อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย รำเบิกโรง ชุด กำเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก

Page 1

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก

ธวัชชัย สาริการินทร์

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทยฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2561


อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด “ราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก” ของ นายธวัชชัย สาริการินทร์ ได้รับการพิจารณาให้นับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต (นาฏศิลป์ไทย) คณะกรรมการอาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ...................................................................................................................อาจารย์ที่ ปรึกษา (อาจารย์วรวิทย์ ทองเนื้ออ่อน) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.รุ่งนภา ฉิมพุฒ) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์รัชดาพร สุคโต) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.จิตติมา นาคีเภท) ...................................................................................................................กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประภาศรี ศรีประดิษฐ์) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์อุบลวรรณ โตอวยพร) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์ภูริตา เรืองจิรยศ) อนุมัติ ........................................................................... (ดร.จิตติมา นาคีเภท) หัวหน้าภาควิชาศิลปะการแสดง


ประกาศคุณูปการ อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด ราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก ฉบับนี้ สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ต้องกราบขอบพระคุณ อาจารย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ ในการถ่ายทอดท่ารา และให้องค์ความรู้เกี่ยวกับการแสดงราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก รวมทั้งคอยให้คาปรึกษา คาแนะนา และให้กาลังใจมาโดยตลอด ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์วรวิทย์ ทองเนื้ออ่อน อาจารย์ที่ปรึกษา และอาจารย์ประจา รายวิชาอาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ที่ได้กรุณาให้คาปรึกษา คาชี้แนะ และปรับแก้ไข ตลอดจน การตรวจรูปเล่มให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ขอกราบขอบพระคุณ คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ให้คาปรึกษาและคอยให้ความช่วยเหลือมาโดยตลอด ขอบคุ ณ เพื่ อ น พี่ และน้ อ งทุ ก คน ในภาควิ ช าศิ ล ปะการแสดง คณะมนุ ษ ยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ให้คอยให้ความช่วยเหลือและคอยเป็นกาลังใจมาโดยตลอด

ธวัชชัย สาริการินทร์


สารบัญ บทที่

หน้า

1 บทนา…………………………………………………………................................….……...…..…… ความสาคัญของการถ่ายทอดท่ารา....……………………….........…………….......……… วัตถุประสงค์......................................……………………….........…………….......……… วิธีดาเนินงาน.....................................……………………….........……………....…...…… ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ................……………………….........…………….......……… นิยามศัพท์เฉพาะ..............................……………………….........……………....…...……

1 1 2 2 3 3

2 ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา............................................................................................. ประวัติส่วนตัว...................................……………………….........………....…………...… ประวัติการศึกษา................................……………………….........……………...………… ประวัติการทางาน..............................……………………….........………………………… ผลงานทางด้านการแสดง………………………............................……………...………… แผนผังการสืบทอดและถ่ายทอดท่ารา.……………………….........…………....……...…

4 4 5 5 6 9

3 วิธีดาเนินการสืบทอดและฝึกหัด.............................................................................. ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด........................................................................ ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด.......………….…………….........………. อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด........................................................................ พัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด....................................................................

10 10 11 11 12


สารบัญ (ต่อ) บทที่

หน้า

4 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไท ราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก…...... ประวัติความเป็นมาของการแสดง………………..……….........……………....…………… เรื่องย่อของการแสดง……………………...................….........…………..…....…………… บทร้อง……………………….........……………....……...........................................……… ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง……………………….........…………….............…………… ฉากและอุปกรณ์ประกอบการแสดง……………………….........………….….....………… เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า……………………….........…………….........…………… นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง……………………….........……………................…………… กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่………………………...............……………....……………. กลวิธีในการรา................................………..…………….........……………....……………

15 15 15 16 16 17 19 21 23 47

5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ.......................................................................................... บทสรุป................................….......…………......………….....................…….………… ข้อเสนอแนะ………………………….…........................……....………………….....………..

48 48 49

บรรณานุกรม...........................................................................................................................

50

ภาคผนวก………………………....…………………………………….……………….....................................

52

ประวัติผู้วิจัย……………………………………………………….……………..............................................

