อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง
ไอยรดา อาจจีน
อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทยฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2561
ประกาศคุณปู ระการ การสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทยของสาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษ ยศาสตร์ มหาวิท ยาลัย นเรศวร เป็น ส่ว นหนึ่ง ของการศึก ษาในรายวิช า อาศรมศึก ษา ทางนาฏศิลป์ไทย (202462) เป็นการศึกษาการราจากอาจารย์ผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ในด้านนาฏศิลป์ไทย โดยให้ นิ สิ ตรั บการถ่ ายทอดท่ าร า ตลอดจนทั กษะการร า กลวิ ธี ต่ างๆ ในการร า จากอาจารย์ ผู้ ถ่ ายทอด ให้ได้มากที่สุด ซึ่งนิสิตจะได้ทั้งความรู้ในทางทฤษฏี ความรู้ในทางปฏิบัติ และ ความรู้จากประสบการณ์ ของอาจารย์ผู้ถ่า ยทอดท่า รา ทั้ง นี้ก ารศึก ษาการแสดงชุด ราไกยเกษีท รงเครื่อ ง ได้รับ ความกรุณ า และความช่วยเหลือจากหลายท่าน จึงทาให้การแสดงชุดนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร. สวภา เวชสุ รักษ์ ที่ได้เสี ยสละเวลาให้ คาแนะนา และถ่ายทอดท่าราการแสดงชุด ราไกยเกษีทรงเครื่อง ให้กับนิสิต ขอขอบพระคุณ ดร.จิตติมา นาคีเภท อาจารย์ที่ปรึกษารายวิชาอาศรมศึกษา ที่ได้ให้คาปรึกษา คาแนะนา ตรวจสอบความถูกต้อง ของขั้นตอนการจัดทารูปเล่มและการฝึกปฏิบัติท่ารา ขอบพระคุณครูอาจารย์ทุกท่าน ที่ได้ให้คาแนะนาที่มีประโยชน์ จนทาให้การรับการถ่ายทอดท่ารา ในครั้งนี้ สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอกราบขอบพระคุ ณ บิ ด า มารดา ที่ ช่ ว ยสนั บ สนุ น เรื่ อ งค่ า ใช้ จ่ า ย และช่ ว ยให้ กาลั ง ใจ กั บ นิ ส ิ ต มาโดยตลอด สุด ท้า ยนี ้ข อขอบคุณ เพื่อ นๆ ชั้น ปีที่ 4 และน้อ งๆ สาขาวิช านาฏศิล ป์ไ ทย ภาควิ ช าศิ ล ปะการแสดง คณะมนุ ษ ยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวรที่ ค อยแนะน าให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ และเป็นกาลังใจตลอดมา
ไอยรดา อาจจีน
อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด “ไกยเกษีทรงเครื่อง” ของ นางสาวไอยรดา อาจจีน ได้รับการพิจารณาให้นับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต (นาฏศิลป์ไทย) คณะกรรมการอาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ...................................................................................................................อาจารย์ที่ปรึกษา (ดร.จิตติมา นาคีเภท) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.รุ่งนภา ฉิมพุฒ) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์รัชดาพร สุคโต) ...................................................................................................................กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประภาศรี ศรีประดิษฐ์) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์อุบลวรรณ โตอวยพร) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์ภูริตา เรืองจิรยศ) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์วรวิทย์ ทองเนื้ออ่อน) อนุมัติ ................................................................ (ดร.จิตติมา นาคีเภท) หัวหน้าภาควิชาศิลปะการแสดง
สารบัญ บทที่
หน้า
1 บทนา…………………………………………………………................................….……...…..…… ความสาคัญของการถ่ายทอดท่ารา....……………………….........…………….......……… วัตถุประสงค์......................................……………………….........…………….......……… วิธีดาเนินงาน.....................................……………………….........……………....…...…… ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ................……………………….........…………….......………
1 1 2 2 3
2 ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา............................................................................................. ประวัติส่วนตัว...................................……………………….........………....…………...… ประวัติการศึกษา................................……………………….........……………...………… ประวัติการทางาน..............................……………………….........………………………… ผลงานด้านนาฏศิลป์และผลงานที่เกี่ยวข้อง……………………….........……………...…
4 4 5 6 6
3 วิธีดาเนินการสืบทอดและฝึกหัด.............................................................................. ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด.......……………………….........………….……..……… ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด...........….........…………….......……… อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด......……………………….........……………....…...…… พัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด.……………………….........……………....……...…
10 10 10 12 12
4 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง….....……………....……….…… ประวัติความเป็นมาของการแสดง………………..……….........……………....…………… เรื่องย่อของการแสดง……………………...................….........…………..…....…………… เพลงประกอบการแสดง……………………….........……………....…….......................... ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง……………………….........…………….............…………… ฉากและองค์ประกอบการแสดง……………………….........……………....….....………… เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า……………………….........…………….........…………… นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง……………………….........……………................……………
14 14 14 15 16 17 22 30
สารบัญ (ต่อ) บทที่ 4
หน้า อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง (ต่อ)….....………………. กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่………………………................……………....…………… กลวิธีในการรา................................……………………….........……………....……………
34 69
5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ.......................................................................................... บทสรุป................................……………………......………….....................…….………. ข้อเสนอแนะ………………………………........................……....…………………....……….
70 70 71
บรรณานุกรม...........................................................................................................................
72
ภาคผนวก………………………....……………………………………….………………..................................
73
ประวัติผู้วิจัย………………………………………………………….……………...........................................
78
สารบัญตาราง ตาราง 1 2 3 4
หน้า แสดงแผนการดาเนินงาน.....………………………………....…......…...………… แสดงขั้นตอนในการฝึกหัด…………………………………….........…………........ แสดงระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด……………………..…... แสดงกระบวนท่าราชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง……………………………………....
2 10 11 34
ตัวอย่างสารบัญตารางภาษาไทย
สารบัญตาราง ตาราง 1 2 3 4
แสดงลักษณะของผู้ที่มีเชาว์อารมณ์สูงและต่า………….………………......……... แสดงจานวนประชากรและกลุ่มตัวอย่างของนิสิต ชั้นปีที่ 1 ของแต่ละคณะ......... แสดงจานวนและค่าร้อยละ ของตัวแปรจัดประเภท………………………..………. แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรพยากรณ์และ ตัวแปรเกณฑ์ ….…….......................................................................……. 5 แสดงค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรพยากรณ์กับตัวแปรเกณฑ์.…......... 6 แสดงผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบปกติ เมื่อใช้คะแนนเชาว์อารมณ์ เป็นตัวแปรเกณฑ์ …........................................................................……. 7 แสดงผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณขั้นตอน เมื่อใช้คะแนน เชาว์อารมณ์ เป็นตัวแปรเกณฑ์ …………………………………………………..……......
หน้า 5 15 20 25 40 65 82
สารบัญภาพ ภาพ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25
หน้า ร่วมถ่ายภาพกับ รองศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุรักษ์ ................... วงปี่พาทย์ไม้นวมเครื่องห้า……………………………………....……………...... ฉากที่ใช้ในการแสดง……………………………………....………...…............... เตียงนอน……………………………………....……………................................ เตียงอาบน้้า……………………………………....……………............................ หมอนสามเหลี่ยม……………………………………....…….………................... เครื่องราชูปโภค……………………………………............………….................. ขันน้้า……………………………………………………………………………………….. ขันเล็กสรงน้้า…………………………………………………………………………….. สุคนธ์ธาร และ เครื่องสรงน้้า……………………………………………………….. เครื่องแต่งกายการแสดงร้าเดี่ยว ชุด “ไกยเกษีทรงเครื่อง”……………. มงกุฎยอดนาง และอุบะ ดอกไม้ทัด……………………………………………. กรองคอ (สีม่วง)……………………………………………………………………….. ผ้าห่มนาง (สีเหลืองขลิบม่วงซับในสีเขียว)………………………………….. เสื้อในนาง………………………………………………………………………………... ภูษา หรือผ้ายก (สีม่วง)…………………………………………………………….. จี้นาง……………………………………………………………………………………….. พาหุรัด…………………………………………………………………………………….. ทองกร หรือก้าไลแผง………………………………………………………………… แหวนรอบ………………………………………………………………………………… ปะวะหล่้า………………………………………………………………………………… สะอิ้ง หรือสร้อยตัว……………………………………………………………………. ตาบทิศ…………………………………………………………………………………….. เข็มขัด และปั้นเหน่ง…………………………………………………………………... ก้าไลข้อเท้าหัวบัว……………………………………………………………………….
4 17 18 18 19 19 20 20 21 21 22 23 23 24 24 25 25 26 26 27 27 28 28 29 29
ตัวอย่างสารบัญภาพภาษาไทย
สารบัญภาพ ภาพ 1 ขั้นตอนการผลิตชาเขียวใบหม่อน………..................….………………...……... 2 เตาผลิตแก๊สแบบอากาศไหลลง...................................................................... 3 เตาผลิตแก๊สแบบอากาศไหลขึ้น…………………………………………...…......
