อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด วิยะดาทรงเครื่อง

Page 1

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด วิยะดาทรงเครื่อง

สุดารัตน์ หงษ์ดวง

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทยฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2561


ประกาศคุณูประการ การสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทยของสาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษ ยศาสตร์ มหาวิท ยาลัย นเรศวร เป็น ส่ว นหนึ่งของการศึกษาในรายวิช า (202462) อาศรม ศึก ษา ทางนาฏศิลป์ไทย เป็นการศึกษาการราจากอาจารย์ผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ในด้านนาฏศิลป์ไทย โดยให้นิสิตรับการถ่ายทอดท่ารา ตลอดจนทักษะการรา กลวิธีต่างๆ ในการรา จากอาจารย์ผู้ถ่ายทอด ให้ได้มาก ที่สุ ด ซึ่งนิ สิ ตจะได้ทั้งความรู้ ในทางทฤษฏี ความรู้ในทางปฏิบั ติ และ ความรู้จากประสบการณ์ ของ อาจารย์ผู้ถ่า ยทอดท่า รา ทั้ง นี้ก ารศึ ก ษาการแสดงชุด วิย ะดาทรงเครื่อ ง ได้รับ ความกรุณ าและความ ช่วยเหลือจากหลายท่าน จึงทาให้การแสดงชุดนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ อาจารย์อุษา แดงวิจิตร ที่ได้เสียสละเวลาให้คาแนะนา และถ่ายทอดท่าราการแสดงชุด วิยะดาทรงเครื่อง ให้กับนิสิต ขอขอบพระคุณ อาจารย์ รัชดา สุคโต อาจารย์ที่ปรึกษารายวิชาอาศรมศึกษา ที่ได้ให้คาปรึกษา คาแนะนา ตรวจสอบความถูกต้อง ของขั้นตอนการจัดทารูปเล่มและการฝึกปฏิบัติท่ารา ขอบพระคุณครูอาจารย์ทุกท่าน ที่ได้ให้คาแนะนาที่มีประโยชน์ จนทาให้การรับการถ่ายทอดท่ารา ในครั้งนี้ สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอกราบขอบพระคุ ณ บิ ด า มารดา ที่ ช่ ว ยสนั บ สนุ น เรื่ อ งค่ า ใช้ จ่ า ย และช่ ว ยให้ กา ลั ง ใจ กั บ นิ ส ิ ต มาโดยตลอด สุด ท้า ยนี ้ข อขอบคุณ เพื่อ นๆ ชั้น ปีที่ 4 และน้อ งๆ สาขาวิช านาฏศิล ป์ไ ทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรที่คอยแนะนาให้ความช่วยเหลือ และ เป็นกาลังใจตลอดมา

สุดารัตน์ หงษ์ดวง


อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด “วิยะดาทรงเครื่อง” ของ นางสาวสุดารัตน์ หงษ์ดวง ได้รับการพิจารณาให้นับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต (นาฏศิลป์ไทย) คณะกรรมการอาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ...................................................................................................................อาจารย์ผู้รับผิดชอบโครงการ (อาจารย์วรวิทย์ ทองเนื้ออ่อน) ...................................................................................................................อาจารย์ที่ปรึกษา (อาจารย์รัชดาพร สุคโต) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.รุ่งนภา ฉิมพุฒ) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์รัชดาพร สุคโต) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.จิตติมา นาคีเภท) ...................................................................................................................กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประภาศรี ศรีประดิษฐ์) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์อุบลวรรณ โตอวยพร) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์ภูริตา เรืองจิรยศ) อนุมัติ ................................................................ (ดร.จิตติมา นาคีเภท) หัวหน้าภาควิชาศิลปะการแสดง


สารบัญ บทที่

หน้า

1 บทนา ความสาคัญของการถ่ายทอดท่ารา....……………………….........…………….......……… วัตถุประสงค์......................................……………………….........…………….......……… วิธีดาเนินงาน.....................................……………………….........……………....…...…… ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ................……………………….........…………….......……… นิยามศัพท์เฉพาะ..............................……………………….........……………....…...……

1 2 2 2 3

2 ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา ประวัติส่วนตัว...................................……………………….........………....…………...… ประวัติการศึกษา................................……………………….........……………...………… ประวัติการทางาน..............................……………………….........………………………… ผลงานทางด้านวิชาการและการแสดง……………………….........……………...………… ประวัติการสืบทอดและการถ่ายทอดท่ารา……………..……….........………...………… แผนผังการสืบทอดและถ่ายทอดท่ารา.……………………….........…………....……...…

4 5 5 5 9 11

3 วิธีดาเนินการสืบทอดและฝึกหัด ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด.......……………………….........………….……..……… ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด...........….........…………….......……… อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด......……………………….........……………....…...…… พัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด.……………………….........……………....……...…

12 13 14 15


สารบัญ (ต่อ) บทที่

หน้า

4 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด วิยะดาทรงเครื่อง ประวัติความเป็นมาของการแสดง………………..……….........……………....…………… เรื่องย่อของการแสดง……………………...................….........…………..…....…………… บทร้อง……………………….........……………....……...........................................……… ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง……………………….........…………….............…………… ฉากและองค์ประกอบการแสดง……………………….........……………....….....………… เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า……………………….........…………….........…………… นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง……………………….........……………................…………… กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่………………………................……………....…………… กลวิธีในการรา................................……………………….........……………....……………

16 17 17 18 19 20 24 25 63

5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ บทสรุป................................……………………......………….....................…….………. ข้อเสนอแนะ………………………………........................……....…………………....……….

64 65

บรรณานุกรม...........................................................................................................................

66

ภาคผนวก ก……………………………………………………………….……………….................................. ภาคผนวก ข………………....……………………………………….……………….......................................

67 70

ประวัติส่วนตัว……………………………………………………….……………...........................................

75


สารบัญตาราง

ตาราง

หน้า

ตารางที่ 1 การดาเนินงานการแสดง ชุด วิยะดาทรงเครื่อง…………………...……...................2 ตารางที่ 2 ระยะเวลาการสืบทอดท่ารา การแสดง ชุด วิยะดาทรงเครื่อง...............…...……13 ตารางที่ 3 ระยะเวลาการฝึกหัดท่ารา การแสดง ชุด วิยะดาทรงเครื่อง…………...…...…...…13 ตารางที่ 4 ระยะเวลาการฝึกหัดท่ารา การแสดง ชุด วิยะดาทรงเครื่อง…………...…...…...…13 ตารางที่ 5 องค์ประกอบเครื่องแต่งกายการแสดง ชุด วิยะดาทรงเครื่อง…………...…...…..…21 ตารางที่ 6 กระบวนท่าราท่ารา การแสดง ชุด วิยะดาทรงเครื่อง........................................25


สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 1 ผู้ถ่ายทอดท่าราอาจารย์อุษา แดงวิจิตร…….…………………………………………………… 4 ภาพที่ 2 ภาพที่ 2 รามเกียรติ์ ตอนสามนักขาหึง....................................................................5 ภาพที่ 3 รามเกียรติ์ ตอน สามนักขาหึง…………………………………………………………………....….7 ภาพที่ 4 อิเหนา ตอน บุษบาชมศาล.......................................................................................8 ภาพที่ 5 อุณรุท ตอน ศุภลักษณ์อุ้มสม....................................................................................8 ภาพที่ 6 วงปี่พาทย์เครื่องห้า..................................................................................................18 ภาพที่ 7 เตียง เครื่องราชูปโภค..............................................................................................19 ภาพที่ 8 รายการเครื่องแต่งกาย.............................................................................................20


บทที่ 1 บทนำ 1.ควำมสำคัญของกำรถ่ำยทอดท่ำรำ นาฏศิลป์ไทย เป็นศาสตร์และศิลป์โดยมีพื้นฐานทางความคิดอย่างชาญฉลาดของศิลปินรุ่นเก่า เป็ น การบู ร ณาการองค์ความรู้ จ ากภูมิปัญญาไทยที่งดงามทั้งวัฒ นธรรมการแต่งกาย ภาษา และ สัญลักษณ์ของการสื่อสารของมนุษย์ ศิลปะวิจิตรศิลป์ซึ่งเป็นภูมิปัญญาทางช่างไทยแต่โบราณมาไว้ที่ เดียวกัน ทาให้ผู้ชมเกิดสุนทรียภาพในการชมและประทับใจตราตรึงทาให้มีการสืบทอดมาแต่อดีตจน ปัจจุบัน การศึกษาองค์ความรู้พื้นฐานทางการแสดงนาฏศิลป์ไทยจะทาให้ผู้เรียนมีความกระจ่างมีความ ลึกซึ้ง เกิดเจตคติที่ดีต่อการเรียนนาฏศิลป์ไทย พร้อมที่จะอนุรักษ์และเผยแพร่เพื่อให้ศาสตร์ดังกล่าว นี้ดารงอยู่เป็นเอกลักษณ์ไทยสืบไป หลักและวิธีการฝึกหัดนาฏศิลป์ไทยนั้นเริ่มจากศึกษาทฤษฎี รูปแบบการแสดงตลอดจนการ ฝึกหัดท่าราภาคปฏิบัติแบบง่าย จากนั้นจึงพัฒนาด้วยการฝึกฝนท่าราในรูปแบบที่ยากขึ้นตามลาดับ เมื่อครูเห็นว่าศิษย์มีความสามารถในระดับ หนึ่งแล้วก็จะเลือกศิษย์ออกแสดงเพื่อพัฒนาประสบการณ์ และเป็นการใช้ไหวพริบในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเมื่อเกิดปัญหาในการแสดง รวมถึงเป็นการฝึกหัด ให้ศิษย์ได้สามารถปฏิบัติท่าราได้ยากขึ้นไปอีก โดยผู้มีคุณลักษณะความโดดเด่นมักจะได้รับเลือกให้ แสดงออกในบทบาทของตัวละครเอกและแสดงราเดี่ยวมาตรฐานเพื่ออวดฝีมือ ดังนั้นก่อนการแสดงจึง จะต้องคัดเลือกคุณลักษณะของผู้แสดงอย่างละเอียด เพื่อความติดตราตรึงใจของผู้ชม โดยคัดเลือกให้ เหมาะกับการแสดงในแต่ละชุด จะต้องคานึงถึงรูปร่างหน้าตา ฝีมือ ความสามารถ บุคลิกและอุปนิสัย ของผู้แสดง หากผู้ราที่มีความเหมาะสมตามหลักการคัดเลือกก็จะช่วยให้การแสดงราเดี่ยวออกมาได้ดี น่าชม และเป็นที่ประทับใจ ทั้งนี้ การศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบั ณฑิต ภาควิชาศิลปะการแสดง สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย คณะมนุ ษยศาสตร์ มหาวิทยาลั ยนเรศวร จะต้องมี การวัดผลประเมิน การสอบราเดี่ยวมาตราฐานตาม หลักสูตร ดังนั้น นิสิตชั้นปีที่ 4 จึงได้มีการสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางนาฏศิลป์ไทยขึ้น เพื่อเป็นการให้นิสิต ได้ขอรับการถ่ายทอดและฝึกฝนท่าราการสอบราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด วิยะดาทรงเครื่อง ได้รับการถ่ายทอด ท่าราจากอาจารย์อุษา แดงวิจิตร ศิลปินอาวุโส สานักการสังคีต กรมศิลปากร เพื่อความจาเป็นของการ ฝึกหัดกระบวนท่าราของนาฏศิลป์ไทย เป็นการเพิ่มพูนความรู้ความสามารถและยังส่งเสริมให้เกิดความ ชานาญแก่ผู้รับการถ่ายทอดและนิสิตที่มีความสนใจ ทั้งเพื่อเป็นการบันทึกไว้เป็นประโยชน์ทางด้านการเรียน การสอนสืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน


2

2.วัตถุประสงค์ 1.เพื่อประมวลองค์ความรู้ทางด้านนากศิลป์ไทยจากผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านนาฏศิลป์ไทย 2.เพื่อศึกษาหาข้อมูลและบันทึกข้อมูลที่เป็นประโยชน์ และนามาเป็นแนวทางในการเรียน การสอน การศึกษา ทางด้านนาฏศิลป์ 3. เพื่อเป็นแนวทางการเรียนรู้ทางเทคนิคเฉพาะ กลวิธี ลีลาท่าทาง 3.วิธีดำเนินงำน ตาราง 1 : ตารางดาเนินงาน เดือนพฤษภำคม – เดือนธันวำคม พ.ศ. 2561 มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.

