อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง

Page 1

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง

ธมลวรรณ นิ่มอนงค์

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทยฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2561


อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด “ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง” ของ นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ ได้รับการพิจารณาให้นับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต (นาฏศิลป์ไทย) คณะกรรมการอาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ...................................................................................................................อาจารย์ที่ปรึกษา (อาจารย์อุบลวรรณ โตอวยพร) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.รุ่งนภา ฉิมพุฒ) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์รัชดาพร สุคโต) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.จิตติมา นาคีเภท) ...................................................................................................................กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประภาศรี ศรีประดิษฐ์) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์ภูริตา เรืองจิรยศ) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์วรวิทย์ ทองเนื้ออ่อน) อนุมัติ ................................................................ (ดร.จิตติมา นาคีเภท) หัวหน้าภาควิชาศิลปะการแสดง


ประกาศคุณูปการ โครงการปริญญานิพนธ์ การเผยแพร่รําเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุดฉุยฉายผีเสื้อ สมุทรแปลง ฉบับนี้สําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ทั้งนี้ต้องขอขอบพระคุณผู้ที่ให้ความเมตตา และความอนุ เคราะห ์ ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารํา ที่ได้กรุณาสละ เวลาอันมีค่า เพื่อถ่ายทอดท่ารํา ให้คําแนะนําเกี่ยวกับกระบวนท่ารํา รวมทั้งรายละเอียดลีลาท่า รํา ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง ขอกราบขอบพระคุ ณ อาจารย์ อุ บ ลวรรณ โตอวยพร อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษา ที่ ไ ด้ ส ละเวลาให้ คําแนะนําเกี่ยวกับการต่อท่ารํา รวมถึงสละเวลาฝึกซ้อมให้กับนิสิต จนทําให้การสอบรําเดี่ยวมาตรฐาน นี้ประสบความสําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอกราบขอบพระคุณคณาจารย์ประจําสาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะ มนุ ษยศาสตร์ มหาวิทยาลั ย นเรศวร ที่ให้ ความกรุณา ให้คําแนะนํา ข้อคิด คําปรึกษาแก่ ผู้ รับการ ถ่ายทอด ขอกราบขอบพระคุณ นายสมพงษ์ ลายแก้ว (บิดา) และนางพิมพา กลิ่นกรุด (มารดา) ที่ส่งเสริม และเป็นกําลังใจให้ในการเรียนและการฝึกฝน จนส่งผลให้ผู้รับการถ่ายทอดประสบความสําเร็จอีกขั้น หนึ่ง รวมถึงสนับสนุนทุนทรัพย์ในการดําเนินโครงการตลอดมา ขอขอบคุ ณ นิ สิ ต สาขาวิ ช านาฏศิ ล ป์ ไ ทย ภาควิ ช าศิ ล ปะการแสดง คณะมนุ ษ ยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่มอบแรงกาย แรงใจ และช่วยเหลือให้การดําเนินโครงการสําเร็จลุล่วงไปได้ ด้วยด ี สุดท้ายนี้ขอขอบคุณทุกสรรพสิ่งที่ทําให้เกิดเรื่ องราวต่างๆ ขึ้นมาในชีวิตของผู้รับการถ่ายทอด ขอบคุณกําลังใจ ขอบคุณแรงกดดัน ขอบคุณเรื่องราวที่เข้ามาทําให้ผู้รับการถ่ายทอดเป็นบุคลากรที่มี ความอดทน ความตั้งใจเพิ่มมากขึ้น ธมลวรรณ นิ่มอนงค์



สารบัญ บทที่

หน้า

1 บทนา…………………………………………………………................................….……...…..…… ความสาคัญของการถ่ายทอดท่ารา....……………………….........…………….......……… วัตถุประสงค์......................................……………………….........…………….......……… วิธีดาเนินงาน.....................................……………………….........……………....…...…… ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ................……………………….........…………….......………

1 1 2 2 2

2 ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา............................................................................................. ประวัติส่วนตัว...................................……………………….........………....…………...… ประวัติการศึกษา................................……………………….........……………...………… ประวัติการทางาน..............................……………………….........………………………… ผลงานทางด้านวิชาการและการแสดง……………………….........……………...………… ประวัติการสืบทอดและการถ่ายทอดท่ารา……………..……….........………...………… แผนผังการสืบทอดและถ่ายทอดท่ารา.……………………….........…………....……...…

4 4 5 5 5 7 8

3 วิธีดาเนินการสืบทอดและฝึกหัด.............................................................................. ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด.......……………………….........………….……..……… ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด...........….........…………….......……… อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด......……………………….........……………....…...…… พัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด.……………………….........……………....……...…

10 10 12 17 17


สารบัญ (ต่อ) บทที่

หน้า

4 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง….....……………....…….. ประวัติความเป็นมาของการแสดง………………..……….........……………....…………… เรื่องย่อของการแสดง……………………...................….........…………..…....…………… บทร้อง……………………….........……………....……...........................................……… ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง……………………….........…………….............…………… เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า……………………….........…………….........…………… นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง……………………….........……………................…………… กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่………………………................……………....…………… กลวิธีในการรา................................……………………….........……………....……………

20 20 20 24 26 27 35 39 80

5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ.......................................................................................... บทสรุป................................……………………......………….....................…….………. ข้อเสนอแนะ………………………………........................……....…………………....……….

84 85 85

บรรณานุกรม.................................................................................................................

86

ภาคผนวก………………………....……………………………………….……………….....

88

ประวัติผู้วิจัย………………………………………………………….……………................

94


สารบัญตาราง ตาราง 1 2 3 4 5 6

หน้า แสดงตารางดาเนินงาน………………………………....…......…...…………………. แสดงขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด……………………………………………….. แสดงระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด…………………………… แสดงนาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง……………………………………....….........…. แสดงกระบวนท่าราและการใช้พื้นที่…………………………………….......………. แสดงกลวิธีการรา……………………………………....……...….............................

10 11 12 35 39 80



บทที่ 1 บทนา ความสาคัญของการถ่ายทอดท่ารา มนุษย์เป็นผู้ที่มีความเจริญทางความคิดและวัฒนธรรม สามารถสร้างสรรค์และเลียนแบบ ธรรมชาติให้ออกมาในรูปแบบต่างๆ เช่น การเลียนแบบเสียง การเลียนแบบท่าทางจากธรรมชาติ ให้ ออกมาเป็นศิลปะที่สวยงามในรูปแบบ การร่ายราโดยมีดนตรีประกอบ หรือที่เราเรียกว่า นาฏศิลป์ นาฎศิลป์ไทยเป็นศิลปวัฒนธรรมที่งดงามอีกอย่างหนึ่งของไทย ซึ่งมีตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา อยู่เคียงคู่ กับประวัติศาสตร์ชาติไทยมาเป็นเวลานาน นาฎศิลป์ไทย ประกอบด้วย โขน ละคร และการฟ้อนรา การรา คือการร่ายราที่มีผู้แสดงตั้งแต่ 1 – 2 คนขึ้นไป แบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ การราเดี่ยว การรา คู่ และการราหมู่หรือเรียกอีกอย่างว่าระบา การราเดี่ยว เป็นการแสดงที่อวดศิลปะทางนาฏศิลป์อย่างแท้จริงซึ่งผู้ราจะต้องมีผีมือดีเยี่ยม เพราะเป็นการแสดงที่แสดงคนเดียว เป็นการอวดฝีมือของผู้รา โดยส่วนมากจะเป็นการราฉุยฉายต่างๆ เช่น ฉุยฉายเบญจกาย ฉุยฉายวันทอง ฉุยฉายศูรปนขา ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง เป็นต้น ฉุยฉาย หมายถึง การร่ายราเมื่อตัวละครเกิดความภาคภูมิใจ ที่สามารถแปลงกาย หรือแต่ง กายได้อย่างสวยสดงดงาม พระยาอนุมานราชธนได้กล่าวไว้ในหนังสืออธิบ ายนาฏศิลป์ไทยว่า "การรา ฉุยฉายเป็นการแสดงภาษานาฏศิลป์ที่มีคุณค่าทางนาฏศิลป์อย่างเลิศ นิยมกันว่าตัวละครสามารถแสดง อารมณ์ความภาคภูมิใจออกมาทางท่าราได้ดีกว่าที่จะพูดออกมาทางปาก” (สุมิตร เทพวงษ์, ฉุยฉาย, 2534: หน้า 2) ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง เป็นการแสดงที่อยู่ในละครนอก เรื่องพระอภัยมณี ตอนปี่พิศวาส เนื้อหากล่าวถึงการแปลงร่างจากนางผีเสื้อสมุทรเป็นสาวงาม เพื่อมิให้พระอภัยกลัว และนางได้เฝ้า ปรนนิบัติสารพัด จนมีลูก 1 คน ชื่อสินสมุทร สินสมุทรนั้นมีรูปร่างหน้าตาละม้ายคล้ายพระอภัยมณี แต่มีบางส่ วนที่เหมือนนางผี เสื้อสมุทรคื อ เขี้ยว และมีพลังกาลั งเกินเด็กวัย 8 ขวบและ ยามที่นาง ออกไปหาอาหาร นางได้แอบแปลงกายเป็นนางยักษ์ผีเสื้อสมุทรโดยมิให้พระอภัยมณีและสินสมุทรเห็น จากที่ได้กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยต้องการศึกษาทักษะการราเดี่ยวตัวนาง ในการแสดงชุดฉุยฉาย ผีเสื้อสมุทรแปลง ซึ่งเป็นการแสดงแบบละครนอก นิสิตจะต้องศึกษาถึงประวัติความเป็นมาของการ แสดงและองค์ประกอบการแสดงต่างๆ รวมถึงรูปแบบการแสดงและศึกษากระบวนราที่ถูกต้องตาม แบบแผน ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาในชุด ฉุยฮายผีเสื้อสมุทรแปลง อันจะเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อตัว ผู้วิจัยและเป็นข้อมูลพื้นฐานที่ใช้ในการศึกษาสืบไป


2 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาประวัติและความเป็นมาของการแสดงราเดี่ยวชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง 2. เพื่อให้ทราบถึงองค์ประกอบของการแสดง ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง 3. เพื่อปฏิบัติการร้องและราของการแสดงราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทยชุด ฉุยฉาย ผีเสื้อสมุทรแปลงได้ถูกต้องตามจังหวะและทานองเพลง วิธีดาเนินงาน จากการศึกษาข้อมูลการแสดงชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง ผู้วิจัยได้แบ่งวิธีการดาเนินงานใน แต่ละเดือนดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 1 : ตารางดาเนินงาน เดือน ( พ.ศ. 2561 ) วิธีการดาเนินงาน พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1. ศึกษาข้อมูลประวัติเกี่ยวกับการราเดี่ยว ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง 2. ศึกษาจากสื่อ วีดีทัศน์ 3. ขอรับการถ่ายทอดกระบวนท่าราจาก อาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ 4. สอบประเมิน 50 % 5. สอบประเมิน 75 % 6. สอบประเมิน 100 % 7. สอบราเดี่ยวมาตรฐานชุด ฉุยฉายผีเสื้อ สมุทรแปลง 8. สรุปผล ส่งรูปเล่ม ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทราบถึงประวัติและความเป็นมาของการแสดงราเดี่ยวมาตราฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทยชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง 2. ทราบถึงองค์ประกอบของการแสดงราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทยชุด ฉุยฉายผีเสื้อ สมุทรแปลง 3. สามารถปฏิ บั ติ การร้ อ งและราของการแสดงร าเดี่ย วมาตรฐานทางด้า นนาฏศิล ป์ไ ทยชุ ด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง ได้ถูกต้องตามจังหวะและทานองเพลง



บทที่ 2 ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา การแสดงราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศฺลป์ไทย ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง นี้ได้รับความ อนุเคราะห์ถ่ายทอดท่าราจาก อาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ ปัจุ บันท่านดารงตาแหน่งนาฏศิลปิน อาวุโส สานักการสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม ซึ่งเป็นผู้ทีมีประสบการณ์และความสามารถ ทางด้านนาฏศิลป์ไทยเป็นอย่างดี โดยอาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธ์ ท่านมีประวัติดังต่อไปนี้ ประวัติส่วนตัว ประวัติทางการศึกษา ประวัติการทางาน ผลงานทางด้านวิชาการและการแสดง ความภาคภูมิใจ ประวัติการสืบทอดและการถ่ายทอดท่ารา แผนผังการสืบทอดและการถ่ายทอดท่ารา


4 ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา

ภาพที่ 1 : อาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ นาฏศิลปินอาวุโส สานักการสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์, วันที่ 11 กรกฎาคม 2561 ประวัติส่วนตัว ชื่อ นางวรวรรณ พลับประสิทธิ์ เกิด

14 ตุลาคม พ.ศ. 2501

อายุ

59 ปี

ที่ อ ยู่ 210/3 ซอยนาทอง 1 ถนนราชประสงค์ แขวงดิ น แดง เขตดิ น แดง กรุงเทพมหานคร 10400 (สัมภาษณ์ อาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ : 15 สิงหาคม 2561)


5 ประวัติทางการศึกษา คุณวุฒิ (ปริญญา/ประกาศนียบัตร)

ปีที่สาเร็จการศึกษา

สถาบัน

ประกาศนียบัตรชั้นกลางนาฏศิลป์ไทย

2519

โรงเรียนนาฏศิลปเชียใหม่

ประกาศนียบัตรชั้นสูงนาฏศิลป์ไทย

2521

วิทยาลัยนาฏศิลป

ศิลปศาสตร์บัณฑิต (นาฏศิลป์ไทย)

2547

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

(สัมภาษณ์ : อาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์, 15 สิงหาคม 2561) ประวัติการทางาน วัน เดือน ปี

ตาแหน่ง

สังกัด

13 มิถุนายน 2523

ครู 2

กองศิลปศึกษา

1 สิงหาคม 2524

นาฏศิลปิน 2

กองการสังคีต

1 ตุลาคม 2525

นาฏศิลปิน 3

กองการสังคีต

2 ตุลาคม 2532

นาฏศิลปิน 4

กองการสังคีต

23 กรกฎาคม 2534

นาฏศิลปิน 5

กองการสังคีต

20 กันยายน 2543

นาฏศิลปิน 6

สานักการสังคีต

11 ธันวาคม 2551

นาฏศิลปิน ชานาญงาน

สานักการสังคีต

ปัจจุบัน

นาฏศิลปิน อาวุโส

สานักการสังคีต

(สัมภาษณ์ อาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์, 15 สิงหาคม 2561) ผลงานทางด้านวิชาการและการแสดง ผลงานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ของอาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ ปี พ.ศ. 2524 – ปัจจุบัน ปี พ.ศ. 2524 – ปัจจุบัน โขนเรื่องรามเกียรติ์ ชุดกาเนิดนางสีดา ชุดพุ่งหอกกบิลพัท ชุดมณโฑหุงน้าทิพย์ ชุดศึกสามทัพ แสดงเป็นนางมณโฑ


6 โขนเรื่องรามเกียรติ์ ชุดนางลอย ชุดอสุรผัดตามพ่อ แสดงเป็นนางเบญกาย, นางตรีชฎา โขนเรื่องรามเกียรติ์ ชุดลักสีดา แสดงเป็นนางสีดา, สัมนักขาตัวแปลง โขนเรื่องรามเกียรติ์ ชุดจองถนน ชุดตัดหางมัจฉานุ แสดงเป็นนางสุพรรณมัจฉา โขนเรื่องรามเกียรติ์ ชุดไมยราพณ์สะกดทัพ แสดงเป็นนางพิรากวน โขนเรื่องรามเกียรติ์ ชุดศึกวิรุญจาบัง แสดงเป็นนางวานริน โขนเรื่องรามเกียรติ์ ชุดพาลีสอนน้อง ชุดนางดาว แสดงเป็นนางดารา, นางนิลกาสร โขนเรื่องรามเกียรติ์ ชุดตีทัพพระลักษณ์ แสดงเป็นนางสุวรรณกันยุมา โขนเรื่องรามเกียรติ์ ชุดสืบมรรคา แสดงเป็นนางบุษมาลี โขนเรื่องรามเกียรติ์ ชุดนางสีดาวาดรูปทศกัณฑ์ แสดงเป็นปีศาจอดูล โขนเรื่องรามเกียรติ์ ชุดกาเนิดนางมณโฑ แสดงเป็นนางนาค โขนเรื่องรามเกียรติ์ ชุดศึกบรรลัยกัลป์ แสดงเป็นนางกาลอัคคี โขนเรื่องรามเกียรติ์ ชุดพระรามเดินดง แสดงเป็นางไกยเกษี, นางกุจจี โขนเรื่องรามเกียรติ์ ชุดนารายณ์ปราบนนทุก แสดงเป็นนางนารายณ์แปลง โขนเรื่องรามเกียรติ์ ชุดวสันต์นิยาย แสดงเป็นนางมณีเมขลา ละครใน เรื่องอิเหนา ตอนตัดดอกไม้ฉายกริช แสดงเป็นนางยุบล ละครใน เรื่องอิเหนา ตอนย่าหรันตามนกยูง แสดงเป็นนกยูง ละครนอก เรื่องพระอภัยมณี ตอนหนีนางผีเสื้อ แสดงเป็นนางผีเสื้อแปลง, นางเงือก ละครนอก เรื่องพระอภัยมณี ตอนศึกเก้าทัพ แสดงเป็นนางละเวง ละครนอก เรื่องพระอภัยมณี ตอนอุศเรนกระอักอก แสดงเป็นนางวาลี ละครนอก เรื่องรถเสน แสดงเป็นนางสันธี, นางเมรี, นางอัมพิกา ละครนอก เรื่องสุวรรณหงส์ แสดงเป็นนางเกศสุริยงแปลง ละครนอก เรื่องไชยเชษฐ์ แสดงเป็นนางวิฬาร์ ละครนอก เรื่องคาวี แสดงเป็นนางเฒ่าทัศประสาท ละครพันทาง เรื่องพระลอ แสดงเป็นพระเพื่อน-พระแพง, นางรื่น-นางโรย


7 ละครพันทาง เรื่องราชาธิราช แสดงเป็นเม้ยมะนิก ละครพันทาง เรื่องผู้ชนะสิบทิศ แสดงเป็นตองสา ละครพันทาง เรื่องขุนช้าง-ขุนแผน แสดงเป็นสร้อยฟ้า, นางศรีประจัน, นางสายทอง, นางตานี , นางแว่นแก้ว ละครพันทาง เรื่องพระร่วง แสดงเป็นนางจันทร์ ละครพันทาง เรื่องโสนน้อยเรือนงาม แสดงเป็นนางกุลา (สัมภาษณ์ อาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ : 15 สิงหาคม 2561) ความภูมิใจ แสดงถวายพระพรหน้าพระที่นั่ง เนื่องในงานเลี้ยงต้อนรับพระราชอาคันตุกะทุกประเทศ ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท แสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ เนื่องในงานรามยณะนานาชาติ พ.ศ. 2532 ชุดสัมนักขาหึง ได้รับ คัดเลือกจากคณะกรรมการของชาติต่างๆ ว่าเป็นตอนดีเด่นของประเทศไทย และได้บันทึกเทปการ แสดงไว้ ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย (สัมภาษณ์ อาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ : 15 สิงหาคม 2561) ประวัติการสืบทอดและการถ่ายทอดท่ารา การแสดงชุดฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง ชุดนี้เดิมที อาจารย์วันทนีย์ ม่วงบุญ ประพันธ์บทร้อง ขึ้นมา และมอบให้อาจารย์รัจนา พวงประยงค์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง(นาฏศิลป์ ละคร) พ.ศ.2554 ประดิษฐ์และถ่ายทอดท่าราให้อาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ เป็นผู้สอนให้อาจารย์ภวินี เดชสุภา เพื่อเผยแพร่ให้ประชาชนชม ในรายงานดนตรีไทยไร้รส ต่อมาได้มีการแสดงละครนอก เรื่อง พระอภัย มณี ตอนเพลงปี่พิศวาส ณ โรงละครแห่งชาติ ปีพ.ศ.2556 ได้ มอบให้อาจารย์รัจนา พวง ประยงค์ ศิลปินแห่งชาติ ประดิษฐ์ ท่าราขึ้นและถ่ายทอดท่าราให้ อาจารย์ภวินี เดชสุภา และอาจารย์ พรทิพย์ ทองคา


