อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด ปันหยีแต่งตัว

Page 1

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด ปันหยีแต่งตัว

จุฑารัตน์ โพธิ์สระ

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทยฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2561


อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด “ปันหยีแต่งตัว” ของ นางสาวจุฑารัตน์ โพธิ์สระ ได้รับการพิจารณาให้นับเป็นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต (นาฏศิลป์ไทย) คณะกรรมการอาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ...................................................................................................................อาจารย์ที่ปรึกษา (อาจารย์ภูริตา เรืองจิรยศ) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.รุ่งนภา ฉิมพุฒ) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์รัชดาพร สุคโต) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.จิตติมา นาคีเภท) ...................................................................................................................กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประภาศรี ศรีประดิษฐ์) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์อุบลวรรณ โตอวยพร) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์วรวิทย์ ทองเนื้ออ่อน) อนุมัติ ........................................................................... (ดร.จิตติมา นาคีเภท) หัวหน้าภาควิชาศิลปะการแสดง


ประกาศคุณูปการ อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด ปันหยีแต่งตัว ฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีต้องขอกราบ ขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ ในการถ่ายทอด กระบวนท่าราและองค์ความรู้ การแสดงราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด ปันหยีแต่งตัว รวมทั้งคอยให้คาปรึกษา แนะนา และให้กาลังใจมาโดยตลอด ขอกราบขอบพระคุ ณ อาจารย์ ภูริ ตา เรื องจิร ยศ อาจารย์ ที่ป รึก ษา และอาจารย์ป ระจ า รายวิชาอาศรมศึกษา ที่ได้กรุณาให้คาปรึกษา คาชี้แนะ และปรับแก้ไข ตลอดจนการตรวจรูปเล่มให้ สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ขอกราบขอบพระคุณ คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ให้คาปรึกษาและให้ความช่วยเหลือมาโดยตลอด ขอขอบคุณ นางสาวณัฐธิดา เกตุมีแสง และนางสาวอาธิญาภรณ์ พิชัยชม ที่ได้เสียสละเวลา มาร่วมเป็นนักแสดงให้กับการแสดงชุดนี้ รวมถึงเพื่อน ๆ พี่ ๆ น้อง ๆ ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ทุกคน ที่ให้ความช่วยเหลือและคอยเป็นกาลังใจเสมอมา ขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา และครอบครัว โพธิ์สระ ที่คอยให้คาปรึกษา และคอยให้ กาลังใจ ในทุก ๆ เรื่อง รวมทั้งให้การสนับสนุนทุนทรัพย์ และยังเป็นแรงผลักดันให้งานนี้สาเร็จลุล่วงไป ได้ด้วยดี จุฑารัตน์ โพธิ์สระ


สารบัญ บทที่

หน้า

1

บทนา…………………………………………………………................................….……...…..…… ความสาคัญของการถ่ายทอดท่ารา....……………………….........…………….......……… วัตถุประสงค์......................................……………………….........…………….......……… วิธีดาเนินงาน.....................................……………………….........……………....…...…… ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ................……………………….........…………….......……… นิยามศัพท์เฉพาะ..............................……………………….........……………....…...……

1 1 2 2 3 3

2

ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา............................................................................................. ประวัติส่วนตัว...................................……………………….........………....…………...… ประวัติการศึกษา................................……………………….........……………...………… ประวัติการทางาน..............................……………………….........………………………… ผลงานทางด้านวิชาการและการแสดง……………………….........……………...………… ประวัติการสืบทอดและการถ่ายทอดท่ารา……………..……….........………...………… แผนผังการสืบทอดและถ่ายทอดท่ารา.……………………….........…………....……...…

4 4 5 5 5 8 8

3

วิธีดาเนินการสืบทอดและฝึกหัด.............................................................................. ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด.......……………………….........………….……..……… ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด...........….........…………….......……… อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด......……………………….........……………....…...…… พัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด.……………………….........……………....……...…

10 10 10 11 12


สารบัญ (ต่อ) บทที่

หน้า

4

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด ปันหยีแต่งตัว………….....……………....…………… ประวัติความเป็นมาของการแสดง………………..……….........……………....…………… เรื่องย่อของการแสดง……………………...................….........…………..…....…………… บทร้อง……………………….........……………....……...........................................……… ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง……………………….........…………….............…………… ฉากและองค์ประกอบการแสดง……………………….........……………....….....………… เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า……………………….........…………….........…………… นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง……………………….........……………................…………… กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่………………………................……………....…………… กลวิธีในการรา................................……………………….........……………....……………

16 16 16 17 19 23 24 36 37 62

5

บทสรุปและข้อเสนอแนะ.......................................................................................... บทสรุป................................……………………......………….....................…….………. ข้อเสนอแนะ………………………………........................……....…………………....……….

63 63 65

บรรณานุกรม...........................................................................................................................

66

ภาคผนวก………………………....……………………………………….………………..................................

68

ประวัติผู้วิจัย………………………………………………………….……………...........................................

73


สารบัญตาราง ตาราง 1 2 3 4 5

หน้า แสดงวิธีการดาเนินงาน ……………………………………………..……....…......…...……………….. แสดงประวัติการศึกษาของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ…................... แสดงระยะเวลาและสถานทีส่ ืบทอดและฝึกหัด……..…………....…..…………..................... แสดงพัฒนาการในการสืบทอดท่าราและฝึกหัด……………………………………………………. แสดงท่าราการแสดงราเดียวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด ปันหยีแต่งตัว..………

2 5 11 12 38


สารบัญภาพ ภาพ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

หน้า ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ……………………………………....…………… ระบาชมพูภูคา รับเสเด็จสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ จังหวัดน่าน………………………………............................................................................ ระบาสกุณาน่าน…………………….……………………………………....................................... การสืบทอดท่าราการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว............................... วงปี่พาทย์เครื่องห้า……………………………………....……………........................................ ปี่ใน......................……………………………………....…………….......................................... ระนาดเอก..........……………………………………....……………........................................... ฆ้องวงใหญ่…………………………....…………................................................................... ตะโพน…………………………....………….......................................................................... กลองทัด…………………………....…………....................................................................... ฉิ่ง…………………………....…………................................................................................. เตียงและเครื่องราชูปโภค……..................................................................................... กริช……………………………………....…………................................................................... แส้…………………….……………………………………....…………............................................ เครื่องแต่งกายการแสดงราเดี่ยวมาตราฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว…………………………….. ปันจุเหร็จเพชร อุบะดอกไม้ทัด.………….………………..…………..................................... เสื้อ (ฉลององค์) พระแขนสัน้ ……………………………………………..……........................... เกราะสุวรรณ……………………………………....…………..............…................................... กรองคอพระ……………………………………………....…………............................................ สนับเพลา…………….……………………………………....………….......................................... ผ้านุ่ง (ภูษา)...............…………….……………………....…………......................................... ห้อยข้าง (เจียรบาด หรือ ชายแครง)…………………...…………...................................... ห้อยหน้า (ชายไหว)…….………………………………....………..…........................................ รัดสะเอว ..........................…………………………………....………….................................. ทับทรวง…………….……………………………………....…………............................................

4 6 7 9 19 20 20 21 21 22 22 23 23 24 24 25 25 26 26 27 27 28 28 29 29


สารบัญภาพ ภาพ 26 27 28 29 30 31 32

33 34 35 36 37

หน้า สังวาล และตาบทิศ…………….………………………............………….................................. เข็มขัด…….…………….……………………………………....…………........................................ ปั้นเหน่ง (หัวเข็มขัด)…….…………….…………………....……………................................... กาไลแผง (ทองกร)..............…………….………………....…………..................................... แหวนรอบ…….…………….……………………………………....………….................................. ปะวะหล่า……………..…….……………………………………....………….................................. กาไลข้อเท้า…………….………………………………………………....…………........................... แหวนรอบ (แหวนรอบกาไลข้อเท้า)……………....……....………….................................. ธามรงค์...................................................................................................................... เครื่องแต่งกายม้าทรง.……………………………………....…………....................................... เครื่องแต่งการทหาร…………………………………....…………............................................. การแต่งหน้า ชุด ปันหยีแต่งตัว………………………....………….......................................

30 30 31 31 32 32 33

33 34 34 35 35


บทที่ 1 บทนา ความสาคัญของการถ่ายทอดท่ารา นาฏศิลป์ไทย หมายถึง ศิลปะการฟ้อนรา ทั้งที่เป็นระบา รา เต้น และอื่น ๆ รวมทั้งละครรา โขน หนังใหญ่ (สุรพล วิรุฬห์รักษ์, 2547, หน้า 24 – 26.) การแสดงนาฏศิลป์ไทย ถือเป็นศาสตร์ แขนงหนึ่งที่มีความวิจิตรงดงาม แสดงให้เห็นถึงขนบธรรมเนียมประเพณีอันงดงาม ของชาติไทย ทั้งเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ลีลาท่ารา ดนตรีประกอบ และบทร้อง และเป็นศิลปะที่ใช้ร่างกายและจิตใจ แสดงออกถึงเรื่องราวต่าง ๆ ผ่านการร่ายรา การพูดหรือการขับร้อง และด้วยอารมณ์ของผู้แสดงหรือ ของตัวละครที่ทาให้ผู้ชมเข้าใจและสามารถรับรู้ได้ว่าการแสดงนี้ต้องการสื่ ออะไร และต้องการบอก อะไรแก่ผู้ชม การเรียนรู้และการศึกษานาฏศิลป์ไทยมีความยาก ในการฝึกหัด การศึกษาจึงต้องมี ความอดทน พยายาม และความอุ ต สาหะในการฝึ ก ฝนอั น น ามาซึ่ ง คุ ณ ประโยชน์ อั น มหาศาล และยังเป็นการศึกษาวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมแขนงหนึ่ง นาฏศิลป์ ถือเป็นส่วนหนึ่ง ของศิลปะสาขา หนึ่ ง ของวิ จิ ต รศิ ล ป์ อั น ประกอบด้ ว ย จิ ต รกรรม สถาปั ต ยกรรม วรรณคดี ดนตรี แ ละนาฏศิ ล ป์ นอกจากจะแสดงความเป็นอารยธรรมของประเทศแล้วยังเป็ นเสมือนแหล่งรวมศิลปะการแสดงหลาย รูปแบบเข้าด้วยกัน โดยมีมนุษย์เป็นศูนย์กลางในการที่จะสร้างสรรค์ และอนุรักษ์เพื่อถ่ายทอดสืบไป (สุจิตต์ วงษ์เทศ, 2532, หน้า 15.) ภาควิชาศิลปะการแสดง สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มีการวัดผลประเมินตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ที่นิสิตได้ศึกษามาตลอดระยะเวลา 4 ปี โดยการ จัดสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางนาฏศิลป์ไทยขึ้น ซึ่ งอยู่ในการเรียนการสอนรายวิชา อาศรมศึกษา เพื่ อ เป็ น การเพิ่ ม พู น ความรู้ ใ นการร าให้ ถู ก ต้ อ งตามแบบแผน และเพื่ อ รวบรวมองค์ ค วามรู้ จาก ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านนาฏศิลป์ไทย ในการเรียนครั้งนี้ผู้ศึกษามีความศรัทธาในองค์ ความรู้ของผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านนาฏศิลป์ไทย คือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ อาจารย์ประจาสาขานาฏยศิลป์ไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้ ถ่ายทอด ท่ารา ชุด ปันหยีแต่งตัว เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ไทย และยังเป็นการสืบสาน อนุรักษ์เผยแพร่กระบวนท่าราที่ได้รับการถ่ายทอดให้คงอยู่และเป็นที่รู้จักแก่ชนรุ่นหลังสืบไป ปันหยีแต่งตัว เป็นตัวละครตัวพระ ซึ่งมีบทบาทสาคัญในละครใน เรื่อง อิเหนา ซึ่งเดิมเป็น บทพระราชนิ พ นธ์ ข องสมเด็ จ พระอนุ ช าธิ ร าช เจ้ า ฟ้ า อั ษ ฎางค์ เ ดชาวุ ธ กรมหลวงนครราชสี ม า ที่ทรงปรับปรุงขึ้นจากบทพระราชนิพนธ์ในรัชการที่ 2 ซึ่งต่อมาทางกรมศิลปากรได้นาออกแสดง ณ โรงละครแห่งชาติ เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว กล่าวถึงอิเหนาปลอมตัวเป็นโจรป่าและ เปลี่ยนนามใหม่ว่า “มิสาระปันหยี” เสด็จออกประพาสป่าเพื่อจะไปหานางจินตะหราผู้เป็นที่รักที่เมือง หมันหยา วันหนึ่งประสันตาพี่เลี้ยงของอิเหนาชวนบ่าวไพร่ออกไปต่อนกจนล่วงล้าเข้าไปถึงค่ายพัก ของระตูบุศสิหนาทาให้เกิดเหตุทะเลาะวิวาทกับไพร่พลของระตูบุศสิหนาและเกิดการรบสู้กันขึ้น ก่อนออกรบนี้มีการราลงสรงโทนของปันหยี ซึ่งเป็นศิลปะการราแต่งองค์ทรงเครื่องก่อนการออกรบ


2 และเป็ น การร าอวดฝี มื อ ของผู้ แ สดง โดยมี ท่ า ร าที่ ส ง่ า งาม และนุ่ ม นวลตามแบบละครใน จากข้อมูลข้างต้น ผู้ศึกษา จึงต้องการที่จะศึกษาการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว ในฉบับ ของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อตัวนิสิต และเพื่อพัฒนา ความสามารถในการราต่อไป วัตถุประสงค์ เพื่ อ ศึ ก ษาค้ น คว้ า องค์ ป ระกอบการแสดง และกลวิ ธี ข องการแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว ในฉบับของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ วิธีดาเนินงาน การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว มีวิธีการดาเนินงานดังต่อไปนี้ ตาราง 1 แสดงวิธีดาเนินงาน วิธีการดาเนินงาน 1. ศึกษาข้อมูลเกีย่ วกับประวัติ การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว 2. ศึกษาจากสื่อ วีดีทัศน์ 3. ขอรับการถ่ายทอดกระบวนท่ารา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ โดยแบ่งเป็น 2 ครั้ง ได้แก่ - ครั้งที่ 1 วันที่ 1 – 3 กรกฎาคม 2561 - ครั้งที่ 2 วันที่ 2 – 3 สิงหาคม 2561 4. สอบราเดี่ยวมาตรฐาน กับคณะกรรมการประจาภาควิชา ศิลปะการแสดง โดยแบ่งการสอบ ออกเป็นทั้งหมด 4 ครั้ง ได้แก่ - สอบ 25% วันที่ 8 สิงหาคม 2561

แผนการดาเนินงานเดือนมิถุนายน – เดือนกันยายน ( พ.ศ. 2561 ) มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4


3 ตาราง 1 (ต่อ) วิธีการดาเนินงาน

แผนการดาเนินงานเดือนมิถุนายน – เดือนกันยายน ( พ.ศ. 2561 ) มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

- สอบ50% วันที่ 15 สิงหาคม 2561 - สอบ 75% วันที่ 22 สิงหาคม 2561 - สอบ 100% วันที่ 29 สิงหาคม 2561 5. สอบราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว กับท่าน คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ วันที่ 31 สิงหาคม 2561 6. สรุปผล ส่งรูปเล่ม ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ทราบถึ ง กลวิ ธี การแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด ปั น หยี แ ต่ ง ตั ว ในฉบั บ ของ ท่านผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ นิยามศัพท์เฉพาะ ปันหยี หมายถึง ฐานันดรศักดิ์ของเจ้าผู้น้อยในชวา บางทีประกอบนามนักรบผู้กล้าหาญ ในบทละครอิเหนา มีชื่อต่าง ๆ เช่น มิสาระปันหยี (วรรณพินี สุขสม, 2545, หน้า 100.) ปันจุเหร็จเพชร หมายถึง เครื่องประดับศีรษะ ใช้สาหรับละครหลวงแต่งเป็นปันหยี แทนการโพกศีรษะ ทาด้วยเงินประดับเพชรพลอยสีขาว มีลวดลายงดงาม ในเนื้อเพลงจะใช้คาว่า ตาดพับ แทน (วรรณพินี สุขสม, 2545, หน้า 249.) อรัญวา หมายถึง ชาวป่า (วรรณพินี สุขสม, 2545, หน้า 164.)