รำยละเอียด พ.ค. 1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับรา เดี่ยว ชุด วิยะดา ทรงเครื่อง 2. ศึกษาจากสื่อ วีดีทัศน์ และการสัมภาษณ์ 3. ดาเนินการ เรื่องขอรับ การถ่ายทอดกระบวนท่า ราจาก อาจารย์อุษา แดงวิจิตร 5. สอบประเมิน 50 % 6. สอบประเมิน 75 % 7.สอบประเมิน 100 % 8. สอบราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด วิยะดาทรงเครื่อง 9. สรุปผล ส่งรูปเล่ม ที่มา : นางสาวสุดารัตน์ หงษ์ดวง, 15 กันยายน 2561

ธ.ค.

4.ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1. ผู้เรียนสามารถถ่ายทอดท่าราให้แก่บุคลที่สนใจได้อย่างถูกต้องตามแบบแผน 2. จากการศึกษาลาดับขั้นตอนการถ่ายทอดท่ารา สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา ในการถ่ายทอดท่าราได้


3

3. เพื่อเก็บข้อมูลและบันทึกข้อมูลเพื่อเป็นแนวทางการอ้างอิงในการเรียนการสอนทางด้าน นาฏศิลป์และเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจสืบไป 5.นิยำมศัพท์เฉพำะ สะบัดจีบ คือ การม้วนข้อมือในการรา ให้ความรู้สึกอยู่ที่ข้อมือ เช่น การม้วนจีน หงายจีบ กล่อมหน้า คือ การใช้คางหมุนวนเป็นเลขแปดอารบิก ให้ความรู้สึกอยู่ที่คาง เดี่ยวเท้า คือ กิริยาอาการทรงตัวชนิดหนึ่ง โดยกางขาข้างใดข้างหนึ่งตึง แล้วใช้ส้นเท้าข้าง ใดข้างหนึ่งอยู่ตรงกลางหน่องขาพร้อมเก็บหน้านาง


บทที่ 2 ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา รำเดี่ยวมำตรฐำนทำงด้ำนนำฏศิลป์ไทย ชุด วิยะดำทรงเครื่อง ได้รับควำมอนุเครำะห์ถ่ำยทอด ท่ำรำจำก อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร ปัจจุบันท่ำนดำรงตำแหน่งนำฏศิลปินอำวุโส สำนักกำรสังคีต กรม ศิลปำกร กระทรวงวัฒนธรรม ซึ่งเป็นผู้ที่มีประสบกำรณ์และควำมสำมำรถทำงด้ำนนำฏศิลป์ไทยเป็น อย่ำงดี โดยมีประวัติของผู้ถ่ำยทอดท่ำรำ ดังต่อไปนี้ 1. ประวัติส่วนตัว 2. ประวัติทำงกำรศึกษำ 3. ประวัติกำรทำงำน 4. ผลงำนทำงด้ำนวิชำกำรและกำรแสดง 5. ประวัติกำรสืบทอดและกำรถ่ำยทอดท่ำรำ 6. แผนผังกำรสืบทอดและกำรถ่ำยทอดท่ำรำ ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา

ภำพที่ 1 : ผู้ถ่ำยทอดท่ำรำ อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร นำฏศิลปินอำวุโส สำนักกำรสังคีต กรมศิลปำกร กระทรวงวัฒนธรรม ที่มำ : ภำพส่วนตัวของ อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร , วันที่ 15 สิงหำคม 2561.


5

1. ประวัติส่วนตัว อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร เกิดเมื่อวันที่ 26 ตุลำคม 2500 เป็ำบุตรนำยนิรันดร์ แดงวิจิตร และนำงสมจิตร แดงวิจิตร ภูมิลำเนำเดิมอยู่ที่ กรุงเทพมหำนคร 2. ประวัติการศึกษา เริ่มเรียนชั้นอนุบำลถึงชั้นประถมศึกษำปีที่ 4 ที่โรงเรียนหงสุรนันท์ ต่อมำเข้ำระบกำรศึกษำ โรงเรียนนำฏศิลป์ (วิทยำลัยนำฏศิลปในปัจจุบัน) จบประกำศนียบัตรนำฏศิลปะชั้นสูงปี 2 และสำเร็จ กำรศึกษำระดับปริญญำตรี สำขำนำฏดุริยำงคศิลปศึกษำ ที่วิทยำลัยเทคโนโลยีและอำชีวศึกษำ ในปี พ.ศ.2523

ภำพที่ 2 : รำมเกียรติ์ ตอนสำมนักขำหึง แสดงโดย : อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร และอำจำรย์สุรัตน์ ทองแท้ ที่มำ : ภำพถ่ำยส่วนตัวของ อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร


6

3. ประวัติการทางาน วันที่ 1 กันยำยน พ.ศ.2523 รับรำชกำรเป็นครูที่วิทยำลัยนำฏศิลปร้อยเอ็ด กรมศิลปำกร กระทรวง ศึกษำธิกำร วันที่ 3 มิถุนำยน พ.ศ.2526 ย้ำยมำดำรงตำแหน่งนำฏศิลประดับ 3 แผนกนำฏศิลปกองกำรสังคีต กรมศิลปำกร กระทรวงศึกษำธิกำร ปัจจุบันดำรงตำแหน่งนำฏศิลปินอำวุโส กลุ่มนำฏศิลปกรมศิลปำกร สำนักงำนสังคีต กรมศิลปำกร กระทรวงวัฒนธรรม 4. ผลงานทางด้านวิชาการและการแสดง ผลงำนด้ำนกำรถ่ำยทอดและเผยแพร่ด้ำนนำฏศิลปะ อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร เป็นผู้ที่สำมำรถรับกำร ถ่ำยทอดท่ำรำจำกผู้เชี่ยวชำญทำงด้ำนนำฏศิลปได้อย่ำงครบถ้วน ถูกต้องตำมแบบแผนทั้งนี้ยังเป็นผู้ ถ่ำยทอดท่ำรำให้กับนักเรียนและศิลปินรุ่นหลังได้อย่ำงครบถ้วน ได้แก่ 4.1 การแสดงโขน เรื่องรามเกียรติ์ 1.นำงเบญจกำย 2. นำงสำมะนักขำ 3.นำงอดูลปีศำจ 4. นำงมณโฑ 5. นำงดำรำ 6. นำงกำลอัคคี 7. นำงตรีชฏำ 8. นำงสุวรรณกันยุมำ 9. นำงอนงค์นำคำ 10. นำงสุพรรณมัจฉำ 11. นำงวำนรินทร์ 12. นำบุษมำลี 13. นำงสวำหะ 14. นำงเมขลำ 15. นำงดำว 16. พระอุมำ


7

ภำพที่ 3 : กำรแสดงโขน รำมเกียรติ์ ตอน เบญกำยหึง แสดงโดย อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร และอำจำรย์สมนัก บัวทอง ที่มำ :ภำพถ่ำยส่วนตัวของ อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร 4.2 การแสดงละคร ละครใน ละครใน ละครนอก ละครพันทำง ละครดึกดำบรรพ์

เรื่องอุณรุท เรื่องอิเหนำ เรื่องรถเสน เรื่องพระลอ เรื่องพระลอ

รับบทเป็น รับบทเป็น รับบทเป็น รับบทเป็น รับบทเป็น

นำงศุภลักษณ์ นำงบำหยัน (พี่เลี้ยงนำงอุษำ) นำงอัมพิกำ นำงรื่น นำงโรย นำงมณฑำ


8

ภำพที่ 4 : เรื่องอิเหนำ ตอน บุษบำชมศำล แสดงโดย อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร รับบทเป็น บำหยัน (พี่เลี้ยงนำงบุษบำ) ที่มำ : ภำพถ่ำยส่วนตัวของ อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร

ภำพที่ 5 : เรื่องอุณรุท ตอน ศุภลักษณ์อุ้มสม แสดงโดย อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร และอำจำรย์พัชรำ บัวทอง ที่มำ : ภำพถ่ำยส่วนตัวของ อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร


9

4.3. การแสดงระบาต่างๆ 1. ระบำดอกบัวไทย 2. ระบำนำงสงกำนต์ 3. ระบำเทียน 4. ระบำเทพบันเทิง 5. ระบำดำวดึงส์ 6.ระบำมำตรฐำน ฯลฯ 4.4. งานเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย งำนเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยด้ำนนำฏศิลป์ในต่ำงประเทศ เช่น ฮ่องกง สิงคโปร์ พม่ำ เยอรมัน เบลเยี่ยม รัสเซีย อเมริกำ เวียดนำม อินโดนีเซีย เป็นต้น 4.5 งานพิเศษอื่นๆ 1. วิทยำกรถ่ำยทอดท่ำรำ ละครดึกดำบรรพ์ เรื่องอิเหนำ ตอนบุษบำชมศำล แก่คณะ มนุษยศำสตร์ มหำวิทยำลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ระหว่ำงวันที่ 2 พฤษภำคม พ.ศ.2557 ถึง 2 มิถุนำยน พ.ศ.2557 2. วิทยำกรในโครงกำรพัฒนำควำมรู้ ถ่ำยทอดด้ำนนำฏศิลป์ไทยในกำรสัมนำ เรื่องกระบวน ท่ำรำ ละครในเรื่องอุณรุท ระหว่ำงวันที่ 5-6 มิถุนำยน พ.ศ.2557 ณ โรงละครแห่งชำติ นอกจำกนี้ยังได้ร่วมปฏิบัติงำนสำคัญต่ำงๆ ในงำนต้อนรับพระรำชอำคันตุกะและงำนพระ รำชพิธีสำคัญต่ำงๆ อีกมำกมำย เช่น 1. งำนต้ อ นรั บ พระรำชอำคั น ตุ ก ะในพระบำทสมเด็ จ พระเจ้ ำ อยู่ หั ว แล ะสมเด็ จ พระบรมรำชินีนำถ ในพระบรมมหำรำชวัง 2. งำนพระรำชพิธีกำญจนำภิเษก ณ ทำเนียบรัฐบำล 3. งำนพระรำชพิธีเฉลิมพระเกียรติพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว 4. งำนสมเด็ จ พระเทพรั ต นรำชสุ ด ำฯสยำมบรมรำชกุ ม ำรี เ สด็ จ พระรำชด ำเนิ น ในพิ ธี บวงสรวงสมเด็จพระพันวัสสำอัยยิกำเจ้ำ ณ วังสวนประทุม 5. งำนถ่ำยภำพนิ่งประกอบหนังสือสมุดภำพแต่งหน้ำโขนตำมพระรำชดำริในงำนสมเด็จ พระนำงเจ้ำฯพระบรมรำชินีนำถ ณ ศำลำเฉลิมกรุง 6. งำนบรวงสรวงพระสยำมเทวำธิรำช ในพระบรมมหำรำชวัง(พระที่นั่งไพศำลทักษิณ) 7. งำนพระรำชพิธีถวำยพระเพลิงพระศพสมเด็จ พระพี่นำงเจ้ำฟ้ำกัลยำนิวัฒนำ กรมหลวง นรำธิวำส รำชนครินทร์ ณ ท้องเวทีท้องสนำมหลวงำนพระรำชพระรำชพิธีถวำยพระเพลิงพระศพ สมเด็จพระพี่นำงเจ้ำฟ้ำเพชรรัตน์ฯ ณ บริเวณท้องสนำมหลวง(เวทีหน้ำพระเมรุ) 8. งำนพระรำชพิธีถวำยพระเพลิงพระบรมศพพระบำมสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิ พลอ ดุลยเดช บรมนำถบพิตร ณ พระเมรุมำศ ท้องสนำมหลวง