8 แผนผังการสืบทอดและถ่ายทอดท่ารา จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่า อาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ ได้รับการถ่ายทอดท่ารา ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง จากอาจารย์รจนา พวงประยงค์ ซึ่งอาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ ได้ ถ่ายทอดท่าราฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง ให้กับนางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2561 ดัง แผนภูมิต่อไปนี้ แผนผัง 1 : แสดงการสืบทอดกระบวนท่าราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง

อาจารย์รจนา พวงประยงค์ ผู้เชี่ยวชาญนาฏศิลป์ไทย ละคร-นาง

อาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ นาฏศิลปิน อาวุโส ละคร-นาง

อาจารย์ภวิณี เดชสุภา นาฏศิลปินละคร-นาง

อาจารย์พรทิพย์ ทองคา นาฏศิลปินละคร-นาง

นางสาววันวิสาข์ บูชา นิสิตสาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ปี 2555

นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ นิสิตสาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ปี 2560


9 จากผังการสืบทอดข้างต้น อาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ ได้รับการถ่ายทอดท่าราฉุยฉาย ผีเสื้อสมุทรแปลง มาจากอาจารย์รจนา พวงประยงค์ และอาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ ได้ถ่ายทอด ท่าราฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลงให้นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2561 ท่านเป็นผู้ ถ่ายทอดท่ารา และขัดเกลากระบวนท่าราให้เหมาะสมกับบุคลิกของนาวสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ และ ได้บอกเทคนิคในการแสดงลีลา และอารมณ์ในการแสดงให้นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์


บทที่ 3 วิธีดาเนินการสืบทอดและฝึกหัด การสอบรําเดี่ยวมาตรฐาน เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา นาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในรายวิชา 202462 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย 6 ในการสอบครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาจัดขึ้นเพื่อ ประมวลผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนิสิต ก่อนที่จะสําเร็จการศึกษา ผู้รับการถ่ายทอดเลือก ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง เพราะมีรูปร่างที่เหมาะสมกับการแสดงชุดนี้ โดยมีวิธีการดําเนินโครงการ ดังนี้ ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด ระยะเวลาและสถานที่ในการสืบทอดและฝึกหัด อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด อุปกรณ์ประกอบการเรียน อุปกรณ์ประกอบการรํา พัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด พัฒนาการที่เกิดขึ้น ปัญหา อุปสรรคและการแก้ไข ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด ผู้รับการถ่ายทอดได้รับการถ่ายทอดท่ารํา ชุด ฉุยฉายผีเสื้ อ สมุทรแปลง จากอาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ ซึ่งได้ถ่ายทอดให้ตัวต่อตัว โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษา คือ อาจารย์อุบลวรรณ โตอวยพร เป็นผู้กํากับ ดูแลฝึกซ้อม เพื่อให้การถ่ายทอดท่ารําเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว อาจารย์ผู้ถ่ายทอดได้ให้ผู้รับการถ่ายทอดปฏิบัติ ดังนี้


11

ตาราง 2 : ขั้นตอนในการเตรียมการ ลาดับ รายการฝึกหัด 1 ศึกษาข้อมูล ความรู้ทางวิชาการเกี่ยวกับประวัติ ความสําคัญ ตลอดจนความเป็นมาของ ตัวละคร ที่เกี่ยวกับการสอบรําเดี่ยวมาตรฐาน ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง 2

ศึก ษาวี ดี ทั ศ น์ ก ารรํ า ฉุ ย ฉายผี เ สื้ อ สมุ ท รแปลงและฝึ ก ร้ อ งเพลงก่ อ นที่ จ ะได้ รั บ การ ถ่ายทอดท่า รําจากอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารํา

ที่มา : นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์, 15 สิงหาคม 2561 ขั้นตอนในการสืบทอด ลาดับ รายการฝึกหัด 1 อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารําได้เล่าถึงประวัติการรําฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง เพื่อให้ผู้รับการ ถ่ายทอดได้เข้าใจถึงบทบาทและอารมณ์ของตัวละคร 2

อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารํามีวิธีการสอนคือ ให้ผู้ศึกษารําตามโดยยังไม่ให้รําเข้ากับเพลง เมื่อผู้ศึกษาจําท่ารําได้นั้น อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารําก็จะต่อท่ารําท่อนต่อไป

3

อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารําแบ่งการต่อท่ารําเป็นสองส่วน คือ ส่วนที่เป็นเนื้อร้องและส่วนที่ เป็นทํานองเพลง

4

อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารํา ให้ผู้รับการถ่ายทอดรําเข้าเพลงจนจบ โดยมีอาจารย์ผู้ถ่ายทอด ท่ารําเป็นคนรําด้วย

5

อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารําให้ผู้ศึกษาทบทวนและฝึกซ้อมท่ารําเอง

6

อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารําเก็บรายละเอียด ตรวจสอบความถูกต้องของท่ารํา

7

อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารําสอนวิธีการเล่นหน้า การเดิน การซอยเท้า การมีอารมณ์ร่วมกับ บท และการยักตัว

ที่มา : นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์, 15 สิงหาคม 2561


12

ขั้นตอนในการฝึกหัด ลาดับ รายการฝึกหัด 1 ผู้รับการถ่ายทอด ได้มีการฝึกหัดร้องเพลงกับอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อเตรียมตัวไปรับการ ถ่ายทอดท่ารํา 2 ผู้รับการถ่ายทอด ได้ทําการฝึกหัดท่ารํา หลังจากที่ได้มีการต่อครั้งที่ 1 กับอาจารย์ผู้ ถ่ายทอดท่ารํา 3 ผู้รับการถ่ายทอดท่ารํา ได้ทําการเก็บรายละเอียดท่ารํากับอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อฝึกหัด กระบวนท่ารําที่ผู้รับการถ่ายทอดยังทําได้ไม่ดี 4 ผู้รับการถ่ายทอดท่ารํา ได้ทําการเก็บรายละเอียดกระบวนท่ารํา และตรวจสอบความ ถูกต้องของท่ารํากับอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อฝึกหัดให้กระบวนท่ารําดูสวยงามยิ่งขึ้น 5 ผู้รับการถ่ายทอดท่ารํา ได้ทําการเก็บรายละเอียดในการมีอารมณ์ร่วมกับบทละคร เพื่อให้การรําดูสมบทบาทยิ่งขึ้น ที่มา : นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์, 15 สิงหาคม 2561 สิ่งที่อาจารย์ผู้ถ่ายทอดและอาจารย์ที่ปรึกษาเน้นย้ําให้ผู้รับการถ่ายทอด คือ การมีอารมณ์ร่วมกับ บทละคร การเดิน การซอยเท้า ซึ่งตัวผู้รับการถ่ายทอดเองก็ได้นํามาทบทวนในสิ่งที่อาจารย์ท่านเน้นย้ํามา โดยตลอด ด้วยความที่ผู้รับการถ่ายทอดมีทักษะน้อย และได้มีการฝึกซ้อม ทบทวนการรําอยู่ตลอด ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด ระยะเวลาในการถ่ายทอดและฝึกหัดท่ารําในครั้งนี้ เริ่มตั้งแต่วันที่ 11 กรกฎาคม 2561 ถึง วันที่ 31 สิงหาคม 2561 โดยใช้สถานที่ปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. สํานักการสังคีต กรมศิลปากร 2. อาคารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร 3. ห้องภาควิชาศิลปะการแสดง


13

ตาราง 3 : ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด วัน/เดือน/ปี เวลา การฝึกหัด

สถานที่

5-10 กรกฎาคม 2561 17.00 – 18.30 น. ท่ อ งบทร้ อ ง ฟั ง เพลง และ ศึกษา ท่ารําตามวีดีทัศน์ ก่อนที่จะ ได้รับการถ่ายทอด ท่ารําจาก อาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ เพื่อง่ายต่อ การจดจําท่ารํา

อาคารเทคโนโลยี สารสนเทศและการ สื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร

11 กรกฎาคม 2561

สํานักการสังคีต กรม ศิลปากร

12 กรกฎาคม 2561

08.00 – 15.00 น. รั บ การถ่ า ยทอดท่ า รํ า ชุ ด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง ครั้ง ที่ 1 จากอาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ ต่อท่ารําตั้งแต่ เพลงรัว เพลงฉุยฉาย เพลง แม่ศรี 08.00 – 12.00 น. รั บ การถ่ า ยทอดท่ า รํ า ชุ ด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง จาก อ า จ า ร ย์ ว ร ว ร ร ณ พ ลั บ ประสิ ท ธิ์ ต่ อ ท่ า เพลงเพลง เร็ว-ลา และทบทวนกระบวน ท่ารําตั้งแต่เริ่มจนจบ

สํานักการสังคีต กรม ศิลปากร


14

วัน/เดือน/ปี 13 กรกฎาคม 2561

เวลา การฝึกหัด สถานที่ 08.00 – 12.00 น. รั บ การถ่ า ยทอดท่ า รํ า ชุ ด สํานักการสังคีต กรม ฉุ ย ฉายผี เ สื้ อ สมุ ท รแปลง ศิลปากร จากอาจารย์วรวรรณ พลับ ประสิ ทธิ์ ต่ อท่า เพลงเพลง เ ร็ ว -ล า แ ล ะ ท บ ท ว น กระบวนท่ารําตั้งแต่เริ่มจน จบ

18 -31กรกฎาคม 2561 17.00 – 18.30 น. ทบทวนและฝึ ก ซ้ อ มท่ า รํ า อาคารเทคโนโลยี ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง สารสนเทศและการ สื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร

1- 2 สิงหาคม 2561

13.00 – 15.00 น. ฝึ ก ซ้อ มท่ ารํ ากั บอาจารย์ ที่ ห้องภาควิชา ปรึกษา อาจารย์อุบลวรรณ ศิลปะการแสดง โตอวยพร

3-5 สิงหาคม 2561

17.00 – 18.30 น. ทบทวนและฝึ ก ซ้ อ มท่ า รํ า อาคารเทคโนโลยี ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง สารสนเทศและการ สื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร

6 สิงหาคม 2561

13.00 – 15.00 น. ฝึ ก ซ้อ มท่ ารํ ากั บอาจารย์ ที่ ห้องภาควิชา ปรึกษา อาจารย์อุบลวรรณ ศิลปะการแสดง โตอวยพร


15

วัน/เดือน/ปี 7 สิงหาคม 2561

เวลา การฝึกหัด สถานที่ 13.00 – 15.00 น. ฝึ ก ซ้อ มท่ ารํ ากั บอาจารย์ ที่ อาคารเทคโนโลยี ปรึกษา อาจารย์อุบลวรรณ สารสนเทศและการ โตอวยพร สื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร

11 สิงหาคม 2561

13.00 – 17.00 น. สอบรําเดี่ยวมาตรฐาน ชุด อาคารเทคโนโลยี ฉุยฉายยอผีเสื้อสมุทรแปลง สารสนเทศและการ 25 % สื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร

12-14 สิงหาคม 2561

17.00 – 18.30 น. ทบทวนและฝึ ก ซ้ อ มท่ า รํ า อาคารเทคโนโลยี ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง สารสนเทศและการ สื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร

15 สิงหาคม 2561

08.00 – 12.00 น. รั บ การถ่ า ยทอดท่ า รํ า ชุ ด สํานักการสังคีต กรม ฉุ ย ฉายผี เ สื้ อ สมุ ท รแปลง ศิลปากร ครั้งที่ 2 จากอาจารย์วรว รรณ พลับประสิทธิ์ โดยการ รําตั้งแต่ต้นจนจบเพลง และ ปรั บเปลี่ ย นกระบวนท่า รํ า บางท่าให้เหมาะสมขึ้น


16

วัน/เดือน/ปี 17-20 สิงหาคม 2561

เวลา การฝึกหัด สถานที่ 17.00 – 18.30 น. ทบทวนและฝึ ก ซ้ อ มท่ า รํ า อาคารเทคโนโลยี ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง สารสนเทศและการ สื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร

21 สิงหาคม 2561

8.30 – 9.30 น.

22 สิงหาคม 2561

13.00 – 17.00 น. สอบรําเดี่ยวมาตรฐาน ชุด อาคารเทคโนโลยี ฉุยฉายยอผีเสื้อสมุทรแปลง สารสนเทศและการ 75 % สื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร

23-27 สิงหาคม 2561

17.00 – 18.30 น. ทบทวนและฝึ ก ซ้ อ มท่ า รํ า อาคารเทคโนโลยี ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง สารสนเทศและการ สื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร

ฝึ ก ซ้อ มท่ ารํ ากั บอาจารย์ ที่ อาคารเทคโนโลยี ปรึกษา อาจารย์อุบลวรรณ สารสนเทศและการ โตอวยพร สื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร


17

วัน/เดือน/ปี 28 สิงหาคม 2561

เวลา 8.30 – 9.30 น.

การฝึกหัด สถานที่ ฝึ ก ซ้อ มท่ ารํ ากั บอาจารย์ ที่ อาคารเทคโนโลยี ปรึกษา อาจารย์อุบลวรรณ สารสนเทศและการ โตอวยพร สื่อสาร ชั้น 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร

29 สิงหาคม 2561

09.00 – 17.00 น. สอบรําเดี่ยวมาตรฐาน ชุด โรงละครเฉลิมพระ ฉุยฉายยอผีเสื้อสมุทรแปลง เกียรติ 72 พรรษา 100 % มหาวิทยาลัยนเรศวร

30 สิงหาคม 2561

09.00 – 17.00 น. ซ้ อ มใหญ่ ก ารสอบรํ า เดี่ ย ว โรงละครเฉลิมพระ มาตรฐาน ชุด เกียรติ 72 พรรษา ฉุยฉายยอผีเสื้อสมุทรแปลง มหาวิทยาลัยนเรศวร

31 สิงหาคม 2561

09.00 – 17.00 น. สอบรําเดี่ยวมาตรฐาน ชุด โรงละครเฉลิมพระ ฉุยฉายยอผีเสื้อสมุทรแปลง เกียรติ 72 พรรษา กับคณะกรรมการภายนอก มหาวิทยาลัยนเรศวร

ที่มา : นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์, 20 สิงหาคม 2561


18

อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด การรับการถ่ายทอด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง ผู้รับการถ่ายทอดได้มีการเตรียมอุปกรณ์การเรียน และการรับการถ่ายทอดท่ารํา ดังต่อไปนี้ อุปกรณ์ประกอบการเรียน 1. เสื้อนิสิต 2. ผ้าโจงกระเบน 3. เข็มขัด 4. เครื่องบันทึกภาพนิ่ง 5. เครื่องบันทึกภาพเคลื่อนไหว 6. สมุดจดบันทึก 7. เครื่องเขียน อุปกรณ์ประกอบการรา 1. บทร้องและทํานองเพลง 2. แผ่นเพลงฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง พัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด พัฒนาการในการสืบทอดและการฝึกหัดการสอบรําเดี่ยว ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง ผู้รับการ ถ่ายทอดได้มีพัฒนาการในการรําเกิดขึ้น และนอกจากนี้มีปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นอยู่ เล็กน้อย ซึ่งผู้รับการถ่ายทอดได้มีการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค ดังต่อไปนี้ พัฒนาการที่เกิดขึ้น ในตลอดระยะเวลาที่ได้รับการถ่ายทอดท่ารําจากอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารํา ผู้รับการถ่ายทอด จะ บั น ทึก ภาพเคลื่ อ นไหวทุกครั้ ง เพื่อตรวจสอบความถูก ต้องของท่ ารําและเก็บรายละเอียดวิธีการรํา ที่


19

อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารําได้ถ่ายทอดท่ารําให้แก่ผู้รับการถ่ายทอด และเป็นการแก้ไข เมื่อผู้รับการ ถ่ายทอด จําท่ารําไม่ได้ ก็จะสามารถนําภาพเคลื่อนไหวมาดู หลังจากได้รับการถ่ายทอดท่ารําจนจบเพลง ผู้ศึกษาได้ หมั่นฝึกซ้อมอยู่เสมอ เพื่อให้เกิดความชํานาญในการรําให้มีความถูกต้องและสวยงาม เพื่อที่ในการไปรับ การถ่ายทอดครั้งต่อไป อาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารําจะได้ให้ความรู้ที่เพิ่มขึ้น เก็บรายละเอียดของการรับการถ่ายทอดท่ารา 1. ลีลาท่ารํา 2. การเชื่อมท่ารํา 3. อารมณ์ของตัวละคร 4. การใช้พื้นที่ในการรํา 5. ปรับท่ารําให้เหมาะกับบุคลิกของผู้เรียน 6. ฝึกการใช้ตัว ยักตัวให้สวยงาม 7. ฝึกการถัดเท้า และซอยเท้า 8. ฝึกการใช้นาฏยศัพท์ในการแสดงชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง ปัญหา อุปสรรคและการแก้ไข 1. ผู้รับการถ่ายทอดมีกําลังขาที่ไม่แข็งแรง ทําให้ยืนไม่ค่อยอยู่ ต้องฝึกออกกําลังขาให้ แข็งแรง โดยการวิ่งออกกําลังขา 3. ผู้รับการถ่ายทอดทําท่ารําบางท่าไม่สวยงาม ต้องหมั่นฝึกซ้อมให้ชํานาญ 4. ผู้รับการถ่ายทอดทําท่ารําช้ากว่าจังหวะ ต้องฝึกฝนให้รําให้ตรงจังหวะ และเพิ่มลีลาให้มากกว่า นี้ โดย การฝึกหัดร้องเพลงและการเล่นหน้าเข้ากับบทร้อง 5. ผู้รับการถ่ายทอดรําจังหวะไม่สม่ําเสมอกัน ช่วงเพลงเร็ว-ลา รําไม่ตรงกับจังหวะเพลง ต้องหมั่ น ฝึกฝน และนับจังหวะท่ารําให้เข้ากับเพลง


20

6. ผู้รับการถ่ายทอดยังรําไม่เข้าถึงอารมณ์ บทบาทของตัวละคร ต้องหมั่นฝึกซ้อมหัดทํา หน้าตา แววตา ที่หน้ากระจก จากการได้รับการถ่ายทอดท่ารําและกลวิธีการรํา ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง โดย อาจารย์วรวรรณ พลั บ ประสิ ทธิ์ ทําให้ ผู้ รั บ การถ่ ายทอดสามารถจดจํ ารําได้ และรําได้ง ดงามขึ้นจากเดิม ทั้ งนี้ผู้ รับการ ถ่ายทอดได้หมั่นฝึกซ้อมเพื่อให้มีความชํานาญในท่ารํา และมีจริตลีลาในการรํา เพื่อพัฒนาฝีมือการรําให้ดี ยิ่งขึ้นและสามารถนําไปแสดงได้อย่างสมบูรณ์


33

3. หน้า ปันจุเหร็จ และศีรษะโขนทาจากโลหะเงิน ประดับด้วยพลอยขาว

ภาพที่ 14 : ท้ายช้อง ที่มา:บันทึกโดย นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ ,วันที่ 30 สิงหาคม 2561 4. อุบะ ห้อยต่อจาดอกไม้ทัดลงมา ปลายของอุบะนิยมให้อยู่ในระดับจมูกของตัวละคร

ภาพที่ 15 : อุบะ ที่มา:บันทึกโดย นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ ,วันที่ 30 สิงหาคม 2561


34

5. ดอกไม้ทัด เครื่องประดับที่ติดกับชฎาและมงกุฎ เป็นดอกไม้สีแดง ตัวพระทัด ด้านขวา เสมอ ตัวนางทัดด้านซ้ายเสมอ