บทที่ 2 ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา อาศรมศึ ก ษาทางนาฏศิ ล ป์ ไ ทย ชุ ด ปั น หยี แ ต่ ง ตั ว ได้ รั บ ความกรุ ณ าจาก ผู้ ช่ ว ย ศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ อาจารย์ประจาสาขานาฏยศิลป์ไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิท ยาลั ย เป็นผู้ถ่ายทอดท่าราชุดนี้ โดยในบทนี้ประกอบไปด้วย ประวัติส่วนตัว ผู้ถ่ายทอดท่ารา, ผลงานทางด้านวิชาการและการแสดงที่เกี่ยวข้อง, ประวัติการสืบทอดและการ ถ่ายทอดท่ารา และแผนผังการสืบทอดและถ่ายทอดท่ารา ดังนี้

ภาพ 1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ ที่มา: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ, 2561 ประวัติส่วนตัว ชื่อ

(ภาษาไทย) นางมาลินี อาชายุทธการ (ภาษาอังกฤษ) Mrs.Malinee Achayutthakan ตาแหน่งวิชาการ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สถานทีท่ างาน สาขาวิชานาฏยศิลป์ไทย ภาควิชานาฏยศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ 081-616-2250


5 ประวัติการศึกษา ตาราง 2 แสดงประวัติการศึกษาของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ ปีที่สาเร็จ การศึกษา พ.ศ. 2558

ระดับปริญญา ปริญญาเอก

พ.ศ. 2537

ปริญญาโท

พ.ศ. 2535

ปริญญาตรี

หลักสูตร ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (นาฏศิลป์ไทย) ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (นาฏศิลป์ไทย) ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต (นาฏศิลป์ไทย)

คณะ/มหาวิทยาลัย คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการทางาน 1. กรรมการประจาภาควิชานาฏยศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. กรรมการหลั กสูตรบัณฑิตศึกษา ภาควิ ชานาฏยศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. 2559 – 2562 3. กรรมการฝ่ า ยวิ ช าการ คณะศิ ล ปกรรมศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ปี พ.ศ. 2560 – 2563 4. กรรมการฝ่ า ยบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา คณะศิ ล ปกรรมศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ปี พ.ศ. 2560 – 2563 5. กรรมการฝ่ า ยกิ จ การนิ สิ ต คณะศิ ล ปกรรมศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ปี พ.ศ. 2560 – 2563 6. กรรมการสภาคณาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. 2559 – 2562 กรรมการ ประสานงานกิจการนิสิต สานักงานนิสิตสัมพันธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. 2559 – 2562 7. หัวหน้ากิจกรรมฝ่ายศิลปวัฒนธรรม สานักงานนิสิตสัมพันธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. 2559 – 2562 อาจารย์ที่ปรึกษาชมรมนาฏศิลป์และการละครไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. 2538 – ปัจจุบัน ผลงานทางด้านวิชาการและการแสดง ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.มาลิ นี อาชายุ ท ธการ ผู้ มี ป ระสบการณ์ แ ละความสามารถ ในด้านนาฏศิลป์ ทั้งในด้านการสอน ด้านบริหาร ด้านวิชาการ ด้านการแสดง และด้านการสร้างสรรค์ ดังนี้


6 1. ผลงานด้านวิชาการ 1.1 งานวิจัย (ร่วม) เรื่อง “วัฒนธรรมบุกรุกภายในและนอกประชาคมอาเซียนที่ส่งผลกระทบ ต่อค่านิยมของการผลิตครูศิลปศึกษา กรณีศึกษา ประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว” ปี พ.ศ. 2558 1.2 รายงานการศึกษา (ร่วม) เรื่อง การศึกษาแนวทางและความเป็นไปได้ในการจัดทานวัตกรรม ทางวัฒนธรรมของสานักการสังคีตเพื่อเข้าสู่ไทยแลนด์ 4.0 ปี พ.ศ. 2560 1.3 บทความ เรื่อง การออกแบบงานวิจัยทางนาฏยศิลป์ กรณีศึกษาการสร้างงานนาฏยศิลป์ไทย เพื่อการอนุรักษ์และสร้างสรรค์สาหรับคนรุ่นใหม่ ปี พ.ศ. 2558 1.4 บทความ เรื่อง Cultural Influence Affecting Dance Values: A Case Study of Thailand and Laos People’s Demoeratic Republic ปี พ.ศ. 2560 2. ผลงานด้านการสร้างสรรค์ 2.1 ระบาชมพูภูคา ปี 2557

ภาพ 2 ระบาชมพูภูคา เนื่องในวโรกาสรับเสเด็จสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมรากุมารี ณ จังหวัดน่าน ที่มา: www.clnr.chula.ac.th, 2561


7 2.2 ระบาสกุณาน่าน ปี 2557

ภาพ 3 ระบาสกุณาน่าน ที่มา: www.clnr.chula.ac.th, 2561 2.3 ระบาวารรินกบิลแสม ปี พ.ศ. 2560 2.4 ระบาบัวหลวง ปี พ.ศ.2560 2.5 ราอวยพรกิ่งไม้เงินทองฉลอง 78 ปี คณะทันต์แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. 2561 ผลงานด้านอืน่ ๆ 1. ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านประเมินงานวิจัยทางนาฏยศิลป์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (มหาวิทยาลัยนเรศวร, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี และ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา) เมื่อปี พ.ศ. 2554, 2556, 2559 และ 2560 2. กรรมการตั ด สิ น การประกวดนาฏศิ ล ป์ ไ ทยระดั บ ประถมศึ ก ษาและมั ธ ยมศึ ก ษา ครั้งที่ 24 – 26 มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก เมื่อเดือนสิงหาคม ปี พ.ศ. 2557 – 2559 3. วิ ท ยากรบรรยายในหั ว ข้ อ “ถอดรหั ส นาฏศิ ล ป์ อ าเซี่ ย น” ให้ กั บ อาจารย์ ส อน ระดับมัธยมศึกษา อาเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี เมื่อเดือนตุลาคม ปี พ.ศ. 2558 4. วิทยากรบรรยายพิเศษปฐมนิเทศนิสิตอาสาสมัครงานวิศิษฏศิลปินสรรพศิลป์สโมสร ในหั ว ข้ อ “บุ ค ลิ ก ภาพและมนุ ษ ยสั ม พั น ธ์ ข องเจ้ า ภาพที่ ดี ” เมื่ อ เดื อ นตุ ล าคม ปี พ.ศ. 2558 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5. ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ วิ พ ากษ์ ผ ลงานของนิ สิ ต ชั้ น ปี ที่ 4 สาขาวิ ช าศิ ล ปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก เมื่อเดือน พฤษภาคม ปี พ.ศ. 2558 และ 2560


8 6. ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ วิ พ ากษ์ ผ ลงานของนิ สิ ต ชั้ น ปี ที่ 4 สาขาวิ ช าศิ ล ปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น เมื่อเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2559 7. ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ วิ พ ากษ์ ผ ลงานสร้ า งสรรค์ ชุ ด ระบ าปุ ร าณคติ ว ชิ ร ศรี ท วารวดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เมื่อเดือนธันวาคม ปี พ.ศ. 2559 8. ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาคุณภาพตาราโครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินเทพยวรางกูล เนื่องในโอกาสเสด็จขึ้นครองราชย์ เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาล ที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี จานวน 4 เรื่อง ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ปี พ.ศ. 2560 9. ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์ผลงานของนิสิตชั้นปีที่ 4 สาขาศิลปการแสดง คณะศิลปกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา เมื่อเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2559 และเดือนพฤศจิกายน ปี พ.ศ. 2560 10. ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์ผลงานสร้างสรรค์ชุด ระบายักษ์แคระ สถาบันวิจัยและส่ งเสริม ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี เมื่อเดือน มิถุนายน ปี 2561 11. ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ พิ จ ารณาบทความประจ าวารสารสารสนเทศ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ บ้านสมเด็จเจ้าพระยา ปี พ.ศ. 2560 – 2561 12. วิ ท ยากรบรรยายพิ เ ศษในรายวิ ช าการศึ ก ษาทั่ ว ไป มหาวิ ท ยาลั ย ศรี ป ทุ ม (วิชาHUM410 การเตรียมความพร้อมสู่การทางานในโลกสังคม) เมื่อปี พ.ศ. 2558 – 2561 13. ควบคุมและฝึกซ้อมนิสิตเผยแพร่นาฏยศิลป์ไทย ในงาน Yuncheng Guanggong International Festival 2017 ณ เมืองยูนเชง สาธารณรัฐประชาชนจีน ประวัติการสืบทอดและการถ่ายทอดท่ารา ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.มาลิ นี อาชายุ ท ธการ ได้ รั บ การถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู้ ท างด้ า น นาฏศิลป์ไทย จากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญหลายท่าน ทั้งตัวพระและตัวนาง โดยเฉพาะบทบาท และลีลาของตัวพระ ในการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว ท่านอาจารย์ได้รับการถ่ายทอด ท่ า ร ามาจาก อาจารย์ สุ ว รรณี ชลานุ เ คราะห์ ศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ สาขาศิ ล ปะการแสดง (นาฏศิลป์ – ละครรา) ปี พ.ศ. 2533 แผนผังการสืบทอดและถ่ายทอดท่ารา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ ได้รับการถ่ายทอดท่ารา การแสดงราเดี่ยว มาตรฐาน ชุ ด ปั น หยี แ ต่ ง ตั ว ท่ า นอาจารย์ ไ ด้ รั บ การถ่ า ยทอดท่ า ร ามาจาก อาจารย์ สุ ว รรณี ชลานุเคราะห์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์ - ละครรา) ปี พ.ศ. 2533 โดยมีลาดับ การถ่ายทอดท่าราตามแผนผัง ดังนี้


9

อาจารย์สุวรรณี ชลานุเคราะห์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์-ละครรา) ปี พ.ศ. 2533

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยนเรศวร

-

ปี พ.ศ. 2548 นางสาวรมณีย์ เกตุสุภะ ปี พ.ศ. 2561 นางสาวจุฑารัตน์ โพธิ์สระ

ภาพ 4 การสืบทอดท่าราการแสดงราเดีย่ วมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561


บทที่ 3 วิธีดาเนินการสืบทอดและฝึกหัด ผู้ศึกษาได้รับการถ่ายทอดท่ารา การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว นิสิตได้รับ การสืบทอดจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านนาฏศิลป์ไทย โดยในบทนี้กล่าวถึง ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด และพัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด ดังนี้ ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด ผู้ ศึ ก ษาได้ รั บ การถ่ า ยทอดท่ า ร า การแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด ปั น หยี แ ต่ ง ตั ว จากผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านนาฏศิลป์ไทย โดยมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาความสาคัญและความเป็นมาการแสดง ชุด ปันหยีแต่งตัว 2. ศึกษาเพลง ท่องจาบทและฝึกร้องเพลงปันหยีแต่งตัว 3. ศึกษากระบวนท่าราจากวีดีทัศน์การแสดงปันหยีแต่งตัว เพื่อความรวดเร็วในการรับการ ถ่ายทอดท่าราจากผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ 4. ปฏิบัติท่ารา ชุด ปันหยีแต่งตัว ให้อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราดู จากนั้นท่านอาจารย์ จะแนะน ารายละเอี ย ดการร า และปรั บ แก้ ไ ขท่ า ร าให้ ถู ก ต้ อ งและเหมาะสมตาม ความสามารถของผู้แสดง 5. ปฏิ บั ติ ท่ า ราชุ ด ปั นหยี แ ต่ ง ตัว ให้ อ าจารย์ ที่ ป รึก ษาได้ ดู จากนั้ นท่ า นอาจารย์ จ ะให้ ข้อแนะนาเพื่อที่ผู้แสดงจะได้ทาไปพัฒนาต่อไป 6. ทบทวนท่าราอย่างสม่าเสมอ และพร้อมปรับปรุงแก้ไขตามคาแนะนาของครูผู้ถ่ายทอด ท่าราและอาจารย์ที่ปรึกษา ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด ระยะเวลาในการถ่ า ยทอดท่ า ร า การแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด ปั น หยี แ ต่ ง ตั ว เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2561 – 31 สิงหาคม 2561 โดยมีรายละเอียดดังนี้


11 ตาราง 3 แสดงระยะเวลาและสถานที่สบื ทอดและฝึกหัด วัน เวลา 1 กรกฎาคม 2561 09.00 – 12.00 น. 2 กรกฎาคม 2561 09.00 – 12.00 น. 3 กรกฎาคม 2561 09.00 – 12.00 น. 2 สิงหาคม 2561 09.00 – 12.00 น. 3 สิงหาคม 2561 09.00 – 12.00 น.

รายการ ป ฏิ บั ติ แ ล ะ เ ข้ า รั บ ก า ร ถ่ า ยทอดร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว ต่อท่ารา เพลงวา และเพลงร่ า ยโดย ร้องเพลงและปฏิบัติท่าราโดย ไม่เข้าดนตรี ป ฏิ บั ติ แ ล ะ เ ข้ า รั บ ก า ร ถ่ า ยทอดร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว ต่อท่ารา จบเพลง โดยร้ อ งเพลงและ ปฏิบัติท่าราโดยไม่เข้าดนตรี ป ฏิ บั ติ แ ล ะ เ ข้ า รั บ ก า ร ถ่ า ยทอดร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว ต่อท่ารา โดยซ้ อ มเข้ า กั บ ดนตรี แ ละ ปรั บ แก้ ไ ขท่ า ร าบางท่ า ตาม ความเหมาะสม ป ฏิ บั ติ แ ล ะ เ ข้ า รั บ ก า ร ถ่ า ยทอดร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด ปั น ห ยี แ ต่ ง ตั ว เ ก็ บ รายละเอียดท่ารา และต่อท่า ทหารส่งกริช และม้าทรง ป ฏิ บั ติ แ ล ะ เ ข้ า รั บ ก า ร ถ่ายทอดท่าราเดี่ยวมาตรฐาน ชุ ด ปั น หยี แ ต่ ง ตั ว และเก็ บ รายละเอียดท่าราทั้งหมด

อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด 1. เครื่องเล่นเพลง 2. บทร้องและซีดีเพลง ปันหยีแต่งตัว 3. กล้องถ่ายภาพและบันทึกวีดีโอ 4. ผ้าโจงกระเบน 1 ผืน