10

4.6 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่ได้รับ - พ.ศ. 2528 จตุถำภรณ์ - พ.ศ. 2534 ตริตรำภรณ์มงกุฎไทย - พ.ศ. 2539 ตริตรำภรณ์ช้ำงเผือก - พ.ศ. 2553 ได้รับพระรำชทำนเหรียญจักรพรรดิมำลำ 5. ประวัติการสืบทอดและการถ่ายทอดท่ารา อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตรยังได้รับกำรถ่ำยทอดท่ำรำจำกอำจำรย์และผู้เชี่ยวชำญด้ำนนำฏศิลป์ ไทยหลำยท่ำนดังนี้ - ท่ำนผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี - คุณครูลมูล ยมะคุปต์ - คุณครูเฉลย ศุขะวณิช - คุณครูจำเรียง พุธประดับ - คุณครูสถำพร สนทอง - คุณครูนพรัตน์ศุภำกำร หวังในธรรม - คุณครูเรณู จีนเจริญ - คุณครูนันทินี เวชสุทัศน์ - คุณครูบุญนำค ทรรทรำนนท์ - คุณครูรัจนำ พวงประยงค์ - คุณครูจันทนำ ทรงศรี - คุณครูจินดำรัตน์ วิริยะวงศ์ - คณำจำรย์อีกหลำยท่ำน นอกจำกนี้อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตรได้รับกำรถ่ำยทอดจำกอำจำรย์ และผู้เชี่ยวชำญด้ำนคีตศิลป์ ไทยจำกหลำยท่ำนดังนี้ - คุณครูท้วม ประสิทธิกุล - คุณครูจิ้มลิ้ม ขุนทอง - คุณครูดวงเนตร ดุริพันธ์ - คุณครูมัณฑนำ อยู่ยั่งยืน - คุณครูวัฒนำ โกศินำนนท์ - คุณครูประคอง ชลำนุภำท - คุณครูทัศนีย์ ขุนทอง - คุณครูเกสร ปลื้มปรีชำ


11

- คุณครูอัมพร โสวัตร - คุณครูวิมลวรรณ กำญจนเผลิน 6. แผนผังการสืบทอดและถ่ายทอดท่ารา ดร.นพรัตน์ศุภำกำร หวังในธรรม

อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร

นำงสำวเนตรชนก ทองวิทยำ นิสิตสำขำนำฏศิลป์ไทย รุ่นที่ 6 คณะมนุษยศำสตร์ มหำวิทยำลัยนเรศวร ปี กำรศึกษำ 2551

นำงสำวปิ่นกำญณ์เกล้ำ กำรภักดี

นำงสำว ลภัสรดำ มังคลำด

นำงสำว สุดำรัตน์ หงษ์ดวง

นิสิตสำขำนำฏศิลป์ไทย รุ่นที่ 12 คณะมนุษยศำสตร์ มหำวิทยำลัยนเรศวร ปี กำรศึกษำ ปีกำรศึกษำ 2557

นิสิตสำขำนำฏศิลป์ไทย รุ่นที่ 15 คณะมนุษยศำสตร์ มหำวิทยำลัยนเรศวร ปี กำรศึกษำ ปีกำรศึกษำ 2560

นิสิตสำขำนำฏศิลป์ไทย รุ่นที่ 16 คณะมนุษยศำสตร์ มหำวิทยำลัยนเรศวร ปี กำรศึกษำ ปีกำรศึกษำ 2561

อำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร ท่ำนคือ ศิลปินที่มีผลงำนทำงด้ำนกำรแสดงและกำรเรียนสอนที่โดด เด่นอย่ำงมำก ในปัจจุบันอำจำรย์อุษำ แดงวิจิตร ดำรงตำแหน่งนำฏศิลปินอำวุโส กลุ่มนำฏศิลป ส ำนั ก กำรสั งคี ต กรมศิล ปำกร กระทรวงวัฒ นธรรม อำจำรย์ เ ป็นผู้ มีประสบกำรณ์ทำงด้ำ นกำร เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยด้ำนนำฏศิลป์ในต่ำงประเทศ กำรแสดง ถ่ำยทอดท่ำรำ ให้แก่ศิษย์หลำย คน ท่ำนจึงเป็นบุคคลที่สำคัญที่ช่วยพัฒนำองค์ควำมรู้ทำงด้ำนนำฏศิลป์ไทยให้เจริญรุ่งเรืองจนถึงทุก วันนี้และท่ำนยังเป็นที่ยอมรับแก่สังคมตลอดมำ


13 บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรสืบทอดและฝึกหัด การสอบร าเดี่ ย วมาตรฐาน เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการศึ ก ษาตามหลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในรายวิชา 202462 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย 6 ขั้นตอนการสืบทอดเป็นการถ่ายทอดความรู้โดยผู้เชี่ยวชาญ และชานาญการทางด้านการรา และใช้ระยะเวลาในการสืบทอดและฝึกฝนอย่างละเอียด ประณีตเพื่อ ความถูกต้องของกระบวนท่ารา โดยมีขั้นตอนการสืบทอดและฝึกหัด ดังต่อไปนี้ 1. ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด 2. ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด 3. อุปกรณ์ในการสีบทอดและฝึกหัด 4. พัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด 1.ขั้นตอนในกำรสืบทอดและฝึกหัด ผู้รับการถ่ายทอดได้รับการถ่ายทอดท่ารา ชุด วิยะดาทรงเครื่อง จาก อาจารย์อุษา แดงวิจิตร โดยมี อาจารย์รัชดาพร สุคโต เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ซึ่งเป็นผู้ขัดเกลาท่าราอย่างละเอียด เพื่อให้ผู้รับ การถ่ายทอดพัฒนาฝีมือการรา ผู้รับการถ่ายทอดจึงศึกษากลวิธีการราจากอาจารย์ผู้ถ่ายทอดทั้งสอง ท่านให้มีความชานานการฝึกหัดยิ่งขึ้น โดยมีขั้นตอนการฝึกหัดดังนี้ 1. ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของราเดี่ยวมาตรฐานชุด วิยะดาทรงเครื่อง อย่างละเอียด 2. ศึกษาบทร้องและหัดร้องเพลงของราเดี่ยว ชุด วิยะดาทรงเครื่อง โดยการท่องจาบทร้อง และฟังทานองเพลงซ้า ๆ เพื่อให้จาได้แม่นยา และฝึกหัดการร้องเพลง วิยะดาทรง เพื่อเตรียมร้องใน เวลาฝึกซ้อม 3. ศึกษาข้อมูลการราจากซีดีของรุ่นพี่แต่ละรุ่นและวิดีโอของอาจารย์หลายๆ ท่าน ก่อนที่จะ ได้รับการถ่ายทอดท่ารา 4. อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราได้ทดสอบการท่องบทและบอกอารมณ์ของการราเดี่ยวชุด วิยะดา ทรงเครื่องแต่ละความหมายตามบทร้อง เพื่อให้ผู้รับการถ่ายทอดได้เข้าใจถึงบทบาทและอารมณ์ของตัว ละคร 5. อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราให้ผู้รับการถ่ายทอดราและร้องเพลงทีละบทให้ดูก่อนเข้าเพลงและ แก้ไขท่าราทีละท่าอย่างละเอียด 6. อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราให้ผู้รับการถ่ายทอดราเข้ากับเพลงและหลังจบเพลงอาจารย์ผู้ ถ่ายทอดท่าราบอกจุดที่ต้องแก้ไขและให้ทาซ้าๆ เพื่อแก้ไขจุดที่ยังปฏิบัติไม่ได้ 7.อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราให้ผู้รับการถ่ายทอดศึกษาทบทวนการราและร้องเองโดยยังไม่เข้า เพลง 8.อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่าราเก็บความละเอียดของแต่ละท่าให้ถูกต้อง และตรวจสอบความ ถูกต้องของท่าราหลังจบเพลงอย่างละเอียดอีกครั้ง


14 ระยะเวลำและสถำนที่กำรสืบทอดและฝึกหัด ระยะเวลาในการถ่ายทอดและฝึกหัดท่าราในครั้งนี้ เริ่มตั้งแต่ 24 มิถุนายน 2561 ถึง 29 สิงหาคม 2561 โดยใช้สถานที่การฝึกหัด ดังนี้ 1. สานักการสังคีต กรมศิลปากร 2. อาคารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร 3. ห้องปฏิบัติงาน อาจารย์รัชดาพร สุคโต คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 4. บ้านพัก อาจารย์รัชดาพร สุคโต ตำรำง 3 : ระยะเวลำและสถำนที่กำรสืบทอด วัน/เดือน/ปี เวลำ กำรฝึกหัด สถำนที่ 25 – 28 9.00 – 14.00 น. รั บ การถ่ า ยทอดท่ า ร า ชุ ด วิ ย ะดา สานักการสังคีต มิถุนายน 2561 ทรงเครื่อง ครั้งที่ 1 จากอาจารย์อุษา กรมศิลปากร แดงวิจิตร 23 – 25 10.00 – 12.00 น. รั บ การถ่ า ยทอดท่ า ร า ชุ ด วิ ย ะดา สานักการสังคีต กรกฎาคม 2561 ทรงเครื่อง ครั้งที่ 2 จากอาจารย์อุษา กรมศิลปากร แดงวิจิตร 15 – 16 09.30 – 12.00 น. รั บ การถ่ า ยทอดท่ า ร า ชุ ด วิ ย ะดา สานักการสังคีต สิงหาคม 2561 ทรงเครื่อง ครั้งที่ 3 จากอาจารย์อุษา กรมศิลปากร แดงวิจิตร ที่มา : นางสาวสุดารัตน์ หงษ์ดวง , 15 กันยายน 2561 2561. ตำรำง 4 : ระยะเวลำและสถำนที่กำรฝึกหัด วัน/เดือน/ปี เวลำ กำรฝึกหัด สถำนที่ 22 - 23 13.00 – 15.00 น. ท่องบทร้อง ฟังเพลง และศึกษาท่ารา อาคารเทคโนโลยี มิถุนายน 2561 จากวีดีทัศน์ สารสนเทศและการ สื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร 24 12.00 - 15.00 น. ฝึกซ้อมท่ารากับอาจารย์ที่ปรึกษา บ้านพัก มิถุนายน 2561 อาจารย์รัชดาพร สุคโต อาจารย์รัชดาพร สุคโต 29 – 30 16.00 - 18.00 น. ฝึกซ้อมท่ารากับอาจารย์ที่ปรึกษา บ้านพัก มิถุนายน 2561 อาจารย์รัชดาพร สุคโต อาจารย์รัชดาพร สุคโต 2–6 17.00 – 20.00 น. ฝึกซ้อมท่ารากับอาจารย์ที่ปรึกษา อ า ค า ร เ ท ค โ น โ ล ยี สิงหาคม 2561 อาจารย์รัชดาพร สุคโต สารสนเทศ และการสื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร ตำรำง 4 : ระยะเวลำและสถำนที่กำรฝึกหัด (ต่อ)


15 วัน/เดือน/ปี 9 – 10 สิงหาคม 2561

เวลำ กำรฝึกหัด 17.00 – 19.00 น. ฝึกซ้อมท่ารากับอาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์รัชดาพร สุคโต

23 – 26 สิงหาคม 2561

17.00 – 19.00 น. ฝึกซ้อมท่ารากับอาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์รัชดาพร สุคโต

