อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด บุษบาชมศาล

Page 1

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด บุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์)

ศิริพร แร่พรม

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทยฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2561


อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด “บุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์) ” ของ นางสาวศิริพร แร่พรม ได้รับการพิจารณาให้นับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต (นาฏศิลป์ไทย) คณะกรรมการอาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ...................................................................................................................อาจารย์ที่ปรึกษา (อาจารย์รัชดาพร สุคโต) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.รุ่งนภา ฉิมพุฒ) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.จิตติมา นาคีเภท) ...................................................................................................................กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประภาศรี ศรีประดิษฐ์) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์อุบลวรรณ โตอวยพร) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์ภูรติ า เรืองจิรยศ) อนุมัติ …………………...............……… (ดร.จิตติมา นาคีเภท) หัวหน้าภาควิชาศิลปะการแสดง


ประกาศคุณูปการ โครงการปริญญานิพนธ์ การเผยแพร่ราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด บุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์ ) ฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ทั้งนี้ต้องขอขอบพระคุณผู้ที่ให้ความเมตตา และ ความอนุเคราะห์ ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์อุษา แดงวิจิตร อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา ที่ได้กรุณาสละเวลาอันมี ค่า เพื่อถ่ายทอดท่าราให้คาแนะนา เกี่ยวกับกระบวนท่ารารวมทั้งรายละเอียดลีลาท่ารา ชุด บุษบาชม ศาล (ละครดึกดาบรรพ์) ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์ รัชดาพร สุคโต อาจารย์ที่ปรึกษา ที่ได้สละ เวลาให้คาแนะนาเกี่ยวกับการต่อท่ารา รวมถึงสละเวลาฝึกซ้อมให้กับนิสิต จนทาให้การสอบราเดี่ยว มาตรฐานนี้ประสบความสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอกราบขอบพระคุ ณ คณาจารย์ ป ระจ าสาขานาฏศิ ล ป์ ไ ทย ภาควิ ช าศิ ล ปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ให้ความกรุณาให้คาแนะนา ข้อคิด คาปรึกษาแก่ผู้รับการ ถ่ายทอด ขอกราบขอบพระคุณ นายเกษม แร่พรม (บิดา) และนางทองเพ็ชร แร่พรม (มารดา) ที่ส่งเสริม และเป็นกาลังใจให้ในการเรียนและการฝึกฝน จนส่งผลให้ผู้รับการถ่ายทอดประสบความสาเร็จอีกขั้น หนึ่ง รวมถึงสนับสนุนทุนทรัพย์ในการดาเนินโครงการตลอดมา ขอขอบคุ ณ นิ สิ ต สาขาวิ ช านาฏศิ ล ป์ ไ ทย ภาควิ ช าศิ ล ปะการแสดง คณะมนุ ษ ยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่มอบแรงกาย แรงใจ และช่วยเหลือให้การดาเนินโครงการสาเร็จลุล่วงไปได้ ด้วยดี สุดท้ายนี้ขอขอบคุณทุกสรรพสิ่งที่ทาให้เกิดเรื่องราวต่างๆ ขึ้นมาในชีวิตของผู้รับการถ่ายทอด ขอบคุณกาลังใจ ขอบคุณแรงกดดัน ขอบคุณเรื่องราวที่เข้ามาทาให้ผู้รับการถ่ายทอดเป็นบุคลากรที่มี ความอดทน ความตั้งใจเพิ่มมากขึ้น

ศิริพร แร่พรม


สารบัญ บทที่

หน้า

1 บทนา…………………………………………………………................................….……...…..…… ความสาคัญของการถ่ายทอดท่ารา....……………………….........…………….......……… วัตถุประสงค์......................................……………………….........…………….......……… วิธีดาเนินงาน.....................................……………………….........……………....…...…… ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ................……………………….........…………….......………

1 1 2 2 3

2 ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา............................................................................................. ประวัติส่วนตัว...................................……………………….........………....…………...… ประวัติการศึกษา................................……………………….........……………...………… ประวัติการทางาน..............................……………………….........………………………… ผลงานทางด้านวิชาการและการแสดง……………………….........……………...………… ประวัติการสืบทอดและการถ่ายทอดท่ารา……………..……….........………...………… แผนผังการสืบทอดและถ่ายทอดท่ารา.……………………….........…………....……...…

4 5 5 6 6 10 11

3 วิธีดาเนินการสืบทอดและฝึกหัด.............................................................................. ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด.......……………………….........………….……..……… ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด...........….........…………….......……… อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด......……………………….........……………....…...…… พัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด.……………………….........……………....……...…

13 13 15 17 17


สารบัญ (ต่อ) บทที่

หน้า

4 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด บุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์) ……………… ประวัติความเป็นมาของการแสดง………………..……….........……………....…………… เรื่องย่อของการแสดง……………………...................….........…………..…....…………… บทร้อง……………………….........……………....……...........................................……… ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง……………………….........…………….............…………… เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า……………………….........…………….........…………… นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง……………………….........……………................…………… กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่………………………................……………....……………

19 19 20 23 24 27 32 36

5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ.......................................................................................... บทสรุป................................……………………......………….....................…….………. ข้อเสนอแนะ………………………………........................……....…………………....……….

79 79 80

บรรณานุกรม.................................................................................................................

81

ภาคผนวก………………………....……………………………………….……………….....

82

ประวัติผู้วิจัย………………………………………………………….……………................

95


สารบัญตาราง ตาราง 1 2 3 4 5 6

หน้า ตารางดาเนินงาน………………………………....….......................…...………… ตารางขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด......……………….........………….... ตารางระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด..…....…..…………... ตารางองค์ประกอบเครื่องแต่งกาย......……………………....….........…….... ตารางนาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง………………………….......…................ ตารางกระบวนท่าราและการใช้พื้นที่ ……………………....……...…...........

2 14 15 28 33 37


สารบัญภาพ ภาพ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

หน้า ผู้ถ่ายทอดท่ารา อาจารย์อุษา แดงวิจิตร……………....……………........... รามเกียรติ์ ตอนสามนักขาหึง……………………………....……………........... รามเกียรติ์ ตอน เบญกายหึง….…………………………....………….............. อิเหนา ตอน บุษบาชมศาล………………………………....……………........... อุณรุท ตอน ศุภลักษณ์อุ้มสม……………………………....……………........... วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์..……………………………………....…….……….......... เครื่องแต่งกายชุด บุษบาชมศาล….……………………....………….............. อาจารย์อุษา แดงวิจิตร และนางสาวศิริพร แร่พรม............................ อาจารย์อุษา แดงวิจิตร และนางสาวศิริพร แร่พรม............................ อาจารย์อุษา แดงวิจิตร และนางสาวศิริพร แร่พรม............................ อาจารย์อุษา แดงวิจิตร และนางสาวศิริพร แร่พรม............................ อาจารย์อุษา แดงวิจิตร และนางสาวศิริพร แร่พรม............................ อาจารย์อุษา แดงวิจิตร และนางสาวศิริพร แร่พรม............................ อาจารย์อุษา แดงวิจิตร และนางสาวศิริพร แร่พรม............................ อาจารย์อุษา แดงวิจิตร และนางสาวศิริพร แร่พรม............................ อาจารย์อุษา แดงวิจิตร และนางสาวศิริพร แร่พรม............................ อาจารย์อุษา แดงวิจิตร และนางสาวศิริพร แร่พรม............................ อาจารย์ที่ปรึกษา และนางสาวศิริพร แร่พรม (วันซ้อมใหญ่)............... อาจารย์ที่ปรึกษา และนางสาวศิริพร แร่พรม (วันแสดงจริง)............... นางสาวศิริพร แร่พรม ผู้แสดงราเดี่ยวมาตรฐาน (วันซ้อมใหญ่)........... นางสาวศิริพร แร่พรม ผู้แสดงราเดี่ยวมาตรฐาน (วันซ้อมใหญ่)........... นางสาวศิริพร แร่พรม ผู้แสดงราเดี่ยวมาตรฐาน (วันแสดงจริง)........... นางสาวศิริพร แร่พรม ผู้แสดงราเดี่ยวมาตรฐาน (วันแสดงจริง)........... นางสาวศิริพร แร่พรม และเพื่อนๆ สาขานาฏศิลป์ไทย รุ่นที่ 16...... นางสาวศิริพร แร่พรม และเพื่อนๆ สาขานาฏศิลป์ไทย รุ่นที่ 16...... คณะกรรมการ คณาจารย์ และนิสิตผู้แสดงราเดี่ยว ถ่ายภาพร่วมกัน.. รับฟังคาแนะนาจากคณะกรรมการ..................................................

4 5 7 8 8 26 27 84 84 85 85 86 86 87 87 88 88 90 90 91 91 92 92 93 93 94 94



บทที่ 1 บทนำ 1. ควำมสำคัญของกำรถ่ำยทอดท่ำรำ นาฏศิลป์ หมายถึง ศิลปะแห่งการร่ายราของมนุษย์ที่สร้างขึ้นจากธรรมชาติด้วยความประณีต งดงาม มีความวิจิตรบรรจงอันละเอียดอ่อน โดยมีการบรรเลงดนตรีและการขับร้องเป็นองค์ประกอบ (อมรา กล่าเจริญ, 2531 : 1.) ร าเดี่ย ว เป็ น การร าคนเดียวเพื่ออวดฝี มื อและความสามารถในระดับสู ง ผู้ แสดงจะต้ อ ง ถ่ายทอดกระบวนการร่ายรา ลีลา และอารมณ์ออกมาอย่างกลมกลืนและลงตัว เป็นภาพที่งดงามและ ตรึงตราตรึงใจ ที่สาคัญในการราเดี่ยวผู้แสดงจะต้องใช้ทักษะความสามารถในการรา ในขณะเดียวกันก็ จะต้องเชิญชวนผู้ชมให้ ติดตาม ซึ่งทาได้โดยการใช้อารมณ์ความรู้สึกที่ผ่านทางสีหน้าและดวงตา คือ ผู้ราจะต้องส่งสายตาและรอยยิ้มไปยังผู้ชมที่นั่งชมอย่างทั่วถึง จึงจะสามารถสะกดผู้ชมให้ติดตามการรา นั้นด้วยความสนุกสนาน เพลิดเพลินและประทับใจ (ผุสดี หลิมสกุล, 2549 : 5.) ละครดึกดาบรรพ์ หมายถึง เป็นละครแบบหนึ่งที่ปรับปรุงรูปแบบมาจากละครนอก ละครใน และกระบวนวิธีการแสดง โดยมีหลักว่าให้ผู้แสดงหรือผู้ราต้องขับร้องด้วยตนเอง โดยมีลูกคู่ร้องรับ มีวง ดนตรีที่มีลักษณะเฉพาะที่เรียกว่าวงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ ดาเนินเรื่องรวดเร็ว มีการตกแต่งฉากที่ คล้าย ของจริง (https://www.google.co.th/search?q, สืบค้นวันที่ 20 สิงหาคม 2561.) ละครดึกดาบรรพ์ เป็นละครที่ได้รับอิทธิพลจากการแสดงของตะวันตก มีต้นเค้ามาจากการ จัดการแสดง คอนเสิร์ต ต้อนรับแขกเมืองในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2411) เป็ น การแสดงการขับร้องเพลงประสานเสี ยงใช้ห ญิงเข้ากับเครื่องปี่พาทย์ หลั งจาก เหตุการณ์ครั้งนั้นเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรา นุวัดติวงศ์ ทรงร่วมกันปรับปรุงวิธีเล่นและวิธีแสดงให้ผิดไปจากละครราอย่างเก่า แต่ยังยึดหลักและ แบบแผนของละครใน การแสดงแบบใหม่นี้อาจเรียกว่า โอเปร่าแบบไทย ในระยะแรกใช้แสดงรับแขก เมือง ภายหลังนามาแสดงในโรงละครชื่อโรงละครดึกดาบรรพ์ ซึ่งเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ทรงสร้าง ขึ้นคนจึงเรียกละครแบบใหม่นี้ว่าละครดึกดาบรรพ์ (ดร.มาลินี ดิลกวณิช, 2543 : 275.) จากข้อมูลข้างต้น ผู้รับการถ่ายทอดท่าราเห็นถึงความสาคัญของราเดี่ยว ชุด บุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์) เนื่องจากมีประวัติที่น่าสนใจ เป็นการร่ายราที่มีเนื้อร้อง สามารถจดจาได้ง่าย ผู้รับ การถ่ายทอดท่าราจึงเลือกสอบราเดี่ยวมาตรฐานชุดนี้ และได้รับการสืบทอดจาก อาจารย์อุษา แดง วิจิตร นาฏศิลปินอาวุโส สานักการสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม โดยท่านเป็นผู้ถ่ายทอดท่า


2 รา เพื่อเป็นการประมวลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิต ทั้งนี้เพื่อบันทึกองค์ความรู้เหล่านี้ไว้เป็นลาย ลักษณ์อักษรมิให้สูญหายไป และเพื่อให้เป็นประโยชน์ด้านการเรียนการสอนนาฏศิลป์สืบไป 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาค้นคว้าประวัตความเป็นมา รูปแบบ องค์ประกอบการแสดงและกลวิธีการรา บุษบาชมศาลจากผู้ทรงคุณวุฒิ 2. เพื่อสนับสนุนให้นิสิตได้นาความรู้ ความสามารถที่ได้เรียนมาตลอด 4 ปี มาใช้ในการแสดง ทักษะการราไทยตามหลักและแบบแผนของการแสดงทางด้านนาฏศิลป์ไทย 3. เพื่อรวบรวมข้อมูล ความรู้การราเดี่ยว ชุด บุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์ ) ไว้เป็น แนวทางในการอ้างอิงประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาอาศรมศึกษาต่อไป 3. วิธีดำเนินงำน ตำรำง 1 : ตำรำงดำเนินงำน รำยละเอียด

เดือนพฤษภำคม - กันยำยน (พ.ศ.2561) พ.ค.

1.ศึกษาข้อมูลประวัติราเดี่ยว ชุด บุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์) 2.รับการถ่ายทอดท่าราจาก อาจารย์อุษา แดงวิจิตร 3.สอบประเมิน 100% ครั้งที่ 1 4.สอบประเมิน 100% ครั้งที่ 2 5.สอบประเมิน 100% ครั้งที่ 3 6.สอบราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด บุษบาชม ศาล (ละครดึกดาบรรพ์) 7.สรุปผล ส่งรูปเล่ม ที่มา : นางสาวศิริพร แร่พรม, 20 สิงหาคม 2561.

มิ.ย

ก.ค

ส.ค

ก.ย


3 4. ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1. ได้รับความรู้ทางนาฏศิลป์ไทย อันเป็นแบบแผนจากครูผู้ทรงคุณวุฒิทางนาฏศิลป์ไทย โดยตรง 2. ได้เพิ่มพูนความรู้ความสามารถและประสบการณ์การราให้ถูกต้องตามแบบแผน 3. สามารถนาความรู้ เทคนิคต่างๆ จากการราเดี่ยวมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม 4. ส่งผลให้เกิดประโยชน์แก่วงการนาฏศิลป์ไทยในอนาคต โดยการอนุรักษ์ท่าราให้คงอยู่ไม่ เลื่อนหายไป


บทที่ 2 ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา รำเดี่ยวมำตรฐำนทำงด้ำนนำฏศิลป์ไทย ชุด บุษบำชมศำล (ละครดึกดำบรรพ์) ได้รับควำม อนุเครำะห์ถ่ำยทอดท่ำรำจำก อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร ปัจจุบันท่ำนดำรงตำแหน่งนำฏศิลปินอำวุโส สำนักกำรสังคีต กรมศิลปำกร กระทรวงวัฒนธรรม ซึ่งเป็นผู้ที่มีประสบกำรณ์และควำมสำมำรถ ทำงด้ำนนำฏศิลป์ไทยเป็นอย่ำงดี โดยมีประวัติของผู้ถ่ำยทอดท่ำรำ ดังต่อไปนี้ 1. ประวัติส่วนตัว 2. ประวัติทำงกำรศึกษำ 3. ประวัติกำรทำงำน 4. ผลงำนทำงด้ำนวิชำกำรและกำรแสดง 5. ประวัติกำรสืบทอดและกำรถ่ำยทอดท่ำรำ 6. แผนผังกำรสืบทอดและกำรถ่ำยทอดท่ำรำ ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา

ภำพที่ 1 : ผู้ถ่ำยทอดท่ำรำ อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร นำฏศิลปินอำวุโส สำนักกำรสังคีต กรมศิลปำกร กระทรวงวัฒนธรรม ที่มำ : บันทึกภำพโดย นำงสำวสุดำรัตน์ หงษ์ดวง, วันที่ 15 สิงหำคม 2561.


