อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด สมิงพระรามแต่งตัว

Page 1

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด สมิงพระรามแต่งตัว

นางสาวชฎาพร ถาวร

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทยฉบับนีเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2561


อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด “ราสมิงพระรามแต่งตัว” ของ นางสาวชฎาพร ถาวร ได้รบั การพิจารณาให้นบั เป็นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต (นาฏศิลป์ไทย) คณะกรรมการอาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ...................................................................................................................อาจารย์ที่ปรึกษา (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประภาศรี ศรีประดิษฐ์) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.รุ่งนภา ฉิมพุฒ) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์รัชดาพร สุคโต) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.จิตติมา นาคีเภท) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์อุบลวรรณ โตอวยพร) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์ภูริตา เรืองจิรยศ) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์วรวิทย์ ทองเนื้ออ่อน) อนุมัติ ................................................................ (ดร.จิตติมา นาคีเภท) หัวหน้าภาควิชาศิลปะการแสดง


ประกาศคุณปู การ การสอบร าเดี่ย วมาตรฐานทางด้ านนาฏศิล ป์ไทยของสาขาวิช านาฏศิล ป์ไทย ภาควิช า ศิล ปะการแสดง คณะมนุ ษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นส่ วนหนึ่งของการศึกษาในรายวิช า อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย (202462) เป็นการศึกษาการราจากอาจารย์ผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ในด้านนาฏศิลป์ไทย โดยให้นิสิตรับการถ่ายทอดท่ารา ตลอดจนทักษะการรา กลวิธีต่างๆ ในการรา จากอาจารย์ผู้ถ่ายทอดให้ได้มากที่สุด ซึ่งนิสิตจะได้ทั้งความรู้ในทางทฤษฏี ความรู้ในทางปฏิบัติ และ ความรู้ จ ากประสบการณ์ ข องอาจารย์ ผู้ ถ่ า ยทอดท่ า ร า ทั้ ง นี้ ก ารศึ ก ษาการแสดงชุ ด ร า สมิงพระรามแต่งตัว ได้รับความกรุณาและความช่วยเหลือจากหลายท่าน จึงทาให้การแสดงชุดนี้สาเร็จ ลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอกราบขอบพระคุ ณ อาจารย์ พ งษ์ ศั ก ดิ์ บุ ญ ล้ น ผู้ ช านาญการทางด้ า นนาฏศิ ล ป์ ไ ทย (โขนพระ) กรมสานักการสังคีต กรมศิลปกร กระทรวงวัฒนธรรม ที่ได้เสียสละเวลาให้ คาแนะนาและ ถ่ายทอดท่าราการแสดงชุด ราสมิงพระรามแต่งตัว ให้กับนิสิต ขอขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาตราจารย์ประภาศรี ศรีประดิษฐ์ อาจารย์ที่ปรึกษารายวิชาอาศรม ศึกษา ที่ได้ให้ คาปรึกษา คาแนะนา ตรวจสอบความถูกต้อง ของขั้นตอนการจัดทารูปเล่มและการฝึก ปฏิบัติท่ารา ขอบพระคุ ณ ครู อ าจารย์ ทุ ก ท่ า น ที่ ไ ด้ ใ ห้ ค าแนะน าที่ มี ป ระโยชน์ จนท าให้ ก ารรั บ การ ถ่ายทอด ท่าราในครั้งนี้ สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา ที่ช่วยสนับสนุ น เรื่องค่าใช้จ่าย และช่วยให้กาลังใจกับนิสิต มาโดยตลอด สุ ดท้ายนี้ ข อขอบคุณ เพื่อนๆ ชั้ นปีที่ 4 และน้อ งๆ สาขาวิช านาฏศิล ป์ไทย ภาควิช า ศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่คอยแนะนาให้ความช่วยเหลือและเป็น กาลังใจตลอดมา

นางสาวชฎาพร ถาวร


สารบัญ บทที่

หน้า

1 บทนา…………………………………………………………................................….……...…..…… ความสาคัญของการถ่ายทอดท่ารา....……………………….........…………….......……… วัตถุประสงค์......................................……………………….........…………….......……… วิธีดาเนินงาน.....................................……………………….........……………....…...…… ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ................……………………….........…………….......………

1 2 2 2 3

2 ประวัตผิ ู้ถา่ ยทอดท่ารา............................................................................................. ประวัติส่วนตัว...................................……………………….........………....…………...… ประวัติการศึกษา................................……………………….........……………...………… ประวัติการทางาน..............................……………………….........………………………… ผลงานทางด้านวิชาการและการแสดง……………………….........……………...………… ประวัติการสืบทอดและการถ่ายทอดท่ารา……………..……….........………...………… แผนผังการสืบทอดและถ่ายทอดท่ารา.……………………….........…………....……...…

4 4 5 5 6 10 11

3 วิธดี าเนินการสืบทอดและฝึกหัด.............................................................................. ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด.......……………………….........………….……..……… ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด...........….........…………….......……… อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด......……………………….........……………....…...…… พัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด.……………………….........……………....……...…

12 12 13 14 15


สารบัญ (ต่อ) บทที่

หน้า

4 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด สมิงพระรามแต่งตัว….....……………....…………… ประวัติความเป็นมาของการแสดง………………..……….........……………....…………… เรื่องย่อของการแสดง……………………...................….........…………..…....…………… บทร้อง……………………….........……………....……...........................................……… ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง……………………….........…………….............…………… ฉากและองค์ประกอบการแสดง……………………….........……………....….....………… เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า……………………….........…………….........…………… กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่………………………................……………....…………… กลวิธีในการรา................................……………………….........……………....……………

17 18 20 21 21 22 23 24 54

5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ.......................................................................................... บทสรุป................................……………………......………….....................…….………. ข้อเสนอแนะ………………………………........................……....…………………....……….

56 56 57

บรรณานุกรม...........................................................................................................................

58

ภาคผนวก………………………....……………………………………….……………….................................

60

ประวัตผิ วู้ จิ ยั ………………………………………………………….……………..........................................

65


สารบัญตาราง ตาราง 1 2 3 4 5

หน้า แสดงการดาเนินงาน………………………………....…......…...……………………………………….. แสดงขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด…………………………………….........………….......... แสดงระยะเวลาและสถานที่ฝึกหัดด้วยตัวเอง……………………………………....…………….. แสดงระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัดกับอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา………. แสดงบันทึกกระบวนท่าราสมิงพระรามแต่งตัว…………………………………….......………….

การดาเนินงาน

3 12 14 15 24


ตัวอย่างสารบัญตารางภาษาไทย

สารบัญตาราง ตาราง

หน้า

1 2 3 4

5 15 20

แสดงลักษณะของผู้ที่มีเชาว์อารมณ์สูงและต่า………….………………......……... แสดงจานวนประชากรและกลุ่มตัวอย่างของนิสิต ชั้นปีที่ 1 ของแต่ละคณะ......... แสดงจานวนและค่าร้อยละ ของตัวแปรจัดประเภท………………………..………. แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรพยากรณ์และ ตัวแปรเกณฑ์ ….…….......................................................................……. 5 แสดงค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรพยากรณ์กับตัวแปรเกณฑ์.…......... 6 แสดงผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบปกติ เมื่อใช้คะแนนเชาว์อารมณ์ เป็นตัวแปรเกณฑ์ …........................................................................……. 7 แสดงผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณขั้นตอน เมื่อใช้คะแนน เชาว์อารมณ์ เป็นตัวแปรเกณฑ์ …………………………………………………..……......

25 40 65 82


สารบัญภาพ ภาพ 1 2 3 4 5 6 7

หน้า ภาพอาจารย์พัชรา บัวทองและอาจารย์พงษ์ศักดิ์ บุญล้น……………………………. ภาพวงปี่พาทย์มอญเครื่องห้า……………………………………………………………………. ภาพโต๊ะหมู่บูชาสูง……………………………………………………………………………………. ภาพดาบ………………………………………………………………………………………………….. ภาพทวน………………………………………………………………………………………………….. ภาพเครื่องแต่งกายชุดสมิงพระรามแต่งตัว…………………………………………………… ภาพกระบวนท่าราและการใช้พื้นที่……………………………………....…………..............

4 21 21 22 22 23 24


ตัวอย่างสารบัญภาพภาษาไทย

สารบัญภาพ ภาพ 1 2 3 4 5 6 7

หน้า ขั้นตอนการผลิตชาเขียวใบหม่อน………..................….………………...……... เตาผลิตแก๊สแบบอากาศไหลลง...................................................................... เตาผลิตแก๊สแบบอากาศไหลขึ้น…………………………………………...…...... เตาผลิตแก๊สแบบอากาศไหลขวาง................................………………...……... เตาผลิตแก๊สแบบพ่นฝอยโดยตรง…................................................................ เตาผลิตแก๊สแบบพ่นฝอยในห้องเผาไหม้...............................…………...…...... เตาผลิตแก๊สแบบหมุนวน…………………......................................................

3 10 10 11 12 13 14



1

บทที่ 1 บทนา ความสาคัญของการถ่ายทอดท่ารา นาฏศิลป์ เป็นศิลปะของการแสดงและการร่ายราของมนุษย์ถูกประดิษฐ์ขึ้นมาจากธรรมชาติ เพื่อให้เกิด ความสวยงามและสนุกสนาน ในการแสดงและการร่ายรานั้นมักจะใช้ดนตรีและบทร้องเป็น องค์ประกอบสาคัญเพื่อ สื่อถึงอารมณ์และบ่งบอกความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นนั้น ในประเทศไทย สามารถแบ่งนาฏศิลป์ออกได้หลาย ประเภทเช่น โขน ละครรา ระบา และการแสดงพื้นเมืองภาคต่างๆ ซึ่งการแสดงของนาฏศิลป์แต่ละประเภทนั้น ล้วนแต่มีเอกลักษณ์และความงามเฉพาะที่แตกต่างกันทั้ง เครื่องแต่งกาย ดนตรีประกอบ และท่าร่ายรา การรา ละครพันทาง ถือเป็นการรา อีกประเภทหนึ่งที่มี เอกลักษณ์เฉพาะ ซึ่งจะแสดงออกมาผ่านทางการร่ายรา ประกอบบทร้อง ดนตรี และเครื่องแต่งกาย สามารถบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของตัวละครนั้นได้เป็นอย่างดี ละครพันทาง เป็นละครแบบผสม คือ นาเอาแบบอย่างมาจากละครนอกปรับปรุงใหม่ โดย ปะปนศิลปะหลายอย่าง นาเพลงและดนตรีต่างภาษาเข้าผสม จัดกระบวนการฟ้อนราแบบแปลกๆ ร่ายร าตามลีล าต่างภาษา แต่งกายแบบต่างชาติ และเรื่องเล่ าที่นามาแสดงก็มักเป็นเรื่องเกี่ยวกับ ต่างชาติต่างภาษา เช่น สามก๊ก พระลอ ขุนช้างขุนแผน พระอภัยมณี ราชาธิราช เป็นต้น ( รัตนา มณี สิน, 2524: หน้า 57 ) การแสดงชุดสมิงพระรามแต่งตัว เป็นการเสดงที่ประดิษฐ์ขึ้นโดย อาจารย์พัชรา บัวทอง ประพันธ์บทโดย อาจารย์สมรัตน์ ทองแท้ บรรจุเพลงโดย อาจารย์กัญจนปกณ์ แสดงหาญ การแสดง ชุดสมิงพระรามแต่งตัวออกแสดงครั้งแรกเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ในงานวิพิธทัศนาขาบมงคล ณ สั ง คี ต ศาลา ผู้ ส ร้ า งสรรค์ ก ารแสดงชุ ด สมิ ง พระรามแต่ ง ตั ว มี จุ ด ประสงค์ ใ ห้ ก ารแสดงมี ค วาม สอดคล้องกับละครพันทาง เรื่องราชาธิราช ตอนสมิงพระรามอาสา เป็นการาแต่งองค์ทรงเครื่องของ สมิงพระรามก่อนจะออกไปรบครั้งที่ถูกจับเป็นเชลยที่เมืองอังวะ ได้รับอาสาไปรบกับกองทัพกรุงจีน ซึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อกู้พระนครให้เป็นเกียรติยศไว้ การแสดงชุดสมิงพระรามแต่งตัว มีลักษณะรูปร่างสง่า งาม ใบหน้ างดงามสมชายชาตรี ท่าองอาจ มีความซื่อสั ตย์ส ติ ปัญญาหลั กแหลม คิดการไกลและ รอบคอบ สามารถต่อสู้และชนะข้าศึกร้อยคนพันคนได้ด้วยตัวคนเดียว และเป็นการราอวดฝีมืออีก ประเภทหนึ่ง มีกระบวนท่าราการใช้อาวุธทวนในช่างต้นและท้ายของเพลง การราเดี่ยวทางด้านนาฏศิลป์ไทยถือได้ว่าเป็นการอวดฝีมือในการแสดง และเป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนรู้ ในรายวิชาอาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ในชั้นปีที่ 4 ตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยการให้