29 สิงหาคม 2561

15.00 – 17.00 น. ฝึกซ้อมท่ารากับอาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์รัชดาพร สุคโต

สถำนที่ อ า ค า ร เ ท ค โ น โ ย ยี สารสนเทศ และการสื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร อ า ค า ร เ ท ค โ น โ ย ยี สารสนเทศ และการสื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร โ ร ง ล ะ ค ร เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เกี ย รติ มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร

ที่มา : นางสาวสุดารัตน์ หงษ์ดวง , 15 กันยายน 2561 2561. อุปกรณ์ในกำรสืบทอดและฝึกหัด การรับการถ่ายทอดท่ารา ชุด วิยะดาทรงเครื่อง ผู้รับการถ่ายทอดได้มีการเตรียมความพร้อม จากการรับการถ่ายทอดท่าราในการเตรียมอุปกรณ์ประกอบการแสดง เพื่อให้ได้เรียนรู้จริงจากการ ถ่ายทอดท่าราและฝึกหัด ดังต่อไปนี้ 1.อุปกรณ์ประกอบกำรเรียน 1. เครื่องบันทึกภาพนิ่ง 2. เครื่องบันทึกวิดีโอ 3. เครื่องเขียน 4. สมุดจดบันทึก 5. บทร้องและทานองเพลง 6. แผ่นเพลงวิยะดาทรงเครื่อง 2. อุปกรณ์ประกอบกำรรำ 1. เตียงละคร 2. เครื่องราชูปโภค พัฒนำกำรในกำรสืบทอดและฝึกหัด พัฒนาการในการสื บทอดและการฝึกหัดการสอบราเดี่ยว ชุด วิยะดาทรงเครื่อง ผู้ รับการ ถ่ายทอดมีพัฒนาการในการรามากขึ้นจากการฝึกหัด และนอกจากนี้ยังมีปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ใน การราที่เกิดขึ้นเล็กน้อย ซึ่งผู้รับการถ่ายทอดได้มีการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค ดังต่อไปนี้ 1.พัฒนำกำรในกำรสืบทอด


16 ในตลอดระยะเวลาที่ได้รับการถ่ายทอดท่าราจากอาจารย์ อุษา แดงจิตร ผู้ถ่ายทอดท่ารา ผู้ศึกษาได้จดบันทึกท่าราในแต่ละส่วนที่ต้องแก้ไขและจุดสาคัญของท่าราและบันทึกภาพเคลื่อนไหว เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของท่าร าและเก็ บรายละเอียดวิธี การราที่ อาจารย์ ผู้ ถ่ายทอดท่าราได้ ถ่ายทอดท่าราให้แก่ผู้รับการถ่ายทอด เมื่อผู้ศึกษาจาท่าราไม่ ได้ ก็จะสามารถนาภาพเคลื่อนไหวมาดู ประกอบกับการดูจากรายละเอียดที่จดบันทึก หลังจากได้รับการถ่ายทอดท่าราจนจบเพลง ผู้ศึกษาได้ หมั่นฝึกซ้อมอยู่เสมอ เพื่อให้เกิดความชานาญในการราให้มีความถูกต้องและสวยงาม เพื่อที่ในการไป รับการถ่ายทอดครั้งต่อไป ผู้รับการถ่ายทอดจะได้รับความรู้เพิ่มพูนจากเดิม 2. รำยละเอียดของท่ำรำจำกกำรสืบทอด 1. อารมณ์ของตัวละคร 2. ลีลาของตัวละคร 3. การเชื่อมท่ารา 4. การใช้พื้นที่ในการรา 5. การปรับท่าราให้เหมาะกับรับการถ่ายทอด 6. ฝึกการใช้ร่างกายให้สวยงาม เช่น ใบหน้า แขน การย่อเข่า เป็นต้น 3. ปัญหำ อุปสรรคและกำรแก้ไข 1. ผู้รับการถ่ายทอดมีกาลังขาที่ไม่แข็งแรง ทาให้ยืนไม่ค่อยอยู่ จึงต้องออกกาลังกายเพื่อให้ขา แข็งแรง 2. ผู้รับการถ่ายทอดราไม่ตรงจังหวะ ราเลื้อย ราคร่อมจังหวะและไปก่อนจังหวะ จึงต้อง ฝึกราเข้ากับเพลงบ่อย ๆ และท่องบทให้แม่นยา 3. ผู้รับการถ่ายทอดทาท่าราบางท่าไม่หมดมือ ควรราให้มั่นใจเพื่อให้แต่ละท่ามีความชัดเจน 4. ผู้รับการถ่ายทอดยังราไม่เข้าถึงอารมณ์ บทบาทของตัวละคร ต้องหมั่นฝึกซ้อมเข้า เพลงบ่อยๆ และต้องจินตนาการว่าตัวเองกาลังแต่งตัว จากการได้รับการถ่ายทอดท่าราและกลวิธีการรา วิยะดาทรงเครื่อง โดย อาจารย์อุษา แดงวิจิตร ทาให้ผู้รับการถ่ายทอดสามารถจดจาราได้และสามารถจดจารายละเอียดที่ท่านได้ถ่ายทอด ให้แก่ผู้รับการถ่ายทอด ทาให้ราได้งดงามขึ้นจากเดิม ทั้งนี้ผู้รับการถ่ายทอดได้หมั่นฝึกซ้อมเพื่อให้มี ความชานาญในท่ารา และมีลีลา อารมณ์ในการรา เพื่อพัฒนาฝีมือการราให้ดียิ่งขึ้น และสามารถนาไป แสดงได้อย่างสมบูรณ์


14

บทที่ 4 อาศรมศึกษา ชุด วิยะดาทรงเครื่อง การสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางนาฏศิลป์ไทย ชุด วิยะดาทรงเครื่อง ผู้รับการถ่ายทอดท่าราได้ ทาการศึกษาประวัติความเป็นมาของการแสดงราเดี่ยวมาตรฐานทางนาฏศิลป์ไทย องค์ประกอบในการ แสดง และกลวิธีการแสดงราเดี่ยวมาตรฐานทางนาฏศิลป์ไทย ดังต่อไปนี้ 1. ประวัติความเป็นมาของการแสดง 2. เรื่องย่อของการแสดง 3. บทร้อง 4. ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง 5. เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า 6. นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง 7. กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่ 8. กลวิธีในการรา 1. ประวัติความเป็นมาของการแสดง การราเดี่ยว เป็นการราคนเดียวเพื่ออวดฝีมือการราและความสามารถในระดับสูง ผู้ราต้อง ถ่ายทอดกระบวนท่ารา ลีลา ออกมาอย่างกลมกลืนและลงตัว ให้เป็นภาพที่ตรึงตราตึงใจต่อผู้ชมให้ ติดตาม ซึ่งทาได้ด้วยการใช้อารมณ์ความรู้สึกที่ผ่านทางสีหน้าและดวงตา คือ ผู้ร่ายราต้องส่งสายตา และรอยยิ้ มไปยั งผู้ ช มที่นั่ ง ชม ได้ อย่า งทั่ว ถึ ง จึ งจะสามารถจะสะกดผู้ ช มให้ ติดตามให้ เกิด ความ ประทับใจ ราเดี่ยว ชุดวิยะดาทรงเครื่อง เป็นการอธิบายถึงการแต่งกายและเครื่องประดับของตัวละครที่ สวมใส่อยู่ก่อนออกเดินทาง เพื่อความสง่างาม ให้สมกับฐานันดรศักดิ์ ราเดี่ยว ชุดวิยะดาทรงเครื่อง เป็นการแสดงที่อยู่ในละครใน เรื่องอิเหนา ตอน ลมหอบ ซึ่ง ละครในมีปรากฏมาตั้งแต่ครั้งโบราณกาล สันนิฐานว่ามีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายในรัชสมัย รัชกาลสมเด็จพระบรมโกศ สืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน โดยเรื่องอิเหนา ตอนลมหอบ เป็นบทพระราช นิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านนภาลัย ซึ่งเนื้อเรื่องกล่าวว่า เมื่ออิเหนาลักพานางบุษบาไป ไว้ในถ้า อิเหนาจึงลานางบุษบาเพื่อไปแก้สงสัยในเมืองดาหาที่อิเหนาลอบวางเพลิงเพื่อเป็นอุ บายลักพา นางบุษบา เมื่อสิ้นสงสัย


15

จากคนทั้งปวง อิเหนาก็กลับมาหานางบุษบาโดยนางวิยะดาพระขนิษฐามาด้วยก่อนที่จะเดินทาง นางวิ ยะดาได้ ล งสรงทรงเครื่ อ งแล้ ว จึ ง ออกเดิ น ทางไปกั บ อิ เ หนาเมื่ อ ไปไม่ พ บนางบุ ษ บา เพราองค์ ปะตาระกาหลาโกรธเคืองที่อิเหนาก่อความวุ่นวาย จึงบันดาลให้เกิดพายุใหญ่หอบนางบุษบาไปยังเมือง ประมอตัน นางบุษบาจึงพลัดพรากจากอิเหนาและนางวิยะดา ราเดี่ยววิยะดาทรงเครื่อง ท่านอาจารย์เลลย ศุขะวณิช อดีตผู้เชี่ยวชาญนาฏศิลป์ กรมศิลปากร และศิลปินแห่งชาติ ได้ประดิษฐ์สร้างสรรค์ท่าราขึ้นโดยการดัดแปลงและเลียนแบบท่ารามาจากบทลง สรงทรงเครื่องบทอื่น เช่น ดรสาทรงเครื่องและอิเหนาทรงเครื่อง เป็นต้น และคิด ท่าราขึ้นใหม่บางท่า เช่น วาสุกรีพัน และก้ามปู เป็นต้น การแสดงชุดนี้เป็นการราอวดฝีมือของผู้แสดง เป็นท่าราที่สวยงาม ให้ความหมายโดยใช้เพลงชมตลาด ทาให้เห็นถึงลีลาอ่อนช้อย งดงาม 2. เรื่องย่อของการแสดง การแสดงชุด วิยะดาทรงเครื่อง เป็นการแสดงที่อยู่ในละคร เรื่องอิเหนา ตอนลมหอบ บทพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ซึ่งมีเนื้อเรื่องย่อว่า เมื่ออิเหนาลักพานางบุษบาไปไว้ในถ้า อิเหนาจึงลานางบุษบา เพื่อไปแก้สงสัยในเมืองดาหาที่อิเหนาลอบวางเพลิง เมื่อสิ้นสงสัยจากคนทั้งปวง อิเหนาจึงกลับมาหานางบุษบาโดยพานางวิยะดา พระขนิษฐามาด้วย ก่อนที่จะออกเดินทางนางวิยะดา ได้ลงสรงทรงเครื่อง แล้วจึงเดินทางไปกับอิเหนา 3. บทร้อง - ปี่พาทย์ทาเพลงต้นเข้าม่าน – - ร้องเพลงชมตลาด – จึงสระสรงทรงสุคนธ์ปนทอง ผัดพักตร์นวลละอองผ่องศรี กันกวดขมวดมุ่นเมาฬี เกี้ยวราชาวดีดอกลาดวน กรอบพักตร์จาหลักลายกุดั่น ห้อยอุบะปะกันหอมหวน ทรงภูษาห้อยชายลายกระบวน สไบสอดสีนวลขลิบสุวรรณ บานพับประดับพระพาหา ปะวะหล่าลงยาโมราคั่น ทองกรรูปวาสุกรีพัน ทรงสังวาลวรรณวิเชียรชู สร้อยประดับทับทิมสีประเทือง ดาบจินดาค่าเมืองควรคู่ เข็มขัดประจายามก้ามปู ธามรงค์รูปงูเพชรเพรา - ปี่พาทย์ทาเพลงเสมอ


