท้าอีกข้างหนึ่งนั้นไสเท้าออกไปด้านหน้า หรือด้านข้างอย่างแรง พร้อมทิ้งน้าหนักตัวไปด้วย จรดเท้า
52
คือ กิริยาที่จมูกเท้าแตะลงบนพื้น โดยส้นเท้าจะลอยขึ้นจากพื้นเล็กน้อย สามารถ ปฏิบัติได้ทั้งในขณะที่ขาที่ยืนน้าหนักเหยียดตรงหรือย่อลง เดาะเท้า คือ กิริยาที่ยกเท้าข้างใดข้างหนึ่งให้ลอยพ้นจากพื้นเล็กน้อย แล้วใช้จมูกเท้าตบลงบน พื้นเบาๆ แล้วยกขึ้นทันที ปฏิบัติตามจังหวะเพลง (เช่น ในกระบวนท่าราเพลงเร็ว) หรือจะเดาะถี่ๆ ก็ได้ (ตามแต่ละกระบวนท่ารา) (https://www.gotoknow.org/posts/118858, สืบค้นเมื่อ 23 กรกฎาคม 2561) 4.8 กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่ ตารางที่ 4 : ตารางการปฏิบัติท่ารารถเสนทรงเครื่อง ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
1
ท่ารา
อธิบายท่ารา
-ท่าเริ่มวิ่งซอยเท้าสอดสร้อยออกจาก หลังเวที วิ่งออกมาเป็นเลขแปด จากนั้นวิ่งมาอยู่ตรงกลางเวที พร้อมกับทาท่าสอดสร้อยตาม จังหวะเพลงจากนั้นเลี้ยวทางขวา วิ่งขึ้นนั่งบนตั่ง (นั่งพับเพียบมือ ทั้งสองข้างวางที่หน้าขาเอียงขวา)
53
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
2
เมื่อนั้น
ท่ารา
อธิบายท่ารา
นั่งพับเพียบท่าตัวพระ มือขวา วางตรงหน้าตักมือซ้ายวางตรง เข่าซ้าย แล้วกรายมือ เมื่อบทร้อง ขึ้น ทาทั้งหมด 2 ครั้ง นั่งบนตั่ง
3
รถเสน พริ้งเพริศ
มือขวาแทงแล้วตั้งวงบน มือ ซ้ายตั้งวงระดับอกแล้วจีบเข้าอก ศีรษะเอียงซ้าย จากนั้น เปลี่ยนเป็นมือซ้ายจีบปาดหน้า หน้ามองจีบและย้ายมาทาจีบ ด้านขวาในลักษณะเดียวกัน
54
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
4
เฉิดฉวี
ท่ารา
อธิบายท่ารา
มือขวาแทงมือลงปลายนิ้วตก เป ลี่ ย น มา เป็ น ตั้ ง ว ง มื อซ้ า ย เปลี่ยนเป็นแทงมือลงปลายนิ้วตก แขนตึง นิ่งด้วยท่าผาลาเพียงไหล่ แขนซ้ า ยตึ ง แล้ ว กระทบตั ว หนึ่ ง ครั้ง
5
เสด็จมา ทรงเครื่อง
หมุนไปทางซ้าย ก้าวข้างเท้า ขวา มือทั้งสองตั้งวงแล้ววาดลง
55
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
6
เรืองพิธี
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ก้าวเท้าซ้าย กระดกเท้าขวา ทาท่าสอดสูงข้างขวา เอียงซ้าย
7
เข้ามงคลกับ
เดินท่าตัวพระ 2 ครั้ง
โฉมศรี
จากนั้นถอนเท้าขวาแตะเท้า ซ้ายมือขวาท้าวเอวมือซ้ายขี้ ปลายนิ้วตกเอียงขวากระทบตัว เล็กน้อยแล้วนิ้ว
56
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
8
เมรีนุช
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ก้าวข้างเท้าขวา มือขวาตั้ง วงกลางมือซ้ายจีบระดับชายพก ข้าวขวาเอียงขวาจากนั้นมือขวา เปลี่ ยนเป็นตั้งวงปลายนิ้ว ตกมือ ซ้ า ยกลายจี บ ออกเป็ น ตั้ ง ว ง กระดกเท้าซ้ายเอียงซ้ายแล้วนิ้ว
9
บรรจงสอด *สนับเพลา* *ซ้า เงางามงอน
หมุนไปทางซ้าย ก้าวข้าง เท้าขวา มือจีบจากข้างลาตัว แล้ว หยิบจีบเป็นจีบหงายแขนตึง ยก เท้าขวา เอียงซ้าย หมุนไปทางขวาจีบเป็นแขนตึง จีบหงาย ยกขาซ้าย เอียงขวา
57
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
10
ภูษาซ้อน ยกทอง ผ่องผุด
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ก้าวเท้าซ้าย ยกเท้าขวา จีบ มือซ้ายแล้วม้วนเป็นตั้งวงชายพก มือขวาตั้งวงชายพกแล้วม้วนเป็น จีบชายพก เอียงซ้าย วางเท้าขวา ฉายเท้าซ้าย มือ ซ้ า ยจี บ และมื อ ขวาตั้ ง วงชายพก แล้ ว ฉายเท้ าขวา มือ ขวาจี บและ มือซ้ายตั้งวงชายพก