ภาพที่ 16 : ดอกไม้ทัด ที่มา:บันทึกโดย นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ ,วันที่ 30 สิงหาคม 2561 นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง นาฏยศัพท์ คือ ศัพท์เฉพาะที่ใช้ในวงการนาฏศิลป์ไทย ใช้ เรียกท่าทางการเคลื่อนไหวของ อวัยวะต่างๆ ของร่างกายที่ใช้ในการแสดงนาฏศิลป์ไทย นาฏยศั พท์ มีที่ มาจากนายธนิ ต อยู่ โ พธิ์ (อธิ บดี กรมศิ ล ปากรในขณะนั้น ) มีค าสั่ งให้ อาจารย์ อาคม สายาคม เขียนคาศัพท์หรือนาฏยศัพท์ขึ้น ต่ อมาครูอัมพร ชัชกุล ได้ขออนุญาต อาจารย์อาคม สายาคม นานาฏยศัพท์ไปใช้สอนในโรงเรียนนาฏศิลป์ ซึ่งปัจจุบันคือวิทยาลัยนาฏ ศิลปะ (ฐิติรัตน์ เกิดหาญ, 2555: หน้า 11. ) การแสดงราเดี่ยวมาตรฐานทางนาฏศิลป์ไทย ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง เป็นกระบวน ท่าร าที่ แสดงออกถึง ความสามารถและปฏิ ภ านไหวพริบ ของผู้ แสดงในการปฏิ บัติ ท่ว งท่ าที่ มี ความสัมพันธ์ สอดคล้องกันกับท่วงทานองเพลง ประกอบกับความชานาญในการใช้นาฏยศัพท์ใน การรา ซึ่งแต่ละ กระบวนท่านั้นต่างก็มีความหมายที่เป็นรูปแบบผสมผสานกันระหว่างอวัยวะต่างๆ


35

ของร่างกาย แสดงให้เห็นถึงอากัปกิริยาและบทบาทของตัวละครที่ทาให้เกิดความสง่าภาคภูมิ เมื่อ ประกอบกับ ท่วงทานองในการบรรเลงที่ดาเนินไปอย่างสม่าเสมอ ก่อให้เกิดอรรถรสในการรับชม ดังนั้นอวัยวะทุกส่วนของร่างกายจึงต้องมีความสัมพันธ์กันเพื่อประกอบเป็นกระบวนนาฏยศัพท์ ขึ้นมา ซึ่งมีความสาคัญและจาเป็นยิ่งต่อการปฏิบัติท่ารานั้น นาฏยศัพท์ที่พบในการแสดงราเดี่ยวมาตรฐานทางนาฏศิลป์ไทย ชุดฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง มีดังต่อไปนี้ ตาราง 4 : นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง ลาดับ

ชื่อท่า/นาฏศัพท์

คาอธิบาย

1

เอียงศีรษะ

เอียงศีรษะพร้อมกับกดไหล่ กดเอวข้างเดียวกันให้เป็นเส้น โค้ง

2

ลักคอ

การเอียงศีรษะไปในทิศทางตรงข้ามกับการกดเอว กดไหล่ กดใบหน้า

3

กล่อมหน้า

การเคลื่อนหน้าและศีรษะวนกันเป็นเลขแปดแนวนอน โดย ให้ ความรู้สึกว่าใช้คางนา

4

ยักไหล่

5

กดไหล่

6

จีบคว่า

กดไหล่ซ้าย-ขวาสลับกันพร้อมกับลักคอ กดไหล่พร้อมกับเอียงศีรษะข้างเดียวกัน จรดปลายนิ้วหัวแม่มือที่ข้อแรกของนิ้วชี้คว่ามือลง หักข้อมือ นิ้วชี้ลง

7

จีบหงาย

จรดปลายนิ้วหัวแม่มอื ที่ข้อแรกของนิ้วชี้ หงายมือขึ้น หัก ข้อมือ นิ้วชี้ชี้ขึ้น


36

ลาดับ

ชื่อท่า/นาฏศัพท์

คาอธิบาย

8

ม้วนจีบ

การเคลื่อนไหวจากกิริยาหนึ่งไปอีกกิริยาหนึ่ง เช่น มือหนึ่ง อยู่ในท่า จีบหงายแล้วจะเปลี่ยนไปเป็นตั้งวง จะม้วนข้อมือ จากจีบหงายหมุน ตัวจีบเข้าหาตัว ม้วนจีบหักข้อมือปล่อย จีบออกเป็นตั้งวง

9

ล่อแก้ว

การใช้นิ้วหัวแม่มือกดลงบนปลายนิ้วกลาง จะมีลักษณะ คล้ายวงกลม ส่วนนิ้วที่เหลือกรีดตึง

10

ละเลงข้อมือ

การที่มือตั้งวงแล้วใช้ข้อมือปัดเข้า-ออก

11

จีบปรกข้าง

จรดปลายนิ้วหัวแม่มือที่ข้อแรกของนิ้วชี้ จีบอยู่ระหว่าง ใบหน้า หักข้อมือเข้าหาแง่ศีรษะ

12

จีบส่งหลัง

การทอดแขนไปด้านหลังให้ตึงห่างจากลาตัว มือที่จีบพลิก หงายขึ้น ด้านบน

13

ตั้งวงบน

กางแขนออกไปด้ า นข้ า ง งอแขน นิ้ ว มื อ เรี ย งชิ ด ติ ด กั น ยกเว้น นิ้วหัวแม่มือ ปลายนิ้วมืออยู่ระดับหางคิ้ว

14

ตั้งวงกลาง

กางแขนออกไปด้ า นข้ า ง งอแขน นิ้ ว มื อ เรี ย งชิ ด ติ ด กั น ยกเว้น นิ้วหัวแม่มือ ปลายนิ้วมืออยู่ระดับไหล่

15

ตั้งวงล่าง

งอแขนห่างจากลาตัวเล็กน้อย นิ้วมือเรียงชิดติดกัน ยกเว้น นิ้วหัวแม่มือ มืออยู่ระดับหัวเข็มขัด

16

ชี้นิ้ว

การใช้นิ้วชี้ ชี้ไปทางที่ต้องการ โดยจะกดปลายนิ้วชี้ไปทาง ทิศนั้นๆ


37

ลาดับ

ชื่อท่า/นาฏศัพท์

17

กระทุ้ง

18

กระดกหลัง

คาอธิบาย ใช้จมูกเท้าที่วางเปิดส้นเท้าอยู่ด้านหลัง กระทุ้งกับพื้น สืบเนื่องจากกระทุ้ง ยกเท้าข้างใดข้างหนึ่งไปด้านหลัง ยืน ด้วยขาข้าง เดียว งอเข่าเล็กน้อย

19

กระดกเสี้ยว

กระทุ้ง ยกเท้าข้างใดข้างหนึ่งไปด้านหลั ง ยืนด้ว ยขาข้าง เดี ย ว งอเข่ า เล็ ก น้ อ ย เอี ย งศี ร ษะ กดไหล่ กดเอว ข้ า ง เดียวกับเท้าที่กระดกเสี้ยว

20

ประเท้า

ใช้จมูกเท้าแตะกับพื้นแล้วยกเท้าขึ้น

21

ก้าวหน้า

การก้าวเท้าข้างใดข้างหนึ่งไปด้านหน้า น้ าหนักอยู่ที่เท้าที่ ก้าว เปิดส้นเท้าหลัง

22

ก้าวข้าง

การก้าวเท้าข้างใดข้างหนึ่งไปด้านข้าง น้าหนักอยู่ที่เท้าที่ ก้าว เปิดส้นเท้าหลัง เอียงศีรษะ กดไหล่ กดเอว ตรงข้ามกับ เท้าที่ก้าว ลาตัวตรง ด้านหน้า

23

จรดเท้า

ใช้ส้นเท้าวางกับพื้น เปิดปลายเท้าขึ้น แล้วแตะจมูกเท้ากับ พื้นโดยยก ส้นเท้าขึ้นไม่ให้โดนพื้น

24

ซอยเท้า

การย้าเท้าถี่ๆ เสมอกัน เคลื่อนตัวหรือตัวอยู่กับที

25

ขยั่นเท้า

การย้าเท้าถี่ๆ โดยเท้าไขว้กัน เคลื่อนตัวไปด้านข้างหรือทา อยู่กับที่


38

ลาดับ

ชื่อท่า/นาฏศัพท์

คาอธิบาย

26

ถัดเท้า

การใช้จมูกเท้าข้างใดข้างหนึ่งถัดเท้ากับพื้นเบาๆ ให้เท้าลอย แล้วจึง วางลง โดยใช้เท้าอีกข้างหนึ่งย้าอยู่กับที่ หรือก้าว เดิน เช่น การเดิน โดยถัดเท้าขวา ในจังหวะหน้าทับเพลง เร็ว การถัดเท้าสามารถถัดได้ ทั้งเท้าซ้ายและเท้าขวา ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของแต่ละ กระบวนท่ารา

27

ฉายเท้า

การใช้เท้าข้างใดข้างหนึ่งยืนเป็นหลัก ส่วนเท้าอีกข้างหนึ่งใช้ จมูกเท้า จรดพื้นเปิดส้นเท้าขึ้น แล้วฉายหรือลากจมูกเท้าไป ด้านข้างใน ลักษณะครึ่งวงกลม

28

เหลื่อมเท้า

การใช้เท้าข้างใดข้างหนึ่งยืนเป็นหลัก ส่วนเท้าอีกข้างหนึ่งใช้ จมูกเท้า แตะที่พื้น เปิดปลายเท้าขึ้น

ที่มา : นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์, 20 กันยายน 2561 จากตารางจะเห็นได้ว่าการรา ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง มีนาฏยศัพท์ทั้งหมด 28 คา ซึ่งมีทั้ง การใช้ศีรษะ การใช้หน้า การใช้ไหล่ การใช้ลาตัว การใช้เอว และการใช้เท้า เป็นต้น กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่ นาฏศิลป์ไทยเป็นศาสตร์ที่ใช้ทักษะในการปฏิบัติ โดยรับการถ่ ายทอดมาจากครูผู้ฝึกสอน ฝึก ปฏิบัติจนเกิดความชานาญ ซึ่งในอดีตที่ผ่านมามักจดจากระบวนท่าราแบบไม่มีการจดบันทึกเป็นลาย ลักษณ์อักษร จึงเป็นสาเหตุทาให้ความรู้ต่างๆ ที่ถ่ายทอดกันมาแต่โบราณได้สูญหายไปตามกาลเวลา และบุคลากร ดังนั้น กล่าวได้ว่า การบันทึกกระบวนท่าร าเป็นลายลักษณ์อักษรนั้น จึงเป็นประโยชน์


39

อย่างยิ่ งแก่วงการนาฏศิลป์ ที่ทาให้ องค์ความรู้ทางด้านนาฏศิล ป์ไทยคงอยู่เป็นศิลปวัฒ นธรรมของ ประเทศชาติและสามารถดารงสืบทอดไปสู่คนรุ่นหลังได้ ถ่ายทอดท่าราโดย : อาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ บันทึกท่าราโดย

: นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์

บันทึกภาพโดย

: นางสาวศิริพร แร่พรม

ตาราง 6 : กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่ ลาดับ เพลง/บทร้อง ภาพประกอบท่ารา 1

2

ท่าออก

เพลงรัว

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายจีบหงายระดับ ชายพก มือขวาตั้งวงบน เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงวา มือ : มือซ้ายตั้งวงบน มือขวา จีบหงายระดับชายพก เท้า : ซอยเท้า หมายเหตุ ทาท่าสอดสร้อย สลับกันไปมา 4 ครั้ง


40

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

3

เพลงรัว

4

เพลงรัว

5

เอื้อน

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงบน มือซ้าย จีบหงายระดับชายพก เท้า : ถอนเท้าซ้าย ก้าวข้าง เท้าขวา หมุนตัวไปทางทิศ ขวา ทิศ : ทิศด้านขวา ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือซ้ายแทงปลายมือ แขนงอ มือขวาตั้งวงกลาง แขนงอ จากนั้นเดินมือซ้าย ป้องหน้า มือขวาแทงปลาย มือแขนงอ เท้า : กระทุ้งเท้า แล้วกระดก เท้าซ้าย ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : หน้าตรง มือ : มือทั้งสองจีบล่อแก้ว (ท่า ยักษ์) ตั้งวงล่างระดับชายพก เท้า : ขยั่นเท้าอยู่กับที่


41

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

6

ผี

7

8

เสื้อ

สมุทรเอย

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : หน้าตรง มือ : มือทั้งสองจีบล่อแก้ว (ท่า ยักษ์) ตั้งวงล่างระดับชายพก เท้า : ยกเท้าขวา (เหลี่ยม ยักษ์)

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : หน้าตรง มือ : มือทั้งสองจีบล่อแก้ว (ท่า ยักษ์) ตั้งวงล่างระดับชายพก เท้า : ยกเท้าซ้าย (เหลี่ยม ยักษ์)

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : หน้าตรง มือ : มือทั้งสองจีบล่อแก้ว (ท่า ยักษ์) ตั้งวงล่างระดับชายพก เท้า : แตะเท้าขวา เข่าตึง)


42

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

9

แปลงเป็น

10

11

มนุษย์

ดูประดุจเทพธิดา

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : (ท่าแปลง) มือทั้งสองข้าง แบหงายปลายนิ้วตก ระดับ เอว เท้า : ก้าวข้างเท้าขวา ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงบน มือซ้าย จีบส่งหลัง เท้า : ก้าวข้างเท้าขวา จากนั้น นั้นหมุนตัวมาทิศหน้า

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือทั้งสองข้างจีบหงาย แล้วม้วนมือออก เป็นมือซ้าย ตั้งวงหงายปลายนิ้วตก มือขวา ตั้งวงที่ใต้ข้อศอกซ้าย เท้า : ก้าวข้างเท้าซายแล้ว กระดกเท้าขวา


43

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

12

หน้า

13

14

บึ้ง

ขึงร้าย

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองจีบล่อแก้ว (ท่า ยักษ์) ตั้งวงล่างระดับชายพก เท้า : ก้าวข้างเท้าขวา หนัก เท้าหน้า

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือทั้งสองจีบล่อแก้ว (ท่า ยักษ์) ตั้งวงล่างระดับชายพก เท้า : ก้าวข้างเท้าซ้าย หนัก เท้าหน้า

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองจีบล่อแก้ว (ท่า ยักษ์) ตั้งวงล่างระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา หนัก เท้าหน้า


44

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

15

กลับกลายเป็นโสภา

16

ทั้งปาก

17

คอ

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบคว่าแล้วเดิน มือปล่อยจีบเป็นวงบัวบาน ระดับวงบน มือขวาแทงหงาย ปลายนิ้วตก แล้วพลิกตั้งวง ระดับ ปาก เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย กระดก หลังเท้าขวา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างแตะที่มุม ปาก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิ้ง น้าหนักที่เท้าหน้า

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือทั้งสองข้างแตะที่คอ เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิ้ง น้าหนักที่เท้าหลัง


45

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

18

คิ้ว

19

20

ตา

ยั่วอุรา

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างชี้นิ้วขึ้น ตามรูปคิ้ว พร้อมกับลอยหน้า แล้วเคลื่อนมือออก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิ้ง น้าหนักที่เท้าหน้า

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือทั้งสองจีบที่ปลายหาง ตาทั้งสองข้างแล้วสะบัดจีบ ออกเล็กน้อย เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิ้ง น้าหนักที่เท้าหน้า

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : วนมือทั้งสองระดับอก เท้า : วิ่งซอยเท้า พร้อมกับตี ไหล่เล็กน้อย แล้วก้าวเท้าซ้าย เหลื่อมเท้าขวา


46

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

21

เมื่อชาย

22

23

ชม

ท่า

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือซ้ายจีบหงายระดับ ชายพก มือขวาชี้นิ้วข้างลาตัว เท้า : ก้าวเท้าซ้าย เหลื่อมเท้า ขวา

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือซ้ายแบหงาย หัก ข้อมือขึ้นระดับปาก มือขวาจีบ ส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือซ้ายจีบหงายระดับ ชายพก มือขวาตั้งวงแขนตึง ระดับเอว เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย


47

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

24

ที

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือซ้ายตั้งวงระดับชาย พก มือขวาแบหงายปลายนิ้ว ตกแขนงอระดับเอว เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

มีจริต

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างจีบล่อแก้ว ระดับชายพก เท้า : ถอนเท้าซ้าย

25

ภาพประกอบท่ารา

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือซ้ายตั้งวงล่างระดับ ชายพก มือขวาตั้งวงบน เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา


48

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

26

จะเข้าชิด

27

28

พระอภัย

ให้ทรง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : วิ่งซอยเท้าไปทางซ้าย เฉียงตัวไปทางซ้ายเล็กน้อย ศีรษะ : เอียงชวา มือ : มือซ้ายจีบหงายระดับ ชายพก มือขวาจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

ทิศ : ทิศด้านหน้า เฉียงตัว กลับมาด้านขวาเล็กน้อย ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงแขนตึง ระดับเอว มือขวาตั้งวงล่าง ระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงบน มือขวา จีบเขาหาตัวคู่กับมือซ้าย เท้า : ก้าวเท้าขวา


49

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

29

หลงใหล

30

คลั่งไคล้

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงบน มือซ้าย จีบเขาหาตัวคู่กับมือซ้าย เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

ทิศ : ทิศด้านหน้า วิ่งซอยเท้า ไปด้านขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงระดับปาก มือซ้ายตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ เท้า : วิ่งซอยเท้าไปด้านขวา จากนั้นสะดุดเท้าขวา ทิศ : ทิศด้านหน้า วิ่งซอยเท้า ไปด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือซ้ายตั้งวงระดับปาก มือขวาตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ เท้า : วิ่งซอยเท้าไปด้านซ้าย จากนั้นสะดุดเท้าซ้าย


50

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

31

สนิท

32

33

สนม

ดนตรีรับ

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือทั้งสองข้างประกบกัน ด้านหน้าลาตัวระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายกามือเบาๆ แขน งอเล็กน้อย มือขวาจับที่ข้อมือ ซ้ายหลวมๆ เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือซ้ายตั้งวงบน มือขวา ดึงจีบแขนตึงระดับไหล่ เท้า : ถอนเท้าซ้าย ก้าวหน้า เท้าขวา


51

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

34

ดนตรีรับ

35

ดนตรีรับ

36

ดนตรีรับ

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงบน มือซ้าย ดึงจีบแขนตึงระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย หมายเหตุ : ทาท่าที่ 33-34 สลับกันขึ้นหน้า 4 ครั้ง ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือขวาแทงปลายมือแขน งอ จากนั้นปาดมือทั้งสอง เดิน มือขวาดึงจีบแขนตึงระดับ ไหล่ มือซ้ายตั้งวงล่างระดับ ชายพก เท้า : ถอนเท้าซ้าย ก้าวหน้า เท้าขวา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาปล่อยจีบตั้งวง ล่างระดับชายพก มือซ้ายดึง จีบแขนตึงระดับไหล่ เท้า : ถอนเท้าขวา หมายเหตุ ทาท่าที่ 35-36 สลับกันลงหลัง 5 ครั้ง


52

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

37

เอื้อนเอย

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอขวาแล้วลักคอ ซ้าย มือ : มือทั้งสองตั้งวง ด้านหน้า คู่กัน เดินมือขวาจีบ แล้ว ปล่อยตั้งวงล่างระดับ ชายพก มือซ้ายจีบส่งหลัง เท้า : ฉายเท้าซ้าย แล้ววาง หลัง

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้ายแล้วลักคอ ขวา มือ : มือทั้งสองตั้งวง ด้านหน้า คู่กัน เดินมือซ้านจีบ แล้ว ปล่อยตั้งวงล่างระดับ ชายพก มือขวาจีบส่งหลัง เท้า : ฉายเท้าขวา แล้ววาง หลัง


53

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

38

นวลละอองเอย

39

ผิวพรรณ

40

ผุดผ่อง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบปรกข้างแล้ว ม้วนมือออกตั้งวงบน มือซ้าย ตั้งวงกลาง แล้วแทงมือหงาย ปลายนิ้วตก เท้า : ก้าวข้างเท้าขวา กระดก เท้าซ้าย ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างจีบคว่า ระดับอก แล้วดึงจีบออกแขน ตึงระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือทั้งสองข้างพลิกตั้งวง ระดับไหล่ เท้า : ก้าวเท้าขวา


54

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

41

อล่องฉอง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงกับไสแขน เล็กน้อย พร้อมกับชะอ้อนตัว เล็กน้อย มือซ้ายตั้งวงกลาง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิ้ง น้าหนักที่เท้าหน้า ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือทั้งสองข้างตั้งวงกลาง พร้อมกับยักตัว 1 ครั้ง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิ้ง น้าหนักอยู่ตรงกลาง

42

ดั่งทองทา

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายแขนตึงระดับไหล่ มือขวาลูบแขนซ้ายลง เท้า : แตะเท้าซ้าย ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายแขนตึงระดับไหล่ มือขวาลูบแขนซ้ายขึ้น เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้ายลง