16

4. ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง วงปี่พาทย์เครื่องห้า มีบรรเลงตั้งแต่สมัยอยุธยามีเพียงกลองทัดเพียงใบเดียวและเพิ่มเติมมาเป็นสองลูกในสมัยรัชกาลที่ 1 ดังนี้ 1. ปี่ใน 2. ลิ่ง 3. ตะโพน 4. ฆ้องวงใหญ่ 5. กลองทัด 6. ระนาด

ภาพที่ 6 วงปี่พาทย์เครื่องห้า ที่มา : https://my.dek-d.com/lalitida/writer/viewlongc.php?id=580707&chapter=4 , (สืบค้นเมื่อวันที่ 6 กันยายน 2561)


17

5. ฉากและองค์ประกอบการแสดง 1. เตียงละคร 2. เครื่องราชูปโภค

ภาพที่ 7 เตียง เครื่องราชูปโภค ที่มา : บันทึกภายโดย นางสาว สุดารัตน์ หงษ์ดวง


18

6. เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า

ภาพที่ 8 เครื่องแต่งกาย ชุดวิยะดาทรงเครื่อง ที่มา : แสดงภาพโดย นางสาวสุดารัตน์ หงษ์ดวง บันทึกภาพโดย นายสุทธิพงศ์ รอดขา


19

รายการเครื่องแต่งกาย ชุดวิยะดาทรงเครื่อง ตารางที่ 5 : รายการเครื่องแต่งกาย ชุดวิยะดาทรงเครื่อง องค์ประกอบเครื่องแต่งกาย องค์ประกอบส่วนศิราภรณ์ 1.กระบังหน้าเพชร 2.เกี้ยวมวยผม (ท้ายซ้อง), ปิ่นปักผม 3.อุบะและดอกไม้ทัด

องค์ประกอบส่วนเครื่องประดับ สะอิ้ง

กาไลแผงหรือทองกร

ปะวะหล่า

แหวนรอบ

รูปภาพประกอบ


20

องค์ประกอบเครื่องแต่งกาย จี้นาง

หัวเข็มขัด

เข็มขัด

ต้นแขน 2 ข้าง

กำไลข้ อเท้ ำ

กำไลตะขำบ (ข้ อเท้ ำ)

รูปภาพประกอบ


21

องค์ประกอบเครื่องแต่งกาย องค์ประกอบส่วนพัตราภรณ์

รูปภาพประกอบ

ผ้าห่มนาง (สีขาว ขลิบเหลือง)

ภูษาหรือผ้ายก (สีขาว)

กรองคอ (สีเหลือง)

เสื้อในนาง

ที่มา : นางสาวสุดารัตน์ หงษ์ดวง , 28 พฤศจิกายน 2561. 4.7 นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง สะบัดจีบ คือ การใช้ข้อมือในการรา ให้ความรู้สึกอยู่ที่ข้อมือ เช่น การม้วนจีน หงายจีบ กล่อมหน้า คือ การใช้คางหมุนวนเป็นเลขแปดอารบิก ให้ความรู้สึกอยู่ที่คาง ตั้งวงบน

คือ การกางแขนออกไปด้านข้าง งอแขน นิ้วมือเรียงชิดติดกัน ยกเว้นนิ้วหัวแม่มือ ปลายนิ้วมืออยู่ระดับหางคิ้ว

ตั้งวงกลาง คือ การกางแขนออกไปด้านข้าง งอแขน นิ้วมือเรียงชิดติดกัน ยกเว้นนิ้วหัวแม่มือ ปลายนิ้วมืออยู่ระดับไหล่ ตั้งวงล่าง

คือ งอแขนห่างจากลาตัวเล็กน้อย นิ้วมือเรียงชิดติดกัน ยกเว้นนิ้วหัวแม่มือ มืออยู่ระดับหัวเข็มขัด

เดี่ยวเท้า คือ การใช้ส้นเท้าเกี่ยวหน้านางให้อยู่ในลักษณะที่ใช้เท้าหนีบกับขาอีกข้างโดยให้เห็น ข้อเท้า เป็นท่าที่สง่างามท่าหนึ่ง


22

กระดกหลัง

คือ การกระทุ้ง ยกเท้าข้างใดข้างหนึ่งไปด้านหลัง ยืนด้วยขาข้างเดียว งอเข่า เล็กน้อย

กระดกเสี้ยว

คือ กระทุ้ง ยกเท้าข้างใดข้างหนึ่งไปด้านหลั ง ยืน ด้ว ยขาข้างเดียว งอเข่ า เล็กน้อย เอียงศีรษะ กดไหล่ กดเอว ข้างเดียวกับเท้าที่กระดกเสี้ยว

ประเท้า

คือ ใช้จมูกเท้าแตะกับพื้นแล้วยกเท้าขึ้น

ก้าวหน้า

คือ การก้าวเท้าข้างใดข้างหนึ่งไปด้านหน้า น้าหนักอยู่ที่เท้าที่ก้าว เปิดส้นเท้า

ก้าวข้าง

คือ การก้าวเท้าข้างใดข้างหนึ่งไปด้านข้าง น้าหนักอยู่ที่เท้าที่ก้าว เปิดส้นเท้าหลัง เอียง ศีรษะกดไหล่ กดเอว ตรงข้ามกับเท้าที่ก้าว ลาตัวตรงด้านหน้า

จรดเท้า

คือ ใช้ส้นเท้าแตะกับพื้น เปิดปลายเท้าขึ้น แล้วแตะจมูกเท้ากับพื้น

ซอยเท้า

คือ การย่าเท้าถี่ ๆ เสมอกัน เคลื่อนตัวหรือตัวอยู่กับที่

ขยั่นเท้า

คือ การย่าเท้าถี่ ๆ โดยเท้าไขว้กัน เคลื่อนตัวไปด้านข้างหรือทาอยู่กับที่

เหลื่อมเท้า

คือ การใช้เท้าข้างใดข้างหนึ่งยืนเป็นหลัก ส่วนเท้าอีกข้างหนึ่งใช้จมูกเท้าแตะ ที่ เปิดปลายเท้าขึ้น

ลายเท้า

คือ การใช้เท้าข้างใดข้างหนึ่งยืนเป็นหลัก ส่วนเท้าอีกข้างหนึ่งใช้จมูกเท้าจรด พื้น เปิดส้นเท้าขึ้น แล้วลายหรือลากจมูกเท้าไปด้านข้างในลักษณะครึ่งวงกล


23

8. กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่ ราเดี่ยวมาตรฐานชุด วิยะดาทรงเครื่อง ได้รับการถ่ายทอดท่ารา โดยอาจารย์อุษา แดงวิจิตร มีกระบวนท่าราและการใช้พื้นที่ดังต่อไปนี้ ตารางที่ 6 : ตารางบันทึกท่ารา ชุด วิยะดาทรงเครื่อง ลาดับ เนื้อเพลง ท่ารา 1

2

ปี่พาทย์ทา เพลง ต้นเข้าม่าน

ปี่พาทย์ทา เพลง ต้นเข้าม่าน ท่าที่ 1 ผาลา

คาอธิบาย ทิศ : หน้าตรง เท้า : ยืนเหลื่อมเท้าซ้าย มือ : มือซ้ายวางที่หน้าขาแขนตึง มือขวาจีบหงายระดับชายพก ศีรษะ : เอียงซ้าย (ท่ายืนตัวนาง)

ทิศ : เลียงตัวออก เท้า : ถอนเท้าซ้าย ก้าวเท้าขวา ขยั่นเท้าออกมา มือ : มือขวาจีบปรกข้างแล้วม้วน จีบตั้งวงบน มือซ้ายตั้งวงกลาง แล้วพลิกมือปลายนิ้วตก งอแขน ระดับเอว ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วเอียงขวา (ท่าผาลา)


24

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

3

ปี่พาทย์ทา เพลง ต้นเข้าม่าน ท่าที่ 2 จีบยาว

4

ปี่พาทย์ทา เพลง ต้นเข้าม่าน ท่าที่ 3 บัวชูฟัก

5

ปี่พาทย์ทา เพลง ต้นเข้าม่าน ท่าที่ 4 นางนอน

6

ปี่พาทย์ทา เพลง ต้นเข้าม่าน ท่าที่ 5 จีบสั้น

ท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : เลียงตัวออก เท้า : ถอนเท้าขวา ก้าวเท้าว้าย ขยั่นเท้าออกมา มือ : มือซ้ายตั้งวงล่าง มือขวา จีบหงายแขนตึงระดับไหล่ ศีรษะ : เอียงซ้าย

ทิศ : เลียงตัวออก เท้า : ถอนเท้าซ้าย ก้าวเท้าขวา ขยั่นเท้าออกมา มือ : มือขวาตั้งวงล่าง มือซ้าย ตั้งวงบัวบาน ศีรษะ : เอียงขวา (ท่าบัวชูฝัก) ทิศ : เลียงตัวออก เท้า : ถอนเท้าขวา ก้าวเท้าซ้าย ขยั่นเท้าขึ้นหน้า มือ : มือขวาเดินมือตั้งวงปลาย นิ้วตก แขนงอระดับเอว มือซ้าย ตั้งวงล่าง ศีรษะ : เอียงซ้าย (ท่านางนอน) ทิศ : เลียงตัวออก เท้า : ถอนเท้าขวา ก้าวเท้าซ้าย ขยั่นเท้าขึ้นหน้า มือ : มือขวาเดินมือตั้งวงปลาย นิ้วตก แขนงอระดับเอว มือซ้าย ตั้งวงล่าง ศีรษะ : เอียงซ้าย (ท่านางนอน)


25

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ เนื้อเพลง 7 ท่ายืนตัวนาง

8

จึงสระทรง

ท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : หน้าตรง เท้า : ยืนเหลื่อมเท้าซ้าย มือ : มือซ้ายวางที่หน้าขาแขนตึง มือขวาจีบหงายระดับชายพก ศีรษะ : เอียงซ้าย (ท่ายืนตัวนาง)

ทิศ : หันหน้าด้านซ้าย เท้า : ก้าวข้างเท้าซ้าย วิ่งซอยเท้า ขึ้นตั่ง ก้าวเท้าซ้าย แล้วก้าวเท้า ขวา นั่งคุกเข่า มือ : เดินมือเป็นคลายจีบออก ระดับหน้า แล้วตั้งวงวาดลงมา ด้านหน้า จัดผ้านุ่งแล้ววางมือบน หน้าตัก ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วเอียงขวา


26

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ 9

เนื้อเพลง ทรงสุคนธ์ เอื้อน ปนทอง

ท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : หันหน้าด้านซ้าย เท้า : นั่งท่าคุกเข่า มือ : มือซ้ายแบระดับชายพก มือขวา หยิบเครื่องราชู สอง ชิ้นจบด้วยปนทองแล้วกระทบ ศีรษะ :เอียงซ้าย เอียงขวา

10

ผัดพักตร์

ทิศ : หันหน้าด้านซ้าย เท้า : นั่งคุกเข่า มือ : แบมือทั้งสองข้างแล้ว เคล้ามือช้า ๆ ศีรษะ : เอียงซ้าย

11

นวลละออง

ทิศ : หันหน้าด้านซ้าย เท้า : แยกเข่าขวา มือ : มือขวาลูบที่แก้มขวา วนบริเวรแก้มขวา ศีรษะ : เอียงขวา


27

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ 12

13

เนื้อเพลง

ท่ารา

คาอธิบาย

(เอื้อน) ผ่องศรี

ทิศ : หันหน้าด้านซ้าย เท้า : แยกเข่าซ้าย มือ : มือซ้ายแบระดับชาย พก เคล้าจนจบเอื้อน แล้ว มือขวาลูบที่แก้มซ้าย วนบริ เวรแก้มซ้าย ศีรษะ : เอียงซ้าย

เอื้อน

ทิศ : หันหน้าด้านซ้ายเลียง หน้าเล็กน้อย เท้า : แยกเข่าขวา แล้วแยก เข่าซ้าย มือ : มือขวาตั้งมือแขนตึง ระดับไหล มือซ้ายลูบที่ แขนขวา แล้วทาสลับข้าง ศีรษะ : เอียงขวาแล้วเอียง ซ้าย