11
ผ่องผุด
ทาท่าสอดสร้อยมือซ้ายจีบปก ข้างมือขวาตั้งวงชายพก เอียงข้าง ขวา ก้าวหน้าเท้าขวา พร้อมกับ ส่ายไหล่เล็กน้อย จากนั้นกราย จีบมือขวาตั้งวงบนมือซ้ายจีบ หงายชายพกพร้อมกับแตะส้นเท้า ซ้ายแล้วกลับเอียงซ้าย
58
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
12
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ภูษาซ้อนยก
ทาท่าสอดสร้อยข้างซ้าย
ทอง
พร้อมส่ายไหล่เล็กน้อย เท้าขวา วางส้น เอียงซ้าย
13
ทาท่าโบก มือขวาจีบคว่ามือ
ผ่องผุด
ซ้ายตั้งวงระดับหน้าอก ก้าวหน้า เท้าซ้าย เอียงซ้าย แล้วค่อยๆ กรายมือขวาออกเป็นตั้งวงบนมือ ซ้ายจีบส่งหลัง แล้วกลับเอียงขวา แล้วส้นเท้าขาวแตะพื้นเบาๆ แล้ว นิ่ง
59
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
14
ฉลององค์
ท่ารา
อธิบายท่ารา
หมุนไปทางข้างเท้าขวา มือ ทั้งสองตั้งวงแล้ววาดมือลง เอียงซ้าย ก้าวข้างเท้าซ้าย
15
ผจงถ้วนล้วน เลิศชุด
มือขวาตั้งวงแขนตึงระดับ ไหล่ มือซ้ายเท้าสะเอว เท้าซ้าย แตะ เอียงขวามือซ้ายตั้งวงแขน ตึงระดับไหล่ มือขวาเท้าสะเอว เท้าขวาแตะ เอียงซ้าย
60
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
16
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ปักลวดลาย
ก้าวเท้าขวาแล้ ว เท้าซ้าย
คล้ายโกมุท
ก้าวหน้า มือขวาจีบคว่าระดับหน้า มือ ซ้า ยจี บ ระดับ หั ว เข็ม ขัด หมุ น ตัวไปทางขวา
17
บุษบัน* ซ้า
มือทั้งสองล่อแก้ว มือ ขวาอยู่บนมือซ้ายระดับอก ยก เท้าขวา เอียงขวา หมุนไป ทางขวา ทาท่าเดิมเพียงแต่ เปลี่ยนมือซ้ายอยู่บนมือขวา เอียง ซ้าย ยกเท้าซ้าย
61
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
18
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ปักลวดลาย
ทาท่าผาลาข้างขวา มือขวา
คล้ายโกมุท
จีบปกข้างมือซ้ายตั้งวงระดับไหล่ ก้าวหน้าเท้าขวาเอียงซ้าย พร้อม กับส่ายไหล่เล็กน้อย จากนั้นมือ ซ้ายมือขวากรายจีบเป็นตั้งวงบน มือซ้ายแขนงอปลายนิ้วตก แตะ เท้าซ้ายแล้วกลับเอียงขวา
19
บุษบัน
ทาท่าโยก มือซ้ายเท้าเอวมือ ขวาแขนตึงปลายนิ้วตกดึงมือขึ้น แล้วกดมือลงเป็นตั้งวงแขนตึง ระดับไหล ทิ้งน้าหนักไปที่เท้าขวา ลักคอข้างซ้ายเล็กน้อย จากนั้น กดมือลงแล้วจีบกรายมือเป็นตั้ง วงบน แล้วค่อยๆนาส้นเท้าขวามา แตะพื้นเบาๆ แล้วกลับเอียงขาว แล้วนิ่ง
62
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
20
ชายแคลงชาย ไหว
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ก้าวเท้าขวา ยกเท้าซ้าย มือขวาตั้งวงชายพก มือซ้ายแบ มือแทงลงแขนตึง เอียงขวา จากนั้น ก้าวเท้าซ้าย ยกเท้าขวา มือขวาแบมือแทงลง มือซ้ายตั้ง วงชายพก เอียงซ้าย
21
ชายไหวชาย วะวับ
ฉายเท้าซ้าย มือทั้งสอง จีบคว่าระดับหน้าตักแล้วแบมือตบ เบาที่หน้าตักพร้อมกับฉายเท้าขวา และเท้าซ้าย
63
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
22
รัดสะเอว เปลวปรับ
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ก้าวเท้าซ้าย ยกเท้าขวา มือทั้งสองจีบดึงจากด้านหลัง วาง ไว้ตรงหัวเข็มขัด มือขวาอยู่บน มือซ้าย หน้าตรง
23
สลับสรรค์* ซ้า
ก้าวเท้าขวา ยกเท้าซ้าย มือ ขวาตั้งวงชายพก มือซ้ายจีบส่ง หลัง เอียงซ้าย แล้ววิ่งไปทางขวา ก้าวเท้าซ้าย ยกเท้าขวา มือขวา จีบส่งหลัง มือซ้ายตั้งวงชายพก เอียงขวา