5

1. ประวัติส่วนตัว อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร เกิดเมื่อวันที่ 26 ตุลำคม 2500 เป็ำบุตรนำยนิรันดร์ แดงวิจิตร และนำงสมจิตร แดงวิจิตร ภูมิลำเนำเดิมอยู่ที่ กรุงเทพมหำนคร 2. ประวัติการศึกษา เริ่มเรียนชั้นอนุบำลถึงชั้นประถมศึกษำปีที่ 4 ที่โรงเรียนหงสุรนันท์ ต่อมำเข้ำระบกำรศึกษำ โรงเรียนนำฏศิลป์ (วิทยำลัยนำฏศิลปในปัจจุบัน) จบประกำศนียบัตรนำฏศิลปะชั้นสูงปี 2 และสำเร็จ กำรศึกษำระดับปริญญำตรี สำขำนำฏดุริยำงคศิลปศึกษำ ที่วิทยำลัยเทคโนโลยีและอำชีวศึกษำ ในปี พ.ศ.2523

ภำพที่ 2 : รำมเกียรติ์ ตอนสำมนักขำหึง แสดงโดย : อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร และอำจำรย์สมรัตน์ ทองแท้ ที่มำ : ภำพถ่ำยส่วนตัวของ อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร


6

3. ประวัติการทางาน วันที่ 1 กันยำยน พ.ศ.2523 รับรำชกำรเป็นครูที่วิทยำลัยนำฏศิลปร้อยเอ็ด กรมศิลปำกร กระทรวง ศึกษำธิกำร วันที่ 3 มิถุนำยน พ.ศ.2526 ย้ำยมำดำรงตำแหน่งนำฏศิลประดับ 3 แผนกนำฏศิลปกองกำรสังคีต กรมศิลปำกร กระทรวงศึกษำธิกำร ปัจจุบันดำรงตำแหน่งนำฏศิลปินอำวุโส กลุ่มนำฏศิลปกรมศิลปำกร สำนักงำนสังคีต กรมศิลปำกร กระทรวงวัฒนธรรม 4. ผลงานทางด้านวิชาการและการแสดง ผลงำนด้ำนกำรถ่ำยทอดและเผยแพร่ด้ำนนำฏศิลปะ อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร เป็นผู้ที่สำมำรถรับกำร ถ่ำยทอดท่ำรำจำกผู้เชี่ยวชำญทำงด้ำนนำฏศิลปได้อย่ำงครบถ้วน ถูกต้องตำมแบบแผนทั้งนี้ยังเป็นผู้ ถ่ำยทอดท่ำรำให้กับนักเรียนและศิลปินรุ่นหลังได้อย่ำงครบถ้วน ได้แก่ 4.1 การแสดงโขน เรื่องรามเกียรติ์ 1.นำงเบญจกำย 2. นำงสำมะนักขำ 3.นำงอดูลปีศำจ 4. นำงมณโฑ 5. นำงดำรำ 6. นำงกำลอัคคี 7. นำงตรีชฏำ 8. นำงสุวรรณกันยุมำ 9. นำงอนงค์นำคำ 10. นำงสุพรรณมัจฉำ 11. นำงวำนรินทร์ 12. นำบุษมำลี 13. นำงสวำหะ 14. นำงเมขลำ 15. นำงดำว 16. พระอุมำ


7

ภำพที่ 3 : รำมเกียรติ์ ตอน เบญกำยหึง แสดงโดย อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร และอำจำรย์สมนึก บัวทอง ที่มำ : ภำพถ่ำยส่วนตัวของ อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร 4.2 การแสดงละคร ละครใน ละครใน ละครนอก ละครพันทำง ละครดึกดำบรรพ์

เรื่องอุณรุท เรื่องอิเหนำ เรื่องรถเสน เรื่องพระลอ เรื่องพระลอ

รับบทเป็น รับบทเป็น รับบทเป็น รับบทเป็น รับบทเป็น

นำงศุภลักษณ์ นำงบำหยัน (พี่เลี้ยงนำงอุษำ) นำงอัมพิกำ นำงรื่น นำงโรย นำงมณฑำ


8

ภำพที่ 4 : อิเหนำ ตอน บุษบำชมศำล แสดงโดย อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร รับบทเป็น บำหยัน (พี่เลี้ยงนำงบุษบำ) ที่มำ : ภำพถ่ำยส่วนตัวของ อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร

ภำพที่ 5 : อุณรุท ตอน ศุภลักษณ์อุ้มสม แสดงโดย อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร และอำจำรย์พัชรำ บัวทอง ที่มำ : ภำพถ่ำยส่วนตัวของ อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร


9

4.3. การแสดงระบาต่างๆ 1. ระบำดอกบัวไทย 2. ระบำนำงสงกำนต์ 3. ระบำเทียน 4. ระบำเทพบันเทิง 5. ระบำดำวดึงส์ 6.ระบำมำตรฐำน ฯลฯ 4.4. งานเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย งำนเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยด้ำนนำฏศิลป์ในต่ำงประเทศ เช่น ฮ่องกง สิงคโปร์ พม่ำ เยอรมัน เบลเยี่ยม รัสเซีย อเมริกำ เวียดนำม อินโดนีเซีย เป็นต้น 4.5 งานพิเศษอื่นๆ 1. วิทยำกรถ่ำยทอดท่ำรำ ละครดึกดำบรรพ์ เรื่องอิเหนำ ตอนบุษบำชมศำล แก่คณะ มนุษยศำสตร์ มหำวิทยำลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ระหว่ำงวันที่ 2 พฤษภำคม พ.ศ.2557 ถึง 2 มิถุนำยน พ.ศ.2557 2. วิทยำกรในโครงกำรพัฒนำควำมรู้ ถ่ำยทอดด้ำนนำฏศิลป์ไทยในกำรสัมนำ เรื่องกระบวน ท่ำรำ ละครในเรื่องอุณรุท ระหว่ำงวันที่ 5-6 มิถุนำยน พ.ศ.2557 ณ โรงละครแห่งชำติ นอกจำกนี้ยังได้ร่วมปฏิบัติงำนสำคัญต่ำงๆ ในงำนต้อนรับพระรำชอำคันตุกะและงำนพระ รำชพิธีสำคัญต่ำงๆ อีกมำกมำย เช่น 1. งำนต้ อ นรั บ พระรำชอำคั น ตุ ก ะในพระบำทสมเด็ จ พระเจ้ ำ อยู่ หั ว แล ะสมเด็ จ พระบรมรำชินีนำถ ในพระบรมมหำรำชวัง 2. งำนพระรำชพิธีกำญจนำภิเษก ณ ทำเนียบรัฐบำล 3. งำนพระรำชพิธีเฉลิมพระเกียรติพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว 4. งำนสมเด็ จ พระเทพรั ต นรำชสุ ด ำฯสยำมบรมรำชกุ ม ำรี เ สด็ จ พระรำชด ำเนิ น ในพิ ธี บวงสรวงสมเด็จพระพันวัสสำอัยยิกำเจ้ำ ณ วังสวนประทุม 5. งำนถ่ำยภำพนิ่งประกอบหนังสือสมุดภำพแต่งหน้ำโขนตำมพระรำชดำริในงำนสมเด็จ พระนำงเจ้ำฯพระบรมรำชินีนำถ ณ ศำลำเฉลิมกรุง 6. งำนบรวงสรวงพระสยำมเทวำธิรำช ในพระบรมมหำรำชวัง(พระที่นั่งไพศำลทักษิณ)


10

7. งำนพระรำชพิธีถวำยพระเพลิงพระศพสมเด็จพระพี่นำงเจ้ำฟ้ำกัลยำนิวัฒนำ กรมหลวง นรำธิวำส รำชนครินทร์ ณ ท้องเวทีท้องสนำมหลวงำนพระรำชพระรำชพิธีถวำยพระเพลิงพระศพ สมเด็จพระพี่นำงเจ้ำฟ้ำเพชรรัตน์ฯ ณ บริเวณท้องสนำมหลวง(เวทีหน้ำพระเมรุ) 8. งำนพระรำชพิธีถวำยพระเพลิงพระบรมศพพระบำมสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอ ดุลยเดช บรมนำถบพิตร ณ พระเมรุมำศ ท้องสนำมหลวง 4.6 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่ได้รับ - พ.ศ. 2528 จตุถำภรณ์ - พ.ศ. 2534 ตริตรำภรณ์มงกุฎไทย - พ.ศ. 2539 ตริตรำภรณ์ช้ำงเผือก - พ.ศ. 2553 ได้รับพระรำชทำนเหรียญจักรพรรดิมำลำ

5. ประวัติการสืบทอดและการถ่ายทอดท่ารา อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตรยังได้รับกำรถ่ำยทอดจำกอำจำรย์ และผู้เชี่ยวชำญด้ำนนำฏศิลป์ ไทย หลำยท่ำนดังนี้ - ท่ำนผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี - คุณครูลมูล ยมะคุปต์ - คุณครูเฉลย ศุขะวณิช - คุณครูจำเรียง พุธประดับ - คุณครูสถำพร สนทอง - ดร.นพรัตน์ศุภำกำร หวังในธรรม - คุณครูเรณู จีนเจริญ - คุณครูนันทินี เวชสุทัศน์ - คุณครูบุญนำค ทรรทรำนนท์ - คุณครูรัจนำ พวงประยงค์ - คุณครูจันทนำ ทรงศรี - คุณครูจินดำรัตน์ วิริยะวงศ์ - คณำจำรย์อีกหลำยท่ำน


11

นอกจำกนี้อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตรได้รับกำรถ่ำยทอดจำกอำจำรย์ และผู้เชี่ยวชำญด้ำนคีตศิลป์ ไทยจำกหลำยท่ำนดังนี้ - คุณครูท้วม ประสิทธิกุล - คุณครูจิ้มลิ้ม ขุนทอง - คุณครูดวงเนตร ดุริพันธ์ - คุณครูมัณฑนำ อยู่ยั่งยืน - คุณครูวัฒนำ โกศินำนนท์ - คุณครูประคอง ชลำนุภำท - คุณครูทัศนีย์ ขุนทอง - คุณครูเกสร ปลื้มปรีชำ - คุณครูอัมพร โสวัตร (แดงวิจิตร) - คุณครูวิมลวรรณ กำญจนเผลิน

6. แผนผังการสืบทอดและถ่ายทอดท่ารา คุณครูเฉลย ศุขะวณิช ศิลปินแห่งชำติ สำขำศิลปะกำรแสดง (ละครนำง) ปี พ.ศ. 2530

อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร

นำงสำว ศิริพร แร่พรม นิสิตรุ่นที่ 16 สำขำวิชำนำฏศิลป์ไทย ภำควิชำศิลปะกำรแสดง คณะมนุษยศำสตร์ มหำวิทยำลัยนเรศวร ปีกำรศึกษำ 2561


12

อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร ท่ำนคือ ศิลปินที่มีผลงำนทำงด้ำนกำรแสดงและกำรเรียนสอนที่โดด เด่นอย่ำงมำก ในปัจจุบันอำจำรย์ อุษำ แดงวิจิตร ดำรงตำแหน่งนำฏศิลปินอำวุโส กลุ่มนำฏศิลป ส ำนั กกำรสั งคีต กรมศิล ปำกร กระทรวงวัฒ นธรรม อำจำรย์ เป็นผู้ มีประสบกำรณ์ ทำงด้ำ นกำร เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยด้ำนนำฏศิ ลป์ในต่ำงประเทศ กำรแสดง ถ่ำยทอดท่ำรำ ให้แก่ศิษย์หลำย คน ท่ำนจึงเป็นบุคคลที่สำคัญที่ช่วยพัฒนำองค์ควำมรู้ทำงด้ำนนำฏศิลป์ ไทยให้เจริญรุ่งเรืองจนถึงทุก วันนี้และท่ำนยังเป็นที่ยอมรับแก่สังคมตลอดมำ


บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรสืบทอดและฝึกหัด การแสดงร าเดี่ ย วมาตรฐาน เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการศึ ก ษาตามหลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรบั ณ ทิ ต สาขานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในรายวิชา 202462 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ในการสอบครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาจัดขึ้นเพื่อประมวลผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย นของนิ สิ ต ก่ อ นที่ จ ะส าเร็ จ การศึ ก ษา ผู้ รั บ การถ่ า ยทอดท่ า ร าเลื อก ชุ ด บุ ษ บาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์) เพราะมีรูปร่างที่เหมาะสมกับการแสดงชุดนี้ โดยมีวิธีการดาเนินโครงการ ดังนี้ 1. ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด 2. ระยะเวลาและสถานที่ในการสืบทอดและฝึกหัด 3. อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด 4. พัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด 1. ขั้นตอนในกำรสืบทอดและฝึกหัด การเรี ย นการสอนในครั้ ง นี้ ผู้ เ รี ย นได้ ฝ ากตั ว เป็ น ศิ ษ ย์ กั บ อาจารย์ ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ คือ อาจารย์อุษา แดงวิจิตร ผู้ถ่ายทอดท่าราและลีลาการราเดี่ยวให้แก่ผู้เรียน ซึ่งได้รับการแนะนาให้รู้จัก จากอาจารย์รัชดาพร สุคโต อาจารย์ที่ปรึ กษาประจาวิชาอาศรมศึกษา ซึ่งเป็นผู้ควบคุมและช่วยฝึกซ้อมให้ ผู้เรียนหลังจากที่ได้ต่อท่ารากับอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว โดยมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้


14

ตำรำง 2 : ขั้นตอนในกำรสืบทอดและฝึกหัด ลำดับ

รำยกำรฝึกหัด

1

ศึกษาข้อมูล ความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ความสาคัญของตัวละครที่เกี่ยวกับ การสอบราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด บุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์)

2

ศึกษาวีดีทัศน์การราเดี่ยว ชุด บุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์) และฝึกร้องเพลง ก่อนที่จะได้รับการถ่ายทอดท่าราจากอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา

3

อาจารย์ที่ปรึกษาได้เล่าถึงประวัติความเป็นมาการราบุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์) เพื่อให้ผู้รับการถ่ายทอดท่าราได้เข้าใจถึงบทบาทและอารมณ์ของตัวละคร

4

อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาให้ ผู้ ศึ ก ษาร าแบบไม่ มี เ พลงประกอบ โดยผู้ ศึ ก ษานั้ น ร้ อ งเพลง ประกอบด้วยตนเอง

5

เมื่อผู้ศึกษาจาท่าราได้ดีแล้ว อาจารย์ที่ปรึกษาได้ให้ราเข้าพลงจนจบ และได้คอยดูท่า ราในขณะที่ฝึกหัดด้วย

6

อาจารย์ที่ปรึกษาจะจับท่าราในขณะที่ผู้ศึกษาทบทวนท่ารา เพื่อให้ผู้ศึกษาได้จดจา ความรู้สึกในขณะราและการใช้กล้ามเนื้อ การถ่ายน้าหนักร่างกาย ได้

7

ฝึกฝนท่าราจนคล่อง โดยอาจารย์ที่ปรึกษาคอยควบคุมและแก้ไขส่วนที่บกพร่อง

8

อาจารย์ที่ปรึกษาเก็บรายละเอียด และตรวจสอบความถูกต้องของท่ารา

ที่มา : นางสาวศิริพร แร่พรม, 20 สิงหาคม 2561. ก่อนที่จะสิ้นสุดการเรียนในแต่ละครั้งผู้ศึกษาจะทบทวนท่าราทุกครั้งและเมื่อถึงการเรียนสอนใน ครั้งต่อไปผู้เรียนจะทบทวนท่ารามาก่อน เข้าเรียนทุกครั้งโดยมีการดาเนินการเรียนการสอนตามขั้นตอน ข้างต้น


15

2. ระยะเวลำและสถำนที่กำรสืบทอดและฝึกหัด ระยะเวลาในการถ่ายทอดและฝึกหัดท่าราในครั้งนี้ เริ่มตั้งแต่ 24 มิถุนายน 2561 ถึง 29 สิงหาคม 2561 โดยใช้สถานที่การฝึกหัด ดังนี้ 1. สานักการสังคีต กรมศิลปากร 2. อาคารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร 3. ห้องปฏิบัติงาน อาจารย์รัชดาพร สุคโต คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 4. บ้านพัก อาจารย์รัชดาพร สุคโต ตำรำง 3 : ระยะเวลำและสถำนที่กำรสืบทอดและฝึกหัด วัน/เดือน/ปี

เวลำ

กำรฝึกหัด

สถำนที่

22 - 23 มิถุนายน 13.00 – 15.00 น. ท่องบทร้อง ฟังเพลง และศึกษา อาคารเทคโนโลยี 2561

ท่าราจากวีดีทัศน์

สารสนเทศและการ สื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร

24 มิถุนายน 2561 25 – 28 มิถุนายน 2561

13.00 – 15.00 น. ฝึกซ้อมท่ารากับอาจารย์ที่ปรึกษา บ้านพัก อาจารย์ อาจารย์รัชดาพร สุคโต

รัชดาพร สุคโต

09.00 – 14.00 น. รับการถ่ายทอดท่ารา ชุด บุษาชม ส านั ก การสั ง คี ต กรม ศาล (ละครดึกดาบรรพ์) ครั้งที่ 1 ศิลปากร จากอาจารย์อุษา แดงวิจิตร

29 - 30 มิถุนายน 13.00 – 16.00 น. ฝึกซ้อมท่ารากับอาจารย์ที่ปรึกษา บ้ า น พั ก อ า จ า ร ย์ 2561 23 – 25 กรกฎาคม 2561

อาจารย์รัชดาพร สุคโต

รัชดาพร สุคโต

10.00 – 12.00 น. รับการถ่ายทอดท่ารา ชุด บุษาชม สานักการสังคีต ศาล (ละครดึกดาบรรพ์) ครั้งที่ 2 กรมศิลปากร จากอาจารย์อุษา แดงวิจิตร


16

วัน/เดือน/ปี 2 – 6 สิงหาคม

เวลำ

กำรฝึกหัด

สถำนที่

17.00 – 20.00 น. ฝึกซ้อมท่ารากับอาจารย์ที่ปรึกษา อาคารเทคโนโลยี

2561

อาจารย์รัชดาพร สุคโต

สารสนเทศและการ สื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร

9 – 10 สิงหาคม 13.00 – 15.00 น. ฝึกซ้อมท่ารากับอาจารย์ที่ปรึกษา อาคารเทคโนโลยี 2561

อาจารย์รัชดาพร สุคโต

สารสนเทศและการ สื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร

15 – 16

09.30 – 12.00 น. รับการถ่ายทอดท่ารา ชุด บุษาชม ส านั ก การสั ง คี ต กรม

สิงหาคม 2561

ศาล (ละครดึกดาบรรพ์) ครั้งที่ 3 ศิลปากร จากอาจารย์อุษา แดงวิจิตร

23 – 26 สิงหาคม 2561

17.00- 19.00 น.