67


สารบัญตาราง ตาราง 1 2 3 4 5 6 7

หน้า แสดงวิธีการดาเนินงาน………………………………....…......…...…………………………..………… 2 แสดงประวัติการศึกษาของอาจารย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน..........……………….....……………. 5 แสดงประวัติการทางานของอาจารย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน…….................................…….. 5 แสดงผลงานทางด้านการแสดงของอาจารย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน........................……...... 6 แสดงระยะเวลาในการถ่ายทอดท่ารา............................................................................ 11 แสดงพัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด.........................................................……...... 12 แสดงกระบวนท่าราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก……….…......…...……….... 23


สารบัญภาพ ภาพ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

หน้า อาจารย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน..……………………………………............................................. อาจารย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน รับบทขุนแผน ในละครเสภาเรื่อง ขุนช้างขุนแผน.……... อาจารย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวนรับบทพระสังข์ ในละครนอกเรื่องสังข์ทอง...................... อาจารย์ ฉั น ทวั ฒ น์ ชู แ หวน รั บ บทพระเจ้ า ราชาธิ ร าช ในละครพั น ทางเรื่ อ ง ราชาธิราช............................................................................................................. ..... แผนผังการสืบทอดท่าราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก..................…….. วงปี่พาทย์ไม้แข็ง...................……………………………………............................................ การจัดวางฉากและอุปกรณ์ประกอบการแสดง..................................................…….. อุปกรณ์ถือประกอบการแสดง....………………………………............................................ เครื่องแต่งกายราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก...............................…….. การแต่งหน้าราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก..........................................

4 7 8 8 9 17 18 18 20 20


1

บทที่ 1 บทนำ ควำมสำคัญของกำรถ่ำยทอดท่ำรำ รามเกียรติ์ มีที่มาจากเรื่อง รามายณะ ที่ฤาษีวาลมิกิ ชาวอินเดีย แต่งขึ้นเป็นภาษาสันกฤต เมื่อประมาณ 2,400 ปีเศษ มาแล้ว และได้แพร่หลาย จากอินเดียไปยังประเทศใกล้เคียง และได้มีการ เพิ่มเติมรายละเอีย ด ผิ ดแผกแตกต่างออกไปจากต้นฉบับเดิมไปไม่น้อย รามยณะเป็นปางหนึ่งใน สิบปางของการอวตารมาปราบยุคเข็ญของพระนารายณ์ ที่มีชื่อว่า รามาวตาร สาหรับเรื่องรามเกียรติ์ ของไทยนั้น มีมาแต่สมัยอยุธยา ในสมัยกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ได้ทรงพระราชนิพนธ์ สาหรับให้ละครหลวงเล่น ปัจจุบันมีอยู่ไม่ครบ ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าฯ ได้ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นเพื่อรวบรวมเรื่องรามเกียรติ์ ซึ่งมีมาแต่เดิมให้ครบถ้วน สมบูรณ์ ตั้งแต่ต้นจนจบ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้าฯ ได้ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ เพื่อให้ ล ะครหลวงเล่ น ได้ทรงเลื อกมาเป็นตอน ๆ รามเกียรติ์ นี้จึงมีส านวนกลอนที่ไพเราะที่ สุ ด พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ โดยดัดแปลงจากพระราช นิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้าฯ เพื่อใช้ในการเล่นโขน (พระบาทสมเด็จ พระรามาธิบดี ศรีสินทร มหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, 2484, หน้า 19) รามเกียรติ์เป็นวรรณคดีที่สาคัญของไทย เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย เนื้อเรื่องและสานวน กลอน ในเรื่องรามเกียรติ์มีความไพเราะ มีคติสอนและแง่คิดในด้านต่าง ๆ ทั้งยังมีเนื้อเรื่องและตานาน บางตอนสอดแทรกเอาไว้ตลอดทั้งเรื่อง และหนึ่งในนั่นยังมีตานานการกาเนิดยักษ์ -ลิง และไม้ไผ่สีสุก แทรกอยู่ภายในเนื้อเรื่อง ซึ่งกรมศิลปากรได้นามาเป็นการแสดงราเบิกโรง การแสดงราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์ -ลิง และไม้ไผ่สีสุก แต่เดิมการแสดงชุดนี้ใช้เฉพาะแสดง เบิกโรง ซึ่งยักษ์-ลิงที่พระอิศวรได้ให้กาเนิดขึ้นมานั้นเป็นต้นกาเนิดตัวละครบางตัวในเรื่องรามเกียรติ์ คือ เวรัมภะอสูรและชามภู วราช การแสดงชุดนี้ได้ถูกนามาแสดงครั้ งแรกในรายการศรีสุขนาฏกรรม ประพันธ์บทโดยอาจารย์เสรี หวังในธรรม โดยมีเนื้อเรื่องกล่าวถึง พระฤาษีสุขวัฒนะ ได้บาเพ็ญพรตอยู่ ณ เขาพระสุเมรุ และได้มีต้นไผ่ต้นหนึ่งเกิดขึ้นกลางกองไฟ พระฤาษีสุขวัฒนะได้นาไม้ไผ่นั้นมาถวายแก่ พระอิ ศ วร พระอิ ศ วรจึ ง น าไม้ ไ ผ่ ม าท าเป็ น คั น ศร แต่ เ มื่ อ ลองน้ า ว คั น ศรไม้ ไ ผ่ ก็ หั ก เป็ น สองท่ อ น พระอิศวรทิ้งท่อนปลายบังเกิดเป็ นลิงคือชามภูวราช และทิ้งท่อนโคนเกิดเป็นยักษ์คือเวรัมภะอสู ร พระอิศวรจึงให้นามไม้ไผ่อันเป็นมงคลนี้ว่า ไม้ไผ่สีสุก ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจในการแสดงราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์ -ลิง และไม้ไผ่สีสุก เนื่องจาก การแสดงชุดนี้ยังไม่ปรากฏการแสดงเป็นที่แพร่หลาย เพราะผู้แสดงจะต้องมีพละกาลังค่อนข้างสูงและ ใช้เวลาในการแสดงนาน ผู้ศึกษามีความสนใจในองค์ความรู้ของผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ เชี่ยวชาญทางด้าน นาฏศิลป์ไทย คือ อาจารย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน นาฏศิลปินอาวุโส สานักการสังคีต กรมศิลปากร โดยท่าน เป็ น ผู้ มี ค วามรู้ ค วามสามารถทางด้ า นการแสดงมาเป็ น ระยะเวลานาน ท่ า นได้ รั บ การถ่ า ยทอด