55

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

43

พักตร์พริ้ม

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือซ้ายแตะที่ล่างแก้ม ซ้าย มือขวาจีบหงายระดับ หงายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิ้ง น้าหนักที่เท้าหน้า ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือทั้งสองข้างแตะที่ล่าง แก้ม เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิ้ง น้าหนักที่เท้าหลัง

44

ยิ้มละไม

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : กล่อมหน้าซ้ายไปขวา แล้วเอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างค่อยๆ เคลื่อนมือมาชนกันที่คาง เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิ้ง น้าหนักที่เท้าหน้า


56

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

45

กระหยิ่มใจ

46

ไคลคลา

47

รีบ

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงระดับปาก มือขวาตั้งวงล่าง จากนั้นเดิน มือซ้ายจีบที่ปาก มือขวาจีบ หงายระดับชายพก เท้า : ถอนเท้าขวา แตะเท้า ซ้าย ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือขวาจีบแล้วกรายมือ ตั้งวงบน มือซ้ายจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายจีบปล่อยตั้งวง ระดับชายพก มือขวาจีบ ปล่อยตั้งวงด้านข้างระดับเอว เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา


57

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

48

เร่งไปหา

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบปล่อยตั้งวง ระดับชายพก มือซ้ายจีบ ปล่อยตั้งวงด้านข้างระดับเอว เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายจีบปล่อยตั้งวง ระดับชายพก มือขวาจีบ ปล่อยตั้งวงด้านข้างระดับเอว เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

49

พระเอกเจ้า

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายจีบหงายระดับ ชายพก มือขวาชี้นิ้วข้างลาตัว ระดับอก เท้า : ก้าวเท้าขวา เหลื่อมเท้า ซ้าย


58

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

50

ผู้เป่าปี่

51

52

เสียงต้อยตะลิด ให้จิต

ไหวหวั่น

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า เฉียงตัวไป ทางซ้ายเล็กน้อย ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างทาท่าเป่าปี่ กรีดนิ้วเล็กน้อย เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

ทิศ : ทิศด้านหน้า วิ่งซอยเท้า ไปทางซ้าย ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือแนบที่หลังหูขวา มือ ซ้ายจีบส่งหลัง สะดุ้งตัวขึ้น 1 ครั้ง ตรงคาว่า ให้จิต เท้า : ก้าวเท้าขวา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : วนมือทั้งสองระดับอก เท้า : วิ่งซอยเท้า พร้อมกับตี ไหล่เล็กน้อย แล้วก้าวหน้าเท้า ซ้าย


59

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

53

เจียนจะขาดชีวัน

54

เจียวหนอ

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือขวาชี้นิ้วที่หัวไหล่ซ้าย ดึงข้อมือลงเล็กน้อย มือซ้าย จีบส่งหลัง จากนั้นมือทั้งสอง ข้างกุมมือที่หัวไหลซ้าย เท้า : วิ่งซอยเท้า พร้อมกับตี ไหล่เล็กน้อย แล้วก้าวเท้าซ้าย เหลื่อมเท้าขวา

ทิศ : ทิศด้านหน้า วิ่งซอยเท้า ไปด้านขวา ศีรษะ : กล่อมหน้า แล้วเอียง ขวา มือ : มือซ้ายแบระดับอก มือ ขวาตบมือซ้าย แล้วตบมือ 1 ครั้ง เท้า : ก้าวเท้าซ้าย เหลื่อมเท้า ขวา


60

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

55

พ่อมณี

56

ดนตรีรับ

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือซ้ายจีบหงายระดับ ชายพก มือขวาชี้นิ้วข้างลาตัว เท้า : ก้าวเท้าซ้าย เหลื่อมเท้า ขวา

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบคว่าแขนงอ เดินมือปล่อยจีบออกเป็นวง บัวบาน มือซ้ายแทงปลายมือ แขนงอแล้วเดินมือตั้งวงแขน ตึงระดับไหล่ เท้า : ถอนเท้าซ้าย ก้าวหน้า เท้าขวา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายจีบคว่าาแขนงอ เดินมือปล่อยจีบออกเป็นวง บัวบาน มือขวาแทงปลายมือ แขนงอแล้วเดินมือตั้งวงแขน ตึงระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย หมายเหตุ : ทาท่าที่ 55-56 สลับกันเดินขึ้น 4 ครั้ง


61

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

57

ดนตรีรับ

แม่ศรีเอย 58

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงล่างระดับ ชายพกปาดมือมาเป็นแทง ปลายมือแขนงอข้างลาตัว มือ ซ้ายแทงปลายมือแขนงอ ข้าง ลาตัวปาดมือมาตั้งวงล่าง ระดับชายพก เท้า : ยืดตัวขึ้น กระทุ้งเท้า ซ้าย หมายเหตุ : ทาท่าที่ 57สลับ ข้างกันลง 3 ครั้ง ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบคว่าแขนงอ มือซ้ายแทงปลายมือแขนงอ เท้า : ประเท้าซ้าย ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบหงายแขนตึง ระดับไหล่ มือซ้ายตั้งวงบน เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย


62

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

59 แม่ศรีผีเสื้อสวย

60

ลีลาศ

61

นาดนวย

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างแทงลงข้าง ลาตัว แล้วดึงมือขึ้นระดับไหล่ พร้อมกับกดปลายนิ้วลง เท้า : ถอนเท้าซ้าย แล้ววิ่งซอย เท้าไปด้านขวา หันหน้าตรง ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบคว่าแขนงอ เดินจีบปล่อยแทงปลายมือ แขนงอ มือซ้ายแทงปลายมือ แขนงอ แล้วเดินมือตั้งวง กลางแขนตึงระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ขยั่น เท้าไปทางซ้าย ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายจีบคว่าแขนงอ เดินจีบปล่อยแทงปลายมือ แขนงอ มือขวาแทงปลายมือ แขนงอ แล้วเดินมือตั้งวง กลางแขนตึงระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย


63

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

62

กระชุ่มกระชวย

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือทั้งสองข้างกามือ หลวมๆ คู่กันระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างกามือ หลวมๆ คู่กันระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

63

ระรวยระรื่น

ทิศ : เฉียงตัวไปด้านขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองประกบกันแล้ว กรีดนิ้วที่อก เท้า : ถอนเท้าขวาแตะเท้า ซ้าย ทิศ : เฉียงตัวไปด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือทั้งสองประกบกันแล้ว กรีดนิ้วที่อก เท้า : ถอนเท้าซ้ายแตะเท้า ขวา


64

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

64

วันนี้

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างตั้งวงระดับ ปากแล้วแหวกออกจากกันเป็น วงกลาง เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

จะมีคู่

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือทั้งสองข้างชี้นิ้วคู่กัน ระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

65

66

ได้อยู่ยงยืน

ภาพประกอบท่ารา

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือซ้ายจีบคว่าระดับเอว มือขวาแบหงายระดับชายพก จากนั้น เดินมือซ้ายตั้งวงบัว บาน มือขวาตั้งวงระดับชาย พก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา กระดก หลังเท้าซ้าย


65

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

67

แสนชอุ่มชุ่มชื่น

68

ทุกค่าคืน

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : เฉียงตัวไปด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างประกบกัน แล้วป่วนมือ เท้า : สะดุดเท้าซ้ายแล้วแตะ เท้าซ้าย ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือ ซ้ายชี้นิ้วล่างระดับเอว ข้าง ลาตัว มือขวาจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือซ้ายชี้นิ้วบนระดับปาก ข้างลาตัว มือขวาจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา กระดก เท้าซ้าย


66

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

69

ในถ้าเอย

70

71

ดนตรีรับ

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : วิ่งมาด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงระดับปาก มือซ้ายตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

ทิศ : ทิศด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบคว่าระดับชาย พก มือซ้ายแทงปลายมือ แขน งอ จากนั้นเดินมือขวา จีบ หงายระดับชายพก มือซ้ายตั้ง วงบน เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ยืดยุบ วิ่งซอยเท้า ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองจีบหงายคู่กัน ระดับอก จากนั้นเดินมือซ้าย ตั้งวงบน มือขวาตั้งวงแขนตึง ระดับไหล่ เท้า : ประเท้าขวา แล้ว ก้าวหน้า


67

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

72

สมฤดีเอย

73

สมฤดี

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า วิ่งซอยเท้า ไปด้านขวา ศีรษะ : กล่อมหน้า แล้วเอียง ขวา มือ : มือซ้ายแบระดับปาก มือ ขวาตบมือซ้าย แล้วตบมือ 1 ครั้ง เท้า : ก้าวเท้าซ้าย เหลื่อมเท้า ขวา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงระดับปาก จากนั้นเดิน มือซ้ายจีบที่ปาก มือขวาจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวเท้าขวา แล้ว ก้าวหน้าเท้าซ้ายอีกครั้ง


68

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

74

อีผีเสื้อ

75

76

จะอิงแอบ

แนบเนื้อ

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาชี้นิ้วเข้าที่อก มือ ซ้ายจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

ทิศ : วิ่งซอยเท้าไปด้านขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงแขนตึง ระดับเอว มือขวาตั้งวงล่าง ระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

ทิศ : วิ่งซอยเท้ากลับมาตรง กลาง ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงแขนตึง ระดับเอว มือซ้ายตั้งวงล่าง ระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา


69

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

77

ชาติเชื้อกษัตรา

78

ด้วยจิต

79

พิศวาส

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบคว่าแล้วเดิน มือปล่อยจีบเป็นวงบัวบาน ระดับวงบน มือขวาแทงหงาย ปลายนิ้วตก แล้วพลิกตั้งวง ระดับ ปาก เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย กระดก หลังเท้าขวา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบเข้าที่อก มือ ซ้ายจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

ทิศ : เฉียงตัวไปด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างประกบกัน เท้า : ยกเท้าซ้ายแล้วแตะเท้า ลง


70

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

80

มุ่งมาด

81

82

ปราถนา

พระอภัยราชา

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ :มือซ้ายแทงตั้งวงบน มือ ขวาวางทาบที่หน้าขาขวา เท้า : ก้าวข้างเท้าขวา พร้อม กับเพ่นตัวขึ้น ทิศ : ทิศด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองตั้งวงคู่กัน ระดับอก แล้ววางมือไขว้กัน ที่ อก ปลายนิ้วทาบฐานไหล ่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย แล้ว หมุนตัวมาทิศหน้า ทิศ : ทิศเฉียงด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : ไว้มือขวา มือซ้ายเท้า เอว เท้า : ก้าวเท้าซ้าย เหลื่อมเท้า ขวา


71

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

83

เป็นของข้า

84

85

ครานี้เอย

ดนตรีรับ

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : เฉียงตัวไปด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือทั้งสองข้างประกบกัน ด้านหน้าลาตัวระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

ทิศ : วิ่งซอยเท้าไปด้านขวา แล้วหันมาทิศหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือขวาชี้นิ้วผ่านหน้า ระดับปาก มือซ้ายจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

ทิศ : ทิศด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบคว่าระดับชาย พก มือซ้ายแทงปลายมือ แขน งอ จากนั้นเดินมือขวา จีบ หงายระดับชายพก มือซ้ายตั้ง วงบน เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ยืดยุบ วิ่งซอยเท้า


72

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

86

ดนตรีรับ

87

เพลงเร็ว

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือขวาแทงปลายมือ แขนงอ มือซ้ายจีบคว่าแขน งอ จากนั้นเดินมือขวาตั้งวง แขน ตึงระดับไหล่ มือซ้ายตั้ง วงบัว บาน เท้า : ประเท้าขวา แล้ว ก้าวหน้า หมายเหตุ : ยักตัว 4 ครั้ง

ทิศ : ทิศด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาเดินมือมาจีบ หงายระดับชายพก มือซ้ายตัง้ วงบน เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา สะดุ้ง ตัวตามจังหวะ


73

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

88

เพลงเร็ว

89

เพลงเร็ว

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาเดินตั้งวงบน มือ ซ้ายจีบหงายระดับชายพก เท้า : พร้อมกับก้าวหน้าเท้า ซ้าย สะดุ้งตัวมาทิศหน้า

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา-ซ้าย มือ : เดิยมือทั้งสองข้างที่น ระดับปาก โดยมือขวาจีบ หงาย มือซ้ายตั้งวงระดับปาก เท้า : ถัดดินขึ้น-ลง หมายเหตุ : ท่าท่าที่ 89 เดิน มือสลับกัน เดินขึ้น 4 ครั้ง เดิน ลง 5 ครั้ง


74

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

90

เพลงเร็ว

91

92

เพลงเร็ว

เพลงเร็ว

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงชวา มือ : มือซ้ายช้อนจีบแล้วตั้งวง ล่าง มือขวาช้อนมือแล้วจีบ หงายระดับชายพก เท้า : ก้าวเท้าซ้าย กระทุ้งเท้า ขวา พร้อมกับตีไหล่ ทิศ : ทิศซ้าย ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างจีบหงาย ระดับชายพก เท้า : ก้าวเท้าซ้าย จรดเท้า ขวา หมุนตัวไปทางขวา ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงชวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างจีบแขนตึง หน้าลาตัว เท้า : ก้าวเท้าขวา


75

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

93

เพลงเร็ว

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงชวาพร้อมกับตี ไหล่ไปทางขวา-ซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างจีบหงาย แขนงอระดับไหล่ เท้า : ก้าวเท้าขวา

เพลงเร็ว

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างแบหงาย ปลายนิ้วตก เท้า : ก้าวเท้าขวา

94

95

เพลงเร็ว

ภาพประกอบท่ารา

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือขวาจีบคว่าระดับเอว มือซ้ายแบหงายปลายนิ้วตก แขนงอ จากนั้นเดินมือขวาตั้ง วงบัวบาน มือซ้ายตั้งวงแขนตึง ระดับไหล่ เดาะแขนเล็กน้อย เท้า : ถัดเท้าเดินขึ้นมา ข้างหน้า 4 ครั้ง


76

ลาดับ 96

97

98

เพลง/บทร้อง เพลงเร็ว

เพลงเร็ว

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงระดับปาก มือซ้ายจีบส่งหลัง เท้า : ถัดเท้าลงหลัง 5 ครั้ง แล้วหมุนตัวไปด้านซ้าย

ทิศ : ทิศซ้าย ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายจีบคว่าระดับเอว มือขวาแบหงายปลายนิ้วตก แขนงอ จากนั้นเดินมือซ้ายตั้ง วงบัวบาน มือขวาตั้งวงแขนตึง ระดับไหล่ เดาะแขนเล็กน้อย เท้า : ถัดเท้าเดินขึ้นมา ข้างหน้า 4 ครั้ง ทิศ : ทิศซ้าย ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือซ้ายตั้งวงระดับปาก มือขวาจีบส่งหลัง เท้า : ถัดเท้าลงหลัง 5 ครั้ง แล้วหมุนตัวไปด้านขวา


77

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

99

เพลงเร็ว

คาอธิบายท่ารา ทิศ : วิ่งซอยเท้าไปทาง ด้านขวา หันมาทิศหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างม้วนจีบวาง ข้างสะเอว เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

เพลงเร็ว

ทิศ : วิ่งซอยเท้ากลับมาตรง กลางทิศหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือทั้งสองข้างเท้าสะเอว เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

100

101

เพลงเร็ว

ภาพประกอบท่ารา

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือขวาจีบคว่าแล้วกราย มือตั้งวงบน มือซ้ายจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย กระทุ้ง เท้าขวา


78

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

102

เพลงลา

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองล่อแก้วระดับ ชายพก เดินมือปล่อยมือซ้าย ตั้งวงบน มือขวาตั้งวงล่าง ระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา แล้ว ก้าวหน้าเท้าซ้าย ยืด-ยุบ หมุน ตัวไปด้านซ้าย

ทิศ : ทิศด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือทั้งสองล่อแก้วระดับ ชายพก เดินมือปล่อยมือขวา ตั้งวงบน มือซ้ายตั้งวงล่าง ระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย แล้ว ก้าวหน้าเท้าขวา ยืด-ยุบ หมุน ตัวไปด้านขวา หมายเหตุ : ทาท่าที่ 102 สลับกัน 6 ครั้ง


79

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ภาพประกอบท่ารา

103

104

ที่มา : นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์, 20 กันยายน 2561

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายแบหงายที่ข้าง แก้มซ้าย มือขวาจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวข้างเท้าขวา ยืด-ยุบ หมุนตัวไปด้านซ้าย ทิศ : ทิศด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือซ้ายจีบหงายระดับ ชายพก มือขวาตั้งวงล่าง จากนั้นมือซ้ายจีบส่งหลัง มือ ขวาจีบหงายระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย แล้ว ก้าวหน้าเท้าขวา ยืด-ยุบ วิ่ง เข้าเวที


80

กลวิธีในการรา การแสดงราเดี่ยวมีกลวิธีที่แตกต่างกันออกไปตามชุดการแสดงนั้นๆ ซึ่งเป็นลีลาของการรา หรือเทคนิคการแสดงที่ไม่เหมือนกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับตัวบุคคล การฝึกซ้อมและความถนัด จากการได้รับการถ่ายทอดท่าราจากอาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ ในบทบาทของ นาง ผีเสื้อสมุทรแปลง ในการแสดงราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง ผู้รับการ ถ่ายทอดได้นากระบวนท่ารามาวิเคราะห์ กลวิธีในการราฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง ดังนี้ ตารางที่ 6 : กลวิธีการรา ลาดับ

เพลง/บทร้อง

1

ผีเสื้อสมุทรเอย

2

ดั่งทองทา

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา เมื่ อ มี บ ทร้ อ งที่ ก ล่ า วถึ ง นาง ผี เ สื้ อ สมุ ท ร จึ ง มี ท่ า ทางของ นางยั ก ษ์ ใ ห้ ไ ด้ ผู้ ช มเห็ น เพื่ อ เกิดความชัดเจนมากขึ้น

เมื่อเราลูบลงต้องให้ความรู้สึก ความรู้สึกถึงความผุดผ่องของ ผิ ว พรรณ และต้อ งลู บ ขึ้น เผื่ อ เป็นการเน้นย้า (เหมือนกับการ เอาทองมาติดให้มันแน่นยิ่งขึ้น)


81

ลาดับ 3

เพลง/บทร้อง พักตร์พริ้มยิ้มละไม

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ครั้งแรกที่เราวางมือไปที่แก้ม อย่ า เ พิ่ ง น า มื อ ม าชิ ด กั น จากนั้นเมื่อวางมือครบทั้งสอง ข้างแล้ ว ให้ ค่อยๆเคลื่ อนมือ มาชนกันที่คาง เพื่อจะทาให้ผู้ แสดงกล่ อ มหน้ า ได้ ส วยงาม มากขึ้น


82

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

4

ผู้เจ้าปี่

5

6

เสียงต้อยตะลิด

จะอิงแอบแนบเนื้อ

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ท่า นี้ เป็ น การท าท่า เพื่ อแสดง ให้เห็นถึงความชัดเจนของบท ร้ อ ง ที่ น างผี เ สื้ อ ได้ ก ล่ า วถึ ง พระอภัยมณี จึ งทาให้ เ กิดท่ า เป่าปี่นี้ขึ้น

ท่านี้เป็นการแสดงท่าทางการ ร าผสมกั บ อารมณ์ ข องนาง ผีเสื้อสมุทร ที่เมื่อได้ยินเสียงปี่ ของพระอภัยแล้วทาให้ตนเกิด ความหลงใหล จนแทบใจจะ ขาด

ท่านี้เป็นการทาท่า แล้วต้องให้ ความรู้ สึ ก ว่ าเราได้ พิง ตั ว ของ พระอภั ย มณี อ ยู่ เหมื อ นกั บ เป็นการยั่วยวน


83

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

7

เจียนจะขาด

8

9

ภาพประกอบท่ารา

เจียวหนอ

สมฤดีเอย

ที่มา : นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์, 20 กันยายน 2561

คาอธิบายท่ารา ท่านี้ให้ ความรู้สึกว่าเราอยาก ได้พระอภัยมณีมาก เลยทาให้ มี ท่ า ทางที่ แ สดงว่ า เหมื อ นใจ เราจะขาด และเทคนิคของท่า นี้ เราวิ่งซอยเท้าไปเรื่อยๆ ไม่ จากัดพื้นที่เฉพาะ เมือถึงท่อน แล้วจึงค่อยๆหยุดทาท่า ท่ า นี้ เ มื่ อ ท า แ ล้ ว ต้ อ ง ใ ห้ ความรู้สึกถึงความหมั่นเคี้ยวที่ จะอยากได้พระอภัยมณี จึงมี เทคนิคในการทาท่าคือ ขวาง มื อ ซ้ า ย เ ล็ ก น้ อ ย เ พื่ อ ใ ห้ อารมณ์ของท่าที่ต่างกัน