ฝึกซ้อมท่ารากับอาจารย์ที่ปรึกษา อาคารเทคโนโลยี อาจารย์รัชดาพร สุคโต

สารสนเทศและการ สื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร

29 สิงหาคม 2561

15.00 – 17.00 น. ฝึกซ้อมท่ารากับอาจารย์ที่ปรึกษา ห้องปฏิบัติงาน อาจารย์ อาจารย์รัชดาพร สุคโต

รั ช ดาพร สุ ค โต คณะ ม นุ ษ ย ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ที่มา : นางสาวศิริพร แร่พรม, 20 สิงหาคม 2561.


17

จากตารางจะเห็ น ได้ ว่ า ผู้ รั บ การถ่ า ยทอดท่ า ร าได้ ท บทวนท่ า ร า ชุ ด บุ ษ บาชมศา ล (ละครดึกดาบรรพ์) อย่างต่อเนื่อง โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาเป็นผู้ควบคุมและให้คาแนะนาแก้ไขข้อบกพร่อง 3. อุปกรณ์ในกำรสืบทอดและฝึกหัด การเรียนและการฝึกปฏิบัติท่ารานั้นต้องมีอุปกรณ์ในการเรียนเพื่อเพิ่มทักษะในการปฏิบัติให้มี ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ประกอบด้วยอุปกรณ์ในการเรียน ดังนี้ 1. ผ้าโจงกระเบน 1 ผืน 2. เข็มขัด 3. สมุดจดบันทึกและอุปกรณ์เครื่องเขียน 4. แผ่น DVD หรือ CD เพลงบุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์) และบทประกอบการราเพลง บุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์) 5. กล้องดิจิตอลบันทึกภาพ หรือ โทรศัพท์มือถือที่สามารถถ่ายรูปและอัดวีดีโอได้ 6. เครื่องเทป ลาโพง 4. พัฒนำกำรในกำรสืบทอดและฝึกหัด ในการฝึ กหั ดท่าร า “ชุด บุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์) ” ผู้ รับการถ่ายทอดท่าราได้ มี ข้ อ ปรับปรุงแก้ไข้ท่าราหลายท่า ในตลอดระยะเวลาในการถ่ายทอดท่าราจากอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา ผู้รับ การถ่ายทอดท่าราจะบันทึกภาพเคลื่อนไหว และจดบันทึกท่ารา เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของท่ารา และเก็ยรายละเอียดวิธีการราที่อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราได้ถ่ายทอดท่าราให้แก่ผู้รับการถ่ายทอด และเป็น การแก้ไข เมื่อผู้รับการถ่ายทอดท่าราจาท่าไม่ได้ หลังจากได้รับการถ่ายอดท่าราจนจบเพลง ผู้ศึกษาได้หมั่น ฝึกซ้อมอยู่เสมอ เพื่อให้เกิดความชานาญในการราให้มีความถูกต้องและสวยงาม เพื่อที่ในการรับ การ ถ่ายทอดครั้งต่อไป อาจารย์ ผู้ถ่ายทอดท่าราจะได้ให้ความรู้ที่เพิ่มพูนขึ้น ซึ่งในการฝึกหัดผู้รับการถ่ายทอด ท่าราได้มปี ัญหา อุปสรรค และวิธีการแก้ไข ดังนี้ 1. การถ่ายน้าหนักเท้าเวลาก้าวหน้า ต้องฝึกปฏิบัติซ้าๆ จนชานาญ 2. การกดเอว กดไหล่ การเอียงศีรษะ การลักคอ การก้มหน้าในขณะที่รา ต้องฝึกปฏิบัติและ


18

บังคับตัวเองให้ได้ 3. การใช้พื้นที่ของเวที การวิ่งซอยเท้า ต้องหมั่นฝึกวิ่งซอยเท้าและใช้พื้นที่เป็นประจา 4. การเปลี่ยนท่าเร็ว และจังหวะไม่สม่าเสมอ ต้องฝึกให้ช้าลง และนิ่งท่าก่อนจะเปลี่ยนเป็นท่า ใหม่ 5. การสวมบทบาทตัวละคร อารมณ์ สีหน้า แววตา ต้องหมั่นฝึกการใช้สีหน้า แววตา ที่หน้า กระจก และควรแสดงอารมณ์ทุกครั้งที่ฝึกซ้อม 6. การใช้ข้อมือ การชี้นิ้ว การไว้มือ ต้องฝึกให้คล่องแค่วและชานาญมากขึ้น 7. หัวไหล่ส่ายเวลาปฏิบัติท่าราส่าย ต้องฝึกซ้าๆ เป็นประจา และต้องบังคับตัวเองให้ได้ 8. การราไม่ตรงจังหวะ ราช้ากว่าจังหวะ ต้องฝึกราให้ตรงจังหวะมากขึ้น 9. เก็บรายละเอียดของท่าราทุกท่าตั้งแต่หัวจรดเท้าให้สัมพันธ์กัน จากการได้รับ การถ่ายทอดท่าราและกลวิธีการรา ชุด บุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์) โดย อาจารย์อุษา แดงวิจิตร ทาให้ผู้ได้รับการถ่ายทอดท่าราจดจาท่าราได้ ราได้สวยงามขึ้นจากเดิม และยังได้ กลวิธีในการราเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ ผู้ รับการถ่ายทอดท่าราได้ห มั่นฝึ กซ้อมเพื่อให้มีความคล่ องแคล่วและ ชานาญในท่ารา และมีความอ่อนช้อย อ่อนหวานในการรา เพื่อพัฒนาฝีมือการราให้ดียิ่งขึ้นและสามารถ นาไปแสดงได้อย่างสมบูรณ์


บทที่ 4 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด บุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์) การแสดงราเดี่ยวมาตรฐานทางนาฏศิลป์ไทย ชุด บุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์) ผู้รับการ ถ่ายทอดท่าราได้ทาการศึกษาประวัติความเป็นมา องค์ประกอบ และกลวิธีของการแสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ทางนาฏศิลป์ไทย ชุด บุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์) ดังนี้ 1. ประวัติความเป็นมาของการแสดง 2. เรื่องย่อของการแสดง 3. บทร้อง 4. ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง 5. เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า 6. นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง 7. กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่ 1. ประวัติความเป็นมาของการแสดง การแสดงชุดบุษบาชมศาล จัดอยู่ในบทละครเรื่อง อิเหนา เดิมพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาลั ย (รั ช กาลที่ 2) ต่ อ มาในสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว (รัชกาลที่ 5) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ได้ประพันธ์บทละครขึ้นใหม่ เพื่อใช้แสดงแบบละครดึกดาบรรพ์ ในตอนชื่อว่า บุษบาชมศาลและตัดดอกไม้ฉายกริช เนื้อความตอนนี้มีว่า หลังจากที่อิเหนาได้รับชัยชนะจากการศึกสงครามแล้ว ท้าวดาหาจึงได้ยกขบวนพยุหยาตรา ไปทาพิธีบรวง สรวงเทวาอารั กษ์ ที่เขาวิลิ ศมาหรา เมื่อขบวนพยุห ยาตราไปถึง เขาวิลิ ศ มาหราแล้ ว ในระหว่างที่ ตั้ ง พลับพลาที่ประทับนั้น นางบุษบาจึงชวนพระพี่เลี้ยง และนางสนมกานัลออกไปเที่ยวชมศาล และเก็บ ดอกไม้ที่มีกลิ่นหอมนามาทาบุหงาราไป เพื่อใช้ถวายเทวาอารักษ์ ในคราวนี้นางค่อมได้พลัดหลงจากกลุ่ม


20

และนั่งร้องไห้อยู่ในป่า อิเหนามาพบเข้าจึงไต่ถามจนได้ความและออกอุบายว่าจะมาหาดอกปาหนันมาให้ นางค่อม เพื่อนาไปถวายนางบุษบาโดยอิเหนาได้เขียนข้อความลงไปในกลีบดอกปาหนัน แล้วตามนางค่อม ไปลอบชมความงามของนางบุษบาและฉายกริชเกิดแสงแวววาวเพื่อเรียกร้องความสนใจจากนางบุษบา ซึง่ ตอนนี้เองนางบุษบาได้ออกมาราชมศาล 2. เรื่องย่อของการแสดง บทละครเรื่ อ ง อิ เ หนา เป็ น พระราชนิ พ นธ์ ใ นพระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาลั ย (รัชกาลที่ 2) โปรดให้ประชุมกวีนิพนธ์บทละครเรื่อง อิเหนา ขึ้นใหม่จากบทของรัชกาลที่ 1 เพื่อใช้แสดง ละครใน โดยทรงเปลี่ยนสานวนภาษาให้ไพเราะงดงามขึ้น และเมื่อแต่งบทแล้วได้พระราชทานเจ้าฟ้ากรม หลวงพิทักษมนตรี พร้อมด้วยครูละคร คือ นายทองอยู่และนายรุ่งให้ช่วยกันคิดกระบวนรา แล้วจึงซ้อม ถวายเพื่อทรงมีพระราชวินิจฉัยกระบวนราและกระบวนบางบทแล้วจึงถือเป็นข้อยุติ ดังนั้น บทละครพระ ราชนิพนธ์เรื่อง อิเหนา จึงสมบูรณ์ทั้งบทละครและกระบวนราและถือเป็นแบบอย่างของบทละครราตราบ จนทุกวันนี้ กษัตริย์วงศ์เทวาสืบเชื้อสายมาจากเทวดาจึงมีอานาจบารมีที่สุดได้ปกครองกรุงต่างๆ 4 กรุง ได้แก่ กุเรปัน ดาหา กาหลัง และสิงหัดส่าหรี เมื่ออิเหนาเกิดมีเหตุอัศจรรย์แผ่นดินไหว ฝนตกฟ้าร้องไปทั่วทิศ และองค์ปะตาระกาหลาซึ่งเป็นพระอัยกาเหาะลงมาจากสวรรค์เพื่อประทานกริชจารึกชื่อ ตามจารีตของ กษัตริย์วงศ์เทวาจะต้องมีการอภิเษกสมรสภายในเชื้อวงศ์เดียวกันเท่านั้น ท้าวกุเรปันจึงให้อิเหนาหมั้นกับ บุษบาพระราชธิดาท้าวดาหาและรอเวลาจัดการอภิเษก อิเหนาเป็นเจ้าชายหนุ่มรูปงามและมีฝีมือเก่งกล้าในการรบเป็นองค์รัชทายาทของกรุงกุเรปันซึ่ง ยิ่งใหญ่ที่สุด ครั้นอายุได้ 15 ปี อิเหนาต้องคุมเครื่องสักการะศพพระอัยยิกาไปเมืองหมันหยาและได้พบ กับจินตะหราพระราชธิดาท้าวหมันหยา อิเหนาหลงรักนางและไม่ยอมกลับเมือง ท้าวกุเรปันต้องเรียกกลับ โดยอ้างว่าประไหมสุหรีทรงครรภ์แก่แล้ว ต่อมาประสูติพระธิดาชื่อ วิยะดา ซึ่งเป็นคู่ตุนาหงันของสียะตรา รัชทายาทเมืองดาหา ท้าวกุเรปันจะจัดการอภิเษกอิเหนากับบุษบา อิเหนาจึงทาอุบายลาท้าวกุเรปัน ออก เที่ยวป่า โดยปลอมตัวเป็นโจรป่าชื่อมิสาระปันหยีระหว่างเดินทางไปเมืองหมันหยาปันหยีฆ่าท้าวบุศสิหนา ตาย ระตูพี่ชายท้าวบุศสิหนาขอยอมแพ้และยกโอรสธิดาให้อิเหนา ได้แก่ นางสะการะวาตี มาหยารัศมี


21

และสังคามาระตา อิเหนาได้จินตะหราเป็นชายา และนางสะการะวาตีกับนางมาหยารั ศมีเป็นพระสนม และรั บ สั งคามาระตาเป็ น อนุ ชา เมื่อท้าวกุเรปันทราบเรื่องจึงสั่ งให้อิเหนากลั บเมืองแต่อิเหนาไม่ยอม กลับ และขอเลิกการหมั้นกับบุษบาเพื่ออยู่กับจินตะหราที่เมืองหมันหยา ท้าวดาหาทราบเรื่องก็โกรธ อิเหนามาก จึงประกาศว่าจะยกบุษบาให้แก่ผู้ที่มาสู่ขอเป็นคนแรก บุษบาจึงต้องเป็นคู่ตุนาหงันของระตูจร กาผู้มีรูปร่างอัปลักษณ์และศักดิ์ต่ากว่า องค์ปะตาระกาหลาโกรธอิเหนามาก จึงบันดาลให้รูปบุษบาตกไปถึง มือวิหยาสะกาโอรสท้าวกะหมังกุหนิง วิหยาสะกาหลงรักบุษบา ท้าวกะหมังกุหนิงสู่ขอไม่ได้จึงยกทัพมาทา ศึกชิงนาง ท้าวกุเรปันมีราชสาส์นให้อิเหนาไปช่วยรบ อิเหนาจึงต้องยกทัพมาเพราะขัดรับสั่งไม่ได้ อิเหนา ทาศึกกับท้าวกะหมังกุหนิง รบชนะท้าวกะหมังกุหนิงด้วยกริช และสังคามาระตาฆ่าวิหยาสะกาตายในที่รบ อิเหนาเข้าเมืองดาหาและได้พบบุษบาก็หลงรัก จึงทาทุกวิถีทางเพื่อให้ได้นางมา เริ่มจากใช้สียะตราเป็นสื่อ รัก เผาเมืองดาหาระหว่างพิธีอภิเษกแล้วใส่ความจรกา ปลอมตนเป็นจรกาลักบุษบาไปไว้ที่ถ้าทอง อิเหนา จึงได้บุษบามาครองสมใจ ระหว่างที่อิเหนาไปแก้สงสัยที่เมืองดาหา องค์ปะตาระกาหลากริ้วอิเหนาที่ก่อเหตุ เดือดร้อนจึงบันดาลให้ลมหอบบุษบาพรากไปเสีย และให้บุษบาปลอมเป็นชายชื่อ มิสาอุณากรรณและมอบ กริช ให้แล้วสาปให้อิเหนากับบุษบาจากันไม่ได้ จนกว่า 4 กษัตริย์ คือ อิเหนา บุษบา สียะตรา และวิยะดา จะได้อยู่เมืองเดียวกัน อุณากรรณพร้อมพี่เลี้ยงทั้ง 2 คน พบท้าวประมอตัน ท้าวประมอตันจึงรับเลี้ยงอุณา กรรณเป็นโอรสบุญธรรม อิเหนากลับมาจากแก้สงสัยโดยพาวิยะดามาด้วย เมื่อไม่พบบุษบาก็โศกเศร้า เสียใจจนสิ้นสติและตัดสินใจออกตามหาบุษบา โดยปลอมเป็นปันหยีและพาน้องสาวคือวิยะดาไปด้วย โดย เปลี่ยนชื่อเป็นเกนหลงหนึ่งหรัด อิเหนาต้องมะงุมมะงาหราตามหาบุษบาเป็นเวลาหลายปี ระหว่างทางได้สู้ รบกับเมืองน้อยใหญ่และได้เชลยและเครื่องบรรณาการมากมาย อิเหนาตามหาบุษบาทั่วแดนชวา ข้ามไป ยังเกาะมะละกา แล้วจึงกลับมาแดนชวาอีก เมื่อมาถึงเขาปัจจาหงันใกล้เมืองกาหลังจึงบวชเป็นฤษีชื่อ กัศ มาหราอายัน เพื่อสะเดาะเคราะห์และขอให้กุศลบันดาลให้พบบุษบา องค์ปะตาระกาหลาแนะให้อุณา กรรณออกตามหาอิเหนา อุณากรรณจึงลาท้าวประมอตัน ระหว่างทางมีเมืองต่าง ๆ ยอมอ่อนน้อม พร้อม ถวายเครื่องราชบรรณาการและโอรสธิดา อุณากรรณได้พบอิเหนาในรูปฤษีกัศมาหราอายัน แต่ต่างฝ่ายต่าง จากันไม่ได้เพราะคาสาป สังคามาระตาสงสัยว่าอุณากรรณคือบุษบาปลอมตัวมา แต่อิเหนาไม่เชื่อ พี่เลี้ยง ของบุษบาก็คิดว่ากัศมาหราอายันคืออิเหนา แต่อุณากรรณก็ไม่เชื่อเช่นกัน อุณากรรณเข้าเมืองกาหลังและ ได้รับแต่งตั้งเป็นโอรสบุญธรรม ต่อมาอิเหนาลาพรตกลับเป็นปันหยีตามเข้าเมืองกาหลัง ท้าวกาหลังต้อนรับ