หน้า 3 10 10
4 5 6 7
เตาผลิตแก๊สแบบอากาศไหลขวาง................................………………...……... เตาผลิตแก๊สแบบพ่นฝอยโดยตรง…................................................................ เตาผลิตแก๊สแบบพ่นฝอยในห้องเผาไหม้...............................…………...…...... เตาผลิตแก๊สแบบหมุนวน…………………......................................................
11 12 13 14
บทที่ 1 บทนา 1. ความสาคัญของการถ่ายทอดท่ารา นาฏศิลป์ไทย เป็นสาขาวิชาหนึ่งที่รวมเอาองค์ความรู้ทั้งศาสตร์และศิลป์โดยพื้นฐานของความคิด อย่างชาญฉลาดของศิลปินรุ่นเก่า เป็นการบูรณาการองค์ความรู้จากภูมิปัญญาไทยที่งดงาม ทั้งวัฒนธรรม การแต่งกาย ภาษาและสัญลักษณ์ของการสื่อสารของมนุษย์ ศิลปะวิจิตรศิลป์ซึ่งเป็นภูมิปัญญาทางช่างไทย แต่โบราณมาไว้อยู่ที่เดียวกัน ทาให้ผู้ชมเกิดสุนทรียภาพในการชมและประทับใจตราตรึงทาให้มีการสืบทอด มาแต่อดีตจนปัจจุบัน การราเดี่ยวเป็นการราเพื่ออวดฝีมือและความสามารถในขั้นสูง ผู้ แสดงจะต้องถ่ายทอดกระบวนการ ร่ายรา ลีลา และอารมณ์ออกมาอย่างกลมกลืนและลงตัว ที่สาคัญในการราเดี่ยวผู้แสดงจะต้องใช้ทักษะ ความสามารถในการร า ในขณะเดีย วกันก็ จะต้ องเชิญ ชวนผู้ ช มให้ ติ ดตาม ซึ่ งทาได้โ ดยการใช้อารมณ์ ความรู้สึกที่ผ่านทางสีหน้าและดวงตา จึงจะสามารถสะกดให้ผู้ ชมติดตามการรานั้นด้วยความสนุกสนาน เพลิดเพลินและประทับใจ(เด่นนภา โพพิมล, 2557, หน้า 1.) ราเดี่ยวชุดทรงเครื่องหรือแต่งตัว เป็นการราเพื่อ อธิบายถึงเครื่องแต่งกายและเครื่องประดับที่ตัวละคร สวมใส่อยู่รวมถึงการอาบน้า ทาแป้ง และใส่น้าหอม ซึ่งการราทรงเครื่องนี้สื่อให้เห็นถึงขนมธรรมเนียม ประเพณีไทยที่ได้รับ อิทธิพลมาจากอินเดียในการอาบน้าช าระร่างกายให้ สะอาดหมดจด และแต่งกาย ประดั บ ประดาให้ ส มฐานั น ดรศั ก ดิ์ เ พื่ อ ความยิ่ ง ใหญ่ แ ละมี ส ง่ า ราศี ก่ อ นจะออกไปท าภารกิ จ ที่ ส าคั ญ เช่น การออกรบ การฆ่าตัวตาย การเข้าหานาง การเดินทาง เป็นต้น(สุมลมาลย์ นิ่มเนติพันธ์, 2543, หน้า 3.) ร าบทรงเครื่ อ งในการแสดงโขน เรื่ อ งรามเกี ย รติ์ เป็ น การองค์ ค วามรู้ เ ดิ ม ที่ มี ม าตั้ ง แต่ ค รั้ ง ต้นรัตนโกสินทร์ ในบทบาทของตัวนางที่ต้องแสดงบทแต่งตัวมักปรากฏทุกตัวในวรรณกรรมการแสดงโขน เพียงแต่ว่าวรรณกรรมบางบทยังไม่เคยมีนักนาฏยประดิษฐ์คนใดหยิบยกขึ้นมาสร้างสรรค์เป็นนาฏยลักษณ์ ดั ง เช่ น บทนางไกยเกษี ซึ่ ง รองศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุ รั ก ษ์ ได้ หยิ บ ยกขึ้ น มาสร้ า งสรรค์ เป็นชุดการแสดง ไกยเกษีทรงเครื่อง ซึ่งเป็นผลงานชิ้นใหม่อีกชิ้นหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการสร้างสรรค์ ผลงานราเดี่ยวมาตรฐานในโขนซึ่งเป็นผลงานแนวอนุรักษ์และเพื่อนาไปใช้ในการเรียนการสอน การสาธิต การแสดงประกอบเรื่อง การแสดงเบ็ดเตล็ด ทั้ ง นี้ ก ารปฏิ บั ติ ท่ า ร าในการแสดงร าเดี่ ย วต้ อ งมี ค วามประณี ต และการใช้ น าฏศิ ล ป์ ใ นระดั บ สู ง ผู้ ราเล็ ง เห็ น ถึ ง ความสาคั ญ ของการแสดงชุ ด “ไกยเกษี ท รงเครื่ อ ง” จึ ง สนใจในการสื บ ทอดท่ า รา
2 ชุ ด “ไกยเกษี ท รงเครื่ อ ง” และการถ่ายทอดกระบวนท่าราที่มีระเบียบวิธีการถ่ายทอด เหมาะสมเฉพาะบุคคล ทั้งยังเป็นการเสริมสร้างคุณค่าทางนาฏศิลป์และสืบทอดต่อไป 2. วัตถุประสงค์ เพื่ อศึกษาค้ นคว้าองค์ ประกอบการแสดง และกลวิ ธี ราไกยเกษีทรงเครื่ อง ของ รองศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุรักษ์ 3. วิธีการดาเนินงาน การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง มีวิธีการดาเนินงานดังตารางดังต่อไปนี้ ตารางที่ 1 แผนการดาเนินงาน วิธีการดาเนินงาน
1. ศึกษาข้อมูล เกี่ยวกับประวัติ การ แสดงราเดี่ยว มาตรฐาน ชุด ราไกย เกษีทรงเครื่อง 2. ศึกษาจากสื่อ วีดี ทัศน์ 3. ขอรับการ ถ่ายทอด กระบวน ท่าราจากรศ. ดร. สวภา เวชสุรักษ์ 4. สอบ 25% - 100% 5. สอบราเดี่ยว มาตรฐาน ชุด ราไกย เกษีทรงเครื่อง 6. สรุปผล ส่ง รูปเล่ม
แผนการดาเนินงานเดือนมิถุนายน – เดือนกันยายน (พ.ศ. 2561) มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
3 4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ทราบถึงองค์ประกอบการแสดงกลวิธีการราไกยเกษีทรงเครื่อง ของ รองศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุรักษ์
บทที่ 2 ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา การแสดงร าเดี่ย วมาตรฐาน ชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง ได้รับความกรุณาจากรองศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุรักษ์ เป็นผู้ถ่ายทอดท่าราชุดนี้ โดยบทนี้ ประกอบไปด้วย ประวัติส่วนตัวผู้ถ่ายทอดท่ารา ผลงานด้านนาฏศิลป์และผลงานที่เกี่ยวข้อง การรับสืบทอดท่าราทางด้านนาฏศิลป์ไทย ดังต่อไปนี้ 1. ประวัติส่วนตัวผู้ถ่ายทอดท่ารา
ภาพที่ 1: ร่วมถ่ายภาพกับ รองศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุรักษ์ ผู้ถ่ายทอดท่ารา ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวมัลลิกา กล้าการขาย, 9 สิงหาคม 2561 รองศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุรักษ์ (สกุลเดิม ผลเนืองมา) เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2501 ณ กรุงเทพมหานคร เป็นธิดาคนที่ 2 ของ ร.ต.บุญปลูก ผลเนืองมา (ถึงแก่กรรม) และนางบุปผา ผลเนืองมา บิดาได้ลาออกจากราชการทหารแล้วเข้าทางานตาแหน่งผู้จัดการในบริษัทอาซาฮีโซดาไฟ จากัด จังหวัดสมุทรปราการ ส่วนมารดาเป็นแม่บ้าน ท่านสมรสกับนายสุชาต เวชสุรักษ์ สามีของท่านเคยดารงตาแหน่ง ผู้จัดการบริษัทน้ ามันคาลเท็กซ์ไทย จากัด ต่อมาได้ลาออกมาทาธุรกิจครอบครัว ท่านมีบุตร 2 คน ได้แก่ นายธนเดช เวชสุรักษ์ กาลังศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์ ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา และ
5 นางสาวภัทรภร เวชสุรักษ์ กาลังศึกษาระดับปริญญาตรี คณะสัตวแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (เด่นนภา โพพิมล, 2557, หน้า 5.) 1.1 ประวัติการศึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุรักษ์ ได้ศึกษาในระดับประถมศึกษาจนถึงระดับปริญญาเอก โดยเฉพาะในระดับปริญญาตรีท่านได้คะแนนเฉลี่ยสูงสุดในชั้นเรียน จนได้รับทุนเรียนดีจากคณะนาฏศิลป์ และดุริยางค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา พ.ศ.2506 – พ.ศ.2509
จบระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนชาตศึกษากรุงเทพมหานคร
พ.ศ.2510 – พ.ศ.2521
จบประกาศนีย บัต รนาฏศิล ปชั้น สูง จากวิท ยาลัย นาฏศิล ป์ สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นศิ ล ป์ กระทรวงวั ฒ นธรรม
พ.ศ.2527 – พ.ศ.2528
จบศึกษาศาสตร์บัณฑิต (นาฏศิลป์ไทย) จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล (วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา)
พ.ศ.2536 – พ.ศ.2537
จบการศึกษาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (นาฏศิลป์ไทย) จากจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
พ.ศ.2542 – พ.ศ.2547
จบการศึกษาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (นาฏศิลป์ไทย) จากจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
ในสมัยที่ ศึกษา ณ วิทยาลัยนาฏศิลป์และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาท่านได้รับการ ฝึกฝนจากครูตัวนางหลายท่านในชั้นเรียน ได้แก่ ครูเฉลย ศุขะวณิช ครูนพรัตน์ หวังในธรรม ครูพิไลโฉม สัมมานันท์ ครูกรรณิการ์ วีโรทัย และครูตัวนางที่มิได้กล่าวนามอีกหลายท่าน ในด้านการแสดงท่านได้รับ การสนับสนุนและถ่ายทอดท่า ราจากครูเฉลย ศุขะวณิช ในบทบาทตัว ละครเอกหลายเรื่ อ ง นอกจากนั้ น ท่ า นยั ง ได้ รั บ การถ่ า ยทอดท่ า ร าจากครู ล ะครอี ก หลายท่ า น ได้ แ ก่ ครูจาเรียง พุธประดับ ครูนพรัตน์ หวังในธรรม ครูพรทิพย์ ด่านสมบูรณ์ เป็นต้น นอกจากนีท้ ่านได้รับการขอตัวจากสานักการสังคีตร่วมแสดงระบาและตัวละครเอกต่างๆ เป็นประจา ทาให้ ท่านได้ รั บ การถ่ายทอดท่าร าระบ าและตั ว ละครเอกจากครูในส านักการสั งคีต มากมาย อาทิเช่ น ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ครูสุวรรณี ชลานุเคราะห์ ครูกรรณิกา วงศ์สวัสดิ์ ครูเรณู จีนเจริญ ครูสถาพร สนทอง ครูบุนนาค ทรรทรานนท์ ครูนันทินี เวชสุทัศน์ ครูจินดารัตน์ จารุสาร เป็นต้น(เด่นนภา โพพิมล, 2557, หน้า 6.)
6 1.2 ประวัติการทางาน รองศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุรักษ์ เริ่มรับราชการในวิทยาลัยนาฏศิลป์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2521 ถึง พ.ศ. 2533 ในช่วงปี พ.ศ. 2521 เมื่อเริ่มเข้ารับราชการได้ถูกโอนย้ายไปช่วยราชการที่วิทยาลัยนาฏศิลป์นครศรีธรรมราช เป็นเวลา 1 ปี กลับเข้ารับราชการที่วิทยาลัยนาฏศิลปในปี พ.ศ. 2522 รับราชการในวิทยาลัยนาฏศิลปอีก 12 ปี หลังจากนั้น รองศาสตราจารย์ผุสดี หลิมสกุล ได้แนะนาให้มาร่วมงานที่ภาควิชานาฏศิลป์ คณะ ศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยได้โอนย้ายไปรับราชการที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. 2533 จนถึงปัจจุบัน 2. ผลงานด้านนาฏศิลป์และผลงานที่เกี่ยวข้อง 2.1 ผลงานการสอน 1. สอนรายวิชาทักษะนาฏศิลป์ไทย หมวดราพื้นฐาน ได้แก่ เพลงช้า เพลงเร็ว ระบา เพลงแม่บทใหญ่ เพลงเชิดเสมอ หมวดระบามาตรฐาน ได้แก่ ระบาสี่บท ระบาย่องหงิด ระบาดาวดึงส์ หมวดราหน้าพาทย์ ได้แก่ เพลงสาธุการ เพลงตระนิมิต เพลงตะบองกัน เพลงชานาญ เพลงบาทสกุณี เพลงตระเชิญ หมวดราคู่ ได้แก่ ย่าหรันตามนกยูง ศุภลักษณ์อุ้มสม ฝรั่งคู่ พระลอตามไก่ ขุนแผนพานาง วันทองหนี (เชิดฉิ่งออกเชิดจีน) หมวดราเดี่ยว ได้แก่ วิยะดาทรงเครื่อง ดรสาแต่งตัว ดรสาแบหลา ฉุยฉายวันทอ ฉุยฉาย ศูรปนขา วิยะดาแต่งตัว ฉุยฉายเบญกาย จินตะหราแต่งตัว สีดาทรงเครื่อง ไกยเกษีทรงเครื่อง หมวดละครนอก ได้แก่ กุมภณฑ์ถวายม้า ในเรื่องสุวรรณหงส์ สอนตัวนางเกศสุริยงแปลง หมวดละครใน ได้แก่ ตอนอิเหนาลานางจินตะหรา และเข้าฝ้าท้ าวดาหา ในละครเรื่อง อิเหนา หมวดละครพันทาง ได้แก่ ตอนอภิเษกพระธิดาในละครพันทางเรื่อง ราชาธิราช หมวดละครดึกดาบรรพ์ ได้แก่ ตอนมณฑาลงกระท่อม 2. สอนรายวิชาบังคับ ระดับปริญญาตรี ได้แก่ ทฤษฎีนาฏศิลป์ไทย วิจัยนาฏยศิลป์ งานโครงการนาฏศิลป์ ระดับปริญญาโท ได้แก่ ประวัตินาฏยศิลป์ อาศรมศึกษาทางนาฏยศิลป์ไทย