ท่ า นี้ เ มื่ อ ท า แ ล้ ว ต้ อ ง ใ ห้ ความรู้สึกถึงความดีใจที่ตนเอง จะได้อยู่กับพระอภัยมณี จึงมี เทคนิคในการทาท่าคือ ตั้งมือ ซ้ายเล็กน้อย เพื่อแสดงให้เห็น ถึงความดีใจ อีกทั้งท่าทางยั ง ต่ า งกั บ การปรบมื อ ในท่ า ที่ ร้องว่า “เจียวหนอ”


84

จากตารางจะเห็นได้ว่ากลวิธีในการราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด ฉุยฉายผีเสื้อ สมุทรแปลง มีกลวิธีการราทั้งหมด 9 ท่ารา โดยเฉพาะท่ารานั้นมีกลวิธีที่แตกต่างกันออกไป แต่ที่ส่วน ใหญ่เห็นได้ชัด คือการเล่นหน้า ลอยหน้าลอยตา ลักคอ และสายตาที่เป็นจุดเล็ กๆ แต่เป็นส่วนสาคัญ ในการแสดง เพื่อให้เกิดอรรถรสในการชมมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ทั้งนั้นนักแสดงเองยังต้องมีจินตนาการอีก ด้วย


บทที่ 4 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง การสอบรํ า เดี่ ย วมาตรฐานทางนาฏศิ ล ป์ ไ ทย ชุ ด ฉุ ย ฉายผี เ สื้ อ สมุ ท รแปลง ผู้ รั บ การ ถ่ายทอดท่ารําได้ทําการศึกษาประวัติความเป็นมา องค์ประกอบ และกลวิธีของการแสดงรําเดี่ยว มาตรฐานทาง นาฏศิลป์ไทย ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง ดังนี้ ประวัติความเป็นมาของการแสดง เรื่องย่ อของการแสดง บทร้อง ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง กระบวนท่ารําและการใช้พื้นที่ กลวิธีในการรํา ประวัติความเป็นมาของการแสดง ฉุยฉายผีเสื้ อสมุทรแปลง เป็นการรําเดี่ยวอยู่ในละครนอกเรื่อง พระอภัยมณี เนื้อเรื่อง กล่าวถึงนางผีเสื้อสมุทรที่เนรมิตร่างให้กลายเป็นหญิงงาม เพื่อเฝูาปรนนิบัติพระอภัยมณี จนพระอภัย มณีสงสารจึงยอมอยู่กับนางฉันสามีภรรยา ทั้งๆที่รู้ว่านางเป็นยักษ์ และในที่สุดนางก็ได้กําเนิดบุตร 1 คนชื่อว่า สินสมุทร สินสมุทรนั้นมีรูปร่างหน้าตาที่คล้ายกับพระอภัยมณีผู้เป็นบิดา แต่ก็ยังมีส่วนที่ เหมือนมารดานั้นคือ เขี้ยว และมีพละกําลังที่เกินเด็กวัย 8 ขวบ แม้เวลาจะล่วงผ่านไป ในยามที่นาง ออกไปหาอาหาร นางจะแอบแปลงร่างกลับเป็นนางผีเสื้อสมุทรดังเดิมโดยที่ไม่ให้พระอภัยมณีและสิน สมุทรเห็นเพราะไม่อยากให้ทั้งสองเกรงกลัว (จริยา มะณี, 2558: หน้า 11.) เรื่องย่อของการแสดง นางผีเสื้อสมุทรเมื่อยามอยู่ในถ้ํานั้น นางผีเสื้อจะเนรมิตร่างให้เป็นสาวงาม เพื่อมิให้พระ อภัยเกลียดกลัว ทั้งเฝูาปรนนิบัติสารพัดเป็นอย่างดี จนกระทั่งพระอภัยมณีสงสาร ต้องจํายอมอยู่กับ นางฉันสามีภรรยา ทั้งๆที่รู้ว่านางเป็นยักษ์ ในที่สุดนางก็ได้กําเนิดโอรส 1 องค์ มีนามว่าสินสมุทร แม้


22

เวลาผ่านไป 8 ปีแล้วก็ตาม นางผีเสื้อสมุทรก็ยังไม่คลายความเสน่หาต่อพระอภัยมณี ทั้งยังเฝูากังวล และเกรงกลัวว่าสักวันหนึ่งพระอภัยมณีจะหนีไปจากตน ดังนั้นยามออกนอกถ้ําไปหาอาหารผลไม้ นางจึงต้องแอบมาแปลงร่างเป็นนางผีเสื้อสมุทรดังเดิม โดยมิให้พระอภัยมณีและสินสมุทรเห็นหน้าตา ตัวตนที่หน้าเกลียดน่ากลัว ส่วนโอรสสินสมุทรนั้นแม้จะมีหน้าตาละม้ายคล้ายพระอภัยมณีผู้เป็นพ่อ แต่ก็ยังมีบางส่วนที่ทําให้รู้ว่ามีเลือดเนื้อเชื้อไขของนางผีเสื้อสมุทรปนอยู่ คือ เขี้ยว และพละกําลังที่ เกินเด็กวัย 8 ขวบ เหตุด้วยวันหนึ่งสินสมุทรได้แอบเปิดแผ่นหินที่ปิดปากถ้ําแล้วหนี ออกไปเที่ยวใน ทะเล มิหนําซ้ํายังไล่จับฝูงเงือก จนได้เงือกชราตนหนึ่งแล้วฉุดกระชากมาในถ้ําเพื่อให้พระบิดาดู เมื่อพระอภัยมณีเห็นสินสมุทรฉุดกระชากเงือกเขามาในถ้ํา จึงได้ไถ่ถามพระโอรสว่าไปจับ มาได้อย่างไร สินสมุทรได้เล่าเหตุการณ์ความเป็นมาให้พระบิดาฟัง ซึ่งคําบอกเล่า ของสินสมุทรเป็น เหตุให้พระบิดาเกิดความวิตกกังวลพระทัย ว่าถ้านางผีเสื้อสมุทรรู้เรื่องที่เกิดขึ้นอาจจะทําให้พระองค์ หมดโอกาสหนีจากนางได้ ทั้งยังทําให้สินสมุทรถูกลงโทษ พระองค์จึงตัดสินพระทัย เล่าความจริงให้ สินสมุทรรู้ ว่า นางผีเสื้อสมุทรผู้เป็นแม่แท้จริงแล้วนั้นเป็ นยักษ์ และชักชวนให้สินสมุทรหนีไปกับ พระองค์ ขณะที่ทั้งสองพูดคุยกันนั้นเงือกชราสามารถฟังภาษมนุษย์ได้และเข้าใจความรู้สึกของพระ อภัยมณี จึงอ้อนวอนให้พระอภัยปล่อยตนไป โดยสัญญาว่าอีก 3 วัน จะมารับทั้งสองหนีไปจากนาง ผีเสื้อสมุทรไปอาศัยอยู่กับพระฤาษีที่เกาะแก้วพิสดาร พระอภัยเห็นด้วยจึงบอกให้สินสมุทรพาเงือก ชราไปปล่อยลงทะเล และยกแผ่นหินปิดปากถ้ําไว้ดังเดิม เพื่อมิให้นางผีเสื้อสมุทรสงสัย ครั้นนาง ผีเสื้อสมุทรกลับมาจากปุา ก็แปลงร่างกลับเป็นสาวงาม แล้วนําผลไม้ไปถวายพระอภัยมณี สินสมุทร แกล้งทําเป็นประจบประแจงแม่ก่อนที่จะลาไปนอน ส่วนพระอภัยก็ฝืนใจทํายียวนชวนเสน่หาเอาอก เอาใจจนนางหลับไปอย่างมีความสุข แต่เพราะจิตที่พระอภัยมณีคิดจะหนี จึงทําให้นางผีเสื้อสมุทรฝัน ร้าย ในฝันมีเทวดามาทุบทําร้ายถ้ําแล้วควักเอาดวงตาทั้งสองข้าง ครั้นตกใจตื่น นางจึงเล่าความฝันให้ พระอภัยมณีช่วยทํานายให้ พระอภัยเห็ นเป็นโอกาสเหมาะจึงแกล้งทํานายว่านางเคราะห์ร้ายด้วย มัจจุราชจะมาเอาชีวิต ฉะนั้นต้องไปถือศีลอยู่บนยอดเขาเพียงคนเดียว 3 วัน 3 คืน เพื่อสะเดาะ เคราะห์ นางผีเสื้อสมุทรกลัวว่าตนจะต้องตายจากสามีและลูก จึงหลงเชื่อและจําใจไปตามคําทํานาย


23

ในวันรุ่งขึ้น ทั้งๆที่ไม่อยากจากไป เมื่อพระอภัยมณีแน่ใจว่านางไปจริงแล้ว จึงให้สินสมุทรเปิดปากถ้ํา แล้วพาหนีออกมา เมื่อครบกําหนด 3 วัน นางผีเสื้อก็ได้เลิกถือศีลแล้วรีบกลับมายังถ้ํา ด้วยความคิดถึงสามี และลูก ครั้นแลเห็นแผ่นหินที่ปิดปาดถ้ําเปิดอยู่ นางก็เริ่มว้าวุ่นใจ เรียกหาพระอภัยมณีและสินสมุทร แต่ก็ไม่มีเสียงขานรับ ครั้นมองดูปี่ก็ไม่เห็น นางก็ยิ่งแน่ใจว่าทั้งผัวและลูกร่วมว่างอุบายหลอกเพื่อพา กันหนีไปจากนาง ด้วยทั้งรักทั้งโกรธแค้นทั้งเสียใจ ทําให้นางผีเสื้อสมุทรคลุ้มคลั่งจึงออกจากถ้ําแล้วกู่ ร้องเรียกหาพวกปีศาจภูตพรายบริวารให้ออกมา บรรดาภูตพรายปีศาจรี บเข้ามาหานางผีเสื้อด้วน ความเกรงกลัวฤทธิ์เดช นางผีเสื้อสมุทรได้ซักถามถึงพระอภัยมณีและสินสมุทร ครั้งแจ้งว่าพวกเงือก มาช่วยพาทั้งสองหนีไปทางเกาะแก้วพิสดาร นางจึงไม่รอช้ารีบติดตามไปด้วยความโกรธ ฝุายพ่อเงือก ชรารู้ว่านางผีเสื้อเกือบตามมาทัน จึงให้ลูกสาวมาผลัดแบกพระอภัยมณีไปแทนตน เมื่อสินสมุทรรู้ว่า แม่กําลังตามมาทัน จึงอาสาว่ายน้ําไปขว้างหน้าไว้ตามลําพัง เมื่อถ่วงเวลาไม่ให้แม่ตามพ่อทัน ทั้ง ขอให้นางเงือกพาพ่อหนีไปโดยไม่ต้องเป็นห่วงตน ในที่สุดสินสมุทรก็ได้ปะทะกับนางผีเสื้อสมุทรผู้เป็น แม่ ความไม่เคยเห็นหน้าตาตัวตนที่แท้จ ริงของนาง สินสมุทรจึงพูดจาก้าวร้าว โดยไม่รู้ว่านางคือแม่ แต่นางก็มิได้ถือสา กลับขอให้สินสมุทรบอกว่าพระบิดาไปทางไหน สินสมุทรจึงหลอกให้นางเที่ยวหา ในที่ต่างๆเพื่อถ่วงเวลา ครั้นนางรู้ว่าถูกหลอกก็โกรธ จึงเข้าจับตัวสินสมุทรแล้วเฆี่ยนตี แต่สินสมุทรก็ สามารถดิ้นหลุดจากมือนางได้ ด้วยพิษรักทําให้นางผีเสื้อสมุทรอาละวาด สําแดงฤทธิ์เดชตีคลื่นในมหาสมุทรจนเกิดเสียง ดังโครมคราม พระโยคีแห่งเกาะแก้วพิสดารเห็นความผิดสังเกตก็จับยามสามตาดู ครั้นรู้ว่าผู้สูงศักดิ์ กําลังหนีนางผีเสื้อสมุทรมายังเกาะ พระโยคีจึงบอกบรรดาลูกศิษย์และพวกเรือ แตกที่มาอาศัยอยู่ให้ รู้ตัวและพากันไปรอช่วยอยู่ที่ชายหาด เมื่อเงือกสาวพาพระอภัยมณีและสินสมุทรมาถึงเกาะแก้วพิสดาร นางผีเสื้อสมุทรก็ตาม มาถึงเช่นกัน บรรดาลูกศิษย์เห็นดังนั้นจึงรีบเข้าช่วยพระอภัยมณี สินสมุทรและนางเงือกให้ขึ้นมาบน เกาะ โดยพระโยคีได้เสกเวทมนตร์คาถากันนางผีเสื้อสมุทรไม่ให้ขึ้นมาได้นางผีเสื้อสมุทรเห็นดังนั้นก็ พาลโกรธ จึงชี้หน้าด่านางเงือก พร้อมกับบอกว่าพ่อแม่นางนั้นถูกจับกินแล้ว ถึงแม้ว่าอารมณ์นาง


24

ผีเสื้อจะเต็มไปด้วยความโกรธแค้น แต่ก็ไม่วายเศร้าโศกเสียใจ เฝูาแต่ร่ําไห้อ้อนวอนลูกผัวให้กลับไป อยู่กับตน พระอภัยและสินสมุทรแม้จะสงสารนางแต่ก็ไม่ยอมกลับ ทั้งยังขอร้องไม่ให้นางติดตามมา เมื่อนางผีเสื่อสมุทรเห็นวาหมดหนทางแน่แล้วจึงสําฤทธิ์เนรมิตกายใหญ่จนน่ากลัว ด้วยหมายจะอุ้ม ทั้งสองพระองค์กลับไปให้ได้ แต่ก็ถูกเวทมนต์คาถาของพระโยคีสกัดกั้นไว้จึงต้องจํายอมถอยหนีไป กล่าวถึงท้าวศิลราช กษัตริย์เมืองผลึก ได้พาสุวรรณมาลีพระธิดาลงเรือสําเภามาเที่ยวทะเล แต่ต้องคลื่นจนเรือสําเภาแล่นมาถึงเกาะแก้วพิศดาร ท้าวสิลราชทรงรําลึกได้ว่าเทวดาเคยมาบอก พระองค์ว่าจะพบผู้วิเศษที่เกาะนี้ พระองค็จึงสั่งให้นายท้ายพาเรือสําเภาเข้าไปยังเกาะ ท้าวสิลราช และสุวรรณมาลีได้ขึ้นมาบนเกาะแก้วพิศดาร และได้พบกับโยคีรวมทั้งฤษีและสินสมุทร พระโยคีได้ เล่าเรื่องราวของพระอภัยมณี พร้อมทั้งขอฝากพระอภัยมณีและสินสมุทรรวมทั้งพวกติดเกาะไปกับ เรือท้าวสิลราช ท้าวสิลราชแล่นเรือมาในมหาสมุทรได้หลายวันอย่างปลอดภัย ด้วยพระโยคได้ใช้คาถาดล จิตปิดตาไม่ให้นางผีเสื้อสมุทรเห็น เพราะว่านางยังวนเวียนเฝูาพระอภัยมณีและสินสมุทรไม่ให้หนีไป จากเกาะ แต่ก็ไม่สามารถรอดพ้นสายตาพวกผีพรายบริวารของนางผีเสื้อสมุทรได้ พวกมันจึงรายงาน ว่าเห็นเรือสําเภาแล่นออกไปจากเกาะหลายวันแล้ว นางผีเสื้อสังหรณ์ใจว่าต้องมีพระอภั ยมณีและสิน สมุทรอยู่ในเรือลํานั้นด้วย จึงรีบออกตามหาแล้วสําแดงฤทธิ์จนเรือแตก บรรดาผู้คนต่างว่ายน้ําหนี กระเจิดกระเจิง พระอภัยกับพวกเรือแตกว่ายน้ําหนีขึ้นมาบนเกาะแห่งหนึ่งโดยที่นางผีเสื้อสมุทร ตามมาอย่างกระชั้นชิด แต่ก็ไม่สามารถขึ้นไปบนเกาะได้ เพราะพระอภัยมณีได้ใ ช้เวทมนต์วิเศษของ พระโยคีปูองกันไว้ นางจึงได้แต่เฝูาอ้อนวอนให้พระอภัยมณีกลับไปอยู่กับนาง แต่พระอภัยมณีไม่ยอม กลับ เมื่อเห็นว่าไม่ประสบผล จึงเรียกบรรดาภูตผีปีศาลบริวารให้ออกมาล้อมเกาะ พระอภัยมณีไม่รู้ จะทําเช่นไร จึงตัดสินพระทัยสึกจากฤาษี แล้วเปุาปี่ด้วยเสียงโหยหวนหวาดหวิว หมายให้นางผีเสื้อ สมุทรและพรรคพวกสิ้นฤทธิ์ แต่ด้วยอนุภาพแห่งเสียงปี่กลับทําให้นางขาดใจตายในที่สุด (จริยา มะณี , 2558: หน้า 11-14.)


25

บทร้อง คําประพันธ์ที่ใช้ในบทร้องเพลงฉุยฉาย ส่วนใหญ่บทขับร้องที่ร้องฉุยฉายและบทร้องแม่ศรี จะไม่จํากัดจํานวนบท แล้วแต่ความเหมาะสมในการแสดง นอกจากนี้บทร้องยังบอกถึงการดําเนิน เรื่อง อากัปกิริยา ลักษณะรูปร่างหน้าตาและอุปนิสัยของตัวละครแล้ว ยังสามารถบอกถึงการแต่งกาย ของตัวละคร ซึ่งในการแสดงก็ต้องคํานึงถึงการแต่งกายของตัวละครให้เป็นไปตามเนื้อร้องที่ปรากฎ อยู่ในคําร้องด้วย องค์ประกอบอีกอย่างที่มีความสํ าคัญในการแสดงชุดฉุยฉายผีเสื้อสมุทร คือ บุคลิก ของนักแสดง เพราะนางผีเสื้อสมุทรแปลง จะมารําเพื่อยั่วยวนพระอภัยมณี นักแสดงจะต้องใส่จริต ลีลา ยั่วยวน การเล่นหน้าเล่นตา และการสื่ออารมณ์ทางกระบวนท่ารํา สีหน้า และแววตา (สุพัตตรา เปรมปรี, 2552, หน้า 36.) ซึ่งการแสดงชุดฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง มีบทประพันธ์ ดังนี้ - ปี่พาทย์ทําเพลงรัว - ร้องเพลงฉุยฉาย ผีเสื้อสมุทรเอย แปลงเป็นมนุษย์ดูประดุจเทพธิดา หน้าบึ้งขึงร้ายกลับกลายโสภา ทั้งปากคอคิ้วตายั่วยุราเมื่อชายชม ท่าทีมีจริตจะเข้าชิดพระอภัย ให้ทรงหลงใหลคลั่งไคล้สนิทสนม - ปี่พาทย์ทําเพลงรับ นวลละอองเอย ผิวพรรณผุดผ่องอล่องฉ่องดั่งทองทา พักตร์พริ้มละไมกระหยิ่มใจไคลคลา รีบเร่งไปหาพระเอกเจ้าผู้เปุาปี่ เสียงต้อยตะลิดให้จิตไหวหวั่น จวนจะขาดชีวันเจียวหนอพ่อมณี - ปี่พาทย์ทําเพลงรับ - ร้องเพลงแม่ศรี แม่ศรีเอย แม่ศรีผีเสื้อสวย ลีลาศนาดนวย กระชุ่มกระชวยระรวยรื่น วันนี้จะมีคู่ ได้อยู่ยงยื่น แสนชอุ่มชุ่มชื่น ทุกค่ําคืนในถ้ําเอย - ปี่พาทย์ทําเพลงรับ สมฤดีเอย สมฤดีอีผีเสื้อ จะอิงแอบแนบเนื้อ ชาติเชื้อกษัตรา ด้วยจิตพิศวาส มุ่งมาดปรารถนา พระอภัยราชา เป็นของข้าครานี้เอย - ปี่พาทย์ทําเพลงเร็ว - ลา