64
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
24
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ทาท่านางนอนข้างซ้ายมือ
รัดสะเอว เปลวปรับ
ขวาตั้งวงล้างมือซ้ายจีบหงายชาย พกก้าวหน้าเท้าซ้ายเอียงขวา พร้อมกับส่ายไหล่เล็กน้อย จากนัน้ มือซ้ายตั้งวงปลายนิ้วตก มือขวากรายจีบเป็นตั้งวงระดับ ชายพกแตะส้นเท้าซ้ายแล้วกลับ เอียงซ้าย
25
สลับสรรค์
ทาท่าโบก มือขวาจีบคว่ามือซ้าย ตั้งวงระดับหน้าอก ก้าวหน้าเท้า ซ้าย เอียงซ้าย แล้วค่อยๆกราย มือขวาออกเป็นตั้งวงบนมือซ้าย จีบส่งหลัง
แล้วกลับเอียงขวา
แล้วส้นเท้าขาวแตะพื้นเบาๆ แล้ว นิ่ง
65
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
26
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ก้าวเท้าซ้าย ยกเท้าขวา
กนกแขน
มือขวาแทงตั้งวงบน มือซ้ายจีบ ตรงท้องแขนขวา เอียงขวา
27
เท้าขวาก้าวหน้า เท้าซ้าย
กรองคอล้อ รับกัน
ก้าวข้าง ทาท่าภมรเคล้าข้างซ้าย แล้วทาท่าภมรเคล้าข้างซ้าย และ ข้างขวา พร้อมจรดเท้าทาทั้งหมด 3 ครั้ง
66
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
28
ทับทรวงดวง กุดั่น
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ก้ า วเท้ า ขวา ยกเท้ า ซ้ า ย มือ ขวาจี บ เข้ า อก มื อ ซ้ า ยจี บ ส่ ง หลัง เอียงซ้าย
29
คั่นเพชรรุ้ง* ซ้า
สะดุดเท้าขวา ยกเท้า ขวา มือขวาล่อแก้วระดับอก มือ ซ้ายจีบส่งหลัง เอียงขวาสะดุด เท้าซ้าย ยกเท้าซ้าย มือซ้ายล่อ แก้วระดับอก มือขวาจีบส่งหลัง เอียงซ้าย
67
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
30
ทับทรวงดวง กุดั่น
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ทาท่าบัวชูฝักข้างขวา
มือ
ซ้ายตั้งวงบนมือขวาจีบหงายชาย พกก้าวหน้าเท้าขวาเอียงซ้าย พร้อมกับส่ายไหล่เล็กน้อย จากนั้นมือซ้ายเป็นเป็นท่าบัวชูฝัก มือขวากรายจีบเป็นตั้งวงชายพก แตะส้นเท้าซ้ายแล้วกลับเอียงซ้าย
31
คั่นเพชรรุ้ง
ทาท่าโยก มือซ้ายเท้าเอวมือ ขวาแขนตึงปลายนิ้วตกดึงมือขึ้น แล้วกดมือลงเป็นตั้งวงแขนตึง ระดับไหล ทิ้งน้าหนักไปที่เท้าขวา ลักคอข้างซ้ายเล็กน้อย จากนั้น กดมือลงแล้วจีบกลายมือเป็นตั้ง วงบน แล้วค่อยๆนาส้นเท้าขวามา แตะพื้นเบาๆ แล้วกลับเอียงขวา แล้วนิ่ง
68
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
32
สวมสังวาล ตาบทิศ
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ทาท่าสอดสร้อยข้างซ้าย จรดเท้ า ขวา วิ่ ง เป็ น วงกลมไป ทางขวา ทาท่าสอดสร้อยข้างขวา แตะเท้าซ้าย
33
ระยิบแถว
ก้าวเท้าขวา เท้าซ้าย ก้าวหน้า มือขวาตั้งวงบน มือซ้าย จีบส่งหลัง เอียงขวา
69
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
34
ทองกรวาวแวว
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ท าท่ า ภมรเคล้ า ข้ า งขวา และข้ า งซ้ า ย พร้ อ มกั บ จรดเท้ า ซ้ายและเท้าขวา
35
แก้วพลอยหุง* ซ้า
ก้าวเท้าซ้าย ยกเท้าขวา มือขวาตั้งวงบน มือซ้ายช้อนจีบ หงายแขนตึง เอียงขวา หมุนไป ทางซ้าย ก้าวเท้าขวา ยกเท้าซ้าย มือขวาช้อนจีบหงายแขนตึง มือ ซ้ายตั้งวงบน เอียงซ้าย
70
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
36
ทองกรวาวแวว