22

ปันหยีเช่นเดียวกับอุณากรรณ ท้าวจะมาหรายกทัพมาทาศึกชิงราชธิดาเมืองกาหลัง ปันหยีและอุณากรรณ จึงยกทัพไปทาศึก โดยอุณากรรณฆ่าท้าวจะมาหราตาย และปันหยีฆ่าท้าวกะปาหลันตาย ท้าวกาหลังจัด งานสมโภชพระราชธิดา ปันหยีจึงได้พบนางสะการะหนึ่งหรัดและหลงรักนาง อุณากรรณพยายามกีดกัน เพราะคิดว่าปันหยีจะทาให้เสื่อมเสียเกียรติวงศ์เทวา ต่อมาอุณากรรณเกิดเกรงว่าจะมีคนรู้ว่าตนเป็นหญิง จึงลาท้าวกาหลังทาทีจะกลับเมือง และไปบวชเป็นแอหนังและเรียนรู้วิชาพยากรณ์ เมื่อสียะตราอายุได้ 15 ปี ผ่านพิธีโสกันต์แล้ว เกิดคิดถึงบุษบาและอิเหนาจึงทาอุบายลาท้าวดาหาออกล่าสัตว์ พร้อมพี่เลี้ยง แล้ว ปลอมเป็นชาวป่าชื่อย่าหรันวิลิศมาหรา เที่ยวติดตามหาบุษบาและอิเหนา องค์ปะตาระกาหลาแปลงเป็น นกยูงมาล่อย่าหรันไปเมืองกาหลัง ย่าหรันเข้าเฝ้าท้าวกาหลัง ท้าวกาหลังต้อนรับและเลี้ยงแทนอุณากรรณ ย่าหรันพบปันหยีแต่จากันไม่ได้ ส่วนสังคามาระตาจาสียะตราได้แต่ไม่บอกปันหยี ย่าหรันพบนางเกนหลงก็ นึกรักแต่ปันหยีไม่พอใจ สังคามาระตาเป็นใจให้ย่าหรันลักนางเกนหลง สังคามาระตาตามไปบอกปันหยี ขณะที่ปันหยีกาลังปีนขึ้นตาหนักนางสะการะหนึ่งหรัดพอดี ปันหยีหุนหันไปรบกับย่าหรัน เมื่อกริชของทั้ง สองกระทบกันก็เกิดเปลวไฟ สังคามาระตาจึงบอกปันหยีว่าน่าจะเป็นด้วยร่วมวงศ์เทวา ปันหยีหยุดรบและ ท้าวกาหลังก็มาห้ามด้วย ปันหยีจึงกลับวังด้วยความเสียใจ ต่อมาสังคามาระตาไปขอกริชย่าหรันมาให้ปัน หยีดูจึงรู้ว่าเป็นสียะตราปลอมมา ฝ่ายระตูเมืองมะงาดาต้องการสะการะหนึ่งหรัดเป็นมเหสีของน้องชาย ตน แต่เกรงฝีมือปันหยีจึงส่งให้คนไปลักปันหยีมา ปรากฏว่าลักผิดตัวได้ย่าหรันมาแทนนางดะราหวันบุตรี ระตูมะงาดาเห็นย่าหรันแล้วนึกรัก จึงลอบไปหาย่าหรัน ฝ่ายปันหยีให้คนออกตามหาย่าหรัน ประสันตาไป เที่ยวตามหาย่าหรันไปพบแอหนังซึ่งพยากรณ์ว่าให้ไปตามย่าหรันที่เมืองมะงาดา ปันหยีฟังเรื่องของแอหนัง แล้วสนใจจึงปลอมเป็นเทวดาลวงนางแอหนังว่าจะพาไปสวรรค์ แต่พานางมาเมืองกาหลัง อิเหนาได้เห็น กริชที่นางแล้ว สาคัญผิ ดคิดว่านางเป็นเมียอุณากรรณ พี่เลี้ยงตามไปพบย่าหรันที่เมืองมะงาดา พาหนี กลับมาที่เมืองกาหลัง ย่าหรันจึงพานางดะราหวันมาด้วย ฝ่ายแอหนังเกรงว่าจะต้องเป็นเมียปันหยีจึงคิดฆ่า ตัวตาย ประสันตาแสร้งทาอุบายเล่นหนังเป็นเรื่องราวของอิเหนาและบุษบา ในที่สุดกษัตริย์ทั้ง 4 จึงพ้นคา สาปและจากันได้ ย่าหรันลอบส่งสารไปยังท้าวกุเรปันและท้าวดาหา เพื่อแจ้งให้ทราบว่าพบอิเหนาและ บุษบาแล้ว ท้าวกุเรปันและท้าวดาหายกทัพไปยังเมืองกาหลังและจัดการวิวาห์แก่อิเหนา พร้อมกษัตริย์วงศ์ เทวาทั้งหมด โดยให้จินตะหราวาตีมาร่วมพิธีด้วยอิเหนาได้ชายา 10 องค์ จินตะหราเป็นประไหมสุหรีฝ่าย


23

ขวา และบุษบาเป็นประไหมสุหรีฝ่ายซ้าย เมื่อจัดการอภิเษกเสร็จแล้ว ท้าวกาหลังนากษัตริย์ทั้งหมดไปทา พิธีแก้บนที่เขาปันจะหรา ก่อนจะแยกย้ายกันกลับไปเมืองของตน (http://www.sac.or.th/databases/thailitdir/detail.php?meta_id=297, สื บค้นวันที่ 20 กันยายน 2561.) 3. บทร้อง บทร้ องเพลง บุ ษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์) ขับร้องด้ว ยเพลงชมตลาด เป็นเพลงสองชั้น จัดเป็นเพลงประกอบฉิ่งตัดใช้ขับร้องประกอบการแสดงละครในบทชมบ้านเมือง หรือชมการแต่งตัวของ ละครในและละครนอกมาแต่โบราณ และในบทร้องบุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์) ยังเพิ่มบทร้องเพลง คาหวาน เพลงแขกบรเทศ และเพลงแม่ศรี เข้าไปในบทร้องของการแสดงบุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์) อีกด้วย เพลงบุษบาชมศาล -ปี่พาทย์ทาเพลงเร็ว-ลา-ร้องเพลงชมตลาดโอ้ศาลงามประเสริฐเพริดแพร้ว พระวิมานสามหลังดังนฤมิต

ล้วนแล้วด้วยอุไรไพจิตร มีระเบียงต่อติดเป็นวงกง

พื้นสะอาดลาดล้วนศิลาเลียน ที่สถานลานวัดจังหวัดวง

แลเตียนไม่มีธุลีผง บรรจงปรายโปรยโรยทราย

รุกชาติดาษดาน่าชม

รื่นร่มใบบังสุริฉาย

น่าเที่ยวน่าเล่นเย็นสบาย

มาเถิดมาราถวายเทวา -ร้องเพลงคาหวาน-

จะจับระบาราฟ้อน ให้งามงอนอ่อนจริตกิริยา ลดเลี้ยวเที่ยวท่องให้คล่องเคล้า

ทอดกรกรีดกรายซ้ายขวา ดังกินราลงเล่นชลธี ซ้อนจังหวะประเท้าให้ถี่ถี่


24

ร่ายเรียงเคียงคู่ให้ดูดี

เป็นที่สนุกสุขสาราญ -ร้องเพลงแขกบรเทศ-

จะร้องเรื่อยรับขับครวญ

โหยหวนสาเนียงเสียงประสาน

บาเรอเทวาหน้าพระลาน

ให้กังวานเพราะพร้อมก้องระงม -ร้องเพลงแม่ศรี-

แม่ศรีเอยแม่ศรีสาวสะ

ยกมือไหว้พระแล้วจะมีคนชม

ขนคิ้วเจ้าก็ต่อทั้งคอเจ้าก็กลม

ดูไม่ลืมปลื้มอารมณ์ชมแม่ศรีเอย -ปี่พาทย์ทาเพลงเร็ว-ลา-

4. ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง ดนตรี ใช้วงปี่พาทย์ที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ประกอบการแสดง นาเอาเครื่องดนดรีที่มีเสียงดัง เสียง แหลมสูงออกไป แล้วเปลี่ยนเอาเครื่องที่มีเสียงทุ้มด่ากว่ามาแทน เช่น ใช้ขลุ่ยแทนปี่นอก ใช้กลองตะโพน แทนกลองทัด ระนาดเอกบรรเลงด้วยไม้นวม เพิ่มซออู้และฆ้องหุ่ยจานวน 7 ลูก 7 เสียงเข้ามา ต่อมา เรียกว่า “วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์” (วีระศิลป์ ช้างขนุน, 2554: 79.) วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ เป็นวงดนตรีของไทยประเภทหนึ่ง มีพัฒนาการมาจากวงปี่พาทย์ไม้นวม ได้รับความนิยมและใช้บรรเลงประจาในราชสานัก ในช่วงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชประสงค์ให้จัดบรรเลงดนตรีไทยอย่าง ไพเราะ เพื่อต้อนรับแขกทั้งภายในและต่างประเทศอยู่เนืองๆ จึงมีรับสั่งให้เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว.หลาน กุญชร) เจ้ากรมโขนและพิณพาทย์หลวงในขณะนั้นจัดการบรรเลงดนตรีขึ้น เจ้าพระยา เทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ จึงกราบทูลชวน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ให้ช่วย จัดตามพระราชประสงค์ ด้วยเคยเห็นและชอบวิธีคิดที่แปลกใหม่ ในงานที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้า ฟ้ากรมพรยานริ ศรานุ วัดติวงศ์ คิดจัดให้ ทหารบรรเลงดนตรีถวายหน้าพระที่นั่งตามแบบอย่างวิธีเล่น คอนเสิ ร์ ตของฝรั่ ง โดยจั ดให้ มีการบรรเลงและขับร้องประสานเสี ยงชายหญิง ในคราวงานเฉลิ มพระ ชนมพรรษา วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2431 ทั้งสองท่านจึงได้ร่วมมือกันจัดบรรเลงดนตรีถวาย ด้วยความคิด


25

สาคัญ 2 ประการที่ว่า ลักษณะการประสมวงแบบปี่พาทย์เครื่ องห้า เครื่องคู่ หรือเครื่องใหญ่ที่มีมาแต่เดิม ประกอบการตีด้วยไม้แข็งนั้นมีเสียงดังมากเกินไปไม่เหมาะที่จะบรรเลงภายในอาคารประการหนึ่ง และการ ขับร้องประสานเสียงชายหญิงก็มักไม่ได้เสียงที่ประสมกลมกลืนน่าฟังอีกประการหนึ่ง สมเด็จพระเจ้าบรม วงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์และเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ จึงได้คิดปรับปรุงลักษณะการ ประสมวงปี่พาทย์ขึ้นใหม่โดยตัดเครื่องดนตรีที่มีเสียงเล็กแหลมออก และเพิ่มเครื่องดนตรีที่มีลักษณะเสียง ทุ้มนุ่มนวลเข้าไป โดยยึดวงปี่พาทย์ไม้นวมเป็นพื้น การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมิได้ เกิดขึ้นในคราว เดียว แต่ค่อยๆแก้ไขทีละน้อยเรื่อยมา เครื่องดนตรีในวงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ ประกอบไปด้วย ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ระนาดทุ้มเหล็ก ฆ้องวงใหญ่ ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยอู้ ซออู้ ฆ้องหุ่ย 7 ลูก กลองตะโพน 2 ลูก ตะโพน กลองแขก 2 ใบ ฉิ่ง และ กรับพวง ดนตรีที่เกิดขึ้นใหม่ในครั้งนั้น ในระยะแรกยังไม่ได้มีการตั้งชื่อเรียกเป็นพิเศษอย่างใด และได้ใช้ ติดต่อกันมาชั่วระยะเวลาหนึ่ง นอกจากนั้น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ยังได้ทรงปรับปรุงเนื้อร้องและทานองดนตรีเสียใหม่ให้เหมาะสมอีกด้วย ในปี พ.ศ. 2434 เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ได้ไปยุโรป มีโอกาสได้ชมละครร้องอย่างฝรั่งซึ่ง เรียกว่า Opera เมื่อกลับมาจึงเล่าถวายและกราบทูลชวนสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยา นริศรานุวัดติวงศ์ให้ทรงร่วมมือจัดทาอุปรากรแบบไทยขึ้น โดยสมเด็ จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระ ยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงพระนิพนธ์บทและจัดกระบวนลานาสาหรับขับร้องและบรรเลงปี่พาทย์ โดยใช้ปี่ พาทย์อย่างที่เคยบรรเลงนั้นเอง ตลอดจนกระทั่งคิดจัดวิธีการเล่นละคร ส่วนเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ ทาเครื่องแต่งตัวละครเพื่อให้ละครผู้หญิ งของท่านเล่น และสร้างโรงละครขึ้นในบริเวณบ้านของท่าน ที่วัง บ้านหม้อ ถนนอัษฎางค์ ตั้งชื่อโรงละครนี้ว่า โรงละครดึกดาบรรพ์ หมายจะให้ชื่อนี้เป็นชื่อคณะละครของ ท่านแทนที่จะเรียกว่า ละครเจ้าพระยาเทเวศรฯ อย่างแต่ก่อน ละครที่คิดปรับปรุงขึ้นใหม่นี้เล่นเป็นครั้ง แรกเมื่อ พ.ศ. 2442 ต่อมาคนทั่วไปเรียกละครชนิดนี้ว่าละครดึกดาบรรพ์ตามชื่อโรงละคร แม้กระทั่งวงปี่ พาทย์ที่ใช้บรรเลงซึ่งมีกาเนิดมาก่อนถึง 10 ปีเศษ ก็เรียกว่า “วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์” ตามชื่อโรงละครไป ด้วยแต่นั้นมา (http://www.chulapedia.chula.ac.th/index.php? , สืบค้นวันที่ 20 กันยายน 2561.)


26

เครื่องดนตรีในวงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ ประกอบด้วย ดังนี้ 1. ระนาดเอก (ใช้ไม้นวม) 1 ราง 2. ตะโพน 1 ใบ 3. ระนาดทุ้ม 1 ราง 4. กลองตะโพน 1 คู่ 5. ระนาดทุ้มเหล็ก 1 ราง 6. ฉิ่ง 1 คู่ 7. ฆ้องวงใหญ่ 1 วง 8. ซออู้ 1 คัน 9. ฆ้องหุ่ย 7 ใบ 10. ขลุ่ยอู้ 1 เลา 11. ขลุ่ยเพียงออ 1 เลา

ภาพที่ 6 : วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ ที่มา : http://www.thaigoodview.com, สืบค้นวันที่ 20 กันยายน 2561.