28

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

ท่ารา

คาอธิบาย

14

กันกวด

ทิศ : หันหน้าด้านซ้าย เท้า : แยกเข่าขวาแล้วแยกเข่า ซ้าย มือ : มือขวาจีบบนศีรษะ มือซ้าย ตั้งวงระดับเดียวกัน ศีรษะ : เอียงซ้าย

15

ขมวดมุ่น

ทิศ : หันหน้าด้านซ้าย เท้า : แยกเข่าขวา มือ : มือขวาม้วนจีบเป็นตั้งวง มือ ซ้ายจีบบนศีรษะระดับเดียวกัน ศีรษะ : เอียงขวา (สะดุ้งตัวพร้อมแยกเข่า)


29

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

16

(เอื้อน) เมาฬี

17

เกี้ยวราชาวดี

ท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : หันหน้าด้านซ้าย เท้า : แยกเข่าซ้าย มือ : มือขวาจีบ มือซ้ายตั้งวง เหนือศีรษะระดับเดียวกัน ศีรษะ : เอียงซ้าย (จังหวะเอื้อนสะดุ้งตัวก่อน 1 จังหวะ)

ทิศ : หันหน้าด้านหน้า เท้า : แยกเข่าซ้าย กระดกเท้า ขวา มือ : มือขวาจีบคว่างอแขน ระดับเอว มือซ้ายปลายนิ้วแบน งอ แล้วมือขวาจีบที่ศีรษะ มือ ซ้ายตั้งวงล่าง ระดับเดียวกัน ศีรษะ : เอียงขวา


30

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

18

ดอกลาดวน

19

รับ

ท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : หน้าตรง เท้า : กระดกหลังเท้าซ้าย มือ : มือขวาจีบหงายงอแขน ด้านหน้า มือซ้ายจีบส่งหลัง ศีรษะ : เอียงซ้าย

ท่าโบก ทิศ : หน้าตรง เท้า : แยกเข่าขวา มือ : มือซ้ายตั้งวงบน มือขวาจีบ ส่งหลัง ศีรษะ : เอียงขวา


31

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง รับ

รับ

ท่ารา

คาอธิบาย (รับผาลา) ทิศ : หน้าตรง เท้า : แยกเข่าซ้าย แยกเข่าขวา มือ : มือขวาจีบปรกข้าง มือ ซ้ายตั้งวงกลางแขนงอ แล้วมือ ขวาตั้งวงบน มือซ้ายพลิกมือ ปลายนิ้วตกแขนงอระดับไหล่ ศีรษะ : เอียงขวาเอียงซ้าย (สะดุ้งตัว กดเอวซ้าย สะดุ้งตัว กดเอวขวา มือเหมือนเดิม ) (รับผาลา) ทิศ : หน้าตรง เท้า : แยกเข่าซ้าย แยกเข่าขวา มือ : มือซ้ายจีบปรกข้าง มือ ขวาตั้งวงกลางแขนงอ แล้วมือ ซ้ายตั้งวงบน มือขวาพลิกมือ ปลายนิ้วตกแขนงอระดับไหล่ ศีรษะ : เอียงซ้าย เอียงขวา (สะดุ้งตัว กดเอวซ้าย สะดุ้งตัว กดเอวขวา มือเหมือนเดิม )


32

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

20

เนื้อเพลง

ท่ารา

คาอธิบาย

รับ

ท่าโบก ทิศ : หน้าตรง เท้า : แยกเข่าขวา มือ : มือซ้ายตั้งวงบน มือขวาจีบ ส่งหลัง ศีรษะ : เอียงขวา

กรอบพักตร์

ทิศ : หันหน้าด้านซ้าย เท้า : แยกเข่าซ้าย มือ : มือตั้งวงแล้วม้วนมือแตะที่ ศีรษะ ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วเอียงขวา


33

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

ท่ารา

คาอธิบาย

21

จาหลัก

ทิศ : หันหน้าด้านซ้าย เท้า : แยกเข่าซ้าย มือ : มือจีบทั้งสองข้างแล้วม้วน จีบหงายวงในระดับเดิม ศีรษะ : เอียงซ้าย

22

ลายกุดั่น

ทิศ : หันเลียง เท้า : แยกเข่าขวาแล้วแยกเข่า ซ้าย มือ : มือขวาจีบคว่าแล้วเดินมือ จีบตามรูปหน้าผาก มือซ้ายวาง หน้าตัก ศีรษะ : เอียงขวาแล้วเอียงซ้าย


34

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

ท่ารา

คาอธิบาย

23

ห้อยอุบะ

ทิศ : หันหน้าตรง ลาตัวเลียง ทางซ้ายเล็กน้อย เท้า : ตั้งขาขวา กระดกซ้าย มือ : มือตั้งวงคู่กันระดับอก แล้ววาดมือเป็นมือซ้ายจีบปรก ข้าง มือขวาจีบส่งหลัง ศีรษะ : เอียงซ้าย

24

ปะกัน

ทิศ : หันหน้าลียงตัวทางซ้าย เล็กน้อย เท้า : ตั้งขาขวา มือ : ตีไหล่ซ้ายแล้วเปลี่ยนมือ เป็นตั้งวงบน มือขวาทา เหมือนเดิม ศีรษะ: เอียงขวา


35

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

25

หอมหวน

26

รับ

ท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : หน้าตรง เท้า : ก้าวเท้าซ้ายลงตั่ง แล้วก้าว เท้าขวา มือ : มือขวาจีบหงายระดับชาย พก มือซ้ายทาท่าจีบเข้าจมูก ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วเอียงขวา

ท่าโบก ทิศ : หันหน้าด้านขวา เท้า : วางส้นเท้าซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงหน้า มือขวาส่ง จีบหลัง ศีรษะ : เอียงขวา


36

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

ท่ารา

คาอธิบาย

27

ทรงภูษา

ทิศ : หน้าตรง เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา กระดก หลังเท้าซ้าย มือ : มือขวาจีบหงายแล้วม้วน จีบตั้งวงล่าง มือซ้ายตั้งวงล่าง แล้วม้วนมือเป็นจีบหงายระดับ เดียวกัน ศีรษะ : เอียงขวาแล้วเอียงซ้าย

28

ห้อยชาย

ทิศ : หน้าตรง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย กระดก หลังเท้าขวา มือ : มือขวาแทงมือปลายนิ้วตก แขนตึงด้านหน้า มือซ้ายม้วนจีบ เป็นวงล่าง ศีรษะ : เอียงซ้าย


37

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

ท่ารา

คาอธิบาย

29

ลายกระบวน

ทิศ : หน้าตรง เท้า : ก้าวเท้าขวา มือ : มือขวาตั้งวงบน มือซ้ายแบ หงายปลายนิ้วตกแขนตึงระดับ ไหล่ ศีรษะ : เอียงซ้าย (หมุนตัว แล้วหันหน้าตรง)

30

สไบสอด สีนวล

ทิศ : หน้าตรง เท้า : ก้าวน้าเท้าขวา มือ : มือขวาตั้งวงกลางด้านหน้า มือซ้ายจีบซ้อนที่วงขวา ระดับอก ศีรษะ : เอียงขวา


38

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

31

ขลิบสุวรรณ

32

รับ

ท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : หันหน้าด้านขวา เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา กระดก เท้าซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างจีบหงาย ระดับอกแล้วม้วนจีบเป็นมือขวา ตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ มือซ้าย ตั้งวงบน ศีรษะ : เอียงขวาแล้วเอียงซ้าย ท่าโบก ทิศ : หันหน้าด้านขวา เท้า : วางส้นเท้าซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงหน้า มือขวา ส่งจีบหลัง ศีรษะ : เอียงขวา


39

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

33

รับ

ท่ารา

คาอธิบาย (ท่านางนอน) ทิศ : หันหน้าด้านขวา เท้า :ก้าวซ้ายจรดขวาแล้ว ขยั่นเท้า มือ : มือขวาตั้งวงล่าง มือซ้ายตั้ง วงปลายนิ้วตกแขนงอระดับเอว ศีรษะ : เอียงซ้าย (รับท่าแผลงศร) ทิศ : หันหน้าด้านขวา เท้า : ก้าวเท้าขวา จรดซ้าย มือ : มือขวาหยิบจีบแล้วจีบปรก ข้าง มือซ้ายพลิกมือตั้งวงแขนตึง ระดับไหล่ ศีรษะ : เอียงขวา หน้ามองออก

34

รับ

(ท่าจีบสั้น) ทิศ : หันหน้าด้านขวา เท้า : ถอนเท้าซ้าย จรดเท้าขวา มือ : มือซ้ายจีบคว่าแขนตึงระดับ ไหล่ มือขวาตั้งวงล่าง ศีรษะ : เอียงขวา หน้ามองออก


40

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

35

รับ

ท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : หันหน้าด้านซ้าย เท้า : ก้าวเท้าซ้าย จรดเท้า ขวา มือ : มือซ้ายจีบปรกข้าง มือ ขวาตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ ศีรษะ : เอียงซ้าย หน้ามองจีบ

(ท่าจีบสั้น) ทิศ : หันหน้าด้านซ้าย เท้า : ถอนเท้าขวา จรดเท้า ซ้าย มือ : มือขวาจีบคว่าแขนตึง ระดับไหล่ มือซ้ายตั้งวงล่าง ศีรษะ : เอียงขวา หน้ามอง ออก

36

รับ

ท่าโบก ทิศ : หันหน้าด้านขวา เท้า : วางส้นเท้าซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงหน้า มือ ขวาส่งจีบหลัง ศีรษะ : เอียงขวา


41

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

ท่ารา

คาอธิบาย

37

บานพับ

ทิศ : เลียงตัวด้านขวา หัน หน้าออกนอกเล็กน้อย เท้า : ก้าวเท้าซ้ายยกเท้าขวา มือ : มือขวาม้วนจีบแล้วพลิก ตั้งวงกลาง มือซ้ายตั้งวงแล้ว เดินมือเป็นจีบหงายที่แขนขวา ศีรษะ :เอียงซ้ายแล้วเอียงขวา

38

ประดับ

ทิศ : เลียงตัวด้านซ้าย หัน หน้าออกนอกเล็กน้อย เท้า : ก้าวเท้าขวา ยกเท้าซ้าย มือ : มือซ้ายจีบแล้วกรายมือ เป็นวงกลาง มือขวาตั้งวงแล้ว เดินมือเป็นจีบหงายที่แขนซ้าย ศีรษะ : เอียงขวาแล้วเอียง ซ้าย


42

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

ท่ารา

คาอธิบาย

39

พระพาหา

ทิศ : หน้าตรง เท้า : ก้าวข้างเท้าซ้าย กระดก เสี้ยวเท้าขวา มือ : มือทั้งสองข้างหยิบจีบ แขนงอระดับเอว แล้วพลิกมือ เป็นจีบหงายระดับเดิม ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วเอียง ขวา

40

ปะวะหล่า

ทิศ : หน้าตรง เท้า : ก้าวเท้าซ้าย จรดเท้า ขวา ขยั่นเท้ามาด้านขวา มือ : มือทาท่าภมรเคล้า ด้านขวาแล้วมาซ้าย ศีรษะ : เอียงขวาแล้วเปลี่ยน เอียงซ้าย


43

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

ท่ารา

คาอธิบาย

41

ลงยา

ทิศ : หน้าตรง เท้า : ก้าวเท้าขวา จรดเท้าซ้าย ขยั่นเท้ามาที่เดิม มือ : มือทาท่าภมรเคล้า ด้านขวา ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วเอียงขวา

42

โมราคั่น

ทิศ : หน้าตรง เท้า : ก้าวข้างเท้าขวา กระดก เสี้ยวเท้าซ้าย มือ : มือขวาจีบหงาย แล้วม้วน มือตั้งวงระดับวงบนแล้ว มือ ซ้ายตั้งวงกลางแล้วพลิกมือ ปลายนิ้วตกงอแขนระดับเอว ศีรษะ : เอียงขวาแล้วเอียงซ้าย