7 2.2 ผลงานการแสดง 1. ราเบิกโรงชุดเมขลา – รามสูร รับบทเป็น นางเมขลา
ตอน รามสูรพบนางเมขลา ถ่ายทอดท่ารา โดย ครูเฉลย ศุขะวิณิช
2. โขน เรื่องรามเกียรติ์ รับบทเป็น นางสีดา
ตอน ลักสีดา และตอนนางลอย ถ่ายทอดท่ารา โดย ครูเฉลย ศุขะวิณิช
รับบทเป็น นางนารายณ์แปลง
ตอน นารายณ์ปราบนนทุก ถ่ายทอดท่ารา โดย ครูจาเรียง พุธประดับ และครูสถาพร สนทอง
3. ละครใน เรื่องอุณรุท รับบทเป็น นางอุษา
แสดงทั้งเรื่อง
รับบทเป็น นางศุภลักษณ์
แสดงทั้งเรื่อง ถ่ายทอดท่ารา โดย ครูเฉลย ศุขะวิณิช
4. ละครในเรื่อง อิเหนา รับบทเป็น นางจินตะหรา
ตอน อิเหนาลานางจินตะหรา ถ่ายทอดท่ารา โดย ครูเฉลย ศุขะวิณิช
5. ละครนอก เรื่องขุนช้างขุนแผน รับบทเป็น นางวันทองแปลง
ตอน ขุนแผนเกี้ยวนางวันทอง
รับบทเป็น นางตานี
ตอน พลายบัวเกี้ยวนางตานี ถ่ายทอดท่ารา โดย ครูเฉลย ศุขะวิณิช
6. ละครพันทาง เรื่องผู้ชนะสิบทิศ รับบทเป็น นางกุสุมา
แสดงทั้งเรื่อง ถ่ายทอดท่ารา โดย ครูบุนนาค ทรรทรานนท์
7. ละครดึกดาบรรพ์ เรื่องยศเกตุ รับบทเป็น นางเมธาวี
ตอน พบนาง ถ่ายทอดท่ารา โดย ครูเฉลย ศุขะวิณิช
8 8. ละครดึกดาบรรพ์ เรื่องสังข์ทอง รับบทเป็น นางรจนา
ตอน เลือกคู่ และมณฑาลงกระท่อม ถ่ายทอดท่ารา โดย ครูนพรัตน์ หวังในธรรม
9. ละครร้อง เรื่องสาวเครือฟ้า รับบทเป็น สาวเครือฟ้า
แสดงทั้งเรื่อง ถ่ายทอดท่ารา โดย ครูเฉลย ศุขะวิณิช
10. ละครรา เรื่องพระไพศรพณ์ รับบทเป็น แม่โพสพ 11. ระบาต่างๆ
ได้แก่
ถ่ายทอดท่ารา โดย ครูนพรัตน์ หวังในธรรม ระบาสุโขทัย ระบาศรีวิชัย ระบาจีน – ไทยไมตรี ระบาพม่า – ไทยอธิษฐาน ราสีนวลออกอาหนู ระบานพรัตน์ ระบากินรีร่อน ราซัดชาตรี ระบาชาวนา ราเซิ้งกระติ๊บข้าว ราอวยพรเฉพาะกิจ เป็นต้น
2.3 ผลงานกากับการแสดง 1. กากับการแสดงละครดึกดาบรรพ์ เรื่องอิเหนา ตอนตัดดอกไม้ฉายกริช (ชมดงชมศาล) จัดโดยภาควิชาภาควิชานาฏยศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. กากับการแสดงละครดึกดาบรรพ์ เรื่องอิเหนา ตอนไหว้พระในงานปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ 2.4 ผลงานนาฏยประดิษฐ์ 1. ผลงานสร้ า งสรรค์ ร าอวยพร ชุ ด เทิ ด พระเกี ย รติ ศิ ล ปะดุ ริ ย ะศิ ล ปิ น จั ด โดยคณะ ศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เนื่องในโอกาสเฉลิมฉลองงานครบรอบเกษียณอายุราชการของ รองศาสตราจารย์โกวิทย์ ขันธศิริ 2. ผลงานสร้ างสรรค์ระบาเทิดพระเกียรติ จัดโดยฝ่ ายศิล ปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดาเนินเป็น ประธานทอดพระเนตรปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ เนื่องในวโรกาสฉลอง 88 ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 3. ผลงานสร้างสรรค์ราเดี่ยวมาตรฐานในโขน เรื่องรามเกียรติ์ 2 ชุด คือ ไกยเกษี ทรงเครื่อง และสีดาทรงเครื่อง ผลงานงานสร้างสรรค์ราเดี่ยวมาตรฐานในละครใน เรื่องอิเหนา 1 ชุด คือ จินตะหราแต่งตัว ซึง่ นามาใช้ในการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาและนาออกเผยแพร่แก่สาธารณชน
9 รองศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุรักษ์ เป็นศิลปินตัวนางท่านหนึ่งที่สืบทอดองค์ความรู้จากนาฏยศิลป์สายวัง หลังสวนกุหลาบและวังเพชรบูรณ์ เนื่องจากครูเฉลย ศุขะวณิช ผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ท่านนั้นเป็นศิษย์จากวังสวน กุหลาบและวังเพชรบูรณ์ ท่านได้แสดงเป็นตัวละครเอก ออกแสดงทั้งในประเทศและต่างประเทศ ด้วยการที่ ท่านได้มีความช านาญในทักษะตัว นางขั้นสู ง ท่านจึงได้เผยแพร่ ความรู้ให้ แก่ลู กศิษย์ทั้งในสถาบันและ สถาบันการศึกษาอื่นๆ นอกจากนี้ท่านยังเป็นที่ปรึกษางานวิจัยให้แก่นิสิต และบุคลากรทางการศึกษาทั้งใน ส่วนกลางและส่วนภูมิภาคมาโดยตลอด(เด่นนภา โพพิมล, 2557, หน้า 10.) จากการศึกษาการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง ของ รองศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุรักษ์ ทาให้ทราบว่า รองศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุรักษ์ มีทั้งผลงานการแสดงและผลงานสร้างสรรค์มากมาย ซึ่งอาจารย์ได้ให้ความกรุณาแก่ผู้ได้รับการถ่ายทอดในการถ่ายทอดท่ารารวมถึงกลวิธีการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง เพื่อเป็นอนุรักษ์และเผยแพร่ให้สาธารณะชนและคนรุ่นหลังได้ชมต่อไป
บทที่ 3 วิธีการดาเนินการสืบทอดและฝึกหัด การแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด ไกยเกษี ท รงเครื่ อ ง นิ สิ ต ได้ รั บ การสื บ ทอดมาจาก รองศาสตราจารย์ ดร. สวภา เวชสุรักษ์ โดยมีวิธีการสืบทอดและการฝึกหัด ดังข้อมูลต่อไปนี้ 1. ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด - ได้รับการถ่ายทอดท่าราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุรักษ์ - ได้รับการได้รับการการแก้ไขท่ารา ชุดไกยเกษีทรงเครื่อง โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุรักษ์ ตารางที่ 2 ตารางขั้นตอนในการฝึกหัด ลาดับที่ รายการขั้นตอนในการฝึกหัด 1. ศึกษาวิดีโอการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง ก่อนที่จะได้รับการ ถ่ายทอดท่ารา จากรองศาสตราจารย์ ดร. สวภา เวชสุรักษ์ 2. ศึกษาประวัติความเป็นมาของการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง 3. รองศาสตราจารย์ ดร. สวภา เวชสุรักษ์ มีวิธีการสอนคือให้นิสิตปฏิบัติ ท่าราตาม จังหวะดนตรี 4. รองศาสตราจารย์ ดร. สวภา เวชสุรักษ์ ได้ปรับสรี ระร่างกายทั้งหมดให้เหมาะสม กับนิสิต 5. รองศาสตราจารย์ ดร. สวภา เวชสุรักษ์ สอนวิธีการกล่อมหน้า การยิ้มในหน้า การ ใช้แววตา 6. รองศาสตราจารย์ ดร. สวภา เวชสุรักษ์ เก็บรายละเอียด ตรวจเช็คความถูกต้อง ของท่ารา 2. ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด การแสดงร าเดี่ย วมาตรฐาน ชุ ด ไกยเกษี ทรงเครื่ อง ก่ อนที่จ ะแสดงได้นั้ น มีก ารฝึ ก ซ้อ ม การแสดงเพื่อให้จดจาท่าราในเพลงได้ ราให้พอดีกับจังหวะเพลง และกลวิธี ต่างๆ ที่ได้จากการฝึกซ้อม จะทาให้ การแสดงออกมาสมบูรณ์ ซึ่งผู้แสดงได้บันทึกวัน เวลา สถานที่ ที่ได้ ฝึกซ้อม มาพอสังเขป ดังตารางต่อไปนี้
11
ตารางที่ 3 ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด วัน/เดือน/ปี รายการ สถานที่ ผู้ฝึกซ้อม 1 – 25 มิ.ย. 61 - ศึกษาและฝึกปฏิบัติจากวีดีโอจาก มหาวิทยาลัยนเรศวร ฝึกซ้อมด้วยตัวเอง การสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางด้าน นาฏศิ ล ป์ ไ ทยโดยนิ สิ ต ชั้ น ปี ที่ 4 สา ข า วิ ช า น า ฏ ศิ ล ป์ ไ ทย ค ณ ะ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปี 2557 ชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง 26 มิ.ย. 61 - ฝึกปฏิบัติ ชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง มหาวิทยาลัยนเรศวร ดร. จิตติมา นาคีเภท ที่ปรึกษารายวิชา อาศรมศึกษา 28 มิ.ย. 61 - ฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารแสดงร าเดี่ ย ว ชุ ด มหาวิทยาลัยนเรศวร ดร. จิตติมา นาคีเภท ไกยเกษีทรงเครื่อง ที่ปรึกษารายวิชา 16 ก.ค. 61 อาศรมศึกษา และ ฝึกซ้อมด้วยตัวเอง 17 ก.ค. 61
- ฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารแสดงร าเดี่ ย ว ชุ ด มหาวิทยาลัยนเรศวร ไกยเกษีทรงเครื่อง
ดร. จิตติมา นาคีเภท ที่ปรึกษารายวิชา อาศรมศึกษา 18 - 29 ก.ค. 61 - ฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารแสดงร าเดี่ ย ว ชุ ด มหาวิทยาลัยนเรศวร ดร. จิตติมา นาคีเภท ไกยเกษีทรงเครื่อง ที่ปรึกษารายวิชา อาศรมศึกษา 30 ก.ค. 61 - ฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารแสดงร าเดี่ ย ว ชุ ด มหาวิทยาลัยนเรศวร ดร. จิตติมา นาคีเภท ไกยเกษีทรงเครื่อง ที่ปรึกษารายวิชา อาศรมศึกษา 31 ก.ค. 61 6 ส.ค. 61
- ฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารแสดงร าเดี่ ย ว ชุ ด มหาวิทยาลัยนเรศวร ไกยเกษีทรงเครื่อง
ฝึกซ้อมด้วยตัวเอง
12
วัน/เดือน/ปี
รายการ
สถานที่
ผู้ฝึกซ้อม
9 ส.ค. 61
- ฝึกปฏิบัติและเข้ารับการถ่ายทอด ตึกศิลปกรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ท่าราเดี่ยว ชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง โรงเรียน สาธิต ดร.สวภา เวชสุรักษ์ มหาวิทยาลัยศรีนคริ นทรวิโรฒ ประสาน มิตร 11 - 28 ส.ค. 61 - ฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารแสดงร าเดี่ ย ว ชุ ด มหาวิทยาลัยนเรศวร ดร. จิตติมา นาคีเภท ไกยเกษีทรงเครื่อง ทีป่ รึกษารายวิชา อาศรมศึกษา 29 ส.ค. 61 - ฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารแสดงร าเดี่ ย ว ชุ ด โรงละครเฉลิมพระ ฝึกซ้อมด้วยตัวเอง ไกยเกษีทรงเครื่อง เกียรติ 72 พรรษาฯ 30 - 31 ส.ค. 61 - ซ้อมใหญ่ และแสดงจริง โรงละครเฉลิ ม พระ ฝึกซ้อมด้วยตัวเอง เกียรติ 72 พรรษาฯ 3. อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด ผู้วิจัยได้เตรียมอุปกรณ์ในการสื บทอดและฝึกหัด คือ ผ้าโจงกระเบน เข็มขัด เครื่องบันทึก ภาพนิ่ง เครื่องบันทึกภาพเครื่องไหว และสมุดจดบันทึก 4. พัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด ในตลอดระยะเวลาที่ได้รับการถ่ายทอดท่าราโดย รองศาสตราจารย์ ดร. สวภา เวชสุรักษ์ นิสิตจะบัน ทึกภาพเคลื่อนไหวไว้ เพื่อตรวจเช็คความถูกต้องของท่ารา บั นทึกการเก็บรายละเอียด ของท่ารา สภาพปัญหาที่พบและวิธีแก้ไข โดย รองศาสตราจารย์ ดร. สวภา เวชสุรักษ์ ได้ดังนี้ 4.1 การเก็บรายละเอียดของท่ารา 1. แววตาในการแสดง 2. ลีลาท่ารา 3. การเชื่อมท่ารา 4. อารมณ์ของท่าราให้สัมพันธ์กัน 5. การใช้พื้นที่ให้การรา 6. ทิศทางของหน้า
13
4.2 สภาพปัญหาที่พบและวิธีแก้ไข 1. ฝึกการใช้แววตาและรอยยิ้มให้เป็นแบบละครใน 2. ฝึกการใช้หน้าให้ถูกทิศทาง จากการสืบทอดและฝึกหัดราเดียวชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง โดยรองศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวช สุรักษ์ ได้ปรับท่าราให้เหมาะสมกับตัวนิสิต และได้ทบทวนเก็บรายละเอียดท่ารา ฝึกการขึ้น -ลง เตียง การใช้อารมณ์ สีหน้า แววตา สวมบทบาทของตัวละคร และยังได้ปรับปรุงอธิบายรายละเอียดให้เข้าใจ มากยิ่งขึ้น ให้นิสิตปฏิบัติซ้าๆ จนนิสิตมีความเข้าใจมากขึ้น และ ทาให้นิสิตสามารถจดจาท่าราได้ และ ปฏิบัติการราได้งดงามขึ้นจากเดิม ทั้งนี้นิสิตได้ หมั่น ฝึกซ้อมเพื่อให้มีความชานาญในท่ารา และมีจริต ลีลาในการรา เพื่อพัฒนาฝีมือการราให้ดียิ่งขึ้นและ สามารถนาไปแสดงได้อย่างสมบูรณ์