27

5. เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า แต่งกายแบบละครในที่เรียกว่า "ยืนเครื่อง" นอกจากบางเรื่องที่ดัดแปลงเพื่อความเหมาะสม และให้ตรงกับความเป็นจริง เครื่องแต่งกายชุด บุษบาชมศาล

ภาพที่ 7 : เครื่องแต่งกายชุด บุษบาชมศาล แต่งกายยืนเครื่องสีแดงขลิบเขียว ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาววรัญญา ทั่งพรม, วันที่ 31 สิงหาคม 2561.


28

ตาราง 4 : องค์ประกอบเครื่องแต่งกาย องค์ประกอบเครื่องแต่งกาย องค์ประกอบส่วนศิราภรณ์ 1. วงรัดเกล้ายอด

2. จอนหู หรือ กรรณเจียกจอน

3. ท้ายช้อง

4. พวงอุบะ

รูปภาพประกอบ


29

องค์ประกอบเครื่องแต่งกาย 5. ดอกไม้ทัด

องค์ประกอบส่วน เครื่องประดับ 1. สะอิ้ง

2. เข็มขัด

3. หัวเข็มขัด หรือ ปั้นเหน่ง

รูปภาพประกอบ


30

องค์ประกอบเครื่องแต่งกาย 4. จี้นาง หรือ ทับทรวง

5. กาไลแผง

6. กาไลข้อเท้า (กาไลหัวบัว)

7. กาไลตะขาบ (ข้อมือและข้อเท้า)

รูปภาพประกอบ


31

องค์ประกอบเครื่องแต่งกาย 8. ปะวะหล่า

องค์ประกอบส่วนพัตราภรณ์ 1. เสื้อในนาง

2. ผ้าห่มนาง (สีแดงขลิบเขียว)

3. กรองศอ (สีเขียว)

รูปภาพประกอบ


32

องค์ประกอบเครื่องแต่งกาย

รูปภาพประกอบ

4. ภูษาหรือผ้ายก (สีเขียว)

ที่มา : นางสาวศิริพร แร่พรม, 20 กันยายน 2561. 6. นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง นาฏยศั พ ท์ หมายถึ ง ศั พ ท์ เ ฉพาะในทางนาฏศิ ล ป์ เป็ น ชื่ อ ของลั ก ษณะท่ า ร าของไทย นาฏยศัพท์ที่ใช้เกี่ยวกับท่ารานั้นมีมาก ถ้าแยกตามลักษณะของการใช้จะแบ่งออกเป็น 3 หมวด คือ หมวด นามศัพท์ หมวดกิริยาศัพท์ และหมวดนาฏยศัพท์เบ็ดเตล็ด ที่มาของนาฏยศัพท์ เรื่อง นาฏยศัพท์ทางวิชา นาฏศิลป์นี้ นายอาคมสายาคม ได้รับคาสั่งจากนายธนิต อยู่โพธิ์ อธิบดีกรมศิลปากร ให้เขียนขึ้นเมื่อ พ. ศ. 2497 ต่อมา ครูอัมพร ชัชกุล ได้ขออนุญาตจากนายอาคม สายาคม นาไปสอนนักเรียนที่โรงเรียนนาฏศิลป์ ปัจจุบันคือวิทยาลัยนาฏศิลป์ นาฏยศัพท์มีทั้งที่ใช้กับการแสดงโขนและการละคร แต่ก็ยังมีนาฏยศัพท์บาง คาที่ใช้เฉพาะในการราแต่ละเพลงเท่านั้น เช่น ในการราแม่บท เพลงชมตลาด นาฏยศัพท์แบ่งได้เป็น 3 หมวด คือ 1. หมวดนามศัพท์ ได้แก่ การเรียกชื่อลักษณะท่า รา เช่น จีบหงาย จีบคว่า วงบน วงหน้าประเท้า กระดกเท้า เป็นต้น 2. หมวดกิริยาศัพท์ คือ การเรียกค่าที่จะทาให้ราได้งดงาม เช่น ทรงตัว ลดวง ส่งมือ ดึงมือ ดึงเอว ตึงไหล่ กดไหล่ กดค้าง ชักส้น หลบเข่า เปิดคาง เปิดส้น หักข้อ หลบศอก ถีบเข่า แข็งเข่า เป็นต้น


33

3. หมวดนาฏยศัพท์เบ็ดเตล็ด เช่น เหลื่อม เหลื่อมล่าง เดินมือ จีบยาว แม่ท่า ขึ้นท่า นายโรง หรือ พระเอก ยืนเครื่อง ยืนเข่า นางตลาด นางกษัตริย์ เป็นต้น นาฏยศัพท์ที่พบในการแสดงราเดี่ยวมาตรฐานทางนาฏศิลป์ไทย ชุด บุษบาชมศาล มีดังต่อไปนี้ ตาราง 5 : นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง

ลาดับ

ชื่อท่า/นาฏยศัพท์

คาอธิบาย

1

เอียงศีรษะ

จะเอียงซ้ายหรือเอียงขวา ต้องกลมกลืนกับไหล่และลาตัวให้ เป็นเส้นโค้ง

2

ลักคอ

การเอียงศีรษะไปทางทิศตรงข้ามกับการกดเอว กดไหล่ กด ใบหน้า

3

ตั้งวงบน

ยกแขนไปข้ า งล าตั ว ทอดออกโค้ ง มื อ แบตั้ ง ปลายนิ้ ว ขึ้ น อยู่ ระดับหางคิ้วและวงแคบ

4

ตั้งวงกลาง

การยกส่ ว นโค้งของล าแขนให้ปลายนิ้วสูงระดับไหล่ ล้าแขน ส่วนบนกลางกว่าวงบน

5

ตั้งวงล่าง

การตั้งวงระดับต่าที่สุด โดย ท่อส่วนโค้งของลาแขน ลงข้างล่าง อยู่แล้วดับเองโดยตั้งมือตรงหัวเข็มขัดตัวพระกันศอกให้ห่างตัว

6

จีบคว่า

การคว่าฝ่ามือให้ปลายนิ้วชี้ลงหักข้อมือเข้าหาลาแขน

7

จีบหงาย

การหงายฝ่ามือให้ปลายนิ้วชี้ขึ้น ถ้าอยู่ระดับหน้าท้องเรียกว่า จีบหงายชายพก

8

จีบส่งหลัง

การส่งแขนไปข้างหลังตึงแขนพลิกข้อมือให้ปลายนิ้วชี้ขึ้น แขน ตึง และส่งแขนให้สูงไปด้านหลัง

9

จีบปรกข้าง

การจี บ ที่ ค ล้ า ยกั บ จี บ ปรกหน้ า แต่ หั น จี บ เข้ า หางานศี ร ษะ ลาแขนอยู่ข้างๆระดับเดียวกับวงบน


34

ลาดับ

ชื่อท่า/นาฏยศัพท์

คาอธิบาย

10

ล่อแก้ว

ลั ก ษณะกิ ริ ย าท่ า ทางคล้ า ยจี บ ใช้ นิ้ ว กลางกฎข้ อ ที่ 1 ของ นิ้ว หั ว แม่มือหั กปลายนิ้ว หั ว แม่มือคล้ ายวงแหวนนิ้ว ที่เ หลื อ เหยียดตึงหักข้อมือเข้าหาลาแขน

11

ม้วนจีบ

12

คลายมือจีบ

ท่าจีบหักข้อมือแล้วม้วนจีบลงข้างล่าง แล้วกลับเป็นท่าตั้งวง ท่าจีบหักข้อมือแล้วหงายมือจีบ แบมือหักข้อมือลงแล้วกลับมา เป็นตั้งวง

13

ส่ายมือ

ส่ายมือลงแขนตึง มือหักข้อมือกดมือมาที่สะโพกแล้วหงายมือ แขนตึง ขึ้นไปจนถึงระดับไหล่ แล้วคว่ามือกดมือลงมาอย่าง เร็ว

14

ฉายมือ

หงายมื อ แทงไปข้ า งซ้ า ยแล้ ว ตั้ ง วง มื อ ขวาที่ ตั้ ง วงต้ อ ง เปลี่ยนเป็นหงายพร้อมกับแทงมือไปทางขวา

15

ไว้มือ

16

ประเท้า

การกวดข้อมือกดลงแล้วยกตั้งขึ้นไว้ดังเดิม อาการที่สืบเนื่องมาจากการจรดเท้าโดยยกจมูกเท้าขึ้นให้ส้น เท้าวางกับพื้นย่อเข่าลงพร้อมทั้งแตะจมูกเท้าลงกับพื้นแล้วยก เท้าขึ้น

17

ตบเท้า

กริยาของการใช้เท้าคล้ายกับเท้าแต่ไม่ต้องยกเท้าขึ้นลงข่าว ตามจังหวะที่ตบเท้าอยู่ตลอดเวลา

18

กระทุ้งเท้า

วางเท้าไว้ข้างหลังด้วยจมูกเท้าแล้วใช้จมูกเท้ากระทุ้งลงกับพื้น แล้วกระดกขึ้นหรือยกไปข้างหน้า

19

กระดกเท้าหลัง

กระทุ้งเท้าแล้วที่เขาไปข้างหลังมากๆ ให้เขาทั้งสองข้างแยก ห่างจากกันให้ส้นเท้าชิดกันมากที่สุดหักปลายเท้าลงย่อเข่าที่ ยืนตัวพระต้องกันเข่าด้วย


35

ลาดับ

ชื่อท่า/นาฏยศัพท์

คาอธิบาย

20

จรดเท้า

อาการของเท้าข้างใดข้างหนึ่งที่วางอยู่ข้างหน้าน้าหนักตัวจะ อยู่ที่เท้าหลังเท้าหน้าจะใช้เพียงปลายจมูกเท้าแตะเบาเบาไว้ บนพื้นจมูกเท้าคือบริเวณเนื้อโคนนิ้วเท้า

21

แตะเท้า

การใช้ส่วนของจมูกเท้าแตะพื้น แล้ววิ่งหรือ ก้าว ขณะที่ ก้าว ส่วนอื่นของเท้าถึงพื้นด้วยซอยเท้าคือกิริยาที่ใช้จมูกเท้าวางพื้น แล้ววิ่งหรือ ก้าวขณะที่ ก้าวส่วนอื่นๆ ของเท้าถึงพื้นด้วย

22

ซอยเท้า

กิริยาที่ใช้จมูกเท้าวางบนพื้นส้นเท้าได้น้อยทั้งสองข้าง แล้วย้า ซ้ายขวาทีทีจะอยู่กับที่หรือเคลื่อนที่ก็ได้

23

ขยั่นเท้า

เหมื อ นซอยเท้ า ต่ า งกั น ที่ ซ้ า ยเท้ า ต้ อ งไขว้ เ ท้ า แล้ ว ท ากิ ริ ย า เหมือนซอยเท้า ถ้าขยั่นเคลื่อนที่ไปทางขวาก็ให้เท้าซ้ายอยู่ หน้าถ้าขยันเคลื่อนที่ไปทางซ้ายก็ให้เท้าขวาอยู่หน้า

24

ฉายเท้า

กิริยาที่ก้าวหน้าแล้วต้องการลาดพร้าวที่ 9 มาพักไว้ข้างๆ ให้ ใช้จมูกเท้าจรดพื้นไว้เผยอส้นนิดหน่อย แล้วลากมาพักไว้ใน ลักษณะเหลื่อมเท้าโดยหันปลายเท้าที่ฉายมาให้อยู่ด้านข้าง

25

ยกเท้า

การยกเท้าขึ้นไว้ข้างหน้า เชิด ปลายเท้าให้ตึง หากข้อเท้าเข้า หาลาขา ตัวพระกันเข่าออกไปทางข้างส่วนสูงระดับเข่าข้างที่ ยืนตัวนางไม่ต้องกันเข่าส่วนสูงอยู่ต่ากว่าเข่าข้างที่ยืนชักส้ น เท้าและเชิดปลายนิ้วก้าวเท้า

26

ก้าวหน้า

การวางฝ่าเท้าลงบนพื้นข้างหน้า โดยวางส้นเท้าลงก่อนตัวพระ จะก้าวเฉียงไปข้างๆตัวเล็กน้อยเสียงปลายเท้าไปทางนิ้วก้อย การข่าวแบบให้ได้เหลี่ยม ส่วนตัวนางวางเท้าลงข้างหน้า ไม่ ต้องกันเข่าปลายเท้าเฉียงไปทางนิ้วก้อยเล็กน้อย

27

ก้าวข้าง

การวางเท้าไปทางข้างลาตัวลายเท้าเฉียงไปทางนิ้วก้อยมากถ้า เป็นตัวนางต้องหลบเขาตามไปด้วย


36

ลาดับ

ชื่อท่า/นาฏยศัพท์

คาอธิบาย

28

ถอนเท้า

กิริยาที่ก้าวเท้าใดไปด้านข้าง น้าหนักตัวอยู่เท้าหน้า แล้วถ่าย น้าหนักตัวมาไว้เท้าหลัง แล้วยกเท้าหน้าขึ้นโดยไม่ต้องประเท้า

29

ถัดเท้า

กิริยาที่ใช้จมูกเท้าไสไปข้างหน้า ก้าวเต็มฝ่าเท้าแล้วก้าวเท้าอีก ข้างตามไป ก้าวเต็มทั้งสองเท้าเคลื่อนที่ไป

30

ประสมเท้า

กิริยาที่นาส้นเท้ามาชิดติดกัน ปลายเท้าบานออกไป น้าหนัก ขาทั้งสองข้างเท่ากัน

31

เช็ดเท้า

32

เหลื่อมเท้า

กิริยาที่ใช้จมูกเท้าถูไปกับพื้นเร็วๆ กิริยาที่นาส้นเท้าข้างใดข้างหนึ่งมาวางไว้ระหว่างตรงกลางเท้า ของอีกข้างหนึ่ง

ที่มา : นางสาวศิริพร แร่พรม, 20 กันยายน 2561. จากตารางจะเห็นได้ว่าการรา ชุด บุษบาชมศาล มีนาฏศัพท์ทั้งหมด 32 คา ซึ่งมีทั้งการใช้ศีรษะ การใช้หน้า การใช้ลาตัว การใช้เท้า เป็นต้น 7. กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่ นาฏศิลป์ไทยเป็นศาตสร์ที่ใช้ทักษะในการปฏิบัติ โดยรับการถ่ายทอดมาจากครูผู้ฝึกสอน ฝึกปฏิบัติจนเกิดความชานาญ ซึ่งในอดีตที่ผ่านมามักจดจากระบวนท่าราแบบไม่มีการจดบันทึกเป็นลาย ลั กษณ์อักษร จึ งเป็ น สาเหตุทาให้ ความรู้ ต่า งๆ ที่ถ่ายทอดกัน มาโบราณได้สู ญหายปามกาลเวลาและ บุคลากร ดังนั้น กล่าวได้ว่า การบันทกกระบวนท่าราเป็นลายลักษณ์อักษรนั้น เป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่วง วิชาการนาฏศิ ลป์ที่ทาให้ อง์ว ามรู้ ทางด้านนาฏศิลป์ไทยงอยู่เป็นศิลปวัฒนธรรมของประเทศชาติ และ สามารถดารงสืบทอดไปสู่คนรุ่นหลังได้ ถ่ายทอดท่าราโดย : อาจารย์อุษา แดงวิจิตร บันทึกท่าราโดย : นางสาวศิริพร แร่พรม บันทึกภาพโดย

: นางสาวสุดารัตน์ หงษ์ดวง


37

ตาราง 6 : กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่ ลาดับ

เพลง/บทร้อง

1

เพลงเร็ว

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ท่ายืนนาง ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงด้านซ้าย มือ : มือขวาจีบหงายระดับชายพก มือซ้ายวางทาบที่หน้าขาซ้าย เท้า : ยืนเหลื่อมเท้าซ้าย

2

เพลงเร็ว

ท่าเดินตัวนาง ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงด้านซ้ายแล้วกลับเอียง ขวา มือ : มือขวาจีบคว่าข้างลาตัว แล้ ว ปล่ อยเป็นตั้งวงระดั บชายพก มือ ซ้ า ยจี บ หงายระดั บชายพกปฏิบัติ ท่ า เดิ น มื อ เดี ย ว 2 ครั้ ง แล้ ว มื อ ทั้ ง สองจีบคว่าโดยมือขวาอยู่ระดับเอว ข้างลาตัวด้านขวา มือซ้ายอยู่ระดับ ชายพก จากนั้นเดินมือทั้งสองคลาย จีบออกเคลื่อนมือมาทางด้านซ้าย โดยมือขวาตั้งวงล่างระดับชายพก


38

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

2 (ต่อ)

เพลงเร็ว (ต่อ)

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย มือซ้ายตั้งวงแขนงอระดับเอวข้าง ลาตัวเท้า เท้ า : ก้ า วหน้ า เท้ า ซ้ า ย – ขวา ปฏิบัติสลับกัน ปฏิบัติท่าเดิน 3 ครั้ง