สถานที่ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

ผู้ฝึกซ้อม ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ

คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ

คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ

คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ

คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ


12 5. สมุดและเครื่องเขียนสาหรับจดบันทึกท่าราและข้อเสนอแนะ 6. กริช (อาวุธสาหรับการแสดง) 7. แส้ (อาวุธสาหรับการแสดง) พัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด หลั ง จากการเข้ า รั บ การถ่ า ยทอดท่ า ร าการแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด ปั น หยี แ ต่ ง ตั ว จาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ ในแต่ละครั้งแล้ว ผู้ศึกษาได้กลับมาฝึกซ้อมปฏิบัติ ด้วยตนเอง และฝึกซ้อมกับอาจารย์ที่ปรึกษา คือ อาจารย์ภูริตา เรืองจิรยศ เพื่อเป็นการพัฒนาฝีมือ ในการรา รวมถึงเพื่อให้เข้าใจถึงตัวละคร คือ ปันหยี มากยิ่งขึ้น สามารถสรุปตารางพัฒนาการในการ สืบทอดท่าราและฝึกหัด ได้ดังนี้ ตาราง 4 แสดงพัฒนาการในการสืบทอดท่าราและฝึกหัด วัน เดือน ปี พัฒนาการในการสืบทอดท่าราและฝึกหัด 1 ปฏิ บั ติ แ ละเข้ า รั บ การถ่ า ยทอดร าเดี่ ย วมาตรฐาน กรกฎาคม ชุด ปันหยีแต่งตัว จาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี 2561 อาชายุทธการ ครั้งที่ 1 - ต่อท่าราเพลงวา และเพลงร่ายโดยร้องเพลงและ ปฏิบัติท่าราโดยไม่เข้าดนตรี - นิ สิ ต ไม่ มี ก าลั ง ขา ความสม่ าเสมอของท่ า ร า และการจดจาท่าราช้า 2 ปฏิ บั ติ แ ละเข้ า รั บ การถ่ า ยทอดร าเดี่ ย วมาตรฐาน กรกฎาคม ชุด ปันหยีแต่งตัว จาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี 2561 อาชายุทธการ ครั้งที่ 2 - ต่อท่าราจบเพลง โดยร้องเพลงและปฏิบัติท่ารา โดยไม่เข้าดนตรี - แก้ไขเรื่องตาลอย แก้ไขการใช้พื้นที่ 3 ปฏิ บั ติ แ ละเข้ า รั บ การถ่ า ยทอดร าเดี่ ย วมาตรฐาน กรกฎาคม ชุด ปันหยีแต่งตัว จาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี 2561 อาชายุทธการ ครั้งที่ 3 - ต่อท่าราโดยซ้อมเข้ากับดนตรีและปรับแก้ไขท่า ราบางท่าตามความเหมาะสม เช่น ท่าราท่อน “สังวาลประดับทับทิมเพทาย” - นิสิตนั่งกระทบไม่ถูกต้อง - ปรับการแบ่งลมหายใจขณะรา

สถานที่ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย


13 ตาราง 4 (ต่อ) วัน เดือน ปี พัฒนาการในการสืบทอดท่าราและฝึกหัด 29 ทบทวนท่าราและฝึกปฏิบัติการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน กรกฎาคม ชุ ด ปั น หยี แ ต่ ง ตั ว ฝึ ก ซ้ อ มกั บ อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษา 2561 อาจารย์ภูริตา เรืองจิรยศ - เก็บรายละเอียดท่ารา - ปรับแก้การจีบและการประเท้า - การใช้สายตาและการใส่อารมณ์ความรู้สึกในการ แสดง 2 เข้ารับการถ่ายทอดราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยี สิงหาคม แต่งตัว กับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี 2561 อาชายุทธการ ครั้งที่ 4 - เก็บรายละเอียดท่ารา - ต่อท่าทหารส่งกริชและม้าทรง - หลายท่านิสิตปฏิบัติเร็วกว่าจะหวะเพราะลืมตัว 3 เข้ารับการถ่ายทอดราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยี สิงหาคม แต่งตัว กับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี 2561 อาชายุทธการ ครั้งที่ 5 - เก็บรายละเอียดท่าราทั้งหมด - ปรับแก้ไขท่าม้าทรงในช่วงท้ายเพลง และการใช้ พื้นที่ เพิ่มการใช้หน้าและสายตา 4 – 25 ฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด ปั น หยี สิงหาคม แต่งตัว โดยฝึกซ้อมด้วยตัวเอง 2561 26 – 29 ฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด ปั น หยี สิงหาคม แต่งตัว กับอาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ภูริตา เรืองจิรยศ 2561 - ปรับเรื่องอารมณ์และสายตาระหว่างการแสดง - ปรับท่าทหารส่งกริชและท้าม้าทรงให้ตรงตาม จังหวะ และทันเพลง

สถานที่ มหาวิทยาลัยนเรศวร

คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

อาคารกิจกรรมด้าน ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร ห้องภาควิชา ศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

จากตารางข้ า งต้ น ตลอดระยะเวลาที่ ผู้ ศึ ก ษาได้ รั บ การถ่ า ยทอดท่ า ร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว จาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ ผู้ศึกษาได้บันทึกภาพเคลื่อนไหว ทุกครั้งที่เข้ารับการถ่ายทอดท่ารา เพื่อตรวจความถูกต้องของท่ารา และบันทึกการเก็บรายละเอียด ของท่ารา และสภาพปัญหาที่พบระหว่างการถ่ายทอดท่าราและการฝึกซ้อม ดังนี้


14 1 การเก็บรายละเอียดของท่ารา 1.1 การทรงตัว (กาลังขา) 1.2 ลีลาท่ารา 1.3 ความสม่าเสมอและความถูกต้องของท่ารา 1.4 อารมณ์และสายตาระหว่างการแสดง 1.5 การใช้พื้นที่ในการรา 1.6 การขึ้นม้าและการใช้อาวุธ 2 สภาพปัญหาที่พบระหว่างการถ่ายทอดท่าราและฝึกซ้อม 2.1 ความสม่าเสมอของท่ารา 2.2 ผู้แสดงไม่มีกาลังขา ขาดพลัง 2.3 ผู้แสดงขาดความมั่นใจ 2.4 การใช้พื้นที่ในการแสดงเมื่อราแล้วไม่ตรงกลางเวที 2.5 หลายท่าปฏิบัติเร็วกว่าจังหวะ เช่น ท่าโบก เพิ่มความสง่างาม รวมถึงอารมณ์ และบุคลิกเป็นตัวละครอิเหนา 3 วิธีแก้แก้ไขปัญหา 3.1 ผู้แสดงวิ่งออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอเพื่อให้มีกาลังขาแข็งแรงและจะทาให้รา นิ่งขึ้น 3.2 ผู้แสดงฝึกซ้อมและทบทวนท่าราอย่างสม่าเสมอ 3.3 ผู้แสดงทาความเข้าใจในบทร้องและตัวละคร 3.4 ผู้แสดงฝึกการใช้อาวุธและซ้อมเข้ากับนักแสดงที่แสดงเป็นม้าและทหารทุกครั้ง เพื่อให้ก ารแสดงออกมาสมบูรณ์และเพื่อสร้างความเข้าใจกันระหว่ างปันหยี และม้าทรง จากการรั บ การถ่ า ยทอดท่ า ร าและกลวิ ธี ก ารร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด ปั น หยี แ ต่ ง ตั ว จากท่านผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ ทาให้ผู้ศึกษาสามารถปฏิบัติท่าราได้สวยงาม และเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับตัวละครที่แสดงมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ผู้ศึกษาได้ฝึกปฏิบัติท่าราอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาฝีมือการราให้ดียิ่งขึ้นและสามารถนาไปแสดงได้อย่างสมบูรณ์ ข้ อ เสนอแนะการถ่ า ยทอดท่ า ร าการแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด ปั น หยี แ ต่ ง ตั ว จากผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ ผู้ถ่ายทอดท่ารา (ข้อมูลในแบบประเมินของภาควิชา ศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร) ดังนี้ - ด้วยนิสิตเป็นเด็กสามัญ มีทักษะพื้นฐานน้อยแต่มีความขยันตั้งใจดี ทาให้เห็นพัฒนาการ ดีขึ้นเรื่อย ๆ แต่ยังขาดการสังเกตและยังช้า จะยังเก็บรายละเอียดไม่ดีนัก คลาดเคลื่อนบ้างต้องย้า ข้อเสนอแนะการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านนาฏศิลป์ไทย จานวน 5 ท่าน ดังนี้

จากท่านคณะกรรมการ


15 1 ดร.นพรัตน์ศุภาการ หวังในธรรม ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย สถาบันบัณฑิต พัฒนศิลป์ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม - ผู้แสดงราได้ดี คนส่งม้า + แส้ม้ามาพร้อม 2 ดร.ไพฑูรย์ เข็มเข็ง ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม 2.1 ผู้แสดงอยู่บนเวที เราไม่มีการเปิดปิดม่าน พอเริ่มเพลงขึ้นไม่ต้องรีบเปิดไฟมิฉะนั้น ผู้แสดงจะเก้อ นั่งอยู่นาน 2.2 แต่งกายสวยงามเรียบร้อยดีใช้ได้ แต่งหน้าให้แจ่มหรือมีแก้มอีกนิดจะสมบูรณ์ ยิ่งขึ้นเพราะเครื่องแต่งกายแดงเครื่องปักแวววาวและไฟบนเวทีก็สว่างจะทาให้ ใบหน้าจาง 2.3 การใช้พื้นที่บนเวทีส่วนใหญ่เกือบทุกชุดจะราอยู่ข้างหน้าเตียงควรออกมาข้างหน้า ได้อีกยังมีพื้นที่ที่และปรับเปลีย่ นสายตาผู้ชม ทั้งผู้แสดงก็ได้มีการเคลื่อนไหว 2.4 จังหวะลีลาท่าราผู้แสดงซ้อมมาดี 2.5 เพลงร้อง ดนตรี อุปกรณ์ชัดเจน เช่นผู้ส่งแส้ อุปกรณ์ และทรงม้าเข้ากันได้ดี 3 อาจารย์ตวงฤดี ถาพรพาสี ข้าราชการบานาญ สานักการสังคีตกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม ปัจจุบันเป็น อาจารย์พิเศษ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา - ไม่มี 4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ฐิติมา วิทยาวงศรุจิ ผู้มีความรู้ความสามารถ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร - ราใช้ได้ มีบางท่าไม่ค่อยสง่า แต่โดยรวมดี จังหวะโอเค มีช่วงท้ายหลวมนิด ๆ (ช่วงขึ้นม้า) 5 รองศาสตราจารย์ นุชนาฏ ดีเจริญ ผู้มีความรู้ความสามารถพิเศษ สาขาวิชา ศิลปะการแสดง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา 6 ทรงสอด ควรสอดจีบขึ้นให้เหมาะสมกับคา ท่าบางท่าเหมือนวงจะแคบไปทาให้ดู ไม่สง่า หน้าสวย อารมณ์โอเค


บทที่ 4 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด ปันหยีแต่งตัว การแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด ปั น หยี แ ต่ ง ตั ว มี ส่ ว นประกอบที่ ส าคั ญ หลายด้ า น ได้แก่ ประวัติความเป็นมาของการแสดง, เรื่องย่อของการแสดง, บทร้อง, ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง, ฉาก และองค์ประกอบการแสดง, เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า, นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง, กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่ และกลวิธีในการรา เป็นต้น ประวัติความเป็นมาของการแสดง การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว เป็นการแสดงที่ถูกตัดตอนมาจากการแสดงละคร ใน เรื่ อ ง อิ เ หนา ซึ่ ง เดิ ม เป็ น บทพระราชนิ พ นธ์ ข องสมเด็ จ พระอนุ ช าธิ ร าช เจ้ า ฟ้ า อั ษ ฎางค์ เ ดชาวุ ธ กรมหลวงนครราชสีมาที่ทรงปรับปรุงขึ้นจากบทพระราชนิพนธ์ในรัชการที่ 2 ซึ่งต่อมาทางกรมศิลปากร ได้นาออกแสดง ณ โรงละครแห่งชาติ เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 เนื้อเรื่องของอิเหนาเดิมนั้น เป็นเรื่องราวของชวา และเข้ามาสู่วงการวรรณกรรมและนาฏกรรมไทยในกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย สมั ย พระเจ้ า บรมโกศ โดยเจ้ า ฟ้ า หญิ ง กุ ฎ ฑลและเจ้ า ฟ้ า หญิ ง มงกุ ฎ ต่ อ มาในสมั ย กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาลั ย ก็ ท รงพระราชนิ พ นธ์ บ ทละครเรื่ อ ง อิ เ หนา ขึ้ น มาใหม่ โดยปรับปรุงให้บทละครเหมาะสมกับการเป็นละครรา ในรูปแบบละครใน และปรากฏว่าเป็นบทละคร ที่ มี คุ ณ ค่ า ทางวรรณกรรมอย่ า งสู ง และได้ รั บ การยกย่ อ งให้ เ ป็ น บทละครร า บทละครเรื่ อ ง อิ เ หนา พระราชนิพนธ์ในรัชการที่ 2 จึงเป็นที่นิยมในการนามาจัดการแสดงเป็นอย่างมาก (นิลุบล พุฒฤทธิ์, 2556, หน้า 26.) เรื่องย่อของการแสดง การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว อยู่ในละครในเรื่อง อิเหนา ตอน ประสันตาต่อนก กล่าวถึง อิเหนากาลังอยู่ในห้องบรรทมแต่บรรทมไม่หลับ เพราะกาลังปลาบปลื้มที่ มีโอกาสจะได้ไปพบ นางจินตะหราผู้เป็นที่รัก พอได้เวลาก็ทรงม้าเสด็จออกจากเมืองไป จนมาพักอยู่ ณ พลับพลาค่ายในป่า ใหญ่ อิเหนาได้ปลอมตัวเป็นชาวป่าเปลี่ยนนามใหม่ว่า มิสาระปันหยี และสั่งให้พวกพลในกองทัพทุกคน ปลอมตัวเป็นชาวป่าพร้อมกับเปลี่ยนชื่อตามคาสั่งของอิเหนาหมดทุกคน มาวันหนึ่งประสันตา พี่เลี้ยงคนหนึ่งของอิเหนาคิดจะไปต่อนกเขาเล่นตามสบายจึงจัดแจงแต่งตัว ชักชวนบ่าวไพร่ของตน ถือเครื่องมือออกจากค่ายไปแต่เช้า เที่ยวลัดเลาะซุ่มต่อนกเขาไปเรื่อยตามชายป่า จนมาถึงพลับพลาของระตูบุศสิหนา ขณะที่ทหารยามของระตูบุศสิหนากาลังตั้งกองล้อมวงทาหน้าที่ ระวั ง ค่ า ย เพื่ อ ถวายความปลอดภั ย ให้ แ ก่ น ายของตน ฝ่ า ยประสั น ตากั บ พวกบ่ า วได้ ติ ด ตามนกเขา จนมาใกล้ ค่ า ยโดยไม่ ท ราบว่ า เป็ น พวกไหนก็ เ ข้ า ไปแอบดู พวกทหารของระตู บุ ศ สิ ห นาเห็ น


17 เป็นคนแปลกหน้าท่าทางเป็นโจรไพรพลก็ขับไล่ แต่ประสันตากั บพวกบ่าวไม่สนใจที่จะเชื่อฟังกลับถือดี ก็เลยเกิดต่อสู้กันจนถึงล้มตาย พวกประสันตาน้อยกว่าอีกทั้งพวกบ่าวก็ต้องอาวุธบาดเจ็บ ระตูบุศสิหนา เมื่อได้ยินเสียงอึกทึกกึกก้องจึงออกมาดู ครั้นทราบเรื่องราวทั้งหมดและเห็นพวกพลของตนล้มตายก็โกรธ จึงสั่งให้ยกกองทัพไปปราบโจรป่า ประสันตาและพวกต่างก็พากันรีบกลับค่ายของตน เมื่อมาถึงได้เข้าเฝ้า ปันหยีแ ละกราบทู ล เรื่องระตูบุศสิ หนาจะยกกองทัพมารบ ปันหยีจึงให้สอบถามสาเหตุเพราะไม่เคย มีเรื่องราวอะไรกันมาก่อน ทาไมจึงยกกองทัพมา ปูนตาออกหาสาเหตุจนทราบว่าประสันตาเป็นคนก่อ เรื่องทั้งหมดให้ลงโทษประสันตา แต่ปันหยีห้ามไว้พร้อมกับเตรียมยกกองทัพออกรบกับระตูบุศสิหนา โดยให้ประสันตาเป็นทัพหน้า ก่อนออกรบนี้จะมีบทของราลงสรงโทนซึ่งเป็นศิลปะของการราแต่งองค์ ทรงเครื่องอันงดงามของปันหยี กองทัพทั้ งสองได้ยกมาประจันหน้ากัน ณ เชิงภูเขามะราปี พวกพลทั้งสองฝ่ายเข้ามารบกัน ฝ่ายระตูมิบุศสิหนาอาจสู้ทหารฝ่ายปันหยีได้ ระตูบุศสิหนาจึงออกรบกับปันหยีเอง ด้วยความชานาญ และเชี่ยวชาญในการรบทาให้มิอาจสู้ปันหยีได้ ในที่สุดก็ถูกแทงด้วยทวนถึงแก่ความตาย (วรรณพินี สุขสม, 2545, หน้า 106.) บทร้อง - ปี่พาทย์ทาเพลงวา - ร้องร่าย เมื่อนั้น

มิสาระปันหยีสกุ าหรา

จึงสระสรงทรงเครื่องมุรธา

ตามตาราณรงค์ยงยุทธ - ร้องเพลงลงสรงโทน -

บรรจงทรงสอดสนับเพลา

ภูษานุ่งหน่วงเนาไม่เลื่อนหลุด

ฉลององค์เกราะสุวรรณกันอาวุธ

เจียรบาดผาดผุดพรรณราย

ตาบทิศทับทรวงดวงกุดั่น

คาดเข็มขัดรัดมั่นกระสันสาย

สังวาลประดับทับทิมพราย

ทองกรจาหลักลายลงยา

ธามรงค์ค่าเมืองเรืองระยับ

ตาดพับพันโพกเกศา

แต่งเป็นเช่นชาวอรัญวา

กุมกริชฤทธาสาหรับมือ


18 - ร้องเพลงรื้อร่าย มาทรงอาชาม้าที่นั่ง

พระหัตถ์หน่วงเหนี่ยวรั้งสายถือ

ให้คลาเคลื่อนพลขันธ์บันลือ

โห่สนั่นอึงอื้อแล้วยกไป - ปี่พาทย์ทาเพลงแขกยิงนก (จุฑารัตน์ กิตติบัวพัน, 2558, หน้า 33.)