2

กระบวนท่าราต่าง ๆ รวมไปถึงการแสดงราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์ -ลิง และไม้ไผ่สีสุก จาก ดร.ปกรณ์ พรพิสุทธิ์ นาฏศิลปินอาวุโส กรมศิลปากร โดยตรง จึงมีความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษ ทาให้เป็นที่น่าเชื่อถือ ในองค์ความรู้ที่สั่งสมมา ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจที่จะศึกษาและบันทึกท่าราไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อเป็นประโยชน์ทางการศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ไทยสืบไป วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาค้นคว้าองค์ประกอบการแสดง และกลวิธีการราราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และ ไม้ไผ่สีสุก ในฉบับของอาจารย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน วิธีดำเนินงำน การแสดงราเดี่ยวมาตรฐานราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุกมีวิธีการดาเนินงาน ดังต่อไปนี้ ตำรำง 1 แสดงวิธีกำรดำเนินงำน แผนกำรดำเนินงำนเดือนมิถุนำยน – เดือนกันยำยน ( พ.ศ. 2561 ) วิธีกำรดำเนินงำน

มิถุนำยน

กรกฎำคม

สิงหำคม

กันยำยน

1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ ประวัติ การแสดง 2. ศึกษาจากสื่อ วีดีทัศน์ 3. ขอรับการถ่ายทอดกระบวน ท่ า ร าจากอาจารย์ ฉั น ทวั ฒ น์ ชูแหวน 4. สอบ 25% - 100% 5. สอบราเดี่ยวมาตรฐานราเบิก โรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ ไผ่ สี สุ กกับ ท่านคณะกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ วันที่ 31 สิงหาคม 2561 6. สรุปผล ส่งรูปเล่ม


3

ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ ทราบถึงกลวิธีการราราราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก ในฉบับของอาจารย์ ฉันทวัฒน์ ชูแหวน นิยำมศัพท์เฉพำะ เชิดฉิ่ง: ชื่อเพลงขับร้องชนิดหนึ่งคล้ายเพลงเชิดแต่ใช้ตีฉิ่งด้วย ไผ่สีสุก: เป็นไม้ยืนต้นขึ้นเป็นกอหนาแน่น มีลาสูงใหญ่ บริเวณข้อกิ่งคล้ายหนามกิ่งและแขนง มีหนามแหลมคม ลักษณะลาต้นกลวง ลาต้นมีสีเขียวสด ผิวเป็นมัน ดอกออกเป็นช่อ ซึ่งส่วนมากไผ่อายุ ราว 30 ปี จึงจะมีดอกสัก หนหนึ่ง หน่อมีขนาดใหญ่ มีกาบสีเหลืองห่อหุ้ม ขนที่หน่อเป็นสีน้าตาลมี น้าหนักประมาณ 2-5 กิโลกรัม