44

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

43

รับ

44

ทองกร

ท่ารา

คาอธิบาย ท่าโบก ทิศ : หันหน้าด้านขวา เท้า : วางส้นเท้าซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงหน้า มือ ขวาส่งจีบหลัง ศีรษะ : เอียงขวา

ทิศ : หันหน้าด้านขวา เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา กระดกหลังเท้าซ้าย มือ : มือขวาจีบปรกข้าง แล้ว ม้วนมือตั้งวงบน มือซ้ายตั้งวง กลางแขนงอแล้วพลิกมือเป็น จีบหงายแขนตึงระดับไหล่ ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วเอียง ขวา


45

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

ท่ารา

คาอธิบาย

45

รูปวา

ทิศ : หันหน้าด้านซ้าย เท้า : ก้าวเท้าซ้าย เดี่ยวเท้า เท้าขวา มือ : มือหยิบจีบทั้งสองข้าง แล้ว มือขวาจีบหงายแขนตึงระดับไหล่ มือซ้ายจีบปรกข้าง ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วเอียงขวา

46

สุกรีพัน

ทิศ : หน้าตรง เท้า : ก้าวข้างเท้าขวา กระดก เสี้ยวเท้าซ้าย มือ : มือซ้ายจีบไขว้ มือขวาตั้งวง ศีรษะ : เอียงขวาแล้วเอียงซ้าย


46

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

47

ทรงสัง

48

วาลวรรณ

ท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : หน้าตรง เท้า : ถอนซ้าย ก้าวหน้าเท้า ขวา มือ : มือขวาจีบคว่าแล้วหงาย ขึ้น ระดับชายพก มือซ้ายแทง ปลายมือแล้วพลิกเป็นตั้งวง บน ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วเอียง ขวา ทิศ : หน้าตรง เท้า : ลากเท้าซ้ายมาจรด มือ : มือซ้ายจีบหงายระดับ ชายพก มือขวาตั้งวงบน ศีรษะ : เอียงขวาแล้วเอียง ซ้าย (วิ่งหมุนลงด้านหลัง)


47

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

ท่ารา

คาอธิบาย

49

วิเชียรชู

ทิศ : หน้าตรง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย กระดก หลังเท้าขวา มือ : มือซ้ายปลายนิ้วตกแขนงอ ระดับเอว แล้วจีบส่งหลัง มือ ขวาจีบคว่าล่อแก้ว แล้วพลิก เป็นจีบล่อแก้วหงายวงบัวบาน ศีรษะ : เอียงขวาแล้วเอียงซ้าย

50

รับ

ท่าโบก ทิศ : หันหน้าด้านขวา เท้า : วางส้นเท้าซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงหน้า มือขวา ส่งจีบหลัง ศีรษะ : เอียงขวา


48

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ 51

เนื้อเพลง รับ

ท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : หันหน้าด้านขวา เท้า : เท้าขวาจรด มือ : มือซ้ายและมือขวาตั้งวง ล่าง ศีรษะ : เอียงซ้าย

(ท่าพรมสี่หน้า) ทิศ : หันหน้าด้านขวา เท้า : เท้าซ้ายจรด มือ : มือซ้ายและมือขวาทั้ง สองข้างเคลื่อนมือจีบคว่า ระดับอก แล้วหงายมือออกทั้ง สองข้าง ศีรษะ : เอียงขวา


49

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ 52

เนื้อเพลง รับ

ท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : หันหน้าด้านซ้าย เท้า : เท้าซ้ายจรด มือ : มือซ้ายและมือขวาตั้งวงล่าง ศีรษะ : เอียงขวา

(ท่าพรมสี่หน้า) ทิศ : หันหน้าด้านซ้าย เท้า : เท้าขวาจรด มือ : มือซ้ายและมือขวาทั้งสอง ข้างเคลื่อนมือจีบคว่าระดับอก แล้วหงายมือออกทั้งสองข้าง ศีรษะ : เอียงซ้าย


50

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ 53

เนื้อเพลง รับ

54

ท่ารา

คาอธิบาย ท่าโบก ทิศ : หันหน้าด้านขวา เท้า : วางส้นเท้าซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงหน้า มือขวา ส่งจีบหลัง ศีรษะ : เอียงขวา

สร้อยประดับ ทิศ : หันหน้าด้านขวา เท้า : ถอนเท้าขวา ก้าวเท้าซ้าย มือ : จีบซ้ายคว่า มือขวาแทง ปลายมือ (ทาท่าสอดสร้อย) ศีรษะ : เอียงขวาแล้วเอียงซ้าย


51

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

ท่ารา

คาอธิบาย

51

ทับทิม

ทิศ : หันด้านขวาแล้วสะดุ้งตัวมา หน้าตรง เท้า : ลากเท้าขวามาเป็น ก้าวหน้า มือ : เปลี่ยนมือมา ทาท่าสอดร้อยทางซ้าย ศีรษะ :เอียงซ้ายแล้วเอียงขวา

52

สีประเทือง

ทิศ : หันตัวด้านซ้าย เท้า :ก้าวหน้าเท้าซ้ายแล้วจรด ขวา ขยั่นเท้า หมุนมาหน้าตรง มือ :มือซ้ายและมือขวาจีบคว่า ระดับอกแล้ว โปรยมือเป็นแทง ปลายมือแขนงอ ศีรษะ :เอียงขวาแล้วเอียงซ้าย


52

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ 53

54

เนื้อเพลง ดาบจินดา ค่าเมือง

เอื้อน ควรคู่

ท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : หันด้านหน้า เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย กระดก เท้าขวา มือ : มือขวาล่อแก้วคว่า แล้ว หงายระดับปรกข้าง มือซ้ายแทง ปลายมือแล้วจีบส่งหลัง ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้ว เอียงขวา มองมือที่ล่อแก้ว

ทิศ : หันด้านขวา เท้า : ก้าวเท้าขวาไปด้านข้าง ยก เท้าซ้าย มือ : มือขวาจีบคว่า มือซ้ายแทง ปลายมือ แล้วเป็นบัวชูฝัก ศีรษะ : เอียงขวา แล้วเอียงซ้าย


53

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ 55

เนื้อเพลง รับ

ท่ารา

คาอธิบาย ท่าโบก ทิศ : หันหน้าด้านขวา เท้า : วางส้นเท้าซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงหน้า มือขวา ส่งจีบหลัง ศีรษะ : เอียงขวา

56

เข็มขัด ทิศ : หันด้านหน้า เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ยกเท้า ซ้าย มือ : จีบข้างลาตัวทั้งสองข้าง แล้วจีบหงาย มือขวาวางบนจีบ มือซ้าย ศีรษะ : หน้าตรง


54

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

ท่ารา

คาอธิบาย

57

ประจายาม

ทิศ : หันเลียงด้านขวา เท้า : เท้าซ้ายก้าวไปด้านข้าง แล้วยกเท้าขวา มือ : มือขวาแทงมือ แล้วตั้งวง แขนตึงระดับไหล่ มือซ้ายตั้งแล้ว จีบชายพกข้างขวา ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วเอียงขวา

58

ก้ามปู

ทิศ : หันด้านหน้า เท้า : ก้าวเท้าขวา กระดกเท้า ซ้าย มือ : จีบคว่าทั้งสองข้าง แล้วจีบ หงายข้อมือขวาทับข้อมือซ้าย ศีรษะ : เอียงขวาแล้วเอียงซ้าย


55

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

ท่ารา

คาอธิบาย

59

ธรรมรงค์

ทิศ : หันเลียงด้านซ้าย เท้า : ถอนเท้าซ้าย เหลื่อมเท้า ขวา มือ : มือขวาตั้งระดับอก มือ ซ้ายจีบลูบแหวน ศีรษะ : เอียงขวา

60

รูปงู

ทิศ : หันเลียงด้านขวา เท้า : ถอนเท้าขวา เหลื่อมเท้า ซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งระดับอก มือ ขวาจีบลูบแหวน ศีรษะ : เอียงซ้าย


56

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

ท่ารา

คาอธิบาย

61

เอื้อน เพชรเพรา

ทิศ : หันด้านหน้า เท้า : ถอนเท้าขวา ลายเท้าซ้าย วางหลัง มือ : มือทั้งสองตั้งวง ร่ายจีบ เบาๆระดับชายพกขวาเป็นมือ ขวาตั้งวง มือซ้ายจีบส่งหลัง ศีรษะ : ลักคอ กดขวาซ้ายแล้ว หมดขวา

62

รับ

ท่าโบก ทิศ : หันหน้าด้านขวา เท้า : วางส้นเท้าซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงหน้า มือขวาส่ง จีบหลัง ศีรษะ : เอียงขวา


57

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

63

รับ

64

รับ

ท่ารา

คาอธิบาย (ท่านางนอน) ทิศ : หันหน้าด้านขวา เท้า :ก้าวซ้ายจรดขวา แล้วยั่น เท้า มือ : มือขวาตั้งวงล่าง มือซ้าย ตั้งวงปลายนิ้วตกแขนงอระดับ เอว ศีรษะ : เอียงซ้าย

ทิศ : หันด้านขวา เท้า : ก้าวขวา จรดเท้าซ้าย แล้ว ก้าวซ้าย จรดเท้าขวา มือ : ทาท่าดึงจีบ มือขวาจีบ คว่าแขนตึงระดับไหล่ มือซ้าย ตั้งวง แล้วมือขวาตั้งวง มือ ซ้ายดึงจีบ ศีรษะ : เอียงขวาแล้วเอียง ซ้าย


58

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

ท่ารา

คาอธิบาย

65

รับ

ทิศ : หันหน้าด้านซ้าย เท้า : ก้าวซ้าย จรดเท้าขวาแล้ว ก้าวเท้าขวา จรดเท้าซ้าย มือ : มือขวาตั้งวง มือซ้ายดึงจีบ แล้ว สลับเป็นมือซ้ายตั้งวงระดับ ชายพก มือขวาดึงจีบ ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วเอียงขวา

รับ

ท่าโบก ทิศ : หันหน้าด้านขวา เท้า : วางส้นเท้าซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงหน้า มือขวาส่ง จีบหลัง ศีรษะ : เอียงขวา

66


59

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

ท่ารา

คาอธิบาย

67

ปี่พาทย์ทา เพลงเสมอ

ทิศ : หน้าตรง เท้า :ถอนเท้าซ้าย ก้าวเท้าขวา มือ : มือซ้ายตั้งวงระดับชายพก มือขวาดึงจีบ ศีรษะ : เอียงขวา (เดินขึ้นหน้า 5 จังหวะ เดินลง ลายเท้า 4 จังหวะ )

68

ปี่พาทย์ทา เพลงเสมอ

ทิศ : หันด้านขวา เท้า :ย่าเท้าซ้ายตามจังหวะ ช้า23 แล้วซอยเท้าถี่ ๆ แล้วก้าวขวา ยกเท้าซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งจีบส่งหลัง มือขวา แทงมือขึ้นเป็นบัวชูฟัก ศีรษะ : เอียงขวาแล้วเอียงซ้าย


60

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

ท่ารา

คาอธิบาย

69

ปี่พาทย์ทา เพลงเสมอ

ทิศ : หันด้านหน้า เท้า : ก้าวเท้าซ้ายลง แล้ว จรด เท้าขวา หมุนวิ่งลงหลัง มือ : ทาท่าภมรเคล้า มือซ้ายตั้ง วง มือขวาจีบใกล้ๆวง ศีรษะ : เอียงซ้าย

70

ปี่พาทย์ทา เพลงเสมอ

ทิศ : หันด้านหน้า เท้า : หมุนวิ่งลงหลังแล้ว หันมา หน้าตรง มือ : แล้วจีบระดับออกทั้งสอง ข้าง ม้วนมือเป็น มือซ้ายตั้งวงบน มือขวาตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ ศีรษะ : เอียงซ้าย