บทร้องและทานองเพลงในการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว แบ่งออกได้เป็น 5 ช่วง ตามทานองเพลง ดังนี้ ช่วงที่ 1 ใช้ทานองเพลงวา เพื่อเปิดตัวผู้แสดงโดยผู้แสดงอาจจะเดินท่าตัวพระออกมาจาก ด้านข้างเวทีหรือนั่งบนเตียงอยู่กลางเวที ช่วงที่ 2 ใช้ทานองเพลงร่าย เป็นเพลงประกอบการแสดงละครที่นิยมใช้สาหรับพรรณนาที่ ต้องการความรวดเร็ว โดยเพลงร่ายแบ่งออกตามประเภทของละคร ละครใน เรียกว่ า ร่ายใน ละครนอก เรียกว่า ร่ายนอก ละครชาตรี เรียกว่า ร่ายชาตรี โดยบทร้องกล่าวว่า “ เมื่อนั้น จึงสระสรงทรงเครื่องมุรธา

มิสาระปันหยีสกุ าหรา ตามตารารณรงค์ยงยุทธ ”

ซึ่งในบทนี้หมายถึง การบอกว่าปันหยีเตรียมตัวอาบน้าแต่งตัวตามตาราการต่อสู้ เพื่อจะไปรบ ช่วงที่ 3 ใช้เพลงลงสรงโทน เป็นเพลงหน้าพาทย์ที่ใช้ประกอบกิริยาการอาบน้าของตัวละคร โดยบทร้องกล่าวว่า “ บรรจงทรงสอดสนับเพลา ฉลององค์เกราะสุวรรณกันอาวุธ ตาบทิศทับทรวงดวงกุดั่น สังวาลประดับทับทิมพราย ธามรงค์ค่าเมืองเรืองระยับ แต่งเป็นเช่นชาวอรัญวา

ภูษานุ่งหน่วงเนาไม่เลื่อนหลุด เจียรบาดผาดผุดพรรณราย คาดเข็มขัดรัดมั่นกระสันสาย ทองกรจาหลักลายลงยา ตาดพับพันโพกเกศา กุมกริชฤทธาสาหรับมือ ”

ซึ่งในบทนี้หมายถึง บรรยายการแต่งตัวเป็นชาวป่าของปันหยี โดยเริ่มแต่งกายตั้งแต่งการสวม กางเกง สวมเสื้อพร้อมเกราะ ใส่เครื่องประดับ คาดเข็มขัด สวมศีรษะ และเหน็บอาวุธ พร้อมออกไปรบกับ ระตูบุศสิหนา


19 ช่วงที่ 4 ใช้เพลงรื้อร่าย เป็นเพลงร้องประกอบการแสดงเช่นเดียวกับเพลงร่าย การร้องรื้อร่าย เป็นการร้องทอดจังหวะให้ช้าและสอดแทรกเสียงเอื้อนพอสมควร ร้องเฉพาะต้นเสียงส่วนลูกคู่จะร้องซ้า คานั้น จากนั้นจะต่อด้วยการร้องร่ายธรรมดา การร้องรื้อร่ายนี้จะใช้ในบทบาทของตัวละครที่เริ่มเปลี่ยน อิริยาบถที่สาคัญ ๆ ไม่ใช่ร้องพร่าเพรื่อทั่วไป โดยบทร้องกล่าวว่า “ มาทรงอาชาม้าที่นั่ง ให้คลาเคลื่อนพลขันธ์บันลือ

พระหัตถ์หน่วงเหนี่ยวรั้งสายถือ โห่สนั่นอึงอือ้ แล้วยกไป ”

ซึ่งในบทนี้หมายถึง ปันหยีขึ้นขี่ม้าโดยใช้มือเหนี่ยวรั้งม้าให้หยุดนิ่งจากนั้นปันหยีก็ได้สั่งทหาร เคลื่อนพลสั่งทหารให้เตรียมตัวให้พร้อมออกรบ ก่อนเคลื่อนพลมีการร้องโห่เพื่อเรียกขวัญกาลังของทหาร ช่วงที่ 4 ใช้ทานองเพลงแขกยิงนก เพื่อประกอบกิริยาการขี่ม้าของปันหยี เพื่อไปออกรบ ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว ใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้าบรรเลงประกอบการแสดง ซึ่งประกอบด้วยเครื่องดนตรี ได้แก่ 1. ปี่ใน 2. ระนาดเอก 3. ฆ้องวงใหญ่ 4. ตะโพน 5. กลองทัด 6. ฉิ่ง

ภาพ 5 วงปี่พาทย์เครื่องห้า ที่มา: ทรงวิทย์ แก้วศรี, 2533, หน้า 33


20 1. ปี่ใน เป็นเครื่องดนตรีประเภท เครื่องเป่า ที่กาเนิดเสียงจากการสั่นสะเทือนของลิ้นปี่ และเปลี่ยนระดับเสียงไปตามตาแหน่งนิ้วที่ปิดรูซึ่งเรียงอยู่บนเลาปี่

ภาพ 6 ปี่ใน ที่มา: ทรงวิทย์ แก้วศรี, 2533, หน้า 26 2. ระนาดเอก เป็นเครื่องดนตรีประเภท เครื่องตี ระนาดเอกมีเสียงสูง ทั้งผืนมี 21 ส่วนระนาดทุ้ม มีเสียงต่า มีทั้งหมด 18 ลูก ให้เสียงที่แตกต่างกัน

ภาพ 7 ระนาดเอก ที่มา: ทรงวิทย์ แก้วศรี, 2533, หน้า 10

ลูก


21 3. ฆ้องวงใหญ่ เป็นเครื่องดนตรีประเภท เครื่องตี ดาเนินทานอง มีหลักฐานปรากฏมาแต่ครั้ง กรุงสุโขทัย มีบทบาทหน้าที่สาคัญในการดาเนินทานองหลักของเพลงในรูปแบบการประสมวงต่าง ๆ เช่น ปี่พาทย์เครื่องห้า ปี่พาทย์เครื่องคู่ ปี่พาทย์เครื่องใหญ่ มโหรีเครื่องใหญ่ เป็นต้น

ภาพ 8 ฆ้องวงใหญ่ ที่มา: ทรงวิทย์ แก้วศรี, 2533, หน้า 17 4. ตะโพน เป็นเครื่องดนตรีประเภท เครื่องตี ขึ้นหนังสองหน้า ดึงด้วยสายหนังโยงเร่งเสียง เรียกว่า หนังเรียด ตัวตะโพนเรียกว่า "หุ่น" ทาด้วยไม้เนื้อแข็ง ขุดแต่งให้เป็นโพรงภายใน ตรงกลางป่อง และสอบไปทางหน้าทั้งสอง ตัวตะโพนวางนอนอยู่บนเท้า ใช้ฝ่ามือซ้ายขวาตีได้ทั้งสองหน้า ใช้สาหรับ บรรเลงผสมอยู่ในวงปี่พาทย์ ทาหน้า ที่กากับจังหวะหน้าทับต่าง ๆ

ภาพ 9 ตะโพน ที่มา: ทรงวิทย์ แก้วศรี, 2533, หน้า 22


22 5. กลองทัด เป็นเครื่องดนตรีประเภท เครื่องตี เป็นกลองขึงหนังสองหน้าขนาดใหญ่ใช้ไม้ตี ให้เกิดเสียง หุ่นกลองมีรูปร่างเป็นทรงกระบอกป่องตรงกลาง กลองทัดนั้นมีบทบาทหน้าที่สาคัญบรรเลงคู่ กับตะโพนในวงปี่พาทย์มาแต่โบราณ ประกอบการแสดง โขน ละคร หนังใหญ่ เป็นต้น

ภาพ 10 กลองทัด ที่มา: ทรงวิทย์ แก้วศรี, 2533, หน้า 11 4. ฉิ่ง เป็นเครื่องดนตรีประเภท เครื่องตี ทาด้วยทองเหลือง หล่อหนา ปากผายกลม ฉิ่งมี 2 ชนิดคือ ฉิ่งสาหรับวงปี่พาทย์ และ ฉิ่งที่ใช้สาหรับวงเครื่องสายและวงมโหรี

ภาพ 11 ฉิง่ ที่มา: ทรงวิทย์ แก้วศรี, 2533, หน้า 22


23 ฉากและองค์ประกอบการแสดง การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว เป็นการราตีบทตามบทละครที่พูดถึงการแต่งองค์ ทรงเครื่องของอิเหนา เพื่อออกไปสู้รบ โดยมีฉากและอุปกรณ์ประกอบดังนี้ 1. เตียง ขนาดใหญ่ 1 เตียง เตียงขนาดเล็กวางเครื่องราชูปโภค 2 เตียง มีลักษณะสีแดง ลงลักปิด ทองด้ า นหน้ า ใช้ ใ นการแสดงโขนละคร ส าหรั บ ตั ว ละครที่ มี ศั ก ดิ์ เ ป็ น กษั ต ริ ย์ หรื อ เจ้ า นายขุ น นาง และหมอนสีทองสามเหลี่ยม วางด้านซ้ายของเตียงใหญ่ 2. เครื่ อ งราชู ป โภค มี ลั ก ษณะเป็ น เครื่ อ งทองเหลื อ ง ใช้ ส าหรั บ การลงสรงอาบน้ า แต่งองค์ทรงเครื่องของกษัตริย์ ได้แก่ กระจก (คันฉ่อง) เครื่องหอม (พระสุคนธ์)

ภาพ 12 เตียงและเครื่องราชูปโภค ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561 3. กริช มีลักษณะสีทอง ประกอบไปด้วยฝักกริช และผ้าสีแดงระย้าด้วยดิ้นสีเงิน ใช้สาหรับการ ต่อสู้ หรือราอวดฝีมือ

ภาพ 13 กริช ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561


24 5. แส้ มีลักษณะสีดา ติดพู่สีแดง มีเชือกสีแดงสาหรับคล้องมือ ใช้สาหรับการควบม้า

ภาพ 14 แส้ ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561 เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า เครื่ อ งแต่ ง กายเป็ น องค์ ป ระกอบส าคั ญ ของการแสดงที่ ส่ ง เสริ ม ให้ ก ารแสดงนั้ น ๆ มี ลั ก ษณะเฉพาะและสร้ า งจุ ด เด่ น ให้ แ ก่ ตั ว ละคร โดยเครื่ อ งแต่ ง กายการแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว เป็นการราของอิเหนาหลังจากที่ได้ปลอมตัวเป็นโจรป่า จึงมีการสวมปันจุเหร็จ แต่ ง กายยื น เครื่ อ งพระสี แ ดงขลิ บ เขี ย วแขนสั้ น และมี ก ารสวมใส่ เ กราะสุ ว รรณที่ ใ ช้ ใ นการออกรบ และมีนักแสดงตัวประกอบ 2 ตัวละคร ได้แก่ ทหาร และม้าทรง โดยมีรายละเอียดการแต่งกายดังนี้

ภาพ 15 เครื่องแต่งกายการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว ที่มา: สุพิชชา ตั้งกิจลดาวัลย์, 2561


25 เครื่องแต่งกาย รายละเอี ย ดของรายการเครื่ อ งแต่ ง กายการแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด ปั น หยี แ ต่ ง ตั ว สามารถแบ่งเครื่องแต่งกายออกเป็น 20 รายการ ดังนี้ 1. ปั น จุ เ หร็ จ เพชร อุ บ ะดอกไม้ ทั ด เป็ น เครื่ อ งประดั บ ศี ร ษะที่ ป ระดิ ษ ฐ์ คิ ด ค้ น ในสมั ย รั ช กาลที่ 2 ท าด้ ว ยเงิ น ประดั บ พลอยสี ข าว มี ล วดลายงดงาม ในเนื้ อ เพลงจะใช้ ค าว่ า “ตาดพั บ ” แทนอุบะดอกไม้ทัด อาจใช้ดอกไม้จริง หรือดอกไม้ประดิษฐ์จากผ้าหรือกระดาษก็ได้ ดอกไม้จะติดไว้ ด้านข้างเหนือขมับ ส่วนอุบะจะห้อยลงมาจากดอกไม้ทัด โดยตัวพระจะติดอุบะและดอกไม้ทัดข้างขวา

ภาพ 16 ปันจุเหร็จเพชร อุบะดอกไม้ทัด ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561 2. เสื้อ (ฉลององค์) พระแขนสั้น สีแดงขลิบเขียว ปักด้วยเลื่อมหรือดิ้นตลอดทั้งตัว

ภาพ 17 เสื้อ (ฉลององค์) พระแขนสั้น ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561


26 3. เกราะสุวรรณ หมายถึง เกราะที่ใส่เพื่อป้องกันศัตราวุธ เวลาแต่งจะเย็บติดอยู่รอบเสื้อ ใช้สาหรับเวลาออกทาศึกสงครามเท่านั้น

ภาพ 18 เกราะสุวรรณ ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561 4. กรองคอพระ (สีเขียว) เป็นผ้าสีปักดิ้นหรือเลื่อม ใช้สวมทับลงบนเสื้อ

ภาพ 19 กรองคอพระ ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561


27 5. สนับเพลา เป็นกางเกงเรียวยาวถึงกลางแข้ง ปักด้วยดิ้นหรือเลื่อมเป็นลวดลายต่าง ๆ เชิงของสนับเพลานั้นนิยมให้ปลายงอนขึ้นก็ได้

ภาพ 20 สนับเพลา ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561 6. ผ้านุ่ง (ภูษา) คือ ผ้ายก (สีเขียว) ที่ใช้เส้นไหมหรือเส้นลวดทองหลอเงินทอยกให้เป็น ดอก ให้เป็น ลายนูน โดยนุ่งเป็นแบบโจงกระเบน มีหางหงส์