2

นิสิตได้ไปศึกษาและรับการถ่ายทอด ท่าราจากผู้เชี่ยวชาญ เพื่อเป็นการประเมินองค์ความรู้ตลอด ระยะเวลา 4 ปีที่ผ่านมา และเป็นการอนุรักษ์และสืบสานการแสดงไว้คงอยู่ต่อไป ทั้งยังเป็นการเพื่อ เพิ่มความรู้ความสามารถในการร่ายราให้ถูกต้องตามแบบแผนที่มีมา แต่โบราณ และประกอบกับเพื่อ รวบรวมความรู้ที่ได้รับจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านนาฏศิลป์ไทย โดยการเรียนครั้งนี้ ผู้วิจัยมีความสนใจใน การแสดงชุ ด ร าสมิ ง พระรามแต่ ง ตั ว โดยมี ผู้ เ ชี่ ย วชาญทางด้ า นนาฏศิ ล ป์ ไ ทยคื อ อาจารย์ พงษ์ศักดิ์ บุญล้น เป็นผู้ถ่ายทอดท่าราให้ ทั้งนี้ผู้วิจัยจึงได้ทาการศึกษาและจดบันทึกท่าราไว้เป็น ลายลักษณ์อักษร เพื่อเป็นประโยชน์แก่การศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ไทยต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่ อ เป็ น การประมวลองค์ ค วามรู้ จ ากตลอดระยะเวลา 4 ปี ที่ ไ ด้ ศึ ก ษาทางด้ า น นาฏศิลป์ไทย 2. เพื่อรับการถ่ายทอดท่ารา ฝึกท่าร่ายราตามแนวทาง และวิธีการสอนของผู้เชี่ยวชาญ 3. เพื่อศึกษา อนุรักษ์และเผยแพร่กระบวนการท่าราราสมิงพระรามแต่งตัว วิธดี าเนินงาน ดาเนินงานจากเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 - เดือนกันยายน พ.ศ. 2561 ดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 1 การดาเนินงาน ขั้นตอนการดาเนินงานเดือนสิงหาคม – กันยายน วิธกี ารดาเนินงาน 1. ศึกษาประวัติราเดี่ยวสมิงพระราม แต่งตัว 2. ศึกษากระบวนท่าราจาก สื่อ 3. ติดต่อขอรับการถ่ายทอด กระบวน ท่าราจากอาจารย์ พงษ์ศักดิ์ บุญล้น 4. สอบประเมินผล 50% 5. สอบประเมินผล 75% 6. สอบประเมินผล 100% 7. สอบราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ราสมิง พระรามแต่งตัว 8. สรุปผลและส่งรูปเล่ม

พฤษภาคม

มิถนุ ายน

กรกฎาคม

สิงหาคม

กันยายน


3

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั 1. ได้ทราบถึงกระบวนการการออกแบบท่ารา 2. ได้ทราบกลวิธีการราสมิงพระรามแต่งตัว 3. สามารถนาไปพัฒนาตนเองให้มีศักยภาพในการราได้มากขึ้น 4. สามารถนากลวิธีของอาจารย์ พงษ์ศักดิ์ บุญล้น เผยแพร่แก่บุคคลที่สนใจ


4

บทที่ 2 ประวัตผิ ถู้ า่ ยทอดท่ารา การราเดี่ยวมาตรฐานชุด “สมิงพระรามแต่งตัว ” ได้รับความอนุเคราะห์ในการถ่ายทอด ความรู้ทางนาฏศิลป์ไทยจากอาจารย์พงษ์ศักดิ์ บุญล้น นาฏศิลปินชานาญงาน สานักการสังคีต กรม ศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม ซึ่งอาจารย์พงษ์ศักดิ์ บุญล้น เป็นผู้ได้รับการถ่ายทอดท่าราสมิงพระราม แต่งตัวจากอาจารย์พัชรา บัวทอง ผู้ประดิษฐ์ ท่าราเป็นคนแรก แสดงครั้งแรกวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ในงานวิพิธทัศนาขาบมงคล ณ สังคีตศาลา ซึ่งผู้รับการถ่ายทอดท่าราจะขอกล่าวถึง ประวัติและ ผลงานของอาจารย์ทั้ง 2 ท่านดังนี้

2.1 อาจารย์พัชรา บัวทอง 2.2 อาจารย์พงษ์ศักดิ์ บุญล้น 2.1 ประวัติอาจารย์พัชรา บัวทอง ประวัติส่วนตัว ชื่อ อาจารย์พัชรา บัวทอง เกิด วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.2497 ปัจจุบัน อายุ 64 ปี สถานที่เกิด โรงพยาบาลหญิง ( โรงพยาบาลราชวิถี) ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 64/55 หมู่ 1 ซอยมิตรสัมพันธ์ ถนนบางกรวย-ไทรน้อย ตาบล บางกร่างอาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี


5

2.1.2 ประวัติการศึกษา ในปีพุทธศักราช 2503 อาจารย์ พัชรา บัวทอง เริ่มศึกษาในโรงเรียนอนุบาลสุจริต ขณะนั้น อายุได้เพียง 3 ขวบ ก็ถูกส่งตัวไปเรียนวิชาทางด้านนาฏศิลป์ไทยที่โรงเรียนนาฏศิลป์สัมพันธ์ของคุณครู สัมพันธ์พันธ์มณี (ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ปีพุทธศักราช 2542) มาอย่างต่อเนื่อง จากนั้น ได้เข้ารับการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-4 ที่โรงเรียนขัตติยานีผดุง และเข้าศึกษาต่อ ณ โรงเรียน นาฏศิลป์ ในปีพุทธศักราช 2507 เนื่องจากอาจารย์พัชรา บัวทอง มีพื้นฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทยมา ก่อน เมื่อเข้ามาเรียนในระดับชั้นต้น มีการเปิดโรงละครแห่งชาติเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พุทธศักราช 2508 อาจารย์ พัชรา บัวทองได้รับคัดเลือกให้มีส่วนร่วมในการแสดง โดยร่วมแสดงเป็นเทวดาตัว น้อยๆ ในจานวนผู้แสดงเพียงสองคนที่ได้แสดงร่วมกับศิลปินรุ่นพี่ที่มีชื่อเสียงระดับมืออาชีพ ในการเปิด โรงละครครั้งนั้นด้วย ยังคงเป็นเหตุการณ์ที่อาจารย์ พัชรา บัวทอง ประทับใจจนกระทั่งทุกวันนี้ และ ในขณะที่ ก าลั ง ศึ ก ษาในระดั บ ชั้ น ต้ น ปี ที่ 2 ท่ า นผู้ ห ญิ ง แผ้ ว สนิ ท วงศ์ ( ศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ สาขา ศิลปะการแสดง ปีพุทธศักราช 2528 ) ได้คัดเลือกและถ่ายทอดบทบาทของตัวละครสินสมุทร ในละคร นอก เรื่ อง พระอภัย มณี โดยมีอาจารย์ ศิริวัฒ น์ ดิษยนันท์ (ศิล ปินแห่ งชาติสาขาศิล ปะการแสดง ปีพุทธศักราช 2541) แสดงเป็นพระอภัยมณี ต่อเมื่ออาจารย์ พัชรา บัวทอง เข้ารับการศึกษาจนถึง ระดับชั้นกลางปีที่ 2 คุณครูลมุล ยมะคุปต์ (ผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป์ กรมศิลปากร ) ได้คัดเลือกและถ่ายทอดบทบาทของตัวละครสมิงนครอินทร์ในละครพันทาง เรื่อง ราชาธิราช ตอนกระทาสัตย์จนถึงดูตัวสมิงนครอินทร์เพื่อทาการแสดงในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ซึ่งเป็ นการแสดงที่สร้ างชื่อเสีย งให้ กับ อาจารย์พัช รา บัว ทอง ในคราวนั้นได้เป็นอย่างมาก จนจบ การศึกษาชั้น สู งปี ที่ 2 ในปี พุทธศักราช 2517 ซึ่งในเวลานั้นโรงเรียนนาฏศิล ป์ ได้เปลี่ ยนชื่อเป็ น วิทยาลัยนาฏศิลป์ดังกล่าวมาแล้วว่าอาจารย์พัชรา บัวทอง เป็นผู้ที่มีเชื้อสายความเป็นศิลปินอยู่ใน สายเลือดทาให้ฉายแววการเป็นศิลปินที่ชัดเจนขึ้นโดยระหว่างการศึกษา ในระดับชั้นสูงปีที่ 1 ได้รับ การคัดเลือกให้บรรจุตาแหน่งนาฏศิลปินสารองของแผนกนาฏศิลป์ กองการสังคีต กรมศิลปากร ควบคู่ กับการเรียนจนกระทั่งการศึกษาจึงได้รับการสอบเข้าบรรจุรับราชการ ในตาแหน่งศิลปินจัตวาแผนก นาฏศิลป์ กองการสังคีต กรมศิลปากร 2.1.3 ประวัติการทางาน การรับราชการในกรมศิลปากร เริ่มตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2517 3 มิถุนายน 2517 ทดลองปฏิบัติราชการ แผนกนาฏศิลป์ กองการสังคีต กรมศิลปกร 1 กุมภาพันธ์ 2518 ศิลปินจัตวา แผนกนาฏศิลป์ กองการสังคีตกรมศิลปากร 9 กันยายน 2518 นาฏศิลปิน 1 กองการสังคีต กรมศิลปากร 1 ตุลาคม 2519 นาฏศิลปิน 2 กองการสังคีต กรมศิลปากร


6

1 ตุลาคม 2522 24 กันยายน 2525 1 กรกฎาคม 2532 20 พฤษภาคม 2539 3 กันยายน 2540 19 สิงหาคม 2547

นาฏศิลปิน 3 กองการสังคีต กรมศิลปากร นาฏศิลปิน 4 กองการสังคีต กรมศิลปากร นาฏศิลปิน 5 กองการสังคีต กรมศิลปากร นาฏศิลปิน 6 ว. สถาบันนาฏดุริยางค์ กรมศิลปากร นาฏศิลปิน 7 ว. สถาบันนาฏดุริยางค์ กรมศิลปากร เจ้าหน้าที่บริหารงานศิลปิน 8 หัวหน้ากลุ่มจัดการแสดง สานักการสังคีต กรมศิลปากร ปัจจุบันเกษียณอายุราชการแล้ว 2.1.4 ผลงานทางด้านวิชาการและการแสดง อาจารย์พัชรา บัวทอง เป็นผู้มีความสามารถด้านการแสดงและการถ่ายทอดมากมายหลาย ประเภทอาทิ การแสดงโขน เรื่อง รามเกียรติ์ - แสดงเป็น กวางทอง นางสีดา ตอนลักสีดา - แสดงเป็นนางเบญกาย ตอนนางลอย - แสดงเป็นนางสุพรรณมัจฉา ตอนจองถนน การแสดงละคร เรื่อง อิเหนา - แสดงเป็นสังคามาระตา ตอนศึกกระหมังกุหนิง - แสดงเป็นอิเหนา ตอนตัดดอกไม้ฉายกริช - แสดงเป็นนกยูง ตอนย่าหรันตามนกยูง การแสดงละคร เรื่อง อุณรุฑ - แสดงเป็นนางอุษา การแสดงละครพันทาง เรื่อง ราชาธิราช - แสดงเป็นสมิงนครอินทร์ ตอน ขอดูตัวสมิงนครอินทร์ถึงกระทาสัตย์ - แสดงเป็นสมิงพระราม ตอน สมิงพระรามอาสา (ตัวรบ) การแสดงละครพันทาง เรื่อง พระลอ - แสดงเป็นพระลอ ตอน พระลอตามไก่ การแสดงละคร เรื่อง พญาผานอง - แสดงเป็นอามป้อม ตอน อั้วสิมครองเมือง - แสดงเป็นอั้มสิม การแสดงละครชาตรี เรื่อง มโนราห์