บทที่ 4 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง มีส่วนประกอบที่สาคัญหลายด้าน ที่หากขาดสิ่งใดไป จะทาให้การแสดงขาดความสมบูร ณ์ โดยนิสิ ตได้แบ่งแยกส่วนประกอบที่ส าคัญของ การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง ได้แก่ ประวัติความเป็นมาของการแสดง เรื่องย่อ ของการแสดง เพลงประกอบการ แสดง ดนตรีที่ใช้ป ระกอบการแสดง ฉากและองค์ประกอบการแสดง เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง กระบวนท่ารา และกลวิธีในการรา เป็นต้น 1. ประวัติความเป็นมาของการแสดง ราบททรงเครื่องในการแสดงโขนเป็นองค์ความรู้เดิมที่มีมาตั้งแต่ครั้งต้นรัตนโกสินทร์ในจานวน บทบาทของตัวนางที่ต้องแสดงบทแต่งตัวมักปรากฏทุกตัวในวรรณกรรมการแสดงโขนเพียงแต่ว่าวรรณกรรม บางบทยั ง ไม่ เ คยมี นั ก นาฏยประดิ ษ ฐ์ ค นใดหยิ บ ยกขึ้ น มาสร้ า งส รรค์ เ ป็ น นาฏยลั ก ษณ์ ซึ่ ง บท ไกยเกษี ท รงเครื่ อ งเป็ น อี ก บทหนึ่ ง ที่ ร องศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุรักษ์ ได้คัดเลือกมาสร้างเป็น ผลงานชิ้นใหม่อีกชิ้นหนึ่ ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการสร้างสรรค์ผ ลงานราเดี่ยวมาตรฐานในโขนซึ่งเป็น ผลงานแนวอนุรักษ์และเพื่อนาไปใช้ในการเรียนการสอน การสาธิต การแสดงประกอบเรื่อง การแสดง เบ็ดเตล็ด นางไกยเกษีเป็นธิดาของท้าวไกยเกษกับนางประไพแห่งกรุงไกยเกษ มีพระชันษา 15 ปี ต่อมาท้าวไกยเกษ ทรงสุบิน โดยทรงทอดพระเนตรเห็นพระจันทร์ทรงกลดส่องสว่างทั่วท้องฟ้าและมีดวงดาวล้อมรอบ และ ในท่ามกลางแสงจันทร์ก็ปรากฏราชรถที่เคลื่อนไปทั่วทั้งสี่ทวีป พระองค์ทรงตื่นจากบรรทมโดยให้โหรทานาย โหรทานายว่า พระจันทร์ทรงกลดเปรียบเสมือนกษัตริย์ผู้ทรงอานาจ กษัตริย์อนื่ ๆเปรียบดังดวงเดือนที่เป็นบริวาร แสงที่เจิดจ้าโดยทั่วไปทาให้อานุภาพในการปราบศัตรูทาให้เกิดความสงบสุข การที่พระองค์ทรงราชรถไปทั่ว ทั้งสี่ทวีปเปรียบประดุจการขยายอานาจไปทั่วทุกทิศโดยไม่มีผู้ใดเสมอเหมือน กษัตริย์องค์ที่กล่าวถึงเห็น จะเป็นท้าวอัชบาลที่ทรงอานาจแห่งกรุงอยุธยา ผู้ทรงมีพระราชกุมารนามว่า ท้าวทศรถ ครั้นท้าวไกยเกษ ทรงทราบดังนี้ พระองค์จึ งทรงปรึกษากับมเหสี และตกลงกันว่าจะยกธิดาให้ อภิเษกกับท้าวทศรถโอรส ท้าวอัชบาลเพื่อความเป็นมิตรของทั้งสองพระนคร ดังนั้นจึงต้องมีการลงสรงทรงเครื่องของนางไกยเกษี เพื่อเดินทางไปอภิเษกสมรสกับท้าวทศรถที่กรุงอยุธยา (ลักขณา แสงแดง, 2555, หน้า 10.) 2. เรื่องย่อของการแสดง ท้าวทศรถเป็นกษัตริย์ ครองกรุงอยุธยา มีพระมเหสี 3 องค์คือ นางเกาสุริยา นางไกยเกษี และนางสมุทรเทวี วันหนึ่งท้าวทศรถไปรบกับยักษ์ ชื่อปตูตทันต์ โดยนางไกยเกษีตามเสด็จไปด้วยขณะรบกันยักษ์แผลงศรไปถูกเพลารถ
15 ของท้าวทศรถหัก นางไกยเกษีกระโดดลงจากรถเอาแขนของนางสอดแทนเพลารถเมื่อท้าวทศรถฆ่ายักษ์ได้ แล้วได้ทรงทราบถึงความจงรักภักดีของนางไกยเกษี จึงประทานพรว่าหากนางปรารถนาสิ่งใดพระองค์ก็ จะประทานให้ ท้าวทศรถครองราชย์สมบัติมานานหลายปีแต่ยังไม่มีโอรส จึงทาพิธีกวนข้าวทิพย์กลิ่นของ ข้าวทิพย์หอมไปถึงกรุงลงกา ทศกัณฐ์จึงใช้นางยักษ์กากนาสูรมาขโมยข้าวทิพย์ นางยักษ์แปลงร่างเป็นอีกา โฉบเอาข้าวทิพย์ไปแต่ได้เพียงครึ่งก้อน ทศกัณฐ์นาข้าวทิพย์ให้นางมณโฑผู้เ ป็นมเหสี นางจึงตั้งครรภ์และ ประสูติพระธิดาออกมาแต่ขณะที่ประสูตินั้นพระธิดาร้องว่า “ผลาญราพย์” ขึ้น 3 ครั้งพิเภหและโหรอื่นๆ ทานายว่าเป็นกาลีบ้านกาลีเมืองทศกัณฐ์จึงสั่งให้นาพระธิดาที่ผู้นั้นใส่ผอบลอยน้าไป พระฤาษีชนกซึ่งเดิม เป็นราชาแห่งเมืองมิถิลามาพบเข้าก็เก็บไปฝังดินฝากพระแม่ธรณีไว้จนเวลาล่วงไปถึง 16 ปี จึงไปขุดนางขึ้น มาแล้วตั้งชื่อให้ว่าสีดา แล้วกลับไปคลองเมืองมิถิลาเช่นเดิม และได้จัดพิธียกศรเพื่อหาคู่ครองให้นางสีดา พระรามยกศรได้จึงได้อภิเษกกับนางสีดาและพานางสีดากลับไปที่กรุงอยุธยา ส่วนข้าวทิพย์ที่เหลือ 3 ก้ อน ครึ่ ง ท้าวทศรถแบ่ งให้ มเหสี ทั้งสาม ซึ่งต่อมานางตั้งครรภ์และให้กาเนิดโอรสคือ นางเกาสุริยา ประสู ติ พระราม นางไกยเกษี ประสูติ พระพรต นางสมุทรเทวี ประสูติ พระลักษณ์ กับพระสุตรุดต่อมาท้าวทศรถ คิดจะยกราชสมบัติให้พระรามปกครองแต่นางไกยเกษีทูลขอเมืองอยุธยาให้พระพรตโอรสของตนและขอให้ พระรามออกเดินป่าเป็นเวลา 14 ปี ท้าวทศรถเคยประทานสัตย์ ให้นางไว้จึงต้องรักษาวาจาสัตย์พระรามก็ ยิ น ยอมออกจากเมื อ งโดยดี ซึ่ ง พระลั กษณ์ กับ นางสี ด าขอเสด็ จ ตามไปด้ ว ย ท้ า วทศรถเสี ยพระทัย มาก จนกระทั่งสิ้นพระชนม์ 3. เพลงประกอบการแสดง บทร้องและทานอง บทร้องเป็นกลอนสุภาพความยาว 15 นาที ประกอบด้วย 8 คากลอน มีเพลง 5 เพลง ได้แก่ เพลงเพลงกล่อมนารี, ร้องร่าย, เพลงเสมอ, เพลงชมตลาด, เพลงเร็ว – ลา (สุจิตต์ วงษ์เทศ, 2535.) เพลงกล่อมนารี
เป็นเพลงประเภทหน้าทับปรบไก่ อัตราชั้นเดียว
ร้องร่าย
เป็นบทร้องที่ไม่มีการเอื้อน ร้องด้วยอัตราชั้นเดียว
เพลงเสมอ
เป็นเพลงที่ใช้ในการเดินทางใกล้ๆ
เพลงชมตลาด
เป็นเพลงที่มีการเอื้อนน้อย นิยมใช้สาหรับการทรงเครื่อง
เพลงเร็ว – ลา
นิยมใช้ในการออก และ เข้า ของการแสดง
16
บทร้องทานอง -ปี่พาทย์ทาเพลงกล่อมนารีร้องเพลงกล่อมนารี เมื่อนั้น
โฉมไกยเกษีดวงสมร
ครั้นรุ่งรางสว่างแสงทินกร
บังอรตื่นจากที่ไสยา
พระบิดรมารดามีรับสั่ง
ไปยังอยุธยาตามปรารถนา
ร่วมภิเษกครองคู่กัญญา
ทศรถราชาปิ่นบุรี -ร้องร่าย-
ตริพลางย่างเยื้องยุรยาตร เข้าสู่ที่โสรจสรงวารี
จากอาสน์ลายองผ่องศรี สาราญอินทรีย์ในวาริน
-ปี่พาทย์ทาเพลงเสมอ-ร้องเพลงชมตลาดเข้าที่ชาระสระสนาน
สุคนธ์ธารเกสรขจรกลิ่น
ภูษาพื้นม่วงทรงข้าวบิณฑ์
เชิงนั้นล้วนรูปกินรีรา
ทรงสไบตาดพื้นทอง
ซับในกรองสอดสีเขียวขา
สะอิ้งองค์ล้วนบุษราคัม
ประจายามทับทรวงดวงลอย
ตาบทิศมรกตสังวาลวัลย์
ประดับถันบานพับสลับสร้อย
ทองกรพาหุรัดจารัสพลอย
ธามรงค์เพชรพลอยอร่ามเรือง
มงกุฎแก้วกรรเจียกจรมณี
โอภาสรัศมีฉวีเหลือง
งานศรีเสาวภาคย์เฉลิมเมือง
ย่างเยื้องมาท้องพระโรงชัย -ปี่พาทย์ทาเพลงเร็ว-ลา-
17 4. ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง วงปี่พาทย์ไม้นวม การจัดรูปแบบวงดนตรีนั้น ก็เหมือนกับวงปี่พาทย์ไม้แข็ง เพียงแต่นาขลุ่ยมาบรรเลงแทนปี่ในและ ระนาดเอกบรรเลงด้ว ยไม้น วมแทนไม้แข็ง เพิ่มซออู้เข้ามาอีก 1 คัน เพื่อนเพิ่มความนุ่มนวลของเสี ยง โดยรวมที่ออกมา ในเครื่องกากับหน้าทับถ้าบรรเลงเพลงหน้าพาทย์หรือประกอบการแสดงอาจจะใช้ตะโพน และกลองทัด อย่างเดิมก็ได หรืออาจจะบรรเลงเพลงเสภา เพลงเถา เพลงธรรมดา อาจจะเปลี่ยนไปใช้กลอง แขกก็ได้อย่างใดอย่างหนึ่ง เรื่องของการเปลี่ยนเครื่องกากับหน้าทับนี้ใช้เหมือนกันทั้งปี่พาทย์ไม้แข็ง และ ปี่พาทย์ไม้นวม เพราะปี่พาทย์ไม้แข็ง ก็อาจจะเปลี่ยนจากตะโพน และกลองทัด ไปเป็ นกลองแขกก็ได้ใน กรณีที่บรรเลงเพลงธรรมดา(สุจิตต์ วงษ์เทศ, 2535.)
ภาพที่ 2 : วงปี่พาทย์ไม้นวมเครื่องห้า ที่มา : http://guru.sanook.com/gallery/gallery/1771/254283/, 7 กันยายน 2561 เครื่องดนตรีประกอบด้วย 1. ขลุ่ยเพียงออ 2. ระนาดเอก 3. ฆ้องวงใหญ่ 4. ตะโพน 5. กลองทัด 6. ฉิ่ง
18 5. ฉากและองค์ประกอบการแสดง การแสดงราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด “ไกยเกษีทรงเครื่อง” เป็นบทบาทการแสดง ของสตรีชั้นสูงในราชสานัก อุปกรณ์ที่ใช้จึงเป็นอุปกรณ์ที่นารูปแบบมาจากชีวิตประจาวันของชนชั้นสูง มี ฉากและอุปกรณ์ประกอบ ดังนี้ ฉากในการแสดง
ภาพที่ 3: ฉากที่ใช้ในการแสดง ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 13 สิงหาคม 2561
ภาพที่ 4: เตียงนอน ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 13 สิงหาคม 2561
19
ภาพที่ 5: เตียงอาบน้า ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 13 สิงหาคม 2561 อุปกรณ์ประกอบการแสดง
ภาพที่ 6: หมอนสามเหลี่ยม ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 13 สิงหาคม 2561
20
ภาพที่ 7: เครื่องราชูปโภค ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 13 สิงหาคม 2561
ภาพที่ 8: ขันน้า ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 13 สิงหาคม 2561
21
ภาพที่ 9: ขันเล็กสรงน้า ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 13 สิงหาคม 2561
ภาพที่ 10: สุคนธ์ธาร และ เครื่องสรงน้า ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 13 สิงหาคม 2561
22 6. เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า การแสดงชุด “ไกยเกษีทรงเครื่อง” มีรูปแบบการแต่งกายตามลักษณะการแต่งกายยืนเครื่องตัวนาง ตามจารีตเดิม เพียงแต่มีการปรับปรุงให้ตรงตามลักษณะบทละครที่บรรยายไว้เกี่ยวกับ องค์ประกอบและสี ของเครื่องแต่งกาย ซึ่งประกอบด้วยสิ่งต่างๆ ดังนี้
ภาพที่ 11: เครื่องแต่งกายการแสดงราเดี่ยว ชุด “ไกยเกษีทรงเครื่อง” ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวจุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 30 สิงหาคม 2561 องค์ประกอบเครื่องแต่งกาย 1.มงกุฎยอดนาง 3.กรองคอ (สีม่วง) 5.เสื้อในนาง 7.จี้นาง 9.ทองกร หรือกาไลแผง 11.ปะวะหล่า 13.ตาบทิศ 15.กาไลข้อเท้าหัวบัว
2.อุบะและดอกไม้ทัด 4.ผ้าห่มนาง (สีเหลืองขลิบม่วงซับในสีเขียว) 6.ภูษาหรือผ้ายก (สีม่วง) 8.พาหุรัด 10.แหวนรอบ 12.สะอิ้ง หรือสร้อยตัว 14.เข็มขัดและปั้นเหน่งเพชร
23
ภาพที่ 12: มงกุฎยอดนาง และอุบะ ดอกไม้ทัด ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 30 สิงหาคม 2561
ภาพที่ 13: กรองคอ (สีม่วง) ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 30 สิงหาคม 2561
24
ภาพที่ 14: ผ้าห่มนาง (สีเหลืองขลิบม่วงซับในสีเขียว) ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 30 สิงหาคม 2561
ภาพที่ 15: เสื้อในนาง ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 30 สิงหาคม 2561
25
ภาพที่ 16: ภูษา หรือผ้ายก (สีม่วง) ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 30 สิงหาคม 2561
ภาพที่ 17: จี้นาง ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 30 สิงหาคม 2561