4

บทที่ 2 ประวัติผู้ถ่ำยทอดท่ำรำ ราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก ได้รับความอนุเคราะห์ในการถ่ายทอดความรู้ ทางนาฏศิลป์ไทยจากอาจารย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน นาฏศิลปินอาวุโส สานักการสังคีต กรมศิลปากร การแสดงชุดนี้อาจารย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน ออกแสดงครั้งแรกในรายการศรีสุขนาฏกรรม พ.ศ. 2552 ที่โรงละครแห่งชาติ ซึ่งผู้รับการถ่ายทอดท่าราจะขอกล่าวถึงประวัติและผลงานของอาจารย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน ดังนี้ ประวัติส่วนตัว

ภำพ 1 อำจำรย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน ที่มำ: ฉันทวัฒน์ ชูแหวน, 2561 ชื่อ-สกุล ชื่อ-สกุลบิดา ชื่อ-สกุลมารดา วันเดือนปีเกิด ที่อยู่ปัจจุบัน

ฉันทวัฒน์ ชูแหวน นายเชิด ชูแหวน นางจุไรรัตน์ ดวงคาจันทร์ 5 กันยายน 2514 84/30 หมู่บ้านกอยแก้ว 2 ถนนพุทธมณฑลสาย 2 แขวงศาลา ธรรมสพน์ เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10170


5

ประวัติกำรศึกษำ ตำรำงที่ 2 แสดงประวัติกำรศึกษำของอำจำรย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน ลำดับที่ 1 2 3

ปี พ.ศ. พ.ศ. 2520-2526 พ.ศ. 2526-2534 พ.ศ. 2534-2536

สถำนที่กำรศึกษำ โรงเรียนเทศบาล 2 วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล

ประวัติกำรทำงำน ตำรำงที่ 3 แสดงประวัติกำรทำงำนของอำจำรย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน วัน/เดือน/ปี 1 กันยายน 2537

ตาแหน่ง นาฏศิลปิน 2

1 กันยายน 2539

นาฏศิลปิน 3

16 กันยายน 2542

นาฏศิลปิน 4

23 สิงหาคม 2545

นาฏศิลปิน 5

20 มกราคม 2545 11 ธันวาคม 2551 ปัจจุบัน

นาฏศิลปิน 6 นาฏศิลปินชานาญงาน นาฏศิลปินอาวุโส

สังกัด งานนาฏศิลป์ ฝ่ายศิลปะการแสดงกองการ สังคีต กลุ่มนาฏศิลป์ ส่วนการแสดง สถาบันนาฏดุริยางคศิลป์ กลุ่มนาฏศิลป์ ส่วนการแสดง สถาบันนาฏดุริยางคศิลป์ กลุ่มนาฏศิลป์ ส่วนการแสดง สถาบันนาฏดุริยางคศิลป์ กลุ่มนาฏศิลป์ สานักงานการสังคีต กลุ่มนาฏศิลป์ สานักงานการสังคีต กลุ่มนาฏศิลป์ สานักงานการสังคีต


6

ผลงำนทำงด้ำนกำรแสดง อาจารย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน เป็นผู้มีประสบการณ์ในด้านการแสดงโขน และละครประเภท ต่าง ๆ ทั้งยังได้รับการถ่ายทอดท่าราจากศิลปินอาวุโสหลายท่าน ดังนี้ ตำรำง 4 แสดงผลงำนทำงด้ำนกำรแสดงของอำจำรย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน ประเภทกำรแสดง เรื่อง/ตอน โขน เรื่องรามเกียรติ์

ละครนอก ละครนอก ละครนอก ละครนอก ละครนอก ละครนอก ละครพันทอง

สุวรรณหงส์ ตอนชมถ้าเพชรพลอย แก้วหน้าม้า ตอนถวายลูก, ถอดรูป ไชยเชษฐ์ ไกรทอง พระอภัยมณี สังข์ทอง พระลอ ตอนพระลอตามไก่ พระลอเข้าห้อง