7

- แสดงเป็นมโนราห์ ตอน เข้าห้อง บูชายัญ เลือกคู่ - แสดงเป็นพระสุธน ตอน เดินป่า การแสดงละครนอก เรื่องโกมินทร์ - แสดงเป็นโกมินทร์ทั้งตอนการแสดงและเป็นผลงานที่สร้างชื่อเสียงให้กับ อาจารย์ พัชรา บัวทอง ให้เป็นที่รู้จักต่อสายตาประชาชนที่มาชมเป็นอย่างมาก การแสดง เรื่อง พระอภัยมณี - แสดงเป็นสินสมุทรและสุดสาครทุกตอนการแสดง การแสดง เรื่อง สุวรรณหงส์ - แสดงเป็นเกศสุริงยงค์ ตอน เดินป่า การแสดง เรื่อง สังข์ทอง - แสดงเป็นพรสังข์ ตอน เด็ก - แสดงเป็นเขยเล็ก ตอน หาเนื้อ-หาปลา การแสดงละครเสภา เรื่อง ขุนช้าง ขุนแผน - แสดงเป็นพลายชุมพล ตอน พระไวยแตกทัพ - แสดงเป็นพลายงาม ตอน กาเนิดพลายงาม - แสดงเป็นนางแว่นแก้ว ตอน พลายเพชรพลายบัวออกศึก - แสดงเป็นนางวันทอง ตอน ขุนแผนวันทอง การแสดงละคร เรื่อง ไกรทอง - แสดงเป็นนางแว่นแก้ว เรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนพลายเพชรพลายบัวออกศึก - แสดงเป็นวิมาลา ตอนไกรทองอาสา การแสดงละครปลุกใจ เรื่อง เลือดสุพรรณ - แสดงเป็นดวงจันทร์ ซึ่งเป็นผลงานที่สร้างชื่อเสียงอย่างมากอีกเรื่องหนึ่ง การแสดงละคร เรื่อง สามัคคีเภท - แสดงเป็นวัชชีรานี การแสดงละครชาดก เรื่อง สุวรรณสาม - แสดงเป็นสุวรรณสาม นอกจากนี้อาจารย์พัชราบัวทอง ยังเป็นอาจารย์ผู้ปฏิบัติการสอน ตลอดจนอาจารย์ที่ปรึกษาให้กับ สถานศึกษาหลายแห่ง เช่น คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ (ประสานมิตร) คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร


8

คณะศิลปะนาฏดุริยางค์ สถาบันบันฑิตพัฒนศิลป์ คณะครุศาสตร์ มหาวิยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จากการศึกษาประวัติข้างต้นทาให้ผู้ จัดทาทราบถึงประวัติของอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ และ ผลงานด้านต่าง ๆของอาจารย์โดยเฉพาะในเรื่องของผลงานการแสดง ปัจจุบันอาจารย์พัชรา บัวทองได้ เกษีย ณอายุ ร าชการแล้ ว และ บริ หารการสอนนาฏศิล ป์ - ดนตรีที่โ รงเรียนนาฏศิล ป์ขาบมงคลใน ตาแหน่งผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ 2.1.5 ผลงานสร้างสรรค์ - ระบาไก่-โปรตุเกส เนื่องในโอกาสการเรียนเริ่มต้นเฉลิมฉลองความสัมพันธ์ไทย-โปรตุเกส จะครบรอบ 500 ปี ความสัมพันธ์ทางการทูต ในปี พ.ศ. 2550 - ระบาช่อราชพฤกษ์ เนื่องในการเฉลิมฉลองความสันพันธ์ระหว่างญี่ปุ่นและประเทศในแถบ กลุ่มน้าโขง พ.ศ. 2552 - รารถเสนทรงเครื่อง พ.ศ. 2554 - ราฉุยฉายโกมินทร์ พ.ศ. 2556 - ราสมิงพระรามแต่งตัว พ.ศ. 2554 (นางสาวสุภัทจณี บุญเฉลิม, สัมภาษณ์อาจารย์พัชรา บัวทอง, 19 ธันวาคม 2559) 2.2 ประวัติอาจารย์พงษ์ศักดิ์ บุญล้น 2.2.1 ประวัติส่วนตัว ชื่อ อาจารย์พงษ์ศักดิ์ บุญล้น เกิด วันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2522 ปัจจุบัน อายุ 39 ปี สถานที่เกิด จังหวัดสระบุรี ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 86/4 หมู่ 7 ตาบลขุนโขลน อาเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี 2.2.2 ประวัติการศึกษา - พ.ศ. 2537 ประกาศนี ย บั ต รนาฏศิ ล ป์ ชั้ น ต้ น วิ ช าเอกนาฏศิ ล ป์ ( โขนพระ) วิ ท ยาลั ย นาฏศิลป์ลพบุรี - พ.ศ. 2540 ประกาศนี ยบัตรนาฏศิล ป์ชั้นปลาย วิชาเอกนาฏศิล ป์ (โขนพระ) วิทยาลั ย นาฏศิลป์ลพบุรี - พ.ศ. 2542 อนุปริญญา วิทยาลัยนาฏศิลป์ลพบุรี


9

- พ.ศ. 2545 ศิลปบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย(โขน) สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ - พ.ศ. 2558 ศิลปะมหาบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ 2.2.3 ประวัติการทางาน - พ.ศ. 2546 ลูกจ้างประจาวิทยาลัยนาฏศิลป์ลพบุรี - พ.ศ. 2547 อาจารย์พิเศษสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ - พ.ศ. 2548 สอบเข้าเป็นข้าราชการ สานักการสังคีต กรมศิลปากร จนถึงปัจจุบัน เป็นนาฏ ศิลปินชานาญงาน สานักการสังคีต กรมศิลปากร 2.2.4 ประวัติผลงานและการแสดง อาจารย์พงษ์ศักดิ์ บุญล้น เป็นผู้มีความสามารถทางด้านนาฏศิลป์ไทย โขนพระ มีผลงานใน การแสดงทั้งในประเทศและต่างประเทศมากมาย อาทิเช่น การแสดงโขน ตอน ข้ามสมุทร – ยกรบ - แสดงเป็นพระลักษณ์ การแสดงโขน ตอน นารายณ์ปราบนนทุก - แสดงเป็นพระนารายณ์ การแสดงโขน ตอน พรหมาศ - แสดงเป็นพระอินทร์แปลง การแสดงโขน ตอน ศึกพรหมาศ - แสดงเป็นอินทรชิต การแสดงโขน ชุดรามราชบพิตรบิตุรงค์ - แสดงเป็นพระมงกุฎ การแสดงโขน ตอนศึกอินทรชิตถูกศรกินนม - แสดงเป็นพระลักษณ์ การแสดงโขน ตอนอสูรพ่าบบารมีจักรีวงศ์(ศึกจักรวรรดิ) - แสดงเป็นพระลักษณ์ การแสดงพระลอลงสวน - แสดงเป็นพระแพง การแสดงเรื่องพระอภัยมณี ตอนทลายถ้า – พบเงือกน้า - แสดงเป็นสินสมุทร


10

การแสดงละครนอกเรื่อง โกมินทร์ ตอนโกมินทร์คะนอง และตอนยายชีรบตาเถร - แสดงเป็นโกมินทร์ การแสดงละครพันทางเรื่องราชาธิราช ชุดสัจจะสมิงนครอินทร์ ตอนกระท าสัตย์ - แสดงเป็นสมิงนครอินทร์ การแสดงละครพันทางเรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามรบกามณี - แสดงเป็นสมิงพระราม การแสดงละครพันทาง เรื่องราชาธิราช ตอนศึกมังมหานรธา - แสดงเป็นพระเจ้าราชาธิราช การแสดงการเล่นสักวาประกอบการแสดง บรรเลง และขับร้องดนตรีไทย เรื่องพระอภัยมณี ตอนสุดสาครเสียทีชีเปลือย - แสดงเป็นสุดสาคร การแสดงชุด ฉุยฉายพระราม พระลักษณ์ - แสดงเป็นพระลักษณ์ การแสดงชุด ฉุยฉายพหลวิชัย – คาวี - แสดงเป็นคาวี การแสดงราเดี่ยวชุด สมิงพระรามแต่งตัว การแสดงราเดี่ยวชุด ฉุยฉายโกมินทร์ การแสดงราเดี่ยวชุด ฉุยฉายมังรายกะยอชวา การแสดงราเดี่ยวชุด ฉุยฉายพระอินทร์แปลง การแสดงราเดี่ยวชุด ฉุยฉายมานพ 2.3 ประวัติการสืบทอดและการถ่ายทอดท่ารา ผู้ประดิษฐ์ ท่าร าชุด สมิงพระรามแต่งตัว เป็นคนแรกคือ อาจารย์พัช รา บัวทอง โดย ถ่ายทอดท่าราทางนาฏศิลป์ไทยให้กับอาจารย์พงษ์ศักดิ์ บุญล้น นาฏศิลปินชานาญงาน สานักการ สังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม เป็นคนแรก และต่อมาได้อนุเคราะห์ต่อท่าราเดี่ยวมาตรฐาน ให้กับนิสิต 2 คน คือ นางสาวจริยา กลางยศ และนางสาวชฎาพร ถาวร


11

แผนผังการสืบทอดและถ่ายทอดท่ารา อาจารย์พัชรา บัวทอง

อาจารย์พงษ์ศักดิ์ บุญล้น

นางสาวจริยา กลางยศ

นางสาวชฎาพร ถาวร


12

บทที่ 3 วิธดี าเนินการสืบทอดและฝึกหัด การศึกษาวิชาอาศรมศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ เป็นวิชาที่มีจุดประสงค์เพื่อการศึกษา ค้นคว้า และรวบรวมองค์ความรู้ต่างๆ ที่ได้รับจากผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ ความชานาญ และประสบการณ์ในการ ทางานจนเกิดความเชี่ยวชาญและเป็นที่ยอมรับในวงการของนาฏศิลป์ไทย ซึ่งในการศึกษาวิชาอาศรม ศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ไทยให้ได้ประสิทธิภาพนั้นผู้เรียนจาเป็นต้องศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวเนื่องกับการแสดง สมิงพระรามแต่งตัว เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และเข้าใจ เข้ าถึงในบทบาทของตัวละคร และผู้เรียนนั้นจะต้อง สามารถอธิป ราย แปลความเพื่อน าไปประยุก ต์ใช้ให้ เ กิดมุมมองที่ห ลากหลายตลอดจนมีความเข้าใจ ความรู้สึกนึกคิดของตัวละครนั้นๆ ในการร่ายรา 3.1 ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด ขั้น ตอนในการสื บ ทอดและฝึ ก หั ด นิ สิ ต ได้ รั บ การถ่ า ยทอดท่ า ร าชุ ด สมิ ง พระรามแต่ ง ตั ว จาก อาจารย์พงษ์ศักดิ์ บุญล้น โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคือ ผู้ช่วยศาสตร์จารย์ประภาศรี ศรีประดิษฐ์ เพื่อให้การ ถ่ายทอดท่าราเป็นไปอย่างรวดเร็วและมีแบบแผน อาจารย์ที่ปรึกษาจึงได้ให้นิสิตปฏิบัติดังนี้

ลาดับที่ 1. 2. 3. 4.

ตารางที่ 2 ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด รายการฝึกหัดและปฏิบตั ิ ศึกษาความรู้ทางวิชาการเกี่ยวกับประวัติ ความสาคัญ ตลอดจนความเป็นมาของตัว ละคร ที่เกี่ยวกับการสอบราเดี่ยวมาตรฐานชุดสมิงพระรามแต่งตัว ศึกษาวีดีโอการราสมิงพระรามแต่งตัว ฝึกจดจา เนื้อร้อง และจังหวะเพลง ก่อนที่จะ ได้เข้ารับการ ถ่ายทอดท่าราจากอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา ได้เล่าถึงประวัติการราสมิงพระรามแต่งตัว เพื่อให้นิสิต เข้าใจถึงบทบาทและ อารมณ์ของตัวละคร อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา ถ่ายทอดท่าราเป็นบทๆ โดยการให้ราพร้อมกับร้องเพลง ด้วยตนเอง ยังไม่ให้ราเข้ากับเพลง เมื่อนิสิตราบทนั้นๆ ได้ อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา ก็จะต่อท่าราในบทถัดไป


13

ลาดับที่ (ต่อ) 5.

รายการฝึกหัดและปฏิบตั ิ

7.

อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา ให้นิสิตราเข้ากับเพลงจนจบเพลง โดยมีอาจารย์ผู้ ถ่ายทอดท่าราเป็นผู้ดูท่า ราเพื่อความสวยงามและความถูกต้องของกระบวนท่ารา อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราแบ่งการต่อท่าราออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่เป็นเนื้อร้องบท ร้องม่านเริง ส่วนที่เป็นเนื้อร้องบทร้องเพลงสร้อยทะแยและส่วนที่เป็นทานองเพลง ร้องร่าย และซ้อมราการใช้อุปกรณ์ทวนและดาบ อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราให้นิสิตทบทวนและฝึกซ้อมท่าราเอง

8.

อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราเก็บรายละเอียด และตรวจสอบความถูกต้องของท่ารา

9.

อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราสอนวิธีการเล่นหน้า การเอียง การใช้สายตา การเดิน การ ซอยเท้า การ กระทืบเท้า การใช้อาวุธ และการถ่ายทอดอารมณ์ในร่ายราในบท ต่างๆ อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราให้ผู้ศึกษาหมั่นทบทวนท่ารา ร่วมกับการฝึกซ้อมการเล่น หน้า การใช้อารมณ์ และการใช้สายตาตามจังหวะการรา

6.