3

เพลงเร็ว

ท่าฉาย 2 ครั้ง ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือขวาตั้งวงบน มือซ้ายตั้งวง ตะแคงปลายมื อ ระดั บ อกฉายมื อ ออกข้าง เท้ า : ใช้ จ มู ก เท้ า ซ้ า ยฉายออก ด้ า น ข้ า ง แ ล้ ว ว า ง ห ลั ง ป ฏิ บั ติ สลับกันอีกข้าง

4

เพลงเร็ว

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ มือขวาแบหงายปลายนิ้วตกแขนตึง ระดับไหล่ แล้วค่อยๆ วาดมือลง เท้า : ประเท้าซ้ายแล้วยกขึ้น


39

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

5

เพลงเร็ว

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ มือซ้ายแบหงายปลายนิ้วตกแขนตึง ระดับไหล่ เท้า : ก้าวข้างเท้าซ้ายลง

6

เพลงเร็ว

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย - ขวา มือ : มือซ้ายตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ มือขวาแบหงายปลายนิ้วตกแขนตึง ระดับไหล่ แล้วส่ายมือขึ้น - ลง เท้า : ชะอ้อนตัวไปข้างหน้ายกเท้า หลั ง ขึ้ น เล็ ก น้ อ ย แล้ ว เหลื่ อ มเท้ า ซ้าย แล้วถัดเท้าขวาเดินไปข้างหน้า

7

เพลงเร็ว

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : วาดแขนมือขวาเป็นตั้งวงแขน ตึงระดับไหล่ มือซ้ายแบหงายปลาย นิ้วตกแขนตึงระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา กระทุ้งเท้า ซ้าย


40

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

8

เพลงลา

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ท่าล่อแก้ว ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับเอียงขวา มือ : มือทั้งสองล่อแก้วหงายระดับ ชายพก จากนั้นเดินมือขวาปล่อย ออกตั้งวงบน มือซ้ายปล่อยออกตั้ง วงล่างระดับชายพก เท้า : ประเท้าขวายกขึ้นและ ก้าวหน้าเท้าขวา ปฏิบัติสลับกันอีก ข้าง 4 ครั้ง ขึ้น 2 ลง 2

9

เพลงลา

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบหงายระดับหน้า มือ ซ้ายตั้งวงคู่กับมือขวา ค่อยๆเคล้า มือลงมา แล้วทาสลับอีกข้าง เท้า : ถอนหลังเท้าขวาแล้วนั่งลง คุกเข่าทับส้นเท้า


41

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

10

เพลงลา

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : หน้าตรง มือ : มือทั้งสองข้างจีบคว่าแล้คลาย มือออกวางทาบที่หน้าขา เท้า : นั่งคุกเข่าทับส้นเท้า

11

โอ้ศาลงาม

ทิศ : ทิศหน้า

ประเสริฐเพริศ

ศีรษะ : หน้าตรง

แพร้ว

มือ : มือทั้งสองข้างช้อนพนมมือ ไหว้ที่หน้าผาก แล้วเลื่อนลงมาไหว้ ที่หน้าอก เท้า : นั่งคุกเข่าทับส้นเท้า

12

ล้วนแล้ว

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบหงายระดับชายพก มือซ้ายตั้งวงล่างระดับชายพก เท้า : นั่งคุกเข่าทับส้นเท้า แยกเข่า ซ้ายออกเล็กน้อย


42

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

13

ด้วยอุไร

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบส่งหลัง มือซ้ายจีบ หงายระดับชายพก เท้า : ลุกตั้งเข่าขวาขึ้น แล้วค่อยๆ ยืนขึ้น

14

ไพจิตร

ทิศ : ทิศซ้าย ศีรษะ : เอียงขวา - ซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างจีบหงายระดับ อก แล้วเลื่อนออกเป็นมือขวาตั้งวง บน มือซ้ายตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย กระดกเท้า ขวาขึ้น

15

เอื้อน

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย - ขวา มือ : มือขวาตั้งวงบนระดับชายพก มือซ้ายจีบหงายระดับชายพก แล้ว มือขวาจีบส่งหลัง มือซ้ายโบกเป็น ตั้งวงบน เท้า : ประเท้าซ้ายยกขึ้น แล้ววาง ลงด้วยส้นเท้าซ้าย


43

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

16

พระวิมาน

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาไว้มือ มือซ้ายจีบส่ง หลัง เท้า : ถอนเท้าขวา ก้าวหน้าเท้า ซ้าย

17

สามหลัง

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาไว้มือแล้วสับมือสอง ครั้ง มือซ้ายจีบส่งหลัง เท้า : กระดกเท้าขวาขึ้น

18

ดังนฤมิตร

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย - หน้าตรง มือ : มือทั้งสองข้างตั้งวงระดับชาย พก แล้วช้อนมือไหว้ระดับหน้าอก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา กระดกเท้า ซ้ายขึ้น


44

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

19

มีระเบียง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย - ขวา มือ : มือไหว้ระดับหน้าอกตกปลาย นิ้วลงแล้วกลับมาเช่นเดิม เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

20

ต่อ

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือไหว้ระดับหน้าอกตกปลาย นิ้วลง เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

21

ติด

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือไหว้ระดับหน้าอก เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย


45

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

22

เอื้อน

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือไหว้ระดับหน้าอก เท้า : ยืด – ยุบ ก้าวหน้าเท้าขวา วิ่งหมุนซ้ายลงหลังแล้วกลับมาที่ เดิม

23

เป็นวงกง

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย - ขวา มือ : มือทั้งสองข้างชี้นิ้วชี้เข้าหาตัว ระดับวงบนแล้วม้วนออก เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย กระดกเท้า ขวาขึ้น

24

เอื้อน

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย - ขวา มือ : มือขวาตั้งวงบนระดับชายพก มือซ้ายจีบหงายระดับชายพก แล้ว มือขวาจีบส่งหลัง มือซ้ายโบกเป็น ตั้งวงบน เท้า : ประเท้าซ้ายยกขึ้น แล้ววาง ลงด้วยส้นเท้าซ้าย


46

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

25

พื้นสะอาด

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย - ลักคอขวา มือ : มือขวาชี้นิ้วชี้กดปลายนิ้วลง เล็กน้อยระดับชายพก มือซ้ายจีบ ส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้ายกระดกเท้า ขวา

26

ลาดล้วน

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบส่งหลัง มือซ้ายแบ คว่ามือแล้วพลิกเป็นมือแบหงาย ผายมือออก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

27

ศิลาเลียน

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย- หน้าตรง มือ : มือทั้งสองข้างจีบคว่าแล้ว คลายมือออกเป็นแบมือคว่ากด ปลายนิ้วลงเล็กน้อย เท้า : ถอนเท้าซ้ายฉายเท้าขวา ถอนเท้าขวาแล้วฉายเท้าซ้าย


47

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

28

แลเตียน

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาแบหงายปลายนิ้วตก แขนงอระดับเอว มือซ้ายป้องหน้า เท้า : ถอนเท้าซ้ายก้าวหน้าเท้าขวา

29

ไม่มี

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือขวาจีบคว่าแล้วกราย ออกเป็นตั้งวงระดับชายพกส่าย ปลายมือเล็กน้อย มือซ้ายจีบส่ง หลัง เท้า : ก้าวหน้าซ้าย กระดกเท้าขวา

30

ธุลีผง

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือทั้งสองข้างจีบคว่ากรายมือ ออกเท้าสะเอว เท้า : ถอนเท้าขวาฉายเท้าซ้าย ถอนเท้าซ้ายใช้จมูกเท้าขวาหมุน เป็นวงกลม แล้ววางหลัง


48

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

31

เอื้อน

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย - ขวา มือ : มือขวาตั้งวงบนระดับชายพก มือซ้ายจีบหงายระดับชายพก แล้ว มือขวาจีบส่งหลัง มือซ้ายโบกเป็น ตั้งวงบน เท้า : ประเท้าซ้ายยกขึ้น แล้ววาง ลงด้วยส้นเท้าซ้าย

32

ที่สถาน

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งนิ้วชี้ขึ้นตวัดเข้าหา ตัวเล็กน้อยแล้วชี้ออกแขนงอระดับ ชายพก มือซ้ายจีบส่งหลัง เท้า : ถอนเท้าขวาก้าวหน้าเท้าซ้าย

33

ลานวัด

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบส่งหลัง มือซ้ายชี้ นิ้วชี้กดปลายนิ้วลงแล้วพลิกมือ หงายผายมือออก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา


49

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

33

เอื้อน (ต่อ)

(ต่อ)

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบส่งหลัง มือซ้ายตั้ง วงบน เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

34

จังหวัดวง

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย- ขวา มือ : มือทั้งสองข้างจีบระดับปรก ข้างแล้วม้วนออกเป็นตั้งวงบน เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้ายกระดกเท้าขวา

35

บรรจง

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างทามือหยิบ ทรายแล้วกามือเล็กน้อย เท้า : นั่งยองทับส้นเท้า


50

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

36

ปรายโปรย

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือทั้งสองข้างกาเล็กน้อยแขน งอข้างลาตัวขวา เท้า : นั่งตั้งเข่าซ้ายขึ้น ยืด - ยุบ วิ่ง หมุนซ้ายรอบตัวเองมาทิศหน้า

37

โรยทราย

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : หน้าตรงก้มหน้าลงเล็กน้อย มือ : มือทั้งสองข้างขยับปลายนิ้ว เล็กน้อยเหมือนโรยทราย ก้มตัวลง เล็กน้อย เท้า : ฉายเท้าขวา

38

เอื้อน

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย - ขวา มือ : มือขวาตั้งวงบนระดับชายพก มือซ้ายจีบหงายระดับชายพก แล้ว มือขวาจีบส่งหลัง มือซ้ายโบกเป็น ตั้งวงบน เท้า : ประเท้าซ้ายยกขึ้น แล้ววาง ลงด้วยส้นเท้าซ้าย


51

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

39

รุกชาติ

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งนิ้วชี้ขึ้นตวัดเข้าหา ตัวเล็กน้อยแล้วชี้ออกแขนงอระดับ ศีรษะ มือซ้ายจีบส่งหลัง เท้า : ถอนเท้าขวาก้าวหน้าเท้า ซ้าย

40

ดาษดา

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบส่งหลัง มือซ้ายแบ คว่ามือแล้วพลิกเป็นมือแบหงาย ผายมือออก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

41

น่าชม

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือขวาแบมือกระดกปลายนิ้ว ขึ้นเล็กน้อยระดับอก มือซ้ายจีบส่ง หลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้ายกระดกเท้า ขวาขึ้น


52

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

42

รื่นร่ม

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา-ซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างตั้งวงระดับปรก ข้างแล้วช้อนมือมาจีบระดับปรก ข้าง เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวากระดกเท้า ซ้ายขึ้น

43

ใบบัง

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือทั้งสองข้างตั้งวงไล่ระดับ มือซ้ายตั้งวงบนมือขวาตั้งวงต่ากว่า มือซ้ายเล็กน้อย เท้า : ก้าวเท้าซ้ายไปด้านข้าง เล็กน้อย แล้วกระดกเท้าขวาขึ้น

44

สุริฉาย

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาชี้นิ้วชี้ต่ากว่ามือซ้าย กดปลายนิ้วลงเล็กน้อย มือซ้ายตั้ง วงบน เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา กระดกเท้า ซ้ายขึ้น


53

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

45

เอื้อน

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย - ขวา มือ : มือขวาตั้งวงบนระดับชายพก มือซ้ายจีบหงายระดับชายพก แล้ว มือขวาจีบส่งหลัง มือซ้ายโบกเป็น ตั้งวงบน เท้า : ประเท้าซ้ายยกขึ้น แล้ววาง ลงด้วยส้นเท้าซ้าย

46

น่าเที่ยวน่าเล่น

ท่าเดินตัวนาง

เย็นสบาย

ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : เอียงด้านซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือทั้งสองจีบคว่าโดยมือขวา อยู่ระดับเอวข้างลาตัวด้านขวา มือ ซ้ายอยู่ระดับชายพก จากนั้นเดิน มือทั้งสองคลายจีบออกเคลื่อนมือ มาทางด้านซ้าย โดยมือขวาตั้งวง ล่างระดับชายพก มือซ้ายตั้งวงแขน งอระดับเอวข้างลาตัวเท้า ปฏิบัติ สลับกัน 4 ครั้ง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย – ขวา ปฏิบัติสลับกัน


54

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

47

มาเถิด

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือทั้งสองข้างจีบคว่าระดับอก แล้วกรายออกเป็นแบมือคว่าแล้ว กดปลายนิ้วลงท่าเรียก เท้า : ถอนเท้าซ้ายก้าวหน้าเท้าขวา วิ่งหมุนซ้ายรอบตัวเองแล้วกลับมา ทิศหน้า

48

มาราถวาย

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือทั้งสองข้างจีบคว่าระดับอก แล้วกรายออกเป็นตั้งวงแขนตึง ระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา กระดกเท้า ซ้ายขึ้น

49

เทวา

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : หน้าตรง มือ : มือทั้งสองข้างพนมมือไหว้ที่ หน้าผากแล้วลงมาไหว้ที่ระดับอก เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้ายกระดกเท้า ขวาขึ้น


55

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

50

เอื้อน

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย - ขวา มือ : มือขวาตั้งวงบนระดับชายพก มือซ้ายจีบหงายระดับชายพก แล้ว มือขวาจีบส่งหลัง มือซ้ายโบกเป็น ตั้งวงบน เท้า : ประเท้าซ้ายยกขึ้น แล้ววาง ลงด้วยส้นเท้าซ้าย

51

จะจับระบา

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา- ซ้าย มือ : มือขวาจีบคว่าแขนงอระดับ เอว มือซ้ายแบหงายปลายนิ้วตก แขนงอระดับเอว มือขวาสอดสูงมือ ซ้ายตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ เท้า : ประเท้าซ้ายแล้วก้าวหน้าลง

52

ราฟ้อน

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย - ขวา มือ : มือขวาตั้งวงบน มือซ้ายสอด จีบหงาย แล้วมือขวาปาดลงมา ระดับเอวจีบคว่าแล้วปล่อย ออกเป็นตั้งวงแขนงอระดับเอว มือ ซ้ายสอดมือเป็นตั้งวงบน เท้า : ก้าวข้างเท้าขวาเล็กน้อยแล้ว กระดกเท้าซ้ายขึ้น


56

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

53

ทอดกร

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาหยิบจีบคว่าข้างหน้า แล้วพลิกเป็นจีบงายแขนตึง มือ ซ้ายจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

54

กรีดกราย

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา - ซ้าย มือ : มือขวาจีบงายแขนตึงแล้วจีบ ส่งหลัง มือซ้ายจีบงายแขนตึงระดับ ไหล่แล้วม้วนออกเป็นตั้งวงบน เท้า : กระทุ้งหลังเท้าขวาแล้ว ก้าวหน้า

55

ซ้ายขวา

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย - ขวา มือ : มือขวาจีบหงายแขนตึงระดับ ไหล่แล้วม้วนออกเป็นตั้งวงบน มือ ซ้ายตั้งวงบนแล้วจีบส่งหลัง เท้า : กระทุ้งหลังเท้าซ้ายแล้ว ก้าวหน้า


57

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

56

ให้งามงอน

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศซ้าย ศีรษะ : เอียงซ้าย - ขวา มือ : มือทั้งสองข้างตั้งวงระดับ ศีรษะแล้วช้อนมือเป็นจีบระดับปรก ข้าง เท้า : ก้าวข้างเท้าซ้ายเล็กน้อยแล้ว กระดกเท้าขวาขึ้น

57

อ่อนจริต

ทิศ : ทิศซ้าย-ขวา ศีรษะ : เอียงขวา-ซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างล่อแก้วหงาย ระดับชายพกแล้วม้วนออกเป็นตั้ง วง มือขวาตั้งวงบน มือซ้ายตั้งวง ระดับชายพก เท้า : ประเท้าขวายกขึ้นวางหลัง แล้วเหลื่อมด้วยเท้าซ้าย

58

กิริยา

ทิศ : ทิศขวา-ซ้าย ศีรษะ : เอียงซ้าย-ขวา มือ : มือทั้งสองข้างล่อแก้วหงาย ระดับชายพกแล้วม้วนออกเป็นตั้ง วง มือซ้ายตั้งวงบน มือขวาตั้งวง ระดับชายพก เท้า : ประเท้าซ้ายยกขึ้นวางหลัง แล้วเหลื่อมด้วยเท้าขวา


58

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

59

ดังกินราลงเล่น

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย-หน้าตรง มือ : มือทั้งสองข้างจีบคว่าระดับอก แล้วกรายออกเป็นตั้งวงกลาง ตีไหล่ ไปข้างซ้าย - ขวา เท้า : เท้าขวาก้าวข้างแล้วกระดก เท้าซ้ายขึ้น

60

ชลธี

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงบน มือซ้ายตั้งวง แขนตึงระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้ายแล้วค่อยๆ หมุนมาทางทิศซ้าย

61

เอื้อน

ทิศ : ทิศซ้าย ศีรษะ : เอียงขวา-ซ้าย มือ : มือขวาจีบงายระดับชายพก แล้วโบกออกเป็นตั้งวงบน มือซ้าย ตั้งวงล่างแล้วจีบส่งหลัง เท้า : ประเท้าขวายกขึ้นแล้ววาง ด้วยส้นเท้า


59

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

62

ปี่พาทย์บรรเลง เพลงรับ

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา- ซ้าย มือ : มือขวาจีบคว่าแขนงอระดับ เอว มือซ้ายแบหงายปลายนิ้วตก แขนงอระดับเอว มือขวาสอดสูงมือ ซ้ายตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ เท้า : ประเท้าซ้ายแล้วก้าวหน้าลง

63

ปี่พาทย์บรรเลง เพลงรับ

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย - ขวา มือ : มือขวาตั้งวงบน มือซ้ายสอด จีบหงาย แล้วมือขวาปาดลงมา ระดับเอวจีบคว่าแล้วปล่อย ออกเป็นตั้งวงแขนงอระดับเอว มือ ซ้ายสอดมือเป็นตั้งวงบน เท้า : ก้าวข้างเท้าขวาเล็กน้อยแล้ว กระดกเท้าซ้ายขึ้น

64

ปี่พาทย์บรรเลง เพลงรับ

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาหยิบจีบคว่าข้างหน้า แล้วพลิกเป็นจีบงายแขนตึง มือ ซ้ายจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย


60

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

65

ปี่พาทย์บรรเลง เพลงรับ

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา - ซ้าย มือ : มือขวาจีบงายแขนตึงแล้วจีบ ส่งหลัง มือซ้ายจีบงายแขนตึงระดับ ไหล่แล้วม้วนออกเป็นตั้งวงบน เท้า : กระทุ้งหลังเท้าขวาแล้ว ก้าวหน้า

66

ปี่พาทย์บรรเลง เพลงรับ

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย - ขวา มือ : มือขวาจีบหงายแขนตึงระดับ ไหล่แล้วม้วนออกเป็นตั้งวงบน มือ ซ้ายตั้งวงบนแล้วจีบส่งหลัง เท้า : กระทุ้งหลังเท้าซ้ายแล้ว ก้าวหน้า

67

ปี่พาทย์บรรเลง เพลงรับ

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงขวา - ซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างตั้งวงระดับ ศีรษะแล้วช้อนมือเป็นจีบระดับปรก ข้าง เท้า : ก้าวข้างเท้าขวาเล็กน้อยแล้ว กระดกเท้าซ้ายขึ้น


61

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

68

ปี่พาทย์บรรเลง เพลงรับ

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศขวา-ซ้าย ศีรษะ : เอียงซ้าย-ขวา มือ : มือทั้งสองข้างล่อแก้วหงาย ระดับชายพกแล้วม้วนออกเป็นตั้ง วง มือซ้ายตั้งวงบน มือขวาตั้งวง ระดับชายพก เท้า : ประเท้าซ้ายยกขึ้นวางหลัง แล้วเหลื่อมด้วยเท้าขวา

69

ปี่พาทย์บรรเลง เพลงรับ

ทิศ : ทิศซ้าย-ขวา ศีรษะ : เอียงขวา-ซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างล่อแก้วหงาย ระดับชายพกแล้วม้วนออกเป็นตั้ง วง มือขวาตั้งวงบน มือซ้ายตั้งวง ระดับชายพก เท้า : ประเท้าขวายกขึ้นวางหลัง แล้วเหลื่อมด้วยเท้าซ้าย

70

ปี่พาทย์บรรเลง เพลงรับ

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา - หน้าตรง มือ : มือทั้งสองข้างจีบคว่าระดับอก แล้วกรายออกเป็นตั้งวงกลาง ตีไหล่ ไปข้างขวา - ซ้าย เท้า : เท้าซ้ายก้าวข้างแล้วกระดก เท้าขวาขึ้น


62

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย

71

ปี่พาทย์บรรเลง

ทิศ : ทิศซ้าย

เพลงรับ

ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือซ้ายตั้งวงบน มือขวาตั้งวง แขนตึงระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวาแล้วค่อยๆ หมุนมาทางทิศขวา

72

ปี่พาทย์บรรเลง เพลงรับ

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย - ขวา มือ : มือขวาตั้งวงบนระดับชายพก มือซ้ายจีบหงายระดับชายพก แล้ว มือขวาจีบส่งหลัง มือซ้ายโบกเป็น ตั้งวงบน เท้า : ประเท้าซ้ายยกขึ้น แล้ววาง ลงด้วยส้นเท้าซ้าย

73

ลดเลี้ ย วเที่ ย ว

ทิศ : ทิศขวา

ท่ อ ง ใ ห้ ค ล่ อ ง

ศีรษะ : เอียงซ้าย-ขวา

เคล้า

มือ : มือขวาหยิบจีบคว่าระดับชาย พกแล้วพลิกเป็นจีบหงาย มือซ้าย จีบส่งหลัง แล้วปฏิบัติสลับกันทั้ง สองข้าง 4 ครั้ง เท้า : ถอนเท้าซ้ายก้าวหน้าเท้าขวา ยืด -ยุบแล้ววิ่งซอยเท้าเป็นเลข แปดนอนจนหันมาทิศหน้า


63

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

74

ซ้อนจังหวะ

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย-ขวา มือ : มือขวาจีบคว่าแขนงระดับเอว แล้วสอดสูง มือซ้ายแบหงายปลาย นิ้วตกแขนงอระดับเอวแล้วพลิกขึ้น เป็นตั้งวงแขนตึงระดับไห่ล เท้า : จรดเท้าขวาก้าวหน้าแล้วจรด เท้าซ้าย

75

ประเท้า

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา-ซ้าย มือ : มือขวาแบหงายปลายนิ้วตก แขนงอระดับเอวแล้วพลิกเป็นตั้งวง แขนตึงระดับไหล่ มือซ้ายจีบคว่า แขนงอระดับเอวแล้วสอดสูง เท้า : จรดเท้าซ้ายก้าวหน้าแล้วแตะด้วย จมูกเท้าขวาหลายๆ ครั้ง

76

เอื้อน

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย-ขวา มือ : มือขวาจีบคว่าแขนงระดับเอว แล้วสอดสูง มือซ้ายแบหงายปลาย นิ้วตกแขนงอระดับเอวแล้วพลิกขึ้น เป็นตั้งวงแขนตึงระดับไห่ล เท้า : จรดเท้าขวาก้าวหน้าแล้วจรด เท้าซ้าย ซอยเท้า


64

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

77

ให้ถี่ถี่

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา-ซ้าย มือ : มือขวาแบหงายปลายนิ้วตก แขนงอระดับเอวแล้วพลิกเป็นตั้งวง แขนตึงระดับไหล่ มือซ้ายจีบคว่า แขนงอระดับเอวแล้วสอดสูง เท้า : จรดเท้าซ้ายก้าวหน้า จรด เท้าขวาแล้วซอยเท้า

78

ร่ายเรียงเคียงคู่

ทิศ : ทิศขวา-ซ้าย ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาแบหงายปลายนิ้วตก แขนงอระดับเอว มือซ้ายป้องหน้า เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวากระดกเท้า ซ้ายขึ้นสะดุ้งตัวแล้วค่อยๆ หันไป ทางทิศซ้าย

79

ให้ดูดี

ทิศ : ทิศซ้าย ศีรษะ : เอียงขวา-ซ้าย มือ : มือขวาจีบคว่าระดับอกแล้ว กรายออกเป็นตั้งวงบน มือซ้ายตั้ง วงระดับอกแล้วจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้ายแล้วก้าวข้าง เท้าขวา สะดุ้งตัวค่อยๆ หันไปทิศ หน้า


65

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

80

เป็นที่สนุก

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาแบหงายปลายนิ้วตก แขนตึงระดับไหล่ มือซ้ายตั้งวงล่าง เท้า : ฉายเท้าขวาเล็กน้อยแล้ว ก้าวหน้าลง

81

เอื้อน

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ มือซ้ายตั้งวงล่างเช่นเดิม เท้า : กระทุ้งหลังเท้าซ้ายยกขึ้น แล้ววางลง

82

สุขสาราญ

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย-ขวา มือ : มือทั้งสองข้างจีบหงายระดับ อก แล้วมือซ้ายปล่อยออกเป็นตั้งวง บน มือขวาตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวาแล้วกระดก เท้าซ้ายขึ้น สะดุ้งตัวขึ้น


66

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

83

เอื้อน

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย - ขวา มือ : มือขวาตั้งวงบนระดับชายพก มือซ้ายจีบหงายระดับชายพก แล้ว มือขวาจีบส่งหลัง มือซ้ายโบกเป็น ตั้งวงบน เท้า : ประเท้าซ้ายยกขึ้น แล้ววาง ลงด้วยส้นเท้าซ้าย

84

ปี่พาทย์บรรเลง เพลงรับ

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย-ขวา มือ : มือขวาจีบส่งหลัง มือซ้าย หยิบจีบคว่าระดับชายพกแล้วพลิก เป็นจีบหงาย แล้วปฏิบัติสลับกันทั้ง สองข้าง 4 ครั้ง เท้า : ถอนเท้าขวาก้าวหน้าเท้าซ้าย ยืด -ยุบแล้ววิ่งซอยเท้าเป็นเลข แปดนอนจนหันมาทิศหน้า

85

ปี่พาทย์บรรเลง เพลงรับ

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย-ขวา มือ : มือขวาจีบคว่าแขนงระดับเอว แล้วสอดสูง มือซ้ายแบหงายปลาย นิ้วตกแขนงอระดับเอวแล้วพลิกขึ้น เป็นตั้งวงแขนตึงระดับไห่ล


67

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

85

ปี่พาทย์บรรเลง

เท้า : จรดเท้าขวาก้าวหน้าแล้วจรด

(ต่อ)

เพลงรับ (ต่อ)

เท้าซ้าย

86

ปี่พาทย์บรรเลง

ทิศ : ทิศหน้า

เพลงรับ

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย

ศีรษะ : เอียงขวา-ซ้าย มือ : มือขวาแบหงายปลายนิ้วตก แขนงอระดับเอวแล้วพลิกเป็นตั้งวง แขนตึงระดับไหล่ มือซ้ายจีบคว่า แขนงอระดับเอวแล้วสอดสูง เท้า : จรดเท้าซ้ายก้าวหน้าแล้วแตะ ด้วยจมูกเท้าขวาหลายๆ ครั้ง

87

ปี่พาทย์บรรเลง เพลงรับ

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย-ขวา มือ : มือขวาจีบคว่าแขนงระดับเอว แล้วสอดสูง มือซ้ายแบหงายปลาย นิ้วตกแขนงอระดับเอวแล้วพลิกขึ้น เป็นตั้งวงแขนตึงระดับไห่ล เท้า : จรดเท้าขวาก้าวหน้าแล้วจรด เท้าซ้าย ซอยเท้า

88

ปี่พาทย์บรรเลง เพลงรับ

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา-ซ้าย มือ : มือขวาแบหงายปลายนิ้วตก แขนงอระดับเอวแล้วพลิกเป็นตั้งวง แขนตึงระดับไหล่ มือซ้ายจีบคว่า แขนงอระดับเอวแล้วสอดสูง


68

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย

88

ปี่พาทย์บรรเลง

เท้า : จรดเท้าซ้ายก้าวหน้า จรด

(ต่อ)

เพลงรับ (ต่อ)

เท้าขวาแล้วซอยเท้า

89

ปี่พาทย์บรรเลง

ทิศ : ทิศขวา-ซ้าย

เพลงรับ

ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาแบหงายปลายนิ้วตก แขนงอระดับเอว มือซ้ายป้องหน้า เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวากระดกเท้า ซ้ายขึ้นสะดุ้งตัวแล้วค่อยๆ หันไป ทางทิศซ้าย

90

ปี่พาทย์บรรเลง เพลงรับ

ทิศ : ทิศซ้าย ศีรษะ : เอียงขวา-ซ้าย มือ : มือขวาจีบคว่าระดับอกแล้ว กรายออกเป็นตั้งวงบน มือซ้ายตั้ง วงระดับอกแล้วจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้ายแล้วก้าวข้าง เท้าขวา สะดุ้งตัวค่อยๆ หันไปทิศ หน้า

91

ปี่พาทย์บรรเลง เพลงรับ

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาแบหงายปลายนิ้วตก แขนตึงระดับไหล่ มือซ้ายตั้งวงล่าง เท้า : ฉายเท้าขวาเล็กน้อยแล้ว ก้าวหน้าลง


69

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

92

ปี่พาทย์บรรเลง เพลงรับ

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ มือซ้ายตั้งวงล่างเช่นเดิม เท้า : กระทุ้งหลังเท้าซ้ายยกขึ้น แล้ววางลง

93

ปี่พาทย์บรรเลง เพลงรับ

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย-ขวา มือ : มือทั้งสองข้างจีบหงายระดับ อก แล้วมือซ้ายปล่อยออกเป็นตั้งวง บน มือขวาตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวาแล้วกระดก เท้าซ้ายขึ้น สะดุ้งตัวขึ้น

94

ปี่พาทย์บรรเลง เพลงรับ

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย - ขวา มือ : มือขวาตั้งวงบนระดับชายพก มือซ้ายจีบหงายระดับชายพก แล้ว มือขวาจีบส่งหลัง มือซ้ายโบกเป็น ตั้งวงบน เท้า : ประเท้าซ้ายยกขึ้น แล้ววาง ลงด้วยส้นเท้าซ้าย


70

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

95

จะร้องเรื่อยรับ ขับครวญ

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบส่งหลัง มือซ้ายจีบ หงายระดับชายพก เท้า : ถอนเท้าซ้าย แล้วก้าวหน้า เท้าขวา สะดุ้งตัวค่อยๆ หันไปทาง ทิศซ้าย

96

โหยหวน

ทิศ : ทิศซ้าย

สาเนียง

ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาป้องที่ปาก มือซ้ายจีบ หงายระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

97

เสียงประสาน

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย - ขวา มือ : มือขวาตั้งวงบนแล้วพลิกเป็น สอดสูง มือซ้ายจีบหงายระดับปาก แล้วม้วนออกเป็นตั้งวงแขนงอ ระดับปาก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา กระดกเท้า ซ้ายขึ้น


71

ลาดับ 98

99

เพลง/บทร้อง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย

จะร้องเรื่อยรับ

ทิศ : ทิศหน้า

ขับครวญ

ศีรษะ : ลักคองซ้าย - ขวา

โหยหวน

มือ : มือปฏิบัติเช่นเดิม

สาเนียง

เท้า : เท้าซ้ายวางหลังลง

เสียงประสาน

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา - ซ้าย มือ : มือขวาจีบหงายระดับปาก แล้วม้วนออกเป็นตั้งวงแขนงอ ระดับปาก มือซ้ายตั้งวงบนแล้ว พลิกเป็นสอดสูง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย กระดกเท้า ขวาขึ้น

100

บ าเรอเทวา หน้ า พระ ล า น

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : หน้าตรง มือ : มือทั้งสองพนมมือไหว้ระดับ

ให้กังวาน เพราะพร้ อ ม

หน้าอก แล้วไหว้ที่หน้าผาก แล้ว เลื่อนมาไหว้ที่อกเช่นเดิม เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา กระดกเท้า ซ้ายขึ้น


72

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

101

ก้องระงม

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศซ้าย ศีรษะ : เอียงขวา - ซ้าย มือ : มือขวาจีบคว่าแขนงระดับเอว แล้วสอดสูง มือซ้ายแบหงายปลาย นิ้วตกแขนงอระดับเอวแล้วพลิกขึ้น เป็นตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย กระทุ้งหลัง เท้าขวาแล้วกระดกขึ้น

102

บาเรอเทวา

ทิศ : ทิศหน้า

หน้ า พระ ล า น

ศีรษะ : เอียงขวา - ซ้าย มือ : มือปฏิบัติท่าสอดสูงเช่นเดิม

ให้กังวาน เพราะพร้ อ ม

เท้า : แตะด้วยจมูกเท้าขวา แล้ว วางหลัง แล้วปฏิบัติสลับกัน


73

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

103

ก้องระงม

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา - หน้าตรง มือ : มือขวาจีบคว่าแขนงระดับเอว แล้วพลิกเป็นจีบหงายแขนตึงระดับ ไหล่ มือซ้ายแบหงายปลายนิ้วตก แขนงอระดับเอวแล้วพลิกเป็นตั้งวง บน เท้า : ประเท้าซ้ายยกขึ้นวางแล้ว ผสมเท้า

104

แม่ศรีเอยแม่ศรี

ทิศ : ทิศหน้า

สาวสะ

ศีรษะ : ลักคอขวา - ซ้าย

ยกมือไหว้พระ

มือ : มือขวาจีบหงายแขนตึงระดับ

แล้วจะมี

ไหล่ มือซ้ายตั้งวงบนเช่นเดิม แล้ว ยักตัวเล็กน้อย ยักช้า 6 จังหวะ เร็ว 2 จังหวะ เท้า : ผสมเท้า

105

คนชม

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา - ซ้าย มือ : มือขวาจีบคว่าแขนงระดับเอว แล้วพลิกเป็นจีบหงายแขนตึงระดับ ไหล่ มือซ้ายตั้งวงบนเช่นเดิม เท้า : เหลื่อมเท้าขวา แล้วก็เหลื่อม เท้าซ้าย ยุบตัวลง


74

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย

106

แม่ศรีเอยแม่ ศรี

ทิศ : ทิศหน้า

สาวสะ

ศีรษะ : เอียงขวา - ซ้าย มือ : มือขวาแบหงายปลายนิ้วตก แล้วพลิกเป็นตั้งวงแขนตึงระดับ ไหล่ มือซ้ายตั้งวงบนเช่นเดิม เท้า : เหลื่อมเท้าขวา แล้วก็เหลื่อม เท้าซ้าย สะดุ้งตัวขึ้นหันไปทิศซ้าย

107

ยกมือไหว้พระ

ทิศ : ทิศซ้าย ศีรษะ : เอียงซ้าย - ขวา มือ : มือทั้งสองข้างจีบคว่าระดับ ชายพก แล้วคลายออกเป็นแบ หงายปลายนิ้วตกแขนงอระดับชาย พก เท้า : ก้าวข้างเท้าซ้ายเล็กน้อย กระทุ้งหลังเท้าขวา

108

แล้วจะมีคนชม

ทิศ : ทิศซ้าย ศีรษะ : เอียงขวา – ซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างแบหงายปลาย นิ้วตกแขนงอระดับชายพก แล้ว พลิกเป็นตั้งวงระดับชายพก เท้า : ประเท้าซ้ายแล้วก้าวหน้าลง


75

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

109

ขนคิ้วเจ้าก็ต่อ

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศซ้าย ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างตั้งวงระดับชาย พกเช่นเดิม สะดุ้งตัวขึ้น 2 ครั้ง เท้า : เท้าซ้ายก้าวหน้า

110

ทั้งคอเจ้าก็กลม

ทิศ : ทิศซ้าย ศีรษะ : เอียงซ้าย - ขวา มือ : มือทั้งสองข้างจีบคว่าระดับ ชายพกแล้วพลิกเป็นจีบหงาย เท้า : ประเท้าขวาแล้วจรด

111

ดูไม่ลืมปลื้ม

ทิศ : ทิศซ้าย - ขวา

อารมณ์

ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือทั้งสองข้างจีบหงาย เช่นเดิม เท้า : จรดเท้าขวา ซอยเท้าหันไป ทิศขวา


76

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

112

ชมแม่ศรีเอย

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย - หน้าตรง มือ : มือทั้งสองข้างจีบคว่าระดับอก แล้วกรายออกเป็นตั้งวงแขนตึง ระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา แล้วยกเท้า ซ้ายขึ้น

113

ขนคิ้ ว เจ้ า ก็ ต่ อ

ทิศ : ทิศหน้า

ทั้งคอเจ้ าก็กลม

ศีรษะ : ลักคอซ้าย - ขวา

ดู ไ ม่ ลื ม ป ลื้ ม

มือ : มือทั้งสองข้างตั้งวงแขนตึง

อารมณ์ชมแม่

ระดับไหล่ แล้วยักตัวเล็กน้อย ยัก ช้า 6 ครั้ง ยักเร็ว 2 ครั้ง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้ายลง

114

ศรีเอย

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา - ซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างตั้งวงงอแขน เล็กน้อยแล้วแขนตึงระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย กระทุ้งหลัง เท้าขวาแล้ววางหลัง


77

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

115

เพลงเร็ว

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ท่าฉาย ทิศ : ด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงบน มือขวาตั้งวง ตะแคงปลายมื อ ระดั บ อกฉายมื อ ออกข้าง เท้า : ใช้จมูกเท้าขวาฉายออก ด้านข้าง

116

เพลงเร็ว

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ มือขวาแบหงายปลายนิ้วตกแขนตึง ระดับไหล่ แล้วค่อยๆ วาดมือลง เท้า : ประเท้าซ้ายแล้วยกขึ้น

117

เพลงเร็ว

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ มือซ้ายแบหงายปลายนิ้วตกแขนตึง ระดับไหล่ เท้า : ก้าวข้างเท้าซ้ายลง


78

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

118

เพลงเร็ว

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย - ขวา มือ : มือซ้ายตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ มือขวาแบหงายปลายนิ้วตกแขนตึง ระดับไหล่ แล้วส่ายมือขึ้น - ลง เท้า : ชะอ้อนตัวไปข้างหน้ายกเท้า หลังขึ้นเล็กน้อย แล้วเหลื่อมเท้า ซ้าย แล้วถัดเท้าขวาเดินไปข้างหน้า

119

เพลงลา

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย - ขวา มือ : มือขวาจีบคว่าระดับอกแล้ ว กรายออกเป็นตั้งวงบน มือซ้ายตั้ง วงระดับอกแล้วจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา แล้ ว ก้า ว ข้างเท้าซ้าย ยืด - ยุบ วิ่งซอยเท้า เข้าเวที

ที่มา : นางสาวศิริพร แร่พรม, 20 กันยายน 2561.


บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ จากการศึกษาในรายวิชาอาศรมศึกษาในครั้งนี้ ได้รับความกรุณาจากอาจารย์อุษา แดงวิจิตร นาฏศิลปินอาวุโส สานักการสังคีตกรมศิลปากร ท่านได้อนุเคราะห์ถ่ายทอดท่าราเดี่ยวมาตรฐานทางด้าน นาฏศิลป์ไทย ชุด บุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์) แก่ผู้รับการถ่ายทอด สรุปได้ดังนี้ บทสรุป การแสดงชุดบุษบาชมศาล จัดอยู่ในบทละครเรื่องอิเหนา เดิมพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ได้ประพันธ์บทละครขึ้นใหม่เพื่อใช้แสดง แบบละครดึกดาบรรพ์ ในตอนชื่อว่า บุษบาชมศาลและตัดดอกไม้ฉายกริช ซึ่งนิยมเรียกว่า ราบุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์) เนื้อความตอนนี้มีว่าหลังจากที่อิเหนาได้รับชัยชนะจากการศึกสงครามแล้ว ท้าวดาหา จึงได้ยกขบวนพยุหยาตรา ไปทาพิธีบรวงสรวงเทวาอารักษ์ ที่เขาวิลิศมาหรา เมื่อขบวนพยุหยาตราไปถึง เขาวิลิศมาหราแล้ว ในระหว่างที่ตั้งพลับพลาที่ประทับนั้น นางบุษบาจึงชวนพระพี่เลี้ยง และนางสนมกานัล ออกไปเที่ยวชมศาล และเก็บดอกไม้ที่มีกลิ่นหอมนามาทาบุหงาราไป เพื่อใช้ถวายเทวาอารักษ์ ในคราวนี้ นางค่อมได้พลัดหลงจากกลุ่มและนั่งร้องไห้อยู่ในป่า อิเหนามาพบเข้าจึงไต่ถามจนได้ความและออกอุบาย ว่าจะมาหาดอกปาหนันมาให้นางค่อม เพื่อนาไปถวายนางบุษบาโดยอิเหนาได้เขียนข้อความลงไปในกลีบ ดอกปาหนั น แล้ ว ตามนางค่อ มไปลอบชมความงามของนางบุษ บาและฉายกริช เกิด แสงแวววาวเพื่ อ เรียกร้องความสนใจจากนางบุษบา ซึ่งตอนนี้เองนางบุษบาได้ออกมาราชมศาล การราชุดนี้เป็นการร่ายราชมความงามของสถานที่ ลักษณะการราชุดนี้จะอวดลีลาการร่ายราที่ใช้ จริตท่าทางและอารมณ์ตามแบบแผนของละครดึกดาบรรพ์ และเป็นการราอวดฝีมือของผู้แสดงที่ ผู้ที่ราชุด นี้ต้องมีความอดทน ความขยัน และความพยายามในการฝึกหัดเป็นอย่างมากเพราะจะต้องอาศัยเทคนิค และลีลาต่างๆ เพื่อให้ถึงบทบาทของตัวละคร จากการศึกษาในครั้งนี้ผู้เรียนได้รับ ความรู้เกี่ยวกับการแสดงบุษบาชมศาลหลายประการ ทั้งใน ด้านทฤษฎีและด้านปฏิบัติล้วนก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ ศึกษาทั้งสิ้น และยังได้เรียนรู้ เทคนิค ลีลาการรา ต่างๆ จากผู้ทรงคุณวุฒิอย่างครบถ้วน เพื่อนามาปรับใช้กับผู้เรียนได้เป็นอย่างดี


80

ข้อเสนอแนะ หากเป็นการแสดงแบบละครดึกดาบรรพ์ ต้องร้องเองราเองตามแบบแผนของละครดึกดาบรรพ์ และควรมีพี่เลี้ยง นางกานัลจะทาให้การแสดงนั้นสมบูรณ์ยิ่งขึ้น


81

บรรณานุกรม

ผุสดี หลิมสกุล. ราเดี่ยวแบบมาตรฐาน ตัวนาง. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2549. วีระศิลป์ ช้างขนุน. พื้นฐานนาฏกรรมไทย. นครปฐม : เจริญรัฐการพิมพ์, 2554. อมรา กลาเจริญ. สุนทรียนาฏศิลป์ไทย. พิมพ์ครั้งที 3. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2542. อุดม กุลเมธพนธ์. นาฏศัพท์ฉบับครูละมุล. เชียงใหม่ : สุเทพการพิมพ์, 2556.

สัมภาษณ์ อุษา แดงวิจิตร. นาฏศิลปินอาวุโส สานักการสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม. สัมภาษณ์. วันที 25 กรกฎาคม 2561, วันที 16 สิงหาคม 2561. เว็บไซต์ http://www.sac.or.th/databases/thailitdir/detail.php?meta_id=297, สุภัค มหาวรากร, บทละครเรือง อิเหนา, วันที 20 กันยายน 2561. http://www.thaidances.com/data/5.asp, วันที 20 กันยายน 2561. http://www.chulapedia.chula.ac.th/index.php? , วันที 20 กันยายน 2561. http://www.thaigoodview.com, วันที 20 กันยายน 2561.


ประวัติผู้วิจัย


96

ประวัติผู้วิจัย ชื่อ – ชื่อสกุล วัน เดือน ปี เกิด ที่อยู่ปัจจุบัน ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2542

นางสาวศิริพร แร่พรม 26 มีนาคม 2540 115 หมู่ 6 ตาบล บ้านน้อยซุ้มขี้เหล็ก อาเภอ เนินมะปราง จังหวัด พิษณุโลก 65190 อนุบาล

สถาบัน โรงเรียนบ้านผาท่าพล

พ.ศ. 2544

ประถมศึกษา

สถาบัน โรงเรียนบ้านผาท่าพล

พ.ศ. 2550

มัธยมศึกษาตอนต้น

สถาบัน โรงเรียนบ้านผาท่าพล

พ.ศ. 2553

มัธยมศึกษาตอนปลาย

สถาบัน วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย

พ.ศ. 2558 ปัจจุบัน

กาลังศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบัน มหาวิทยาลัยนเรศวร


ภาคผนวก


83

ภาคผนวก ก ภาพการฝึกหัดท่าราบุษบาชมศาล (ละครดึกดาบรรพ์)


84

ภาพที่ 8 : อาจารย์อุษา แดงวิจิตร และนางสาวศิริพร แร่พรม ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาวสุดารัตน์ หงษ์ดวง, วันที่ 28 มิถุนายน 2561.

ภาพที่ 9 : อาจารย์อุษา แดงวิจิตร และนางสาวศิริพร แร่พรม ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาวสุดารัตน์ หงษ์ดวง, วันที่ 28 มิถุนายน 2561.


85

ภาพที่ 10 : อาจารย์อุษา แดงวิจิตร และนางสาวศิริพร แร่พรม ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาวสุดารัตน์ หงษ์ดวง, วันที่ 28 มิถุนายน 2561.

ภาพที่ 11 : อาจารย์อุษา แดงวิจิตร และนางสาวศิริพร แร่พรม ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาวสุดารัตน์ หงษ์ดวง, วันที่ 16 สิงหาคม 2561.


86

ภาพที่ 12 : อาจารย์อุษา แดงวิจิตร และนางสาวศิริพร แร่พรม ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาวสุดารัตน์ หงษ์ดวง, วันที่ 16 สิงหาคม 2561.

ภาพที่ 13 : อาจารย์อุษา แดงวิจิตร และนางสาวศิริพร แร่พรม ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาวสุดารัตน์ หงษ์ดวง, วันที่ 16 สิงหาคม 2561.


87

ภาพที่ 14 : อาจารย์อุษา แดงวิจิตร และนางสาวศิริพร แร่พรม ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาวสุดารัตน์ หงษ์ดวง, วันที่ 25 กรกฎาคม 2561.

ภาพที่ 15 : อาจารย์อุษา แดงวิจิตร และนางสาวศิริพร แร่พรม ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาวสุดารัตน์ หงษ์ดวง, วันที่ 25 กรกฎาคม 2561.


88

ภาพที่ 16 : อาจารย์อุษา แดงวิจิตร และนางสาวศิริพร แร่พรม ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาวสุดารัตน์ หงษ์ดวง, วันที่ 25 กรกฎาคม 2561.

ภาพที่ 17 : อาจารย์อุษา แดงวิจิตร และนางสาวศิริพร แร่พรม ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาวสุดารัตน์ หงษ์ดวง, วันที่ 25 กรกฎาคม 2561.


89

ภาคผนวก ข ภาพซ้อมใหญ่ และวันแสดงจริง


90

ภาพที่ 18 : อาจารย์ทปี่ รึกษา และนางสาวศิริพร แร่พรม (วันซ้อมใหญ่) ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาววรัญญา ทั่งพรม, วันที่ 30 สิงหาคม 2561.

ภาพที่ 19 : อาจารย์ทปี่ รึกษา และนางสาวศิริพร แร่พรม (วันแสดงจริง) ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาววรัญญา ทั่งพรม, วันที่ 31 สิงหาคม 2561.


91

ภาพที่ 20 : นางสาวศิริพร แร่พรม ผู้แสดงราเดี่ยวมาตรฐาน (วันซ้อมใหญ่) ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาววรัญญา ทั่งพรม, วันที่ 30 สิงหาคม 2561.

ภาพที่ 21 : นางสาวศิริพร แร่พรม ผู้แสดงราเดี่ยวมาตรฐาน (วันซ้อมใหญ่) ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาววรัญญา ทั่งพรม, วันที่ 30 สิงหาคม 2561.


92

ภาพที่ 22 : นางสาวศิริพร แร่พรม ผู้แสดงราเดี่ยวมาตรฐาน (วันแสดงจริง) ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาววรัญญา ทั่งพรม, วันที่ 31 สิงหาคม 2561.

ภาพที่ 23 : นางสาวศิริพร แร่พรม ผู้แสดงราเดี่ยวมาตรฐาน (วันแสดงจริง) ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาววรัญญา ทั่งพรม, วันที่ 31 สิงหาคม 2561.


93

ภาพที่ 24 : นางสาวศิริพร แร่พรม และเพื่อนๆ สาขานาฏศิลป์ไทย รุ่นที่ 16 ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาววรัญญา ทั่งพรม, วันที่ 30 สิงหาคม 2561.

ภาพที่ 25 : นางสาวศิริพร แร่พรม และเพื่อนๆ สาขานาฏศิลป์ไทย รุ่นที่ 16 ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาววรัญญา ทั่งพรม, วันที่ 31 สิงหาคม 2561.


94

ภาพที่ 26 : คณะกรรมการ คณาจารย์ และนิสิตผู้แสดงราเดี่ยว ถ่ายภาพร่วมกัน ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาววรัญญา ทั่งพรม, วันที่ 31 สิงหาคม 2561.

ภาพที่ 27 : รับฟังคาแนะนาจากคณะกรรมการ ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาววรัญญา ทั่งพรม, วันที่ 31 สิงหาคม 2561.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.