26

ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง การแสดง ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง จะใช้วงปี่พาทย์บรรเลงประกอบการแสดง โดยจะ ใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้า หรือบางโอกาสอาจใช้วงปี่พาทย์ที่ ขนาดใดขึ้นอยู่กับประเภทของการแสดง และความต้องการของผู้จัดแสดงในขณะนั้น วงปี่พาทย์เครื่องห้า เป็นวงปี่พาทย์ที่พัฒนามาจากวงปี่พาทย์ชาตรี ใช้ประกอบการแสดง โขน ละคร และหนังใหญ่ในสมัยกรุงศรีอยุธยา วงปี่พาทย์เครื่องห้า ประกอบด้วยเครื่องดนตรี ดังนี้ 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6

ระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ ปี่ใน ฉิ่ง ตะโพน กลองทัด

1 ราง 1 วง 1 เลา 1 คู่ 1 ใบ 1 คู่

ภาพที่ 2 : วงปี่พาทย์เครื่องห้า ที่มา : www.supraneetl.blogspot.com., วันที่ 20 กันยายน 2561


27

เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า การแต่งกายเป็นองค์ประกอบที่สําคัญและมีความหมาย ที่ช่วยเสริมให้ผู้แสดงมีสรีระที่ งดงาม ทั้งยังช่วยส่ งเสริมให้การแสดงมีความวิจิตรงดงาม ดูน่าสนใจ เกิดความสมบูรณ์ทางด้าน สุนทรียภาพ มากขึ้น การรําฉุยฉายโดยปกติทั่วไปจะแต่งกายในลักษณะที่เรียกว่า การแต่งกายยืน เครื่อง แตกต่าง กันออกไปตามรูปแบบของตัวพระ ตัวนาง ตัวยักษ์ ตัวลิง ในปัจจุบันมีบทฉุยฉายที่ใช้ รําอยู่มากมาย ผู้ประพันธ์มีจุดประสงค์ในการประพันธ์แตกต่างกันออกไป เครื่องแต่งกาย ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง

ภาพที่ 3 : เครื่องแต่งกาย ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาวสุภินิช พิสอน, วันที่ 29 สิงหาคม 2561


28

หมวดถนิมพิมพาภรณ์ 1. กําไลข้อเท้า เครื่องประดับที่ใช้สวมข้อเท้าทําด้วยเงินหรือทอง แต่โดยส่วนมากใช้ กําไลเงิน หรือทองเหลือง

ภาพที่ 4 : กําไลข้อเท้า ที่มา:บันทึกโดย นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ ,วันที่ 30 สิงหาคม 2561

2. แหวนรอบ เครื่องประดับที่ใช้สวมข้อเท้าทําด้วยเงินหรือทอง แต่โดยมากใช้ กําไลเงิน หรือทองเหลือง

ภาพที่ 5 : แหวนรอบ ที่มา:บันทึกโดย นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ ,วันที่ 30 สิงหาคม 2561


29

3. กําไลแผง (ทองกร) กําไลสวมข้อมือมีลักษณะเป็นแผงโค้ง มีบานพับตรง กลางทํา ด้วยโลหะชุบเงิน หรือ ทอง ประดับด้วยพลอยขาว

ภาพที่ 6 : กําไลแผง ที่มา:บันทึกโดย นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ ,วันที่ 30 สิงหาคม 2561 4. ปะวะหล่ํา เป็นเครื่องประดับข้อมือทั้งสองข้าง มีลักษณะเป็นเม็ดกลมๆ ร้อย ต่อเนื่องกัน

ภาพที่ 7 : ปะวะหล่ํา ที่มา:บันทึกโดย นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ ,วันที่ 30 สิงหาคม 2561


30 5. จี้นางหรือ ดาบทับ เครื่องประดับอก ทําจากเหล็กประดับเพชร มีความ แตกต่าง กับทับทรวงตัวพระ จี้นางจะเรียวออกด้านข้างด ้านที่มีความยาวเรียวจะอยู่ด้านล่าง ประดับพลอยขาว

ภาพที่ 8 : จี้นาง หรือ ดาบทับ ที่มา:บันทึกโดย นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ ,วันที่ 30 สิงหาคม 2561

6. เข็มขัด เครื่องประดับที่ใช้รัดสะเอวอาจทําด้วยเงินหรือทองก็ได้ แต่โดยส่วนมาก นิยมใช้โลลหะชุบเงินหรือทอง

ภาพที่ 9 : เข็มขัด ที่มา:บันทึกโดย นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ ,วันที่ 30 สิงหาคม 2561


31 7. ปั้นเหน่ง (หัวเข็มขัด) เครื่องประดับที่ใช้รัดสะเอวอาจทํา ด้วยเงินหรือทองก็ได้ แต่โดยมานิยมใช้โลหะชุบเงินหรือทอง หัวเข็มขัดประดับด้วยพลอยขาว

ภาพที่ 10 : ปั้นเหน่ง (หัวเข็มขัด) ที่มา:บันทึกโดย นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ ,วันที่ 30 สิงหาคม 2561 8. สะอิ้ง หรือ สร้อยตัว ใช้เป็นเครื่องประดับสําหรับผู้หญิง มีลักษณะเป็นเม็ด กลม เล็กๆ ร้อยต่อเนื่องกันเป็นสายสร้อย

ภาพที่ 11 : สะอิ้ง หรือ สร้อยตัว ที่มา:บันทึกโดย นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ ,วันที่ 30 สิงหาคม 2561


32 หมวดศิราภรณ์ 1. รัดเกล้าเปลว เครื่องสวมศีรษะของตัวนางลักษณะรัดเกล้าเปลว มียอดปัก ช่อกระหนก เปลวสําหรับพระสนม ใช้สําหรับตัวละครที่มียศศักดิ์รองลงมา

ภาพที่ 12 : รัดเกล้าเปลว ที่มา:บันทึกโดย นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ ,วันที่ 30 สิงหาคม 2561 2. กรรเจียกจร (หากใส่รัดเกล้า) เครื่องประดับที่ติดอยู่กับเครื่องสวมศีรษะ ประเภทชฎา มงกุฎ รัดเกล้า กระบังหน้า ปันจุเหร็จ และศีรษะโขนท าจากโลหะเงิน ประดับด้วย พลอยขาว

ภาพที่ 13 : กรรเจียกจร (หากใส่รัดเกล้า) ที่มา:บันทึกโดย นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ ,วันที่ 30 สิงหาคม 2561


3. ท้ายช้อง เป็นเครื่องประดับที่ติดอยู่กับเครื่องสวมศีรษะประเภทชฎา มงกุฎรัด เกล้ากระบัง หน้า ปันจุเหร็จ และศีรษะโขนทําจากโลหะเงิน ประดับด้วยพลอยขาว

ภาพที่ 14 : ท้ายช้อง ที่มา:บันทึกโดย นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ ,วันที่ 30 สิงหาคม 2561 4. อุบะ ห้อยต่อจาดอกไม้ทัดลงมา ปลายของอุบะนิยมให้อยู่ในระดับจมูกของตัวละคร

ภาพที่ 15 : อุบะ ที่มา:บันทึกโดย นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ ,วันที่ 30 สิงหาคม 2561 5. ดอกไม้ทัด เครื่องประดับที่ติดกับชฎาและมงกุฎ เป็นดอกไม้สีแดง ตัวพระทัด ด้านขวา เสมอ ตัวนางทัดด้านซ้ายเสมอ


ภาพที่ 16 : ดอกไม้ทัด ที่มา:บันทึกโดย นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ ,วันที่ 30 สิงหาคม 2561 นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง นาฏยศัพท์ คือ ศัพท์เฉพาะที่ใช้ในวงการนาฏศิลป์ไทย ใช้ เรียกท่าทางการเคลื่อนไหวของ อวัยวะต่างๆ ของร่างกายที่ใช้ในการแสดงนาฏศิลป์ไทย นาฏยศั พท์ มีที่ มาจากนายธนิ ต อยู่ โ พธิ์ (อธิ บดี กรมศิ ล ปากรในขณะนั้น ) มีคํ าสั่ งให้ อาจารย์ อาคม สายาคม เขียนคําศัพท์หรือนาฏยศัพท์ขึ้น ต่อมาครูอัมพร ชัชกุ ล ได้ขออนุญาต อาจารย์อาคม สายาคม นํานาฏยศัพท์ไปใช้สอนในโรงเรียนนาฏศิลป์ ซึ่งปัจจุบันคือวิทยาลัยนาฏ ศิลปะ (ฐิติรัตน์ เกิดหาญ, 2555: หน้า 11. ) การแสดงรําเดี่ยวมาตรฐานทางนาฏศิลป์ไทย ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง เป็นกระบวน ท่ารํ าที่ แสดงออกถึง ความสามารถและปฏิ ภ านไหวพริบ ของผู้ แสดงในการปฏิ บัติ ท่ว งท่ าที่ มี ความสัมพันธ์ สอดคล้องกันกับท่วงทํานองเพลง ประกอบกับความชํานาญในการใช้นาฏยศัพท์ใน การรํา ซึ่งแต่ละ กระบวนท่านั้นต่างก็มีความหมายที่เป็นรูปแบบผสมผสานกันระหว่างอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย แสดงให้เห็นถึงอากัปกิริยาและบทบาทของตัวละครที่ทําให้เกิดความสง่าภาคภูมิ เมื่อ


ประกอบกับ ท่วงทํานองในการบรรเลงที่ดําเนินไปอย่างสม่ํา เสมอ ก่อให้เกิดอรรถรสในการรับชม ดังนั้นอวัยวะทุกส่วนของร่างกายจึงต้องมีความสัมพันธ์กันเพื่อประกอบเป็นกระบวนนาฏยศัพท์ ขึ้นมา ซึ่งมีความสําคัญและจําเป็นยิ่งต่อการปฏิบัติท่ารํานั้น นาฏยศัพท์ที่พบในการแสดงรําเดี่ยวมาตรฐานทางนาฏศิลป์ไทย ชุดฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง มีดังต่อไปนี้ ตาราง 4 : นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง ลําดับ

ชื่อท่า/นาฏศัพท์

คําอธิบาย

1

เอียงศีรษะ

เอียงศีรษะพร้อมกับกดไหล่ กดเอวข้างเดียวกันให้เป็นเส้น โค้ง

2

ลักคอ

การเอียงศีรษะไปในทิศทางตรงข้ามกับการกดเอว กดไหล่ กดใบหน้า

3

กล่อมหน้า

การเคลื่อนหน้าและศีรษะวนกันเป็นเลขแปดแนวนอน โดย ให้ ความรู้สึกว่าใช้คางนํา

4

ยักไหล่

5

กดไหล่

6

จีบคว่ํา

กดไหล่ซ้าย-ขวาสลับกันพร้อมกับลักคอ กดไหล่พร้อมกับเอียงศีรษะข้างเดียวกัน จรดปลายนิ้วหัวแม่มือที่ข้อแรกของนิ้วชี้คว่ํามือลง หักข้อมือ นิ้วชี้ลง

7

จีบหงาย

จรดปลายนิ้วหัวแม่มอื ที่ข้อแรกของนิ้วชี้ หงายมือขึ้น หัก ข้อมือ นิ้วชี้ชี้ขึ้น


ลาดับ

ชื่อท่า/นาฏศัพท์

คาอธิบาย

8

ม้วนจีบ

การเคลื่อนไหวจากกิริยาหนึ่งไปอีกกิริยาหนึ่ง เช่น มือหนึ่ง อยู่ในท่า จีบหงายแล้วจะเปลี่ยนไปเป็นตั้งวง จะม้วนข้อมือ จากจีบหงายหมุน ตัวจีบเข้าหาตัว ม้วนจีบหักข้อมือปล่อย จีบออกเป็นตั้งวง

9

ล่อแก้ว

การใช้นิ้วหัวแม่มือกดลงบนปลายนิ้วกลาง จะมีลักษณะ คล้ายวงกลม ส่วนนิ้วที่เหลือกรีดตึง

10

ละเลงข้อมือ

การที่มือตั้งวงแล้วใช้ข้อมือปัดเข้า-ออก

11

จีบปรกข้าง

จรดปลายนิ้วหัวแม่มือที่ข้อแรกของนิ้วชี้ จีบอยู่ระหว่าง ใบหน้า หักข้อมือเข้าหาแง่ศีรษะ

12

จีบส่งหลัง

การทอดแขนไปด้านหลังให้ตึงห่างจากลําตัว มือที่จีบพลิก หงายขึ้น ด้านบน

13

ตั้งวงบน

กางแขนออกไปด้ า นข้ า ง งอแขน นิ้ ว มื อ เรี ย งชิ ด ติ ด กั น ยกเว้น นิ้วหัวแม่มือ ปลายนิ้วมืออยู่ระดับหางคิ้ว

14

ตั้งวงกลาง

กางแขนออกไปด้ า นข้ า ง งอแขน นิ้ ว มื อ เรี ย งชิ ด ติ ด กั น ยกเว้น นิ้วหัวแม่มือ ปลายนิ้วมืออยู่ระดับไหล่

15

ตั้งวงล่าง

งอแขนห่างจากลําตัวเล็กน้อย นิ้วมือเรียงชิดติดกัน ยกเว้น นิ้วหัวแม่มือ มืออยู่ระดับหัวเข็มขัด

16

ชี้นิ้ว

การใช้นิ้วชี้ ชี้ไปทางที่ต้องการ โดยจะกดปลายนิ้วชี้ไปทาง ทิศนั้นๆ


ลาดับ

ชื่อท่า/นาฏศัพท์

17

กระทุ้ง

18

กระดกหลัง

คาอธิบาย ใช้จมูกเท้าที่วางเปิดส้นเท้าอยู่ด้านหลัง กระทุ้งกับพื้น สืบเนื่องจากกระทุ้ง ยกเท้าข้างใดข้างหนึ่งไปด้านหลัง ยืน ด้วยขาข้าง เดียว งอเข่าเล็กน้อย

19

กระดกเสี้ยว

กระทุ้ง ยกเท้าข้างใดข้างหนึ่งไปด้านหลั ง ยืนด้ว ยขาข้าง เดี ย ว งอเข่ า เล็ ก น้ อ ย เอี ย งศี ร ษะ กดไหล่ กดเอว ข้ า ง เดียวกับเท้าที่กระดกเสี้ยว

20

ประเท้า

ใช้จมูกเท้าแตะกับพื้นแล้วยกเท้าขึ้น

21

ก้าวหน้า

การก้าวเท้าข้างใดข้างหนึ่งไปด้านหน้า น้ าหนักอยู่ที่เท้าที่ ก้าว เปิดส้นเท้าหลัง

22

ก้าวข้าง

การก้าวเท้าข้างใดข้างหนึ่งไปด้านข้าง น้ํา หนักอยู่ที่เท้าที่ ก้าว เปิดส้นเท้าหลัง เอียงศีรษะ กดไหล่ กดเอว ตรงข้ามกับ เท้าที่ก้าว ลําตัวตรง ด้านหน้า

23

จรดเท้า

ใช้ส้นเท้าวางกับพื้น เปิดปลายเท้าขึ้น แล้วแตะจมูกเท้ากับ พื้นโดยยก ส้นเท้าขึ้นไม่ให้โดนพื้น

24

ซอยเท้า

การย้ําเท้าถี่ๆ เสมอกัน เคลื่อนตัวหรือตัวอยู่กับที

25

ขยั่นเท้า

การย้ําเท้าถี่ๆ โดยเท้าไขว้กัน เคลื่อนตัวไปด้านข้างหรือทํา อยู่กับที่

ลาดับ

ชื่อท่า/นาฏศัพท์

คาอธิบาย


26

ถัดเท้า

การใช้จมูกเท้าข้างใดข้างหนึ่งถัดเท้ากับพื้นเบาๆ ให้เท้าลอย แล้วจึง วางลง โดยใช้เท้าอีกข้างหนึ่งย้ํา อยู่กับที่ หรือก้าว เดิน เช่น การเดิน โดยถัดเท้าขวา ในจังหวะหน้าทับเพลง เร็ว การถัดเท้าสามารถถัดได้ ทั้งเท้าซ้ายและเท้าขวา ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของแต่ละ กระบวนท่ารํา

27

ฉายเท้า

การใช้เท้าข้างใดข้างหนึ่งยืนเป็นหลัก ส่วนเท้าอีกข้างหนึ่งใช้ จมูกเท้า จรดพื้นเปิดส้นเท้าขึ้น แล้วฉายหรือลากจมูกเท้าไป ด้านข้างใน ลักษณะครึ่งวงกลม

28

เหลื่อมเท้า

การใช้เท้าข้างใดข้างหนึ่งยืนเป็นหลัก ส่วนเท้าอีกข้างหนึ่งใช้ จมูกเท้า แตะที่พื้น เปิดปลายเท้าขึ้น

ที่มา : นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์, 20 กันยายน 2561 จากตารางจะเห็นได้ว่าการรํา ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง มีนาฏยศัพท์ทั้งหมด 28 คํา ซึ่งมีทั้ง การใช้ศีรษะ การใช้หน้า การใช้ไหล่ การใช้ลําตัว การใช้เอว และการใช้เท้า เป็นต้น กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่ นาฏศิลป์ไทยเป็นศาสตร์ที่ใช้ทักษะในการปฏิบัติ โดยรับการถ่ายทอดมาจากครูผู้ฝึกสอน ฝึก ปฏิบัติจนเกิดความชํานาญ ซึ่งในอดีตที่ผ่านมามักจดจํากระบวนท่ารําแบบไม่มีการจดบันทึกเป็นลาย ลักษณ์อักษร จึงเป็นสาเหตุทําให้ความรู้ต่างๆ ที่ถ่ายทอดกันมาแต่โบราณได้สูญหายไปตามกาลเวลา และบุคลากร ดังนั้น กล่าวได้ว่า การบันทึ กกระบวนท่ารําเป็นลายลักษณ์อักษรนั้น จึงเป็นประโยชน์ อย่างยิ่ งแก่ วงการนาฏศิลป์ ที่ทําให้ องค์ความรู้ทางด้านนาฏศิล ป์ไทยคงอยู่เป็นศิลปวัฒ นธรรมของ ประเทศชาติและสามารถดํารงสืบทอดไปสู่คนรุ่นหลังได้ ถ่ายทอดท่ารําโดย : อาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์


บันทึกท่ารําโดย

: นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์

บันทึกภาพโดย

: นางสาวศิริพร แร่พรม

ตาราง 6 : กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่ ลาดับ เพลง/บทร้อง ภาพประกอบท่ารา 1

ท่าออก

2

เพลงรัว

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายจีบหงายระดับ ชายพก มือขวาตั้งวงบน เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงวา มือ : มือซ้ายตั้งวงบน มือขวา จีบหงายระดับชายพก เท้า : ซอยเท้า หมายเหตุ ทําท่าสอดสร้อย สลับกันไปมา 4 ครั้ง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


3

ทิศ : ทิศด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงบน มือซ้าย จีบหงายระดับชายพก เท้า : ถอนเท้าซ้าย ก้าวข้าง เท้าขวา หมุนตัวไปทางทิศ ขวา

เพลงรัว

4

เพลงรัว

5

เอื้อน

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศด้านขวา ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือซ้ายแทงปลายมือ แขนงอ มือขวาตั้งวงกลาง แขนงอ จากนั้นเดินมือซ้าย ปูองหน้า มือขวาแทงปลาย มือแขนงอ เท้า : กระทุ้งเท้า แล้วกระดก เท้าซ้าย ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : หน้าตรง มือ : มือทั้งสองจีบล่อแก้ว (ท่า ยักษ์) ตั้งวงล่างระดับชายพก เท้า : ขยั่นเท้าอยู่กับที่

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


6

7

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : หน้าตรง มือ : มือทั้งสองจีบล่อแก้ว (ท่า ยักษ์) ตั้งวงล่างระดับชายพก เท้า : ยกเท้าขวา (เหลี่ยม ยักษ์)

ผี

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : หน้าตรง มือ : มือทั้งสองจีบล่อแก้ว (ท่า ยักษ์) ตั้งวงล่างระดับชายพก เท้า : ยกเท้าซ้าย (เหลี่ยม ยักษ์)

เสื้อ

8

สมุทรเอย

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : หน้าตรง มือ : มือทั้งสองจีบล่อแก้ว (ท่า ยักษ์) ตั้งวงล่างระดับชายพก เท้า : แตะเท้าขวา เข่าตึง)

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


9

10

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : (ท่าแปลง) มือทั้งสองข้าง แบหงายปลายนิ้วตก ระดับ เอว เท้า : ก้าวข้างเท้าขวา