10.

สิ่งที่อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราเน้นย้านิสิต คือ จังหวะ การก้าวเท้า การกระทืบเท้า การใช้อาวุธ และการใช้อารมณ์ร่วมกับการ แสดงตามบทบาทของตัวละคร ซึ่งนิสิตได้นา ข้อเน้นย้า และคาแนะนาในสิ่ง ที่อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารากลับมา ทบทวนและฝึกปฏิบัติให้เกิดทักษะและมีการพัฒนาการรามากขึ้น 3.2 ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด ระยะเวลาในการสืบทอดและฝึกหัดท่าราในครั้งนี้ เริ่มตั้งแต่วันที่ 4 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561 โดยใช้สถานที่ปฏิบัติงานดังนี้ 1. โรงละครแห่งชาติ สานักการสังคีต กรมศิลปากร 2. อาคารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร 3. ห้องภาควิชาศิลปะการแสดง สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 4. โรงละครเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ มหาวิทยาลัยนเรศวร


14

วัน/เดือน/ปี 28-29 มิถุนายน 2561

ตารางที่ 3 ระยะเวลาและสถานที่ฝึกหัดด้วยตัวเอง เวลา การฝึกหัด สถานที่ 13.00 น.– 16.00 น ฟังเพลงประกอบกับการ อาคารเทคโนโลยีสารสน ฝึ ก ซ้ อ มท่ า ร าตาวี ดี โ อ เทศและการสื่อสารชั้น 7 เตรียมตัว ก่อนจะเข้ารับ มหาวิทยาลัย นเรศวร การ ถ่ายทอดท่ารา

2-3 กรกฎาคม 2561

13.00 น. – 16.00 น.

ฝึ ก ซ้ อ ม ท่ า ร า ส มิ ง อาคารเทคโนโลยีสารสน พระรามแต่งตัว เทศและการสื่อสารชั้น 7 มหาวิทยาลัย นเรศวร

4-6 กรกฎาคม 2561

13.00 น. – 16.00 น.

8 กรกฎาคม 2561

09.00 – 12.00 น.

- ทบทวนท่ารา - เก็บรายละเอียดของท่า ราในแต่ละท่า - การแสดงสีหน้าอารมณ์ และแววตา - เน้นการราให้ตรงกับ จังหวะเนื้อเพลง ไม่รา ก่อนจังหวะ หรือราหลัง จังหวะและเนื้อเพลง - เน้นการราให้มีทีท่าที่ สง่ า งาม และอ่ อ นช้ อ ย งดงามน่ า ช มในเวลา เดียวกัน แก้ไขท่าราในการใช้ จังหวะเข่าในการยืดและ ยุบ การกดไหล่ การยก เท้าของตัวพระ และการ ตีไหล่

อาคารเทคโนโลยีสารสน เทศและการสื่อสารชั้น7 มหาวิทยาลัย นเรศวร

อาคารเทคโนโลยีสารสน เทศและการสื่อสารชั้น7 มหาวิทยาลัย นเรศวร


15

ตารางที่ 4 ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัดกับอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา วัน/เดือน/ปี เวลา การฝึกหัด สถานที่ 10 กรกฎาคม 2561 13.00 น. ได้ รับการถ่ายทอดท่ารา โรงละครแห่งชาติส านัก ชุ ด สมิ ง พระรามแต่ ง ตั ว การสังคีต กรมศิลปากร ครั้งที่ 1 จากอาจารย์ พงษ์ศักดิ์ บุญล้น ตั้งแต่ ออก จนจนเพลง สร้อยทะแย และทวบทวนกระบวน ท่ารา 7 สิงหาคม 2561 13.00 น.- 15.00 น. ได้ รับการถ่ายทอดท่ารา โรงละครแห่งชาติส านัก ชุ ด สมิ ง พระรามแต่ ง ตั ว การสังคีต กรมศิลปากร ครั้งที่ 2 จากอาจารย์ พงษ์ศักดิ์ บุญล้น ตั้งแต่ ออก จนจนเพลง และ เก็บรายละเอียด การใช้ อ า วุ ธ แ ล ะ ท ว บ ท ว น กระบวนท่ารา จากตารางจะเห็นได้ว่านิสิตได้ทบทวนท่ารา ชุดสมิงพระรามแต่งตัว อย่างต่อเนื่อง เพราะนิสิตมี ทักษะ ทางด้านการราเดี่ยวและการใช้อาวุธน้อยจึงจาเป็นต้องผ่านการฝึกฝนอย่างสม่าเสมอ เพื่อต้องการ ให้การสอบราเดี่ยวมาตรฐาน ชุดฉุยฉายสมิงพระรามแต่งตัวนั้นเกิดความสมบูรณ์และความสมจริงของตัว ละครที่ได้รับการถ่าย ทอดท่ารามาจาก อาจารย์พงษ์ศักดิ์ บุญล้น โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษา รองศาสตร์จารย์ ประภาศรี ศรีประดิษฐ์ คอยให้คาปรึกษาและดูแลในการฝึกซ้อม 3.3 อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด ในการรับการถ่ายทอดท่าราชุดสมิงพระรามแต่งตัว นิสิตได้มีการเตรียมอุปกรณ์การเรียนและรับ การถ่ายทอดท่ารา จากอาจารย์พงษ์ศักดิ์ บุญล้น ดังต่อไปนี้


16

3.4 อุปกรณ์ประกอบการเรียน 1. เสื้อนิสิต 2. ผ้าโจงกระเบน 3. เข็มขัด 4. เครื่องบันทึกภาพนิ่ง 5. เครื่องบันทึกภาพเคลื่อนไหว 6. สมุดจดบันทึก 3.5 อุปกรณ์ประกอบการรา 1. บทร้องและทานองเพลง 2. เครื่องเล่นเสียง 3. เพลงสมิงพระรามแต่งตัว 4. ทวน 5. ดาบ 3.6 พัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด พัฒนาการในการสืบทอดและการฝึกหัดการสอบราเดี่ยว ชุดสมิงพระรามแต่งตัว นิสิตได้มี พัฒนาการในการราซึ่งเกิดขึ้นจากการฝึกซ้อมอย่างต่อเนื่อง และนอกจากนี้ยังมีปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่ เกิดขึ้นอยู่เล็กน้อย ทาให้นิสิตได้มีวิธีการในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค ดังต่อไปนี้ พัฒนาการทีเ่ กิดขึน้ ตลอดระยะเวลาที่ ไ ด้ เ ข้ า รั บ การถ่ า ยทอดท่ า ร าจากอาจารย์ พ งษ์ ศั ก ดิ์ บุ ญ ล้ น นิ สิ ต ได้ มี ก าร บันทึกภาพเคลื่อนไหวที่อาจารย์ราเป็นตัวอย่างในทุกๆ ครั้งที่เข้ารับการถ่ายทอด เพื่อตรวจสอบความ ถูกต้องของท่ารา รายละเอียด และกลวิธีในการราของอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา ทั้งยังเป็นการแก้ไขปัญหา นิสิตลืมท่าราเมื่อกลับมาฝึกซ้อมที่มหาวิทยาลัยก็ส ามารถนาภาพเคลื่อนไหวกลับมาดูได้ และในทุกๆ ครั้ง หลั งจากที่ได้รั บ การถ่ายทอดท่าร านิสิ ตจะฝึ กซ้อมท่าราในบทถัดไปก่อนที่จะเข้ารับการถ่ ายทอดจาก อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราอีกครั้งเพื่อความรวดเร็วในการถ่ายทอดท่าราครั้งต่อไป ซึ่งหลังจากนิสิตได้รับการ ถ่ายทอดท่าราจนจบเพลงแล้วนั้นนิสิตได้ หมั่นฝึกซ้อมเพื่อให้เกิดความชานาญ ความถูกต้อง และความ สวยงามของท่าราอยู่เสมอ


17

บทที่ 4 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด สมิงพระรามแต่งตัว ในการศึกษานาฏศิลป์ไทยทุกประเภท จาเป็นต้องมีการบันทึกกระบวนท่ารา เพื่อเป็นการเก็บ ข้อมูลในเป็น ให้เป็นระบบ และมีหลักฐานเก็บไว้เสมอ ซึ่งสมควรอย่างยิ่งที่นิสิตผู้รับการถ่ายทอดท่ารานั้น ควรยึดถือเป็น แบบอย่าง เพื่อเป็นประโยชน์ให้แก่เยาวชนรุ่นหลังหรือผู้ที่สนใจศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการรา ชุ ด สมิ ง พระรามแต่ ง ตั ว ซึ่ ง นิ สิ ต ผู้ ไ ด้ รั บ การถ่ า ยทอดท่ า ร าได้ ศึ ก ษาข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การร า ชุดสมิงพระรามแต่งตัวตามหัวข้อดังต่อไปนี้ 4.1 ประวัติความเป็นมาของการแสดง การแสดงชุด สมิงพระรามแต่งตัว เป็นการแสดงที่ ได้รับแนวความคิดมาจากบทละครพันทาง เรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา ซึ่งนิสิตผู้รับการถ่ายทอดท่าราได้รวบรวมข้อมูลบทละครพันทาง ไว้ดังนี้ พระเจ้ากรุงจีน เมื่อมีพระทัยปรารถนาจะใครชมฝี มือ ทหารฝ่ ายพม่าขึ้นม้าราทวนสู้ กัน เป็น สงครามธรรมยุทธ์ นั้น เราเห็นชอบด้วยมีความยินดียิ่งนัก เพราะสมควรแก่พระองค์เป็นกษัตริย์ผู้ใหญ่อัน ประเสริฐ แต่การสงครามครั้งนี้เป็นมหายุทธนาการใหญ่หลวง จะด่วนกระทาโดยเร็วนั้นไม่ ได้ ของงดไว้ ภายในเจ็ดวัน อนึ่ง พระองค์ก็เสด็จมาแต่ประเทศไกล ไพร่พลทั้งปวงอย่างเหน็ดเหนื่อย เมื่อยล้าอยู่ขอเชิญ พระองค์พักพลทหารระงับพระกายให้สาราญพระทัย ก่อนเถิดแล้วเราจึงจะให้มีกาหนดนัดหมายออกไป แจ้งตามมีพระราชสาส์นมานั้นพระเจ้ากรุงจีนได้แจ้งในพระราชสาส์นตอบแล้วก็ดีพระทัยจึงสั่งให้นายทัพ นายกองทั้งปวงสงบไว้ฝ่ายพระเจ้ามณเฑียรทอง ถ้างั้นสั่งพระราชสาส์นและเครื่องบรรณาการไปแล้ว จึงตัด ปรึกษาเสนาพฤฒามาตย์ราชปุโรหิต ข้าราชการผู้ใหญ่ผู้น้อยทแกล้ว ทหารทั้งปวงว่าผู้ใดจะรับอาสาขี่ม้า แทง ทวนสู้กามนีทหารพระเจ้ากรุงจีนตัวต่อตัวได้บ้าง เสนาพฤฒามาตย์ผู้ใหญ่ผู้น้อยทแกล้วทหารทั้งปวงก็ มิ อาจรั บ อาสาได้ พระเจ้ า มณเฑี ย รทองก็ ท รงพระวิ ต กเป็ น ทุ ก ข์ พระทั ย นั ก จึ ง ให้ ห าโหรมาค านวณ พระชันษาและชะตาเมืองดู โหรก็คานวณฎีกาดูทูลถวายว่าพระชันษาเเละชะตาเมืองยังดีอยู่หาเสียไม่ นาน ไปจะได้ลาภอันประเสร็จอีก พระเจ้ามณเฑียรทองได้ทรงฟังก็ดีพระทัย จึงให้ตีฆ้องร้องป่าวทั่วทั้งพระนคร ว่า ถ้าผู้ใดรับอาสาสู้กับกามณีทหารพระเจ้ากรุงจีนได้พระเจ้าแผ่นดินจะโปรดให้เป็นมหาอุปราช เสนาบดี รับสั่งแล้วก็ให้ป่าวร้องไปทั่วพระนคร ไม่มีผู้ใดที่จะอาจออกรับอาสาได้