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ทาท่าแมงมุมชักใย (จีบ สั้น) มือซ้ายตั้งวงระดับอกมือขวา จีบเข้าหาตัวระดับอกก้าวหน้า เท้าขวาเอียงซ้ายจากนั้นวนมือ เข้าหาตัวเป็นวงกลม 2 รอบ พร้อมกับส่ายไหล่เล็กน้อย แล้ว มือซ้ายดึงจีบลงมาที่หน้าขา ซ้ายมือขวาตั้งวงบนแล้วกับเอียง ขวา แตะส้นเท้าซ้าย ปฏิบัติ เช่นเดียวกัน 2 ครั้ง เริ่มจากข้าง ซ้ายย้ายมาข้างขวา
37
แก้วพลอยหุง
ทาท่าโบก มือขวาจีบคว่า มือซ้ายตั้งวงระดับหน้าอก ก้าวหน้าเท้าซ้าย เอียงซ้าย แล้ว ค่อยๆกรายมือขวาออกเป็นตั้งวง บนมือซ้ายจีบส่งหลัง
แล้วกลับ
เอียงขวา แล้วส้นเท้าขวาแตะพื้น เบาๆ แล้วนิ่ง
71
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
38
ท่ารา
อธิบายท่ารา
มือขวาตั้งวงระดับไหล่
ธามรงค์นพรัตน์
มือซ้ายทาท่าแตะแหวน เอียงขวา แตะเท้าขวา หมุนไปทางขวา มือ ซ้ายตั้งวงระดับไหล่ มือขวาทาท่า แตะแหวน เอียงซ้าย
39
จรัสกรุง
ก้ า วเท้ า ขวา กระดกเท้ า ซ้าย มือขวาม้ว นจีบเป็นตั้งวงบน มือซ้ายวาดลงแล้วแบมือลงแขนตึง เอียงขวา
72
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
40
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ก้าวเท้าขวา กระดกเท้า
ข้อบาททองถลุง
ซ้าย มือขวาชี้ที่ข้อเท้า มือซ้ายตั้ง วงบน
41
รุ่งเรืองตา* ซ้า
มือขวาจีบส่งหลัง มือซ้าย จีบคว่าผ่านหน้า วิ่งซอยเท้ามา ข้างหน้า
73
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
42
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ทาท่าแมงมุมชักใย (จีบ
ข้อบาททองกลุง รุ่งเรืองตา
ยาว)
มือซ้ายตั้งวงระดับอกมือ
ขวาจีบเข้าหาตัวระดับอก ก้าวหน้าเท้าขวาเอียงซ้ายจากนั้น วนมือเข้าหาตัวเป็นวงกลม
2
รอบ พร้อมกับส่ายไหล่เล็กน้อย แล้วมือซ้ายดึงจีบลงมาที่ข้างขา ซ้ายแขนตึงระดับไหล่มือขวาตั้ง วงบนแล้วกับเอียงขวา แตะส้น เท้าซ้าย แล้วทาท่าโยก
43
มงกุฎเทริด เพริศวิไล
สะดุดเท้าขวา ยกเท้า ขวา ทาท่าพรหมสี่หน้า
74
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
44
ดอกไม้ทัด
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ก้าวเท้าซ้าย ยกเท้าขวา มือขวาจีบปรกข้าง มือซ้ายจีบส่ง หลัง เอียงขวา
45
เจิดจรัสพวง
มื อ ขวาสะบั ด จี บ เป็ น วง
อุบะระนาสา
สลับกัน 3 ครั้ง กับฉายเท้า 3 ครั้ง ขวา-ซ้าย-ขวา
75
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
46
เจิดจรัส พวงอุบะ
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ทาท่ากระหวัดเกล้าข้าง ขวามือซ้ายตั้งวงมือขวาจีบ ระดับบนศีรษะ ก้าวหน้าเท้าขวา เอียงขวา
จากนั้นมือซ้าย
เปลี่ยนเป็นจีบมือขวากลายมือ ออกเป็นตั้งวงระดับบนศีรษะ พร้อมกับส่ายไหล่เล็กน้อยแล้ว กลับเอียงขวา แตะส้นเท้าซ้าย
47
ระนาสา
ทาท่าโบก
มือขวาจีบ
คว่ามือซ้ายตั้งวงระดับหน้าอก ก้าวหน้าเท้าซ้าย เอียงซ้าย แล้ว ค่อยๆกรายมือขวาออกเป็นตั้งวง บนมือซ้ายจีบส่งหลัง
แล้วกลับ
เอียงขวา แล้วส้นเท้าขวาแตะพื้น เบาๆ แล้วนิ่ง
76
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
48
ท่ารา
อธิบายท่ารา
แล้วเสด็จลีลาศ ยาตรา
ทาท่ากรีดนิ้ว มือขวาตั้ง วงบน มื อ ซ้ า ยวงล่ า ง ขยั่ น เท้ า แล้ ว ท าข้ า งซ้ า ย พร้ อ มกั บ ขยั่ น เท้า
49
ดาเนินมาสู่ สถาน
ทาท่าเดินตัวพระข้างขวา
77
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
50
ท่ารา
อธิบายท่ารา
เท้ าซ้ า ยก้ า วหน้ า มื อขวา
งานพิธี* ซ้า
