อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด กุสุมาทรงเครื่อง

Page 1

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลปไทย ชุด กุสมุ าทรงเครื่อง

นางสาวศรศิลป วันชะนะ

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลปไทยฉบับนีเ้ ปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลปไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ปการศึกษา 2561


อาศรมศึกษาทางนาฏศิลปไทย ชุด “กุสุมาทรงเครือ่ ง” ของ นางสาวศรศิลป วันชะนะ ไดรบั การพิจารณาใหนบั เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต (นาฏศิลปไทย) คณะกรรมการอาศรมศึกษาทางนาฏศิลปไทย ...................................................................................................................อาจารยที่ปรึกษา (อาจารยรัชดาพร สุคโต) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.รุงนภา ฉิมพุฒ) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.จิตติมา นาคีเภท) ...................................................................................................................กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยประภาศรี ศรีประดิษฐ) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารยอุบลวรรณ โตอวยพร) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารยภูริตา เรืองจิรยศ) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารยวรวิทย ทองเนื้อออน) อนุมัติ ................................................................ (ดร.จิตติมา นาคีเภท) หัวหนาภาควิชาศิลปะการแสดง


ประกาศคุณูปการ อาศรมศึกษาทางนาฏศิลปไทย ชุด กุสุมาทรงเครื่อง เลมนี้ สําเร็จลงไดดวยความกรุณาอยาง ยิ่งจาก ดร.พัชรินทร สันติอัชวรรณ ที่ไดใหความอนุเคราะหถายทอดกระบวนทารําเดี่ยว ชุด กุสุมา ทรงเครื่อง ดวยความเอาใจใสเปนอยางยิ่ง ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ ที่นี้ ขอกราบขอบพระคุณอาจารยที่ปรึกษา อาจารยรัชดาพร สุคโต ที่ไดใหคําแนะนําปรึกษา ตลอดจนตรวจแกไขขอบกพรอง ดวยความเอาใจใสเปนอยางยิ่ง จนการศึกษาคนควา ดวยตนเอง สําเร็จสมบูรณได ผูศึกษาคนควาขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ ที่นี้ ขอกราบขอบพระคุณ ดร.จิตติมา นาคีเภท อาจารยประจําภาควิชา การศึกษามหาวิทยาลัย ที่กรุณาใหคําแนะนํา จนทําใหการศึกษาคนควาครั้งนี้สมบูรณและมีคุณคา คุณคาและคุณประโยชนอันพึงจะมีจากอาศรมศึกษาเลมนี้ ผูวิจัยขอมอบและอุทิศแดผูมี พระคุณทุกๆ ทาน ผูว ิจัยหวังเปนอยางยิ่งวา งานวิจัยฉบับนี้จะเปนประโยชนตอผูที่สนใจบางไมมากก็ นอย

ศรศิลป วันชะนะ


สารบัญ บทที่

หนา

1 บทนํา…………………………………………………………................................….……...…..…… ความสําคัญของการถายทอดทารํา....……………………….........…………….......……… วัตถุประสงค......................................……………………….........…………….......……… วิธีดําเนินงาน.....................................……………………….........……………....…...…… ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ................……………………….........…………….......……… นิยามศัพทเฉพาะ..............................……………………….........……………....…...……

1 1 2 2 3 3

2 ประวัติผูถา ยทอดทารํา............................................................................................. ประวัติสวนตัว...................................……………………….........………....…………...… ประวัติการศึกษา................................……………………….........……………...………… ประวัติการทํางาน..............................……………………….........………………………… ผลงานทางดานวิชาการและการแสดง……………………….........……………...………… ประวัติการสืบทอดและการถายทอดทารํา……………..……….........………...………… แผนผังการสืบทอดและถายทอดทารํา.……………………….........…………....……...…

4 4 4 4 5 6 6

3 วิธดี าํ เนินการสืบทอดและฝกหัด.............................................................................. ขั้นตอนในการสืบทอดและฝกหัด.......……………………….........………….……..……… ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝกหัด...........….........…………….......……… อุปกรณในการสืบทอดและฝกหัด......……………………….........……………....…...…… พัฒนาการในการสืบทอดและฝกหัด.……………………….........……………....……...…

7 7 8 10 10


สารบัญ บทที่

หนา

4 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลปไทย ชุด กุสุมาทรงเครื่อง.......….....……………....…………… ประวัติความเปนมาของการแสดง………………..……….........……………....…………… เรื่องยอของการแสดง……………………...................….........…………..…....…………… บทรอง……………………….........……………....……...........................................……… ดนตรีที่ใชประกอบการแสดง……………………….........…………….............…………… ฉากและองคประกอบการแสดง……………………….........……………....….....………… เครื่องแตงกายและการแตงหนา……………………….........…………….........…………… นาฏยศัพทที่ใชในการแสดง……………………….........……………................…………… กระบวนทารําและการใชพื้นที่………………………................……………....…………… กลวิธีในการรํา................................……………………….........……………....……………

11 11 11 12 13 13 14 24 26 50

5 บทสรุปและขอเสนอแนะ.......................................................................................... บทสรุป................................……………………......………….....................…….………. ขอเสนอแนะ………………………………........................……....…………………....……….

51 51 52

บรรณานุกรม.................................................................................................................

53

ภาคผนวก………………………....……………………………………….………………........................

54

ประวัติผวู จิ ัย………………………………………………………….…………….................................

60


สารบัญตาราง ตาราง 1 2 3 4 5

หนา แสดงตารางที่ 1 : แผนการดําเนินงาน………………....…......…...…………………………….. แสดงตารางที่ 2 ตารางระยะเวลาและสถานที่สืบทอดทารํา ……...…........................... แสดงตารางที่ 3 ตารางระยะเวลาและสถานทีฝ่ กซอมกับอาจารยทปี่ รึกษา…............... แสดงตารางที่ 4 ตารางพัฒนาการในการสืบทอดและฝกหัด…………………………….….... แสดงตารางที่ 5 : ตารางกระบวนทารําและการใชพื้นที…่ …………………………………......

2 9

9 10 26


สารบัญภาพ ภาพ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

หนา ภาพที่ 1 ภาพ ดร.พัชรินทร สันติอัชวรรณ............................................................ ภาพที่ 2 ภาพหองแตงตัวการแสดงชุด กุสุมาทรงเครื่อง………………………………..... ภาพที่ 3 ภาพเครื่องแตงกายและการแตงหนาการแสดงชุด กุสุมาทรงเครื่อง............ ภาพที่ 4 ภาพรัดเกลายอดและอุบะดอกไมทัด……………………………………................. ภาพที่ 5 ภาพทายชองและจะหู……………………………………....………….........…........... ภาพที่ 6 ภาพเสื้อในนาง....................……………………………………....……………........... ภาพที่ 7 ภาพผาหมนางสีน้ําเงินคลิบแดง……………………………………....…….….......... ภาพที่ 8 ภาพกรองคอสีแดง..............……………………………………....………….............. ภาพที่ 9 ภาพผายกสีแดง.......................................................................................... ภาพที่ 10 ภาพจี้นาง.................................................................................................. ภาพที่ 11 ภาพเข็มขัด.............................................................................................. ภาพที่ 12 ภาพปนเหนง........................................................................................... ภาพที่ 13 ภาพสะอิ้ง................................................................................................. ภาพที่ 14 ภาพกําไลตนแขน.................................................................................... ภาพที่ 15 ภาพกําไลแผลง........................................................................................ ภาพที่ 16 ภาพปะวะหล่ําและแหวนรอบขอมือ........................................................ ภาพที่ 18 ภาพธํามรงค............................................................................................ ภาพที่ 19 ภาพกําไลขอเทาและแหวนรอบขอเทา.................................................... ภาพที่ 20 ภาพพัดดามจิ้ว......................................................................................... ภาพที่ 21 ภาพตางหู................................................................................................

7 13

14 15 16 16 17 17 18 18 19 19 20 20 21 21 22 22 23 23



บทที่ 1 บทนํา 1. ความสําคัญของการถายทอดทารํา การแสดงนาฏศิลปไทยมีการอนุรักษสืบทอดกันมาชานานแตบรรพกาล นาฏศิลปจากรุนสูรุน ไดรับการถายทอด แสดงออก และขัดเกลาทารํา จนกระทั่งมีความสวยงามลงตัวและเปนกระบวน ทา รําตนแบบมาตรฐาน ซึ่งปรากฏออกมาในรูปแบบของการรําหลายชนิด อาทิ รําเดี่ยว รําคู รําหมู หรือ การแสดงที่เปนเรื่องราว แตกระบวนทารําที่มีนาฏยลักษณเฉพาะตัวและใชเปนการแสดงเพื่ออวดฝมือ ที่สําคัญอยางยิ่งประเภทหนึ่งนั้นคือ การแสดงรําเดี่ยว รําเดี่ยว เปนการรําคนเดียวเพื่ออวดฝมือและ ความสามารถทางการรําในระดับสูง ซึ่งปรากฏอยูในการแสดงโขนและละคร การแสดงรําเดี่ยวนั้นผู แสดงรําเดี่ยวจะตองถายทอดกระบวนการรายรํา ลีลา และอารมณออกมาอยางกลมกลืนและลงตัว เปนภาพที่งดงามตรึงตราตรึงใจ ที่สําคัญในการแสดงรําเดี่ยว จะตองใชทักษะความสามารถในการรํา ในขณะเดียวกันก็ตองมีจริตกริยาเชิญชวนผูชมใหติดตาม ซึ่งทําไดโดยการใชอารมณความรูสึกผานทาง สีหนาและดวงตา คือ ผูนําจะตองสงสายตาและรอยยิ้มไปยังผูชมที่นั่งชมอยางทั่วถึงจึงจะสามารถ ถายทอดอารมณไปสูผ ูชมใหติดตามการรํานั้นดวยความรื่นรมย สนุกสนานเพลิดเพลินและประทับใจ รําเดี่ยวประเภทรําทรงเครื่อง เปนการรําเพื่ออธิบายถึงการสวมใสเครื่องแตงกาย และสวมใส เครื่องประดับที่ตัวละครสวมใสอยู รําทรงเครื่องหรือแตงตัว จะกลาวถึง การอาบน้ําชําระรางกายให สะอาดหมดจดสดชื่น ประพรมเครื่องหอม และแตงกายใสเครื่องประดับใหสมกับฐานันดรศักดิ์ เพื่อ ความยิ่งใหญ ภูมิฐานและมีสงาราศี กอนที่จะไปทําภารกิจสําคัญ เชน การออกรบ การบูชายัญ หรือ การทํา และการเดินทาง เปนตน รําเดี่ยวชุด กุสุมาทรงเครื่อง เปนการแสดงอยูในละครใน เรื่อง อิเหนา ตอน กุสุมาทูลลานาง บุบษากลับเมืองปกมาหงันกับสังคามาระตา กุสุมา เปนบุตรีของทาวลาสํา เจาเมืองลาสํา เมื่อครั้งที่ นางบุษบาถูกแปลงองคเปนชายชื่อ อุณากรรณ ทาวลาสําไดถวายนางกุสุมาใหเปนพระชายาของอุณา กรรณ อุณากรรณรูดีวาตนเปนหญิง จึงออกอุบายแกนางกุสุมาวา ตนไดบนบานไววาจะไมรวมสังวาส กับนางใดเปนเวลา 3 ป และไดหลบหนีไป ทาวลาสําไดขาววาอุณากรรณหายไปจึงยกทัพมาของกุสุมา คืน แตทาวประมอตันปฏิเสธเนื่องจากอุณากรรณไดยกเชลยใหปนหยีสงครามจึงเกิดขึ้น ปนหยีไดสั่ง ใหสังคามาระตาตามมาชวยระตูประมอตันรบ เมื่อไดรับชัยชนะแลวก็ประธานนางกุสุมาเปนรางวัล กอนที่สังคามาระตาจะกลับไปเมืองปกมาหงัน สังคามาระตาจึงใหนางกุสุมาไปทูลลานางบุษบา นาง กุสุมาจึงแตงองคทรงเครื่องกอนจะเดินทางไปพบนางบุษบา


2. วัตถุประสงค 1. เพื่อประมวลความรูทางดานนาฏศิลปไทยจากผูทรงคุณวุฒิ 2. เพื่ อ รั บ การถ า ยทอดและฝ ก ฝนท า รํ า ตามแนวทางและวิ ธี ก ารเรี ย นการสอนของ ผูทรงคุณวุฒิทางดานนาฏศิลปไทย 3. เพื่อเรียนรูเทคนิคเฉพาะของบทบาท ลีลา ทารํา ซึ่งแตกตางกันไปในแตละเพลง แตละ สายของครูผูสอน 4. เพื่อเก็บขอมูลและบันทึกขอมูลที่เปนประโยชน เพื่อนํามาเปนแนวทางในการอางอิงใน การเรียนการสอนทางดานนาฏศิลปไทยสืบไป 3. วิธีดําเนินงาน การศึกษาการแสดงรําเดี่ยว ชุด กุสุมาทรงเครื่อง 1. ศึกษาจากหนังสือ 1.1 หนังสือรําเดี่ยวแบบมาตรฐานตัวนางเลม 1 โดย ผุสดี หลิ่มสกุล 2. ศึกษาจากวิทยานิพนธ 2.1 โครงการปริญญานิพนธการรําเดี่ยวมาตรฐาน ชุด กุสุมาทรงเครื่อง 3. ศึกษาจากเว็บไซต 3.1 วีดีทัศการแสดงรําเดี่ยวมาตรฐาน ชุด กุสุมาทรงเครื่อง สืบคนจาก https:// www.youtube.com/watch?v=NmYtZHkiNOY เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2561, ตารางที่ 1 : แผนการดําเนินงาน วิธกี ารดําเนินงาน 1. เสนอหัวขอสอบรําเดี่ยว 2. การคนหาตํารา ขอมูลที่ เกี่ยวของเพิ่มเติม 3. ฝกซอมการแสดง 4. สงรูปเลม แกไขรุ)เลม

ขั้นตอนการดําเนินงานเดือนสิงหาคม – ธันวาคม 2561 มิถนุ ายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม


4. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ผูเรียนสามารถนําความรูที่ไดจากผูถายทอดทารํามาประยุกตใชในการเรียน 2. ผูเรียนสามารถเรียนรูกลวิธี กระบวนทารํา จากผูถายทอดทารํา มาใชในการแสดงรําเดี่ยว ไดอยางสวยงาม สมบทบาท และถูกตองตามแบบแผนการรําเดี่ยว ชุด กุสุมาทรงเครื่อง 3. จดบันทึกความรูเ หลานี้ไวเปนลายลักษณอักษรไมใหสูญหายไป ประกอบกับเพื่อบันทึกไว ใหเปนประโยชนทางดานการเรียนการสอนนาฏศิลปไทยสืบไป 5. นิยามศัพทเฉพาะ 1. ประจํายาม แปลวา ชื่อลายไทยชนิดหนึ่ง มีรูปดอก 4 กลีบ จะแทรกอยูระหวางลาย ตางๆ หรือคั่นลายตางๆ ซึ่งในบทรองนี้ จะกลาวถึงลายประจํายามที่แทรกอยูบนลายเข็มขัด 2. พัดดามจิ้ว แปลวา พั ด ที่ ค ลี่ อ อกและสามารถพั บ ได ทํ า จากเนื้ อ ไม จั น ทร ใช ประกอบการแสดงในชวงของเพลงเร็ว ในการแสดง ชุด กุสุมาทรงเครื่อง


บทที่ 2 ประวัติผูถา ยทอดทารํา 1. ประวัติผูถา ยทอดทารํา ชื่อ ดร. พัชรินทร สันติอัชวรรณ เกิดเมื่อวันที่ 1 กรกฏาคม 2526 บิดา นายบุญธรรม สันติอัชวรรณ มารดา นางสิริพร สันติอัชวรรณ 2. ประวัติการศึกษา 2547 ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต (นาฏยศิลป) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (เกียรตินิยมอันดับหนึ่งเหรียญทอง) 2551 ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (นาฏยศิลปไทย) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2558 ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (นาฏยศิลปไทย) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3. ประวัติการทํางาน หนวยงานที่สังกัด ภาควิชานาฏยศิลป คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรรมการและเลขานุการภาควิชานาฏยศิลป คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ป พ.ศ. 2554-2558 กรรมการฝายวิชาการคณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ป พ.ศ. 2557-2558 กรรมการบริหารภาคคณาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ป พ.ศ. 2559 กรรมการจรรยาบรรณคณาจารย สภาคณาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ป พ.ศ. 2560 กรรมการบริหารคณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ป พ.ศ.2557–ปจจุบัน เลขานุการคณะกรรมการบริหารคณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ป พ.ศ. 2560-ปจจุบัน กรรมการฝายวิจัย คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ป พ.ศ. 2560-ปจจุบัน กองวารสารศิลปกรรมศาสตร คณะศิลปกรรมศาสตร จุ ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ป พ.ศ. 2560-ปจจุบัน


4. ผลงานทางดานวิชาการและการแสดง 4.1 ผลงานดานวิชาการ 1. วีดีทัศนและรายงานสรุปโครงการ บันทึกนาฏยลีลาแหงแผนดิน ไดรับ ทุนสนับสนุน โครงการตามแผนยุทธศาสตรดานทํา นุบํา รุงศิลปวัฒ นธรรม คณะศิล ปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัยประจําปงบประมาณ 2559 2. งานวิจัยเรื่อง การวิจัยนาฏยศิลป ปญหาจากกระบวนการวิจัยและแนวทางแกไข ไดรับทุน สนับ สนุน โครงการตามแผนยุทธศาสตรดานศิลปวัฒ นธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร จุ ฬ าลงกรณ มหาวิทยาลัย ประจําปงบประมาณ 2559 3. บทความวิจัยเรื่อง แนวทางการแกไขปญหาการวิจัยนาฏยศิลป: ระบบความคิดและการใช ภาษา ไดรับการตอบรับใหตีพิมพในวารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ ปที่ 19 ฉบับที่ 2(38) มกราคม-มิถุนายน 2561 (TCI 1) 4. บทความวิชาการเรื่อง สุนทรียภาพในระบําโบราณคดี ไดรับการตอบรับใหตีพิมพใน วารสารจันทรเกษมสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ปที่ 23 ฉบับที่ 45 กรกฎาคม-ธันวาคม 2560 (TCI 2) 4.2 ผลงานดานการแสดง ผูชวยกํากับการแสดงเนื่องในพิธีเปดกีฬามหาวิทยาลัยครั้งที่ 38 จามจุรีเกมส ณ สนามกีฬา แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2553 ผลงานสรางสรรคระบําอํานวยพรเนื่องในงานเปดโครงการสัมมนาวิชาการทางดานนาฏยศิลป นาฏยศิลปเพื่อหมูมวลมนุษยชาติ ครั้งที่ 2 (DANCE FOR ALL II)ประจําปการศึกษา 2554 ณ หอ แสดงดนตรี อาคารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผลงานสรางสรรค ชุด การออกแบบทารําบทบาทนางมณีเมขลาและพระอรชุน ออกแบบและ แสดงบทบาทนางมณีเมขลารวมในขบวนการแสดงวัฒนธรรมอาหารไทย เนื่องในงาน 2012 Rotary International Convention Bangkok”(Host Hospitality Night) 7 พฤษภาคม 2555 ณ เอ็กซิ บิชั่นเซ็นเตอรฮอลล1-4 ศูนยแสดงสินคาและการประชุมอิมแพค เมืองทองธานี กรรมการและเลขานุการ โครงการสร างมาตรฐานการยกยองศิลป นทางดานนาฏยศิล ป ภายใตโครงการศูนยศิลปะเพื่อมวลมนุษย เงินทุนจุฬาฯ 100 ป ปงบประมาณ 2554 – 2556 ผลงานสรางสรรค ชุด เกษียณสวัสดี กินรีมุทิตา เนื่องในโครงการแสดงมุทิตาจิตแดอาจารย และบุ คลากรเกษี ยณอายุร าชการ ประจํา ปง บประมาณ 2556 ณ โถงคณะศิล ปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แสดงเดี่ยวมาตรฐานชุด บุษบาชมสวนขวัญ เมื่อ พ.ศ. 2556 ณ วังสวนผักกาด


อาจารยผูดูแลนิสิตและควบคุมการฝกซอมการแสดงนาฏศิลปไทย ในโครงการThe 11th ASEAN Youth Culture Forum เมื่อ 4 – 9 สิงหาคม 2556 ณ MALAYA UNIVERSITY, MALAYSIA อาจารยผูควบคุมการฝกซอมการแสดงรําเดี่ยวแบบมาตรฐานชุด ศรีสุดาทรงเครื่อง ในงาน มหกรรมศิลปะ ดนตรีและการแสดง (นานาชาติ) ครั้งที่4 เมื่อ 12 มิถุนายน 2557 ณ อาคารนวัตกรรม ศาสตราจารย ดร.สาโรช บัวศรี มหาวิทยาลัยศรีนครินรวิโรฒ กรรมการเลขานุการโครงการยุทธศาสตรสูความเปนเลิศดานศิลปะไทย สาขาวิชานาฏยศิลป ไทย คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2556 – 2558 วิทยากรบรรยายและอาจารยผูควบคุมการแสดงชุดการแสดงนาฏยศิลปไทยเพื่อเผยแพรใน โครงการ เอกลักษณไทย ภาษาไทย ภาษาถิ่น ปการศึกษา 2557 – 2559 ณ โรงเรียนสาธิตแพง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ฝายประถม) กรรมการและเลขานุการโครงการสัมมนาวิชาการทางดานนาฏยศิลป แนวทางการเขียน บทความวิจัยทางดานนาฏยศิลปเพื่อการตีพิมพในระดับชาติและนานาชาติ” ตามโครงการยุทธศาสตร ของคณะศิลปกรรมศาสตรดานการวิจัย ประจําปงบประมาณ 2558 กรรมการและเลขานุการโครงการสัมมนาวิชาการทางดานนาฏยศิลป กระบวนการนาฏย ประดิษฐ: การบูรณาการงานสรางสรรค กานวิจัย และการแสดงศิลป ตามโครงการยุทธศาสตรของ คณะศิลปกรรมศาสตรดานศิลปวัฒนธรรม ประจําปงบประมาณ2558 แสดงเดี่ยวรํามาตรฐานตัวนางชุด รจนาทรงเครื่อง ในงานมหกรรมศิลปะ ดนตรีและการแสดง (นานาชาติ) ครั้งที่ 6 เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2559 ณ อาคารนวัตกรรมศาสตราจารย ดร.สาโรช บัวศรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผูรับผิดชอบโครงการเผแพรการแสดงนาฏยศิลปไทยแนะนาฏยศิลปตะวันตก เนื่องในเทศกาล ดนตรีและการแสดง (นานาชาติ) ณ มหาวิทยาลัยบูรพา ตามแผนยุทธศาสตรดานการบริหารวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปงบประมาณ 2559 วิทยากรบรรยายเรื่อ ง “การเขี ยนงานวิจั ยนาฏศิลป เชิง อนุรัก ษ” ให แกโ ครงการสั มมนา วิชาการดานนาฏศิลป คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี 5 มกราคม 2560 ผูถา ยทอดรําเดี่ย วมาตรฐานตัว นางใหแ กนิสิต จุฬาลงกรณม หาวิทยาลัยและนั กศึก ษาใน สถาบันการศึกษาตางๆ อาทิ มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏ บานสมเด็จเจาพระยา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี มหาวิทยาลัยนเรศวร เปน ตน


ภาพที่ 1 : ภาพ ดร.พัชรินทร สันติอชั วรรณ ที่มา : Benewsonline. มหกรรมศิลปะการแสดงภูมิภาคอาเซียน ครัง้ ที่ 6. จาก http:// www.benewsonline.com/home/2016/07/9381111. สืบคนเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2561. 5. ประวัติการสืบทอดและการถายทอดทารํา ประวัติการสืบทอดการแสดงรําเดี่ยว ชุด กุสุมาทรงเครื่อง ครั้งนี้ไดรับการถายทอดกระบวน ทารําจาก ดร. พัชรินทร สันติอัชวรรณ ซึ่ง ดร. พัชรินทร สันติอัชวรรณ ไดรับถายทอดกระบวนทารํา การแสดงรําเดี่ยว ชุด กุสุมาทรงเครื่อง มาจาก รองศาสตราจารย ผุสดี หลิมสกุล รําเดี่ยวชุด กุสุมา ทรงเครื่อง เปนการแสดงรําเดี่ยวอยูในละครใน เรื่อง ประดิษฐขึ้นโดย รองศาสตราจารย ผุสดี หลิม สกุล ไดสรางสรรคขึ้นใหมเมื่อตนป พ. ศ. 2546 6. แผนผังการสืบทอดและถายทอดทารํา รองศาสตราจารย ผุสดี หลิมสกุล

อาจารยรัชดาพร สุคโต พ.ศ. 2547 นางสาวนิรัชดา สุขหนุน พ.ศ. 2547

ดร.พัชรินทร สันติอัชวรรณ พ.ศ. 2561 นางสาวศรศิลป วันชะนะ พ.ศ. 2561


บทที่ 3 วิธดี ําเนินการสืบทอดและฝกหัด การศึกษา คือ กระบวนการสั่งสอน กระบวนการฝกอบรม หรือกระบวนการถายทอดความรู ความเชี่ยวชาญตางๆ และกระบวนการปลูกฝงนิสัย ทัศนคติ คานิยม ตลอดจนความรูสึกนึกคิดที่รวม เรียกวา ประสบการณ ในอดีตการศึกษาเปนกระบวนการหนึ่งที่มุงรักษาวัฒนธรรมของสังคม แตใน ปจ จุบั นโลกแห ง วิ วัฒ นาการทั้ ง ดา นสัง คมและข า วสาร การศึก ษาจึ งถู กปรั บ เปลี่ย นให กลายเป น กระบวนการเพื่ อพัฒนาทรัพ ยากรมนุษ ยให มีค วามเจริ ญทั้ง แกตนเองและสัง คม การศึก ษาจึ งถู ก นําไปใชเปนเครื่องมือในการพัฒนาประเทศใหเจริญกาวหนาในทุกๆดาน การสอนรําเดี่ยวมาตรฐาน มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาคนควารวบรวมขอมูลจากผูทรงคุณวุฒิที่มี ความรู ความชํานาญที่ไดสั่งสมประสบการณจนเกิดเปนความเชี่ยวชาญทางดานนาฏศิลปไทยโดยเปน ที่ ย อมรั บ ในวงวิ ช าชี พ ในการศึ ก ษามี ลั ก ษณะเป น การถ า ยทอดประกอบการฝ ก หั ด ปฏิ บั ติ จ าก ผู ท รงคุณ วุฒิ โ ดยตรง โดยมุ ง ที่ ก ระบวนการฝ ก ทั ก ษะเป น สํ า คัญ อี ก ทั้ ง มี ก ารกํ า หนดระยะเวลา เนื้อหาวิชาที่ศึกษา กิจกรรมที่ใชในการเรียนการสอน ตลอดจนมีการบันทึกทารําไวเปนลายลักษณ อักษร ในการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยไดขอฝากตัวเปนศิษยของ ดร.พัชรินทร สันติอัชวรรณ และเมื่อทาน ยินดีทําการถายทอดวิชาในครั้งนี้ ผูวิจัยไดเรียนปรึกษาในเรื่องของการคัดเลือกเพลงที่รําตามเกณฑที่ หลักสูตรกําหนด คือ การแสดงรําเดี่ยว ชุด กุสุมาทรงเครื่อง การแสดงรําเดี่ยว ชุด กุสุมาทรงเครื่อง เปนการแสดงที่มีลีลาการรายรําที่งดงาม บทรองนํามา จากบทพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย เนื้อเพลงและทาของการรายรํา กลาวถึง การแตงกาย การประดับเครื่องประดับตางๆ ที่งดงามของนางกุสุมา 1. ขั้นตอนในการสืบทอดและฝกหัด ขั้นตอนในการสืบทอดการแสดงรําเดี่ยว ชุด กุสุมาทรงเครื่อง มีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ความเป น มาและความสํ า คั ญ ของการแสดงชุ ด กุ สุ ม า ทรงเครื่อง ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาบทรองและทํานองเพลง การแสดงรําเดี่ยว ชุด กุสุมาทรงเครื่อง ขั้นตอนที่ 3 ฝกหัดรองเพลง ตนเขามาน เพลงชมตลาด และเพลงเร็ว-ลา ในการแสดงรํา เดี่ยว ชุด กุสุมาทรงเครื่อง


ขั้นตอนที่ 4 ทรงเครื่อง ขั้นตอนที่ 5 ถายทอดทารํา ขั้นตอนที่ 6 ทรงเครื่อง ขั้นตอนที่ 7 พบผูถ ายทอดทารํา ขั้นตอนที่ 8

ฝกปฏิบัติทารําตามเพลงและภาพจากวีดีโ อ การแสดงรําเดี่ยว ชุด กุสุมา เข า พบอาจารย ที่ ป รึ ก ษา ทบทวนท า รํ า แก ไ ขข อ บกพร อ งก อ นไปพบผู รับ การถ ายทอดท า รําจากผูถา ยทอดทา รํ า การแสดงรํา เดี่ย ว ชุ ด กุสุม า เขาพบอาจารยที่ปรึกษา รับฟงคําแนะนําและแกไขขอบกพรอง หลังจากไป ทบทวนทารํา

2. ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝกหัด ตารางที่ 2 ตารางระยะเวลาและสถานที่สืบทอดทารํา ลําดับ 1

วันที่ 17ก.ค. 61

สถานที่ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

2

23 ก.ค. 61

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

3

3 ส.ค. 61

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

เนื้อหาที่เรียน หมายเหตุ รองเพลงกุสุมาทรงเครื่อง ตอทารํา เพลงตนเขา มานและเนื้อ รองเพลง ชมตลาดทอนแรก ต อ ท า รํ า ท อ นเนื้ อ เพลงจนจบเนื้ อ รอง ตอทารําเพลงเร็ว-ลา

ตารางที่ 3 ตารางระยะเวลาและสถานที่ ฝกซอมกับอาจารยที่ปรึกษา ลําดับ วันที่ 1 19 มิ.ย. 61 2 3 4 5

25 มิ.ย. 61 29 มิ.ย. 61 5 ก.ค. 61 6 ก.ค. 61

สถานที่ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยนเรศวร

รายละเอียด ฝกรองเพลงตนเขามาน เพลงชมตลาด และเพลงเร็ว-ลา กับอาจารยที่ปรึกษา ฝกรําเพลง กุสุมาทรงเครื่อง ฝกรําเพลง กุสุมาทรงเครื่อง ฝกรําเพลง กุสุมาทรงเครื่อง ฝกรําเพลง กุสุมาทรงเครื่อง

หมายเหตุ


ลําดับ 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

วันที่ 13 ก.ค.61 16 ก.ค. 61 13 ส.ค. 61 14 ส.ค. 61 15 ส.ค. 61 16 ส.ค. 61 21 ส.ค. 61 29 ส.ค. 61 30 ส.ค. 61 11 ส.ค. 61

สถานที่ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยนเรศวร

รายละเอียด ฝกรําเพลง กุสุมาทรงเครื่อง ฝกรําเพลง กุสุมาทรงเครื่อง ฝกรําเพลง กุสุมาทรงเครื่อง ฝกรําเพลง กุสุมาทรงเครื่อง ฝกรําเพลง กุสุมาทรงเครื่อง ฝกรําเพลง กุสุมาทรงเครื่อง ฝกรําเพลง กุสุมาทรงเครื่อง สอบรําเดี่ยวมาตรฐาน 100% ซอมใหญ แสดงจริง

หมายเหตุ

3. อุปกรณในการสืบทอดและฝกหัด 1. Computer สําหรับเปดเพลง 2. กองบันทึกภาพและวีดีโอ (Smart Phone) 3. ตั่งแดง 1 ตัว 4. เครื่องราชูปโภค 5. พัดดามจิ้ว 6. ตั่งเล็ก 2 ตัว สําหรับวางพัดดามจิ้วและเครื่องราชูปโภค 4. พัฒนาการในการสืบทอดและฝกหัด ตารางที่ 4 ตารางพัฒนาการในการสืบทอดและฝกหัด ลําดับ วันที่ รายละเอียด 1 17 ก.ค. 61 ขาดสติ ไมคอยมีสมาธิ รําไมตรงจังหวะ รําไมกดตัว รําไม เต็มตัว รําไมมีอารมณ ใชสายตาสอดคลองกับอารมณ การแสดงและทารํา 2 23 ก.ค. 61 รําไมคอ ยยอ ไมกดเอว ไหล และลําตัว รําไมมีอารมณ ใช สายตาไมสอดคลองกับอารมณการแสดงและทารํา 3 3 ส.ค. 61 รํ า ไม ค อ ยย อ ไม ก ดเอว ไหล และลํ า ตั ว แก ไ ขการใช อารมณ สีหนา และสายตาใหสอดคลองกับการแสดง

หมายเหตุ


บทที่ 4 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลปไทย ชุด กุสุมาทรงเครื่อง ในการศึกษานาฏศิลปไทยทุกประเภท จําเปนตองมีการบันทึกกระบวนการรํา เปนการเก็บ ขอมูลใหเปนระบบหลักฐาน สมควรยิ่งที่ผูศึกษาวิชานาฏศิลปควรยึดเปนแบบอยาง และผูเรียนไดทํา การวิเคราะหขอมูลในเรื่องของกระบวนทารํา ชุด กุสุมาทรงเครื่อง ที่ไดรับการถายทอดกระบวนการรํา จาก ดร.พัชรินทร สันติอัชวรรณ ซึ่งผูวิจัยพบวาการแสดงรําเดี่ยว ชุด กุสุมาทรงเครื่อง เปนการแสดง ที่ปรากฏอยูในละครใน เรื่อง อิเหนา อิเหนา ตอน กุสุมาทูลลานางบุษบากลับไปยังเมืองปกมาหงัน กับสังคามาระตา 1. ประวัติความเปนมาของการแสดง การแสดงรําเดี่ยว ชุด กุสุมาทรงเครื่อง เปนการแสดงรําเดี่ยวอยูในละครใน เรื่อง อิเหนา ตอน กุสุมาทูลลานางบุษบากลับไปยังเมืองปกมาหงันกับสังคามาระตา การแสดงรําเดี่ยว ชุด กุสุมา ทรงเครื่อง ประดิษฐขึ้นโดย รองศาสตราจารย ผุสดี หลิมสกุล ไดสรางสรรคขึ้นใหมในป 2546 โดยนํา บทรองมาจากบทพระราชนิพนธละคร เรื่อง อิเหนา ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ใน สวนของทารําไดเลียนแบบทารําจากบทลงสรงทรงเครื่องที่มีอยูเดิม และคิดสรางสรรคทารําขึ้นเปน การแสดงรําเดี่ยว ชุด กุสุมาทรงเครื่อง 2. เรื่องยอของการแสดง กุสุมาทรงเครื่อง เปนการแสดงรําเดี่ยวอยูในละครใน เรื่อง อิเหนา ตอน กุสุมาทูลลา นางบุษบากลับไปยังเมืองปกมาหงันกับสังคามาระตา เนื้อเรื่องกลาวถึง นางกุสุมา ซึ่งเปนบุตรีของทาว ลาสํา เจาเมืองลาสํา เมื่อครั้งที่นางบุษบาถูกแปลงองคเปนชายชื่อ อุณากรรณ ตามพระพรขององค ปะตาระกาหลา ไดรับการแตงตั้งเปนพระราชโอรสของระตูปะมอตัน แตอุณากรรณนึกถึงอิเหนาจึ ง ออกอุบายทูลขอประตูประมอตันมาตามหานางที่พึงใจ แลวจึงจะกลับไปครองราชสมบัติเมืองประมอ ตัน ในขณะที่ยกทัพไปตามหาอิเหนา บรรดาเจาเมืองรายทางรวมทั้งทาวลาสําไดพากันถวายโอรสและ ธิดาเปนขารองพระบาทของอุณากรรณ ทาวลาสําไดถวายนางกุสุมาเปนพระชายาของอุณากรรณ แม อุณากรรณจะอยูในรางกายของผูชายแตจิตใจนั้นรูดีวาตนเปนหญิง จึงออกอุบายแกนางกุสุมาวา ตนได บนบานไววาจะไมรวมสังวาสกับนางใดเปนเวลา 3 ป ตอมาอุณากรรณออกอุบายหลบหนีโดยการเขียน


หนังสือไววาเทวดาพาตนไปอยูสรวงสวรรค กุสุมากลับไปเมืองประมอตันทาวลาสําไดขาววาอุณากรรณ หายไปจึงยกทัพมาของกุสุมาคืน แตเทาประมอตันปฏิเสธ เนื่องจากอุณากรรณไดยกเชลยใหปนหยี สงครามจึงเกิดขึ้น ปนหยีไดสั่งใหสังคามาระตาตามมาชวยระตูประมอตันรบ เมื่อไดรับชัยชนะแลวก็ ประธานนางกุสุมาเปนรางวัล เมื่ออิเหนาเขาพิธีอภิเษกสมรสกับพระมเหสีและชายาทั้งสิบแลวไดสั่ง ใหสังคามาระตากับไปคลองเมืองปกมาหงัน สังคามาระตาจึงใหนางกุสุมาไปทูลลานางบุษบา นาง กุสุมาจึงแตงองคทรงเครื่องกอนจะเดินทางไปพบนางบุษบา ในสวนของทารําไดเลียนแบบทารําจากบทลงสรงทรงเครื่องที่มีอยูเดิม และคิดสรางสรรคทา รําขึ้นใหม เชน ทาเลื่อมสลับ ทาปะวะหล่ํา ทาเพชรประดับ เปนตน ซึ่งนํามารอยเรียงเปนกระบวนทา แบบมาตรฐาน นอกจากนี้ยังมีเวลาของการใชพัดประกอบการรําที่นาประทับใจ การแสดงชุดนี้จึงเปน การรําอวดฝมือและความสามารถของผูแสดงที่ใชทวงทาของละครในที่ออนชอยสวยงาม 3. บทรองการแสดงรําเดีย่ ว ชุด กุสมุ าทรงเครื่อง บทรอง/ทํานองเพลง -ปพาทยทาํ เพลงตนเขามาน-รองเพลงชมตลาดลูบไลสุคนธปนปรุง หอมฟุงรื่นรสนาสา ผัดพักตรนวลละอองดั่งทองทา ทรงภูษาพื้นแดงแยงดอกลอย (รับ) หมสไบสีน้ําเงินงามงด สีสดเลื่อมสลับจับแสงสรอย เข็มขัดเพชรประจํายามอรามพลอย สะอิ้งหอยสรอยสังวาลบานพับ (รับ) ทองกรปะวะหล่ําธํามรงค สอดทรงมงกุฎเก็จเพชรประดับ ตุมหูหอยพลอยแดงแสงระยับ เสร็จสรรพจับพัดดามจิ้วจันทร (รับ) -ปพาทยทาํ เพลงเร็ว-ลา-


4. ดนตรีที่ใชประกอบการแสดง ใชวงปพาทยเครื่องหา เครื่องคู หรือเครื่องใหญ 5. ฉากและองคประกอบการแสดง ฉากหองแตงตัว 1. ตั้งใหญ 2. ตั้งเล็ก 3. พัดดามจิ้ว 1 เลม 4. เครื่องราชูปโภค 5. กระจก

ภาพที่ 2 : ภาพฉากหองแตงตัวการแสดง ชุด กุสุมาทรงเครื่อง ที่มา : Worawit Nu. กุสุมาทรงเครื่องง. สืบคนจาก www.youtube.com/watch?v=qcpRZZAHa5I. www.youtube.com/watch?v=qcpRZZAHa สืบคนเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2561,


6. เครื่องแตงกายและการแตงหนาการแสดง ชุด กุสุมาทรงเครื่อง

ภาพที่ 3 : ภาพเครื่องแตงกายและการแตงหนาการแสดงชุด กุสุมาทรงเครื่อง ที่มา : ทวีรักษ สุขเนินสูง. บันทึกภาพเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2561. ผูแ สดง : ศรศิลป วันชะนะ


6.1 เครื่องแตงกาย ชุด กุสมุ าทรงเครือ่ ง 1. รัดเกลายอด อุบะดอกไมทัด 3. ผาหมนางสีน้ําเงินขลิบแดง 5. ผายกสีแดง 7. เข็มขัดลายประจํายาม 9. กําไลตนแขน 11. ปะวะหล่ํา 13. ธํามรงค 15. กําไลเทา

2. เสื้อในนางสีเหลือง 4. กรองคอสีแดง 6. จี้นาง 8. สะอิ้ง หรือสรอยตัว 10. กําไลขอมือหรือกําไลแผง 12. แหวนรอบขอมือและขอเทา 14. ตางหูเตารั้ง 16. พัดดามจิ้วสีแดง

6.2 ภาพเครื่องแตงกาย ชุด กุสมุ าทรงเครื่อง

ภาพที่ 4 : ภาพรัดเกลายอดและอุบะดอกไมทัด ที่มา : ศรศิลป วันชะนะ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561.


ภาพที่ 5 : ภาพทายชองและจรหู ที่มา : ศศรศิลป วันชะนะ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561. 2561

ภาพที่ 6 : ภาพเสื้อในนาง ที่มา : ศศรศิลป วันชะนะ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561. 2561


ภาพที่ 7 : ภาพผาหมนางสีน้ําเงินคลิบแดง ที่มา : ศรศิลป วันชะนะ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561.

ภาพที่ 8 : ภาพกรองคอสีแดง ที่มา : ศรศิลป วันชะนะ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561.


ภาพที่ 9 : ภาพผายกสีแดง ที่มา : ศรศิลป วันชะนะ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561.

ภาพที่ 10 : ภาพจี้นาง ที่มา : ศรศิลป วันชะนะ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561.


ภาพที่ 11 : ภาพเข็มขัด ที่มา : ศรศิลป วันชะนะ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561.

ภาพที่ 12 : ภาพปนเหนง ที่มา : ศรศิลป วันชะนะ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561.


ภาพที่ 13 : ภาพสะอิ้ง ที่มา : ศรศิลป วันชะนะ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561.

ภาพที่ 14 : ภาพกําไลตนแขน ที่มา : ศรศิลป วันชะนะ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561.


ภาพที่ 15 : ภาพกําไลแผง ที่มา : ศศรศิลป วันชะนะ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561. 2561

ภาพที่ 16 : ภาพปะวะหล่ําและแหวนรอบขอมือ ที่มา : ศศรศิลป วันชะนะ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561. 2561


ภาพที่ 17 : ภาพธํามรงค ที่มา : ศศรศิลป วันชะนะ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561. 2561

ภาพที่ 18 : ภาพกําไลขอเทาและแหวนรอบขอเทา ที่มา : ศศรศิลป วันชะนะ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561. 2561


ภาพที่ 19 : ภาพพัดดามจิ้ว ทําจากเนื้อไมจันทร ใชประกอบการแสดงในชวงของเพลงเร็ว ที่มา : ศรศิลป วันชะนะ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561.

ภาพที่ 20 : ภาพตางหูเตารั้ง ที่มา : ศรศิลป วันชะนะ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2561.


7. นาฏยศัพทที่ใชในการแสดง 1. ประจํายาม แปลวา ชื่อลายไทยชนิดหนึ่ง มีรูปดอก 4 กลีบ จะแทรกอยูระหวางลายตาง ๆ หรือ คั่นลายตาง ๆ ซึ่งในบทรองนี้ จะกลาวถึงลายประจํายามที่แทรกอยูบนลายเข็มขัด 2. พัดดามจิ้ว แปลวา พัดที่คลี่ออกและสามารถพับได ทําจากเนื้อไมจันทร ใชป ระกอบการแสดง ในชวงของเพลงเร็ว ในการแสดง ชุด กุสุมาทรงเครื่อง 3. เอียงศีรษะ แปลวา การเอียงศีรษะขางเดียวกับไหลที่กดลง ถาเอียงซายใหกดไหลซาย ถาเอียงขวา ใหกดไหลขวา 4. ลักคอ แปลวา การเอียงคนละขางกับไหลที่กดลง ถาเอียงซายใหกดไหลขวา ถาเอียงขวาใหกดไหล ซาย 5. กลอมหนา แปลวา การเปดคางแลวกดคางลง วาดหนาเปนเลข 8 แนวนอน 6. วง แปลวา การตั้งวง โดยนิ้วชี้ กลาง นาง กอย เรียงชิดกัน และนิ้วหัวแมมือเขาหาฝามือเล็กนอย 7. วงบน แปลวา การตั้งวง โดยนิ้วชี้ กลาง นาง กอ ย เรียงชิดกัน และนิ้วหัวแมมือเขาหาฝามื อ เล็กนอย ตั้งวงระดับศีรษะ 8. วงกลาง แปลวา การตั้งวง โดยนิ้วชี้ กลาง นาง กอย เรียงชิดกัน และนิ้วหัวแมมือเขาหาฝามื อ เล็กนอย ตั้งวงระดับไหล 9. วงลาง แปลวา การตั้งวง โดยนิ้วชี้ กลาง นาง กอย เรียงชิดกัน และนิ้วหัวแมมือเขาหาฝามือ เล็กนอย ตั้งวงระดับชายพก 10. จีบลอแกว แปลวา ลักษณะกิริยาทาทางคลายจีบ ใชนิ้วกลางกดขอที่ 1 ของนิ้วหัวแมมือหัก ปลายนิ้วหัวแมมือคลายวงแหวน นิ้วที่เหลือเหยียดตึง 11. จีบ แปลวา การกรีดนิ้ว กลาง นาง กอย และใชนิ้วหัวแมมือแตะที่ขอที่ 1 ของนิ้วชี้ 12. จีบหงาย แปลวา การกรีดนิ้ว กลาง นาง กอย และใชนิ้วหัวแมมือแตะที่ขอที่ 1 ของนิ้วชี้ แลว หงายฝามือขึ้น 13. จีบคว่ํา แปลวา การกรีดนิ้ว กลาง นาง กอย และใชนิ้วหัวแมมือแตะที่ขอที่ 1 ของนิ้วชี้ แลวคว่ํา ฝามือลง 14. จีบสงหลัง แป ลว า การส ง แ ขนไป ข า งห ลั ง ตึ ง แ ขน พลิ ก ข อ มื อ ให ป ลา ยนิ้ ว ชี้ ขึ้ น แขนตึงและสงแขนใหสูงไปดานหลัง 15. กดเอว แปลวา การกดเอวโนมตัวไปขางใดขางหนึ่ง พรอมกับการเอียงศีรษะ 16. ฉายเทา แปลวา การใชจมูกเทาจรดพื้น เปดสนเทา แลวลกเทาเปนครึ่งวงกลม โดยหันปลายเทา ที่ฉายมาใหอยูดานขาง 17. กระดกหลัง แปลวา การกระทุงเทาแลวถีบเขาไปขางหลัง ใหเขาทั้งสองขางแยกหางจากกัน ให สนเทาชิดกนมากที่สุด หักปลายเทาลง


18. กระดกเสี้ยว แปลวา การกระทุงเทาแลวถีบเขาไปดานขาง ใหเขาทั้งสองขางแยกหางจากกัน ให สนเทาชิดกนมากที่สุด หักปลายเทาลง 19. ประเทา แปลวา การใชจมูกเทาแตะที่พื้น แลวยกขึ้นทันที 20. ซอยเทา แปลวา การใชจมูกเทาวางที่พื้น ยกสนเทาเล็กนอยทั้งสองขาง แลวย่ําเทาซาย เทาขวา ทั้งสองขางสลับกันถี่ ๆ 21. ขยั่นเทา แปลวา การไขวขา แลวย่ําเทาซายขวาถี่ ๆ โดยที่เทาหนาเหยียบพื้นเต็มเทา แตเทาหลัง เปดสนเทา 22. กาวหนา แปลวา การกาวเทาลงบนพื้นไปดานหนา โดยใชสนลงกอน 23. กาวขาง แปลวา การกาวเทาไปดานขาง โดยใชสนเทาลงกอน 24. ถัดเทา แปลวา การใชจมูกเทาและสนเทาถัดไปที่พื้นขณะเดิน


8. กระบวนทารําและการใชพื้นที่ ตารางที่ 5 : ตารางกระบวนทารําและการใชพื้นที่ ลําดับ เนื้อรอง/ทํานอง 1 ปพาทยทําเพลงตน เขามาน

ภาพ

อธิบาย หมายเหตุ ทิศ : ดานขวา เทา : กาวไขวเทาขวา แลวขยั่น เทาไปดานหนา มือ : ทําทาผาลามือขวาตั้งวง บน มื อ ซ า ยตั้ ง วงปลายนิ้ ว ตก แขนงอขางลําตัว ศีรษะ : เอียงขวา

2

ปพาทยทําเพลงตน เขามาน

ทิศ : ดานซาย เทา : กาวไขวเทาซาย แลวขยั่น เทาไปดานหนา มือ : ทําทาจีบยาว มือซายมวน จีบ แลวคลายออกเปนตั้งวงบน มื อ ขวาช อ นมื อ เป น จี บ หงาย แขนตึงระดับไหล ศีรษะ : เอียงซาย

3

ปพาทยทําเพลงตน เขามาน

ทิศ : ดานขวา เทา : กาวไขวเทาขวา แลวขยั่น เทาไปดานหนา มือ : ทํา ทาบั วชูฝก มือขวา คลายจีบออกตั้งวงระดับชายพก มือซายพลิกมือเปนตั้งวงบัวบาน ศีรษะ : เอียงขวา


ลําดับ เนื้อรอง/ทํานอง 4 ปพาทยทําเพลงตน เขามาน

ภาพ

อธิบาย หมายเหตุ ทิศ : ดานซาย เทา : กาวไขวเทาซาย แลวขยั่น เทาไปดานหนา มือ : ทานางนอน มือ ซายมว น จี บ แล ว คลายออกเป น ตั้ ง วง ระดับชายพก มือขวาพลิกมือตั้ง วงปลายนิ้วตกแขนงอ ศีรษะ : เอียงซาย

5

ปพาทยทําเพลงตน เขามาน

ทิศ : ดานขวา เทา : กาวไขวเทาขวา แลวขยั่น เทาไปดานหนา มือ : ทาจีบสั้น มือซายชอนจีบ หงายแขนตึงระดับไหล มือขวา จีบ หงายแลว กรายออกเปนตั้ง วงระดับชายพก ศีรษะ : เอียงขวา

6

ปพาทยทําเพลงตน เขามาน

ทิศ : ดานหลัง เทา : กาวไขวเทาขวายกเทา ซา ยขึ้ น ตั่ งแลว หั น มาด า นหนา นั่งคุกเขา มือ : มือขวาจีบคว่ําคูกับมือซาย แลวกรายออกเปนตั้งวงบน มือ ซายตั้งวงคูกับมือขวาแลวจีบสง หลั ง จากนั้ น จี บ คว่ํ า คู กั น แล ว กรายมื อ อกเป น ตั้ ง วงวางมือ ที่ หนาขา ศีรษะ : เอียงขวา


ลําดับ เนื้อรอง/ทํานอง 7 รองเพลงชมตลาด ลูบไลสุคนธ

ภาพ

อธิบาย หมายเหตุ ทิศ : ดานซาย เทา : นั่งคุกเขาแยกเขาซาย มือ : มือขวาเปดขวดน้ําหอมยก เทบนมื อ ซ า ย ละเลงมื อ มื อ ซา ยตั้ง วงแขนตึง มือขวาตั้ง วง ลูบที่แขนซาย ศีรษะ : เอียงซาย

8

ปนปรุง

ทิศ : ดานซาย เทา : นั่งคุกเขาแยกเขาขวา มือ : มือขวาตั้งวงแขนตึงมือ ซาย มือซายตั้งวงลูบแขนขวา ศีรษะ : เอียงขวา

9

หอมฟุง

ทิศ : ดานหนา เทา : นั่งคุกเขา มือ : มือซายวางที่หนาขา มือ ขวาจี บ คว่ํ า โปรยมื อ ผ า นหน า แลวกรายออก ศีรษะ : เอียงซาย หนามองตาม มือ

10

รื่นรส

ทิศ : ดานหนา เทา : นั่งคุกเขา มื อ : มื อ ทั้ ง 2 ข า งประกบกั น คลึงมือแลวกมดมมือ 2 ครั้ง ศีรษะ : เอียงขวาแลวเอียงซาย


ลําดับ เนื้อรอง/ทํานอง 11 นาสา

ภาพ

อธิบาย หมายเหตุ ทิศ : ดานหนา เทา : นั่งคุกเขา แยกขาซาย มือ : มือซายตั้งวงหนาแลวกรีด นิ้วจีบมาที่จมูก มือขวาจีบหงาย ระดับชายพก ศีรษะ : เอียงซาย

12

เอื้อน

ทาโบก ทิศ : ดานหนา เทา : นั่งคุกเขา แยกขาซาย มือ : มือซายจีบหงายระดับชาย พกแลววาดมือขึ้นเปนตั้งวงหนา มือขวาจีบสงหลัง ศีรษะ : เอียงขวา

13

ผัดพักตร

ทิศ : ดานซาย เทา : นั่งคุกเขา แยกขาขวา มือ : มือขวาเปดผอบแตะปง ละเลงแป ง แลว ยกมื อ ขวาผั ด แปงดานขวา มือซายแบมือ ศีรษะ : เอียงขวา

14

นวลละออง

ทิศ : ดานซาย เทา : นั่งคุกเขา แยกขาขวา มือ : มือทั้ง 2 ขางละเลงแปง แล ว ยกมื อ ขวาผั ด แป ง ที่ แ ก ม ซาย ศีรษะ : เอียงซาย


ลําดับ เนื้อรอง/ทํานอง 15 ดั่งทองทา

16

ทรงภูษาพื้นแดง

17

แยงดอกลอย

18

เอื้อน

ภาพ

อธิบาย ทิศ : ดานหนา เทา : นั่งคุกเขา แยกขาขวา มือ : มือทั้ง 2 ขางตั้งวง ไขวมือ ลูบแขนทั้ง 2 ขาง ศีรษะ : เอียงขวา ทิศ : ดานหนา เทา :กาวเทาซายลงตั่งวิ่งซอย เทาไปดานหนา กาวหนาเทา ขวากระดกเทาซาย มือ : มือขวาจีบหงายแลวมวน มือเปนตั้งวงระดับชายพก มือ ซายตั้งวงแลวชอนจีบหงาย ระดับชายพก ศีรษะ : เอียงจากซายไปขวา ทิศ : ดานขวา เทา : กาวไขวเทาขวายกเทา ซาย มือ : มือซายจีบคว่ําแลวสอดมือ ขึ้นจีบหงายเหนือขาซาย ศีรษะ : เอียงจากขวาไปซาย ทาโบก ทิศ : ดานขวา เทา : กาวเทาขวาประเทาซาย ยกขึ้นแลววางสน มือ : มือซายจีบหงายระดับชาย พกแลววาดมือขึ้นเปนตั้งวงหนา มือขวาจีบสงหลัง ศีรษะ : เอียงขวา

หมายเหตุ


ลําดับ เนื้อรอง/ทํานอง 19 ทารับ (ป พ าทย ทํ า เพลง รับ)

ภาพ

อธิบาย หมายเหตุ ทารับ ทาจีบสั้น เริ่มจาก ดานขวา เทา : แตะเทาซายแลวแตะเทา ขวาแลวซอยเทา มือ : ทําทานางนอนมือซายตั้ง วงปลายนิ้วตก มือขวาตั้งวง ระดับชายพก เทา : กาวเทาขวาแตะเทาซาย มือ : มือขวาจีบคว่ําดึงจีบแขน ตึง มือซายตั้งวงระดับชายพก เทา : แตะซายถอนเทาซายแตะ เทาขวา มือ : มือซายจีบคว่ําดึงจีบแขน ตึง มือขวาตั้งวงระดับชายพก เทา : กาวเทาขวาแตะเทาซาย มือ : มือขวาจีบคว่ําดึงจีบแขน ตึง มือซายตั้งวงระดับชายพก เทา : แตะเทาขวาแลวแตะเทา ซาย ซอยเทามาทางซาย มือ : ทําทานางนอนมือขวาตั้ง วงปลายนิ้วตก มือซายตั้งวง ระดับชายพก เทา : กาวเทาซายแตะเทาขวา มือ : มือซายจีบคว่ําดึงจีบแขน ตึง มือขวาตั้งวงระดับชายพก เทา : แตะซายถอนเทาซายแตะ เทาขวา มือ : มือซายจีบคว่ําดึงจีบแขน ตึง มือขวาตั้งวงระดับชายพก


ลําดับ เนื้อรอง/ทํานอง 19 ทารับ (ตอ)

ภาพ

อธิบาย หมายเหตุ เทา : กาวเทาขวาแตะเทาซาย มือ : มือขวาจีบคว่ําดึงจีบแขน ตึง มือซายตั้งวงระดับชายพก ทาโบก ทิศ : ดานขวา เทา : กาวเทาขวาประเทาซาย ยกขึ้นแลววางสน มือ : มือซายจีบหงายระดับชาย พกแลววาดมือขึ้นเปนตั้งวงหนา มือขวาจีบสงหลัง ศีรษะ : เอียงขวา

20

ทาโบก

21

หมสไบสีน้ําเงิน

ทิศ : ดานหนา เทา : กาวหนาเทาขวาแลว กาวหนาเทาซาย มือ : มือขวาตั้งวงระดับอก มือ ซายจีบขางมือขวา ทาภมรเคลา จากนั้นเดินมือขวามาจีบหงายที่ ไหลซาย มือซายจีบสงหลัง ศีรษะ : เอียงจากขวาไปซาย

22

งามงด

ทิศ : ดานหนา เทา : กาวเทาขวากระดกเทา ซาย มือ : มือขวาจีบคว่ําแลวสอดมือ ขึ้นตั้งวงบัวบาน มือซายตั้งวง ปลายนิ้วตกแลวพลิกมือขึ้นตั้ง วงระดับปาก ศีรษะ : เอียงจากซายไปขวา


ลําดับ เนื้อรอง/ทํานอง 23 สีสด

24

เลื่อมสลับ

25

จับแสงสรอย

26

ทาโบก

ภาพ

อธิบาย หมายเหตุ ทิศ : ดานซาย เทา : กาวเทาซายแตะเทาขวา แลวซอยเทาไปทิศหนา มือ : มือขวาจีบคว่ําระดับอก แลวโปรยมือจีบออก มือซายจีบ สงหลัง ศีรษะ : เอียงซายมองตามมือ ทิศ : ดานหนา เทา : กาวไขวเทาขวา มือ : รวบมือทั้ง 2 ขางเขาหา กันในลักษณะตั้งวง แลวจีบมือ กรีดมือแลวกรายออก เดาะ ขอมือ 3 ครั้ง ศีรษะ : ลักคอซายแลวลักคอ ขวา ทิศ : ดานขวา เทา : กาวไขวเทาขวาแลวกาว ไขวเทาซาย มือ : มือขวาตั้งวงระดับอก แลว มวนมือ ชี้นิ้วเขาที่อก มือซาย จีบคูกับมือขวาแลวจีบสงหลัง ศีรษะ : เรียงจากขวาไปซาย หนามองที่จี้นางแลวมอง ดานหนา ทาโบก ทิศ : ดานขวา เทา : กาวเทาขวาประเทาซาย ยกขึ้นแลววางสน มือ : มือซายจีบหงายระดับชาย พกแลววาดมือขึ้นเปนตั้งวงหนา


ลําดับ เนื้อรอง/ทํานอง 26 ทาโบก (ตอ)

ภาพ

อธิบาย มือขวาจีบสงหลัง ศีรษะ : เอียงขวา

27

เข็มขัดเพชร

ทิศ : ดานหนา เทา : กาวเทาขวายกเทาซาย มือ : มือทั้งสองขางจีบสงหลัง แลววาดมือมาไขวกันที่เข็มขัด ศีรษะ : ตรง

28

ประจํายาม

ทิศ : ดานหนา เทา : กาวเทาซายยกเทาขวา มือ : มือขวาแทงมือตั้งวงแขน ตึงระดับไหล มือซายตั้งวง แลว ชอนมือจีบหงายระดับชายพก ที่เอวดานขวา ศีรษะ : เอียงจากซายไปขวา

29

อรามพลอย

ทิศ : ดานขวา เทา : กาวเทาขวาแตะเทาซาย แลวซอยเทาหมุนไปดานหนา มือ : มือทั้งสองขางจีบคว่ํา ระดับอกแลวจีบโดยมือขึ้นผาน หนา ศีรษะ : เอียงจากซายไปขวา

หมายเหตุ


ลําดับ เนื้อรอง/ทํานอง 30 สะอิ้งหอย

ภาพ

อธิบาย หมายเหตุ ทิศ : ดานซาย เทา : กาวไขวเทาซายแลวกาว ไขวเทาขวา มือ : มือขวาจีบคว่ําแลวสอดมือ ขึ้นกรายจีบออกตั้งวงปลายนิ้ว ตก แขนงอระดับเอว มือซาย ตั้งวงปลายนิ้วตกแลวพริกมือขึ้น เปนตั้งวงบน ศีรษะ : เอียงจากซายไปขวา

31

สรอยสังวาลย

ทิศ : ดานซาย เทา : กาวไขวเทาซาย มือ : มือขวาพลิกมือขึ้นตั้งวงบน มือซายจีบหงายที่ชายพกพรอม กับตีไหลขวา ศีรษะ : เอียงซาย จากนั้นวิ่งซอยเทาหมุนขวาไป ขางหลัง

32

บานพับ

ทิศ : ดานขวา เทา : กาวเทาซายยกเทาขวา มือ : มือขวาแทงมือ แลวตั้งวง กลาง มือซายจีบที่ตนแขนขวา ศีรษะ : เอียงจากซายไปขวา


ลําดับ เนื้อรอง/ทํานอง 33 เอื้อน

34

ทารับ (ป พ าทย ทํ า เพลง รับ)

ภาพ

อธิบาย ทาโบก ทิศ : ดานซาย เทา : กาวเทาซายประเทาขวา ยกขึ้นแลววางสน มือ : มือขวาจีบหงายระดับชาย พกแลววาดมือขึ้นเปนตั้งวงหนา มือซายจีบสงหลัง ศีรษะ : เอียงซาย ทารับ ทานางนอนสลับกับทา สอดสูง เริ่มดานซาย เทา : แตะเทาขวาแลวแตะเทา ซายแลวซอยเทา มือ : ทําทานางนอนมือขวาตั้ง วงปลายนิ้วตก มือซายตั้งวง ระดับชายพก เทา : กาวเทาซายแตะเทาขวา มือ : มือซายจีบคว่ําสอดจีบขึ้น เปนทากลางอัมพร มือขวาตั้งวง แขนตึงระดับไหล เทา : แตะขวาถอนเทาขวาแตะ เทาซาย มือ : ทําทานางนอนมือขวาตั้ง วงปลายนิ้วตก มือซายตั้งวง ระดับชายพก เทา : กาวเทาซายแตะเทาขวา มือ : มือซายจีบคว่ําสอดจีบขึ้น เปนทากลางอัมพร มือขวาตั้งวง แขนตึงระดับไหล

หมายเหตุ


ลําดับ 34 (ตอ)

35

เนื้อรอง/ทํานอง

ภาพ

อธิบาย หมายเหตุ เทา : แตะเทาซายแลวแตะเทา ขวา ซอยเทามาทางขวา มือ : ทําทานางนอนมือซายตั้ง วงปลายนิ้วตก มือขวาตั้งวง ระดับชายพก เทา : กาวเทาขวาแตะเทาซาย มือ : มือขวาจีบคว่ําสอดจีบขึ้น เปนทากลางอัมพร มือซายตั้งวง แขนตึงระดับไหล เทา : แตะขวาถอนเทาขวาแตะ เทาซาย มือ : ทําทานางนอนมือซายตั้ง วงปลายนิ้วตก มือขวาตั้งวง ระดับชายพก เทา : กาวเทาซายแตะเทาขวา มือ : มือขวาจีบคว่ําสอดจีบขึ้น เปนทากลางอัมพร มือซายตั้งวง แขนตึงระดับไหล ทาโบก ทิศ : ดานซาย เทา : กาวเทาซายประเทาขวา ยกขึ้นแลววางสน มือ : มือขวาจีบหงายระดับชาย พกแลววาดมือขึ้นเปนตั้งวงหนา มือซายจีบสงหลัง ศีรษะ : เอียงซาย


ลําดับ เนื้อรอง/ทํานอง 36 ทองกร

ภาพ

อธิบาย หมายเหตุ ทิศ : ดานหนา เทา : กาวเทาขวาแตะเทาซาย แลวซอยเทา มือ : ทําทาภมรเคลา มือซาย ตั้ ง วงระดั บ ปากที่ ด า นซ า ยมื อ ขวาจี บ ขา งขอ มือซา ย จากนั้ น มื อ ข ว า ตั้ ง ว ง ร ะ ดั บ ป า ก ที่ ดา นขวา มือซา ยจีบ ขางขอ มื อ ซาย ศีรษะ : เอียงจากซายไปขวา

37

ปะวะหล่ํา

ทิศ : เฉียงตัวดานขวา เทา : กาวเทาขวาตามดวยเทา ซายแลวกระดกเทาขวา มือ : มือซายกลายจีบออกเปน ตั้งวง มือขวาซอนจีบ จีบที่ ขอมือซาย ศีรษะ : เอียงจากขวาไปซาย

38

ธํามรงค

ทิศ : ดานหนา เทา : ถอนเทาซาย ยืนเหลื่อม เทาขวา มือ : มือทั้งสองขางจีบคว่ํา แลว กลายมือออกเปนตั้งวง มือซาย แตะที่นิ้วมือขวา ศีรษะ : เอียงขวามองที่มือ


ลําดับ เนื้อรอง/ทํานอง 39 สอดทรงมงกุฎเก็จ

ภาพ

อธิบาย ทิศ : ดานหนา เทา : กาวหนาเทาขวากระดก เทาซาย มือ : มือทั้งสองขางจีบคว่ําแลว สอดมือขึ้นเปนทาพรหมสี่หนา ศีรษะ : เอียงจากซายไปขวา

40

เพชรประดับ

ทิศ : ดานหนา เทา : กาวขางเทาซายกระดก เสี้ยวเทาขวา มือ : มือทั้งสองขางจีบลอแกว แลวมวนออกตั้งวงระดับแง ศีรษะ ศีรษะ : เอียงจากซายไปขวา

41

เอื้อน

42

ตุมหูหอย

ทาโบก ทิศ : ดานขวา เทา : กาวเทาขวาประเทาซาย ยกขึ้นแลววางสน มือ : มือซายจีบหงายระดับชาย พกแลววาดมือขึ้นเปนตั้งวงหนา มือขวาจีบสงหลัง ศีรษะ : เอียงขวา ทิศ : ดานหนา เทา : กาวหนาเทาขวาแลว กาวหนาเทาซาย มือ : มือขวาตั้งวงระดับอกแลว แลวหยิบจีบคว่ํา สอดเขาที่หู ซาย มือซายตั้งวงคูกับมือขวา แลวจีบสงหลัง

หมายเหตุ


ลําดับ เนื้อรอง/ทํานอง 42 (ตอ) 43 พลอยแดง

44

แสงระยับ

45

เสร็จสรรพ

46

จับพัด-เอื้อน

ภาพ

อธิบาย ศีรษะ : เอียงจากขวาไปซาย ทิศ : ดานหนา เทา : กาวหนาเทาขวา มือ : มือซายตั้งวงระดับอก หยิบจีบคว่ําแลวสอดเขาที่หูขวา มือขวาตั้งวงคูกับมือซายแลวจีบ สงหลัง ศีรษะ : เอียงจากซายไปขวา ทิศ : ดานหนา เทา : กาวไขวเทาซายแตะเทา ขวา มือ : มือทั้งสองขางจีบคว่ําแลว มวนออกตั้งวง ระดับหู ศีรษะ : ลักคอขวาแลวลอยหนา ขณะที่มวนมือ ทิศ : ดานหนา เทา : กาวหนาเทาซาย มือ : ทั้งสองขาง จีบคว่ําแลว กลายออก เปนตั้งวงในทาเดิน สองมือ ศีรษะ : เอียงขวา วิ่งซอยเทาไปที่ตั่ง ทิศ : ดานขวา เทา : ยืนเหลื่อมเทาซาย มือ : มือขวาหยิบพัด สะบัดพัด ใหกางออกมือซายจีบหงายที่ ชายพก ศีรษะ : เอียงซาย

หมายเหตุ


ลําดับ เนื้อรอง/ทํานอง 47 ดามจิ้วจันทร

48

49

ทารับ (ป พ าทย ทํ า เพลง รับ)

ภาพ

อธิบาย ทิศ : ดานขวา เทา : วิ่งซอยเทามาดานหนา กาวเทาขวายกเทาซาย มือ : มือขวายกมือขึ้นระดับวง บน หันพัดเขาหาตัว มือซายจีบ สงหลัง ศีรษะ : เอียงซายมองมา ดานหนา ทาโบก ทิศ : ดานขวา เทา : กาวเทาขวาประเทาซาย ยกขึ้นแลววางสน มือ : มือซายจีบหงายระดับชาย พกแลววาดมือขึ้นเปนตั้งวงหนา มือขวาจีบสงหลังถือพัด ศีรษะ : เอียงขวา ทารับ เทา : แตะเทาซายแลวแตะเทา ขวาแลวซอยเทา มือ : มือทั้ง 2 ขางตั้งวงระดับ ชายพก มือขวาถือพัด เทา : กาวเทาขวาแตะเทาซาย มือ : มือซายจีบค่ําแลวพลิกมือ จีบหงาย มือขวาคว่ําพัดลงแลว พลิกมือหงายพัดขึ้น แขนทั้ง 2 ขางงอระดับไหล เทา : แตะซายถอนเทาซายแตะ เทาขวา

หมายเหตุ


ลําดับ 49 (ตอ)

เนื้อรอง/ทํานอง

ภาพ

อธิบาย หมายเหตุ มือ : มือซายสะบัดจีบเปนตั้งวง กลาง มือขวาพลิกมือแลวตั้งพัด ขึ้นเหมือนตั้งวงกลาง เทา : กาวเทาขวาแตะเทาซาย มือ : มือซายจีบค่ําแลวพลิกมือ จีบหงาย มือขวาคว่ําพัดลงแลว พลิกมือหงายพัดขึ้น แขนทั้ง 2 ขางงอระดับไหล เทา : แตะเทาขวาแลวแตะเทา ซาย ซอยเทามาทางซาย มือ : มือทั้ง 2 ขางตั้งวงระดับ ชายพก มือขวาถือพัด เทา : กาวเทาซายแตะเทาขวา มือ : มือซายจีบค่ําแลวพลิกมือ จีบหงาย มือขวาคว่ําพัดลงแลว พลิกมือหงายพัดขึ้น แขนทั้ง 2 ขางงอระดับไหล เทา : แตะซายถอนเทาซายแตะ เทาขวา มือ : มือซายสะบัดจีบเปนตั้งวง กลาง มือขวาพลิกมือแลวตั้งพัด ขึ้นเหมือนตั้งวงกลาง ตึง มือขวาตั้งวงระดับชายพก เทา : กาวเทาขวาแตะเทาซาย มือ : มือซายจีบค่ําแลวพลิกมือ จีบหงาย มือขวาคว่ําพัดลงแลว พลิกมือหงายพัดขึ้น แขนทั้ง 2 ขางงอระดับไหล


ลําดับ 50

เนื้อรอง/ทํานอง

ภาพ

อธิบาย ทาโบก ทิศ : ดานขวา เทา : กาวเทาขวาประเทาซาย ยกขึ้นแลววางสน มือ : มือซายจีบหงายระดับชาย พกแลววาดมือขึ้นเปนตั้งวงหนา มือขวาจีบสงหลังถือพัด ศีรษะ : เอียงขวา

51

เพลงเร็ว

ทิศ : ดานขวา เทา : ตบเทาหันมาดานหนา มือ : เมื่ออยูในทาโบก มือซา ย ตั้งวงมือขวาจีบสงหลัง ศีรษะ : เอียงขวา

52

เพลงเร็ว

ทิศ : ดานหนา เทา : กาวเทาซายกระทุงเทา ขวา จากนั้น กาวเทาขวามา เกาะเทาดานหนา เดาะเทาไป เรื่อยๆจนหมดจังหวะ มือ : มือซายตั้งวงบน มือขวาที่ ถือพัด หงายพัดออกดานหนา แลวพลิกมือตั้งพัดดานหนา ลําตัว ศีรษะ : ลักคอซายขวาไปเรื่อยๆ

หมายเหตุ


ลําดับ เนื้อรอง/ทํานอง 53 เพลงเร็ว

54

เพลงเร็ว

ภาพ

อธิบาย หมายเหตุ ทิศ: ดานหนา เทา : กาวเทาซายเทาขวา ชา 1 จังหวะ และทําเร็วจนหมด จังหวะใหญ มือ : มือซายลดมือตั้งวงลง มือ ขวาเลื่อนขึ้น หงายพัดออก ศีรษะ : เอียงซาย เทา : กาวเทาซายถัดเทาขวาไป ทางซาย มือ : เลื่อนมือขวาที่ถือพัดมาตั้ง วง หงายพัดเขาหาลําตัว มือ ซายจีบคูกับพัด ศีรษะ : เอียงขวา จากนั้น เดินถัดเทาไปทาง ดานซาย มือซายกรายจีบก็ เปลี่ยนเปนตั้งวง มือขวาเดินมือ ที่ถือพัดมาคูกับมือซาย ศีรษะ : เอียงซาย ทิศ : ดานซาย เทา : เดินถัดเทา ขึ้นไป ดานหนา 4 จังหวะ แลวเดินวน กลับหลังมาทิศขวา 4 จังหวะ มือ : มือซาย คอยๆลดระดับวง ลงแลวจีบสงหลัง มือขวาหงาย พัดออกแลวเก็บพัดเขาหาลําตัว ระดับชายพก ศีรษะ : เอียงขวา


ลําดับ เนื้อรอง/ทํานอง 55 เพลงเร็ว

ภาพ

อธิบาย ทิศ : ดานขวา เทา : กาวเทาซายเทาขวามา ดานหนาเวที มือ : มือขวาถือพัดสะบัดพัดให กางออก แลวหมุนพัดดวย ขอมือตามจังหวะ มือซายตั้งวง ทําทารําสายตามจังหวะ ศีรษะ : เอียงขวา

56

เพลงเร็ว

ทิศ : ดานขวา เทา : เดินขึ้นมาหนาเวที 4 จังหวะและเดินลงหลัง 4 จังหวะพรอมกับหมุนตัวไป ดานซาย มือ : คอยๆลดมือขวาลง เปน ทาจีบสงหลัง มือซาย หงายพัด ออกแลวพลิกมือเก็บพัด ศีรษะ : เอียงซาย

57

เพลงเร็ว

ทิศ : ดานซาย เทา : กาวเทาขวาตัดเทาซายมา ดานหนาเวที มือ : มือซายตั้งวงบน มือขวา หงายมือถือพัดสะบัดพัดดวย ขอมือแขนตึงระดับไหล ศีรษะ : เอียงซาย

หมายเหตุ


ลําดับ เนื้อรอง/ทํานอง 58 เพลงเร็ว

ภาพ

อธิบาย ทิศ : ดานซาย เทา : เดินถัดเทา ขึ้นไป ดานหนา 4 จังหวะ แลวเดินวน กลับหลังมาทิศขวา 4 จังหวะ มือ : มือซาย คอยๆลดระดับวง ลงแลวจีบสงหลัง มือขวาหงาย พัดออกแลวเก็บพัดเขาหาลําตัว ระดับชายพก ศีรษะ : เอียงขวา

59

เพลงเร็ว

ทิศ : ดานหนา เทา : กา วเทา ซายเทาขวา อยู กับที่ มือ : มือซายจีบหงายที่ชายพก มื อ ขวาถื อ พั ด หมุ น พั ด ด ว ย ขอมือระดับอก ศี ร ษะ : ลั ก คอซ า ยขวาตาม จังหวะ

60

เพลงเร็ว

ทิศ : ดานหนา เทา : ในทายจังหวะ ใหกาวเทา ซายกระทุงเทาขวา มือ : มือขวาคว่ําพัดแลวยกพัด ขึ้นระดับวงบน หันไปพัดเขาหา ลําตัว มือซายจีบสงหลัง ศีรษะ : เรียงจากซายไปขวา

หมายเหตุ


ลําดับ เนื้อรอง/ทํานอง 61 เพลงเร็ว-ลา

ภาพ

อธิบาย หมายเหตุ ทิศ : ดานขวา เทา : ถอนเทาซายกาวไขวเทา ขวา มือ : มือขวาคว่ําพัดลมแลวตั้ง พั ด ขึ้ น หั น ไปพั ด เข า หาลํ า ตั ว ระดับวงบน มือซายตั้งวงระดับ ชายพก ศีรษะ : เอียงขวา

62

เพลงเร็ว-ลา

ทิศ : ดานซาย เทา : ถอนเทาขวากาวไขวเทา ซาย มือ : มือขวาหงายพัดลมแลวตั้ง พัดขึ้นระดับชายพก มือซายจีบ คว่ําแลวสอดมือขึ้นตั้งวงบัวบาน ศีรษะ : เอียงขวา

63

เพลงเร็ว-ลา

ทิศ : ดานขวา เทา : ถอนเทาซายกาวไขวเทา ขวา มือ : มือขวาคว่ําพัดลมแลวตั้ง พั ด ขึ้ น หั น ไปพั ด เข า หาลํ า ตั ว ระดับวงลาง มือซายตั้งวงระดับ ชายพก ศีรษะ : เอียงขวา


ลําดับ เนื้อรอง/ทํานอง 64 เพลงเร็ว-ลา

65

เพลงเร็ว-ลา

66

เพลงเร็ว-ลา

67

เพลงเร็ว-ลา

ภาพ

อธิบาย หมายเหตุ ทิศ : ดานซาย เทา : ถอนเทาขวากาวไขวเทา ซาย มือ : มือขวาหงายพัดลมแลวตั้ง พัดขึ้นระดับชายพก มือซายจีบ คว่ํ าแล วกรายออกตั้ง วงปลาย นิ้วตก ศีรษะ : เอียงขวา ทิศ : ดานซาย เท า : ย้ํ า เท า ซ า ยก า วไขว เ ท า ขวา วิ่งซอยเทาวนลงหลัง มือ : มือขวาหงายพัดลมแลวตั้ง พั ด ขึ้ นระดับ วงบน มือ ซา ยจี บ ล อ แก ว แล ว กรายออกตั้ ง วง ระดับชายพก ศีรษะ : เอียงขวา ทิศ : ดานซาย เท า : ย้ํ า เท า ขวาก า วไขว เ ท า ซาย วิ่งซอยเทาวนลงหลัง มือ : มือขวาหงายพัดลมแลวตั้ง พัดขึ้นระดับชายพก มือซายจีบ ลอแกวแลวกรายออกตั้งวงบน ศีรษะ : เอียงขวา ทิศ : ดานหนา เทา : กา วไขวเ ทาขวากา วขา ง เทาซาย มื อ : มื อ ขวา ซ อ มพั ด ลมแล ว ยกขึ้นตั้งระดับวงบน หันไปพัด


ลําดับ เนื้อรอง/ทํานอง 67 เพลงเร็ว-ลา (ตอ)

68

เพลงเร็ว-ลา

ภาพ

อธิบาย หมายเหตุ เขาหาลําตัว มือซายตั้งวงปลาย นิ้วตก แลวคลิกมือขึ้นเปนตั้งวง แขนตึงระดับไหล ศีรษะ : เอียง ขวา ทิศ : ดานหนา เทา : ยืดตัวขึ้นหนักหลังแลว กาวไขวเทาขวา ยืดยุบวิ่งซอย เทาเขาเวที มือ : มือขวา หมุนขอมือที่ถือ พัด ออก แลวมวนขอมือกลับมา ใหไปพัดหันเขาหาลําตัว มือซาย รถมือลงจีบสงหลัง ศีรษะ : เอียงซายแลวเอียงขวา


9. กลวิธีในการรํา การแสดงรําเดี่ยว ชุด กุสุมาทรงเครื่อง มีลีลารายรําแบบละครใน ซึ่งจะตองรําอยางออนชอย สวยงาม นุมนวล รําตรงจังหวะ การสื่ออารมณทางสีหนาและแววตา ผูแสดงจะตองทําใหสมบทบาท ของตัวละคร คือ การรําใหสวยงาม ออนชอย มีบุคลิกเรียบรอย ออนหวาน อารมณของผูแสดงตอง สอดคลองกับบทรอง เชน ทาลูบไลสุค นธปนปรุง จะตองใชสายตามองไปที่แ ขน ตามมือที่ลูบ แขน ใบหนาจะตองยิ้มแยมแจมใส และผูแสดงจะตองรําใหสวยงามตามทามาตรฐาน ประกอบกับตองรําให ตรงจังหวะของเนื้อรองและทํานองเพลง ผูแสดงควรมีความเขาใจในเทคนิค หรือกลวิธีในการรําทาตาง ๆเพื่อใหทารํานั้นดูงดงามเปนที่นาประทับใจ ซึ่งเทคนิคในการรําของแตละคนนั้นอาจจะไมเหมือนกัน เพราะขึ้น อยูกับ ความสามารถและสรีระของผูรําดวย อยางเชน ในชวงเพลงเร็ว ทาภมรเคลา พั ด จะตองไมบังใบหนา การเคลื่อนพัดจากทางซายไปทางขวา จากทางขวามาทางซาย มือในทาภมรเคลา ปกติจะอยูในระดับปาก แตถาถือพัดรําจะตองลดระดับมือใหต่ําลงมาระดับอกเพื่อไมใหพัดบังหนาผู แสดง ทาสะบัดพัดใหกางออก จะตองจับพัดที่โคนดานหนึ่งอยางหลวม ๆ ใชนิ้วหัวแมมือกับนิ้วชี้จับ ตรงกานพัดริมสุดดานหนึ่งไว แลวสะบัดขอมือในลักษณะคว่ํามือหรือตะแคงมือเล็กนอย ปลอยใหกาน พัดทั้งหมดคลี่ออก ผูแสดงควรหัดสะบัดพัดใหคลองแคลว ใหรูน้ําหนักและจังหวะการสะบัดพัดเพื่อให พัดคลี่ออกไดเต็มที่ การหุบพัด จะตองใชชวงจังหวะที่พลิกมือตั้งวง พอดีกับจังหวะที่หุบพัด โดยใชฝา มือกําพัดตรงโคนไวพรอมกับใชนิ้วหัวแมมือกับนิ้วชี้จับมัดใหแนน นิ้วที่เหลือทั้ง 3 รวบกานดามพัดจาก ดานนอกเขามารวมกัน ควรจับพัดใหแนนมิฉะนั้นอาจทําใหพัดลวง


บทที่ 5 บทสรุปและขอเสนอแนะ บทสรุป การแสดงรําเดี่ยว ชุด กุสุมาทรงเครื่อง เปนการแสดงรําเดี่ยวอยูในละครใน เรื่อง อิเหนา ตอน กุสุมาทูลลานางบุษบากลับไปยังเมืองปกมาหงันกับคามาระตาการแสดงรําเดี่ยว ชุด กุสุมาทรงเครื่อง ประดิษฐขึ้นโดย รองศาสตราจารยผุสดี หลิมสกุล ไดสรางสรรคขึ้นใหมเมื่อป พ.ศ. 2546 โดยนําบทรองมาจากบทพระราชนิพนธของละคร เรื่อง อิเหนา ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หลานภาลัย ในสวนของทารําในบางทาไดเลียนแบบทารําจากบทลงสรงทรงเครื่องที่มีอยูเดิม และคิด สรางสรรคทารําขึ้นเปนการแสดงรําเดี่ยว ชุด กุสุมาทรงเครื่อง ในสวนของทารําไดเลียนแบบทารําจากบทลงสรงทรงเครื่องที่มีอยูเดิมเชน ทาทรงภูษา ทา หมสไบ ทาทรงมงกุฎ ทาทองกร เปนตน และทาที่สรางสรรคขึ้นมาใหม เชน ทาเลื่อมสลับ

ท า

ปะวะหล่ํา ทาเพชรประดับ ทาแสงระยับ เปนตน โดยสรางสรรคทาขึ้นใหมจากความหมายของบท รอง ซึ่งนํามารอยเรียงเปนกระบวนทา แบบมาตรฐาน นอกจากนี้ยังมีการใชพัดประกอบการแสดง เนื่องจากในบทรองซึ่งนํามาจากบทพระราชนิพนธ เรื่อง อิเหนา ไดบรรยายไววา นางกุสุมาแตงองค ทรงเครื่องแลวหยิบพัดดามจิ้วติดตัวไปดวย ดังนั้น การแสดงชุด กุสุมาทรงเครื่อง จึงใชพัดเปนอุปกรณ ประกอบการแสดงการแสดงชุดนี้ จึงเปนการรําอวดฝมือและความสามารถของผูแสดงที่ใชทวงทาของ ละครในที่ออนชอย และสวยงามแบบละครใน กุสุมาทรงเครื่อง มีลีลารายรําแบบละครในซึ่งจะตองรําอยางออนชอย สวยงาม นุมนวล รํา ตรงจังหวะ การสื่ออารมณทางสีหนา และแววตา ผูแ สดงจะตองทําใหสมบทบาทของตัวละคร คือ จะตองรําใหสวยงาม ออนชอย มีบุคลิกเรียบรอย ออนหวาน อารมณของผูแสดงตองสอดคลองกับบท รอง และผูแสดงจะตองรําใหสวยงามตามทามาตรฐาน ซึ่งจะตองรําอยางออนชอย สวยงาม นุมนวล สื่ออารมณทางสีหนาและแววตา ประกอบกับตองรําใหตรงจังหวะ เนื้อรองและทํานองเพลง ผูแสดง ควรมีความเขาใจในเทคนิคหรือกลวิธีในการรําทาตาง ๆ เพื่อใหทารํานั้นดูงดงามเปนที่นาประทับใจ ซึ่ง เทคนิคในการรําของแตละคนนั้นอาจจะไมเหมือนกัน เพราะขึ้นอยูกับความสามารถของผูแสดงและ สรีระของผูแ สดงดวย


ขอเสนอแนะ 1. ในการสอบแตละครั้งจะตองมีการเตรียมความพรอมใหมากที่สุด 2. ควรทบทวนกระบวนทารําอยางสม่ําเสมอ 3. ควรเขาหาอาจารยที่ปรึกษาเพื่อฝกฝนกระบวนทารําใหถูกตอง


บรรณานุกรม นิรัชดา สุขหนุน. (2547). โครงการปริญญานิพนธการแสดงรําเดีย่ วมาตรฐานชุด กุสมุ าทรงเครื่อง. ศศ.บ. มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก ผุสดี หลิมสกุล. (2549). รําเดีย่ วแบบมาตรฐานตัวนาง. กรุงเทพฯ: บริษัท แอคทีฟ พริ้นท จํากัด. Benewsonline. มหกรรมศิลปะการแสดงภูมิภาคอาเซียน ครั้งที่ 6. สืบคนจาก http://www. benewsonline.com/home/2016/07/9381111. สืบคนเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2561


ภาคผนวก


ภาคผนวก ก. ภาพการถายทอดทารํา โดย ดร.พัชรินทร สันติอชั วรรณ


ภาพการถายทอดทารํา โดย ดร.พัชรินทร สันติอชั วรรณ บันทึกภาพโดย: ศรศิลป วันชะนะ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2561.


ภาพการถายทอดทารํา โดย ดร.พัชรินทร สันติอชั วรรณ บันทึกภาพโดย: ศรศิลป วันชะนะ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2561.

ภาพการถายทอดทารํา โดย ดร.พัชรินทร สันติอชั วรรณ บันทึกภาพโดย: ศรศิลป วันชะนะ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2561.


ภาคผนวก ข. ภาพกิจกรรมหลังการสอบรําเดีย่ วมาตรฐาน


ภาพถายผูแ สดงและครอบครัว บันทึกภาพโดย: ธนบูรณ กลิ่นบานหมอ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2561.


ภาพถายอาจารยทปี่ รึกษา อาจารยรัชดาพร สุขโต และผูแสดง บันทึกภาพโดย: ธนบูรณ กลิ่นบานหมอ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2561.


ภาพถายสายรหัสของผูแ สดง บันทึกภาพโดย: ธนบูรณ กลิ่นบานหมอ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2561.


ภาพถายกิจกรรมหลังการสอบรําเดีย่ วมาตรฐาน บันทึกภาพโดย: ธนบูรณ กลิ่นบานหมอ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2561.

ภาพถายกิจกรรมหลังการสอบรําเดีย่ วมาตรฐาน บันทึกภาพโดย: ธนบูรณ กลิ่นบานหมอ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2561


ภาพถายกิจกรรมหลังการสอบรําเดีย่ วมาตรฐาน บันทึกภาพโดย: ธนบูรณ กลิ่นบานหมอ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2561

ถายภาพรวมนักแสดงและอาจารยทปี่ รึกษา ประจําปการศึกษา 2561

บันทึกภาพโดย: ธนบูรณ กลิ่นบานหมอ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2561


ภาพถายครอบครัว บันทึกภาพโดย: ธนบูรณ กลิ่นบานหมอ, บันทึกภาพเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2561.


ประวัติสว นตัว (Resume) ชื่อ-นามสกุล นางสาวศรศิลป วันชะนะ ชื่อ-นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) Sornsin Wanchana ที่อยูปจ จุบัน 99/11 หมูที่ 9 ต.ทาโพธิ์ อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก โทรศัพทมือถือ 089-9592391 Email-address Sronsin@hotmail.co.th วัน เดือน ปเกิด 26 กันยายน 2539 สถานที่เกิด โรงพยาบาลลอง ต.หวยออ อ.ลอง จ.แพร สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธ ประวัติการศึกษา 1. พ.ศ. 2551 วุฒิการศึกษา ประถมศึกษาปที่ 6 สถาบัน โรงเรียนชุมชนบานคลองเคียน 2. พ.ศ. 2554 วุฒิการศึกษา มัธยมศึกษา สถาบัน โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม 3. พ.ศ. 2557 วุฒิการศึกษา มัธยมศึกษา สถาบัน โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม 4. พ.ศ. 2561 วุฒิก ารศึกษา นิสิ ตชั้นปที่ 4 สาขา นาฏศิลปไทย คณะ มนุษ ยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.