ละครพันทาง

ราชาธิราช

ละครพันทาง

ผู้ชนะสิบทิศ

บทบำท พระอิศวร พระนารายณ์ พระพรหม พระราม พระพรต พระสัตรุต ท้าวมาลีวราช สุวรรณหงส์ พระปิ่นทอง พระไชยเชษฐ์ ไกรทอง พระอภัยมณี พระสังข์ พระลอ

พระเจ้าราชาธิราช สมิงพระราม พระยาน้อย พระสการวุฒพี

ผู้ถ่ำยทอด นายปกรณ์ พรพิสุทธิ์ นายชวลิต สุนทรานนท์ นายสมรัตน์ ทองแท้ นายคมสันฐ หัวเมืองลาด

นางสาววันทนีย์ ม่วงบุญ นายสมรัตน์ ทองแท้ นายสมเจตน์ ภู่นา นายสมรัตน์ ทองแท้ นายปกรณ์ พรพิสุทธิ์ นายปกรณ์ พรพิสุทธิ์ นายสมรัตน์ ทองแท้ นางศิริวัฒน์ ดิษยนันทน์ นางอิงอร ศรีสัตตบุษย์ นางสาวนงลักษณ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา นางศิริวัฒน์ ดิษยนันทน์ นางสาวนงลักษณ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา นางสาววันทนีย์ ม่วงบุญ


7

ตำรำง 4 (ต่อ) ประเภทกำรแสดง ละครพันทาง ละคร ละครพื้นบ้าน ละครเสภา

เรื่อง/ตอน ตะเลงพ่าย พระมหาชนก ท้าวแสนปม ขุนช้างขุนแผน

ละครชาดก ละครชาตรี

พระเวสสันดร ชาดก มโนห์รา

ระบาอโยธยาพงศ์

-

ละครอิงประวัติศาสตร์ พันท้ายนรสิงห์

บทบำท อุปราชา พระมหาชนก ท้าวแสนปม ขุนแผน พระไวย พระเวสสันดร

ผู้ถ่ำยทอด นายปกรณ์ พรพิสุทธิ์ นายปกรณ์ พรพิสุทธิ์ นายปกรณ์ พรพิสุทธิ์ นายปกรณ์ พรพิสุทธิ์

พระสุธน

นางศิริวัฒน์ ดิษยนันทน์ นางสาวนงลักษณ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา นายชวลิต สุนทรานนท์ นายคมสันฐ หัวเมืองลาด นายสมรัตน์ ทองแท้ นางสาววันทนีย์ ม่วงบุญ

พระราม

พระเจ้าเสือ

นายปกรณ์ พรพิสุทธิ์

ภำพ 2 อำจำรย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน รับบทขุนแผน ในละครเสภำเรื่อง ขุนช้ำงขุนแผน ที่มำ: ฉันทวัฒน์ ชูแหวน, 2561


8

ภำพ 3 อำจำรย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน รับบทพระสังข์ ในละครนอกเรื่องสังข์ทอง ที่มำ: ฉันทวัฒน์ ชูแหวน, 2561

ภำพ 4 อำจำรย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน รับบทพระเจ้ำรำชำธิรำช ในละครพันทำง เรื่องรำชำธิรำช ที่มำ: ฉันทวัฒน์ ชูแหวน, 2561


9

แผนผังกำรสืบทอดและถ่ำยทอดท่ำรำ อาจารย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวนได้รับการถ่ายทอดท่าราการแสดงราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์ -ลิง และไม้ไผ่สีสุก จากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญทางด้านนาฏศิลป์ไทย คือ ดร.ปกรณ์ พรพิสุทธิ์ โดยมี ลาดับการถ่ายทอดท่าราตามแผนผัง ดังนี้ ดร.ปกรณ์ พรพิสุทธิ์ (นาฏศิลปินอาวุโส)

อาจารย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน (นาฏศิลปินอาวุโส)

นายธวัชชัย สาริการินทร์ (ผู้ศึกษา) ภำพ 5 แผนผังกำรสืบทอดท่ำรำเบิกโรง ชุด กำเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก ที่มำ: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561


10

บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรสืบทอดและฝึกหัด ผู้ศึกษาได้รับการถ่ายทอดท่าราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์ -ลิง และไม้ไผ่สีสุก มาจากอาจารย์ ฉันทวัฒน์ ชูแหวน นาฏศิลปินอาวุโส สานักการสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม ในบทนี้ จะกล่ าวถึ งขั้น ตอนในการสื บ ทอดท่า ราและฝึ กหั ด ระยะเวลาและสถานที่การสื บทอดและฝึ ก หั ด อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด และพัฒนาการในการถ่ายทอดและฝึกหัด ดังนี้ ขั้นตอนในกำรสืบทอดและฝึกหัด ผู้ศึกษาได้รับความกรุณาจากท่านผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านนาฏศิลป์ไทย คือ อาจารย์ ฉันทวัฒน์ ชูแหวน เป็นผู้ให้ความรู้และถ่ายทอดท่า ราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์ -ลิง และไม้ไผ่สีสุก โดยมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาเกี่ยวกับความสาคัญและความเป็นมาของราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์ -ลิง และไม้ไผ่ สีสุก 2. ศึกษาทานองเพลง เนื้อเพลง ท่องจาบท และฝึกร้องเพลงราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์ -ลิง และไม้ไผ่สีสุก 3. ศึกษารูปแบบการแสดงราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก จากการดูวิดีโอบันทึก การแสดง 4. เริ่มต่อท่าราจากผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านนาฏศิลป์ไทย 5. ฝึกปฏิบัติท่าราและรับคาแนะนา เพื่อให้ท่ารามีความถูกต้องและสวยงาม 6. ทบทวนท่าราเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ พร้อมทั้งปรับปรุงแก้ไขท่าราตามคาแนะนาของครู ผู้ถ่ายทอดท่ารา และอาจารย์ที่ปรึกษาทุกครั้ง


11

ระยะเวลำและสถำนที่กำรสืบทอดและฝึกหัด ระยะเวลาในการถ่ายทอดท่าราเดี่ยวมาตรฐานราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก เริ่มตั้งแต่วันที่ 9 กรกฎาคม 2561 – 31 สิงหาคม 2561 ดังตารางต่อไปนี้ ตำรำง 5 แสดงระยะเวลำในกำรถ่ำยทอดท่ำรำ ครั้งที่ วันเดือนปี / เวลำ 1 11 กรกฎาคม 2561 13.00 – 15.00 น.

สถำนที่ ชั้น 4 ในห้อง กลุ่มนาฏศิลป์ สานักการสังคีต กรมศิลปากร

2

12 กรกฎาคม 2561 13.00 - 15.00 น.

ชั้น 4 ในห้อง กลุ่มนาฏศิลป์ สานักการสังคีต กรมศิลปากร

3

2 สิงหาคม 2561 13.00-15.00

ชั้น 4 หน้าห้อง กลุ่มนาฏศิลป์ สานักการสังคีต กรมศิลปากร

รำยกำร ได้ รั บ ความรู้ ป ระวั ติ ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ เกี่ยวกับการแสดงราเบิกโรง ชุด กาเนิด ยั ก ษ์ - ลิ ง แ ล ะ ไ ม้ ไ ผ่ สี สุ ก จ า ก นั้ น ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ไ ด้ เ ริ่ ม ถ่ า ยทอดท่ า ร าใน เพลงเชิดฉิ่ง และได้รับการแก้ไขในเรื่อง ของการตั้งวง การก้าวเท้าต่าง ๆ ผู้ทรงคุณวุฒิให้ทวนท่าราเดิมที่ได้รับการ ถ่ายทอดไป จากนั้นได้รับการถ่ายทอด ท่าราเพิ่มเติมในส่วนของเนื้อร้องจนจบ และสอนกลวิ ธี ก ารร าให้ อ อก ม าดู สวยงาม ผู้ทรงคุณวุฒิได้เก็บลายท่าที่ผิดเพี้ ยนไป แล้วได้ปรับท่าในบางท่อนเพลง เพื่อให้ เข้ า กั บ บุ ค ลิ ก ลั ก ษณะของผู้ ไ ด้ รั บ การ ถ่ายทอด

อุปกรณ์ในกำรสืบทอดและฝึกหัด 1. เครื่องเสียงและแผ่นเพลงสาหรับเปิดเพลง 2. บทประกอบการแสดงราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก 3. กล้องบันทึกภาพ 4. ผ้าโจงกระเบนสีม่วง 5. สมุดจดบันทึก และอุปกรณ์เครื่องเขียน สาหรับจดบันทึก 6. ท่อนไม้ไผ่สีสุก (อุปกรณ์ประกอบการแสดง)