ตั้งวงบน มือซ้ ายจี บส่ ง หลั ง แล้ ว ยื น แตะเท้ า ซ้ า ยท่ า คงเดิ ม เอี ย ง ซ้าย
51
ดาเนินมาสู่ สถาน
ทาท่ากลางอัมพรข้างขวา มือซ้ายตั้งวงระดับศีรษะมือขวา จีบปกข้างก้าวเท้าขวาพร้อมกับ ส่ายไหล่เล็กน้อย
จากนั้น
เปลี่ยนเป็นท่ากลางอัมพร แล้ว แตะส้นเท้าซ้ายเอียงขวา
78
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
52
งานพิธี
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ทาท่าโบก มือขวาจีบ คว่ามือซ้ายตั้งวงระดับหน้าอก ก้าวหน้าเท้าซ้าย เอียงซ้าย แล้ว ค่อยๆกรายมือขวาออกเป็นตั้งวง บนมือซ้ายจีบส่งหลัง
แล้วกลับ
เอียงขวา แล้วส้นเท้าขาวแตะพื้น เบาๆ แล้วนิ่ง
53
เพลงเสมอ
มือซ้ายจีบหงายแขนตึง ข้างหน้า มือขวาจีบส่งหลัง ฉาย เท้าขวา จรดเท้าซ้าย หมุนไป ทางขวา แล้วหมุนมาด้านหน้า แต่เป็นมือซ้ายจีบชายพก
79
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
54
เพลงเสมอ
ท่ารา
อธิบายท่ารา
มือขวาจีบหงายแขนตึง ข้างหน้า มือขวาจีบส่งหลัง ฉาย เท้าซ้าย จรดเท้าขวา หมุนไป ทางซ้าย แล้วหมุนมาด้านหน้า แต่เป็นมือขวาจีบชายพก
55
เพลงเสมอ
มือซ้ายจีบหงายแขนตึง ข้างหน้า มือขวาจีบส่งหลัง แล้ว เปลี่ยนเป็นท่ากังหันร่อนข้างขวา จากนั้นทาท่ากังหันร่อนทั้งหมด 4 ครั้ง พร้อมกับฉายเท้า 4 ครั้ง แล้วหมุนไปทางขวา พร้อมกับ เช็ดเท้า 4 ครั้ง
80
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
56
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ก้าวเท้าขวา ยกเท้าซ้าย
เพลงเสมอ
มือขวาตั้งวงบน มือซ้ายจีบส่ง หลัง เอียงซ้ายทาท่าภมรเคล้าข้าง ขวาและข้างซ้าย พร้อมกับจรด เท้าขวา แล้ววิ่งลงไปและวิ่งขึ้นมา ข้างหน้า
57
เพลงเสมอ
ก้าวเท้าซ้ายแล้วผสม เท้า มือซ้ายเท้าสะเอว มือขวาจับ ชายไหว ยักตัวทั้งหมด 6 ครั้ง
81
ลาดับที่ ทานอง/บทร้อง
58
เพลงเสมอ
ท่ารา
อธิบายท่ารา
ฉายเท้าขวาหมุนไป ทางขวา มือขวาจีบและมือซ้ายตั้ง วงชายพกทาท่าชักแปูงผัดหน้า ข้างขวา ก้าวข้างเท้าซ้าย แล้ววิ่ง มาอยู่ด้านซ้ายของเวทีจากนั้นมือ มือขวาจีบคว่าที่หน้าอกมือซ้ายตั้ง วงระดับเดียวกันก้าวหน้าเท้าขวา จากนั้นมือขวากรายมือเป็นตั้งวง มือซ้ายจีบส่งหลังก้าวข้างเท้าซ้าย เอียงขวายืดยุบแล้ววิ่งเข้าเวที หลบสายตาเล็กน้อย -ท่าจบ-
4.8 กลวิธีในการรา กลวิธีในการรารถเสนทรงเครื่องนั้น ก็มีความละเอียดอ่อนไม่ต่างไปจากการแสดงรา ชุดอื่นๆ
เพราะผู้แสดงจะต้องนึกเสมอว่าตัวเองเป็นตัวละครนั้นจริงๆ อารมณ์ สีหน้า กิริยา ต้อง
เป็นไปตามตัวละครตัวนั้น และอีกหนึ่งที่สาคัญไม่แพ้กันคือ กระบวนการร่ายราท่าทาง ลีลาการรา ก็ ต้องสวยสดงดงาม ประณีต และเป็นไปตามบุคลิกลักษณะของตัวละครนั้นๆ การแสดงจึงจะออกมา สมบูรณ์แบบ ในการรารถเสนทรงเครื่องนี้ผู้แสดง จะต้องสวมวิญญาณความเป็นเจ้าชาย เพราะพระรถ เสนมีเชื้อสายมาจากพระมาหากษัตริย์ และที่ขาดไม่ได้เลยคือต้องไว้ลายความสง่างามของเจ้าชาย หาก ผู้แสดง แสดงได้สมจริงและสมบทบาทแล้วจะทาให้การแสดงมีความสมจริง มีความสนุกสนานน่าชม อีกทั้งยังเป็นการทาให้ผู้ชมไม่เบื่อ เช่น การใช้ใบหน้าสื่อถึงอารมณ์ความสุข อาจารย์พัชรา บัวทอง ได้ ให้เทคนิคในการดึงผู้ชมให้สนใจกับผู้แสดงไว้หลายอย่าง ตัวอย่างเช่น การใช้อารมณ์ในการแสดง การ
82