แปลงเป็น

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงบน มือซ้าย จีบส่งหลัง เท้า : ก้าวข้างเท้าขวา จากนั้น นั้นหมุนตัวมาทิศหน้า

มนุษย์

11

ดูประดุจเทพธิดา

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือทั้งสองข้างจีบหงาย แล้วม้วนมือออก เป็นมือซ้าย ตั้งวงหงายปลายนิ้วตก มือขวา ตั้งวงที่ใต้ข้อศอกซ้าย เท้า : ก้าวข้างเท้าซายแล้ว กระดกเท้าขวา

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


12

13

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองจีบล่อแก้ว (ท่า ยักษ์) ตั้งวงล่างระดับชายพก เท้า : ก้าวข้างเท้าขวา หนัก เท้าหน้า

หน้า

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือทั้งสองจีบล่อแก้ว (ท่า ยักษ์) ตั้งวงล่างระดับชายพก เท้า : ก้าวข้างเท้าซ้าย หนัก เท้าหน้า

บึ้ง

14

ขึงร้าย

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองจีบล่อแก้ว (ท่า ยักษ์) ตั้งวงล่างระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา หนัก เท้าหน้า

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


15

กลับกลายเป็นโสภา

16

ทั้งปาก

17

คอ

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบคว่ําแล้วเดิน มือปล่อยจีบเป็นวงบัวบาน ระดับวงบน มือขวาแทงหงาย ปลายนิ้วตก แล้วพลิกตั้งวง ระดับ ปาก เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย กระดก หลังเท้าขวา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างแตะที่มุม ปาก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิ้ง น้ําหนักที่เท้าหน้า

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือทั้งสองข้างแตะที่คอ เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิ้ง น้ําหนักที่เท้าหลัง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


18

19

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างชี้นิ้วขึ้น ตามรูปคิ้ว พร้อมกับลอยหน้า แล้วเคลื่อนมือออก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิ้ง น้ําหนักที่เท้าหน้า

คิ้ว

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือทั้งสองจีบที่ปลายหาง ตาทั้งสองข้างแล้วสะบัดจีบ ออกเล็กน้อย เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิ้ง น้ําหนักที่เท้าหน้า

ตา

20

ยั่วอุรา

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : วนมือทั้งสองระดับอก เท้า : วิ่งซอยเท้า พร้อมกับตี ไหล่เล็กน้อย แล้วก้าวเท้าซ้าย เหลื่อมเท้าขวา

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


21

22

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือซ้ายจีบหงายระดับ ชายพก มือขวาชี้นิ้วข้างลําตัว เท้า : ก้าวเท้าซ้าย เหลื่อมเท้า ขวา

เมื่อชาย

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือซ้ายแบหงาย หัก ข้อมือขึ้นระดับปาก มือขวาจีบ ส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

ชม

23

ท่า

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือซ้ายจีบหงายระดับ ชายพก มือขวาตั้งวงแขนตึง ระดับเอว เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


24

25

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือซ้ายตั้งวงระดับชาย พก มือขวาแบหงายปลายนิ้ว ตกแขนงอระดับเอว เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

ที

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างจีบล่อแก้ว ระดับชายพก เท้า : ถอนเท้าซ้าย

มีจริต

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือซ้ายตั้งวงล่างระดับ ชายพก มือขวาตั้งวงบน เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


26

27

ทิศ : วิ่งซอยเท้าไปทางซ้าย เฉียงตัวไปทางซ้ายเล็กน้อย ศีรษะ : เอียงชวา มือ : มือซ้ายจีบหงายระดับ ชายพก มือขวาจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

จะเข้าชิด

ทิศ : ทิศด้านหน้า เฉียงตัว กลับมาด้านขวาเล็กน้อย ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงแขนตึง ระดับเอว มือขวาตั้งวงล่าง ระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

พระอภัย

28

ให้ทรง

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงบน มือขวา จีบเขาหาตัวคู่กับมือซ้าย เท้า : ก้าวเท้าขวา

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


29

30

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงบน มือซ้าย จีบเขาหาตัวคู่กับมือซ้าย เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

หลงใหล

ทิศ : ทิศด้านหน้า วิ่งซอยเท้า ไปด้านขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงระดับปาก มือซ้ายตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ เท้า : วิ่งซอยเท้าไปด้านขวา จากนั้นสะดุดเท้าขวา

คลั่งไคล้

ทิศ : ทิศด้านหน้า วิ่งซอยเท้า ไปด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือซ้ายตั้งวงระดับปาก มือขวาตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ เท้า : วิ่งซอยเท้าไปด้านซ้าย จากนั้นสะดุดเท้าซ้าย

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


31

32

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือทั้งสองข้างประกบกัน ด้านหน้าลําตัวระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

สนิท

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายกํามือเบาๆ แขน งอเล็กน้อย มือขวาจับที่ข้อมือ ซ้ายหลวมๆ เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

สนม

33

ดนตรีรับ

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือซ้ายตั้งวงบน มือขวา ดึงจีบแขนตึงระดับไหล่ เท้า : ถอนเท้าซ้าย ก้าวหน้า เท้าขวา

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


34

ดนตรีรับ

35

ดนตรีรับ

36

ดนตรีรับ

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงบน มือซ้าย ดึงจีบแขนตึงระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย หมายเหตุ : ทําท่าที่ 33-34 สลับกันขึ้นหน้า 4 ครั้ง ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือขวาแทงปลายมือแขน งอ จากนั้นปาดมือทั้งสอง เดิน มือขวาดึงจีบแขนตึงระดับ ไหล่ มือซ้ายตั้งวงล่างระดับ ชายพก เท้า : ถอนเท้าซ้าย ก้าวหน้า เท้าขวา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาปล่อยจีบตั้งวง ล่างระดับชายพก มือซ้ายดึง จีบแขนตึงระดับไหล่ เท้า : ถอนเท้าขวา หมายเหตุ ทําท่าที่ 35-36 สลับกันลงหลัง 5 ครั้ง


ลาดับ

เพลง/บทร้อง

37

เอื้อนเอย

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอขวาแล้วลักคอ ซ้าย มือ : มือทั้งสองตั้งวง ด้านหน้า คู่กัน เดินมือขวาจีบ แล้ว ปล่อยตั้งวงล่างระดับ ชายพก มือซ้ายจีบส่งหลัง เท้า : ฉายเท้าซ้าย แล้ววาง หลัง

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้ายแล้วลักคอ ขวา มือ : มือทั้งสองตั้งวง ด้านหน้า คู่กัน เดินมือซ้านจีบ แล้ว ปล่อยตั้งวงล่างระดับ ชายพก มือขวาจีบส่งหลัง เท้า : ฉายเท้าขวา แล้ววาง หลัง

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


38

นวลละอองเอย

39

ผิวพรรณ

40

ผุดผ่อง

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบปรกข้างแล้ว ม้วนมือออกตั้งวงบน มือซ้าย ตั้งวงกลาง แล้วแทงมือหงาย ปลายนิ้วตก เท้า : ก้าวข้างเท้าขวา กระดก เท้าซ้าย ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างจีบคว่ํา ระดับอก แล้วดึงจีบออกแขน ตึงระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือทั้งสองข้างพลิกตั้งวง ระดับไหล่ เท้า : ก้าวเท้าขวา

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


41

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงกับไสแขน เล็กน้อย พร้อมกับชะอ้อนตัว เล็กน้อย มือซ้ายตั้งวงกลาง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิ้ง น้ําหนักที่เท้าหน้า

อล่องฉอง

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือทั้งสองข้างตั้งวงกลาง พร้อมกับยักตัว 1 ครั้ง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย ทิ้ง น้ําหนักอยู่ตรงกลาง

42

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายแขนตึงระดับไหล่ มือขวาลูบแขนซ้ายลง เท้า : แตะเท้าซ้าย

ดั่งทองทา

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายแขนตึงระดับไหล่ มือขวาลูบแขนซ้ายขึ้น เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้ายลง ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


43

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือซ้ายแตะที่ล่างแก้ม ซ้าย มือขวาจีบหงายระดับ หงายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิ้ง น้ําหนักที่เท้าหน้า

พักตร์พริ้ม

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือทั้งสองข้างแตะที่ล่าง แก้ม เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิ้ง น้ําหนักที่เท้าหลัง

44

ยิ้มละไม

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : กล่อมหน้าซ้ายไปขวา แล้วเอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างค่อยๆ เคลื่อนมือมาชนกันที่คาง เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ทิ้ง น้ําหนักที่เท้าหน้า

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


45

กระหยิ่มใจ

46

ไคลคลา

47

รีบ

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงระดับปาก มือขวาตั้งวงล่าง จากนั้นเดิน มือซ้ายจีบที่ปาก มือขวาจีบ หงายระดับชายพก เท้า : ถอนเท้าขวา แตะเท้า ซ้าย ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือขวาจีบแล้วกรายมือ ตั้งวงบน มือซ้ายจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายจีบปล่อยตั้งวง ระดับชายพก มือขวาจีบ ปล่อยตั้งวงด้านข้างระดับเอว เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


48

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบปล่อยตั้งวง ระดับชายพก มือซ้ายจีบ ปล่อยตั้งวงด้านข้างระดับเอว เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

เร่งไปหา

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายจีบปล่อยตั้งวง ระดับชายพก มือขวาจีบ ปล่อยตั้งวงด้านข้างระดับเอว เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

49

พระเอกเจ้า

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายจีบหงายระดับ ชายพก มือขวาชี้นิ้วข้างลําตัว ระดับอก เท้า : ก้าวเท้าขวา เหลื่อมเท้า ซ้าย

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


50

51

ทิศ : ทิศด้านหน้า เฉียงตัวไป ทางซ้ายเล็กน้อย ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างทําท่าเปุาปี่ กรีดนิ้วเล็กน้อย เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

ผู้เปุาปี่

ทิศ : ทิศด้านหน้า วิ่งซอยเท้า ไปทางซ้าย ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือแนบที่หลังหูขวา มือ ซ้ายจีบส่งหลัง สะดุ้งตัวขึ้น 1 ครั้ง ตรงคําว่า ให้จิต เท้า : ก้าวเท้าขวา

เสียงต้อยตะลิด ให้จิต

52

ไหวหวั่น

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : วนมือทั้งสองระดับอก เท้า : วิ่งซอยเท้า พร้อมกับตี ไหล่เล็กน้อย แล้วก้าวหน้าเท้า ซ้าย

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


53

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือขวาชี้นิ้วที่หัวไหล่ซ้าย ดึงข้อมือลงเล็กน้อย มือซ้าย จีบส่งหลัง จากนั้นมือทั้งสอง ข้างกุมมือที่หัวไหลซ้าย เท้า : วิ่งซอยเท้า พร้อมกับตี ไหล่เล็กน้อย แล้วก้าวเท้าซ้าย เหลื่อมเท้าขวา

เจียนจะขาดชีวัน

54

เจียวหนอ

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศด้านหน้า วิ่งซอยเท้า ไปด้านขวา ศีรษะ : กล่อมหน้า แล้วเอียง ขวา มือ : มือซ้ายแบระดับอก มือ ขวาตบมือซ้าย แล้วตบมือ 1 ครั้ง เท้า : ก้าวเท้าซ้าย เหลื่อมเท้า ขวา

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


55

56

พ่อมณี

ดนตรีรับ

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือซ้ายจีบหงายระดับ ชายพก มือขวาชี้นิ้วข้างลําตัว เท้า : ก้าวเท้าซ้าย เหลื่อมเท้า ขวา

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบคว่ําแขนงอ เดินมือปล่อยจีบออกเป็นวง บัวบาน มือซ้ายแทงปลายมือ แขนงอแล้วเดินมือตั้งวงแขน ตึงระดับไหล่ เท้า : ถอนเท้าซ้าย ก้าวหน้า เท้าขวา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายจีบคว่ําาแขนงอ เดินมือปล่อยจีบออกเป็นวง บัวบาน มือขวาแทงปลายมือ แขนงอแล้วเดินมือตั้งวงแขน ตึงระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย หมายเหตุ : ทําท่าที่ 55-56 สลับกันเดินขึ้น 4 ครั้ง


ลาดับ

เพลง/บทร้อง

57

ดนตรีรับ

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงล่างระดับ ชายพกปาดมือมาเป็นแทง ปลายมือแขนงอข้างลําตัว มือ ซ้ายแทงปลายมือแขนงอ ข้าง ลําตัวปาดมือมาตั้งวงล่าง ระดับชายพก เท้า : ยืดตัวขึ้น กระทุ้งเท้า ซ้าย หมายเหตุ : ทําท่าที่ 57สลับ ข้างกันลง 3 ครั้ง ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบคว่ําแขนงอ มือซ้ายแทงปลายมือแขนงอ เท้า : ประเท้าซ้าย

แม่ศรีเอย 58

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบหงายแขนตึง ระดับไหล่ มือซ้ายตั้งวงบน เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างแทงลงข้าง ลําตัว แล้วดึงมือขึ้นระดับไหล่ พร้อมกับกดปลายนิ้วลง เท้า : ถอนเท้าซ้าย แล้ววิ่งซอย เท้าไปด้านขวา หันหน้าตรง

59 แม่ศรีผีเสื้อสวย

60

ลีลาศ

61

นาดนวย

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบคว่ําแขนงอ เดินจีบปล่อยแทงปลายมือ แขนงอ มือซ้ายแทงปลายมือ แขนงอ แล้วเดินมือตั้งวง กลางแขนตึงระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ขยั่น เท้าไปทางซ้าย ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายจีบคว่ําแขนงอ เดินจีบปล่อยแทงปลายมือ แขนงอ มือขวาแทงปลายมือ แขนงอ แล้วเดินมือตั้งวง กลางแขนตึงระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


62

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือทั้งสองข้างกํามือ หลวมๆ คู่กันระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

กระชุ่มกระชวย

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างกํามือ หลวมๆ คู่กันระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

63

ทิศ : เฉียงตัวไปด้านขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองประกบกันแล้ว กรีดนิ้วที่อก เท้า : ถอนเท้าขวาแตะเท้า ซ้าย

ระรวยระรื่น

ทิศ : เฉียงตัวไปด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือทั้งสองประกบกันแล้ว กรีดนิ้วที่อก เท้า : ถอนเท้าซ้ายแตะเท้า ขวา

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


64

65

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างตั้งวงระดับ ปากแล้วแหวกออกจากกันเป็น วงกลาง เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

วันนี้

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือทั้งสองข้างชี้นิ้วคู่กัน ระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

จะมีคู่

66

ได้อยู่ยงยืน

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือซ้ายจีบคว่ําระดับเอว มือขวาแบหงายระดับชายพก จากนั้น เดินมือซ้ายตั้งวงบัว บาน มือขวาตั้งวงระดับชาย พก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา กระดก หลังเท้าซ้าย

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


67

68

ทิศ : เฉียงตัวไปด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างประกบกัน แล้วปุวนมือ เท้า : สะดุดเท้าซ้ายแล้วแตะ เท้าซ้าย

แสนชอุ่มชุ่มชื่น

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือ ซ้ายชี้นิ้วล่างระดับเอว ข้าง ลําตัว มือขวาจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

ทุกค่ําคืน

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือซ้ายชี้นิ้วบนระดับปาก ข้างลําตัว มือขวาจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา กระดก เท้าซ้าย

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


69

70

ทิศ : วิ่งมาด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงระดับปาก มือซ้ายตั้งวงแขนตึงระดับไหล่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

ในถ้ําเอย

ทิศ : ทิศด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบคว่ําระดับชาย พก มือซ้ายแทงปลายมือ แขน งอ จากนั้นเดินมือขวา จีบ หงายระดับชายพก มือซ้ายตั้ง วงบน เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ยืดยุบ วิ่งซอยเท้า ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองจีบหงายคู่กัน ระดับอก จากนั้นเดินมือซ้าย ตั้งวงบน มือขวาตั้งวงแขนตึง ระดับไหล่ เท้า : ประเท้าขวา แล้ว ก้าวหน้า

ดนตรีรับ

71

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


72

สมฤดีเอย

73

สมฤดี

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศด้านหน้า วิ่งซอยเท้า ไปด้านขวา ศีรษะ : กล่อมหน้า แล้วเอียง ขวา มือ : มือซ้ายแบระดับปาก มือ ขวาตบมือซ้าย แล้วตบมือ 1 ครั้ง เท้า : ก้าวเท้าซ้าย เหลื่อมเท้า ขวา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงระดับปาก จากนั้นเดิน มือซ้ายจีบที่ปาก มือขวาจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวเท้าขวา แล้ว ก้าวหน้าเท้าซ้ายอีกครั้ง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


74

75

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาชี้นิ้วเข้าที่อก มือ ซ้ายจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

อีผีเสื้อ

ทิศ : วิ่งซอยเท้าไปด้านขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายตั้งวงแขนตึง ระดับเอว มือขวาตั้งวงล่าง ระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

จะอิงแอบ

76

แนบเนื้อ

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : วิ่งซอยเท้ากลับมาตรง กลาง ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาตั้งวงแขนตึง ระดับเอว มือซ้ายตั้งวงล่าง ระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


77

ชาติเชื้อกษัตรา

78

ด้วยจิต

79

พิศวาส

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือขวาจีบคว่ําแล้วเดิน มือปล่อยจีบเป็นวงบัวบาน ระดับวงบน มือขวาแทงหงาย ปลายนิ้วตก แล้วพลิกตั้งวง ระดับ ปาก เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย กระดก หลังเท้าขวา ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบเข้าที่อก มือ ซ้ายจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

ทิศ : เฉียงตัวไปด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างประกบกัน เท้า : ยกเท้าซ้ายแล้วแตะเท้า ลง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


80

81

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ :มือซ้ายแทงตั้งวงบน มือ ขวาวางทาบที่หน้าขาขวา เท้า : ก้าวข้างเท้าขวา พร้อม กับเพ่นตัวขึ้น

มุ่งมาด

ทิศ : ทิศด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองตั้งวงคู่กัน ระดับอก แล้ววางมือไขว้กัน ที่ อก ปลายนิ้วทาบฐานไหล ่ เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย แล้ว หมุนตัวมาทิศหน้า

ปราถนา

82

พระอภัยราชา

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศเฉียงด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : ไว้มือขวา มือซ้ายเท้า เอว เท้า : ก้าวเท้าซ้าย เหลื่อมเท้า ขวา

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


83

84

ทิศ : เฉียงตัวไปด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือทั้งสองข้างประกบกัน ด้านหน้าลําตัวระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

เป็นของข้า

ทิศ : วิ่งซอยเท้าไปด้านขวา แล้วหันมาทิศหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือขวาชี้นิ้วผ่านหน้า ระดับปาก มือซ้ายจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

ครานี้เอย

85

ดนตรีรับ

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาจีบคว่ําระดับชาย พก มือซ้ายแทงปลายมือ แขน งอ จากนั้นเดินมือขวา จีบ หงายระดับชายพก มือซ้ายตั้ง วงบน เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา ยืดยุบ วิ่งซอยเท้า

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


86

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือขวาแทงปลายมือ แขนงอ มือซ้ายจีบคว่ําแขน งอ จากนั้นเดินมือขวาตั้งวง แขน ตึงระดับไหล่ มือซ้ายตั้ง วงบัว บาน เท้า : ประเท้าขวา แล้ว ก้าวหน้า หมายเหตุ : ยักตัว 4 ครั้ง

ดนตรีรับ

87

เพลงเร็ว

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาเดินมือมาจีบ หงายระดับชายพก มือซ้ายตัง้ วงบน เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา สะดุ้ง ตัวตามจังหวะ

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


88

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาเดินตั้งวงบน มือ ซ้ายจีบหงายระดับชายพก เท้า : พร้อมกับก้าวหน้าเท้า ซ้าย สะดุ้งตัวมาทิศหน้า

เพลงเร็ว

89

เพลงเร็ว

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา-ซ้าย มือ : เดิยมือทั้งสองข้างที่น ระดับปาก โดยมือขวาจีบ หงาย มือซ้ายตั้งวงระดับปาก เท้า : ถัดดินขึ้น-ลง หมายเหตุ : ท่าท่าที่ 89 เดิน มือสลับกัน เดินขึ้น 4 ครั้ง เดิน ลง 5 ครั้ง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


90

91

ทิศ : ทิศหน้า ศีรษะ : เอียงชวา มือ : มือซ้ายช้อนจีบแล้วตั้งวง ล่าง มือขวาช้อนมือแล้วจีบ หงายระดับชายพก เท้า : ก้าวเท้าซ้าย กระทุ้งเท้า ขวา พร้อมกับตีไหล่

เพลงเร็ว

ทิศ : ทิศซ้าย ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างจีบหงาย ระดับชายพก เท้า : ก้าวเท้าซ้าย จรดเท้า ขวา หมุนตัวไปทางขวา

เพลงเร็ว

92

เพลงเร็ว

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงชวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างจีบแขนตึง หน้าลําตัว เท้า : ก้าวเท้าขวา

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


93

94

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงชวาพร้อมกับตี ไหล่ไปทางขวา-ซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างจีบหงาย แขนงอระดับไหล่ เท้า : ก้าวเท้าขวา

เพลงเร็ว

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างแบหงาย ปลายนิ้วตก เท้า : ก้าวเท้าขวา

เพลงเร็ว

95

เพลงเร็ว

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือขวาจีบคว่ําระดับเอว มือซ้ายแบหงายปลายนิ้วตก แขนงอ จากนั้นเดินมือขวาตั้ง วงบัวบาน มือซ้ายตั้งวงแขนตึง ระดับไหล่ เดาะแขนเล็กน้อย เท้า : ถัดเท้าเดินขึ้นมา ข้างหน้า 4 ครั้ง ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


96

97

เพลงเร็ว

ทิศ : ทิศขวา ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาตั้งวงระดับปาก มือซ้ายจีบส่งหลัง เท้า : ถัดเท้าลงหลัง 5 ครั้ง แล้วหมุนตัวไปด้านซ้าย

ทิศ : ทิศซ้าย ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายจีบคว่ําระดับเอว มือขวาแบหงายปลายนิ้วตก แขนงอ จากนั้นเดินมือซ้ายตั้ง วงบัวบาน มือขวาตั้งวงแขนตึง ระดับไหล่ เดาะแขนเล็กน้อย เท้า : ถัดเท้าเดินขึ้นมา ข้างหน้า 4 ครั้ง ทิศ : ทิศซ้าย ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือซ้ายตั้งวงระดับปาก มือขวาจีบส่งหลัง เท้า : ถัดเท้าลงหลัง 5 ครั้ง แล้วหมุนตัวไปด้านขวา

เพลงเร็ว

98

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


99

100

ทิศ : วิ่งซอยเท้าไปทาง ด้านขวา หันมาทิศหน้า ศีรษะ : ลักคอซ้าย มือ : มือทั้งสองข้างม้วนจีบวาง ข้างสะเอว เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา

เพลงเร็ว

ทิศ : วิ่งซอยเท้ากลับมาตรง กลางทิศหน้า ศีรษะ : ลักคอขวา มือ : มือทั้งสองข้างเท้าสะเอว เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย

เพลงเร็ว

101

เพลงเร็ว

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ทิศ : ทิศด้านหน้า ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือขวาจีบคว่ําแล้วกราย มือตั้งวงบน มือซ้ายจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย กระทุ้ง เท้าขวา

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


102

ทิศ : ทิศด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองล่อแก้วระดับ ชายพก เดินมือปล่อยมือซ้าย ตั้งวงบน มือขวาตั้งวงล่าง ระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าขวา แล้ว ก้าวหน้าเท้าซ้าย ยืด-ยุบ หมุน ตัวไปด้านซ้าย

เพลงลา

ทิศ : ทิศด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือทั้งสองล่อแก้วระดับ ชายพก เดินมือปล่อยมือขวา ตั้งวงบน มือซ้ายตั้งวงล่าง ระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย แล้ว ก้าวหน้าเท้าขวา ยืด-ยุบ หมุน ตัวไปด้านขวา หมายเหตุ : ทําท่าที่ 102 สลับกัน 6 ครั้ง

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


103

104

ที่มา : นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์, 20 กันยายน 2561

ทิศ : ทิศด้านขวา ศีรษะ : เอียงขวาแล้วกลับ เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายแบหงายที่ข้าง แก้มซ้าย มือขวาจีบส่งหลัง เท้า : ก้าวข้างเท้าขวา ยืด-ยุบ หมุนตัวไปด้านซ้าย ทิศ : ทิศด้านซ้าย ศีรษะ : เอียงซ้ายแล้วกลับ เอียงขวา มือ : มือซ้ายจีบหงายระดับ ชายพก มือขวาตั้งวงล่าง จากนั้นมือซ้ายจีบส่งหลัง มือ ขวาจีบหงายระดับชายพก เท้า : ก้าวหน้าเท้าซ้าย แล้ว ก้าวหน้าเท้าขวา ยืด-ยุบ วิ่ง เข้าเวที


กลวิธีในการรา การแสดงรําเดี่ยวมีกลวิธีที่แตกต่างกันออกไปตามชุดการแสดงนั้นๆ ซึ่งเป็นลีลาของการรํา หรือเทคนิคการแสดงที่ไม่เหมือนกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับตัวบุคคล การฝึกซ้อมและความถนัด จากการได้รับการถ่ายทอดท่ารําจากอาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ ในบทบาทของ นาง ผีเสื้อสมุทรแปลง ในการแสดงรําเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง ผู้รับการ ถ่ายทอดได้นํากระบวนท่ารํามาวิเคราะห์ กลวิธีในการรําฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง ดังนี้ ตารางที่ 6 : กลวิธีการรํา ลาดับ

เพลง/บทร้อง

1

ผีเสื้อสมุทรเอย

2

ดั่งทองทา

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา เมื่ อ มี บ ทร้ อ งที่ ก ล่ า วถึ ง นาง ผี เ สื้ อ สมุ ท ร จึ ง มี ท่ า ทางของ นางยั ก ษ์ ใ ห้ ไ ด้ ผู้ ช มเห็ น เพื่ อ เกิดความชัดเจนมากขึ้น

เมื่อเราลูบลงต้องให้ความรู้สึก ความรู้สึกถึงความผุดผ่องของ ผิ ว พรรณ และต้อ งลู บ ขึ้น เผื่ อ เป็นการเน้นย้ํา (เหมือนกับการ เอาทองมาติดให้มันแน่นยิ่งขึ้น)

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


3

พักตร์พริ้มยิ้มละไม

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ครั้งแรกที่เราวางมือไปที่แก้ม อ ย่ า เ พิ่ ง นํ า มื อ ม า ชิ ด กั น จากนั้นเมื่อวางมือครบทั้งสอง ข้างแล้ว ให้ค่อยๆเคลื่อนมือมา ชนกั น ที่ ค าง เพื่ อ จะทํ า ให้ ผู้ แสดงกล่ อ มหน้ า ได้ ส วยงาม มากขึ้น

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


4

5

ท่า นี้ เป็ น การทํ า ท่า เพื่ อแสดง ให้เห็นถึงความชัดเจนของบท ร้ อ ง ที่ น างผี เ สื้ อ ได้ ก ล่ า วถึ ง พระอภัยมณี จึ งทํา ให้ เ กิดท่ า เปุาปี่นี้ขึ้น

ผู้เจ้าปี่

ท่านี้เป็นการแสดงท่าทางการ รํ า ผสมกั บ อารมณ์ ข องนาง ผีเสื้อสมุทร ที่เมื่อได้ยินเสียงปี่ ของพระอภัยแล้วทําให้ตนเกิด ความหลงใหล จนแทบใจจะ ขาด

เสียงต้อยตะลิด

6

จะอิงแอบแนบเนื้อ

ลาดับ

เพลง/บทร้อง

ท่านี้เป็นการทําท่า แล้วต้องให้ ความรู้ สึ ก ว่ าเราได้ พิง ตั ว ของ พระอภั ย มณี อ ยู่ เหมื อ นกั บ เป็นการยั่วยวน

ภาพประกอบท่ารา

คาอธิบายท่ารา


7

8

9

เจียนจะขาด

เจียวหนอ

สมฤดีเอย

ท่านี้ให้ ความรู้สึกว่าเราอยาก ได้พระอภัยมณีมาก เลยทําให้ มี ท่ า ทางที่ แ สดงว่ า เหมื อ นใจ เราจะขาด และเทคนิคของท่า นี้ เราวิ่งซอยเท้าไปเรื่อยๆ ไม่ จํากัดพื้นที่เฉพาะ เมือถึงท่อน แล้วจึงค่อยๆหยุดทําท่า ท่ า นี้ เ มื่ อ ทํ า แ ล้ ว ต้ อ ง ใ ห้ ความรู้สึกถึงความหมั่นเคี้ยวที่ จะอยากได้พระอภัยมณี จึงมี เทคนิคในการทําท่าคือ ขวาง มื อ ซ้ า ย เ ล็ ก น้ อ ย เ พื่ อ ใ ห้ อารมณ์ของท่าที่ต่างกัน

ท่ า นี้ เ มื่ อ ทํ า แ ล้ ว ต้ อ ง ใ ห้ ความรู้สึกถึงความดีใจที่ตนเอง จะได้อยู่กับ พระอภัยมณี จึงมี เทคนิคในการทําท่าคือ ตั้ง มือ ซ้ายเล็กน้อย เพื่อแสดงให้เห็น ถึงความดีใจ อีกทั้งท่าทางยั ง ต่ า งกั บ การปรบมื อ ในท่ า ที่ ร้องว่า “เจียวหนอ”

ที่มา : นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์, 20 กันยายน 2561

จากตารางจะเห็นได้ว่ากลวิธีในการรําเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด ฉุยฉายผีเสื้อ สมุทรแปลง มีกลวิธีการรําทั้งหมด 9 ท่ารํา โดยเฉพาะท่ารํานั้นมีกลวิธีที่แตกต่างกันออกไป แต่ที่ ส่วน


ใหญ่เห็นได้ชัด คือการเล่นหน้า ลอยหน้าลอยตา ลักคอ และสายตาที่เป็นจุดเล็กๆ แต่เป็น ส่วนสําคัญ ในการแสดง เพื่อให้เกิดอรรถรสในการชมมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ ทั้งนั้นนักแสดงเองยังต้องมีจินตนาการอีก ด้วย


บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ จากการศึกษารายวิชาอาศรมศึกษาในครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้รวบรวมองค์ความรู้ที่ได้รับการ ถ่ายทอด ท่ารํ าจากอาจารย์ ว รวรรณ พลั บ ประสิ ทธิ์ ท่านได้อนุเคราะห์ ถ่ายทอดท่ารําเดี่ยวมาตรฐาน ทางด้าน นาฏศิลป์ไทย ชุด ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง แก่ผู้รับการถ่ายทอด สรุปได้ดังนี้ บทสรุป รําฉุยฉาย เป็นศิลปะที่มีมาแต่โบราณและยังถือเป็นศิลปะชั้นสูงอีกชนิดหนึ่งของนาฏศิลป์ไทย ที่ แสดงถึงภูมิปัญญา ความสามารถของบรมครูทั้งทางด้านดนตรีและทางนาฏศิลป์ ความไพเราะของ บทร้อง ความงดงามของท่ารํา ความสวยงามของเครื่องแต่งกาย และความสามารถของคนเป่าปี่เลียน เสียงผู้ขับ ร้องได้อย่างชัดถ้อยชดัคํา ล้วนผสมผสานกัน ทําให้รําฉุยฉายมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว มากขึ้น เพลง ที่ใช้ประกอบในการรําฉุยฉายนั้นมีอยู่หลายเพลง ทุกเพลงล้วนมีความสําคัญและมี เอกลักษณ์เฉพาะตั ว ทั้งสิ้น ท่ารําที่ใช้ประกอบในช่วงของเพลง แต่ละเพลงก็มีความงดงามไม่แพ้กัน อีก ทั้งในเรื่องของเครื่อง แต่งกายก็มีส่วนช่วยเสริมให้ผู้รําสง่างามมากยิ่งขึ้น ซึ่งเครื่องแต่งกายก็สามารถ บอกถึงยศบรรดาศักดิ์ของ ตัวละครได้อีกด้วย การรํ าฉุย ฉายจะพบได้ 3 ลักษณะ คือ รํา ฉุยฉายแบบเต็ ม รําฉุยฉายแบบตัด และรําฉุยฉาย แบบพวง ซึ่งฉุยฉายผีสื้อสมุทรแปลงเป็นการรําฉุยฉายแบบพวง คือ มีบทฉุยฉาย 2 บท กับแม่ศรี 2 บท และรําโดยไม่มีการรับปี่ ส่วนใหญ่การรําฉุยฉายจะตัดตอนมาจากการแสดงละครเป็นส่วนใหญ่ แต่ ปัจจุบัน ก็นิยมแต่งเนื้อเพลงฉุยฉายขึ้นใหม่ เพื่อใช้ในโอกาสต่างๆ ฉุยฉายผีเสื้อสมุทรแปลง เป็นการรําเดี่ยวอยู่ในละครนอกเรื่อง พระอภัยมณี เนื้อเรื่องกล่าวถึง นางผีเสื้อสมุทรที่เนรมิตร่างให้กลายเป็นหญิงงาม เพื่อเฝ้าปรนนิบัติพระอภัยมณี จนพระอภัยมณีสงสารจึง ยอมอยู่กับนางฉันสามีภรรยา ทั้งๆที่รู้ว่านางเป็นยักษ์ และในที่สุดนางก็ได้กําเนิดบุตร 1 คนชื่อว่า สินสมุทร


85

สินสมุทรนั้นมีรูปร่างหน้าตาที่คล้ายกับพระอภัยมณีผู้เป็นบิดา แต่ก็ยังมีส่วนที่เหมือนมารดานั้นคือ เขี้ยว และมีพละกําลังที่เกินเด็กวัย 8 ขวบ แม้เวลาจะล่วงผ่านไป ในยามที่นางออกไปหาอาหาร นางจะแอบ แปลงร่างกลับเป็นนางผีเสื้อสมุทรดังเดิมโดยที่ไม่ให้พระอภัยมณีและสินสมุทรเห็นเพราะไม่อยากให้ทั้งสอง เกรงกลัว การรําฉุยฉายยังคงยึดหลักในการชมความงามของตนเอง ตลอดจนการแปลงกายแต่งตัวใหม่ เพื่อให้ผู้ที่ได้พบเห็นเกิดความรู้สึกรักใคร่ชื่นชม ยินดีในตัวของผู้แสดง ในปัจจุบันมีการสร้างสรรค์การแสดง รําฉุยฉายขึ้นใหม่ ซึ่งเป็นไปตามจุดมุ่งหมายของผู้ประดิษฐ์ เช่น เพื่อ อํานวยพรผู้ชม เพื่อเป็นสัญลักษณ์ ของสถาบันหรือสอดแทรกในการแสดงละครต่างๆ ถ้าจะกล่าวถึงผู้ แสดงรําฉุยฉายนั้น จัดว่าต้องเป็นผู้มี ฝีมือในการรําเป็นอย่างสูงจึ งจะเกิดความอ่ อนช้อย สวยงาม น่า ชม เพราะการรําฉุยฉายมีกิริยาท่าทาง ตลอดจนสีหน้า แววตา จะเป็นส่วนที่สําคัญยิ่ง ที่จะทําให้ ฉุยฉายชุดนั้นๆเด่น และเป็นที่ประทับใจต่ผู้ชมได้ ข้อเสนอแนะ จากการศึกษาในครั้งนี้ ทําให้ผู้ศึกษาได้รับความรู้หลายประการ ทั้งในด้านทฤษฎีและด้าน ปฏิบัติ ทั้งยังทราบอีกว่าการรําฉุยฉายนั้นให้ความสําคัญในเรื่องเครื่องแต่งกายของตัวละครเป็นอย่างมาก อีกทั้งยัง ทําให้ทราบถึงการรับการถ่ายทอดท่ารําให้ได้ผลดีควรมีการเตรียมความพร้อม ดังนี้ 1. การศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแสดงชุดนี้ 2. ท่องจําและหัดขับร้องเพลงของชุดการแสดงให้แม่นยํา เพื่อช่วยให้มีความแม่นยําในท่ารํา และ จังหวะตลอดจนการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับบทขับร้อง 3. ศึกษาดูท่ารําจากวีดีทัศน์ไว้ล่วงหน้า เพื่อง่ายต่อการถ่ายทอดท่ารํา 4. เตรียมอุปกรณ์สําหรับการถ่ายทอดท่ารํา เช่น สมุดจดท่ารํา ปากกา ดินสอ เพลงที่ใช้ใน การต่อ ท่ารํา และเครื่องเล่นดีวีดี


86


บรรณานุกรม


87

บรรณานุกรม กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม. (2555). ศิลปินแห่งชาติ . กรุงเทพมหานคร : บริษัท อมรินทร์พริ้งติ้งแอนด์พับลิซซิ่ง จํากัดมหาชน. ฐิติรัตน์ เกิดหาร. (2555). นาฏศิลป์ไทย. ปทุมธานี : สกายบุ๊กส์ จํากัด. เพ็ญนภา ยางสูง (2557). โครงการปริญญานิพนธ การสอบรําเดี่ยวมาตรฐาน ชุดฉุยฉายผีเสื้อสมุทร แปลง. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย มหาวิทยาลัย นเรศวร, จังหวัด พิษณุโลก. ไพศาล อินทวงศ.์ (2545). ดนตรีในวิถีชีวิตไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. วันวิสาข์ บูชา. (2555). โครงการปริญญานิพนธการสอบรําเดี่ยวมาตรฐาน ชุดฉุยฉายผีเสื้อสมุทร แปลง. มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก. 2555. สุมิตร เทพวงษ์. (2547). ฉุยฉาย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.


ภาคผนวก


89

ภาพที่ 8 : อาจารย์วรวรรณ พลับประสิทธิ์ และนางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาวสุดารัตน์ หงษ์ดวง, วันที่ 11 กรกฎาคม 2561

ภาพที่ : อาจารย์ที่ปรึกษา และนางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาววรัญญา ทั่งพรม, วันที่ 30 สิงหาคม 2561.


90

ภาพที่ 11 : อาจารย์ที่ปรึกษา และนางสาวศิริพร แร่พรม ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาววรัญญา ทั่งพรม, วันที่ 31 สิงหาคม 2561.

ภาพที่ 12 : นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ และเพื่อนๆ สาขานาฏศิลป์ไทย รุ่นที่ 16 ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาววรัญญา ทั่งพรม, วันที่ 30 สิงหาคม 2561.


91

ภาพที่ 13 : นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ และเพื่อนๆ สาขานาฏศิลป์ไทย รุ่นที่ 16 ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาววรัญญา ทั่งพรม, วันที่ 31 สิงหาคม 2561.

ภาพที่ 14 : นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ ผู้แสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาววรัญญา ทั่งพรม, วันที่ 31 สิงหาคม 2561.


92

ภาพที่ 15 : นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ ผู้แสดงราเดี่ยวมาตรฐาน ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาววรัญญา ทั่งพรม, วันที่ 31 สิงหาคม 2561

ภาพที่ 16 : คณะกรรมการ คณาจารย์ และนิสิตผู้แสดงราเดี่ยว ถ่ายภาพร่วมกัน ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาววรัญญา ทั่งพรม, วันที่ 31 สิงหาคม 2561.


93

ภาพที่ 17 : รับฟังคาแนะนาจากคณะกรรมการ ที่มา : บันทึกภาพโดย นางสาววรัญญา ทั่งพรม, วันที่ 31 สิงหาคม 2561.


94


ประวัติผู้วิจัย


95

ประวัติผู้วิจัย ชื่อ – ชื่อสกุล วัน เดือน ปี เกิด ที่อยู่ปัจจุบัน ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2542

นางสาวธมลวรรณ นิ่มอนงค์ 24 มีนาคม 2540 69/1 หมู่ 6 ตาบลจอมทอง อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000 อนุบาล

สถาบัน โรงเรียนวัดจอมทอง

พ.ศ. 2544

ประถมศึกษา

สถาบัน โรงเรียนวัดจอมทอง

พ.ศ. 2550

มัธยมศึกษาตอนต้น

สถาบัน โรงเรียนวัดจอมทอง

พ.ศ. 2553

มัธยมศึกษาตอนปลาย

สถาบัน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ

พ.ศ. 2558 ปัจจุบัน

กาลังศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบัน มหาวิทยาลัยนเรศวร


95


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.