26
ภาพที่ 18: พาหุรัด ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 30 สิงหาคม 2561
ภาพที่ 19: ทองกร หรือกาไลแผง ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 30 สิงหาคม 2561
27
ภาพที่ 20: แหวนรอบ ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 30 สิงหาคม 2561
ภาพที่ 21: ปะวะหล่า ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 30 สิงหาคม 2561
28
ภาพที่ 22: สะอิ้ง หรือสร้อยตัว ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 30 สิงหาคม 2561
ภาพที่ 23: ตาบทิศ ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 30 สิงหาคม 2561
29
ภาพที่ 24: เข็มขัด และปั้นเหน่ง ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 30 สิงหาคม 2561
ภาพที่ 25: กาไลข้อเท้าหัวบัว ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นางสาวไอยรดา อาจจีน, 30 สิงหาคม 2561 7. นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง นาฏยศัพท์ หมายถึง ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะท่าราที่ใช้ในการฝึกหัด เพื่อใช้ในการแสดงโขน ละคร เป็นคาที่ใช้ในวงการนาฏศิลป์ไทย สามารถสื่อความหมายกันได้ทุกฝ่ายในการแสดงต่างๆ ดังนี้ (https://www.gotoknow.org/posts/118858, สืบค้นเมื่อ 7 กันยายน 2561)
30 ส่วนที่ 1 ศีรษะ 1. เอียงศีรษะ หรือ อ่อนศรีษะ คือ กิริยาที่จะต้องใช้ร่างกายตั้งแต่ช่วงเอว ไหล่ ขึ้นมา กล่าวคือ เมื่อจะเอียงศีรษะก็จะต้อง เริ่มกดเอว กดไหล่ ข้างเดียวกันกับศีรษะที่เอียง เพื่อเน้นให้เห็นเส้นสรีระของร่างกายเป็นเส้นโค้ง หากเอียง แต่ศีรษะเพียงอย่างเดียว ท่าราจะดูแข็ง และเหมือนคนราคอฟาด (คือ ราคอพับไปมาเหมือนเด็กอนุบาลรา) การเอียงนั้นจะต้องได้สัดส่วนที่พองาม ตัวนางจะกดลาตัวและการเอียงมากกว่าตัวพระ ตัวพระนั้นการเอียง นี้จะใช้เพียงแง่ศีรษะ (คือ ให้ความรู้สึกว่าเอียงเพียงเล็กน้อย) เท่านั้น มิฉะนั้นเมื่อเวลาสวมชฏาแล้วจะเห็น ได้ชัดเจนว่าผู้ใดเอียงมากจนยอดชฎานั้นโอนเอนไปมาอย่างแรง การเอียงศีรษะจึงมีค วามยากที่จะกาหนด ต้องหมั่นราในกระจกหรือครูเป็นผู้ตรวจสอบให้งดงามถูกต้อง ส่วนที่ 2 ไหล่ 1. กดไหล่ คือ การเอียงข้างใดข้างหนึ่ง โดยจะต้องกดมาตั้งแต่ล าตัว (ฝึกหัดด้วยการถองสะเอว) เมื่อกดเอวแล้ว ไหล่ก็จะลดลงตาม การกดไหล่นี้ต้องในระดับระนาบ คือ เมื่อกดลงแล้วไม่ล้าไปด้านหน้า หรือเบี่ยงไปด้านหลัง ข้อพึงระวังอีกอย่างหนึ่งที่มักจะเป็นปัญหาให้กับผู้ราในปัจจุบัน คือ เมื่อกดไหล่ลงข้าง หนึ่งแล้วจะยกไหล่อีกข้างโดยเจตนา ดูคล้ายหุ่นกระบอกพม่าที่ยกไหล่กระโดดไปมา พึงกดไหล่โดยผ่อนตาม ธรรมชาติจะดีกว่า ส่วนที่ 3 ลาตัว 1. ทรงตัว คื อ การตั้ งล าตั วให้ ตรง ไม่ โอนเอนไปด้ านหน้ า (ร าหน้ าคว่ า) หรื อไปด้ านหลั ง (ร าหน้ าหงาย) การทรงตัวนี้ต้องดันหลังให้ตึง ยกอกขึ้นเล็กหน้า แต่ต้องไม่ให้หน้าท้องยืนล้าออกมามาก ต้องเกร็งหน้าท้อง ไว้ด้วยเสมอ ส่วนที่ 4 มือและแขน 1. วง หรือ ตั้งวง คือ ช่วงท่อนแขนและมือที่กางออก ข้อมือหักหงายให้อ่อนโค้งเข้าหาลาแขน การจะตั้งวง ให้ได้สัดส่วนที่งามนั้น มิได้ขึ้นอยู่กับการมีนิ้วมือที่เรียวโค้งไปด้านหลังได้มากๆ แต่อย่างเดียว ขึ้นอยู่กับองศา ระหว่างท่อนแขนบนล่าง และท่อนแขนล่างกับข้อมือประกอบด้วย เพราะความหมายของ “วง” นั้น คือเป็น ส่วนของเส้นโค้ง การตั้งวงจึงต้องทอดแขนแลให้เห็นเป็นเส้นโค้งที่มีสัดส่วนสวยงามตามแบบฉบับของแต่ละบท เช่น พระ นาง ยักษ์ ลิง เป็นต้น ดังนั้น ระดับแขนระหว่างตัวละครต่างๆ จึงแตกต่างกัน กล่าวโดยรวมคือ ตัวยักษ์จะมีวงกว้างที่สุด รองมาคือ ลิง พระ และนาง ในเรื่องของระดับวงนี้ ควรได้รับการแนะนาจาก ผู้เชี่ยวชาญเพื่อจับท่าให้ได้ตามมาตรฐาน ซึ่งสามารถแบ่งย่อยเป็นระดับต่างๆ ดังนี้
31 2. วงสูง หรือ วงบน ตัวนาง จะกันวงเฉียงมาด้านหน้ามากกว่าตัวพระเล็กน้อย และลดระดับวงให้อยู่ที่ระดับ หางคิ้ว ตัวพระ กันวงออกข้างลาตัว เฉียงมาทางด้านหน้าเล็กน้อย (แนวเดียวกันกับหน้าขาที่เปิดออก) ยกขึ้นให้ปลายมืออยู่ในระดับแง่ศีรษะ 3. วงกลาง ทั้งตัวนางและตัวพระ ลดระดับวงลงให้สูงเพียงระดับหัวไหล่ 4. วงต่า หรือ วงล่าง มือที่ตั้งวงอยู่บริเวณหัวเข็มขัดหรือชายพก 5. วงหน้า ทอดลาแขนให้โค้งไปด้านหน้า ปลายมือชี้เข้าระดับปาก เช่นเดียวกันทั้งตัวพระและนาง 6. วงหงาย หรือ วงบัวบาน เป็นวงพิเศษที่มีลักษณะไม่เป็นเส้นโค้ง กล่าวคือท่อนแขนบนและล่างและข้อมือหักเป็นมุม ฝ่ามือที่ตั้งวงจะหงายขึ้น ปลายนิ้วจะชี้ออกด้านข้าง (เช่น ท่าพรหมสี่หน้า) หรือตกลงด้านล่าง (เช่น ท่านางนอน) 7. จีบ คือ การจรดปลายนิ้ ว หั ว แม่มือ ที่ข้อแรกของปลายนิ้ว ชี้ นิ้ว ที่ เหลื อ ทั้งสามกรีด ออกไป ด้านหลังมือให้มากที่สุด ที่สาคัญคือ จะต้องหักข้อมือเข้าหาลาแขนให้ได้มากที่สุด ท่าจีบแบ่งเป็น 8. จีบหงาย คือ การจีบที่หงายฝ่ามือขึ้น ปลายนิ้วที่จีบชี้ขึ้น 9. จีบคว่า คือ การจีบที่คว่ามือลง ปลายนิ้วที่จีบชี้ลงเบื้องล่าง 10. จีบปรกหน้า หรือ จีบตลบหน้า คือ การจีบที่อยู่ระดับใบหน้า หันปลายนิ้วที่จีบชี้ที่บริเวณดวงตา 11. จีบปรกข้าง ลักษณะคล้ายวงบัวบานระดับสูง แต่หักข้อมือที่จีบเข้าหาแง่ศีรษะ 12. จีบหลัง หรือ จีบส่งหลัง คือ การทอดแขนไปด้านหลังให้ตึง มือที่จีบพลิกหงายขึ้นด้านบน การจีบส่งหลังจะต้อง เหยียดออกไปด้านหลังให้สุดและปลายนิ้วที่จีบจะไม่ชี้เข้ามาที่ก้นโดยเด็ดขาด 13. ล่อแก้ว เป็นลักษณะมือพิเศษ โดยใช้ปลายนิ้วกลางขัดที่ข้อแรกของนิ้วหัวแม่มือเป็นรูปวงกลม นิ้วเหลือเหยียดออกไปด้านหลัง พร้อมหักข้อมือเข้าลาแขน
32 ส่วนที่ 5 เท้า 1. ประ คือ อาการของเท้าข้างใดข้างหนึ่ง ใช้จมูกเท้าตบพื้นเบาๆ แล้วยกขึ้น โดยให้อีกเท้าหนึ่งยืน ย่อเข่ารับน้าหนักตัว การประเท้าของตัวพระและตัวนางจะแตกต่างกันตรงที่ตัวพระต้องแยกหรือแบะเข่า ออกให้ได้เหลี่ยม แล้วจึงประ เท้าที่ประแล้วยกขึ้นสูงระดับกลางน่องของขาที่ยืนรับน้าหนัก ปลายเท้าชี้ออก ด้านข้าง ส่วนตัวนางไม่แบะเข่า ยืนให้เท้าที่จะเตรียมประเหลื่อมจากเท้าที่รับน้าหนักไปข้างหน้าประมาณ ครึ่งเท้า เมื่อประแล้วยกเท้าขึ้นสูงระดับครึ่งน่อง ปลายเท้าชี้ออกด้านหน้า ถ้าจะให้ดูงามยิ่งขึ้นจะต้องกระดก ปลายนิ้วเท้าให้งอนขึ้นเล็กน้อยทั้งตัวพระและตัวนาง 2. ก้าวเท้า คือ การวางเท้าที่ยกลงสู่พื้น โดยวางส้นเท้าลงก่อน แล้วจึงตามด้วยปลายเท้า ทิ้งน้าหนัก ตัวลงไปยังเท้าที่ก้าวให้หมด การก้าวเท้ามี 2 วิธี คือ 2.1 ก้าวหน้า หมายถึง การก้าวเท้าไปข้างหน้า ตัวพระจะต้องแบะเข้าออกให้ได้เหลี่ยมปลายเท้าที่ก้าว จะเฉียงไปทางด้านข้างเล็กน้อย กะให้ส้นเท้าหน้าอยู่ในแนวกันกับหัวแม่เท้าหลัง ห่างกันประมาณหนึ่งคืบ เท้าหลังเปิดส้นเท้า สาหรับตัวนางไม่แบะเข่า และก้าวเท้าให้ปลายเท้าชี้ค่อนไปทางด้านหน้า ห่างจากส้น เท้าหลังที่เปิดส้นเท้าขึ้นประมาณหนึ่งคืบ 2.2 ก้าวข้าง หมายถึง การก้าวเท้าเฉียงไปทางด้านข้างของเท้าที่ยก จะเป็นเท้าข้างใดก็ได้ ในขณะที่ ลาตัวอยู่ด้านหน้า ตัวพระจะก้าวเฉียงออกจากด้านข้างให้มากกว่าก้าวหน้า สาหรับตัวนางก้าวข้างจะต้องกะ ปลายเท้ากับส้นเท้าหลังให้อยู่ในแนวเฉียงห่างกันประมาณหนึ่งคืบ 3. กระดก คือ อาการปฏิบัติต่อเนื่องจากการกระทุ้ง โดยยืนขาเดียวย่อเข่าโดยใช้เท้าหน้าที่ยืนย่อเข่า อยู่รับน้าหนักตัว ถีบเข่าหรือส่งเข่าข้างที่ยกนั้นไปทางด้านหลัง แล้วหนีบน่องให้ชิดต้นขามากที่สุด (เท้าที่ยก จะต้องอยู่ใกล้ก้นให้ได้มากที่สุด) หักข้อเท้าลงให้ปลายเท้าตกลงเบื้องล่าง การกระดกอาจสืบเนื่องอาจทา ต่อเนื่องจากกระทุ้งเท้าก็ได้หรือกระดกโดยไม่กระทุ้งก็ได้ ตัวพระเมื่อกระดกเท้าจะต้องกันเข่าหรือเปิดเข่าให้ ขากางออกจากขาที่ยืนรับน้าหนักตัวอยู่ การกระดกนี้แบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ 3.1 กระดกหลัง คือ อาการของเท้าที่กระดกไปข้างหลัง เมื่อมองจากด้านหน้าจะไม่เห็นเท้าหลังที่กระดก เลย 3.2กระดกเสี้ยว คือ อากรของเท้าที่กระดกอยู่ด้านข้างของลาตัว โดยให้เท้าที่ยืนรับน้าหนักหันปลายเท้า ไปด้านข้าง
33 4. ซอยเท้า คือ การย่าเท้าถี่ๆ ของเท้าที่อยู่เสมอกัน ให้ตัวเคลื่อนไปในทิศทางต่างๆหรืออยู่กับที่ 5. ขยั่นเท้า คือ การย่าเท้าถี่ๆ ของเท้าที่อยู่เสมอกัน หรือไว้กัน ให้เคลื่อนตัวไปในข้างหน้าหรือด้านข้าง 6. ฉายเท้า คือ การใช้เท้าข้างใดข้างหนึ่งยืนเป็นหลัก ส่วนเท้าอีกข้างหนึ่งใช้จมูกเท้าจรดพื้นปิดส้นเท้า ขึ้น แล้วฉายหรือลากจมูกเท้าไปด้านข้าง ในลักษณะครึ่งวงกลม 7. สะดุดเท้า คือ การใช้เท้าข้างหนึ่งยืนเป็นหลัก ส่วนเท้าอีกข้างหนึ่งนั้นไสเท้าออกไปด้านหน้าหรือ ด้านข้างอย่างแรง พร้อมทิ้งน้าหนักตัวไปด้วย 8. จรดเท้า คือ กิริยาที่จมูกเท้าแตะลงบนพื้น โดยส้นเท้าจะลอยขึ้นจากพื้นเล็กน้อย สามารถปฏิบัติได้ ทั้งในขณะที่ขาที่ยืนน้าหนักเหยียดตรงหรือย่อลง 9. เดาะเท้า คือ กิริยาที่ยกเท้าข้างใดข้างหนึ่งให้ลอยพ้นจากพื้นเล็กน้อย แล้วใช้จมูกเท้าตบลงบนพื้น เบาๆ แล้วยกขึ้นทันที ปฏิบัติตามจังหวะเพลง (เช่น ในกระบวนท่าราเพลงเร็ว) หรือจะเดาะถี่ๆ ก็ได้ (ตามแต่ละกระบวนท่ารา)
34 8. กระบวนท่าราชุด ไกยเกษีทรงเคครื่อง การะบวนท่าราของการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง มีความงดงาม ละเมียด ละไม ตามแบบของนาฏศิลป์ไทย โดยการแสดงมีกระบวนท่าราดังนี้ ตารางที่ 4 กระบวนท่ารา ชุด “ไกยเกษีทรงเครื่อง” ลาดับ เนื้อร้อง/ทานอง ภาพอธิบายท่ารา 1. เมื่อนั้นโฉมไกยเกษี ดวงสมร
2.
ครั้นรุ่งรางสว่างแสง
3.
ทินกร
คาอธิบายท่ารา ท่านอน (กล่อมหน้า) ศีรษะ : กล่อมหน้า มือ : มือขวาวางข้างลาตัว มือ ซ้ายรับศีรษะ ลาตัว : นอนเอนไปทางซ้าย เท้า : เท้าซ้อนกันเปิดปลาย เท้า ทิศทาง : หน้าตรง ท่าฉายมือขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาฉายจีบ มือซ้าย รับศีรษะ ลาตัว : นอนเอนไปทางซ้าย เท้า : เปิดปลายเท้า ทิศทาง : หน้าตรง ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างจีบสูงแล้ว ปล่อยจีบเป็นมือวง ลาตัว : นอนเอนไปทางซ้าย เท้า : เปิดปลายเท้า ทิศทาง : หน้าตรง
35 ลาดับ 4.
เนื้อร้อง/ทานอง บังอรตื่นจาก
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงขวา สลับเอียง ซ้าย มือ : มือขวาวางหน้าตัก มือ ซ้ายเช็ดตาที่ละข้าง เริ่มจาก ซ้าย ลาตัว : เอียงขวา สลับซ้าย เท้า : นั่งพับเพียบ เปิดปลาย เท้า ทิศทาง : หน้าตรง
5.