ใช้สายตา ผู้แสดงจะต้องใส่ลีลาความสุข ให้มากที่สุดแต่ก็ยังคงความเหมาะสมในการสวมบทบาทของ เจ้าชาย ซึ่งจะทาให้ไม่น่าเกลียดเกินไป เทคนิคในกระบวนรารถเสนทรงเครื่อง จึงประกอบด้วย ท่าราหลัก ท่าราขยาย และท่าเชื่อม 1. ท่าราหลัก เป็นท่าที่เกิดขึ้นจากการตีบทตามบทร้อง เพื่อใช้แทนความหมาย ของเครื่อง แต่งกายที่ตัวละครสวมใส่ และเป็นท่าทางที่สามารถสื่อความหมายได้ชัดเจนเหมาะสมที่สุด 2. ท่าราขยาย เป็นท่าที่ใช้ขยายความหมายของท่าราหลัก โดยต้องมีความสัมพันธ์กับท่ารา หลัก เพื่อขยายคุณลักษณะของท่าราหลักว่าสิ่งนั้นมีความหมายหรือมีความสวยงามอย่างไร ท่าขยายนี้ มีทั้งท่าที่แต่งขึ้นเพื่ออธิบายถึงวิธีการหรือลักษณะการแต่งกาย 3. ท่าเชื่อม เป็นท่าราที่ใช้เชื่อมระหว่างท่าราหลักและท่าราขยายให้เรียบเรียงต่อกัน อย่างสวยงาม (สัมภาษณ์อาจารย์พัชรา บัวทอง,วันที่ 18 พฤศจิกายน 2560)
84
บทที่ 5
บทสรุปและข้อเสนอแนะ การศึกษารายวิชาอาศรมศึกษา ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าการรา ชุด รถเสนทรงเครื่อง จาก เอกสาร วีดีทัศน์ การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ และมีโอกาสได้รวบรวมองศ์ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดท่า รา รถเสนทรงเครื่องจากอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญที่ได้คิดและประดิษฐ์ท่ารารถเสนทรงเครื่อง คือ อาจารย์ พัชรา บัวทอง นาฏศิลปินระดับชานาญงาน สานักการสังคีต กรมศิลปากร 5.1 บทสรุป การแสดง ชุด รถเสนทรงเครื่องเป็นการแสดงที่ประดิษฐ์ขึ้นโดย อาจารย์พัชรา บัว ทอง นาฏศิลปินระดับชานาญงาน สานักการสังคีต กรมศิลปากร ประพันธ์บทโดย อาจารย์สมรัตน์ ทองแท้ ศิลปินอาวุโส สานักการสังคีต กรมศิลปากร การแสดงราชุดรถเสนทรงเครื่องเกิดขึ้นจากที่พระ รถเสนนาสารไปให้นางเมรีโดยได้รับคาสั่งจากนางสมุดชา แต่ในระหว่างทางได้เจอกับพระฤๅษี พระ ฤๅษีเลยแอบแปลงสารไปเสียใหม่ว่า “ถึงกลางวันให้แต่งกลางวัน ถึงกลางคืนให้แต่งกลางคืน” ด้วยเหตุ นี้อาจารย์พัชรา บัวทอง เห็นถึงความสาคัญของพระรถเสนที่กาลังจะเข้าพิธีอภิเษกสมรสกับนางเมรี จึง แต่งการแสดงชุดรถเสนทรงเครื่องขึ้นมา ออกแสดงครั้งแรกในรายการศรีสุขนาฏกรรม พ.ศ 2555 เรื่อง พระรถเมรี ตอนเข้าห้องนางเมรี ที่โรงละครแห่งชาติ ซึ่งการแสดงชุด รถเสนทรงเครื่อง ถือว่าเป็น การแสดงชั้นสูงอีกละดับหนึ่งที่มีกระบวนท่าราประณีตแสดงให้เห็นลีลากระบวนท่าราในลักษณะอย่าง ละครชาตรี อันมีความงดงาม และสมบูรณ์ตามแบบนาฏศิลป์ไทย การแสดงราชุดรถเสนทรงเครื่อง เป็นการราแต่งองค์ทรงเครื่อง เพื่อที่จะไปเข้าพิธีอภิเษกสมรสกับนางเมรี (สัมภาษณ์อาจารย์พัชรา บัว ทอง,วันที่ 18 พฤศจิกายน 2560)
85
การออกแบบท่ารารถเสนทรงเครื่อง ตามบทร้ อง (ตีบท) โดย อาจารย์พัช รา บัวทอง จะ ออกแบบท่าราตามความหมายของเนื้อเพลงเป็นหลัก โดยจะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ท่าราที่มาจากท่า พื้นฐานของนาฏศิลป์ไทย เพลงช้า เพลงเร็ว แม่บทเล็ก แม่บทใหญ่ และเพลงซัดชาตรี และ ท่าราที่ เป็นการเลียนแบบธรรมชาติ และใส่ลีล่าท่าราความสง่างามของความเป็นเจ้าชาย และออกแบบถ่ารา ตามความหมายของเนื้อเพลง การออกแบบท่ารารถเสนทรงเครื่องเป็น ภาษาท่าทางจากธรรมชาตินั้น ได้แก่ การนาท่าทาง อิริยาบถหรือกิริยาอาการ และการแสดงความรู้สึกของมนุษย์มาเป็นการออกแบบท่าราตามบทร้อง (ตีบท) ของรารถเสนทรงเครื่อง