18

ผู้คุมซึ่งคุมสมิงพระรามนั้น จึงเจรจากับเพื่อนกันตามเรื่องราวแล้วว่าครั้งนี้พระเจ้าอยู่หัวจะแบ่ง สมบัติให้กึ่งหนึ่ง ก็ยังไม่มี ผู้ใดรับอาสาเห็นเมืองจะตกต่าเสียละกระมัง สมิงพระรามได้ยินดังนั้นก็คิดว่า แต่ เราต้องพันธนาการตรากตราอยู่นานแล้ว มิได้ขี่ช้าง ขี่ม้าเหยียดมือเหยียดเท้าเยื้องแขนซ้ายย้ายแขนขวา เล่นบ้างเลยราคาญใจนัก เราจะกลัวอะไรกับกามนีทหารจีน อันจะเอาชัยชนะนั้นไม่สู้ยาก ครั้นจะรับอาสา บัดนี้เล่าก็เหมือนหาบสองบ่าอาสาสองเจ้าหาควรไม่ คิดแล้วก็นั่งอยู่ ครั้นรุ่งขึ้นผู้คุมได้ยินข้าหลวงมาป่าว ร้องอีก จึงพูดกับเพื่อนกันว่า ทัพจีนยกมาครั้งนี้ใหญ่หลวงนัก หาทหารผู้ใดที่จะรับอาสาป้องกันพระนครไว้ นั้นเป็นอันยากแล้ว อย่าว่าเเต่เมืองพม่าเท่านี้เลย ถึงเมืองใหญ่ๆ กว่าสักสิบเมืองก็เห็นจะสู้ไม่ได้ น่าที่จะเสีย เมืองแก่จีนเป็นมั่นคง สมิงพระรามได้ฟังดังนั้นก็คิดว่า กรุงอังวะนี้เป็นต้นทาง อุปมาดังหน้าด่านกรุงหงสาวดี พระเจ้า กรุงจีนยกทัพมาครั้งนี้ก็มีความปรารถนาจะใคร่ดูทแกล้วทหารอันมีฝีมือขี่ม้าราเพลงทวนสู้กันตัวต่อตัว ถ้า ไม่มีผู้ใดสู้รบถึงจะได้เมืองอังวะแล้วก็ไม่สิ้นความปรารถนาแต่เพียงนี้ เห็นศึกจีนจะกาเริบยกล่วงเลยลงไป ติดกรุงหงสาวดีด้วยเป็นมั่นคง ตัวเราเล่าก็ต้องจองจาตรากตราอยู่ ถ้าเสียกรุงอังวะแล้ว จะหมายใจว่าจะ รอดพ้นไปเมืองหงสาวดีได้ก็ใช่ที่ จาเราจะรับอาสาตัดศึกเสียจึงจะชอบ อย่าให้ศึกจีนยกลงไปติดกรุงหงสาว ดีได้ คิดแล้วจึงพูดกับผู้คุมว่า จะกลัวอะไรกับกามนีทหารพระเจ้ากรุงจีนนั้นจะมีฝีมือดีสักเพียงไหนเรากลัว แต่ทหารเทพยดาที่เหาะได้ ซึง่ กามนีกับเราก็เป็นมนุษย์เดินดินเหมือนกันเราหาแล้วไม่พอจะสู้รบเอาชนะได้ ง่ายซึ่งกลุ่มได้ฟังก็ดีใจถึงตอบว่าถ้าท่านรับอาสาได้แล้วก็ดียิ่งนัก เห็นท่านจะพ้นโทษได้ที่มาหาอุปราชมี ยศถาบรรดาศักดิ์ใหญ่เป็นมันคงไปเบื้องหน้าเราจากขอพึ่งบุญท่านสมิงพระรามตอบว่าซึ่งเรารับอาสานี้จะ หวังยศถาบรรดาศักดิ์หามิได้ประสงค์จะกู้ผ่านนครให้เป็นเกียรติยศไว้และจะให้ราษฎรสมณชีพราหมณ์อยู่ เย็นเป็นสุขเท่านั้น ผู้คุมได้ฟังก็ชอบใจจึงนาถ้อยคาสมิงพระรามรีบเข้าไปแจ้งแก่เสนาบดีได้ฟังก็มีความชื่น ชมจึงนาความเข้ากับทูลพระเจ้ามณเฑียรทองตามคาสมิงพระรามว่านั้นทุกประการ พระเจ้าฝรั่งมังฆ้องได้ทรงฟังก็เฉลียวพระทัยทรงพระดาริกระลึกขึ้นมาได้ว่าสมิงพระรามนี้ขี่ช้าง ขี่ม้าสันทัดดีฝีมือเข้มแข็งแกล้วกล้าในการสงครามมาหาผู้เสมอตัวยากเห็นจะสู้ทหารพระเจ้ากรุงจีนได้เป็น แท้ทรงพระดาริแล้วก็มีพระไทยยินดีนักจึงตรัสแก่เสนาบดีทั้งปวงว่าสมิงพระรามนี้มีฝีมือเป็นทหารเอกเมือง หงสาวดี เราลืมคิดไปพึ่ง นึกขึ้นได้จึงตรัสสั่งขุนนางกรมนครบาลให้ไปถอดสมิงพระรามมากระทาสัตย์เสีย จึงนาเข้าเฝ้าสมิงพระรามก็เข้ามากราบถวายบังคมหน้าพระที่นั่งพระเจ้าฝรั่งมั งฆ้องทอดพระเนตรเห็น สมิงพระรามก็มีพระทัยยินดีนักจึงตรัสถามว่า ศึกมาติดกรุงอังวะครั้งนี้หาผู้ใดที่จะอาสาออกสู้กับทหารจีน มิได้ท่านจะรับอาสาเราหรือประการใดสมิงพระรามจึงกราบทูลว่า อันการสงครามเพียงนี้มิพอเป็นไรนัก ข้าพเจ้าจะขอรับอาสาพระองค์ออกไปต่อสู้ด้วยกันกามนีสนองพระเดชพระคุณมีให้อัปยศแก่พระเจ้ากรุงจีน


19

นั้นพอจะได้อยู่แต่ข้าพเจ้าจะขอรับพระราชทานม้าที่ดีมีสีขาวตัวหนึ่ งถ้าได้สมคะเนแล้วอย่าว่าแต่กามนี ผู้เดียวเลยเว้นไว้แต่เทพพระยดานอกกว่านั้นข้าพเจ้าจะสู้ได้สิ้น การแสดงชุดสมิงพระรามแต่งตัว เป็นการาแต่งองค์ทรงเครื่องของสมิงพระรามก่อนจะออกไป รบครั้งที่ถูกจับเป็นเชลยที่เมืองอังวะ ได้รับอาสาไปรบกับกองทัพกรุงจีน ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อกู้พระนครให้ เป็ น เกีย รติ ย ศไว้ เป็ น การเเสดงที่ ประดิษ ฐ์ ขึ้ นโดย อาจารย์ พัช รา บัว ทองประพัน ธ์บ ทโดย อาจารย์ สมรั ต น์ ทองแท้ บรรจุ เ พลงโดย อาจารย์ กั ญจนปกณ์ แสดงหาญ การแสดงชุ ด สมิ งพระรามแต่ ง ตั ว ออกแสดงครั้งแรกเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ในงานวิพิธทัศนาขาบมงคล ณ สังคีตศาลา ผู้สร้างสรรค์ การแสดงชุ ด สมิ ง พระรามแต่ ง ตั ว มี จุ ด ประสงค์ ใ ห้ ก ารแสดงมี ค วามสอดคล้ อ งกั บ ละคร พั น ทาง เรื่องราชาธิราช ตอนสมิงพระรามอาสา


20

4.2 เรื่องย่อของการแสดง สมิงพระราม เป็นทหารเอกของพระเจ้าราชาธิราช มีรูปร่างสง่างาม ใบหน้างดงามสมชายชาตรี ท่าทางองอาจ มีความซื่อสัตย์สติปัญญาหลักแหลม คิดการณ์ไกลและรอบคอบ สามารถต่อสู้และชนะข้าศึก ร้อยคนพันคนได้ด้วยตัวคนเดียว การแสดงชุดสมิงพระรามแต่งตัว ประดิษฐ์ท่าราโดย อาจารย์พัชรา บัวทอง มีจุดประสงค์ให้การ แสดงสอดคล้องกับละครพันทาง เรื่องราชาธิราช ตอนสมิงพระรามอาสา เป็นการราแต่งองค์ทรงเครื่องของ สมิงพระรามก่อนจะออกไปรบ ครั้งที่ถูกจับเป็นเชลยที่เมืองอังวะ ได้รับอาสาไปรบกับกองทัพกรุงจีน ซึ่งมี จุดประสงค์เพื่อกู้พระนคร ให้เป็นเกียรติยศไว้ เป็นการราอวดฝีมืออีกประเภทหนึ่ง มีกระบวนท่าราการใช้ อาวุธทวนในช่วงต้น และท้ายของเพลง 4.3 บทร้องและทานองเพลง -ปี่พาทย์ทาเพลงรัวมอญ-ร้องเพลงม่านเริงเมื่อนั้น สมิงพระราม ชื่นชม สมประสงค์ อาสารบ สยบศึก ฮึกทะนง หวังป้ององค์ ราชา คุณากร จึงจัดแจง แต่งเครื่อง เรืองยุทธนา ดูเดชา องอาจ มาดไกรสร เครื่องอาคม ระดมใส่ ทั่วกายกร ให้สุนทร ตามตารา มหายุทธ -ร้องเพลงสร้อยทะแยบรรจง สวมสอด สนับเพลา หน่วงเข้า เนาไว้ มิให้หลุด เชิงชมพู ลายทอง ต้องตามชุด ผ้าผ่องผุด ตองขจี สียกลาย ใส่เสื้องาม ตามอย่าง ทางรามัญ เอวผูกพัน ตาดเขียววาม งามเฉิดฉาย โพกผ้ามอญ ซ้อนทับ พับทิ้งชาย สวมเสื้อกั๊ก ปักดุนกลาย ละม้ายเพชร สังวาลพลอย ร้อยแถว ดูแพรวเพริศ ล้าลักษณ์เลิศ ประเสริฐล้วน ถ้วนพร้อมเสร็จ สะพายดาบ เฉียงตน แฝงกลเม็ด เตรียมเผด็จ ไพรี ที่บีฑา -ร้องร่ายขยับทวน เยื้องย่าง อย่างคะนอง ละโลดคล่อง มองคม สมอาสา ระลึกคุณ เทพไท และครูบา ดั่งหมายมาด ปรารถนา แล้วมาพลัน -ปี่พาทย์ทาเพลงเสมอมอญ


21

4.4 ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง เครื่ องดนตรี ที่ใช้บ รรเลงประกอบการแสดงชุด สมิงพระรามแต่งตัว วงปี่พาทย์มอญเครื่องห้ า ประกอบด้วยระนาดเอก ปี่มอญ ฆ้องมอญวงใหญ่ ตะโพนมอญ เปิงมางคอก และเครื่องกากับจังหวะคือฉิ่ง และฉาบ โหม่ง

ภาพที่ 2 วงปี่พาทย์มอญเครื่องห้า ที่มา : http://warichthaimusic.blogspot.com, วันที่ 13 กันยายน 2561 4.5 ฉากและองค์ประกอบการแสดง ฉากและองค์ ป ระกอบการแสดงชุ ด สมิ ง พระรามแต่ ง ตั ว ฉาก ประกอบด้ ว ย โต๊ ะ หมู่ บู ช าสู ง องค์ประกอบการแสดง ประกอบด้วย ดาบ และ ทวน

ภาพที่ 3 โต๊ะหมู่บูชาสูง ที่มา : นางสาวชฎาพร ถาวร, วันที่ 4 กันยายน 2561


22

ภาพที่ 4 ดาบ ที่มา : นางสาวชฎาพร ถาวร, วันที่ 4 กันยายน 2561

ภาพที่ 5 ทวน ที่มา : นางสาวชฎาพร ถาวร, วันที่ 4 กันยายน 2561 4.6 เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า การแต่งกายในการราสมิงพระรามแต่งตัว จะใช้การแต่งหน้าในโทนของสีน้าตาลดา ทาปากสีแดง และในการแต่งกายจะแต่งในชุด มอญ เสื้อแขนยาว สีชมพู ผ้าโพกมอญสีแดงกล่าขลิบทอง เสื้อกั๊กสีดา พร้อมสะพายดาบ ซึ่งถือได้ว่าเป็นเอกลักษณ์ของการแต่งกายที่บ่งบอกถึงความเป็นตัวละครของ สมิงพระรามได้มากที่สุด และมีรายละเอียดของเครื่องแต่งกายดังนี้


23

เสื้อผ้า 1. เสื้อแขนยาว (สีชมพู) 4. ผ้านุ่ง (สีเขียว) 2. เสื้อกั๊ก (สีดา) 5. ผ้าผูกเอว (สีเขียว) 3. สนับเพลา (สีชมพู) เครื่องประดับศีรษะ 1. ผ้าโพกมอญ (สีแดงกล่าขลิบทอง) เครื่องประดับ 1. สังวาลสีทอง 4. กาไลเท้า 2. เข็มขัด 5. ต่างหู 3. ปั้นเหน่ง อุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดง 1 โต๊ะหมู่บูชาสูง 2. ดาบ 3. ทวน

ภาพที่ 6 เครื่องแต่งกายชุดสมิงพระรามแต่งตัว แสดงแบบโดย : นางสาวชฎาพร ถาวร บันทึกภาพโดย : นางสาวอรยา วงศ์สุรินทร์


24

4.7 กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่ ตารางที่ 5 บันทึกกระบวนท่าราสมิงพระรามแต่งตัว ลาดับ บทร้อง/ทานอง ภาพท่ารา คาอธิบายกระบวนท่ารา 1. ปี่ พ าทย์ ท าเพลง ทิศ : ด้านหน้า รัวมอญ ศีรษะ : เอียงขวาเล็กน้อย ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : ถือทวน มือซ้าย : วางไว้ที่หน้าขา เท้าขวา : ยืนตรง เท้าซ้าย : ยืนตรง เปิดจมูก เท้า 2. ปี่ พ าทย์ ท าเพลง ทิศ : ด้านหน้า รัวมอญ ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : ถือทวนยกขึ้น แล้ว หมุนเป็นวงกลม มือซ้าย : จีบที่ระดับชายพก เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้ า ซ้ า ย : ยกขาขึ้ น เท้ า อยู่ ระดับเข่า ขวา 3. ปี่ พ าทย์ ท าเพลง ทิศ : ด้านหน้า รัวมอญ ศีรษะ : เอียงขวาเล็กน้อย ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มื อ ขวา : จั บ ที่ ป ลายด้ า ม ทวน มือซ้าย : กามือไว้ตรงระดับ ชายพก เท้าขวา : ก้าวข้าง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย


25

ลาดับ 4.

บทร้อง/ทานอง ร้องเพลงม่านเริง

5.

เมื่อนั้น

6.

สมิงพระราม

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาเล็กน้อย ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : ถือทวน มือซ้าย : วางไว้ที่หน้าขา เท้าขวา : ยืนตรง เท้าซ้าย : ยืนตรง เปิดจมูก เท้า ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายเล็กน้อย ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มื อ ขวา : เท้ า สะเอวระดั บ ชายพก มือซ้าย : ตั้งวงระดับไหล่ เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ก้าวข้าง ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายเล็กน้อย ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มื อ ขวา : เท้ า สะเอวระดั บ ชายพก มื อ ซ้ า ย : จี บ ตรงระดั บ อก เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ก้าวข้าง


26

ลาดับ 7.

บทร้อง/ ทานอง ชื่นชม

8.

สมประสงค์

9.

อาสารบ

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาเล็กน้อย ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : ท้าวเอวระดับชาย พก มือซ้าย : จีบระดับปาก เท้าขวา : ยืนตรง เปิดจมูก เท้า เท้าซ้าย : ยืนตรง ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มือขวา : คว่ามือ มื อ ซ้ า ย : คว่ ามื อ อยู่ บ นมื อ ขวา เท้าขวา : ยืนตรง เท้าซ้าย : ยืนตรง เปิดจมูก เท้า ทิศ : ด้านขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : แบมือระดับปาก มือซ้าย : แบมือระดับศีรษะ เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ก้าวข้าง


27

ลาดับ 10.

บทร้อง/ ทานอง สยบศึก

11.

ฮึกทะนง

12.

หวังป้ององค์

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านขวา ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : คว่ามือระดับชาย พก มือซ้าย : คว่ามือระดับชาย พก เท้าขวา : ก้าวข้าง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มือขวา : วางที่หน้าขา มื อ ซ้ า ย : ตั้ ง วงบนระดั บ ศีรษะ เท้าขวา : ก้าวข้าง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่ : กดไหล่ ข วาเล็ ก น้ อ ย มือขวา : ตั้งวงระดับไหล่ มือซ้าย : ตั้งวงระดับไหล่ เท้าขวา : ก้าวข้าง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย


28

ลาดับ 13.

บทร้อง/ ทานอง ราชา

14.

คุ คุณากร

15.

ภาพท่ารา

จึงจัดแจง

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงซ้ายเล็กน้อย ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มื อ ขวา : พนมมื อ ระดั บ ศีรษะ มื อ ซ้ า ย : พนมมื อ ระดั บ ศีรษะ เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ก้าวข้าง ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มื อ ขวา : พนมมื อ ระดั บ ศีรษะ มื อ ซ้ า ย : พนมมื อ ระดั บ ศีรษะ เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : กระดกเท้า ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายเล็กน้อย ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มือขวา : แตะแขนซ้าย มื อ ซ้ า ย : ก ามื อ งอแข น เล็กน้อย เท้าขวา : ยืนตรง เท้ า ซ้ า ย : ยื น ตรง งอเข่ า เล็กน้อย


29

ลาดับ 16.

บทร้อง/ ทานอง แต่งเครื่อง

17.

เรืองยุทธนา

18.

ดูเดชา

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาเล็กน้อย ไหล่ : กดไหล่ขวา มื อ ขว า : ก า มื อ งอ แข น เล็กน้อย มือซ้าย : แตะแขนซ้าย เท้ า ขวา : ยื น ตรง งอเข่ า เล็กน้อย เท้าซ้าย : ยืนตรง ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มือขวา : ตั้งวงแขนดึงระดับ ไหล่ มื อ ซ้ า ย : จี บ แขนดึ ง ระดั บ ไหล่ เท้าขวา : ก้าวข้าง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : ตั้งวงระดับไหล่ มื อ ซ้ า ย : บั ว ชู ฝั กระดั บ ศีรษะ เท้าขวา : ยืนตรง เท้ า ซ้ า ย : ยกขาขึ้ น เท้ า อยู่ ระดับเข่า ขวา


30

ลาดับ 19.

บทร้อง/ ทานอง องอาจ

20.

มาดไกรสร

21.

เครื่องอาคม

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มือขวา : ตั้งวงระดับศีรษะ มือซ้าย : ตั้งวงล่างระดับชาย พก เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ก้าวข้าง ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่ : กดไหล่ขวา มื อ ขวา : ตั้ ง วงบนระดั บ ศีรษะ มือซ้าย : ตั้งวงระดับไหล่ เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้ า ซ้ า ย : ยกขาขึ้ น เท้ า อยู่ ระดับเข่า ขวา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : พนมมือระดับอก มือซ้าย : พนมมือระดับอก เท้าขวา : ก้าวข้าง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย


31

ลาดับ 22.

บทร้อง/ ทานอง ระดมใส่

23.

ทั่วกายกร

24.

กร

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวาเล็กน้อย ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : จีบระดับอก มือซ้าย : จีบระดับอก เท้าขวา : ก้าวข้าง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย ทิศ : ด้านซ้าย ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มื อ ขวา : ตั้ ง วงบนระดั บ ศีรษะ มื อ ซ้ า ย : เท้ า สะเอวระดั บ ชายพก เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ก้าวข้าง ทิศ : ด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : กามือไว้ตรงระดับ ชายพก มื อ ซ้ า ย : ตั้ ง วงบนระดั บ ศีรษะ เท้าขวา : ก้าวข้าง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย


32

ลาดับ 25.

บทร้อง/ทานอง ทานอง

26.

ให้สุนทร

27.

ตามตารา

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : ตั้งวงแขนดึงระดับ ไหล่ มือซ้าย : ตั้งวงแขนดึงระดับ ไหล่งอเข่าเล็กน้อย เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ก้าวข้าง ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มื อ ขวา : เท้ า สะเอวระดั บ ชายพก มือซ้าย : บัวชูฝักระดับไหล่ เท้าขวา : ยืนตรง เท้าซ้าย : ยืนตรง เปิดจมูก เท้า ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มื อ ขวา : เท้ า สะเอวระดั บ ชายพก มือซ้าย : ไว้มือระดับศีรษะ เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ก้าวข้าง


33

ลาดับ 28.

บทร้อง/ทานอง มหายุทธ

29.

ร้องเพลง สร้อยทะแย (รับ)

30.

บรรจง สวมสอด สนับเพลา

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : จีบระดับศีรษะ มือซ้าย : ตั้งวงแขนดึงระดับ ไหล่ เท้ า ขวา : ยกขาขึ้ น เท้ า อยู่ ระดับเข่า ซ้าย เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย ทิศ : ด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : จีบส่งหลัง มื อ ซ้ า ย : ตั้ ง วงบนระดั บ ศีรษะ เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้ า ซ้ า ย : วางส้ น งอเข่ า เล็กน้อย ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มื อ ขวา : จี บ หงายแขนดึ ง ระดับชายพก มื อ ซ้ า ย : จี บ หงายแขนดึ ง ระดับชายพก เท้ า ขวา : ยกขาขึ้ น เท้ า อยู่ ระดับเข่า ซ้าย เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย


34

ลาดับ 31.

บทร้อง/ ทานอง หน่วงเข้า เนาไว้

32.

มิให้หลุด

33.

ร้องเพลง สร้อยทะแย (รับ)

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มือขวา : จีบส่งหลัง มือซ้าย : ตั้งวงล่างระดับชาย พก เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ผสมเท้าซ้าย ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : ตั้งวงล่างระดับชาย พก มือซ้าย : จีบส่งหลัง เท้าขวา : ผสมเท้าซ้าย เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : จับส่งหลัง มื อ ซ้ า ย : ตั้ ง วงบนระดั บ ศีรษะ เท้ า ขวา : ยกขาขึ้ น เท้ า อยู่ ระดับเข่า ซ้าย เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย


35

ลาดับ 34.

บทร้อง/ ทานอง เชิงชมพู

35.

ลายทอง

36.

ต้องตามชุด

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : ก้มหน้าเล็กน้อย ไหล่ : กดไหล่ขวา มื อ ขวา : ตั้ ง วงล่ า งระดั บ หน้าขา มื อ ซ้ า ย : เท้ า สะเท้ า ระดั บ ชายพก เท้าขวา : วางส้นเท้า เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : ก้มหน้าเล็กน้อย ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มื อ ขวา : เท้ า สะเท้ า ระดั บ ชายพก มื อ ซ้ า ย : ตั้ ง วงล่ า งระดั บ หน้าขา เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : วางส้นเท้า ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : ตั้งวงระดับชายพก มือซ้าย : ตั้งวงระดับชายพก เท้ า ขวา : ยกขาขึ้ น เท้ า อยู่ ระดับเข่า ซ้าย เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย


36

ลาดับ 37.

บทร้อง/ ทานอง ผ้าผ่องผุด

38.

ตองขจี

39.

สียกลาย

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : ตั้งวงล่างระดับชาย พก มือซ้าย : จีบระดับชายพก เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ฉายเท้า ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มือขวา : จีบระดับชายพก มือซ้าย : ตั้งวงล่างระดับชาย พก เท้าขวา : ฉายเท้า เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : จับผ้ายก มือซ้าย : จับผ้ายก เท้าขวา : ยืนตรง เท้าซ้าย : ยืนตรง เปิดจมูก เท้า


37

ลาดับ 40.

บทร้อง/ ทานอง ร้องเพลง สร้อยทะแย (เอื้อน)

41.

ใส่เสื้องาม

42.

ตามอย่าง

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : ตั้งวงล่างระดับชาย พก มือซ้าย : จีบระดับชายพก เท้าขวา : ก้าวข้าง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : ตั้งวงแขนดึงระดับ ไหล่ มือซ้าย : เท้าสะเอว เท้าขวา : ยืนตรง เท้าซ้าย : ยืนตรง เปิดจมูก เท้า ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มือขวา : เท้าสะเอว มือซ้าย : ตั้งวงแขนดึงระดับ ไหล่ เท้าขวา : ยืนตรง เปิดจมูก เท้า เท้าซ้าย : ยืนตรง


38

ลาดับ 43.

บทร้อง/ ทานอง ทางรามัญ

44.

เอวผูกพัน ตาดเขียววาม

45.

งามเฉิด

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : ชีนิ้วแขนดึง มื อ ซ้ า ย : เท้ า สะเอวระดั บ ชายพก เท้าขวา : ก้าวข้าง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มื อ ขว า : จี บ งอแขนอยู่ ด้านบนมือซ้าย มื อ ซ้ า ย : จี บ งอแขนอยู่ ด้านล่างมือขวา เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้ า ซ้ า ย : ยกขาขึ้ น เท้ า อยู่ ระดับเข่า ขวา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มือขวา : จีบบนระดับศีรษะ มือซ้าย : ตั้งวงแขนดึงระดับ ไหล่ เท้าขวา : ฉายเท้า เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย


39

ลาดับ 46.

บทร้อง/ ทานอง ฉาย

47.

ร้องเพลง สร้อยทะแย (เอื้อน)

48.

โพกผ้ามอญ

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : ตั้งวงบนระดับไหล่ มื อ ซ้ า ย : บั ว ชู ฝั ก กระดั บ ศีรษะ เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ฉายเท้า ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มือขวา : ตั้งวงแขนดึงระดับ ไหล่ มือซ้าย : ตั้งวงปลายนิ้วตก เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ก้าวข้าง ทิศ : ด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงซ้าย ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มือขวา : จีบระดับศีรษะ มือซ้าย : ตั้งวงระดับศีรษะ เท้าขวา : จรดเท้า งอเข่า เล็กน้อย เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย


40

ลาดับ 49.

บทร้อง/ ทานอง ซ้อนทับ

50.

พับทิ้งชาย

51.

สวมเสื้อกั๊ก

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : ตั้งวงระดับศีรษะ มือซ้าย : จีบระดับศีรษะ เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : กระดกเท้าซ้าย ทิศ : ด้านขวา ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : ตั้งวงล่างระดับชาย พก มือซ้าย : ตั้งวงปลายนิ้วตก เท้าขวา : ก้าวข้าง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย ทิศ : ด้านซ้าย ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มื อ ขวา : ตั้ ง วงบนระดั บ ศีรษะ มื อ ซ้ า ย : ตั้ ง วงบนระดั บ ศีรษะ เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ก้าวข้าง


41

ลาดับ 52.

บทร้อง/ ทานอง ปักดุนกลาย

53.

ละม้าย

54.

ร้องเพลง สร้อยทะแย (เอื้อน)

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวาเล็กน้อย ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : จีบหงายระดับชาย พก มือซ้าย : จีบหงายระดับชาย พก เท้าขวา : ก้าวข้าง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : หน้าตรง ลักคอ ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มือขวา : ล่อแก้ว งอแขน มื อ ซ้ า ย : เท้ า สะเอวระดั บ ชายพก เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : วางหลัง ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : หน้าตรง ลักคอ ไหล่ : กดไหล่ขวา มื อ ขวา : เท้ า สะเอวระดั บ ชายพก มือซ้าย : ล่อแก้ว งอแขน เท้าขวา : วางหลัง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย


42

ลาดับ 55.

บทร้อง/ ทานอง เพชร

56.

ร้องเพลง สร้อยทะแย (รับ)

57.

สังวาลพลอย

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : หน้าตรง ลักคอ ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มือขวา : ล่อแก้ว งอแขน มื อ ซ้ า ย : เท้ า สะเอวระดั บ ชายพก เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : วางหลัง ทิศ : ด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : จีบส่งหลัง มื อ ซ้ า ย : ตั้ ง วงบนระดั บ ศีรษะ เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้ า ซ้ า ย : จรดเท้ า งอเข่ า เล็กน้อย ทิศ : ด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : จีบหงายระดับชาย พก มื อ ซ้ า ย : ตั้ ง วงบนระดั บ ศีรษะ เท้าขวา : ก้าวข้าง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย


43

ลาดับ 58.

บทร้อง/ ทานอง ร้อยแถว

59.

ดูแพรวเพริศ

60.

ล้าลักษณ์เลิศ

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงซ้าย ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มื อ ขวา : ตั้ ง วงบนระดั บ ศีรษะ มือซ้าย : จีบหงายระดับชาย พก เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ก้าวข้าง ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : บัวชูฝักระดับศีรษะ มื อ ซ้ า ย : บั ว ชู ฝั ก ระดั บ ศีรษะ เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้ า ซ้ า ย : จรดเท้ า งอเข่ า เล็กน้อย ทิศ : ด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงซ้าย ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มือขวา : บัวชูฝักระดับศีรษะ มือซ้าย : บัวชูฝักระดับปาก เท้าขวา : ก้าวหน้า เท้าซ้าย : วางหลัง


44

ลาดับ 61.

บทร้อง/ ทานอง ประเสริฐล้วน

62.

ถ้วนพร้อม เสร็จ

63.

ร้องเพลง สร้อยทะแย (รับ)

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : บัวชูฝักระดับปาก มื อ ซ้ า ย : บั ว ชู ฝั ก ระดั บ ศีรษะ เท้าขวา : วางหลัง เท้าซ้าย : ก้าวหน้า ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : หน้าตรง ลักคอ ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มื อ ขวา : ตั้ ง วงบนระดั บ ศีรษะ มื อ ซ้ า ย : ตั้ ง วงบนระดั บ ศีรษะ เท้าขวา : วางหลัง เท้าซ้าย : ก้าวหน้า งอเข่า ทิศ : ด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : จีบส่งหลัง มื อ ซ้ า ย : ตั้ ง วงบนระดั บ ศีรษะ เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้ า ซ้ า ย : จรดเท้ า งอเข่ า เล็กน้อย


45

ลาดับ 64.

บทร้อง/ ทานอง สะพายดาบ เฉียงตน

65.

แฝงกลเม็ด

66.

เตรียมเผด็จ

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาเล็กน้อย ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : จับดาบ มื อ ซ้ า ย : เท้ า สะเอวระดั บ ชายพก เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ก้าวข้าง ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มือขวา : ตั้งวงระดับชายพก มือซ้าย : ตั้งวงระดับชายพก เท้าขวา : ฉายเท้า เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย ทิศ : ด้านขวาเล็กน้อย ศีรษะ : เอียงขวาเล็กน้อย ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : จับที่กลางด้ามทวน มือซ้าย : ตั้งวงล่างระดับชาย พก เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ก้าวข้าง


46

ลาดับ 67.

บทร้อง/ ทานอง ไพรี

68.

ที่บีฑา

69.

ขยับทวน

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : ถือทวน มื อ ซ้ า ย : ตั้ ง วงบนระดั บ ศีรษะ เท้าขวา : ก้าวข้าง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : จับที่กลางด้ามทวน มื อ ซ้ า ย : เท้ า สะเอวระดั บ ชายพก เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้ า ซ้ า ย : ยกขาขึ้ น เท้ า อยู่ ระดับเข่า ขวา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มื อ ขวา : จั บ ที่ ป ลายด้ า ม ทวน มือซ้าย : จับที่ด้ามทวน เท้าขวา : ยกเท้าขึ้น เท้าอยู่ ระดับเข่า ซ้าย เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย


47

ลาดับ 70.

บทร้อง/ ทานอง เยื้องย่าง

71.

อย่าง

72.

คะนอง

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : จับที่ด้ามทวน มื อ ซ้ า ย : จั บ ที่ ป ลายด้ า ม ทวน เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ยกเท้าขึ้น เท้าอยู่ ระดับเข่า ขวา ทิศ : ด้านซ้ายเล็กน้อย ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มื อ ขวา : จั บ ที่ ป ลายด้ า ม ทวน มือซ้าย : จับที่ด้ามทวน เท้าขวา : ก้าวข้าง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย ทิศ : ด้านขวาเล็กน้อย ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : จับที่ด้ามทวน มื อ ซ้ า ย : จั บ ที่ ป ลายด้ า ม ทวน เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ก้าวข้าง


48

ลาดับ 73.

บทร้อง/ ทานอง ละโลดคล่อง มองคม

74.

สมอาสา

75.

ระลึกคุณ เทพ ไท และครูบา

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายเล็กน้อย ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : ถือทวน มื อ ซ้ า ย : บั ว ชู ฝั ก ระดั บ ศีรษะ เท้าขวา : ก้าวข้าง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : หน้าตรง ลักคอ ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มือขวา : จับทวนไว้ด้านหลัง มื อ ซ้ า ย : ตั้ ง วงบนระดั บ ศีรษะ เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ก้าวข้าง ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : พนมมือระดับอก มือซ้าย : พนมมือระดับอก เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : กระดกเท้า


49

ลาดับ 76.

บทร้อง/ ทานอง ดั่งหมายมาด ปรารถนา

77.

แล้วมาพลัน

78.

ปี่พาทย์ทา เพลงเสมอ มอญ (เอื้อน)

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านซ้ายเล็กน้อย ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : ถือทวน มื อ ซ้ า ย : เท้ า สะเอวระดั บ ชายพก เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ยกเท้าขึ้น เท้าอยู่ ระดับเข่า ขวา ทิศ : ด้านขวาเล็กน้อย ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : ถือทวนไว้ระดับต้น คอ มือซ้าย : ถือทวน เท้าขวา : ก้าวข้าง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มื อ ขวา : จั บ ที่ ป ลายด้ า ม ทวน มือซ้าย : จับที่ทวน เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : เหลื่อมเท้า


50

ลาดับ 79.

บทร้อง/ ทานอง ปี่พาทย์ทา เพลงเสมอ มอญ

80.

ปี่พาทย์ทา เพลงเสมอ มอญ

81.

ปี่พาทย์ทา เพลงเสมอ มอญ

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาเล็กน้อย ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : ถือทวน มือซ้าย : ตั้งวงล่างระดับชาย พก เท้าขวา : ก้าวข้าง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายเล็กน้อย ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มือขวา : ถือทวน มือซ้าย : จีบคว่าระดับชาย พก เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ก้าวข้าง ทิศ : ด้านขวาเล็กน้อย ศีรษะ : เอียงขวาเล็กน้อย ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : จับที่ทวน มื อ ซ้ า ย : จั บ ที่ ป ลายด้ า ม ทวน เท้าขวา : ก้าวหน้า เท้าซ้าย : วางหลัง


51

ลาดับ 82.

บทร้อง/ ทานอง ปี่พาทย์ทา เพลงเสมอ มอญ

83.

ปี่พาทย์ทา เพลงเสมอ มอญ

84.

ปี่พาทย์ทา เพลงเสมอ มอญ

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงซ้าย ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มื อ ขวา : จั บ ที่ ป ลายด้ า ม ทวน มือซ้าย : จับที่ทวน เท้าขวา : ก้าวหน้า เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย ทิศ : ด้านขวาเล็กน้อย ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : กดไหล่ขวา มื อ ขวา : จั บ ที่ ป ลายด้ า ม ทวน มื อ ซ้ า ย : บั ว ชู ฝั ก ระดั บ ศีรษะ เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : กระดกเท้า ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย ไหล่ : กดไหล่ซ้าย มื อ ขวา : จั บ ที่ ป ลายด้ า ม ทวน มือซ้าย : จับที่ทวน เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ก้าวข้าง


52

ลาดับ 85.

บทร้อง/ ทานอง ปี่พาทย์ทา เพลงเสมอ มอญ

86.

ปี่พาทย์ทา เพลงเสมอ มอญ

87.

ปี่พาทย์ทา เพลงเสมอ มอญ

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาเล็กน้อย ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : จับที่ทวน มื อ ซ้ า ย : จั บ ที่ ป ลายด้ า ม ทวน เท้าขวา : ก้าวข้าง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย ทิศ : ด้านขวา ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : จับที่กลางด้ามทวน มือซ้าย : จีบที่ระดับไหล่ เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ก้าวข้าง ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาเล็กน้อย ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : จับที่กลางด้ามทวน มื อ ซ้ า ย : ตั้ ง วงบนระดั บ ศีรษะ เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ก้าวข้าง


53

ลาดับ 88.

บทร้อง/ ทานอง ปี่พาทย์ทา เพลงเสมอ มอญ

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวาเล็กน้อย ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : จับที่กลางด้ามทวน มือซ้าย : จีบระดับไหล่ เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ก้าวข้าง

89.

ปี่พาทย์ทา เพลงเสมอ มอญ

ทิศ : ด้านขวาเล็กน้อย ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มือขวา : จับที่ด้ามทวน มื อ ซ้ า ย : ตั้ ง วงบนระดั บ ศีรษะ เท้าขวา : ก้าวข้าง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย

90.

ปี่พาทย์ทา เพลงเสมอ มอญ

ทิศ : ด้านขวาเล็กน้อย ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : ทั้ ง สองข้ า งเท่ า กั น มื อ ขวา : จั บ ที่ ป ลายด้ า ม ทวน มื อ ซ้ า ย : ตั้ ง วงบนระดั บ ศีรษะ เท้าขวา : แตะที่ทวน เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย


54

ลาดับ 91.

92.

บทร้อง/ ทานอง ปี่พาทย์ทา เพลงเสมอ มอญ

ปี่พาทย์ทา เพลงเสมอ มอญ

ภาพท่ารา

คาอธิบายกระบวนท่ารา ทิศ : ด้านขวาเล็กน้อย ศีรษะ : เอียงขวาเล็กน้อย ไหล่ : กดไหล่ขวา มือขวา : จับทวนไว้ที่ต้นคอ มือซ้าย : จับที่ทวน เท้าขวา : ก้าวข้าง เท้าซ้าย : งอเข่าเล็กน้อย ทิศ : ด้านซ้ายเล็กน้อย ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่ : กดไหล่ขวา มื อ ขวา : จั บ ที่ ป ลายด้ า ม ทวน มือซ้าย : จับที่ทวน เท้าขวา : งอเข่าเล็กน้อย เท้าซ้าย : ก้าวข้าง

4.8 กลวิธีในการรา อาจารย์พงษ์ศักดิ์ บุญล้น ในขณะถ่ายทอดท่าราได้อธิบายว่าท่านต้องการให้ท่าราของการ ราสมิงพระรามแต่งตัว ออกมาแข็งแรง มีกาลัง แต่ดูองอาจ สมเป็นชายชาตรี ซึ่งถือเป็นเอกลักษณ์หรือ บุคลิกที่เด่นชัดที่สุดของตัวละครสมิงพระรามนั้น ยังต้องคงท่าทางตามมาตรฐานในแบบของนาฏศิลป์ไทย ระดับมือ การเอียง การก้าวเท้า การกระโดด และการกระทืบเท้า ในท่าต่างๆ ต้องทาให้ได้ตามระดับ มาตรฐานและเหมาะสมกับตัวเอง ไม่ทามากเกินไปหรือน้อยเกินไป และอีกหนึ่งข้อที่สาคัญของการราสมิง พระรามแต่งตัวคือ การตีไหล่ ไม่ว่าจะเป็นท่า โบกจะต้องมีการตีไหล่ จะไม่เยอะไปและไม่น้อยจนเกินไป สิ่งที่ขาดไม่ได้ ราสมิงพระรามแต่งตัว ต้องใช้อาวุธ ต้องราให้ดูชานาญละแข็งแรง และต้องถ่ายทอดอารมณ์ ตัวละครสมิงพระรามออกมาให้ชัด เจน ตัวละครสมิงพระราม อาจารย์พงษ์ศักดิ์ บุญล้น ท่านได้เน้นย้า เสมอว่า “ตอนราสมิงพระรามแต่งตัว ให้คิดว่า เราเป็นผู้ชาย เก่ง เท่ แข็งแรง ที่กาลังไปรบ


55

กระบวนท่าราที่สาคัญ ของการราสมิงพระรามแต่งตัว มีดังต่อไปนี้ 1. ท่าออกใช้ทวนเพลงรัวมอญ 2. ท่าฮึกทะนง 3. สะพายดาบ เฉียงตน 4. ละโลดคล่อง มองคม 5. ระลึกคุณ เทพไท และครูบา - กลวิธีในการราท่าออกใช้ทวนเพลงรัวมอญ การาออกใช้อาวุธทวนในเพลงรัวมอญ จะถือทวนออกมาแล้วฉายเท้า แล้วยืนท่าตัวพระ รอจนถึงจังหวะเพลงแล้วพุ่งทวนขึ้น แล้วถอนเท้า ยืด -ยุบ แล้วซอยเท้าแล้ว ถึงกลางเวทีแล้วจึง เปลี่ยนมาจับกลางทวน แล้งพุ่งทวนอีกครั้งระดับขนานพื้น แล้วโยนทวนให้กลับมาตั้งตรงแล้ว แตะทวนไว้ที่หลังแล้วจึงโยนทวนจับแล้วเดินแบบพันทาง - กลวิธีในการราท่าฮึกทะนง การราท่าฮึกทะนง จะต้องกระโดดสลับ ซ้าย-ขวา มือซ้ายทาบัวชูฝัก มือขวาคว่ามือไว้ที่ ขาข้างขวา พยักหน้าเล็กน้อยแล้วทาท่าให้แข็งแรง - กลวิธีในการราสะพายดาบเฉียงตน การราท่าสะพายดาบเฉียงตน นักแสดงจะต้องนามือทั้งสองข้างจับไปที่ระดับปลายดาบ และท้ายด้ามของดาบ แล้วก้าวข้างบิดเท้าทั้งสองข้างเล็กน้อยแล้วกระโดดสลับขา - กลวิธีในการราละโลดคล่อง มองคม การร าละโลดคล่ อ งมองคม นั กแสดงจะต้อองกระทื บเท้า 2 ครั้ง แล้ ว จึง จะกระโดด มือซ้ายจีบแล้วเปลี่ยนบัวชูฝัก มือขวาถือทวน อารมณ์จะต้องดูแข็งแรง ดูเป็นผู้กล้าหาญไม่กลัว ใคร - กลวิธีในการราระลึกคุณ เทพไท และครูบา การราระลึกคุณ เทพไท และครูบา นักแสดงจะต้องฝึกฝนท่านี้ให้ชานาญเพราะเป็นท่าที่ ต้องใช้มือทั้งสองข้างโยนทวนแล้วอยู่ในระดับข้อศอกแล้วจึงพนมมือไหว้ 1 ครั้ง แล้วจึงกระดกเท้า ซ้าย ท่านี้จะต้องให้อารมณ์นึกถึงครูบาอาจารย์ของออกไปรบ


56

บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ จากการศึ ก ษาวิ ช า อาศรมศึ ก ษาทางด้ า นนาฏศิ ล ป์ ไ ทย ผู้ เ รี ย นได้ ศึ ก ษาค้ น คว้ า การร า ชุดสมิงพระรามแต่งตัว จากเอกสาร วีดีทัศน์ การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ และมีโอกาสได้รับการสืบทอด กระบวนการร า สมิง พระรามแต่ งตั ว จากอาจารย์ ผู้ เ ชี่ย วชาญ ที่ มีค วามรู้ค วามช านาญในการร า ชุดสมิงพระรามแต่งตัว คืออาจารย์พงษ์ศักดิ์ บุญล้น นาฏศิลปินชานาญงาน สานักการสังคีต กรมศิลปากร บทสรุป การแสดงชุ ด สมิ ง พระรามแต่ง ตั ว เป็ น การเสดงที่ ป ระดิษ ฐ์ ขึ้ นโดย อาจารย์พั ช รา บั ว ทอง ประพันธ์บทโดย อาจารย์สมรัตน์ ทองแท้ บรรจุเพลงโดย อาจารย์กัญจนปกณ์ แสดงหาญ การแสดงชุด สมิงพระรามแต่งตัวออกแสดงครั้งแรกเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ในงานวิพิธทัศนาขาบมงคล ณ สังคีตศาลา ผู้สร้างสรรค์การแสดงชุดสมิงพระรามแต่งตัวมีจุดประสงค์ให้การแสดงมีความสอดคล้องกับ ละครพันทาง เรื่องราชาธิราช ตอนสมิงพระรามอาสา เป็นการาแต่งองค์ทรงเครื่องของสมิงพระรามก่อนจะ ออกไปรบครั้งที่ถูกจับเป็นเชลยที่เมืองอังวะ ได้รับอาสาไปรบกับกองทัพกรุงจีน ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อกู้พระ นครให้เป็นเกียรติยศไว้ การแสดงชุดสมิงพระรามแต่งตัว มีลักษณะรูปร่างสง่างาม ใบหน้างดงามสมชาย ชาตรี ท่าองอาจ มีความซื่อสัตย์สติปัญญาหลักแหลม คิดการไกลและรอบคอบ สามารถต่อสู้และชนะข้าศึก ร้อยคนพันคนได้ด้วยตัวคนเดียว และเป็นการราอวดฝีมืออีกประเภทหนึ่ง มีกระบวนท่าราการใช้อาวุธทวน ในช่างต้นและท้ายของเพลง ในการแสดง ชุด สมิงพระรามแต่งตัว ผู้แสดงจะแต่งกายด้วย ชุด แบบพันทาง เสื้อแขนยาวสี ชมพู ใส่ผ้าโพกมอญสีแดงกล่าขลิบทอง สะพายดาบและใช้ทวนในการแสดงช่วงต้นและช่วงท้ายของเพลง ซึ่งถือได้ว่าเป็นเอกลักษณ์ของ การแต่งกายที่บ่งบอกถึง ความเป็นตัวละครของสมิงพระรามได้มากที่สุด ข้อเสนอแนะ 1. ในการราสมิงพระรามแต่งตัวต้องใช้กาลังขาและแขนมาก และต้องอาศัยจังหวะการหายใจที่ ดีเนื่องจากกระบวนท่ารามีกระโดดและการใช้อุปกรณ์เยอะ จึงต้องอาศัยการฝึกฝนและทบทวบอยู่บ่อยครั้ง


57

2. กระบวนท่าราสมิงพระรามแต่งตัว ส่วนใหญ่จะร่ายราไปพร้อมกับการแสดงอารมณ์ ฉะนั้นผู้ แสดงจะต้องฝึกฝนจนชานาญ เพื่อความมั่นใจในท่าราและสามารถแสดงอารมณ์ออกมาร่วมในการแสดง ด้วย 3. ในตอนปี่พาทย์เพลงเสมอมอญ ซึ่งเป็นตอนท้ายของเพลง จะมีท่าให้ ทวน ซึ่งผู้แสดงจะต้องจา จังหวะให้ได้ ผู้แสดงจะต้องตั้งสติให้สามารถควบคุมท่าราให้เป็นตามแบบมาตรฐานของนาฏศิลป์ไทย และ ลงตามจังหวะให้ได้


58

บรรณานุกรม


59

บรรณานุกรม บรรณานุกรมประเภทหนังสือ 1. หนังสือทั่วไป สุรพล วิรุฬห์รักษ์. (2543). นาฏยศิลป์ปริทรรศน์. กรุงเทพฯ : มปพ ชนิสรา วิเคียน. (2560). ฉุยฉายโกมินทร. โครงการปริญญานิพนธ์การสอบราเดี่ยวมาตรฐาน, มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก. เว็บไซต์ บุญวิชญ์ สานา.(สิงหาคม 2557).ดนตรีศึกษา 1. สืบค้นวันที่ 10 กันยายน 2561, จาก hs2kvo.blogspot.com/2014/08/blog


60

ภาคผนวก


61

ภาคผนวก ก ประมวลภาพการสืบทอดท่ารา ชุด ราสมิงพระรามแต่งตัว

ภาพ อาจารย์พงษ์ศกั ดิ์ บุญล้น ผูถ้ า่ ยทอดท่ารา(ขวา) นางสาวชฎาพร ถาวร(ซ้าย) ทีม่ า: นายกฤเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 11 กรกฏาคม 2561

ภาพ การถ่ายทอดท่ารา การใช้ทวน ทีม่ า: นายกฤเมธ เชื้อม่วง, วันที่ 11 กรกฏาคม 2561


62

ภาคผนวก ข ประมวลภาพวันโครงการสอบราเดีย่ วมาตรฐาน ชุด สมิงพระรามแต่งตัว

ภาพ การแสดงชุด ราสมิงพระรามแต่งตัว ที่มา:นางสาวชฎาพร ถาวร, ผูถ้ ่ายภาพ นาย วสันต์ แก้วประเสริฐ, (วันที่ 2 กันยายน 2561)

ภาพ การแสดงชุด ราสมิงพระรามแต่งตัว ที่มา:นางสาวชฎาพร ถาวร, ผูถ้ ่ายภาพ นาย วสันต์ แก้วประเสริฐ,(วันที่ 2 กันยายน 2561)


63

ภาพ ผูช้ ว่ ยศาตราจารย์ประภาศรี ศรีประดิษฐ์ อาจารย์ทปี่ รึกษา(ขวา) นางสาวชฎาพร ถาวร(ซ้าย) ที่มา: ผู้ถ่ายภาพ นาย วสันต์ แก้วประเสริฐ,(วันที่ 2 กันยายน 2561)

ภาพ นิสติ ชัน้ ปีที่ 4 สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย รุน่ 16 ที่มา: ผู้ถ่ายภาพ นาย วสันต์ แก้วประเสริฐ,(วันที่ 2 กันยายน 2561)


64

ภาพ คณะกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิอาจารย์ประจาภาควิชานาฏศิลป์ไทย และนิสติ สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ที่มา: ผู้ถ่ายภาพ นาย วสันต์ แก้วประเสริฐ,(วันที่ 2 กันยายน 2561)


65

ประวัตผิ วู้ จิ ยั


66

ประวัตผิ วู้ ิจยั ชื่อ – ชือ่ สกุล ชฎาพร ถาวร วัน เดือน ปี เกิด 30 พฤษภาคม ปี 2540 ที่อยู่ปจั จุบนั 1 หมู่ 5 ตาบลหนองหลวง อาเภอลานกระบือ จังหวัด กาแพงเพชร สัญชาติ ไทย เชื่อชาติ ไทย นับถือ ศาสนาพุทธ สาเร็จการศึกษาระดับชัน้ ประถมศึกษา จากโรงเรียนบ้านหนองหลวง สาเร็จการศึกษาระดับชัน้ มัธยมศึกษา จากวิทยาลัยนาฏศิลป์สุโขทัย ปัจจุบนั กาลังศึกษาระดับอุดมศึกษา สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะ มนุษยศาสตร์ชั้นปีที่4 มหาวิทยาลัยนเรศวร อีเมล์ misschadaporn2540@gmail.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.