ที่ไสยา
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาวางหน้าตัก มือ ซ้ายท้าวหมอน ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : นั่งพับเพียบ เปิดปลาย เท้า ทิศทาง : หน้าตรง
6.
พระบิดรมารดา
ศีรษะ : เอียงขวา มื อ : ไหว้ ข้ า งขวา เดาะมื อ ไหว้สองครั้ง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : นั่งพับเพียบ ทิศทาง : หน้าตรง
36 ลาดับ 7.
เนื้อร้อง/ทานอง มีรับสั่ง
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงซ้าย เปลี่ยน เอียงขวา มือ : มือขวาวางหน้าตัก มือ ซ้ายไว้มือสูง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : นั่งพับเพียบ ทิศทาง : หน้าตรง
8.
ไปยัง
ท่าไป ศีรษะ : เอียงซ้าย มื อ : มื อ ข ว า ม้ ว น จี บ ด้านหน้า ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : นั่งพับเพียบ ทิศทาง : หน้าตรง
9.
อยุธยา
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาวางบนเท้าซ้าย มือซ้ายชี้แขนตึง ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : นั่งพับเพียบ ทิศทาง : หน้าตรง
37 ลาดับ 10.
เนื้อร้อง/ทานอง ตามปรารถนา
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาไว้มือสูง มือซ้าย วางหน้าตัก ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : นั่งพับเพียบ ทิศทาง : หน้าตรง
11.
ร่วม
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : รวมมือ ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : นั่งพับเพียบ ทิศทาง : หน้าตรง
12.
ภิเษก
ท่าเฉิดฉิน ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มื อ ขวาแบหงายปลาย นิ้วตก มือซ้ายตั้งวงระดับปาก ลาตัว : เอียงขวา เท้า : นั่งพับเพียบ ทิศทาง : หน้าตรง
13.
ครองคู่
ท่าสวมใส่ ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างตั้งวงแล้ว วาดลงมาระดับหน้า ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : นั่งพับเพียบ ทิศทาง : หน้าตรง
38 ลาดับ 14.
เนื้อร้อง/ทานอง กัญญา
15.
ทศรถราชา
16.
ปิ่นบุรี
17.
ตริพลาง
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาวางหน้ าตัก มื อ ซ้ายชี้เข้าอก ลาตัว : เอียงขวา เท้า : นั่งพับเพียบ ทิศทาง : หน้าตรง ศีรษะ : เอียงขวาเปลี่ยนเอียง ซ้าย มื อ : มื อ ทั้ ง สองข้ า งช้ อ นมื อ ไหว้สูงทางด้านซ้าย ล าตั ว : ชะอ้ อ นตัว ขวา แล้ ว เอียงซ้าย เท้า : นั่งพับเพียบ ทิศทาง : หน้าตรง ท่ากระหวัดเกล้า ศีรษะ : เอียงซ้ายเปลี่ยนเอียง ขวา มือ : มือขวาตั้งวง มือซ้ายจีบ สูงระดับแง่ศีรษะ ลาตัว : เอียงขวา เท้า : นั่งพับเพียบ ทิศทาง : หน้าตรง ศีรษะ : เอียงซ้ายเปลี่ยนเอียง ขวา มือ : มือขวาวางที่หน้าขา มือ ซ้ายจีบเข้าอก ลาตัว : เอียงขวา เท้า : นั่งพับเพียบ ทิศทาง : หน้าตรง
39 ลาดับ 18.
เนื้อร้อง/ทานอง ย่างเยื้อง
ภาพอธิบายท่ารา
19.
ยุ (เอื้อน)
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงระดับไหล่ มือ ซ้ายจีบหงายระดับชายพก ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ขยั่นเท้า โดยเท้าซ้ายอยู่ หน้า ทิศทาง : หน้า ตรง ขยั่ นเท้ าไป ด้านซ้ายมือ
20.
รยาตร
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงระดับชายพก มือซ้ายตั้งวงบน ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ขยั่นเท้า โดยเท้าซ้ายอยู่ ด้านหน้า ทิศทาง : หน้าตรง ขยั่นไปทาง ขวามือ
ลาดับ
เนื้อร้อง/ทานอง
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ท่านางนอน ศี ร ษะ : เอี ย งซ้ า ยเปลี่ ย นเอี ย ง ขวา มือ : มื อขวาแบหงายปลายนิ้ ว ตด มือซ้ายตั้งวงระดับชายพก ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ขยั่นเท้า ทิศทาง : หน้าตรง
คาอธิบายท่ารา
40 21.
จากอาสน์
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงเหยียดตึง มือ ซ้ายตั้งวงระดับชายพก ลาตัว :เอียงซ้าย เท้า : เท้าขวาก้าวหน้า ทิศทาง : หันไปทางซ้าย
22.
ลายอง
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงระดับชายพก มือซ้ายตั้งวงเหยียดตึง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : เท้าซ้ายก้าวหน้า ทิศทาง : หันไปทางขวา
23.
ผ่องศรี
24.
เข้าสู่ที่
ท่าพิสมัยเรียงหมอน ศีรษะ : เอียงซ้าย แล้วเอียงขวา มื อ : มื อ ทั้ ง สองจี บ เข้ า อก แล้ วาดมืออก มือขวาตั้งวงแขนตึง ระดับไหล่ มือซ้ายตั้งวงบน ลาตัว : เอียงขวา เท้า : เท้าขวาก้าวหน้า เท้าซ้าย กระดก ทิศทาง : หน้าตรง ศีรษะ : เอียงซ้าย มื อ : ปาดมื อ วงลงทั้ ง สองข้ า ง พร้อมกัน ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ก้าวข้างเท้าขวา ทิศทาง : หมุนตัวไปทางขวา
ลาดับ
เนื้อร้อง/ทานอง
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา
41 25.
โสรจสรง
26.
วารี
27.
สาราญ
28.
อินทรีย์
ท่ากินรี ศีรษะ : เอียงขวา มื อ : มื อ ขวาจี บ หงายแขนตึ ง ระดับไหล่ มือซ้ายจีบสู งเข้าหา ตัว ลาตัว : เอียงขวา เท้า : เดี่ยวเท้าขวา ทิ ศ ท า ง : หั น ห น้ า ไ ป ท า ง ด้านซ้าย ท่าชะนีร่ายไม้ ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มื อขวาแบหงายปลายนิ้ ว ตก ระดับไหล่ มือซ้ายตั้งวงบน ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ก้าวข้างเท้าขวา ทิศทาง : เฉียงตัวไปทางซ้าย ท่ากังหันร่อน ศีรษะ : ลักคอข้างขวา มือ : มือทั้งสองข้างจีบหงายแขน ตึงระดับไหล่ ลาตัว : ลาตัวตรง เท้า : ยกหน้าเท้าซ้าย ทิศทาง : หันหน้าไปทางขวา ศีรษะ : ลักคอข้างซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างตั้งวง แขนตึง ระดับไหล่ ลาตัว : ลาตัวตรง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิศทาง : หน้าตรง
42 ลาดับ 29.
เนื้อร้อง/ทานอง ในวาริน
30.
เพลงเสมอ ทานองเพลงไม้เดิน
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาแบหงายปลายนิ้ว ตกระดั บ ไหล่ มื อ ซ้ า ยตั้ ง วง แขนตึงระดับไหล่ ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ก้าวข้างเท้าขวา ทิศทาง : เฉียงตัวไปทางซ้าย ท่ากลางอัมพร ศีรษะ : เอียงขวา มื อ : มื อ ขวาตั้ ง วงแขนตึ ง ระดับไหล่ มือซ้ายสอดสูง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิศทาง : หน้าตรง ท่าผาลา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาแบหงายปลายนิ้ว ตก แขนงอ มือซ้ายตั้งวงบน ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิศทาง : หน้าตรง ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงระดับ ชาย พก มื อ ซ้ า ยจี บ คว่ าแขนตึ ง ระดับไหล่ ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : เท้าซ้ายวางหลัง เปิดส้น เท้า ทิศทาง : หน้าตรง
43 ลาดับ
เนื้อร้อง/ทานอง เพลงเสมอ ทานองเพลงไม้เดิน (ต่อ)
31.
ทานองเพลงไม้ลา
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบเข้าหาลาตัว ระดั บ วงบน มื อ ซ้ า ยตั้ ง วง ระดับชายพก ลาตัว : เอียงขวา เท้า : เท้าขวาวางหลัง ทิศทาง :หน้าตรง ศีรษะ : เอียงขวา เปลี่ยนเอียง ซ้าย มือ : มือขวาแบหงายปลายนิ้ว ตกระดับวงบน(ท่าสอดสูง) มือ ซ้ายจีบส่งหลัง ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : เท้าขวาก้าวขางเล็กน้อย แล้วยกเท้าซ้าย ทิศทาง : หันหน้าทางซ้ายมือ ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงบน มือขวา จีบเข้าหาตัว (ท่าภมรเคล้า) ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : จรดเท้าขวา ทิศทาง : หมุนไปทางขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบเข้าหาตัว ระดั บ วงบน มื อ ซ้ า ยตั้ ง วง ระดับชายพก ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ปะเท้าซ้าย ยกขึ้น ทิศทาง : หน้าตรง
44 ลาดับ
เนื้อร้อง/ทานอง ทานองเพลงไม้ลา (ต่อ)
32.
ทานองเพลงรัวยาว
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงบน มือซ้าย ตั้งวงระดับชายพก ลาตัว : เอียงขวา เท้า : เท้าซ้ายก้าวหน้า ทิศทาง : หน้าตรง
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวง มือขวาจีบ ต่อข้อมือ ทาสามครั้ง ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ฉายเท้าขวา – ซ้าย ทิศทาง : หน้าตรง
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงบน มือขวา จีบต่อข้อมือ ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ก้าวข้างเท้าขวา ทิศทาง : หน้าตรง หมุนไป ทางขวา ขึ้นเตียงสรงน้า
45 ลาดับ 33.
เนื้อร้อง/ทานอง เข้าที่ชาระ
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : หน้าตรง มือ : มือทั้งสองขางวางที่หน้า ขา ลาตัว : ลาตัวตรง เท้า : นั่งทับส้น ทิศทาง : หน้าตรง ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาถือขัน มือซ้ายลูบ หน้าด้านซ้าย ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : นั่งทับส้น ทิศทาง : หน้าตรง ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาถือขัน มือซ้ายลูบ หน้าด้านซ้าย ลาตัว : เอียงขวา เท้า : นั่งทับส้น ทิศทาง : หน้าตรง
34.
สระ ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาถือขัน มือซ้ายตั้ง มือแขนตึง ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : นั่งทับส้น ทิศทาง :หน้าตรง
46 ลาดับ 35.
เนื้อร้อง/ทานอง สนาน
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาถือขัน มือซ้าย วางมือบนหน้าขา ลาตัว : เอียงขวา เท้า : นั่งทับส้น ทิศทาง : หน้าตรง
36.
สุคนธ์ธาร
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวารินเครื่องหอมใส่ มือซ้าย ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : นั่งทับส้น ทิศทาง : หันหน้าเยื้องไป ทางขวา
37.
เกสร
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาทาแก้ม มือซ้าย หงายมือขึ้น ลาตัว : เอียงขวา เท้า : นั่งทับส้น ทิศทาง : หน้าตรง แล้วทาแก้มสลับข้างซ้าย
47 ลาดับ 38.
เนื้อร้อง/ทานอง ร้องเอื้อน
39.
ขจรกลิ่น
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาลูบแขนซ้าย มือ ซ้ายตั้งมือแขนตึง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : นั่งทับส้นเท้า ทิ ศ ทาง : นั่ ง เยื้ อ งตั ว ไป ทางขวา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือทั้งสองจีบคว่า ระดับ อก ลาตัว : เอียงขวา เท้า : นั่งทับส้นเท้า ทิศทาง : หน้าตรง ศีรษะ : เอียงซ้ายเล็กน้อย มือ : มือทั้งสองข้างคลายจีบ หงายมือ ลาตัว : ตั้งตรง เท้า : ซอยเท้ามากลางเวที ทิศทาง : หน้าตรง
40.
ร้องเอื้อน
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบหงายระดับ ชายพก มือซ้ายกรีดมือจีบที่ จมูก ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิศทาง : หน้าตรง
48 ลาดับ 40. (ต่อ)
เนื้อร้อง/ทานอง ร้องเอื้อน (ต่อ)
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบหงายแขนตึง ระดับไหล่ มือซ้ายจีบหงายที่ ชายพก ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิศทาง : หน้าตรง
41.
ภูษา
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงระดับชาย พก มือซ้ายจีบหงายที่ชายพก ลาตัว : เอียงขวา เท้ า : ก้ า วหน้ า เท้ า ขวา กระดกเท้าซ้าย ทิศทาง : หน้าตรง
42.
พื้นม่วง
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองจีบหงายระดับ ชายพก ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิศทาง : หน้าตรง
43.
ทรงข้างบิณฑ์
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือทั้งสองข้างวง ปลาย มือชิดเข้าหากันระดับอก ลาตัว : เอียงขวา เท้า : กระดกเท้าซ้าย ทิศทาง : หันไปทางซ้ายมือ เล็กน้อย
49 ลาดับ 44.
เนื้อร้อง/ทานอง เชิงนั้น
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ท่าช้างประสานงา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างจีบหงาย แขนตึง ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ยกหน้าเท้าซ้าย ทิศทาง : หน้าตรง
45.
ล้วนรูป
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือทั้งสองข้างลู บผ้ า ด้านข้างลงมา ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิศทาง : ค่อยๆหมุนตัวมา ด้านขวา
46.
เอื้อน
ท่าบิน ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างแทงไป ด้านหลัง ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ขยั่นเท้า ทิศทาง : หันมาหน้าตรง
47.
กินรีรา
ท่ากังหันร่อน ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงแขนตึง มือ ซ้ายจีบหงายแขนตึง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ขยั่นเท้าไปทางซ้าย ทิศทาง : หน้าตรง
50 ลาดับ 48.
เนื้อร้อง/ทานอง เอื้อนท้ายวรรค
49.
ทรงสไบตาด
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ท่าบิน ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือทั้งสองข้างแทงไป ด้านหลัง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : จรดเท้า แล้วซอยเท้า ทิศทาง : วิ่งรอบตัวเองไป ทางขวา 1 รอบ ท่าเยื้องกราย ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาแบหงายปลาย นิ้ ว ตก มื อ ซ้ า ยตั้ ง วงแขนตึ ง ระดับไหล่ ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิศทาง : หน้าตรง (สลับทาอีกข้างหนึ่ง)
ศีรษะ : เอียงขวา แล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างตั้งวง ระดับอก แล้วช้อนมือเป็นจีบ มือขวาจีบบนไหล่ มือซ้ายจีบ บนผ้าห่มนาง ลาตัว : ชะอ้อนตัวแล้วกลับ เอียง เท้า : ก้าวเท้าซ้ายวางหน้า หมุนไปด้านขวาแล้วสลับเท้า ด้านขวา
51 ลาดับ 50.
เนื้อร้อง/ทานอง พื้นทอง
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : จับผ้าห่มสองมือพลิกขึ้น ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : กระดกหลังเท้าขวา ทิศทาง : หน้าตรง
51.
ซับใน
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : รวมมือที่เอวด้านขวา ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ก้าวไขว้เท้าขวา ทิศทาง : ทิศขวาเล็กน้อย
52.
กรอง
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : รวมมือที่สะเอวด้านซ้าย ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ก้าวไขว้เท้าซ้าย ทิศทาง : ทิศซ้ายเล็กน้อย
53.
สอด
ท่าสอดสร้อยมาลา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงบน มือซ้าย จีบหงายที่ชายพก ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิศทาง : หน้าตรง
52 ลาดับ 54.
เนื้อร้อง/ทานอง สี
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบหงายที่ชาย พก มือซ้ายจีบสูง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย แล้ว ชิดเท้าขวา ทิศทาง : หน้าตรง
55.
เอื้อน
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบสูง มือซ้ายจีบ ที่ชายพก ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : จรดเท้าขวา ทิศทาง : เฉียงตัวไปทางขวา แ ล้ ว ห มุ น ร อ บ ตั ว เ อ ง ไ ป ทางขวา
56.
เขียว
ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือขวาล่อแก้วระดับแง่ ศี ร ษะ มื อ ซ้ า ยล่ อ แก้ ว ระดั บ อก ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิศทาง : หน้าตรง
53 ลาดับ 57.
เนื้อร้อง/ทานอง ขา
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : ล่อแก้วประสานกันที่อก ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิศทาง : หน้าตรง
58.
เอื้อน
ท่าโบก ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบส่งหลัง มือ ซ้ายตั้งวงบน ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : วางส้นเท้าขวา ทิศทาง : หันไปทางซ้าย
59.
สะอิ้งองค์
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบที่ฐานไหล่แล้ว ค่อยๆเลื่อนมาเป็นวงล่าง มือ ซ้ายตั้งวงบน ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิ ศ ทาง : หั น ไปทางซ้ า ย ค่อยๆหมุนไปทางขวา
54 ลาดับ 60.
เนื้อร้อง/ทานอง ล้วน
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงบน มือซ้าย จีบที่ฐานไหล่ แล้วค่อยๆเลื่อน มาเป็นวงล่าง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิศทาง : หั นหน้าทางขวา แล้วค่อยๆหมุ่นตัวมาหน้าตรง
61.
บุษราคัม
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบระดับแง่ศีรษะ มือซ้ายจีบหงายแขนตึง ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : เดี่ยวเท้าซ้าย ทิศทาง : หันไปทางขวา
62.
ประจา
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงบน มือซ้าย จีบที่เอวด้านขวา ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ยกเท้าขวา ทิศทาง : หมุนตัวไปทางซ้าย
55 ลาดับ 63.
เนื้อร้อง/ทานอง ยาม
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงบน มือขวา จีบที่เอวซ้าย ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ยกเท้าซ้าย ทิศทาง : หันไปทางขวา
64.
ทับทรวง
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาล่อแก้วที่อก มือ ซ้ายจีบส่งหลัง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ยกเท้าขวา ทิศทาง : หันไปทางซ้าย
65.
ดวงลอย
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบระดับอก มือ ซ้ายจีบที่ชายพก ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : กระดกหลังเท้าขวา ทิศทาง :
66.
เอื้อน
ท่าโบกมือซ้าย ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือซ้ายตั้งวงบน มือขวา จีบส่งหลัง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : วางส้นเท้าซ้าย ทิศทาง : หันไปทางขวา
56 ลาดับ 67.
เนื้อร้อง/ทานอง ตาบทิศ
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบที่เอวข้างซ้าย มือซ้ายจีบส่งหลัง ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิศทาง : หมุนไปทางซ้าย
68.
มรกต
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือซ้ายที่เอวขวา มือ ขวาจีบส่งหลัง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิศทาง : หมุนไปทางขวา หน้าตรง
69.
ร้องเอื้อน
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบหงายที่ชาย พก มือซ้ายตั้งวงที่ชายพก ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : เหลื่อมเท้าขวา ทิศทาง : หน้าตรง
70.
สังวาลวัลย์
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงบน มือซ้าย จีบส่งหลัง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิศทาง : หน้าตรง
57 ลาดับ 71.
เนื้อร้อง/ทานอง ประดับถัน
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือทั้งสองขางจีบหงาย ไขว้ที่อก ลาตัว : เอียงขวา เท้า : กระดกหลังเท้าซ้าย ทิศทาง : หน้าตรง
72.
บานพับ
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบคว่าที่ต้นแขน มือซ้ายจีบคว่าแขนตึง ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : เท้าซ้ายก้าวหน้า ทิศทาง : หน้าตรง
73.
ร้องเอื้อน
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบคว่าแขนตึง มือซ้ายจีบคว่าที่ต้นแขน ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิศทาง : หน้าตรง
74.
สลับสร้อย
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือทั้งสองข้างจีบคว่าที่ หัวไหล่แล้วลากจีบส่งหลัง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้ายกระดก ขวา ทิศทาง : หน้าตรง
58 ลาดับ 75.
เนื้อร้อง/ทานอง ทองกร
ภาพอธิบายท่ารา
76.
พาหุรัด
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาแตะที่ข้อมือซ้าย มือซ้ายตั้งวงแขนตึง ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : วางเท้าซ้ายด้านหน้า ทิศทาง : ค่อยๆหมุนไปทา ซ้าย
77.
จารัสพลอย
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือทั้งสองล่อแก้วแขนตึง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ยกหน้าเท้าขวา ทิศทาง : หน้าตรง
ลาดับ
เนื้อร้อง/ทานอง
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงแขนตึ ง ด้า นหน้ า มือ ซ้ ายแต่ ที่ข้ อ มื อ ขวา ลาตัว : เอียงขวา เท้า : วางเท้าขวาด้านหน้า ทิ ศ ทาง : ค่ อ ยๆหมุ น ไป ทางขวา
คาอธิบายท่ารา
59 78.
ธามรงค์
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาแตะที่นิ้วข้างซ้าย มือซ้ายตั้งวงหน้า ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : เหลื่อมเท้าซ้าย ทิศทาง : หน้าตรง
79.
เพชรพลอย
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือซ้ายแตะที่นิ้วข้างขวา มือขวาตั้งวงหน้า ลาตัว : เอียงขวา เท้า : เหลื่อมเท้าขวา ทิศทาง : หน้าตรง
80.
อร่ามเรือง
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาสอดสูง มือซ้าย ตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : เท้าขวากระดกหลัง ทิศทาง : หันหน้าไปทางซ้าย ค่อยๆหมุนไปทางขวา
81.
ร้องเอื้อน
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบส่งหลัง มือ ซ้ายตั้งวงบน ลาตัว : เอียงขวา เท้า : วางส้นเท้าซ้าย ทิศทาง : หันไปทางขวา
60 ลาดับ 82.
เนื้อร้อง/ทานอง มงกุฎแก้ว
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : จีบปรกข้างทั้งสองข้าง ลาตัว : เอียงซ้าย เท้ า : ก้ า วหน้ า เท้ า ซ้ า ย กระดกเท้าขวา ทิศทาง : หน้าตรง
83.
กรรเจียก
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบสูงระดับแง่ ศีรษะ มือซ้ายจีบส่งหลัง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิศทาง : หน้าตรง
84.
จรมณี
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือ ซ้ายจี บระดับแง่ ศีรษะ มือขวาจีบส่งหลัง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : เดี่ยวเท้าขวา ทิศทาง : หันไปทางซ้าย
85.
โอภาส
ท่าผาลาเพียงไหล่ ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงบน มือซ้าย แบหงายปลายนิ้วตก ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : กระดกเสี้ยวเท้าซ้าย ทิศทาง : หน้าตรง
61 ลาดับ 86.
เนื้อร้อง/ทานอง รัศมี
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบส่งหลัง มือ ซ้ายฉายมือ ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ซอยเท้า ทิศทาง : หน้าตรง
87.
ฉวีเหลือง
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงต่อศอกมือ ซ้าย มือซ้ายแบหงายปลายนิ้ว ตก แขนตึง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : กระดกเสี้ยวเท้าขวา ทิศทาง : หน้าตรง
88.
ร้องเอื้อน
ท่าโบก ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบส่งหลัง มือ ซ้ายตั้งวงบน ลาตัว : เอียงขวา เท้า : วางส้นเท้าซ้าย ทิศทาง : หันไปทางขวา
62 ลาดับ 89.
เนื้อร้อง/ทานอง งามศรี
90.
เสาวภาคย์
91.
เฉลิมเมือง
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาล่อแก้ว มือซ้าย ตั้งวงหน้าระดับปาก ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิ ศ ทาง : ค่ อ ยๆหมุ น ไป ทางขวา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือซ้ายล่อแก้ว มือขวา ตั้งวงหน้าระดับปาก ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิศทาง : หมุนไปทางขวา เล็กน้อย ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายล่อแก้ว มือขวา ตั้งวงหน้าระดับปาก ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิศทาง : ค่อยๆหมุนไปหน้า ตรง ศีรษะ : หน้าตรง มือ : มือทั้งสอง ล่อแก้ว ลาตัว : ลาตัวตรง เท้า : กระดกหลังเท้าซ้าย ทิศทาง : หน้าตรง
63 ลาดับ 92.
เนื้อร้อง/ทานอง ย่างเยื้อง
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงแขนตึง มือ ซ้ายแบหงายปลายนิ้วตก ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : เท้าซ้ายอยู่ด้านหน้า ขยั่นเท้าไปทางขวา ทิศทาง : ขยั่นเทาไปทางขวา หน้าตรง
93.
มาท้อง
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาแบหงายปลายนิ้ว ตก มือซ้ายตั้งวงแขนตึง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : เท้าขวาอยู่ด้านหน้า ขยั่นเท้าไปทางซ้าย ทิศทาง : ขยั่นเท้าไปทางซ้าย หน้าตรง
94.
พระโรงชัย
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงบน มือซ้าย จีบส่งหลัง ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : แตะเท้าซ้าย ทิศทาง : หน้าตรง
64 ลาดับ 95.
เนื้อร้อง/ทานอง ร้องเอื้อน
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือซ้ายตั้งวงบน มือขวา จีบส่งหลัง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : แตะเท้าขวา ทิศทาง : หน้าตรง
96.
เพลงเร็ว
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงแขนตึง มือ ซ้ายจีบหงายที่ชายพก ลาตัว : เอียงขวา เท้า : เหลื่อมเท้าขวา ทิศทาง : หันไปทางขวา
97.
เพลงเร็ว
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาแบหงายปลายนิ้ว ตกแขนตึง มือซ้ายตั้งวงที่ชาย พก ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิศทาง : หันไปทางขวา
98.
เพลงเร็ว
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาแบหงายปลายนิ้ว ตก แขนตึ ง มื อ ซ้ า ยตั้ ง วงที่ ชายพก ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ถัดเท้าขวา ทิศทาง : เดินหน้าแล้วเปลี่ยน เอียงซ้าย เดินลงล่าง
65 ลาดับ 99.
เนื้อร้อง/ทานอง เพลงเร็ว
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : ลักคอตามจังหวะ มือ : มือขวาจีบสูง มือซ้ายจีบ หงายแขนตึงระดับไหล่ สะบัด มือจีบพร้อมกันทั้งสองข้าง ลาตัว : ลาตัวตรง เท้า : เดินถัดเท้าขวา ทิศทาง : เดินหมุนไปทางขวา
100.
เพลงเร็ว
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาส่ายมือแขนตึง มือซ้ายตั้งวงล่าง ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ถัดเท้าขวา ทิศทาง : หันไปทางซ้าย เดิน ขึ้น
101.
เพลงเร็ว
ศีรษะ : ลักคอตามจังหวะ มือ : สะบัดจีบเป็นวง ทั้งสอง ข้าง ลาตัว : ลาตัวตรง เท้า : ถัดเท้าขวา ทิศทาง : หันซ้ายเดินถัดลง
66 ลาดับ 101.
เนื้อร้อง/ทานอง เพลงเร็ว
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาแบหงายปลาย นิ้วตก มือขวาตั้งวงล่าง ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ถัดเท้าขวา ทิศทาง : หน้าตรง
101.
เพลงเร็ว
ศีรษะ : ลักคอ มือ : มือตั้งสองข้างสะบัดจีบ เป็นวง มือขวาแขนตึง ลาตัว :ลาตัวตรง เท้า : ถัดเท้าขวา ทิศทาง : หน้าตรง
102.
เพลงลา
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงแขนตึง มือ ซ้ายแบหงายปลายนิ้วตกแขน ตึง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : กระทุ้งหลังเท้าซ้าย ทิศทาง : หน้าตรง
103.
เพลงลา
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบระดับแง่ศีรษะ มือซ้ายตั้งวงที่ชายพก ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิศทาง : หันไปทางขวา
67 ลาดับ 104.
เนื้อร้อง/ทานอง เพลงลา
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายจีบระดับแง่ศีรษะ มือขวาตั้งวงล่าง ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิศทาง : หันไปทางซ้าย
105.
เพลงลา
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบหงายระดับ เอวงอแขนเล็กน้อย มือซ้ายตั้ง วงที่ชายพก ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ก้าวเท้าขวาแล้วหมุน ทิศทาง : หมุนไปทางซ้าย
106.
เพลงลา
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายจีบหงายระดับ เอว งอแขนเล็กน้อย มือขวา ตั้งวงที่ชายพก ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ก้าวเท้าซ้ายแล้วหมุน ทิศทาง : หมุนไปทางขวา
107.
ท้ายเพลงเร็ว
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงบน มือซ้าย ตั้งวงที่ชายพก ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ก้าวเท้าขวาแล้วหมุน ทิศทาง : หมุนไปทางซ้าย
68 ลาดับ 108.
เนื้อร้อง/ทานอง ท้ายเพลงเร็ว
ภาพอธิบายท่ารา
คาอธิบายท่ารา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงบน มือขวา ตั้งวงที่ชายพก ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิศทาง : หันไปทางขวา
109.
ท้ายเพลงเร็ว
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงแขนตึ ง ระดั บ ไหล่ มื อ ซ้ า ยแบหงาย ปลายนิ้วตกสูง ลาตัว : เอียงซ้าย เท้า : ก้าวข้างเท้าขวา ทิศทาง : หน้าตรง
110.
ท้ายเพลงเร็ว
ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงบน มือขวา จีบส่งหลัง ลาตัว : ย้อนตัวขวา แล้วเอียง ซ้าย เท้า : ก้าวข้างเท้าขวา ทิศทาง : หมุนไปทางขวา
111.
ท้ายเพลงเร็ว
ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงที่ชายพก มือซ้ายจีบส่งหลัง ลาตัว : เอียงขวา เท้า : ก้าวข้างเท้าซ้าย ทิศทาง : หน้าตรงวิ่งซอยเข้า หลังเวที
69 9. กลวิธีในการรา การแสดงราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด “ไกยเกษีทรงเครื่อง” นั้น เป็นศิลปะการรา แต่งองค์ทรงเครื่องอันงดงาม ลักษณะของการราไกยเกษีทรงเครื่องเป็นการราอวดฝีมือของผู้แสดงตาม บทร้อง โดยมีลีลาท่าราที่สง่างามและนุ่มนวลในแบบละครใน ผู้แสดงจะต้องราให้นิ่ง สง่างาม เน้นแสดง อารมณ์ให้ผู้ชมทราบว่าขณะนี้ผู้แสดงสวมใส่เครื่องแต่งกายอะไร จากท่าทางและสายตาของผู้แสดงที่มองไป ยังเครื่องแต่งกายนั้นๆ ที่กล่าวถึงขณะนั้น ตารางที่ 5 กลวิธีในการรา ชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง ท่าที่ รูปภาพ 1
กลวิธี ท่านอน นอนกล่อมหน้าเป็นเลขแปด เอามือ ซ้ายวางบนหมอนเพื่อไม่ให้ดูเกร็งเกินไป
2
ท่าลูบตัว ควรลูบจากบริเวณอกจนถึงบริเวณ เข็มขัด
3
ท่าล่อแก้ว ใช้การลักคอเพื่อเพิ่มความอ่อนช้อย
70 ท่าที่ 4
รูปภาพ
กลวิธี เป็นท่าที่ต้องสื่อแววตาให้ผู้ชม ใช้ การทิ้งหน้าเพื่อสื่ออารมณ์และแววตา
จากการศึ ก ษาการร าไกยเกษี ท รงเครื่ อ งท าให้ ท ราบถึ ง ประวั ติ ค วามเป็ น มาของการแสดงว่ า ราไกยเกษีทรงเครื่ อง อยู่ในเรื่ อง รามเกียรติ์ องค์ประกอบของการแสดงชุดนี้ คือ ดนตรีใช้ว งปี่พาทย์ เครื่องห้ามาบรรเลงด้วยเพลง เพลงกล่อมนารี เพลงเสมอ และเพลงชมตลาด เครื่องแต่งกายประกอบไปด้วย การแต่งกายยืนเครื่องนางสีเหลืองขลิบม่วงซับในสีเขียว ศีรษะใส่มงกุฎยอดนาง แต่งหน้าแบบยืนเครื่อง ละคร การแต่ ง หน้ า แบบยื น เครื่ อ งละคร รวมถึ ง กลวิ ธี ใ นการร าที่ ไ ด้ จ ากการสื บ ทอดท่ า ร า จากรองศาสตราจารย์ ดร. สวภา เวชสุ รั กษ์ ทาให้ นิสิ ต สามารถแสดงร าเดี่ ยวมาตรฐาน ชุ ด ไกยเกษี ทรงเครื่อง ได้อย่างสมบูรณ์ตามหลักและแบบแผนของนาฏศิลป์ไทย
บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ จากการศึ ก ษาและมารวบรวมข้ อ มู ล การแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐานทางด้ า นนาฏศิ ล ป์ ไ ทย ชุด “ไกยเกษีทรงเครื่อง” สามารถสรุปประวัติการแสดงองค์ประกอบการแสดงและกระบวนท่าราได้ดังนี้ 1. บทสรุป นางไกยเกษีเ ป็น ธิด าของท้า วไกยเกษกับ นางประไพแห่ง กรุง ไกยเกษ มีพระชันษา 15 ปี ต่ อ มาท้ า วไกยเกษทรงสุ บิ น โดยทรงทอดพระเนตรเห็นพระจันทร์ทรงกลดส่องสว่างทั่วท้องฟ้าและมี ดวงดาวล้อมรอบ และในท่ามกลางแสงจันทร์ก็ปรากฏราชรถที่เคลื่อนไปทั่วทั้งสี่ทวีป พระองค์ทรงตื่นจาก บรรทมโดยให้โหรทานาย โหรทานายว่า พระจันทร์ทรงกลดเปรียบเสมือนกษัตริย์ผู้ทรงอานาจ กษัตริย์อื่นๆ เปรียบดังดวงเดือนที่เป็นบริวาร แสงที่เจิดจ้าโดยทั่วไปทาให้อานุภาพในการปราบศัตรูทาให้เกิดความสงบ สุข การที่พระองค์ทรงราชรถไปทั่วทั้งสี่ทวีปเปรียบประดุจการขยายอานาจไปทั่วทุกทิศโดยไม่มีผู้ใดเสมอ เหมือน กษัตริย์องค์ที่กล่าวถึงเห็นจะเป็นท้าวอัชบาลที่ทรงอานาจแห่งกรุงอยุธยา ผู้ทรงมีพระราชกุมารนาม ว่า ท้าวทศรถ ครั้นท้าวไกยเกษทรงทราบดังนี้ พระองค์จึงทรงปรึกษากับมเหสีและตกลงกันว่าจะยกธิดาให้ อภิเษกกับท้าวทศรถโอรสท้าวอัชบาลเพื่อความเป็นมิตรของทั้งสองพระนคร ดังนั้นจึง ต้องมีการลงสรง ทรงเครื่องของนางไกยเกษีเพื่อเดินทางไปอภิเษกสมรสกับท้าวทศรถที่กรุงอยุธยา การแสดงชุ ด “ไกยเกษี ท รงเครื่ อ ง” เป็ น ผลงานนาฏยประดิ ษ ฐ์ ข อง รองศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุรักษ์ ปรากฏอยู่ใน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน อภิเษกสมรสนางไกยเกษี เครื่ องแต่งกายประกอบไปด้วยการแต่งกายยืนเครื่องนางสีเหลื องขลิ บม่ว งซับในสี เขียว ศีรษะ ใส่มงกุฎยอดนาง แต่งหน้าแบบยืนเครื่องละคร การแต่งหน้าแบบยืนเครื่องละคร เพลงประกอบการแสดง มีเพลง 5 เพลง ได้แก่ เพลงกล่อมนารี เป็นเพลงประเภทหน้าทับปรบไก่ อัตราชั้นเดียว, ร้องร่าย เป็นบทร้องที่ไม่มีการเอื้อน ร้องด้วยอัตราชั้นเดียว, เพลงเสมอ เป็นเพลงที่ใช้ในการ เดินทางใกล้ๆ, เพลงชมตลาด เป็นเพลงที่มีการเอื้อนน้อย นิยมใช้สาหรับการทรงเครื่อง และเพลงเร็ว – ลา บทร้องปรับปรุงจากบทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 1 บรรจุเพลงโดย อาจารย์ สมชาย ทับพร บรรเลง ด้วยเพลง เพลงกล่อนารี เพลงเสมอ และเพลงชมตลาด ดนตรี ที่ใช้ ใช้ ว งปี่ พาทย์ ไม้นวม โดยมีเครื่องดนตรี ดังนี้ 1. ขลุ่ ยเพียงออ 2. ระนาดเอก 3. ฆ้องวงใหญ่ 4. ตะโพน 5. กลองทัด 6. ฉิ่ง กลวิธีการราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด “ไกยเกษีทรงเครื่อง” นั้น เป็นศิลปะการรา แต่งองค์ทรงเครื่องอันงดงาม ลักษณะของการราไกยเกษีทรงเครื่องเป็นการราอวดฝีมือของผู้แสดงตามบท ร้อง โดยมีลีลาท่าราที่สง่างามและนุ่มนวลในแบบละครใน ผู้แสดงจะต้องราให้นิ่ง สง่างาม เน้นแสดงอารมณ์
71 ให้ผู้ชมทราบว่าขณะนี้ผู้แสดงสวมใส่เครื่องแต่งกายลักษณะใด จากท่าทางและสายตาของผู้แสดงที่มองไปยัง เครื่องแต่งกายนั้นๆที่กล่าวถึงขณะนั้น 2. ข้อเสนอแนะ 1. ผู้ แสดงควรศึกษาข้อมูลในบทบาทของตัว ละครนั้นๆ เพื่อถ่ายทอดบทบาทของตัว ละครนั้น ออกมาได้เป็นอย่างดี 2. ควรมีการเตรียมพร้อมในเรื่องต่างๆ เช่น ความพร้อมทางด้านร่างกาย และความรู้ในเรื่องรา เดี่ยวมาตรฐาน ชุด “ไกยเกษีทรงเครื่อง” ก่อนเข้ารับการถ่ายทอดท่าราจากผู้เชี่ยวชาญ 3. ท่าราอาจจะมีการปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมของผู้แสดง ควรมีการจดบันทึกท่าราทุกครั้ง หลังจากได้รับการสืบทอด เพื่อช่วยจาในการซ้อมครั้งต่อไป 4. ควรตรวจเช็คเครื่องแต่งกายก่อนถึงวันแสดง เพื่อความถูกต้องและความสมบูรณ์ของเครื่องแต่งกาย
บรรณานุกรม
72 บรรณานุกรม เด่นนภา โพพิมล. (2557). ไกยเกษีทรงเครื่อง. โครงการปริญญานิพนธ์การสอบราเดี่ยวมาตรฐาน ศศบ. มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก. ลักขณา แสงแดง. (2555). สูจิบัตร. การสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางนาฏศิลป์ไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2535). ร้องราทาเพลง : ดนตรีและนาฏศิลป์ของชาวสยาม. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มติชน. สุมลมาลย์ นิ่มเนติพันธ์. (2543). การละครไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วัฒนาพาณิชย์. เว็บไซต์ บุญวิชญ์ สานา. (สิงหาคม 2557). ดนตรีศึกษา 1. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน 2561, จาก hs2kvo.blogspot.com/2014/08/blog
ภาคผนวก
73 ภาคผนวก ก ประมวลภาพการสืบทอดท่ารา ชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง
ภาพ รองศาสตราจารย์ ดร. สวภา เวชสุรักษ์ (ขวา) นางสาวไอยรดา อาจจีน (ซ้าย) ที่มา: นางสาวมัลลิกา กล้าการขาย, วันที่ 9 สิงหาคม 2561
ภาพ การถ่ายทอดท่าราการถัดเท้า ในเพลงเร็ว – ลา ที่มา: นางสาวมัลลิกา กล้าการขาย, วันที่ 9 สิงหาคม 2561
74 ภาคผนวก ข ประมวลภาพวันโครงการสอบราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง
ภาพ การแสดงชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง ปฏิบัติท่าผาลา ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นายพันธกานต์ หอมสุวรรณ (31 สิงหาคม 2561)
ภาพ การแสดงชุด ไกยเกษีทรงเครื่อง ที่มา: นางสาวไอยรดา อาจจีน, ผู้ถ่ายภาพ นายพันธกานต์ หอมสุวรรณ (31 สิงหาคม 2561)
75
ภาพ ดร.จิตติมา นาคีเภท อาจารย์ที่ปรึกษา(ซ้าย) นางสาวไอยรดา อาจจีน(ขวา) ที่มา: ผู้ถ่ายภาพ นายพันธกานต์ หอมสุวรรณ (31 สิงหาคม 2561)
ภาพ นิสิตชั้นปีที่ 4 สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย รุ่น 16 ที่มา: ผู้ถ่ายภาพ นายพันธกานต์ หอมสุวรรณ (31 สิงหาคม 2561)
76
ภาพ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์ประจาภาควิชานาฏศิลป์ไทย และนิสิตสาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ที่มา: ผู้ถ่ายภาพ นายพันธกานต์ หอมสุวรรณ (31 สิงหาคม 2561)
ภาพ ครอบครัว ที่มา: ผู้ถ่ายภาพ นายพันธกานต์ หอมสุวรรณ (31 สิงหาคม 2561)
77
ประวัติส่วนตัว ชื่อ-นามสกุล นางสาวไอยรดา อาจจีน เกิด 16 ตุลาคม 2539 สัญชาติ: ไทย เชื้อชาติ: ไทย ศาสนา: พุทธ สาเร็จการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา: โรงเรียนพรหมอนุสรณ์ สาเร็จการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษา: โรงเรียนหนองบัว ปัจจุบันกาลังศึกษาระดับอุดมศึกษา: สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่อยู่ปัจจุบัน: 439/1 ม. 8 ต. วังบ่อ อ. หนองบัว จ. นครสวรรค์ 60110 โทรศัพท์: 098-3395228 อีเมลล์: Film60611@gmail.com