เป็นต้น 1. การออกแบบท่ารารถเสนทรงเครื่องที่เป็นภาษานาฏศิลป์ของอิริยาบถหรือกิริยาอาการ พบว่า อิริยาบถหรือกิริยาอาการของพระรถเสน มีท่าทางความเป็นเจ้าชาย ซึ่งมีรูปร่างสง่างาม 2. การออกแบบท่ารารถเสนทรงเครื่องที่เป็นภาษาท่าทางนาฏศิลป์ใช้แสดงอารมณ์ความรู้สึก ตามบทร้ อง (ตีบ ท) โดยการใช้ แสดงอารมณ์ความรู้สึ กของรารถเสนทรงเครื่องนั้น เป็นอารมณ์ มี ความสุขตลอดทั้งเพลง เพราะว่าพระรถเสนจะได้เข้าพิธีอภิเษกสมรสกับนางเมรี การออกแบบท่ า ร ารถเสนทรงเครื่ อ งที่ ประดิ ษ ฐ์ ขึ้น ใหม่ โดย อาจารย์ พัช รา บั ว ทอง จะ ออกแบบท่าราที่ประดิษฐ์ขึ้นใหม่ทั้งเพลง ซึ่งจะนาเอาละครนอกกับละครชาตรีมาเรียงร้อยจัดเรียงให้ เป็นรูปแบบใหม่ของรารถเสนทรงเครื่อง การวิเคราะห์กลวิธีการรารถเสนทรงเครื่อง ผู้วิจัยได้พบกลวิธีการรารถเสนทรงเครื่อง โดย อาจารย์พัชรา บัวทอง โดยผู้วิจัยสามารถแยกประเภทได้ 2 ประเภทดังนี้ 1. อารมณ์ของรารถเสนทรงเครื่อง 2. การใช้ร่างกายของรารถเสนทรงเครื่อง 2.1 การใช้ศีรษะ ที่สาคัญของรารถเสนทรงเครื่อง 2.2 การใช้แขน, มือ ที่สาคัญของรารถเสนทรงเครื่อง 2.3 การใช้ไหล่, ตัว ที่สาคัญของรารถเสนทรงเครื่อง 2.4 การใช้เท้า ที่สาคัญของรารถเสนทรงเครื่อง
86
การวิเคราะห์กลวิธีการรารถเสนทรงเครื่อง โดย อาจารย์พัชรา บัวทอง พบว่ากลวิธีการรารถ เสนทรงเครื่องที่เป็นเอกลักษณ์ ของ อาจารย์พัชรา บัวทอง คือ การส่ายไหล่ , และการใช้เท้า ที่สาคัญ อีกอย่างหนึ่งของกลวิธีการรารถเสนทรงเครื่อง โดย อาจารย์พัชรา บัวทอง คือ อารมณ์ของนักแสดงที่ เข้าถึงบทบาทของตัวละครคือพระรถเสน และลีล่าท่าราที่สง่างามของตัวละครพระรถเสนให้ปรากฏอยู่ ในกระบวนการรารถเสนทรงเครื่องชุดนี้ สรุป การรารถเสนทรงเครื่องที่ประดิษฐ์โดย อาจารย์พัชรา บัวทอง นั้น เป็นการราที่นาเอา ละครนอกกับละครชาตรีมาเรียงร้อยจัดเรียงให้เป็นรูปแบบใหม่ของรารถเสนทรงเครื่อง การประดิษฐ์ ท่ารารถเสนทรงเครื่อง ของ อาจารย์พัชรา บัวทอง นั้น จะมีการประดิษฐ์ท่าราอยู่ 2 รูปแบบ คือ 1.ท่าราที่เป็นท่าราพื้นฐานของนาฏศิลป์ไทย 2. ท่าราที่เลียนแบบธรรมชาติ ในการจะเลือกใช้ท่ารารถเสนทรงเครื่องนั้นต้องคานึงถึงบทประพันธ์ และการใช้อารมณ์ของตัวละคร ด้ว ย โดย อาจารย์ พัช รา บั ว ทอง จะเลื อ กใช้ท่ า ราที่แ สดงให้ เห็ นถึ ง การร าที่ มี ความงามทางด้ า น นาฏศิลป์ (วิจิตรศิลป์) และการใช้ลีลาให้เข้ากับบทร้องของรารถเสนทรงเครื่อง การแต่งกายในการแสดงราเดี่ยวชุดรถเสนทรงเครื่องจะแต่งกายในชุดยืนเครื่องพระ สวมเสื้อ (ฉลององค์) แขนสั้นสีแดงขลิบเขียว ผ้านุ่ง (ภูษา) สีเขียว สวมเทริดพระ ของละครชาตรี 5.2 ข้อเสนอแนะ 1 การแสดงรารถเสนทรงเครื่อง เป็นการแสดงที่มีความงดงาม มีเอกลักษณ์ความโดดเด่นใน เรื่องของการผสมผสานรูปแบบการรา คือ การนาเอาละครนอกกับละครชาตรีเข้าไปในท่ารา มีการใช้ ในการราจะต้องราให้กระชับ สื่ออารมณ์ผ่านทางสีหน้า แววตาของผู้แสดง การรารถเสนทรงเครื่องควร ที่จะได้รับการเผยแพร่และสืบทอดไว้ให้กับคนรุ่นหลังได้ชื่นชม 2 การรารถเสนทรงเครื่อง ผู้ที่สนใจจะต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติวรรณคดีเรื่องพระรถ เมรี ตอน เข้าห้องนางเมรี และต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับบทร้อง รูปแบบการแสดง และการใช้ลีลาให้ ดีเสียก่อน จากนั้นจะต้องฝีกซ้อมการรารถเสนทรงเครื่องให้เกิดความเชี่ยวชาญต่อไป