61

ตารางที่ 6 (ต่อ) ลาดับ

เนื้อเพลง

71

ปี่พาทย์ทา เพลงเสมอ

ท่ารา

คาอธิบาย ทิศ : หัวตัวไปด้านขวา เท้า : ถอนเท้าขวา ยกซ้ายก้าว ข้าง มือ : มือซ้ายตั้งวงระดับปาก มือ ขวาจีบปรกข้าง (ชักแป้ง) ศีรษะ : เอียงขวา

9. กลวิธีในการรา 1.การขยั่นเท้าในเพลงปี่พาทย์ทาเพลงเข้าม่าน การใช้ เท้ายั่นให้เต็มเท้า เพื่อการทรงตัวของ ร่างกายและความถูกต้องของกระบวนท่ารา 2. การราและการใส่ลีลาตามแบบท่ารา จะต้องให้ลื่นไหลไม่ติดขัดเป็นไปตามอารมณ์ของตัวละคร 3. ราให้ตรงจังหวะ ไม่ไปก่อนคาร้องหรือหลังคาร้อง ไม่เลื้อย 4. ทุกกระบวนท่ารา ระดับของการตั้งวงขึ้นอยู่กับร่างกายผู้แ สดง เช่น ระดับวงบน วงกลาง องศาของการตั้งวง เป็นต้น 5. การใช้หน้าไม่ควรกดคาง ควรใช้สายตามองในระยะไกล ๆ และมองเหนือระดับสายตาเพื่อให้ ผู้รา ราได้อย่างสง่างามยิ่งขึ้น 6. กระบวนราท่าโบก ก่อนจบทานองสะบัดข้อมือเล็กน้อย ทาให้ไม่ดูราเลื้อย หรือดูน่าเบื่อจนเกินไป 7. การใช้อารมณ์ในการแสดงควรมีอารมณ์ร่วมกับบทร้องและสามารถสื่อผ่านทางสายตาและ รอยยิ้ม เช่น การจับแหวน แสดงถึงความมีความสุขจากความงามของแหวน เป็นต้น


75 บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ จากการศึกษารายวิชาอาศรมศึกษาในครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้รวบรวมองค์ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดท่าราจาก อาจารย์ อุษา แดงวิจิ ตร ซึ่งท่านได้ถ่ายทอดท่าราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิล ป์ไทย ชุด วิยะดา ทรงเครื่อง ให้แก่ผู้รับการถ่ายทอดท่ารา โดยได้บทสรุปดังนี้ บทสรุป นาฏศิลป์ไทย เป็นศาสตร์และศิลป์โดยมีพื้นฐานทางความคิดอย่างชาญฉลาดของศิลปินรุ่นเก่าเป็น การบูรณาการองค์ความรู้จากภูมิปัญญาไทยที่งดงามทั้งวัฒนธรรมการแต่งกาย ภาษา และสัญลักษณ์ของการ สื่อสารของมนุษย์ ศิลปะวิจิตรศิลป์ซึ่งเป็นภูมิปัญญาทางช่างไทยแต่โบราณมาไว้ที่เดียวกัน ทาให้ผู้ชมเกิด สุนทรียภาพในการชมและประทับใจตราตรึงทาให้มีการสืบทอดมาแต่อดีตจนปัจจุบัน การศึกษาองค์ความรู้ พื้นฐานทางการแสดงนาฏศิลป์ไทยจะทาให้ผู้เรียนมีความกระจ่างมีความลึกซึ้ง เกิดเจตคติที่ดีต่อการเรียน นาฏศิลป์ไทย พร้อมที่จะอนุรักษ์และเผยแพร่เพื่อให้ศาสตร์ดังกล่าวนี้ดารงอยู่เป็นเอกลักษณ์ไทยสืบไป ซึ่งมี หลั กและวิ ธีการฝึ ก หั ดนาฏศิ ล ป์ ไ ทยนั้ น เริ่ ม จากศึกษาทฤษฎี รูปแบบการแสดงตลอดจนการฝึ กหั ด ท่าร า ภาคปฏิบัติแบบง่ายๆ จากนั้นจึงพัฒนาด้วยการฝึกฝนท่าราในรูปแบบที่ยากขึ้นตามลาดับ โดยผู้มีคุณลักษณะ ความโดดเด่นมักจะได้รับเลือกให้แสดงออกในบทบาทของตัวละครเอกและแสดงราเดี่ยวมาตรฐานเพื่ออวด ฝีมือ ดังนั้นก่อนการแสดงจึงจะต้องคัดเลือกคุณลักษณะของผู้แสดงอย่างละเอียด เพื่อความติดตราตรึงใจของ ผู้ชม โดยคัดเลือกให้เหมาะกับการแสดงในแต่ละชุด จะต้องคานึงถึงรูปร่างหน้าตา ฝีมือ ความสามารถ บุคลิก และอุปนิสัยของผู้แสดง หากผู้ราที่มีความเหมาะสมตามหลักการคัดเลือกก็จะช่วยให้การแสดงราเดี่ยวออกมา ได้ดี น่าชม และเป็นที่ประทับใจ ราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด วิยะดาทรงเครื่อง เป็นการแสดงในที่อยู่ในละครใน เรื่องอิเหนา ตอนลมหอบ ผู้ ราได้รับการถ่ายทอดท่าราจากอาจารย์ อุษา แดงวิจิตร ปัจจุบันดารงตาแหน่งนาฏศิลปินอาวุโส สานักการ สังคีตกรมศิลปากร ซึ่งอาจารย์เป็นความสามารถทางด้านนาฏศิลป์ไทย ตัวนาง อาจารย์เป็นผู้ที่มีประสบการณ์ ต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ได้รับรางวัลต่าง ๆ มากมาย และได้รับการถ่ายทอดจากอาจารย์หลายๆ ท่าน ทาให้อาจารย์ได้รับการยกย่องจากลูกศิษย์และบุคคลในวงการนาฏศิลป์ไทย จากการศึกษาผู้ราได้รั บความรู้ เกี่ย วกับการราเดี่ยวชุดวิยะดาทรงเครื่อง ประกอบด้ว ยเกร็ดความรู้ มากมายล้วนทาให้เกิดประโยชน์ทั้งสิ้น กล่าวคือ ผู้ราได้เรียนรู้แนวทางและวิธีการสอนจากอาจารย์ผู้ถ่ายทอด ท่ารา ได้เรียนรู้บทบาทลีลาที่แตกต่างกันของตัวละคร และเพลงแต่ละเพลง ประกอบกับได้ประมวลความ รู้ ทั้งหมดที่ได้รับการศึกษาในครั้งนี้ออกมาในรูปเล่ม


76 2. ข้อเสนอแนะ 1. ผู้แสดงควรมีความชอบ และความสนใจในบทบาทของตัวละครนั้นๆ เพื่อเวลาแสดงจะได้ถ่ายทอด บทบาทของตัวละครนั้นออกมาได้เป็นอย่างดี 2. ควรมีการเตรียมพร้อมในเรื่องต่างๆ เช่น ความพร้อมทางด้านร่างกาย และความรู้ในเรื่องราเดี่ยว มาตรฐาน ชุด “วิยะดาทรงเครื่อง” ก่อนเข้ารับการถ่ายทอดท่าราจากผู้เชี่ยวชาญ 3. ท่าราอาจจะมีการปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมของผู้แสดง ควรมีการจดบันทึกท่าราทุกครั้ง หลังจากได้รับการสืบทอดทุกครั้ง เพื่อช่วยจาในการซ้อมครั้งต่อไป 4. ควรตรวจเช็คเครื่องแต่งกายก่อนถึงวันแสดง เพื่อความถูกต้องในเรื่องของเครื่องแต่งกาย และความ เรียบร้อย


66

บรรณานุกรม เอกสาร ผุสดี หลิมสกุล, ราเดี่ยวมาตรฐาน ตัวนาง. บริษัทเนติกุลการพิมพ์ จากัด, กรุงเทพมหานคร, 2541 เว็บไซต์ https://my.dek-d.com/lalitida/writer/viewlongc.php?id=580707&chapter=4,วงดนตรีไทย, วันที่ 6 กันยายน 2561 สัมภาษณ์ อุษา แดงวิจิตร, ผู้ถ่ายทอดท่ารา, สัมภาษณ์ , วันที่ 24 กรกฏาคม พ.ศ. 2561.


79

ภาคผนวก ก ภาพการฝึกซ้อมการแสดง ราเดี่ยว ชุด วิยะดาทรงเครื่อง


80

ภาพ บรรยากาศการฝึกฝนกับอาจารย์อุษา แดงวิจิต ที่มา : บันทึกภายโดย นายเอกลักษณ์ กลิ่นทอง , วันที่ 16 สิงหาคม 2561


81

ภาพ ร่วมถ่ายภาพคู่อาจารย์อุษา แดงวิจิต ที่มา : บันทึกภายโดย นางสาวศิริพร แร่พรม , วันที่ 24 กรกฎาคม 2561


75

ประวัติผ้รู ับการถ่ายทอดท่ารา

ชื่อ นางสาว สุดารัตน์ นามสกุล หงษ์ดวง ชื่อเล่น ญา รหัสนิสิต 58260567 ภาควิชา ศิลปะการแสดง สาขาวิชา นาฏศิลป์ไทย เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ วัน/เดือน/ปีเกิด วันพุธ ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 อายุ 22 ปี ที่อยู่ปัจจุบัน 96/1 หมู่ที่ 13 ต.ไทรย้อย อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก 65190 หมายเลขโทรศัพท์ 0881559851 E-mail sudarutya@hotmail.com ประวัติการศึกษา 1. สาเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา โรงเรียนเนินหัวโล้หนองยางพิทยาคม อ.วังทรายพูน จ.พิจิต 2. สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนไทรย้อยพิทยาคม อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก 3. ปัจจุบันศึกษาระดับอุดมศึกษา นิสิตชั้นปีที่ 4 สาขานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวีดพิษณุโลก


82

ภาคผนวก ข ภาพถ่ายบรรยากาศวันสอบราเดี่ยวมาตรฐาน


83

ภาพ การสอบราเดี่ยวของรุ่น 16 และอาจารย์ที่ปรึกษา ที่มา : นายสุทธิพงศ์ รอดขา, วันที่ 31 สิงหาคม 2561

ภาพ บรรยากาศการสอบราเดี่ยวของรุ่น 16 ที่มา : นายสุทธิพงศ์ รอดขา, วันที่ 31 สิงหาคม 2561


84

ภาพ บรรยากาศการสอบราเดี่ยวของรุ่น 16 ที่มา : นายสุทธิพงศ์ รอดขา, วันที่ 31 สิงหาคม 2561

ภาพ บรรยากาศกับเพื่อนๆรุ่น 16 ที่มา : นายสุทธิพงศ์ รอดขา, วันที่ 31 สิงหาคม 2561


85

ภาพ อาจารย์ที่ปรึกษาราเดี่ยว ที่มา : นายสุทธิพงศ์ รอดขา, วันที่ 31 สิงหาคม 2561

ภาพ ครอบครัว ที่มา : นายสุทธิพงศ์ รอดขา, วันที่ 31 สิงหาคม 2561


86

ภาพ บรรยากาศหลังสอบเสร็จ พี่เอ็กซ์คนที่คอยอยู่เคียงข้าง ที่มา : นายสุทธิพงศ์ รอดขา, วันที่ 31 สิงหาคม 2561

ภาพ บรรยากาศหลังสอบเสร็จกับช่างภาพส่วนตัว ที่มา : นางสาวสุดารัตน์ หงษ์ดวง, วันที่ 31 สิงหาคม 2561


87

ภาพ นางสาวสุดารัตน์ หงษ์ดวง ที่มา : นายสุทธิพงศ์ รอดขา, วันที่ 31 สิงหาคม 2561


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.