ภาพ 21 ผ้านุง่ (ภูษา) ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561


28 7. ห้อยข้าง (เจียระบาด หรือ ชายแครง) เป็นผ้าที่ห้อยลงมาตามหน้าขาทั้งสองข้าง นิยมปัก ด้วยเลื่อมและดิ้นเป็นลวดลายต่าง ๆ

ภาพ 22 ห้อยข้าง (เจียระบาด หรือ ชายแครง) ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561 8. ห้อยหน้า (ชายไหว) เป็นแผ่นผ้าห้อยอยู่ระหว่างห้อยข้างทั้ง 2 ผืน การปักลวดลายก็ ต้อง เหมือนกันกับห้อยข้างและรัดสะเอว

ภาพ 23 ห้อยหน้า (ชายไหว) ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561


29 9. รัดสะเอว เป็นแผ่นผ้าคาดทับรอบสะโพกของตัวละคร เพื่อปกปิดให้เกิดความเรียบร้อย นิยมปักดิ้นด้วยเลื่อมหรือดิ้นตลอดทั้งผืน

ภาพ 24 รัดสะเอว ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561 10. ทับทรวง เป็นเครื่องประดับ คอ ลักษณะคล้ายสร้อยคอ โดยมีจี้ทาเป็นรูปสี่ เหลี่ยมข้าว หลามตัดอยู่ระหว่างอก ริมทับทรวงตรงขอบด้านล่างจะมีเพชรหรือพลอยห้อยเป็นระยะ ๆ

ภาพ 25 ทับทรวง ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561


30 11. สังวาล และตาบทิศ เป็นสร้อยชนิดหนึ่งใช้คล้องสะพายแล่งสลับกัน มี 2 สาย เชื่อมด้วย ตาบทิศให้ติดกันเป็นรูปกากบาท

ภาพ 26 สังวาล และตาบทิศ ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561 12. เข็มขัด ใช้คาดทับห้อยหน้า (ชายไหว) และรัดสะเอว

ภาพ 27 เข็มขัด ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561


31 13. ปั้นเหน่ง (หัวเข็มขัด) มีลักษณะเป็นวงกลม 3 ชั้นใช้สาหรับการแต่งตัวผู้มียศศักดิ์

ภาพ 28 ปั้นเหน่ง (หัวเข็มขัด) ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561 14. กาไลแผง (ทองกร) เป็นเครื่องประดับที่สวมอยู่ในข้อมือทั้งสองข้างของตัวละคร ทาด้วย เงินหรือทองประดับเพชรหรือพลอย

ภาพ 29 กาไลแผง (ทองกร) ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561


32 15. แหวนรอบ เป็นเครื่องประดับข้อมือทั้งสองข้าง

ภาพ 30 แหวนรอบ ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561 16. ปะวะหล่า เป็นเครื่องประดับข้อมือทั้งสองข้าง

ภาพ 31 ปะวะหล่า ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561


33 17. กาไลข้อเท้า เป็นเครื่องประดับสาหรับสวมข้อเท้า

ภาพ 32 กาไลข้อเท้า ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561 18. แหวนรอบ (แหวนรอบกาไลข้อเท้า) เป็นเครื่องประดับสาหรับสวมข้อเท้า

ภาพ 33 แหวนรอบ (แหวนรอบกาไลข้อเท้า) ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561


34 19. ธามรงค์

ภาพ 34 ธามรงค์ ที่มา: จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2561 เครื่ อ งแต่ ง กายม้ า ทรง การร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด ปั น หยี แ ต่ ง ตั ว ม้ า ทรงจะสวมศี ร ษะม้ า สวมเสื้อม้าสีขาวแขนยาว และติดกระพวนที่ข้อเท้าทั้งสองข้าง การนุ่งผ้าจะนุ่งเหมือนชุดยืนเครื่องตัวพระ ใส่สนับเพลาแต่นุ่งก้นแป้นไม่ปล่อยหางหงส์ โดยมีรายละเอียดเครื่องแต่งกายดังนี้ ศีรษะม้า

กรองคอสาหรับม้า ทับทรง ทรวง

เสื้อม้าผ้าต่วนแขนยาว

รัดสะเอว

สังวาล และตาบทิศ ห้อยข้าง (เจียระบาด หรือ ชายแครง)

ปั้นเหน่ง (หัวเข็มขัด) ผ้านุ่ง (ภูษา)

ห้อยหน้า (ชายไหว)

สนับเพลา

รัดข้อเท้าติดกระพวน ภาพ 35 เครื่องแต่งกายม้าทรง ที่มา: ปานหทัย กล้วยหอมทอง, 2561


35 เครื่องแต่งกายทหาร การราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว ทหารจะสวมชุดทหารธรรมดา คือ สวมหมวกหูกระต่าย เสื้อแขนยาวสีแดงนุ่งโจงกระเบน โดยมีรายละเอียดเครื่องแต่งกายดังต่อไปนี้ หมวกหูกระต่าย เสื้อทหารแขนยาวสีแดงขลิบทอง

ผ้าผูกเอว

โจงกระเบน

ภาพ 36 เครื่องแต่งการทหาร ที่มา: สุพิชชา ตั้งกิจลดาวัลย์, 2561 การแต่งหน้า การแต่ ง หน้ า ในการแสดงการร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด ปั น หยี แ ต่ ง ตั ว เป็ น การแต่ ง หน้ า แบบ ยืนเครื่องละคร วาดคิ้วด้วยอายไลน์เนอร์ให้คิ้วเป็นสีดาเข็ม และโก่งให้เข้ากับรูปหน้าของผู้แสดงและให้ เข้ากับปันจุเหร็จ ปากทาสีแดงสด

ภาพ 37 การแต่งหน้า ชุด ปันหยีแต่งตัว ที่มา: สุพิชชา ตั้งกิจลดาวัลย์, 2561


36 นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง นาฏยศัพท์ หมายถึง ศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะท่าราที่ใช้ในการฝึกหัด เพื่อใช้ในการแสดงโขน ละคร เป็ น ค าที่ ใ ช้ ใ นวงการนาฏศิ ล ป์ ไ ทย สามารถสื่ อ ความหมายกั น ได้ ทุ ก ฝ่ า ยในการแสดงต่ า ง ๆ แบ่งออกเป็น 5 ส่วน ได้แก่ ศีรษะ ไหล่ ลาตัว มือและแขน เท้า โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. เอียงศีรษะ หรือ อ่อนศีรษะ คือ กิริยาที่จะต้องใช้ร่างกายตั้งแต่ช่วงเอว และไหล่ ขึ้นมา กล่าวคือ เมื่อจะเอียงศีรษะก็จะต้องเริ่มกดเอว กดไหล่ ข้างเดียวกันกับศีรษะที่ ท่าราจะดูแข็ง และเหมือนคน ราคอฟาด การเอียงนั้นจะต้องได้สัดส่ว นที่พองาม ตัวนางจะกดลาตัวและการเอียงมากกว่าตัวพระ ตัวพระนัน้ การเอียงนี้จะใช้เพียงแง่ศีรษะ คือ ให้ความรู้สึกว่าเอียงเพียงเล็กน้อย เท่านั้น 2. กดไหล่ คือ การเอียงข้างใดข้างหนึ่ง โดยจะต้องกดมาตั้งแต่ลาตัว เมื่อกดเอวแล้ว ไหล่ก็จะลดลงตาม การกดไหล่นี้ต้องในระดับระนาบ คือ เมื่อกดลงแล้วไม่ล้าไปด้านหน้าหรือเบี่ยงไปด้านหลัง 3. ทรงตัว คือ การตั้งลาตัวให้ตรง ไม่โอนเอนไปด้านหน้า (ราหน้าคว่า) หรือไปด้านหลัง (ราหน้าหงาย) การทรงตั ว นี้ ต้ อ งดั น หลั ง ให้ ตึ ง ยกอกขึ้ น เล็ ก หน้ า แต่ ต้ อ งไม่ ใ ห้ ห น้ า ท้ อ งยื น ล้ าออกมามาก ต้องเกร็งหน้าท้องไว้ด้วยเสมอ 4. วง หรื อ ตั้ ง วง คื อ ช่ ว งท่ อ นแขนและมื อ ที่ ก างออก ข้ อ มื อ หั ก หงายให้ อ่ อ นโค้ ง เข้ า หาล าแขน หรือ การทอดแขนแล้วให้เห็นเป็นเส้นโค้งที่มีสัดส่วนสวยงามตามแบบฉบับของแต่ละบท เช่น พระ นาง ยักษ์ ลิง เป็นต้น 4.1 วงสูง หรือ วงบน ตัวพระ กันวงออกข้างลาตั ว เฉียงมาทางด้านหน้าเล็กน้อย (แนวเดียวกันกับ หน้าขาที่เปิดออก) ยกขึ้นให้ปลายมืออยู่ในระดับแง่ศีรษะ ตัวนาง จะกันวงเฉียงมาด้านหน้า มากกว่าตัวพระเล็กน้อย และลดระดับวงให้อยู่ที่ระดับหางคิ้ว 4.2 วงกลาง ทั้งตัวพระและตัวนาง ลดระดับวงลงให้สูงเพียงระดับหัวไหล่ 4.3 วงต่า หรือวงล่าง คือ มือที่ตั้งวงอยู่บริเวณหัวเข็มขัดหรือชายพก 4.4 วงหน้า คือ ทอดลาแขนให้โค้งไปด้านหน้า ปลายมือชี้เข้าระดับปาก 4.5 วงหงาย หรือ วงบัวบาน เป็นวงพิเศษที่มีลักษณะไม่เป็นเส้นโค้ง กล่าวคือท่อนแขนบนและล่าง ข้อมือหักเป็นมุ ม ฝ่ ามือที่ตั้งวงจะหงายขึ้น ปลายนิ้ วจะชี้ออกด้านข้าง เช่น ท่าพรหมสี่หน้า หรือตกลงด้านล่าง เช่น ท่านางนอน 5. จีบ คือ การจรดปลายนิ้วหัวแม่มือที่ข้อแรกของปลายนิ้วชี้ นิ้วที่เหลือทั้งสามกรีดออกไปด้านหลังมือ ให้มากที่สุด ที่สาคัญคือ จะต้องหักข้อมือเข้าหาลาแขนให้ได้มากที่สุด ท่าจีบแบ่งเป็น 5.1 จีบหงาย คือ การจีบที่หงายฝ่ามือขึ้น ปลายนิ้วที่จีบชี้ขึ้น 5.2 จีบคว่า คือ การจีบที่คว่ามือลง ปลายนิ้วที่จีบชี้ลงเบื้องล่าง 5.3 จีบปรกหน้า คือ การจีบที่อยู่ระดับใบหน้า หันปลายนิ้วที่จีบชี้ที่บริเวณดวงตา 5.4 จีบปรกข้าง ลักษณะคล้ายวงบัวบานระดับสูง แต่หักข้อมือที่จีบเข้าหาแง่ศีรษะ 5.5 จีบหลัง หรือ จีบส่งหลัง คือ การทอดแขนไปด้านหลังให้ตึง มือที่จีบพลิกหงายขึ้นด้านบน


37 6. ก้าวหน้า คือ การก้าวเท้าไปข้างหน้า ตัวพระจะต้องแบะเข้าออกให้ได้เหลี่ยมปลายเท้าที่ก้าวจะเฉียง ไปทางด้านข้างเล็กน้อย กะให้ส้นเท้าหน้ าอยู่ในแนวกันกับหัวแม่เท้าหลัง ห่างกันประมาณหนึ่งคืบ เท้าหลังเปิดส้นเท้า 7. ก้าวข้าง คือ การก้าวเท้าเฉียงไปทางด้านข้างของเท้าที่ ยก จะเป็นเท้าข้างใดก็ได้ในขณะที ลาตัวอยู่ ด้านหน้า 8. กระดกเท้า คือ ยืนขาเดียวย่อเข่าโดยใช้เท้าหน้าที่ยืนย่อเข่าอยู่รับน้าหนักตัว ถีบเข่าหรือส่งเข่า ข้างที่ยกนั้นไปทางด้านหลัง แล้วหนีบน่องให้ชิดต้นขามากที่สุด (เท้าที่ยกจะต้องอยู่ใกล้ก้นให้ได้มาก ที่สุด) หักข้อเท้าลงให้ปลายเท้าตกลงเบื้องล่าง การกระดกอาจสืบเนื่องอาจทาต่อเนื่องจากกระทุ้งเท้า ก็ได้หรือกระดกโดยไม่กระทุ้งก็ได้ 9. ซอยเท้า คือ การย่าเท้าถี่ ๆ ของเท้าที่อยู่เสมอกัน ให้ตัวเคลื่อนไปในทิศทางต่าง ๆ 10. ขยั่นเท้า คือ การย่าเท้าถี่ ๆ ของเท้าที่อยู่เสมอกัน หรือไว้กัน ให้เคลื่อนตัวไปในข้างหน้าหรือด้านข้าง ฉายเท้า คือ การใช้เท้าข้างใดข้างหนึ่งยืนเป็นหลัก ส่วนเท้าอีกข้างหนึ่งใช้จมูกเท้าจรดพื้ นปิดส้นเท้า ขึ้น แล้วฉายหรือลากจมูกเท้าไปด้านข้าง ในลักษณะครึ่งวงกลม 11. สะดุดเท้า คือ การใช้เท้าข้างหนึ่งยืนเป็นหลัก ส่วนเท้าอีกข้างหนึ่งนั้นไสเท้าออกไปด้านหน้าหรือ ด้านข้างอย่างแรง พร้อมทิ้งน้าหนักตัวไปด้วย 12. จรดเท้า คือ กิริยาที่จมูกเท้าแตะลงบนพื้น โดยส้นเท้าจะลอยขึ้นจากพื้นเล็กน้อย สามารถปฏิบัติได้ ทั้งในขณะที่ขาที่ยืนน้าหนักเหยียดตรงหรือย่อลง กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่ กระบวนท่าราของการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว เป็นการราตีบทตามบทละคร กล่าวถึงการแต่งองค์ทรงเครื่องของปันหยีเพื่อออกไปสู้ร บ มีกระบวนท่าราทั้งหมดจานวน 70 ท่าและมี นักแสดงตัวเอกคือ ปันหยี และนักแสดงตัวประกอบ 2 ตัวละคร ได้แก่ ทหารและม้าทรง ในการแสดง สามารถแบ่งช่วงการแสดงออกเป็น 5 ช่วง ดังนี้ ช่วงที่ 1 ใช้ทานองเพลงวา ช่วงที่ 2 ใช้ทานองเพลงร่าย ช่วงที่ 3 ใช้ทานองเพลงลงทรงโทน ช่วงที่ 4 ใช้ทานองเพลงรื้อร่าย ช่วงที่ 5 ใช้ทานองเพลงแขกยิงนก โดยการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว มีท่าราดังนี้


38 ตาราง 5 แสดงท่าราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา - ปี่พาทย์ทาเพลงวา -

คาอธิบายท่ารา

- ร้องร่าย 1

เมื่อนั้น

2

มิสาระปันหยี

3

สุกาหรา

นั่งพับเพียบตัวพระ ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: วางมือซ้ายที่หน้าขาซ้ายหงาย ท้องแขนแขนตึงมือขวาวางที่ต้นขา ขวาแขนงอ จากนั้น กลายมือทั้ ง สองข้ า งออกแล้ ว วางที่ ห น้ า ขา เช่นเดิม เท้า: พับเพียบตัวพระ ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: กระทบตามจังหวะ ท่าจีบเข้าอก ศีรษะ: เอียงซ้ายกลับเอียงขวา มือ: มือขวาวางที่ต้นขาขวาแขนงอ มือซ้ ายตั้งวงระดับอก เปลี่ยนมือ ซ้ายจากตั้งวงเป็นจีบหงายที่อก ทิศ: หน้า กลางเวที เท้า: พับเพียบตัวพระ จังหวะ: กระทบตามจังหวะ ท่าโบก ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือซ้ายตั้งวงหน้าระดับอก มือขวาจีบ คว่าระดับอก จากนั้นตี ไหล่ขวาไปด้านหลังแล้วเดินมือทั้ง สองมือขวาตั้งวงบน มือซ้าย จีบ ส่งหลัง เท้า: พับเพียบตัวพระ ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: กระทบตามจังหวะ


39 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา

4

จึงสระสรง

ท่าจีบคว่า ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือทั้งสองจีบคว่าระดับอก เท้า: คุกเข่า ทิศ: หันขวา กลางเวที จังหวะ: ยืดตัวขึ้น

5

ทรงเครื่อง

ท่าสวมสอดเสื้อ (ฉลององค์) ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือทั้งสองตั้งวง ระดับวงกลาง เท้า: ก้าวข้างเท้าซ้าย ทิศ: หันขวา กลางเวที จังหวะ: หนักหน้า

6

มุรธา

ท่ามุรธา ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือซ้ายตั้งวงกลาง มือขวาแทงลง เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิศ: หันขวา กลางเวที จังหวะ: หนักหน้า หมดคาร้อง

7

ตามตาราง รณรงค์

ท่าปาดนางนอน ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือทั้งสองปาดด้านซ้าย เท้า: ก้าวข้างเท้าขวา หนักหน้า ทิศ: หันซ้าย กลางเวที จังหวะ: หนักหน้า หมดคาร้อง


40 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ บทร้อง 8 ยงยุทธ

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา ท่าแผงศร ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาจีบปรกข้าง มือซ้ายตั้งวง แขนตึงข้างลาตัวระดับไหล่ เท้า: ยืดตัวขึ้น ยกเท้าขวา ทิศ: หันขวา กลางเวที จังหวะ: เผ่นตัวขึ้น หมดคาร้อง

- ร้องเพลงลงสรงโทน 9

บรรจง

10

ทรงสอด

ท่าตั้งวงล่าง ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือทั้งสองจีบคว่า ระดับชายพก จากนั้ น ม้ ว นจี บ ออกเป็ น ตั้ ง วง ระดับชายพก เท้า: จรดเท้าซ้าย ขยั่นเท้า ทิศ: หันตัวด้านขวา จังหวะ: ยืดและยุบ หมดคาร้อง ท่าสอดจีบแล้วปล่อยตั้งวงล่าง ศีรษะ: ลักคอด้านขวา มือ: จีบคว่าแล้วสอดจีบขึ้นตั้งวงระดับ ชายพก เท้า: ก้าวข้างเท้าซ้าย หนักหน้าหนัก หลัง ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: หนักหน้า หนักหลัง


41 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ บทร้อง 11 สนับเพลา

12

ภูษานุ่ง

14

หน่วงเนา

15

ไม่เลื่อนหลุด

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา ท่าโชว์สนับเพลา ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือทั้งสองจีบหงายแขนตึงระดับ หน้าขาทั้งสองข้าง เท้า: ยกเท้าซ้าย ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: ยืดย้อนตัวแล้วยกห่มเข่า ท่านุ่งผ้า (ภูษา) ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือขวาจีบหงาย มือซ้ายตั้งวง ระดับชายพก เท้า: ยกเท้าขวา ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: ยืด ยุบ ตามจังหวะ ท่าหน่วงเนา ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาตั้งวงล่าง มือซ้ายจีบส่งหลัง เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: โย้ตัวไปด้านขวา ท่าไม่เลื่อนหลุด ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือทั้งสองจีบที่สนับเพลาแล้วปล่อย มือตั้งวง เท้า: สะดุดเท้าขวา จากนั้นยืดตัวขึ้น แตะเท้าขวาด้านหน้าขาตึง ทิศ: หันตัวมาด้านซ้าย จังหวะ: ยืดตัวขึ้น


42 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ บทร้อง 16 โบก

17

ฉลององค์

18

เกราะ สุวรรณ

19

กันอาวุธ

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา ท่าโบก ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือขวาจีบหงายระดับชายพกมือซ้าย ตั้งวงระดับชายพก จากนั้น เดินมือ ทั้งสอง มือซ้ายจีบส่งหลัง มือขวาตั้ง วงบน เท้า: ประเท้าขวาแล้วใช้ส้นเท้าวางพื้น ทิศ: หันซ้าย กลางเวที จังหวะ: ยืด แล้วห่มเข่า ท่าสวมสอดเสื้อ (ฉลององค์) ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือทั้งสองตั้งวง วาดมือลงเป็นครึ่ง วงกลมระดับวงกลาง เท้า: ก้าวข้างเท้าซ้าย ทิศ: หันขวา กลางเวที จังหวะ: หนักหน้า ท่ามือจีบไขว้กัน ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือทั้งสองหยิบจีบเป็นจีบหงายไขว้ ระดับอก เท้า: ยกเท้าขวา ทิศ: หันซ้าย กลางเวที จังหวะ: ยืด แล้วห่มเข่า ท่าแผงศร ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือทั้งสองตั้งวงไขว้กันระดับอก จากนั้น ปาดนางนอนด้านขวา มือ ขวาจีบปรกข้าง มือซ้ายตั้งวงแขน ตึงข้างลาตัวระดับไหล่ เท้า: ประเท้าขวาแล้วยก ทิศ: หันขวา กลางเวที จังหวะ: เผ่นตัวขึ้น หมดคาร้อง


43 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ บทร้อง 20 เจียรบาท

21

ผาดผุด

22

เอื้อน

23

เอื้อน

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา ท่าจีบยาวมือขวา ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือขวาจีบคว่าระดับเอว มือซ้าย ตั้ ง วง แทงลงระดั บ หน้ า ขาซ้ า ย พลิกมือขวาจีบหงายระดับชายพก แขนตึง มือซ้ายตั้งวงงอแขนระดับ ชายพก เท้า: จรดเท้าขวา ทิศ: หันตรง กลางเวที จังหวะ: ยืด ห่มเข่า ตามจังหวะ ท่าผายมือขวา ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือซ้ายเท้าสะเอว มือขวาจีบ คว่า ผายมือออก เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้าย ยกเท้าขวา ทิศ: หันตรง กลางเวที จังหวะ: ยุบแล้วยืดตัวขึ้น ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาตั้งวงแขนตึงระดับไหล่มือ ซ้ายจีบหงายระดับชายพก เท้า: จรดเท้าซ้าย ทิศ: หันตรง กลางเวที จังหวะ: ยืดแล้วยุบ ตามจังหวะ ท่ากระหวัดเกล้า ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาตั้งวงกลางแขนงอระดับไหล่ มือซ้ายจีบปรกข้าง เท้า: จรดเท้าซ้าย ทิศ: หันด้านซ้าย กลางเวที จังหวะ: ยืดแล้วยุบ ตามจังหวะ


44 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ บทร้อง 24 พรรณ ณ ราย

25

โบก

26

ตาบ

27

ทิศ

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา ท่าผาลาเพียงไหล่ ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาตั้งวงบน มือซ้ายหงาย มือปลายนิ้วตกแขนงอ เท้า: กระดกเท้าขวา ทิศ: หันด้านขวา กลางเวที จังหวะ: ยืดแล้วยุบ ตามจังหวะ ท่าโบก ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือซ้ายจีบหงายระดับชายพกมือ ขวาตั้ ง วงระดั บ ชายพก จากนั้ น เดินมือทั้งสอง มือขวาจีบส่งหลัง มือซ้าย ตั้งวงบน เท้า: ประเท้าซ้ายแล้วใช้ส้นเท้าวางพื้น ทิศ: หันด้านขวา กลางเวที จังหวะ: ยืด แล้วห่มเข่า ท่าสอดสร้อยมาลาแปลง ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือขวาจีบหงายระดับชายพก มือซ้ายแทงมือตั้งวงกลาง เท้า: ถอนเท้าขวา ประเท้าซ้าย ทิศ: หันด้านขวา กลางเวที จังหวะ: ยืด แล้วห่มเข่า ท่าสอดสร้อยมาลาแปลง ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือซ้ายจีบหงายระดับชายพก มือขวาแทงมือตั้งวงกลาง เท้า: ถอนเท้าซ้าย ประเท้าขวา ทิศ: หันด้านซ้าย กลางเวที จังหวะ: ยืด แล้วห่มเข่า


45 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ บทร้อง 28 ทับทรวง

29

ดวงกุดั่น

30

คาดเข็มขัด

31

รัดมั่น

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา ท่าจีบเข้าอก ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือขวาตั้งวงระดับอก มือซ้ายจีบ หงายข้ า งล าตั ว ระดั บ อก จากนั้ น เดิ น มื อ ขวาจี บ หงายระดั บ อกมื อ ซ้ายจีบส่งหลัง เท้า: ก้าวหน้าเท้าขวา ยกเท้าซ้าย ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: ยืด แล้วห่มเข่า ท่าบัวชูฝัก ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาจีบส่งหลัง มือซ้ายจีบคว่า ระดับอกปล่อยออกตั้งวงบัวชูฝัก เท้า: กระดกเท้าซ้าย ทิศ: หันตัวไปด้านขวา จังหวะ: ยืด ยุบ ท่าคาดเข็มขัด ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือทั้งสองจีบหงายข้างหลังระดับ เข็มขัด เท้า: เท้าซ้ายวางหลังฉายเท้าขวาและ ฉายเท้าซ้าย ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: ยืด แล้วห่มเข่า ท่าคาดเข็มขัด ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือทั้งสองจีบหงายข้างหลังระดับ ชายพก เปลี่ยนเป็น มือซ้ายตั้งวง ระดั บ ชายพก มื อ ขวาจี บ หงาย ระดับชายพก เท้า: จรดเท้าขวา จรดเท้าซ้าย ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: ยืด แล้วห่มเข่า


46 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ บทร้อง 32 กระสันสาย

33

โบก

34

สังวาลประดับ

35

ทับทิมพราย

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา ท่ากระสันสาย ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือทั้งสองจีบหงายเดินมือไป ด้านซ้ายปล่อยจีบออกตั้งวงข้าง เท้า: ก้าวเท้าซ้ายไปด้านข้างวางเท้า ซ้ายด้านหลัง ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: ยืด ยุบ ท่าโบก ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือซ้ายจีบหงายระดับชายพกมือ ขวาตั้งวงระดับชายพก จากนั้น เดินมือทั้งสอง มือขวาจีบส่งหลัง มือซ้าย ตั้งวงบน เท้า: ประเท้าซ้ายแล้วใช้ส้นเท้าวางพื้น ทิศ: หันด้านขวา กลางเวที จังหวะ: ยืด แล้วห่มเข่า ท่าสอดสร้อยมาลา ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาจีบหงายที่ชายพก มือซ้าย ตั้งวงบน เท้า: ก้าวข้างเท้าซ้าย จรดเท้าขวา ทิศ: หันด้านขวา กลางเวที จังหวะ: ยืด ยุบ ท่าจีบยาว ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือทั้งสองจีบหงายข้างลาตัว เท้า: ก้าวหนาเท้าซ้าย ทิศ: ด้านหน้า กลางเวที จังหวะ: ยืด ยุบ


47 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ บทร้อง 36 ทองกร จาหลักลาย

37

เอื้อน

38

ลงยา

39

โบก

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา ท่าภมรเคล้า ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาตั้งวงกลาง มือซ้ายจีบ หงายข้างมือขวา จากนั้น ม้วน จีบซ้ายออกตั้งวง มือขวามือมือ จีบหงายข้างมือซ้าย เท้า: จรดเท้าซ้าย และจรดเท้าขวา ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: ยืด ยุบ ท่าผาลาเพียงไหล่ ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาตั้งวงบน มือซ้ายหงาย มือปลายนิ้วตกแขนงอ เท้า: กระดกเท้าขวา ทิศ: หันด้านขวา กลางเวที จังหวะ: ยืดแล้วยุบ ตามจังหวะ ท่าจีบยาว ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาตั้งวงบน มือซ้ายหงาย แขน ตึงระดับไหล่ เท้า: กระดกเท้าซ้าย ทิศ: หันด้านขวา กลางเวที จังหวะ: ยืดแล้วยุบ ท่าโบก ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือซ้ายจีบหงายระดับชายพกมือ ขวาตั้งวงระดับชายพก จากนั้น เดินมือทั้งสอง มือขวาจีบส่งหลัง มือซ้ายตั้งวงบน เท้า: ประเท้าซ้ายแล้ววางส้นเท้า ทิศ: หันด้านขวา กลางเวที จังหวะ: ยืด แล้วห่มเข่า


48 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ บทร้อง 40 ธามรงค์

41

ค่าเมือง

42

เรืองระยับ

43

ตาบทับ

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา ท่าชมแหวน ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาตั้งวงบนระดับหน้า มือ ซ้ายหยิบจีบแล้วใช้นิ้วชี้ชมแหวน ที่มือขวา เท้า: ยืนแตะจมูกเท้าขวาขาตึง ทิศ: หันด้านซ้าย กลางเวที จังหวะ: ยืด แล้วห่มเข่า ท่าชมแหวน ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือซ้ายตั้งวงบน มือขวาหยิบจีบ แล้วใช้นิ้วชี้ชมแหวนที่มือซ้าย เท้า: ยืนแตะจมูกเท้าซ้ายขาตึง ทิศ: หันขวา กลางเวที จังหวะ: ยืด แล้วห่มเข่า กลอมหน้า ท่าละเลงมือ ศีรษะ: ลักคอขวา มือ: ปาดมือทางซ้าย แล้วหนักหลัง มื อ ขวาหยิ บ จี บ กรี ด นิ้ ว ออก ปล่อยตั้งวงระดับชายพก เท้า: ก้าวข้างเท้าซ้าย ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: หนักหน้า หนักหลัง ท่ายืนตัวพระ ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: กลายมือทั้งสองออก มือขวา วางมือที่หน้าขาขวาแขนตึง มือ ซ้ายเท้าสะเอว เท้า: เหลื่อมเท้าขวา ทิศ: หันซ้าย กลางเวที จังหวะ: ตบเท้าขวาตามจังหวะ


49 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ บทร้อง 44 พันโพก

45

เกศา

46

โบก

47

แต่งเป็น

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา ท่าภมรเคล้าสูง ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือขวาจีบปรกข้าง มือซ้ายตั้ง วงข้างหูขวา จากนั้นเปลี่ยนมือ มือสะบัดจีบออกตั้งวง มือซ้าย หยิบจีบหงาย เท้า: กระดกเท้าขวา ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: สะดุ้งตัวขึ้น ท่าโชว์ปันจุเหร็จ ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือทั้งสองตั้งวงหักข้อมือระดับ ศีรษะเล็ก เท้า: ใช้จมูกเท้าขวาแตะพื้นขาตึง ทิศ: หันซ้าย กลางเวที จังหวะ: สะดุดเท้า แล้วยืดตัวขึ้น ท่าโบก ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือขวาจีบหงายระดับชายพก มื อ ซ้ า ย ตั้ ง วงระดั บ ชายพก จากนั้นเดินมือทั้งสอง มือซ้ายจีบ ส่งหลัง มือขวาตั้งวงบน เท้า: ประเท้าขวาแล้ววางส้นเท้า ทิศ: หันซ้าย กลางเวที จังหวะ: ยืด แล้วห่มเข่า ท่าสวมสอดเสื้อ (ฉลององค์) ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือทั้งสองตั้งวง วาดมือลงเป็น ครึ่งวงกลมระดับวงกลาง เท้า: ก้าวข้างเท้าซ้าย ทิศ: หันขวา กลางเวที จังหวะ: หนักหน้า


50 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ 48

บทร้อง เช่นชวา

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา ท่ายืนตัวพระ ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: กลายมือทั้งสองออก มือขวา วางมือที่หน้าขาขวาแขนตึง มือ ซ้ายเท้าสะเอว เท้า: เหลื่อมเท้าขวา ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: ยืดตัวขึ้น

49

เอื้อน

ปันหยี ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาปาดหยิบจีบคว่าแขนตึง ข้ า งล าตั ว มื อ ซ้ า ยตั้ ง วง ระดั บ ชายพก เท้า: จรดเท้าซ้าย ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: ยืด ยุบ ทหาร ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือถือพานวางกริช ระดับไหล่ เท้า: นั่งคุกเข่าตัวพระ ทิศ: หันหน้า อยู่ขวาเวที จังหวะ: คลานเข่าออกมาข้างเวที

50

อรัญวา

ปันหยี ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือซ้ายชี้นิ้วชี้ไปทางซ้ายแขน ตึง มือขวาเท้าสะเอว เท้า: แตะจมูกเท้าขวาขาตึง ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: ยืดตัวขึ้น


51 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

51

กุมกริช

52

กุมกริช (ร้องซ้า)

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทหาร ศีรษะ: ศีรษะตรง มือ: พนมมือระดับอก เท้า: นั่งคุกเข่าตัวพระ ทิศ: หันหลัง อยู่ขวาเวที ปันหยี ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือซ้ายเท้าสะเอว มือขวาหยิบ กริชจากพาน เท้า: ก้าวข้างเท้าขวา ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: หนักหน้า หมดจังหวะ ทหาร ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือถือพานระดับไหล่ เท้า: นั่งตั้งเข่าซ้ายตัวพระ ทิศ: หันซ้าย อยู่ขอบเตียงด้านขวา จังหวะ: ยืดตัวขึ้น ปันหยี ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือซ้ายเท้าสะเอว มือขวาถือกริช เท้า: ถอนเท้าซ้ายแตะเท้าขวาขาตึง ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: ยืดตัวขึ้น หมดจังหวะ ทหาร ศีรษะ: ศีรษะตรง มือ: พนมมือระดับอก เท้า: นั่งคุกเข่าตัวพระ ทิศ: หันซ้าย อยู่ขอบเตียงด้านขวา จังหวะ: หมดจังหวะ


52 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ บทร้อง 53 ฤทธา

54

สาหรับมือ

55

โบก

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา ปันหยี ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาถือกริชหักข้อมือลงระดับ ไหล่ มือซ้ายหงายมือปล่อยนิ้วตก จากนั้นเดินมื อขวาตั้งวงบัวชูฝัก มือซ้ายตั้งวงระดับปาก เท้า: จรดเท้าขวา ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: ยืดตัวขึ้น หมดจังหวะ ทหาร ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาถือพาน มือซ้ายตั้งวง เท้า: นั่งตั้งเข่าขวาตัวพระ ทิศ: หน้า เยื้อยงกับปันหยี จังหวะ: ยืดตัวขึ้น แล้วยืดยุบเข้าเวที ท่าโชว์กริช ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือขวาถือกริชหักข้อมือลงระดับ ไหล่ มือซ้ายหงายมือปล่อยนิ้วตก ระดับเอว จากนั้น มือขวาถือกริช โชว์หน้ากริชระดับแง่ศีรษะ เท้า: ยกเท้าซ้าย ทิศ: หันตัวไปด้านขวา จังหวะ: ยืด ยุบ ท่าโบก ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาถือกริชหักข้อมือลงระดับ ชายพก มือซ้ายตั้งวงบน เท้า: ประเท้าซ้ายยกแล้ววางส้นที่พื้น ทิศ: หันตัวไปด้านขวา จังหวะ: ยืด แล้วห่มเข่า


53 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา

- ร้องเพลงรื้อร่าย 56

ม้าทรงอาชา

57

เอื้อน

ปันหยี ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาถือกริช ระดับชายพก มือซ้ายตั้งวงบน เท้า: วางส้นที่พื้น ทิศ: หันตัวไปด้านขวา จังหวะ: ยืด แล้วห่มเข่า ทหาร ศีรษะ: ศีรษะตรง มือ: มือขวาจับม้าทรง มือซ้ายแนบ ลาตัว เท้า: ยืนตัวตรง ทิศ: หน้า เยื้อยงกับปันหยี จังหวะ: หมดจังหวะ ม้าทรง ศีรษะ: เอียงศีรษะขวาและซ้าย มือ: มือขวากามือหลวมระดับ มือซ้ายกามือหลวมระดับไหล่ เท้า: เขโยกเท้าขวา ทิศ: ข้างเวทีด้านขวา จังหวะ: วิ่งเขโยกเท้า ปันหยี ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือซ้ายเท้าสะเอว มือขวาถือกริช ที่เอวซ้าย จากนั้น เดินท่าตัวพระ 2 ครั้ง เท้า: ถอนเท้าซ้ายแตะเท้าขวาขาตึง ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: ยืด – ยุบ ทหาร ศีรษะ: ศีรษะตรง


54 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ

58

บทร้อง

ม้าที่นั่ง

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา มือ: วางมือที่หน้าขาทั้งสอง เท้า: นั่งคุกเข่าตัวพระ ทิศ: หันซ้าย อยู่ขอบเตียงด้านขวา จังหวะ: หมดจังหวะ ม้าทรง ศีรษะ: เอียงศีรษะขวาและซ้าย มือ: มือขวากามือหลวมระดับวงบน มือซ้ายกามือหลวมระดับไหล่ เท้า: เขโยกเท้าขวา ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: วิ่งเขโยกเท้า ปันหยี ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาหงายมือปล่อยนิ้วตกระดับ ไหล่ มื อ ซ้ า ยจี บ คว่ าระดั บ ไหล่ จากนั้นเดมือขวาจีบส่งหลัง มือซ้าย ตั้งวงบัวชูฝัก เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิศ: หน้า กลางเวที จังหวะ: ยืดตัวขึ้น หมดจังหวะ ทหาร ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: สอดสร้อย มือขวาจีบหงาย มือซ้าย ตั้งวงบน เท้า: นั่งตั้งเข่าขวาตัวพระ ทิศ: หน้า เยื้อยงกับปันหยี จังหวะ: ยืดตัวขึ้น ม้าทรง ศีรษะ: เอียงศีรษะขวา มือ: มือขวากามือหลวมระดับวงบน มือซ้ายกามือหลวมระดับไหล่ เท้า: ก้าวข้างเท้าขวา ทิศ: ข้างเวทีด้านขวา


55 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ บทร้อง 59 พระหัตถ์ หน่วงเหนี่ยว รั้งสายถือ

60

ม้าทรงอาชา

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา ปันหยี ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาเท้าสะเอว มือซ้ายแตะ หลังม้า เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้ายเหยียบที่เท้า ซ้ายของม้า (ขึ้นม้า) ทิศ: หันขวา กลางเวที จังหวะ: ยืดตัวขึ้น หมดจังหวะ ทหาร ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: สอดสร้อย มือขวาจีบหงาย มือซ้ายตั้งวงบน เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิศ: หน้า อยู่หลังปันหยีและม้าทรง จังหวะ: ยืด ยุบ ม้าทรง ศีรษะ: เอียงศีรษะขวา มือ: มือขวากามือหลวมระดับวงบน มือซ้ายกามือหลวมระดับไหล่ เท้า: ก้าวข้างเท้าขวา ทิศ: ข้างเวทีด้านขวา จังหวะ: หนักหน้า ปันหยี ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือขวาเท้าสะเอว มือซ้ายแตะ หลังม้า เท้า: ก้าวข้างเท้าซ้าย ทิศ: หันหน้า กลางเวที จังหวะ: หนักหน้า ม้าทรง ศีรษะ: เอียงศีรษะซ้าย


56 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ

61

บทร้อง

ม้าที่นั่ง

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา มือ: มือขวากามือหลวมระดับไหล่ มือซ้ายกามือหลวมระดับวงบน เท้า: ก้าวข้างเท้าซ้าย ทิศ: หันหน้า กลางเวที จังหวะ: หนักหน้า ปันหยี ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาเท้าสะเอว มือซ้ายแตะ หลังม้าทรง เท้า: ก้าวข้างเท้าขวา ทิศ: หันหน้า กลางเวที จังหวะ: หนักหน้า จังหวะ: หมดจังหวะ ม้าทรง ศีรษะ: เอียงศีรษะขวา มือ: มือขวากามือหลวมระดับวงบน มือซ้ายกามือหลวมระดับไหล่ เท้า: ก้าวข้างเท้าขวา ทิศ: หันหน้า กลางเวที จังหวะ: หนักหน้า ทหาร ศีรษะ: เอียงศีรษะขวา มือ: ทั้งสองมือถือพานวางแส้ระดับ ไหล่ขวา เท้า: นั่งคุกเข่าตัวพระ ทิศ: ด้านขวาของเวที จังหวะ: คลานเข่าออกมมาจากข้าง เวทีด้านขวา


57 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ 62

บทร้อง พระหัตถ์หน่วง เหนี่ยงรั้งสาย ถือ

63

ให้คลาเคลื่อน พลขันธ์

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา ปันหยี ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาเท้าสะเอว มือซ้ายแตะ หลังม้า เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้ายเหยียบที่เท้า ซ้ายของม้า (ขึ้นม้า) ทิศ: หันขวา กลางเวที จังหวะ: ยืดตัวขึ้น หมดจังหวะ ทหาร ศีรษะ: เอียงศีรษะซ้าย มือ: ทั้งสองมือถือพานวางแส้ระดับ ไหล่ขวา เท้า: นั่งคุกเข่าตัวพระ ทิศ: ด้านขวาของเวที จังหวะ: คลานเข่าออกมมาจากข้าง เวทีด้านขวา ม้าทรง ศีรษะ: เอียงศีรษะขวา มือ: มือขวากามือหลวมระดับวงบน มือซ้ายกามือหลวมระดับไหล่ เท้า: ก้าวข้างเท้าขวา ทิศ: ข้างเวทีด้านขวา จังหวะ: หนักหน้า ปันหยี ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือทั้งสองโกยมือขึ้นระดับไหล่ เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้ายเหยียบที่เท้า ซ้ายของม้า (ขึ้นม้า) ทิศ: หันขวา กลางเวที จังหวะ: ยืดตัวขึ้น หมดจังหวะ ทหาร ศีรษะ: เอียงศีรษะซ้าย มือ: ทั้งสองมือถือพานระดับไหล่


58 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ

64

บทร้อง

บรรลือ

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา เท้า: นั่งคุกเข่าตัวพระ ทิศ: ด้านขวาของเวที จังหวะ: คลานเข่าออกมมาจากข้าง เวทีด้านขวา ม้าทรง ศีรษะ: เอียงศีรษะขวา มือ: มือขวากามือหลวมระดับวงบน มือซ้ายกามือหลวมระดับไหล่ เท้า: ก้าวข้างเท้าขวา ทิศ: ข้างเวทีด้านขวา จังหวะ: หนักหน้า ปันหยี ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาเท้าสะเอว มือซ้ายจีบ คว่าปล่อยจีบเป็นวงบัวชูฝัก เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้ายเหยียบที่เท้า ซ้ายของม้า (ขึ้นม้า) ทิศ: หันขวา กลางเวที จังหวะ: ยืดตัวขึ้น หมดจังหวะ ทหาร ศีรษะ: เอียงศีรษะซ้าย มือ: ทั้งสองมือถือพานวางแส้ระดับ ไหล่ซ้าย เท้า: นั่งคุกเข่าตัวพระ ทิศ: ด้านขวาของเวที จังหวะ: คลานเข่า ม้าทรง ศีรษะ: เอียงศีรษะขวา มือ: มือขวากามือหลวมระดับวงบน มือซ้ายกามือหลวมระดับไหล่ เท้า: ก้าวข้างเท้าขวา ทิศ: ข้างเวทีด้านขวา จังหวะ: หนักหน้า


59 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ 65

บทร้อง โห่สะนั่นอึงอื้อ ยกไป

66

ให้คลาเคลื่อน พลขันธ์ บรรลือ โห่สะนั่น อึงอื้อ ยกไป

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา ปันหยี ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือทั้งสองโกยมือขึ้นระดับไหล่ เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้ายเหยียบที่เท้า ซ้ายของม้า (ขึ้นม้า) ทิศ: หันขวา กลางเวที จังหวะ: ยืดตัวขึ้น หมดจังหวะ ทหาร ศีรษะ: ศีรษะตรง มือ: พนมมือระดับอก เท้า: นั่งคุกเข่าตัวพระ ทิศ: หันซ้าย อยู่ขอบเตียงด้านขวา จังหวะ: วางพานใส่แส้ด้านหน้า ม้าทรง ศีรษะ: เอียงศีรษะขวา มือ: มือขวากามือหลวมระดับวงบน มือซ้ายกามือหลวมระดับไหล่ เท้า: ก้าวข้างเท้าขวา ทิศ: ข้างเวทีด้านขวา จังหวะ: หนักหน้า ปันหยี ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: ทาท่าราร่าย มือขวาตั้งวงบน มือ ซ้ า ยหงายมื อ ปลายนิ้ ว ตกพลิ ก มือขึ้นตั้งวง จากนั้นเดินมือขวา กดข้อมือหยิบจีบกรีดนิ้วปล่อย ตั้งวงบน มือซ้ายจีบส่งหลัง เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้ายเหยียบที่เท้า ซ้ายของม้า (ขึ้นม้า) ทิศ: หันขวา กลางเวที จังหวะ: ยืดตัวขึ้น หมดจังหวะ


60 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ

บทร้อง

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทหาร ศีรษะ: หน้าตรง มือ: ทั้งสองมือถือพานวางแส้ระดับ หน้าอก เท้า: นั่งคุกเข่าตัวพระ ทิศ: ด้านหลังปันหยีและม้าทรง จังหวะ: รอส่งแส้ให้ปันหยี ม้าทรง ศีรษะ: เอียงศีรษะขวา มือ: มือขวากามือหลวมระดับวงบน มือซ้ายกามือหลวมระดับไหล่ เท้า: ก้าวข้างเท้าขวา ทิศ: ข้างเวทีด้านขวา จังหวะ: หนักหน้า

- ปี่พาทย์ทาเพลงแขกยิงนก 67

ปันหยี ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือซ้ายแตะหลังม้า มือขวาหยิบ แส้จากทหาร แล้วเคาะแส้ข้าง ม้า 2 ครั้ง เท้า: ก้าวหน้าเท้าซ้ายเหยียบที่เท้า ซ้ายของม้า (ขึ้นม้า) ทิศ: หันขวา กลางเวที จังหวะ: ยืดตัวขึ้น หมดจังหวะ ทหาร ศีรษะ: หน้าตรง มือ: วางพานที่หน้าขา พนมมือ เท้า: นั่งคุกเข่าตัวพระ ทิศ: ด้านหลังปันหยีและม้าทรง จังหวะ: รอส่งแส้ให้ปันหยี


61 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ

68

69

บทร้อง

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา ม้าทรง ศีรษะ: เอียงศีรษะขวา มือ: มือขวากามือหลวมระดับวงบน มือซ้ายกามือหลวมระดับไหล่ เท้า: ก้าวข้างเท้าขวา ทิศ: ข้างเวทีด้านขวา จังหวะ: หนักหน้า ปันหยี ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือขวาถือแส้ มือซ้ายจับม้า เท้า: ก้าวข้างเท้าซ้ายแล้วเขโยก ทิศ: หันหน้า กลางเวที จังหวะ: เขโยกเท้า ม้าทรง ศีรษะ: เอียงศีรษะซ้าย มือ: มือขวากามือหลวมระดับไหล่ ปันหยี ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านขวา มือ: มือขวาถือแส้ มือซ้ายแตะหลัง ม้า เท้า: ก้าวข้างเท้าซ้ายกระดกเท้าขวา ทิศ: หันหน้า ค่อยๆเข้าหลังเวที จังหวะ: ก้าว ก้าว กระโดด ม้าทรง ศีรษะ: เอียงศีรษะขวา มือ: มือขวากามือหลวมระดับไหล่ มือซ้ายกามือหลวมระดับวงบน เท้า: ก้าวข้างเท้าซ้ายกระดกเท้าขวา ทิศ: หันหน้า กลางเวที จังหวะ: ก้าว ก้าว กระโดด


62 ตาราง 5 (ต่อ) ลาดับ 70

บทร้อง

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา ปันหยี ศีรษะ: เอียงศีรษะด้านซ้าย มือ: มือขวาถือแส้ มือซ้ายแตะหลัง ม้า เท้า: ก้าวข้างเท้าขวากระดกเท้าซ้าย ทิศ: หันหน้า ค่อยๆเดินเข้าหลังเวที จังหวะ: ก้าว ก้าว กระโดด ม้าทรง ศีรษะ: เอียงศีรษะขวา มือ: มือขวากามือหลวมระดับไหล่ มือซ้ายกามือหลวมระดับวงบน เท้า: ก้าวข้างเท้าซ้ายกระดกเท้าขวา ทิศ: หันหน้า กลางเวที จังหวะ: ก้าว ก้าว กระโดด

กลวิธีในการรา การแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด ปั น หยี แ ต่ ง ตั ว เป็ น การร าตี บ ทตามบทละคร กล่ า วถึ ง การแต่ งองค์ท รงเครื่ องของปันหยี เพื่อออกไปสู้ร บกับระตูบุศสิห นา ลั กษณะของการราเป็น การร า อวดฝีมือของผู้แสดง โดยมีลีลาท่าราที่สง่างามและนุ่มนวลในแบบละครใน ผู้แสดงจึงจะต้องราให้นิ่ง สง่ า งามเน้ น กระบวนท่ า ร าที่ ชั ด เจน ให้ ต รงกั บ ต าแหน่ ง เครื่ อ งแต่ ง กายตามบทร้ อ งของการแสดง จากท่าทาง และสายตาของผู้แสดงที่มองไปยังเครื่องแต่งกาย ตามคาร้องที่ กล่าวถึงขณะนั้น กลวิธี ในการร าปั น หยี แ ต่ ง ตั ว ฉบั บ ของ ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.มาลิ นี อาชายุ ท ธการ ประกอบไปด้ ว ย การยื ด ยุ บ ต้ อ งมี ค วามชั ด เจนและจั ง หวะเบา โดยการแข็ ง หน้ า ขา การแสดงอารมณ์ ค วามรู้ สึ ก ผ่านสายตา การใช้หน้า มือ ตัว และเท้าต้องมีความสัมพันธ์กันเพื่อท่ารานั้นจะได้ลีลาที่สวยงาม และต้ อ งมี ก ารฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารใช้ อ าวุ ธ คื อ กริ ช การจั บ กริ ช จะต้ อ งโชว์ ห น้ า กริ ช ออกและหั ก ข้ อ มื อ ในการฝึ ก ซ้ อ มการร ากั บ ม้ า ทรง ปั น หยี แ ละม้ า ทรงจะต้ อ งร าจั ง หวะการก้ า วเท้ า การกระโดด จะต้องเป็นจังหวะเดียวกันและพร้อมกัน โดยผู้ศึกษาจะต้องทาการฝึกซ้อมกับตัวม้าทรงทุกครั้งทีมีการ ฝึกซ้อม เพื่อความถูกต้องและมีความสวยงามของกระบวนท่ารา


บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว ผู้ศึกษาสามารถสรุปประวัติการแสดง องค์ประกอบการแสดง และกระบวนท่าราได้ดังนี้ บทสรุป การแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด ปั น หยี แ ต่ ง ตั ว อยู่ ในละครใน เรื่ อ ง อิ เ หนา ตอน ประสันตาต่อนกซึ่งเดิมเป็นบทพระราชนิพนธ์ของสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสี ม า ที่ ท รงปรั บ ปรุ ง ขึ้ น จากบทพระราชนิ พ นธ์ ใ นรั ช การที่ 2 ซึ่ ง ต่ อ มา ทางกรมศิลปากรได้นาออกแสดง ณ โรงละครแห่งชาติ เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 ต่อมา ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยก็ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง อิเหนา ขึ้นมาใหม่ โดยปรับปรุงให้บทละครเหมาะสมกับการเป็นละครรา ในรูปแบบละครใน การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว เป็นการราตีบทตามบทละคร อยู่ในละครใน เรื่อง อิเหนา ตอน ประสันตาต่อนก วันหนึ่งประสันตาพี่เลี้ยงของอิเหนาชวนบ่าวไพร่ออกไปต่อนก ล่วงล้าเข้าไปถึงค่ายพัก ของระตูบุศสิหนาทาให้เกิดเหตุทะเลาะวิวาทกับไพร่พลของระตูบุศสิหนาและ เกิดการรบสู้กัน ก่อนออกรบนี้มีการราลงสรงโทนของปันหยี เป็นศิลปะการราแต่งองค์ทรงเครื่องก่อน การออกรบ และเป็นการราอวดฝีมือของผู้แสดง โดยมีท่าราที่สง่างาม และนุ่มนวลตามแบบละครใน เพลงและดนตรีประกอบการแสดง ใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้าบรรเลงประกอบเพลงดังต่อไปนี้ บทร้อง / ทำนองเพลง - ปี่พาทย์ทาเพลงวา - ร้องร่าย เมื่อนั้น มิสาระปันหยีสกุ าหรา จึงสระสรงทรงเครื่องมุรธา ตามตาราณรงค์ยงยุทธ - ร้องเพลงลงสรงโทน บรรจงทรงสอดสนับเพลา ภูษานุ่งหน่วงเนาไม่เลื่อนหลุด ฉลององค์เกราะสุวรรณกันอาวุธ เจียรบาดผาดผุดพรรณราย ตาบทิศทับทรวงดวงกุดั่น คาดเข็มขัดรัดมั่นกระสันสาย สังวาลประดับทับทิมพราย ทองกรจาหลักลายลงยา ธามรงค์ค่าเมืองเรืองระยับ ตาดพับพันโพกเกศา แต่งเป็นเช่นชาวอรัญวา กุมกริชฤทธาสาหรับมือ - ร้องเพลงรื้อร่าย มาทรงอาชาม้าที่นั่ง

พระหัตถ์หน่วงเหนี่ยวรั้งสายถือ


64 ให้คลาเคลื่อนพลขันธ์บันลือ โห่สนั่นอึงอื้อแล้วยกไป - ปี่พาทย์ทาเพลงแขกยิงนก (จุฑารัตน์ กิตติบัวพัน, 2558, หน้า 33.) การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว เป็นการราตีบทตามบทละครที่พูดถึงการแต่ง องค์ทรงเครื่องของอิเหนา เพื่อออกไปสู้รบ โดยมีฉากและอุปกรณ์ประกอบ 4 อย่างได้แก่ 1. เตียง 2. เครื่องราชูปโภค 3. กริช (อาวุธสาหรับการแสดง) 4. แส้ (อาวุธสาหรับการแสดง) การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว เป็นการราตีบทตามบทละครที่พูดถึง การแต่งองค์ทรงเครื่องของอิเหนา เป็นการราของอิเหนาหลังจากที่ได้ปลอมตัวเป็ นโจรป่า จึงมีการ สวมปั น จุ เ หร็ จ แต่ ง กายยื น เครื่ อ งพระสี แ ดงขลิ บ เขี ย วแขนสั้ น และมี ก ารสวมใส่ เ กราะสุ ว รรณ ที่ใช้ในการออกรบ และมีนักแสดงตัวประกอบ 2 ตัวละคร ได้แก่ ทหาร ม้าทรง การแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ปันหยีแต่งตัว เป็นการราตีบทตามบทละครที่พูดถึง การแต่ ง องค์ ท รงเครื่ อ งของอิ เ หนา เป็ น การร าของอิ เ หนาหลั ง จากที่ ไ ด้ ป ลอมตั ว เป็ น โจรป่ า มีกระบวนท่าราทั้งหมดจานวน 70 ท่า และมีนักแสดงตัวเอกคือ ปันหยี และนักแสดงตัวประกอบ 2 ตัวละคร ได้แก่ ทหารและม้าทรง ในการแสดงสามารถแบ่งช่วงการแสดงออกเป็น 5 ช่วง ดังนี้ ช่วงที่ 1 ใช้ทานองเพลงวา ช่วงที่ 2 ใช้ทานองเพลงร่าย ช่วงที่ 3 ใช้ทานองเพลงลงทรงโทน ช่วงที่ 4 ใช้ทานองเพลงรื้อร่าย ช่วงที่ 5 ใช้ทานองเพลงแขกยิงนก การแสดงราเดี่ ยวมาตรฐาน ชุ ด ปันหยี แต่งตัว เป็นการราตีบ ทตามบทละคร กล่าวถึ ง การแต่งองค์ทรงเครื่องของปันหยีเพื่อออกไปสู้รบกับระตูบุศ สิหนา ลักษณะของการราเป็นการรา อวดฝีมือของผู้แสดง โดยมีลีลาท่าราที่สง่างามและนุ่มนวลในแบบละครใน ผู้แสดงจึงจะต้องราให้นิ่ง สง่างามเน้นกระบวนท่ าราที่ ชัดเจน ให้ตรงกับตาแหน่งเครื่องแต่งกายตามบทร้องของการแสดง จากท่าทาง และสายตาของผู้แสดงที่มองไปยังเครื่องแต่งกาย ตามคาร้องที่กล่าวถึงขณะนั้น กลวิธี ในการราปัน หยีแ ต่งตัวฉบับของ ผู้ช่ว ยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุ ทธการ ประกอบไปด้ว ย การยื ดยุบ ต้องมี ความชัด เจนและจั งหวะเบา โดยการแข็ง หน้า ขา การแสดงอารมณ์ความรู้สึ ก ผ่านสายตา การใช้หน้า มือ ตัว และเท้าต้องมีความสัมพันธ์กันเพื่อท่ารานั้นจะได้ลีลาที่สวยงาม และต้องมีการฝึกปฏิบัติการใช้อาวุธ คือ กริช การจับกริชจะต้องโชว์หน้ากริชออกและหักข้อมือ ในการฝึ ก ซ้ อ มการร ากั บ ม้ า ทรง ปั น หยี แ ละม้ า ทรงจะต้ อ งร าจั ง หวะการก้ า วเท้ า การกระโดด จะต้องเป็นจังหวะเดียวกันและพร้อมกัน โดยผู้ศึกษาจะต้องทาการฝึกซ้อมกับตัวม้าทรงทุกครั้งทีมีการ ฝึกซ้อม เพื่อความถูกต้องและมีความสวยงามของกระบวนท่ารา


65 ข้อเสนอแนะ 1. ผู้ แ สดงควรเลื อ กตั ว ละครที่ ต นสนใจจะศึ ก ษา เพื่ อ เวลาขึ้ น แสดงจริ ง ผู้ แ สดงจะได้ ถ่ายทอดออกมาให้สมบทบาทของตัวละครนั้น 2. ควรมีการเตรียมพร้อมทางด้านร่างกาย และด้านความรู้ความเข้าใจในการแสดงราเดี่ยว มาตรฐาน ชุ ด ปั น หยี แ ต่ ง ตั ว ก่ อ นเข้ า รั บ การถ่ า ยทอดท่ า ร าจากผู้ เ ชี่ ย วชาญ ท่ า นจะได้ มี เ วลา ในการเก็บรายละเอียดท่าราให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 3. การถ่ายทอดกระบวนท่าราจากท่านผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านนาฏศิลป์ไทยนั้น อาจจะมีการ ปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสมหรือศักยภาพของผู้แสดง ผู้ศึกษาจึงควรมีการจดบันทึกท่าราทุกครั้ง หลังจากได้รับการถ่ายทอด เพื่อช่วยในการจา 4. หากผู้ศึกษาเกิดข้อสงสัยขึ้นเมื่อใดก็ควรจะถามผู้ถ่ายทอดท่า ราทันทีอย่าปล่อยให้คาถามนั้น ผ่านเลยไป เพราะสิ่งเหล่านี้จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อนาฏศิลป์ไทยทั้งในปัจจุบันและอนาคต


บรรณานุกรม


บรรณานุกรม กรมศิลปากร. (2530). หนังสือเครื่องดนตรีไทย. กรุงเทพฯ: พิฆเณศ จุ ฑ ารั ต น์ กิ ต ติ บั ว พั น . (2558). โครงการปริ ญ ญานิ พ นธ์ ผ ลงานการสอบร าเดี่ ย วมาตรฐาน ทางด้ า นนาฏศิ ล ป์ ไ ทย ชุ ด “ปั น หยี แ ต่ ง ตั ว ”. การศึ ก ษาค้ น คว้ า ด้ ว ยตนเอง ศศ.ม., มหาวิทยาลัยนเรศวร, จังหวัดพิษณุโลก. นิ ลุ บ ล พุ ฒ ฤทธิ์ . (2556). โครงการปริ ญ ญานิ พ นธ์ ผ ลงานการสอบร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด ปั น หยี แ ต่ ง ตั ว . การศึ ก ษาค้ น คว้ า ด้ ว ยตนเอง ศศ.ม., มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร, จังหวัดพิษณุโลก. รมณี ย์ เกตุ สุ ภ ะ. (2548). โครงการปริ ญ ญานิ พ นธ์ ผ ลงานการสอบร าเดี่ ย วมาตรฐาน ชุ ด ปั น หยี แ ต่ ง ตั ว . การศึ ก ษาค้ น คว้ า ด้ ว ยตนเอง ศศ.ม., มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร, จังหวัดพิษณุโลก. วรรณพินี สุขสม. (2545). ลงสรงโทน: กระบวนท่าราในการแสดงละครในเรื่องอิเหนา. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม., กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2537). ร้องราทาเพลง : ดนตรีและนาฏศิลป์ชาวสยาม. กรุงเทพฯ: เรืองแก้วการ พิมพ์. สุรพล วิรุฬห์รักษ์. (2547). หลั กการแสดง นาฏยศิลป์ปริทรรศน์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.


ประวัติผู้วิจัย


ประวัติผู้วิจัย ชื่อ – ชื่อสกุล วัน เดือน ปี เกิด ที่อยู่ปัจจุบัน ประวัติการศึกษา

จุฑารัตน์ โพธิ์สระ 7 กรกฎาคม 2561 12/3 หมู่ 6 ตาบลกาแพงดิน อาเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร 66220 ปัจจุบันกาลังศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย คณะมนุษยศาสตร์ ภาควิชาศิลปะการแสดง มหาวิทยาลัยนเรศวร


ภาคผนวก


ภาคผนวก ก ประมวลภาพการถ่ายทอดท่ารา ปันหยีแต่งตัว จากผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลินี อาชายุทธการ (ผู้ท่าทอดท่ารา) (ซ้าย) และนางสาวจุฑารัตน์ โพธิ์สระ (ผู้รับการถ่ายทอดท่ารา) (ขวา)

การถ่ายทอดท่ารา ท่าเกศา ในเพลงร้องร่าย


ภาคผนวก ข ประมวลภาพวันจัดแสดงราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด ปันหยีแต่งตัว

ท่ากุมกริชฤทธา

ท่าเกราะสุวรรณ



72

ท่าสนับเพลา

ท่าเหนี่ยวรั้งม้าทรง


73

อาจารย์ภูริตา เรืองจิรยศ อาจารย์ที่ปรึกษา (ซ้าย) นางสาวจุฑารัตน์ โพธิ์สระ (ขวา)

คณะกรรมการ คณาจารย์ และนิสิตถ่ายภาพร่วมกัน


74

โปสเตอร์การประชาสัมพันธ์การสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ประจาปีการศึกษา 2561


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.