บรรณานุกรม
บรรณานุกรม
หนังสือและเอกสาร พัชรมนต์ ฉิมพุฒ. โครงการสอบราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด รถเสนทรงเครื่อง, สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2555. กรวิภา บุญถาวร. โครงการสอบราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด รถเสนทรงเครื่อง, สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2561. สุจิรา ขวัญเมือง. นาฏยศัพท์. สืบค้นเมื่อ 23 กรกฏาคม 2561, จาก (https://www.gotoknow.org/posts/118858 สัมภาษณ์ อาจารย์พัชรา บัวทอง. นาฏศิลปินระดับชานาญงาน สานักการสังคีต กรมศิลปากร.18 พฤศจิกายน 2560
ภาคผนวก
ภาพที่ 42 อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราและนิสิตผู้รับการถ่ายทอดท่ารา ที่มา : นางสาวชฎาพร ถาวร วันที่ 23 มิถุนายน 2561
ภาพที่ 43 อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราและนิสิตผู้รับการถ่ายทอดท่ารา ที่มา : นางสาวชฎาพร ถาวร วันที่ 11 กรกฎาคม 2561
ภาพที่ 44 อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราและนิสิตผู้รับการถ่ายทอดท่ารา ที่มา : นางสาวชฎาพร ถาวร วันที่ 26 สิงหาคม 2561
ภาพที่ 45 วันถ่ายรูปสูจิบัตร ที่มา : นายสิทธิพร นพคุณ วันที่ 26 สิงหาคม 2561
ภาพที่ 46 วันซ้อมใหญ่ ที่มา : นายทวีรักษ์ สุขสูงเนิน วันที่ 30 สิงหาคม 2561
ภาพที่ 47 วันซ้อมใหญ่ ที่มา : นายทวีรักษ์ สุขสูงเนิน วันที่ 30 สิงหาคม 2561
ภาพที่ 48 วันซ้อมใหญ่ ที่มา : นายทวีรักษ์ สุขสูงเนิน วันที่ 30 สิงหาคม 2561
ภาพที่ 49 วันซ้อมใหญ่ ที่มา : นายทวีรักษ์ สุขสูงเนิน วันที่ 30 สิงหาคม 2561
ภาพที่ 50 วันแสดงจริง ที่มา : นายทวีรักษ์ สุขสูงเนิน วันที่ 31 สิงหาคม 2561
ภาพที่ 51 วันแสดงจริง ที่มา : นายทวีรักษ์ สุขสูงเนิน วันที่ 31 สิงหาคม 2561
ภาพที่ 52 วันแสดงจริง ที่มา : นายทวีรักษ์ สุขสูงเนิน วันที่ 31 สิงหาคม 2561
ภาพที่ 53 วันแสดงจริง ที่มา : นายทวีรักษ์ สุขสูงเนิน วันที่ 31 สิงหาคม 2561
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
ชื่อ-นามสกุลนายกฤตเมธ เชื้อม่วง รหัสนิสิต58260307 วัน/เดือน/ปี
เกิดเมื่อ วันอาทิตย์ ที่30มิถุนายน พ.ศ. 2539ณโรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
ต้าบลปากน้้าโพอ้าเภอเมืองนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์ 60000 ชื่อเล่นเจ้าโอ๊ต เบอร์โทรศัพท์0931644674 E-mail
aotloveat@hotmail.com
ที่อยู่91 หมู่8ต้าบลยางตาลอ้าเภอโกรกพระจังหวัดนครสวรรค์60170
ประวัติการศึกษา จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้น
: โรงเรียนพยุหะวิทยา (วัดเขาแก้ว) จังหวันครสวรรค์
จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย
: โรงเรียนพยุหะวิทยา (วัดเขาแก้ว) จังหวัดนครสวรรค์
จบการศึกษาดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น-ปลาย
: โรงเรียนพยุหะวิทยา (วัดเขาแก้ว) จังหวัดนครสวรรค์
ปัจจุบันกาลังศึกษา
: ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชานาฏศิลป์ ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดงคณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก