อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด จินตะหราทรงเครื่อง

Page 1

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด จินตะหราทรงเครื่อง

นางสาวมัลลิกา กล้าการขาย

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทยฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2561


อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด “จินตะหราทรงเครื่อง” ของ นางสาวมัลลิกา กล้าการขาย ได้รับการพิจารณาให้นับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต (นาฏศิลป์ไทย) คณะกรรมการอาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย

...................................................................................................................อาจารย์ที่ปรึกษา (อาจารย์อุบลวรรณ โตอวยพร) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.รุ่งนภา ฉิมพุฒ) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์รัชดาพร สุคโต) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.จิตติมา นาคีเภท) ...................................................................................................................กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประภาศรี ศรีประดิษฐ์) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์ภูริตา เรืองจิรยศ) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์วรวิทย์ ทองเนื้ออ่อน) อนุมัติ ................................................................ (ดร.จิตติมา นาคีเภท) หัวหน้าภาควิชาศิลปะการแสดง


ประกาศคุณูปการ โครงการวิทยานิพนธ์นี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีเนื่องจากผู้แสดงได้รับความช่วยเหลือเป็น อย่างดีจากอาจารย์ที่ปรึกษาคือ อาจารย์อุบลว รรณ โตอวยพร ในการแนะนาตรวจแก้ไขให้ ข้อเสนอแนะติดตามความก้าวหน้าของการฝึกฝนท่าราชุด จินตะหราทรงเครื่อง ผู้แสดงจึงรู้สึกซาบซึ้ง ในความกรุณาของ อาจารย์อุบลว รรณ โตอวยพร เป็นอย่างยิ่งและขอขอบคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณรองศาสตราจารย์ ดร .สวภา เวชสุรักษ์ ในการถ่ายทอดท่าราการแสดงราเดี่ยว มาตรฐานชุด จินตะหราทรงเครื่องนี้ ขอขอบคุณผู้ ปกครองที่ให้ความกรุณาในกา รเสียค่าใช้จ่ายในการลงพื้นที่เพื่อหาข้อมูลและ ช่วยเป็นกาลังใจในการฝึกซ้อมท่าราให้ผ่านไปได้ด้วยดี ขอขอบคุณคณาจารย์และเพื่อน ๆพี่ ๆ น้อง ๆในสาขาที่ให้ความช่วยเหลือในการจัดทา โครงการปริญญานิพนธ์สอบราเดียวมาตรฐานจึงขอกราบขอบคุณไว้ในโอกาสนี้ สุดท้ายนี้ผู้แสดงขอขอบคุณผู้ที่ให้ความช่วยเหลือและผู้มีอุปการคุณทุกท่าน รวมไปถึงพ่อ แม่พี่สาวและเพื่อนพ้องที่ให้ความสนับสนุนและช่วยเหลือในทุกๆด้านรวมไปถึงน้องๆ ในสาขานาฏศิลป์ ที่เสียสละเวลาให้ความอนุเคราะห์ในการจัดโครงการปริญญานิพนธ์สอบราเดียวมาตรฐานทุกคน

นางสาว มัลลิกา กล้าการขาย



สารบัญ บทที่

หน้า

1 บทนา…………………………………………………………................................….……...…..…… ความสาคัญของการถ่ายทอดท่ารา....……………………….........…………….......……… วัตถุประสงค์......................................……………………….........…………….......……… วิธีดาเนินงาน.....................................……………………….........……………....…...…… ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ................……………………….........…………….......………

1 1 1 2 2

2 ประวัติผู้ถ่ายทอดกระบวนการราเดี่ยวมาตรฐานชุด จินตะหราทรงเครื่อง................ ประวัติส่วนตัว...................................……………………….........………....…………...… ประวัติการศึกษา................................……………………….........……………...………… ประวัติการทางาน..............................……………………….........………………………… ผลงานทางด้านวิชาการและการแสดง……………………….........……………...………… ประวัติการสืบทอดและการถ่ายทอดท่ารา……………..……….........………...………… แผนผังการสืบทอดและถ่ายทอดท่ารา.……………………….........…………....……...…

3 3 3 4 4 4 8

3 วิธีดาเนินการสืบทอดและฝึกหัด.............................................................................. ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด .......……………………….........………….……..……… ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด ...........….........…………….......……… อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด ......……………………….........……………....…...……

9 9 10 11


สารบัญ (ต่อ) บทที่

หน้า

4 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด จินตะหราทรงเครื่อง.….....……………....…………… ประวัติความเป็นมาของการแสดง………………..……….........……………....…………… เรื่องย่อของการแสดง……………………...................….........…………..…....…………… ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง……………………….........……………………………………….. ฉากและองค์ประกอบการแสดง……………………….........……………....….....…………… เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า ……………………….........…………….........…………… กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่………………………................……………....…………… กลวิธีในการรา................................……………………….........……………....……………

12 12 12 12 13 16 24 47

5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ.......................................................................................... บทสรุป................................……………………......………….....................…….………. ข้อเสนอแนะ………………………………........................……....…………………....……….

48 48 49

บรรณานุกรม...............................................................................................................................

50

ภาคผนวก………………………....……………………………………….………………......................................

51

ประวัติผู้วิจัย………………………………………………………….……………..............................................

56


สารบัญตาราง ตาราง

หน้า

1 ตารางวิธีดาเนินงาน………………………………….……………………………....…......…...………… 2 2 ตารางระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด ……………………………………………… 10 3 ตารางกระบวนท่าราและการใช้พื้นที่ ………………………………………………....…..…………... 24


สารบัญภาพ ภาพ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

หน้า ผู้ถ่ายทอดท่ารา………………………….……………………………………....……………........... เตียงใหญ่……………………………………………………………………………....……………........... เตียงเล็ก……………………………………….……………………………………....………….............. เครื่องราชูปโภค……………………………..……………………………………....……………........... ขันน้าพานรองสาหรับลงสรง…………..……………………………………....……………........... พานวางแหวน……………………………….……………………………………....…….……….......... เครื่องแต่งกายจินตะหราทรงเครื่อง….……………………………………....………….............. รัดเกล้ายอด จอนหูและท้ายช้อง………………….………………………....……………........... ดอกไม้ทัดและอุบะ………………………………………………………………....…….……….......... ผ้าห่มนางขลิบเหลืองนวล……………………………………………………....……………........... กรองคอสีเหลืองนวล……………………………………………………………....…….……….......... ผ้ายกสีขาว…………………………………………………………………………....………….............. จี้นาง(ทับทรวง)……………………………..……………………………………....……………........... สะอิ้ง…………………………………………….……………………………………....…….……….......... รัดต้นแขน…………………………………….……………………………………....………….............. กาไลแผง….…………………………………..……………………………………....……………........... ปะวะหล่า…….……………………………….……………………………………....…….……….......... แหวนรอบ(มือ/เท้า)………………………...…………………………………....………….............. เข็มขัดและหัวเข็มขัด…………………….……………………………………....………….............. ธามรงค์…….…………………………………..……………………………………....……………........... กาไลข้อเท้า…….…………………………….……………………………………....…….……….......... ถ่ายภาพร่วมกับครูผู้ถ่ายทอดท่ารา…..……………………………………....………….............. ถ่ายภาพร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษา…………………………………………....………….............. นิสิตชั้นปีที่ 4 สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย รุ่นที่ 16……………………………..……………......... ภาพซ้อมใหญ่การสอบราเดี่ยวมาตรฐานชุด จินตะหราทรงเครื่อง……….……….......... ภาพการสอบราเดี่ยวมาตรฐานชุด จินตะหราทรงเครื่อง……………………….....…......... ภาพการสอบราเดี่ยวมาตรฐานชุด จินตะหราทรงเครื่อง…………….……………………….

3 14 14 15 15 16 16 17 17 18 18 19 19 20 20 21 21 22 22 23 23 52 52 53 53 54 54


28 คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์ประจาภาควิชานาฏศิลป์ไทยและนิสิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย………………………………………………………………………...............

55


1

บทที่ 1 บทนา 1.1ความสาคัญของการถ่ายทอดท่ารา นาฏศิลป์ไทยมีที่มาและเกิดจากสาเหตุแนวคิดต่าง ๆเช่น เกิดจากความรู้สึกกระทบกระเทือน ทางอารมณ์ไม่ว่าจะอารมณ์แห่งสุข หรือความทุกข์และสะท้อนออกมาเป็นท่าทางแบบธรรมชาติและ ประดิษฐ์ขึ้นมาเป็นท่าทางลีลาการฟ้อนรา หรือเกิดจากลัทธิความเชื่อในการนับถือสิ่งศักดิ์สิทธ์ เทพเจ้า โดยแสดงความเคารพบูชาด้วยการเต้นรา ขับร้องฟ้อนราให้เกิดความพึงพอใจ และเป็นศาสตร์ แขนงหนึ่งที่มีความงดงาม แสดงให้เห็นถึงขนบธรรมเนียมประเพณีอันถือว่าเป็นศิลปวัฒนธรรมของ ชาติที่ส่งผลให้ทั่วโลกยอมรับในเอกลักษณ์ของชาติไทย ราเดี่ยวมาตรฐาน คือ การแสดงที่ใช้ผู้แสดงเพียงคนเดียว มีจุดมุ่งหมายเพื่ออวดฝีมือการร่าย ราที่ประณีตงดงาม ผู้แสดงราเดี่ยวจึงต้องมีทักษะในการราและได้รับการฝึกฝนมาเป็นอย่างดี การรา เดี่ยว ได้แก่ มโนห์ราบูชายัญ ในเรื่องพระสุธนมโนห์รา ราพลายชุมพลในเรื่องขุนช้างขุนแผน ฯลฯ ซึ่ง เป็ นการราที่มีลีลากรีดกราย ท่วงทีงดงามใส่ความรู้สึกบนใบหน้า ท่าทางและการเคลื่อนไหว โดยเฉพาะการราฉุยฉายซึ่งมีอยู่หลายชุด เช่น ฉุยฉายพราหมณ์ ฉุยฉายศูรปนขาแปลง ฉุยฉายทศกัณฐ์ เป็นต้น ส่วนใหญ่สอดแทรกอยู่ในการแสดงโขน เรื่องรามเกียรติ์ แต่ละเพลงผู้แสดงจะต้องราด้วยลี ลา การเคลื่อนไหวไปตามบุคลิกเฉพาะของตัวละครในบทนั้นๆ ด้วย ราเดี่ยว มาตรฐาน ชุด จินตะหราทรงเครื่อง ที่เป็นการแสดงตัดตอนมาจากเรื่องอิเหนา เ มื่อ ตอนอิเหนาเสด็จไปเมืองหมันหยาเพื่อไปช่วยงานศพพระอัยกา จึงได้พบกับนางจินตะหรา การแสดงรา เดียวชุดนี้เป็นการแสดงที่ประดิษฐ์ขึ้ นมาใหม่ โดย รองศาสตราจารย์ ดร .สวภา เวชสุรักษ์ อาจารย์ ประจาภาควิชานาฏยศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารา ขึ้นมาใหม่ด้วยตนเอง จากข้อมูลดังกล่าวผู้สืบทอดจึงมีความสนใจที่จะสืบทอดราเดี่ยว มาตรฐาน ชุด จินตะหรา ทรงเครื่อง ราเดี่ยวมาตรฐานชุดนี้เป็นการแสดงที่ประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ โดย รองศาสตราจารย์ ดร .สวภา เวชสุรักษ์ อาจารย์ประจาภาควิชานาฏยศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้ ประดิษฐ์ท่าราขึ้นมาใหม่ด้วยตนเอง จึงทาให้หลายๆคนยังไม่รู้จัก ผู้สืบทอดท่าราจึงมีความสนใจที่จะ สืบทอดท่าราการแสดงราเดี่ยวมาตรฐานชุด จินตะหราทรงเครื่อง เพื่อให้เป็นที่รู้จักและให้นักศึกษารุ่น หลังได้ศึกษาค้นคว้าต่อไป


2

1.2วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษากระบวนท่ารา กลวิธีในการราและเทคนิคเฉพาะจากผู้เชี่ยวชาญโดยตรง 2. เพื่อได้เก็บบัน ทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อให้นักศึกษารุ่นหลังได้ใช้ประโยชน์ใน การศึกษาต่อไป 1.3วิธีดาเนินงาน เนือ้ หา

เดือน เดือนกรกฎาคม

เดือนสิ งหาคม

1. ศึกษาข้อมูลประวัติเกี่ยวกับประวัติการราเดี่ยว ชุดจินตะหราทรงเครื่ อง 2. ศึกษาจากสื่ อ วิดีทศั น์ และการสัมภาษณ์ 3. ขอถ่ายทอดกระบวนท่าราจาก รองศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุ รักษ์ 4. สอบประเมิน 100%ครั้งที่1 5. สอบประเมิน 100%ครั้งที่2 6. สอบประเมิน 100%ครั้งที่3 7.สอบประเมิน 100%ครั้งที่4 8. สอบราเดี่ยวมาตรฐาน ชุดจินตะหราทรงเครื่ อง ตารางที่ 1: ตารางดาเนินงาน

1.4ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.ได้รับการถ่ายทอดท่าราและเรียนรู้กลวิธีเฉพาะจากครูผู้เชี่ยวชาญโดยตรง 2.สามารถนาความรู้ที่ได้จากการถ่ายทอดท่ารามาปรับใช้ในการเรียนในห้องเรียน 3.ได้บันทึกข้อมูลเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อเป็นประโยชน์แก่นักศึกษารุ่นหลัง


บทที่ 2 ประวัติและผลงานผู้ถ่ายทอดกระบวนราเดี่ยวมาตรฐานชุด จินตะหราทรงเครื่อง ข้อมูลต่อไปนี้เป็น ข้อมูลของรองศาสตราจารย์ ดร .สวภา เวชสุรักษ์ อาจารย์ประจาภาควิชา นาฏศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เป็นศิลปินตัวนางแบบหลวง ที่ได้ซึมซับ การแสดงนาฏศิลป์ตั้งแต่อายุ 10 ขวบ มีชีวประวัติ ประวัติการศึกษา และผลงานทางด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้

ภาพที่ 1 ครูผู้ถ่ายทอดท่ารา ที่มา:นางสาวมัลลิกา กล้าการขาย,วันที่ 9 สิงหาคม 2561 2.1 ประวัติส่วนตัว รองศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุรักษ์ (สกุลเดิม . ผลเนืองมา ) เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 20 กุมภาพันธ์ พ .ศ.2501 ณ กรุงเทพมหานคร เป็นธิดาคนที่สอง ของ ร .ต.บุญปลูก ผลเรืองมา (ถึงแก่ กรรม) และนางบุปผา ผลเนือง ต่อมา บิดาได้ลาออกจากราชการทหารแล้วเข้าทางานตาแหน่งผู้จัดการ ในบริษัท อาซาฮีโซดาไฟ จากัด จังหวัดสมุทรปราการ ส่วนมารดาเป็นแม่บ้าน รองศาสตราจารย์ ดร .สวภา เวชสุรักษ์ ได้สมรสกับ นายสุชาต เวชสุรักษณ์ สามีของรอง ศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุรักษ์ เคยดารงตาแหน่งผู้จัดการบริษัทน้ามันคาลเท็คซ์ไทย จากัด ต่อมา ได้ลาออกมาทาธุรกิจครอบครัว รองศาสตราจารย์ ดร .สวภา เวชสุรักษ์ มีบุตร 2 คน คนแรกชื่อ นายธนเดช เวชสุรักษ์ ศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์ ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา คนที่สอง นางสาวภัทร เวชสุรักษ์ ศึกษาระดับปริญญาตรี คณะสัตวแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


2.2 ประวัติการศึกษา รองศาสตราจารย์ ดร. สวภา เวชสุรักษ์ ได้ศึกษาระดับประถมศึกษาจนถึงระดับปริญญาเอก โดยเฉพาะระดับปริญญาตรีท่านได้คะแนนเฉลี่ยสูงสุดในชั้นเรียน จนได้รับทุนเรียนดีจากคณะนาฏศิลป์ และดุริยางค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา พ.ศ.2506-พ.ศ.2509 จบระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนชาติศึกษากรุงเทพมหานคร พ.ศ.2510- พ.ศ.2521 จบประกาศนียบัตรนา ฏศิลป์ชั้นสูงจากวิทยาลัยนาฏศิลปสถาบัน บัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒธรรม พ.ศ.2527-พ.ศ.2528 จบการศึกษาศิลปศาสตรบัณฑิต (นาฏศิลป์ ไทย) จากมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล (วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวะ) พ.ศ.2536- พ.ศ.2537 จบการศึกษาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (นาฏ ยศิลป์ ไทย ) จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2542- พ.ศ.2547 จบการศึกษาศิลปศาสตร ดุษฎีบัณฑิต (นาฏ ยศิลป์ไทย ) จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขณะที่กาลังศึก ษาในวิทยาลัยนาฏศิลป์ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาท่าน ได้รับการฝึกฝนจากครูตัวน างหลายท่านในชั้นเรียน ได้แก่ ครูเฉลย ศุขะวณิช ครู นพรัตน์ หวังใน ธรรม ครูพิไลโฉม สัมมานันท์ ครูกรรณิการ์ วีโรทัย และครูตัวนางที่มิได้กล่าวนามอีกหลายท่าน สาหรับในด้านการแสดงท่านได้รับการสนับสนุนและถ่ายทอดท่าราจากครูเฉลย ศุขะวณิช ในบทบาท ตัวนางเอกในหลายเรื่องนอกจากนั้นก็ได้รับการถ่ายทอดท่าราทางการแสดงจากครูละครอีกหลายท่าน ได้แก่ ครูจาเรียง พุธประดับ ครูนพรัตน์ หวังในธรรม ครูพรทิพย์ ด่านสมบูรณ์ ท่านได้รับการขอตัวจากสานักการสังคีตร่วมแสดงระบาและตัวเอกต่างๆเป็นประจา ทาให้ ท่านได้รับการถ่ายทอดท่าราระบาแล ะตัวเอกจากครูในสานักการสังคีต ได้แก่ ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิท วงศ์เสนี ครูสุวรรณี ชลานุเคราะห์ ครูกรรณิการ์ วงษ์สวัสดิ์ ครูเรณู จีรเจริญ ครูสถาพร สนทอง ครูบุนนาค ทรรท รานนท์ ครูนันทินี เวชสุทัศน์ ครูจินดารัตน์ จารุสาร โดยเฉพาะครูบุนนาค ทรรทรานนท์ นั่นท่านได้รับการถ่ายทอดท่าราตัวเอกหลายครั้ง 2.3 ประวัติการทางาน รองศาสตราจารย์ ดร . สวภา เวชสุรักษ์ เริ่มรับราชการในวิทยาลัยนาฏศิลป์ ตั้งแต่ พ .ศ. 2521 ถึง พ.ศ.2533 ในช่วงปี พ.ศ.2521 เมื่อเริ่มเข้ารับราชการได้ถูกโอนย้ายไปช่วยราชการที่ วิทยาลัย นาฏศิลปนครศรีธรรมราชเป็นเวลา 1 ปี กลับ เข้ารับราชการที่วิทยาลัยนาฏศิลป ประมาณ 12 ปีแล้ว รองศาสตราจารย์ผุสดี หลิมสกุล ได้แนะนาให้มาร่วมงานที่ภาควิชานาฏยศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยได้โอนย้ายไปรับราชการที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ พ .ศ.2533


จนถึง ปัจจุบันและได้ดา รงตาแหน่งรองศาสตราจารย์ ต่อมาเมื่อเดือนมกราคม พ .ศ.2552 ได้ลาออก จากราชการเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย ท่านเกษียณอายุราชการในปี พ.ศ. 2561 2.4 ผลงานทางด้านวิชาการและการแสดง 2.4.1 ผลงานการสอน สอนรายวิชาทั กษะนาฏศิลป์ไทย ได้แก่ ราพื้นฐาน ได้แก่เพลงช้ า เพลงเร็ว ระบา แม่บท ใหญ่ เชิด เสมอ ระบามาตรฐาน ได้แก่ระบาสี่บท ระบาย่องหงิ ด ระบาดาวดึงส์ ราหน้าพาทย์ ได้แก่ สาธุการ ตระนิมิต ตะบองกัน ชานาญ บาทสกุณี ตระเชิญ ราคู่ ได้แก่ ย่าหรันตามนกยูง ศุภลักษณ์อุ้มสม ฝรั่งคู่ พระลอตามไก่ ขุนแผนพานางวันทองหนี เชิดฉิ่งออกเชิดจีน ราเดี่ยวมาตรฐาน ได้แก่ วิยะดาทรงเครื่อง ดรสาแต่งตัว ดรสาแบหลา ฉุยฉายวันทอง ฉุยฉายสูรปนักขา วิยะดาแต่งตัว ฉุยฉายเบญจกาย จินตะหราแต่งตัวสีดาทรงเครื่อง ไกยเกษีทรงเครื่อง ละครนอก ได้แก่กุมภ ณฑ์ถวายม้า ในเรื่อง สุวรรณหงส์ สอนตัวนางเกศสุริยงแปลง ละครในตอน อิเหนาลานางจินตะหรา และเข้าเฝ้าท้าวดาหา ในละครในเรื่องอิเหนา อิเหนา ลานางจินตะหราสอนตัว นางจินตะหรา ส่วนอิเหนาเข้าเฝ้าท้าวดาหาสอนตัวนางบุษบา ละครพันทาง ตอนอภิเษกพระธิดา ใน ละครพันทางเรื่อง ราชาธิราช สอนตัวพระร าชธิดา ละครดึกดาบรรพ์ ตอนมณฑาลงกระท่อม ในละคร ดึกดาบรรพ์ เรื่องสังข์ทอง สอนตัวเงาะ นางมณฑ า และรจนาตอนบุษบาชมศาลในละครดุกดาบรรพ์ เรื่องอิเหนา สอนตัวนางบุษบาและพี่เลี้ยง สอนละครดึกดาบรรพ์ เรื่องจันท์กินรีได้ทั้งเรื่อง สอนตัวนาง กินรีและตัวอามาตย์ สอนรายวิชาบังคับซึ่งเป็นวิชาบรรยายระดับปริญญาตรี ได้แก่ ทฤษฎีนาฏศิลป์ไทย วิจัย นาฏศิลป์งานโครงการนาฏยศิลป์ระดับปริญญาโท ได้แก่ ประวัตินาฏศิลป์ไทย อาศรมศึกษาทางด้าน นาฏศิลป์ 2.4.2.ผลงานการแสดง 1.ราเบิกโรงชุดเมขลา-รามสูร นางเมขลา 2.โขน เรื่องรามเกียรติ์ นางสีดา นางนารายณ์แปลง

ตอน รามสูรพบนางเมขลา ครูเฉลย ศุขะสณิช ผู้ถ่ายทอดท่ารา ตอนลักสีดา และตอนนางลอย ครูเฉลย ศุขะวณิช ผู้ถ่ายทอดท่ารา ตอนนางรายปราบนนทุก ครูจาเรียง พุธประดับ และครูสถาพร สนทอง


เป็นผู้ถ่ายทอดท่ารา 3.ละครในเรื่อง อุณรุท รับการถ่ายทอดจาก ครูเฉลย ศุขะวณิช นางอุษา แสดงทั้งเรื่อง นางศุภลักษณ์ แสดงทั้งเรื่อง 4.ละครในเรื่อง อิเหนา รับการถ่ายทอดจาก ครูเฉลย ศุขะวณิช นางจินตะหรา อิเหนาลานางจินตะหรา 5.ละครนอก เรื่องขุนช้างขุนแผน รับการถ่ายทอดจากครูเฉลย ศุขะวณิช นางวันทองแปลง ตอนขุนแผนเกี้ยวนางวันทอง นางตานี ตอนพลายบัวเกี้ยวนางตานี 6.ละครพันทาง เรื่องผู้ชนะสิบทิศ รับการถ่ายทอดจากครูบุนนาค ทรรทรานนท์ นางกุสุมา แสดงทั้งเรื่อง 7.ละครดึกดาบรรพ์ เรื่องยศเกตุ รับการถ่ายทอด จากครูเฉลย สุขะวณิช นางเมธาวดี ตอน พบนาง 8.ละครดึกดาบรรพ์ เรื่องสังข์ทอง รับการถ่ายทอด จากครูนพรัตน์ หวังในธรรม นางรจนา ตอน เลือกคู่ และมณฑาลงกระท่อม 9ละครร้องเรื่องสาวเครือฟ้า รับการถ่ายทอด จากครูเฉลย ศุขะวณิช สาวเครือฟ้า แสดงทั้งเรื่อง 10. ละครรา เรื่องพระไพศรพณ์ รับการถ่ายทอด จากครูนพรัตน์. หวังในธรรม แม่โพสพ 11. ระบาต่างๆ ได้แก่ ระบาสุโขทัย ระบาศรีวิชัย ระบาจีน- ไทยไมตรี ระบาพม่า- ไทย อธิษฐาน ราสีนวลออกอาหนู ระบานพรัตน์ ระบากินรีร่อน ราซัดชาตรี ระบาชาวนา ราเซิ้งกระติบ ข้าว ราอวยพรเฉพาะกิจ เป็นต้น การแสดงระบาส่วนใหญ่เป็นการแสดงของสานักการสังคีต ครูผู้ ฝึกซ้อมเป็นศิลปินในสานักการสังคีตหลายท่านดั่งได้กล่าวนามมาแล้ว นอกจากนี้รองศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชวสุรักษ์ จะแสดงเผยแพร่ในงานภาครัฐบาลและ ภาคเอกชนแล้ว ยังเดินทางไปเผยแพร่นาฏยศิลป์ไทยยังต่างประเทศในนามรัฐบาลไทย ได้แก่ รัสเซีย อังกฤษ สก๊อตแลนด์ เม็กซิโก ญี่ปุ่น จีน อินเดีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย บรูไน 2.4.3.ผลงานกากับการแสดง 1.กากับการแสดงละครดึกดาบรรพ์เรื่องอิเหนา ตอนตัดดอกไม้ฉายกริช (ชมดงและชมศาล) จัดโดยภาควิชานาฏ ยศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 1 และวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ.2543 ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อานวยการฝึกซ้อม โดยอาจารย์สุวรรณี ชลานุเคราะห์ ศิลปินแห่งชาติ


2.ผู้กากับ การแสดงละครดึกดาบรรพ์ เรื่องอิเ หนา ตอนไหว้ พระ ในงานปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ วันที่ 26 มีนาคม 2546 2.4.4.ผลงานฝึกซ้อมการแสดง 1.ผู้ฝึกซ้อ มการแสดงดึกดาบรรพ์เรื่อง อิเหนา ตอน บวงสรวง เนื่องในโอกาสที่สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เสด็จราชดาเนินเป็น องค์ประธานทอดพระเนตรปี่พาทย์ดึก ดาบรรพ์ ฉลอง 87 ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 26 มีนาคม 2547 ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2.ผู้ฝึกซ้อมการแสดงงานสายใยใจจามจุรี 48 วันที่ 9 กันยายน 2548 โรงแรมเอราวัณ 2.4.5.ผลงานนาฏยประดิษฐ์ 1.ผลงานสร้างสรรค์ราอวยพรชุด เทิดเกียรติศิลปะดุริยาง คศิลปิน จัดโดยคณะศิลปกรรม ศาสตร์ จุฬาลงก รณ์หมาวิทยาลัย เนื่องในโอกาสเฉลิมฉลองงานครบรอบเกษียณอายุ ราชการของรอง ศาสตราจารย์โกวิทย์ ขันธศิริ ในวันที่ 27 กันยายน 2545 ณ ลานหน้าคณะศิลปกรรมศาสตร์ 2.ผลงานสร้างสรรค์ระบาเทิดพระเกียรติ จัดโดยฝ่ายศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยเนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระเทพรัตราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดาเนิน เป็น องค์ ประธานทอดพระเนตรปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ เนื่องในโอกาสฉลอง 88 ปี แห่งการสถาป นา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย วันที่ 26 มีนาคม 2548 ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3.ผลงานสร้างสรรค์ราเดี่ยวมาตรฐานในโขน เรื่องรามเกียรติ์ 2 ชุด คือ ไกยเกษีทรงเครื่อง และสีดาทรงเครื่อง ผลงานสร้างสรรค์ราเดี่ยวมาตรฐานใน ละคอนเรื่องอิเหนา 1 ชุด คือ จินตะหรา ทรงเครื่อง ซึ่งนามาใช้ในการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาและนาออกเผยแพร่แก่สาธารณชน 2.4.6.ผลงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับนาฏศิลป์ 1.ถ่ายภาพปฏิทินชุดระบาชุมนุมเผาไทยในบทบาทสิบสองจุไทย โดยบริษัทเชลล์แห่ง ประเทศไทย จากัด ฉบับที่ระลึก 84 ปีของเชลล์แห่งประเทศไทย พ.ศ.2520 2.ถ่ายภาพปฏิทินระบาโบราณคดีในชุดระบาศรีวิชัย โดยธนาคารกรุงเทพ จากัด พ.ศ.2527 3.ถ่ายภาพปฏิทินรามโนราห์บูชายัญ ซึ่งยังสืบค้นหน่วยงานและเวลาไม่ได้ในขณะนี้โดยได้รับ การถ่ายทอดท่าราจากครูเฉลย ศุขะวณิช 4.ประธานกรรมการสอบสัมภาษณ์ การคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในบัณฑิต วิทยาลัยสาขา นาฏยศิลป์ไทย ปีการศึกษา 2545-2550 คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5.อาจารย์ที่ปรึกษาและกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ของนิสิตปริญญามหาบัณฑิต สาขา นาฏยศิลป์ไทยสาเร็จปีการศึกษา 2540-2551 คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 6.กรรมการสอบงานโครงกา รนาฏยศิลป์ ในส่วนผลงานสร้างสรรค์ ของนิสิตปริญ ญาบัณฑิต สาขานาฏยศิลป์ไทย ประจาปีการศึกษา 2550 คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


7.ผู้อานวยการแสดงชุดฟ้อนม่านมงคล ในงาน ปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ วันที่ 26 มีนาคม 2550 ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 8.กรรมการประกว ดนาฏศิลป์ไทย ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชีนาถ พ .ศ.2550และพ .ศ.2552 ณ โรงละครเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก รองศาสตราจารย์ ดร .สวภา เวชสุรักษ์ เป็นศิลปินตัวนางท่านหนึ่งที่สืบทอดองค์ความรู้จาก นาฏยศิลป์สายวังหลังสวนกุหลาบแ ละวังเพชรบูรณ์ เนื่องจากครูเฉลย ศุขวณิช ผู้ซึ่งถ่ายทอดความรู้ ให้แก่ท่านนั้นเป็นศิษย์จากวังสวนกุหลาบและวังเพชรบูรณ์ ท่านได้แสดงเป็นตัวเอกแสดงทั้งในประเทศ และต่างประเทศ การที่ท่านมีค วามชานาญทักษะตัวนางขั้นสูง ท่ านจึงได้เผยแพร่ประสบการณ์การ แสดงให้แก่ลูกศิษย์ ทั้ง ในสถาบันและสุถาบันการศึกษาอื่นๆ และการที่ท่านเรียนจบปริญญาเอกสาขา นาฏยศิลป์ไทย ท่านจึงได้เป็นที่ปรึกษางานวิจัยให้แก่นิสิตและบุคคลากรทางการศึกษาทั้งในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคมาโดยตลอด 2.5 ประวัติการสืบทอดและการถ่ายทอดท่ารา ราเดี่ยวมาตรฐานชุด จินตะหราทรงเครื่อง เป็นผลงานการสร้างสรรค์นาฏยศิลป์แบบหลวง ของ รองศาสตราจารย์ ดร .สวภา เวชสุรักษ์ อาจารย์ประจา ภาควิชานาฏศิลป์ไทย คณะศิลปกรรม ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประดิษฐ์ผลงานทางรามาตรฐานขึ้นใหม่ให้ เพียงพอกับความต้องการของแหล่งวิชาการ และเพื่อเป็นการอนุรักษ์ รูปแบบการราเดี่ยวมาตรฐาน แบบราชสานักไทยให้ปรากฏ และ แพร่หลายในสังคมไทย รองศาสตราจารย์ ดร .สวภา เวชสุรักษ์ มี แรงบันดาลใจมาจากได้เรียน ได้แสดง บทบาทนางจินตะหราหลายครั้ง และมีความเห็นว่านางจินตะ หรานับว่าเป็นตัวเองสาคัญของเรื่องอิเหนา แต่กลับพบว่านางจินตะหราไม่มีบทบาทราแต่งตัวทั้งที่ใน บทพระราชนิพนธ์รัชกาลที่ 2 จะมีบทอาบน้าแต่งตั วของนางจินตะหรา ซึ่งเป็นบทที่ใช้ ร่วมกันกับประ ไหมสุหรี ซึ่งเหตุการณ์ตอนนั้นเป็นตอนที่นางจินตะหราแต่งองค์ทรงเครื่อง เพื่อที่จะเตรียมตัวไปเผาศพ พระอัยกา ด้ว ยเหตุนี้จึงเป็นแรง บันดาลใจที่ทาให้ผู้ประดิษฐ์ท่าราสนใจสร้างสรรค์งานชิ้นนี้ขึ้นมาเพื่อ ช่วยขยายบทบาทและความสาคัญของนางจินตะหราให้เด่นชัดขึ้นกว่าเดิม


แผนผังการสืบทอดและถ่ายทอดท่ารา ศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุรักษ์ ได้มีการถ่ายทอดกระบวนราเดี่ยวมาตรฐานชุด จินตะ หราทรงเครื่องให้กับนิสิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง มหาวิทยาลัยนเรศวร จานวน 4 คน ตามแผนภูมิดังต่อไปนี้ รองศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุรักษ์ นางสาวจุฑารัตน์ ศรีสละ นิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร ปี 2551

นางสาววิชชุดา ดวงเดช นิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร ปี 2554

นางสาวเกวลิน ทองแพ นิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร ปี 2558

นางสาวมัลลิกา กล้าการขาย นิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร ปี2561

จากแผนผัง จะเห็นได้ว่า รองศาสตราจารย์ ดร .สวภา เวชสุรักษ์ อาจารย์ประจา ภาควิชา นาฏยศิลป์ไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้มีการถ่ายทอดกระบวนการราเดี่ยว มาตรฐาน ชุดจิ นตะหราทรงเครื่อง ให้กับนิ สิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยตรง


บทที่ 3 วิธีดาเนินการสืบทอดและฝึกหัด วิธีการดาเนินการสืบทอดละฝึกหัดราเดี่ยวมาตรฐานชุด จินตะหราทรงเครื่อง มี ระยะเวลาการถ่ายทอดและฝึกหัดท่าราตั้งแต่เดือนกรกฎาคมถึงเดือนสิงหาคม ดังนี้

กระบวนการ

3.1 ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด ราเดี่ยวมาตรฐานชุด จินตะหราทรงเครื่อง ขั้นตอนและวิธีการถ่ายทอดท่าราและวิธีการฝึกหัดมี ดังนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียมการ -ศึกษาประวัติชุดการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ชุดจินตะหรา ทรงเครื่อง -ศึกษากระบวนท่าราด้วยตนเอง ขั้นที่ 2 ขั้นสืบทอดและฝึกหัด -ฝึกซ้อมท่ารากับอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนไปพบครูผู้ถ่ายทอดท่ารา -ฝึกซ้อมท่ารากับอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา -นาข้อคิดเห็นและคาแนะนาของครูผู้ถ่ายทอดท่ารามาปรับปรุงและฝึกซ้อมกับ อาจารย์ที่ปรึกษา -ฝึกซ้อมด้วยตนเอง ขั้นที่ 3 ขั้นแสดง -เตรียมตัวก่อนการแสดง -แสดงจริงบนเวที ขั้นที่ 4 ขั้นสรุปผล -จัดทารูปเล่มรายงานและบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร


3.2 ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด ตารางการฝึกซ้อมราเดี่ยวมาตรฐานชุด จินตะหราทรงเครื่อง มีกาหนดระยะเวลาการถ่ายทอดและ ฝึกหัดท่าราตั้งแต่วันที่ 30 มิถุนายน 2561 ถึงวันที่ 22 สิงหาคม 2561 โดยมีรายละเอียดการฝึกซ้อมรา ชุด จินตะหราทรงเครื่อง ดังตารางต่อไปนี้ วัน/เดือน/ปี 30 มิถุนายน 2561

เวลา 15.00 น.-17.00 น.

30 กรกฎาคม 2561

13.00 น.-15.00 น.

31 กรกฎาคม 2561

10.00 น.-12.00 น.

1 สิงหาคม 2561

13.00 น.-15.00 น.

7 สิงหาคม 2561

13.00 น.-15.00 น.

8 สิงหาคม 2561

13.00 น.-15.00 น.

9 สิงหาคม 2561

10.00 น.-12.00 น.

15 สิงหาคม 2561

13.00 น.-15.00 น.

22 สิงหาคม 2561

13.00 น.-15.00 น.

ขั้นตอน ศึกษากระบวนท่าราด้วย ตนเอง ฝึกซ้อมท่ารากับอาจารย์ ที่ปรึกษา ฝึกซ้อมท่ารากับอาจารย์ ที่ปรึกษา ฝึกซ้อมท่ารากับอาจารย์ ที่ปรึกษา ฝึกซ้อมท่ารากับอาจารย์ ที่ปรึกษา ฝึกซ้อมท่ารากับอาจารย์ ที่ปรึกษา ฝึกซ้อมท่ารากับครูผู้ ถ่ายทอดท่ารา ฝึกซ้อมท่ารากับอาจารย์ ที่ปรึกษา ฝึกซ้อมท่ารากับอาจารย์ ที่ปรึกษา

สถานที่ในการฝึกซ้อม IT ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร ภาควิชาศิลปะการแสดง มหาวิทยาลัยนเรศวร ภาควิชาศิลปะการแสดง มหาวิทยาลัยนเรศวร ภาควิชาศิลปะการแสดง มหาวิทยาลัยนเรศวร ภาควิชาศิลปะการแสดง มหาวิทยาลัยนเรศวร IT ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ ปทุมวัน IT ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร IT ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร

ตารางที่ 2 : ตารางการฝึกซ้อมราเดี่ยวมาตรฐานชุด จินตะหราทรงเครื่อ ง


3.3 อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด 1. ตั่งเล็ก 1 ตัว 2. ตั่งใหญ่ 1ตัว 3. ขันน้าใบใหญ่ 1 ใบ 4. ขันน้าเล็ก 1ใบ 5. เครื่องราชูปโภค 2ชุด 6. ผอบ 2 อัน 7. ขวดน้าหอม 1 ขวด 8. กระจก 1 บาน 9. พานวางแหวน 1 ใบ 10. พานวางขันน้าใบใหญ่ 1 ใบ


บทที่ 4 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด จินตะหราทรงเครื่อง 4.1 ประวัติความเป็นมาของการแสดง ราเดี่ยวมาตรฐาน ชุดจินตะหราทรงเครื่องสร้าง สรรค์ ขึ้นโดย รองศาสตราจารย์ ดร .สวภา เวชสุ รักษ์ มีแรงบันดาล ใจมาจากการที่ ได้เรียน ได้แสดง และได้ชมการแสดงบทบาทนางจินตะหราหลายครั้ง และมีความเห็นว่านางจินตะหรานับว่าเป็นตัวเองสาคัญของเรื่องอิเหนา แต่กลับพบว่านางจินตะหราไม่มี บทบาทราแต่งตัวทั้งที่ในบทพระราชนิพนธ์รัชกาลที่ 2 จะมีบทอาบน้าแต่งตั วของนางจินตะหรา ซึ่งเป็นบท ที่ใช้ ร่วมกัน กับประไหมสุหรี ซึ่งเหตุการณ์ตอนนั้นเป็นตอนที่นางจินตะหราแต่งองค์ทรงเครื่อง เพื่อที่จะ เตรียมตัวไปเผาศพพระอัยกา ด้วยเหตุนี้จึงเป็นแรงจูงใจที่ทาให้ผู้ประดิษฐ์ท่าราสนใจสร้างสรรค์งานชิ้นนี้ ขึ้นมาเพื่อช่วยขยายบทบาทและความสาคัญของนางจินตะหรา 4.2 เรื่องย่อของการแสดง จินตะหราเป็นพระธิดาท้าวหมันหยากับนางจินดาส่าหรีประไหมสุหรี เกิดในปีเดียวกับอิเหนาแต่ อ่อนเดือนกว่า จึงมีฐานะเป็นน้อง และด้วยความงามของนางทาให้อิเหนาหลงใหลจนไม่อยากกลับบ้าน เพียรพยายามใกล้ชิดกับจินตะหรา อิเหนามีคู่หมั้นชื่อนางบุษบา ขณะที่จะอภิเษกสมรส อิ เหนาได้หนี ออกไปประพาสป่า และได้ปลอ มตัวเป็นโจรชื่อ ปันหยี เดินทางไ ปเมืองหมันหยา ระหว่างทางได้พบเจ้า เมืองรายทางได้ถวายพระธิดา คือ นางสการะวาตี กับนางมาหยารัศมีให้เป็นข้ารับใช้ อิเหนาได้สู่ขอนางจิน ตะหรา แต่ท้าวหมันหยาไม่กล้ายกให้ บอกให้อิเหนาไปคุยกับนางจินตะหราเอง อิเหนาไม่ยอมอ ภิเษกกับ บุษบา ท้าวดาหาโกรธจึงรับสั่งว่าใครมาสู่ขอจะยกให้ จรกาได้มาสู่ขอ และได้เกิดศึกชิงนางบุษบา การแสดงรา เดี่ยวชุด จินตะหราทรงเครื่อง เป็นการแสดงที่ได้ตัดตอนมาจากบทละครในเรื่อง อิเหนา ตอน อิเหนาพบนางจินตหรา เมื่อครั้งที่พระอัยกาของอิเหนา ซึ่งอยู่ที่เมืองหมันหยาได้เสียชีวิต เมืองทั้ง 4 ได้ให้อิเหนาเป็นผู้ช่วยงานพระศพแทน จึงทาให้อิเหนาได้พบกับนางจินตะหรา แต่ครั้นเมื่อเสร็จ งานแล้วอิเหนาไม่ยอมกลับเมืองเพราะด้วยหลงรักนางจินตะหรา ในการแสดงชุด จินตะหราทรงเครื่องนี้ บทที่เชื่อมโยงมาจาการตีบทตอนที่ประไหมสุหรีตรัสชวนนางจินตะหราไปอาบน้าแต่งตัวเพื่อที่จะเตรียมตัว ไปเผาพระศพพระอัยกา โดยบทที่ใช้ในการแสดง เป็นบทพระราชนิพนธ์ในรัชกาล 2 ประดิษฐ์ท่ารา โดย รองศาสตร าจารย์ ดร .สวภา เวชสุรักษ์ แต่งทา นองโดย อาจารย์ไกรฤทธิ์ กันเรือง จินตะหราทรงเครื่อง


จัดเป็นการราชุดหนึ่งที่กระบวนการราที่มีลีลาอ่อนช้อยงดงามตามแบบแผนทางด้านนาฏศิลป์ ไทย โดยมี เนื้อร้องและทานองเพลงดังนี้ บทร้อง/ทานองเพลง -ปี่พาทย์ทาเพลงเสมอองค์กษัตริย์ขัดสีฉวีวรรณ ผิวพรรณงามดุจดั่งเดือนฉาย ทรงอุหรับจับกลิ่นอบอาย น้ากุหลาบละลายกรายกรีดนิ้ว กวดเกล้าเปลาปลายพระฉายส่อง ผัดพักตร์นวลละอองผ่องผิว ทรงภูษายกแย่งแพลงพริ้ว ห่มริ้วทองทับซับใน -ร้องเพลงสีนวลสร้อยสะอิ้งสังวาลบานพับ ตาบประดับมรกตสดใส ทองกรแก้วมณีเจียระไน สอดใส่เนาวรัตน์ธามรงค์ ทรงมงกุฎสาหรับพระธิดา ห้อยอุบะบุหงาตันหยง งามสะพรั่งพร้อมสรรพบรรจง พระโฉมยงเสด็จไคลคลา -ปี่พาทย์ทาเพลงฉิ่ง4.3 ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง วงปี่พาทย์ เครื่อง 5 ประกอบไปด้วยเครื่องดนตรีดังต่อไปนี้ 1.ระนาดเอก 2.ฆ้องวงใหญ่ 3.ระนาดทุ้ม 5.ตะโพน 6.กลองทัด

4.ฉิ่ง

4.4 ฉากและองค์ประกอบการแสดง อุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบการแสดงประกอบไปด้วยเตียงเล็กสาหรับใช้นั่งอาบน้าในช่วงแรกที่ พูดถึงการอาบน้า 1 ตัว เครื่องอาบน้า 1 ชุดที่ประกอบไปด้วยขันน้าใบให ญ่สาหรับใส่น้าและขันเล็กเพื่อใช้ ในการตักน้า เครื่องราชูปโภค 1 ชุดประกอบไปด้วย ผอบ 2 อัน ขวดน้าหอม 1 อันใช้ในการขัดตัวในตอน อาบน้า เตียงใหญ่ใช้สาหรับนั่งแสดง ในช่วงหลังจากอาบน้าเพื่อทาการแต่งองค์ทรงเครื่องก่อนที่จะไปชม ความงามของเครื่องประดับ และมีเครื่องราชูปโภคอยู่บนตั่ง 1 ชุด ประกอบไปด้วย ผอบ 2 อัน ขวด น้าหอม 1 อัน กระจก 1 บาน ใช้สาหรับตีบทของเนื้อเพลงที่มีการกล่าวถึงการส่ องกระจกและการแต่งองค์ ทรงเครือ่ ง ธามรงค์ พร้อมพานรอง ใช้สาหรับตีบทตามเนื้อเพลงที่กล่าวการสวมใส่ธามรงค์


4.4.2 อุปกรณ์การแสดง 1.เตียงใหญ่ 1 ตัว

ภาพที่ 2 เตียงใหญ่ บันทึกภาพโดย นางสาว มัลลิกา กล้าการขาย,วันที่ 22 สิงหาคม 2561 2.เตียงเล็ก 1 ตัว

ภาพที่ 3 เตียงเล็ก บันทึกภาพโดย นางสาว มัลลิกา กล้าการขาย,วันที่ 22 สิงหาคม 2561


3. เครื่องราชูปโภค 2ชุด

ภาพที่ 4 เครื่องราชูปโภค บันทึกภาพโดย นางสาว มัลลิกา กล้าการขาย,วันที่ 22 สิงหาคม 2561

4. ขันน้าพานรอง 2 ชุด

ภาพที่ 5 ขันน้าพานรองใช้สาหรับลงสรง บันทึกภาพโดย นางสาว มัลลิกา กล้าการขาย,วันที่ 22 สิงหาคม 2561


5. พานวางแหวน 1 ชุด

ภาพที่ 6 พานวางแหวน บันทึกภาพโดย นางสาว มัลลิกา กล้าการขาย,วันที่ 22 สิงหาคม 2561 4.5 เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้าการแสดงราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทยชุดจินตะหรา ทรงเครื่อง

ภาพที่ 7 เครื่องแต่งกายจินตะหราทรงเครื่อง บันทึกภาพโดย นางสาวสุนิสา แสงพล,วันที่ 31 สิงหาคม 2561


เครื่องแต่งกาย 1.สวมรัดเกล้ายอดและจอนหูท้ายช้อง

ภาพที่ 8 รัดเกล้ายอดและจอนหูท้ายช้อง บันทึกภาพโดย นางสาวศรศิลป์ วันชะนะ,วันที่ 31 สิงหาคม2561 2.ดอกไม่ทัด+อุบะ

ภาพที่ 9 ดอกไม้ทัดและอุบะ บันทึกภาพโดย นางสาวเกวลิน ทองแพ,วันที่ 16 ตุลาคม 2558


3.ผ้าห่มนางสีขาวขลิบเหลืองนวล

ภาพที่ 10 ผ้าห่มนางขลิบเหลืองนวล บันทึกภาพโดย นางสาวมัลลิกา กล้าการขาย,วันที่ 31 สิงหาคม 2561 4.กรองคอสีเหลืองนวล

ภาพที่ 11 กรองคอสีเหลืองนวล บันทึกภาพโดย นางสาวมัลลิกา กล้าการขาย,วันที่ 31 สิงหาคม 2561


5.ผ้ายกสีขาว

ภาพที่ 12 ผ้ายกสีขาว บันทึกภาพโดย นางสาวมัลลิกา กล้าการขาย,วันที่ 31 สิงหาคม 2561

6. จี้นาง(ทับทรวง)

ภาพที่ 13 จี้นาง(ทับทรวง) บันทึกภาพโดย นางสาวมัลลิกา กล้าการขาย,วันที่ 31 สิงหาคม 2561


7. สะอิ้ง

ภาพที่ 14 สะอิ้ง บันทึกภาพโดย นางสาวมัลลิกา กล้าการขาย,วันที่ 31 สิงหาคม 2561

8. รัดต้นแขน

ภาพที่ 15 รัดต้นแขน บันทึกภาพโดย นางสาวมัลลิกา กล้าการขาย,วันที่ 31 สิงหาคม 2561


9. กาไลแผง

ภาพที่ 16 กาไลแผง บันทึกภาพโดย นางสาวมัลลิกา กล้าการขาย,วันที่ 31 สิงหาคม 2561 10.ปะวะหล่า

ภาพที่ 17 ปะวะหล่า บันทึกภาพโดย นางสาวมัลลิกา กล้าการขาย,วันที่ 31 สิงหาคม 2561


11.แหวนรอบ(มือ/เท้า)

ภาพที่ 18 แหวนรอบ(มือ/เท้า) บันทึกภาพโดย นางสาวมัลลิกา กล้าการขาย,วันที่ 31 สิงหาคม 2561 12.เข็มขัดและหัวเข็มขัด

ภาพที่ 19 เข็มขัดและหัวเข็มขัด บันทึกภาพโดย นางสาวมัลลิกา กล้าการขาย,วันที่ 31 สิงหาคม 2561


13.ธามรงค์

ภาพที่ 20 ธามรงค์ บันทึกภาพโดย นางสาวมัลลิกา กล้าการขาย,วันที่ 31 สิงหาคม 2561 14. กาไลข้อเท้า

ภาพที่ 21 กาไลข้อเท้า บันทึกภาพโดย นางสาวมัลลิกา กล้าการขาย,วันที่ 31 สิงหาคม 2561


4.7 กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่

ลาดับ เพลง 1 ปี่พาทย์ทาเพลง เสมอ

2

ภาพ

คาอธิบาย ขยัน่ เท้าออกเท้าขวา ไขว้ด้านหน้ามือซ้ายตั้ง วงบน มือขวาจีบ บนยาวแขนตึงระดับ ไหล่ เอียงศีรษะ ทางขวา นับ 1 ก้าวเท้าซ้าย ขยัน่ เท้า มือซ้ายจีบปรกข้าง มือ ขวาตั้งวงล่าง เอียง ศีรษะทางซ้ายนับ 2 ทาสลับกัน 5 ครั้ง


ลาดับ 3

เพลง

ภาพ

คาอธิบาย วางเท้าซ้ายด้านหลัง มือซ้ายจีบคว่าแขนตึง ระดับไหล่ มือขวาตั้ง วงล่าง เอียงศีรษะ ทางซ้าย วางเท้าขวาด้านหลัง ลากมือขวา ทาท่านาง นอน เอียงขวา ทาท่า ในภาพที่ 3 และ 4 อีก4 ครั้งแล้วเดินถอย หลังในท่านางนอน 3 ก้าว

4

หันทางขวา ยกเท้า ซ้าย มือซ้ายส่งจีบหลัง มือขวาตั้งวงบน เอียง ศีรษะทางซ้าย หน้า มองนอกเวที

5

หันหน้าทางเดินอยู่ วางเท้าซ้ายลงจรดเท้า ขวามือซ้ายจีบคว่าแล้ว กลายเป็นวงบัวบาน มือขวาตั้งวงแขนตึง ระดับไหล่ เอียงศีรษะ ทางซ้ายแล้ววิ่งเป็น


ลาดับ

เพลง

ภาพ

คาอธิบาย วงกลม

6

หันหน้าตรง ปะเท้า ขวา มือขวาจีบปรก ข้าง มือซ้ายตั้งวงกลาง เอียงศีรษะทางซ้าย

7

วางเท้าขวาลง มือขวา กรายจีบเป็นตั้งวง มือ ซ้ายหงายวงระดับเอว ในท่าผาลา เอียงศีรษะ ทางขวา แล้วลักคอ ตามจังหวะ


ลาดับ 8

เพลง

ภาพ

คาอธิบาย ย้อนตัวครั้งที่ 1 ทิ้ง น้าหนักไปด้านหลัง ลากแขนซ้ายมาตั้งวง ชายพก ลักคอขวา

ย้อนตัวครั้งที่ 2 ทิ้ง น้าหนักมาด้านหน้า ลากแขนซ้ายกลับไป ท่าผาลา ลักคอซ้าย ทาท่าย้อนตัวทั้งหมด 6 ครั้ง ตามจังหวะ

9

ทิ้งน้าหนักที่เท้าขวา ลากฉายเท้าซ้าย มือ ขวาอยู่ในท่าเดิม ฉาย แขนซ้ายออกเป็นแขน ตึงเอียงศีรษะทางขวา วางเท้าขวาด้านหลัง ฉายเท้าซ้าย

10

มือซ้ายลากมาเป็นตั้ง วงบน มือซ้ายฉาย ออกเป็นหงายวงแขน ตึงเอียงศีรษะซ้าย แล้ว ซอยเท้า วิ่งขึ้นเตียง


ลาดับ

เพลง

11

12

องค์กษัตริย์ขัดสี

ภาพ

คาอธิบาย อาบน้า ขึ้นเตียงนั่งคุกเข่า วางมือทั้งสองข้างที่ หน้าขาขวา เอียงศีรษะ ขวา

แยกเข่าขวาออกเอียง ซ้าย มือซ้ายอยู่ใน ลักษณะเดิม มือขวาไป จับขันน้า เอียงขวา กลับมาหันหน้าตรง แยกเข่าซ้ายออก มือ ซ้ายอยู่ในลักษณะเดิม มือขวาจับทาท่ารดน้า ที่ไหล่ซ้ายเอียงซ้าย


ลาดับ เพลง 13 ฉวีวรรณ

ภาพ

คาอธิบาย กลับไปทาท่ารดน้าอีก ครั้งแล้วลาดที่ไหล่ขวา

14

ผิวพรรณ

แยกเข่าซ้ายออก มือ ทั้งสองจีบหงายแขนตึง เอียงศีรษะทางซ้าย

15

งามดุจ

แยกเข่าขวาออก มือ ทั้งสองตั้งวงแขนตึง ระดับไหล่ลักคอขวา

ทานอง

แยกเข่าซ้ายออก มือ ทั้งสองจีบหงายแขนตึง เอียงศีรษะทางซ้าย


ลาดับ เพลง 16 ดั่งเดือนฉาย

ภาพ

คาอธิบาย แยกเข่าขวาออก มือ ทั้งสอง ชี้นิ้วชี้ ตั้งวง บนกระดกเท้าเสี้ยวเท้า ซ้าย เอียงซ้าย

17

ทานองรับ

แยกเข่าซ้ายออก มือ ซ้ายอยู่ในลักษณะเดิม มือขวาจับขันทาท่ารด น้า ที่ไหล่ขวาเอียงขวา

18

ทรงอุหรับ

เปิดผอบ ด้วยมือขวา ทาท่า มือแตะผงแล้วถู มือทั้งสองข้าง


ลาดับ เพลง 19 จับกลิ่น

ภาพ

คาอธิบาย ใช้มือขวาลูบที่ใบหน้า ทั้งสองข้าง เอียงตาม มือข้างที่ลูบแก้ม

20

อบอาย

มือขวาวางไว้ที่หน้าขา ขวา มือซ้ายตั้งวงหน้า เอียงซ้ายแล้วลากมา พร้อมกดจีบมาที่จมูก เอียงซ้าย

21

น้ากุหลาบละลาย

เทน้าหอมออกจาก ขวด ใช้มือขวา เอียง ซ้าย

นามือทั้งสองมาถูกันที่ อก เอียงซ้าย


ลาดับ เพลง 22 กรายกรีดนิ้ว

ภาพ

คาอธิบาย ท่าทาน้าหอม โดยนา มือทั้งสองลูบแขนไขว้ กัน เอียงขวา

23

ทานองรับ

ก้าวเท้าซ้ายลงเตียง วิ่ง ซอยเท้าไปขึ้นเตียง แต่งตัวนั่งคุกเข่าหันตัว ทางซ้าย

24

กวดเกล้า เปลาปลาย

หันหน้าไปทาง ด้านซ้าย แยกเข่าซ้าย ออก มือซ้ายตั้งวงบน เหนือศีรษะ มือขวาจีบ คว่าวงบนเหนือศีรษะ เอียงซ้าย


ลาดับ

เพลง

ภาพ

คาอธิบาย หันหน้าไปทางด้านขวา แยกเข่าขวาออก มือ ขวาตั้งวงบนเหนือ ศีรษะ มือซ้ายจีบคว่า วงบนเหนือศีรษะเอียง ขวา

25

พระฉายส่อง

วางมือทั้งสองลงที่หน้า ขา โน้มตัวไปด้านหน้า เล็กน้อยเป็นท่ามอง กระจก

26

ผัดพักตร์

เปิดฝาผอบด้วยมือขวา แล้วทาท่าแตะแป้ง เอียงซ้าย


ลาดับ เพลง 27 นวลละออง -ทานอง-

ภาพ

คาอธิบาย แยกเข่าซ้ายออก ใช้ มือขวาทาท่าทาแป้งที่ แก้มซ้าย เอียงซ้าย แยกเข่าขวาออก ใช้มือ ขวาทาท่าทาแป้งลูบที่ แก้มขวา เอียงขวา

28

ผ่องผิว

มือทั้งสองจีบที่อก เอียงขวาแล้วกระดก เสี้ยวเท้าซ้าย มือขวา ตั้งวงบน มือซ้ายตั้งวง แขนตึงระดับไหล่ เอียง ซ้าย

29

ทานองรับ

ทาท่าลงจากเตียง ยก ตัวขึ้นมือซ้ายจีบคว่า ระดับอก มือขวาตั้งวง ระดับอก ก้าวเท้าซ้าย ลงเตียง เอียงซ้าย ซอย เท้าไปด้านหน้า ก้าวหน้าเท้าขวา มือ ซ้ายตั้งวงบน มือขวา จีบส่งหลัง แขนตึง เอียงซ้าย


ลาดับ เพลง 30 ทรงภูษา

ภาพ

คาอธิบาย ก้าวหน้าเท้าซ้ายมือ ซ้ายตั้งวงระดับหัวเข็ม ขัดมือขวาตั้งวงระดับ หัวเข็มขัดเอียงซ้าย

ก้าวเท้าขวาเปลี่ยน เอียงแล้วกระดกเท้า หลังเท้าซ้าย มือซ้าย เปลี่ยนเป็นตังวงมือ ขวาเปลี่ยนเป็นจีบ ระดับเดิม 31

ยกแย่ง

ยกเท้าซ้าย มือขวา เปลี่ยนเป็นจีบ มือซ้าย ตั้งวงกลับเอียงซ้าย

32

ทานอง

วางเท้าซ้ายลง ด้านหน้า ขยั่นเท้าไป ทางซ้ายเล็กน้อยค่อยๆ ปล่อยจีบออกมาเป็น หงายมือพร้อมกับเอียง ขวา ซอยเท้าไปทางขวา เล็กน้อยค่อยๆปล่อย


ลาดับ

เพลง

ภาพ

คาอธิบาย จีบออกมาเป็นหงาย มือพร้อมกับเอียงซ้าย ถอนเท้าขวา แล้วก้าว เท้าซ้าย มือขวาจีบ แล้วกรายออกเป็นตั้ง วง ระดับหน้าขา มือ ซ้ายจีบส่งหลัง ลักคอ ขวา

33

แพลงพลิ้ว

34

ห่มริ้วทองทับ

ถอนเท้าขวา มือซ้าย จีบระดับอก มือขวาตั้ง วงระดับอก ก้าวเท้า ซ้ายลง เอียงขวา หันหน้าไปทางขวา เล็กน้อยมือขวาจีบที่ ไหล่ซ้าย มือซ้ายจีบส่ง หลัง เอียงซ้ายแล้ว ขยั่นเท้า วิ่งรอบตัวเอง 1 รอบ

35

ซับใน

ก้าวเท้าขวากระดกเท้า ซ้าย มือซ้ายจีบพร้อม กับจับผ้าห่มนางยกขึ้น มือขวาจีบหงายชาย พกศีรษะเอียงขวามอง ทีผ่ า้


ลาดับ เพลง 36 ทานองรับ

ภาพ

คาอธิบาย ท่าโบก

37

ทานองรับ

ท่าช้านางนอน มือซ้าย ตั้งวงหงายด้านข้าง มือ ขวาตั้งวงหน้าชายพก เอียงขวา

38

ทานองรับ

ท่าแผลงศร มือขวาจีบ ปรกข้าง มือซ้ายตั้งวง แขนตึงระดับไหล่ เอียง ขวา

39

ทานองรับ

จีบซ้าย มือขวาจีบคว่า แขนตึงระดับไหล่ มือ ขวาตั้งวงระดับชายพก เอียงซ้าย


ลาดับ เพลง 40 ทานองรับ

ภาพ

คาอธิบาย ท่าช้านางนอน มือขวา ตั้งวงหงายด้านข้าง มือ ซ้ายตั้งวงหน้าชายพก เอียงขวา ท่าแผลงศรหันหน้า ตรงมือซ้ายจีบปรกข้าง มือขวาตั้งวงแขนตึง ระดับไหล่เอียงซ้าย

41

ทานองรับ

จีบซ้าย มือขวาจีบคว่า แขนตึงระดับไหล่ มือ ขวาตั้งวงระดับชายพก เอียงซ้าย

42

ทานองรับ

ท่าโบก


ลาดับ เพลง 43 -เพลงสีนวลสร้อยสะอิ้ง

ภาพ

คาอธิบาย ถอนเท้าขวาหันหน้าไป ทางขวา ก้าวเท้าซ้าย ด้านหน้า มือทั้งสอง ทาท่าสอดสร้อยมาลา เอียงซ้าย

สังวาล

ก้าวเท้าขวาด้านหน้า พร้อมกับหันหน้าตรง เปลี่ยนมือสอดสร้อย

44

ทานองรับ

ก้าวข้างเท้าซ้าย ยก เท้าขวาหันหน้าไป ทางขวา มือขวาตั้งวง แขนตึงระดับไหล่ มือ ซ้ายจีบหงายที่ต้นแขน เอียงขวา

45

บานพับ

วางเท้าขวาลง ยกเท้า ซ้ายหันหน้าไปทางซ้าย มือซ้ายตั้งวงแขนตึง ระดับไหล่ มือขวาจีบ หงายที่ต้นแขนเอียงซ้าย


ลาดับ เพลง 46 ตาบประดับ

ภาพ

คาอธิบาย วาดเท้าซ้ายลง หนัก หน้ามือทั้งสอง หงาย ไขว้มือระดับอก ลักคอ ขวา

มรกต

ทิ้งน้าหนักด้านหลัง มือทั้งสองตั้งวงไขว้ เหมือนเดิมลักคอซ้าย

47

เอื้อน

ก้าวข้างเท้าขวาไป ทางขวามือทั้งสองจีบ หงาย ลักคอซ้าย

48

เอื้อน

เดินเรียงเท้าไป ทางขวา มือทั้งสองตั้ง วง ลักคอขวา


ลาดับ เพลง 49 สดใส

ภาพ

คาอธิบาย ซอยเท้าทางซ้าย มือ ทั้งสองจีบที่อก เอียง ขวา ก้าวเท้าขวา ด้านหน้า กระดกเท้า ซ้าย มือขวาออกเป็น ท่า พิศสมัยเรียงหมอน ลักคอขวา ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิ้ง น้าหนักด้านหน้า มือ ขวาจีบหงาย แขนตึง ระดับไหล่ มือซ้ายตั้ง วงหน้าชายพก ลักคอ ขวา

50

ทองกร

51

แก้วมณี

ทิ้งน้าหนักด้านหลังมือ ซ้ายจีบหงายแขนตึง ระดับไหล่ มือขวาตั้ง วงหน้าชายพก ลักคอ ซ้าย

52

เอื้อน

แตะเท้าขวา ซอยเท้า ซ้าย มือขวาจีบหงาย แขนตึงระดับไหล่ มือ ซ้ายตั้งวงแขนตึงระดับ ไหล่ เอียงมอง มือจีบ


ลาดับ 53

เพลง

ภาพ

คาอธิบาย ซอยเท้า มือซ้าย จีบ หงายแขนตึงระดับไหล่ มือขวาตั้งวงแขนตึง ระดับไหล่ เอียงมอง มือจีบ

54

เมื่อกลับมาทาจีบ ด้านขวา ให้ซอยเท้า พร้อมกับหันไป ทางขวาแล้วทาอีกครั้ง หันหน้าตรง

55

มือทั้งสองจีบด้านหน้า ฉายเท้าซ้าย เอียงขวา มือทั้งสองตั้งวง ด้านหน้า ฉายเท้าขวา เอียงซ้าย

56

เจียระไน

ก้าวข้างเท้าซ้าย มือทั้ง สองจีบหงายด้านหน้า แขนตึงเอียงขวา ซอย เท้าไปนั่งที่เตียง


ลาดับ เพลง 57 สอดใส่เนาวรัตน์ -ทานอง-

ภาพ

คาอธิบาย ขึ้นนั่งคุกเข้าที่เตียง หันหน้าหากระจกมือ ซ้ายหยิบแหวนมาสวม ที่มือขวา

58

ธามรงค์

มือซ้ายตั้งวงมือขวาจีบ ปล่อยแล้วกลับมาจีบที่ แหวนหน้ามองแหวน

59

ทรงมงกุฎสาหรับ -ทานอง-

ทั้งสองมือทาท่าบัว บานเก็บมือท่าตัวนาง แล้ว ลักคอส่องกระจก


ลาดับ เพลง 60 พระธิดา

ภาพ

คาอธิบาย ลงจากเตียงซอยเท้ามา ด้านหน้าแล้วก้าวหน้า เท้าซ้าย มือซ้ายจีบ เข้าอก มือขวา จีบส่ง หลังเอียงซ้าย

61

ห้อยอุบะบุหงา

ก้าวหน้าเท้าขวา กระดกหลังเท้าซ้าย มือขวาจีบส่งหลัง มือ ซ้ายจีบปรกข้าง เอียง ซ้าย

62

ทานอง

ปล่อยมือซ้ายออกเป็น ตั้งวง ทาซ้า 2 ครั้ง

63

ตันหยง

วางเท้าซ้าย เดี่ยวหน้า นาง เท้าขวา มือขวา จีบหงายแขนตึงระดับ ไหล่ มือซ้ายจีบปรก ข้าง เอียงขวา


ลาดับ เพลง 64 งามสะพรั่ง

ภาพ

คาอธิบาย วางเท้าขวาด้านข้าง หันไปทางขวา ยกเท้า ซ้าย มือขวาเป็นวงบัว บาน มือซ้ายตั้งวงหน้า ชายพก เอียงซ้าย กัน หน้าออกนอก

65

พร้อมสรรพ

วางเท้าซ้าย ด้านข้าง หันไปทางซ้าย ยกเท้า ขวา มือซ้ายเป็นวงบัว บาน มือขวาตั้งวงหน้า ชายพก เอียงขวา หัน หน้าออกนอก

66

เอื้อน

วางหน้าเท้าขวา ด้านหน้า มือขวา เปลี่ยนเป็นหงายมือ ระดับชายพก มือซ้าย แทงมือออกเป็นตั้งวง ลักคอซ้าย

67

เอื้อน

ทิ้งน้าหนักไปด้านหลัง มือขวาตั้งวงระดับชาย พก มือซ้ายแทงมือเป็น วงบัวบาน ลักคอขวา หน้ามองมือสูง


ลาดับ เพลง 68 บรรจง

ภาพ

คาอธิบาย ย้าเท้าขวา กระดกเท้า ซ้าย มือขวาวงบัวบาน มือซ้ายตั้งวงด้านหน้า เอียงขวา

69

พระโฉมยงเสด็จ

นาเท้าที่กระดก ก้าวหน้า ในท่าเดิน ลัก คอ

70

เอื้อน

เดินหน้าเท้าขวา มือ ซ้ายจีบแล้วปล่อยเป็น ตั้งวงระดับอก มือขวา จีบส่งหลัง

71

เอื้อน

เดินหน้าเท้าซ้าย มือ ขวาจีบแล้วปล่อยเป็น ตั้งวงระดับอก มือซ้าย จีบส่งหลัง


ลาดับ เพลง 72 ไคลคลา

73

-เพลงฉิ่ง-

ภาพ

คาอธิบาย ขยั่นเท้าขวาด้านหน้า ไปทางซ้ายเล็กน้อย มือขวาจีบระดับวงสูง มือซ้ายจีบระดับชาย พก เอียงขวา แล้ว กลายมือทั้งสอง ออกเป็นวง เพลงฉิ่ง หันทางขวา ยกเท้าซ้าย มือขวาจีบ ปรกข้าง มือซ้ายตั้งวง แขนตึงระดับไหล่ เอียง ซ้าย หน้ามองมือจีบ

74

วางเท้าซ้ายด้านข้าง มือขวาม้วนจีบ ออกเป็นตั้งวงบน มือ ซ้ายพลิกมือเป็นหงาย วงแขนตึง เอียงขวา

75

ถัดเท้าขวา พร้อมกับ ส่ายมือซ้าย เดินขึ้น 3 ครั้ง เดินลง 3 ครั้ง ถัดเท้าขวา ส่ายมือขวา เดินลง ในแนวเฉียง จนหมดจังหวะ


ลาดับ 76

เพลง

ภาพ

คาอธิบาย ก้าวหน้าเท้าขวา มอง มือจีบคว่าด้านหน้า มือซ้ายตั้งวง ด้านหน้า มือขวาจีบคว่าเอียง ซ้าย ก้าวข้างเท้าซ้าย กราย มือจีบออกเป็นตั้งวง มือซ้ายจีบส่งหลัง เอียงขวา ซอยเท้าเข้าหลังเวที ลดมือที่ตั้งวงบนลงมา ระดับชายพก

ตารางที่ 3 : ตารางบันทึกท่ารา 4.8 กลวิธีในการรา การแสดงราเดี่ยวมาตรฐานชุดจินตะหราทรงเครื่องเป็นการกล่าวถึงขั้นตอนการอาบน้าสามารถ แบ่งได้ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 อาบน้าชาระร่างกาย ขั้นตอนที่ 2 การทาแป้ง ประพรมน้าหอมตามลาตัว ขั้นตอนที่ 3 การเกล้าผม ขั้นตอนที่ 4 การผัดหน้า ขั้นตอนที่ 5 การนุ่งผ้า และห่มสไบ ขั้นตอนที่ 6 การใส่เครื่องประดับตามลาดับได้แก่ สังวาล กาไลต้นแขน กาไลข้อมือ แหวนนพเก้า ขั้นตอนที่ 7 สวมมงกุฎติดอุบะดอกไม้ จะเห็นได้ว่าการลงสรงนั้นเป็นจะกล่าวถึงการอาบน้าตั้งแต่ชาระร่างกายจนไปถึงการแต่งตัวใส่ เครื่องประดับต่างๆและเป็นการชมความงามของตัวเองไปด้วย จึงต้องอาศัยเทคนิคในการราโดย ต้องมี


ความอ่อนช้อย กดไหล่ กดเอว ลอยหน้าลอยตาให้ตัวเองมีความรู้สึกว่าตนเป็นตัวละครตัวนั้น การใช้สีหน้า นักแสดงจะต้องรู้สึกมีความสุขเบิกบานใจในการอาบน้าและในการชมความงามของตนเอง และต้องใช้ สายตาในการสื่ออารมณ์ให้กับผู้ชม และต้องเข้าใจในบทของตัวละคร อุปนิสัยของตัวละครเพื่อสามารถ สวมบทบาทของตัวแสดงได้อย่างสมจริง


บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ บทสรุป นาฏศิลป์ไทยมีที่มาและเกิดจากสาเหตุแนวคิดต่างๆเช่น เกิดจากความรู้สึกกระทบกระเทือน ทางอารมณ์ไม่ว่าจะอารมณ์แห่งสุข หรือความทุกข์และสะท้อนออกมาเป็นท่าทางแบบธรรมชาติและ ประดิษฐ์ขึ้นมาเป็นท่าทางลีลาการฟ้อนรา และเป็นสาขาวิชาที่รวบรวมองค์ความรู้ทั้งทางศาสตร์และศิลป์ และเป็นการบูรณาการองค์ความรู้ที่งดงาม ทาให้ผู้ชมเกิดความประทับใจจึงทาให้มีการสืบทอดมาจน ปัจจุบัน การราเดี่ยวจึงเป็นการราอวดฝีมือและความสามารถในขั้นสูง ในการราเดี่ยวผู้แสดงจึงต้องใช้ ทักษะความสามารถในการ ราเพื่อเชิญชวนในผู้ชมติดตามโดยการแสดงอารมณ์ออกทางสีหน้าดวงตาและ ลีลาในการราที่อ่อนช้อยจึงจะสามารถสะกดผู้ชมให้ติดตามด้วยความเพลิดเพลินและประทับใจ การรา เดี่ยวนั้นเป็นการราอวดฝีมือชั้นสูง ทางสาขานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรจึงได้มีการจัดประเมินฝีมือของนิสิตชั้นปีที่ 4 สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชา ศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรโดยการจัดโครงการปริญญานิพนธ์การแสดงรา เดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย เพื่อเป็นการเผยแพร่ราเดี่ยวมาตรฐานในชุดต่างๆ สู่สาธ ารณชน และ เป็นการวัดผลตามวัตถุประสงค์ของรายวิชาอาศรมศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ไทย ในการวัดผลในครั้งนี้มีนิสิ ต เข้าร่วมรับการประเมินทั้งหมด 19 ชุดการแสดง ได้แก่ 1.ราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก 2.มณโฑทรงเครื่อง 3.ไกยเกษีทรงเครื่อง 4.พระลักษณ์ลงสรง 5.วิยะดาทรงเครื่อง 6.จินตะหราทรงเครื่อง 7.ปันหยีแต่งตัว 8.ดรสาทรงเครื่อง 9.รถเสนทรงเครื่อง 10.กุสุมาทรงเครื่อง 11.ฉุยฉายพราหมณ์ 12.ฉุยฉายศูรปนขา 13.กลมนารายณ์ 14.บุษบาชมศาล 15.สมิงพระรามแต่งตัว 16.ฉุยฉายนางวิฬาร์ 17.พระเจ้าปดุงตรวจพล 18.ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง 19.เกศสุริยงชมดง


นิสิตเป็นหนึ่งในผู้เข้ารับการประเมินผลในการสอบราเดี่ยวมาตรฐา นท้างด้านนาฏศิลป์ไทยใน วันที่ 31 สิงหาคม 2561 ได้แสดงเป็นลาดับที่ 6 ชุด จินตะหราทรงเครื่อง โดยได้รับการถ่ายทอดท่ารา จาก รองศาสตราจารย์ ดร.สวภา เวชสุรักษ์ อาจารย์ประจาภาควิชานาฏศิลป์ไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาหรับการสอบราเดี่ยวมาตรฐานท้างด้านนาฏศิลป์ไทยนั้ น จะต้องผ่านขั้นตอนในการรา ตามลาดับ คือ ผู้ราจะต้องผ่านการเรียนราขั้นพื้นฐาน และขัดเกลาฝีมือมาแล้วเป็นอย่างดี จึงจะสามารถ เข้า ร่วมการประเมินการสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ ไทยได้ ในการสอบราเดี่ยวมาตรฐาน ทางด้านนาฏศิลป์ไทยนั้นนิสิตต้องมีการเรื่องตัวละครและการแสดงราเดี่ย วที่มีความเหมาะสมกับตนเอง เพื่อ ที่จะสามารถดึงความเป็นตัวละครและศักยภาพของนิสิตออกมาได้อย่างเต็มที่ เพราะในการแ สดงรา เดี่ยวในแต่ละชุดจะมีท่วงท่าลักษณะในการราตลอดจนเทคนิคและลีลาท่าทางต่างๆที่เป็นแบบเฉพาะตัว ใน การรับการสืบทอดท่าราในการแสดงต่างๆผู้สอบทอดจะต้องมีวินัยในตัวเองและควรศึกษาถึงลักษณะตัว ละคร อารมณ์ในการแสดง อุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดง ตลอดจนบทเนื้อร้องที่อยู่ในชุ ดการแสดงต่างๆที่จะ สืบทอดด้วยนอกจากนี้ ความแข็งแรงของร่างกายและความขยันหมั่นเพียรในการซ้อมราและการตรงต่อ เวลาก็เป็นส่วนสาคัญในการต่อท่าราเช่นเดียวกัน ข้อเสนอแนะ 1.ผู้ราควรเตรียมความแข็งแรงของร่างกายให้พร้อมก่อนที่จะไปสืบทอดท่ารา 2.ผู้ราควรขยันฝึกซ้อมอย่างสม่าเสมอและฝึกการใช้อารมณ์เพื่อให้ผู้ชมเกิดความเพลิดเพลินและ เกิดความประทับใจ


บรรณานุกรม เกวลิน ทองแพ , (2558). “การสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด จินตะหรา ทรงเครื่อง) โครงการปริญญานิพนธ์ระดับปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขานาฏศิลป์ไทย มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเรศวร. เด่นนภา โพพิมล,(2557). “การสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด ไกยเกษี ทรงเครื่อง”โครงการปริญญานิพนธ์ระดับปริญญาศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขานาฏศิลป์ไทย มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเรศวร. ฑิฏา คงพัฒน์ ,(2552).“ราจินตะหราทรงเครื่อง,รามโนราห์บูชายัญ,ราไกยเกษีทรงเครื่อง,ราสาว เครือฟ้าแต่งตัว”กรุงเทพมหานคร : คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . วรรณพิณี สุขสม,(2544).รายงานเรื่องลงสรงโทนปันหยี รารวงสรงโทนของสี่กษัตริย์ .


ภาคผนวก


ภาพที่ 22 ถ่ายภาพร่วมกับครูผู้ถ่ายทอดท่ารา ที่มา: นางสาวมัลลิกา กล้าการขาย,วันที่ 9 สิงหาคม 2561

ภาพที่ 23 ถ่ายภาพร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษา ที่มา: นางสาวมัลลิกา กล้าการขาย,วันที่ 31 สิงหาคม 2561


ภาพที่ 24 นิสิตชั้นปีที่ 4 สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย รุ่นที่ 16 ที่มา: ทวีรักษ์ สุขสูงเนิน,วันที่ 31 สิงหาคม 2561

ภาพที่ 25 ภาพซ้อมใหญ่การสอบราเดี่ยวมาตรฐานชุด จินตะหราทรงเครื่อง ที่มา: ทวีรักษ์ สุขสูงเนิน,วันที่ 31 สิงหาคม 2561


ภาพที่ 26 ภาพการสอบราเดี่ยวมาตรฐานชุด จินตะหราทรงเครื่อง ที่มา:ทวีรักษ์ สุขสูงเนิน ,วันที่ 31 สิงหาคม 2561

ภาพที่ 27 ภาพการสอบราเดี่ยวมาตรฐานชุด จินตะหราทรงเครื่อง ที่มา:ทวีรักษ์ สุขสูงเนิน ,วันที่ 31 สิงหาคม 2561


ภาพที่ 28 คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์ประจาภาควิชานาฏศิลป์ไทยและนิสิตสาขาวิชา นาฏศิลป์ไทย ที่มา: ทวีรักษ์ สุขสูงเนิน ,วันที่ 31 สิงหาคม 2561



56

ประวัติผู้วิจัย


56

ประวัติผู้วิจัย ชื่อ – ชื่อสกุล วัน เดือน ปี เกิด ที่อยู่ปัจจุบัน ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558

มัลลิกา กล้าการขาย 10 ตุลาคม พ.ศ. 2539 212 หมู่ที่ 3 ต้าบลน้าซึม อ้าเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี 61000 จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนหนองฉางวิทยา เข้าศึกษาปริญญาตรี(สาขานาฎศิลปไทย) มหาวิทยาลัยนเรศวร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.