12

พัฒนำกำรในกำรสืบทอดและฝึกหัด หลังจากการเข้ารับการถ่ายทอดท่าราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์ -ลิง และไม้ไผ่สีสุก จากอาจารย์ ฉัน ทวัฒ น์ ชูแหวน ในแต่ล ะครั้ งแล้ ว ผู้ ศึกษาได้กลั บมาฝึ กซ้อมปฏิบัติด้ว ยตนเอง และฝึ กซ้อมกับ อาจารย์ที่ปรึกษา คือ อาจารย์วรวิทย์ ทองเนื้ออ่อน เพื่อเป็นการพัฒนาฝีมือในการรา รวมถึงเพื่อให้ เข้าใจถึงบทบาทตัวละคร คือ พระอิศวร มากยิ่งขึ้น สามารถสรุปเป็นตารางพัฒนาการในการสืบทอด และฝึกหัด ได้ดังนี้ ตำรำง 6 แสดงพัฒนำกำรในกำรสืบทอดและฝึกหัด วัน/เดือน/ปี 11 กรกฎาคม 2561

12 กรกฎาคม 2561

26 สิงหาคม 2561

พัฒนำกำรในกำรสืบทอดและฝึกหัด - รับการถ่ายทอดท่าราเพลงเชิดฉิ่ง ปรับท่าราลักษณะของการตั้ง วง และการก้าวข้างให้ถูกต้องตามลักษณะของโขนพระ - ต่อท่าราในบทร้องเพลงเห่เฉิดฉิ่ง ปรับท่าราในเรื่องการเคลื่อนที่และ ท่าเชื่อมในแต่ละท่า - ถ่ายทอดท่าราในเพลงร่าย - ปรับในเรื่องของการบริหารจังหวะให้มีความสม่าเสมอ - ถ่ายทอดวิธีการตีบทเพื่อให้สมบทบาทมากยิ่งขึ้น - ถ่ายทอดท่าราเพลงเชิด ปรับในเรื่องของการใช้ตัว ให้ ถู กต้ อ งตาม จังหวะ - เก็บรายระเอียดท่าราตั้งแต่ต้นจนจบการแสดง ดังต่อไปนี้ 1. การเชื่อมท่ารา 2. ลีลาท่ารา 3. การใช้อุปกรณ์ 4. อารมณ์กับความสัมพันธ์ของท่ารา 5. การใช้สายตาในการรา 6. ปรับท่าราให้เหมาะสมกับสรีระของผู้แสดง

ตลอดระยะเวลาที่ได้รับการถ่ายทอดท่าราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์ -ลิง และไม้ไผ่สีสุกจาก อาจารย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน ผู้ศึกษาได้ขออนุญาตอาจารย์ในการบันทึกภาพเคลื่อนไหวทุกครั้งที่ได้รับ การถ่ายทอดท่ารา เพื่อนามาเป็นแนวทางในการตรวจสอบความถูกต้องของท่ารา และเพื่อการเก็บ รายละเอียดของท่ารา ซึ่งการถ่ายทอดท่าราในครั้งนี้ผู้ศึกษาได้พบปัญหาและมีวิธีในการแก้ไข ดังนี้


13

1. สภาพปัญหา 1.1 ผู้แสดงยังราได้ไม่นิ่มนวล 1.2 ผู้แสดงยังราเร็วเกินกว่าจังหวะ 1.3 ท่าเชื่อมในการแสดงยังไม่สวยงาม 1.4 จังหวะเข่ายังเห็นไม่ชัด 2. วิธีการแก้ไข 2.1 ผู้แสดงต้องฝึกปฏิบัติท่าราอย่างเป็นประจาเพื่อให้เกิดความแม่นยาของจังหวะ 2.2 ผู้แสดงต้องหมั่นออกกาลังกายเพื่อให้มีกาลังขาระหว่างการแสดง 2.3 ผู้แสดงต้องฝึกใช้อุปกรณ์ทุกวันเพื่อให้เกิดความคล่องมือ 2.4 ผู้แสดงต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับตัวละครที่ตนเองแสดง เพื่ อให้เกิดความรู้ และ ความเข้าใจเกี่ยวกับตัวละครนั้นอย่างลึกซึ้ง จากการรับการถ่ายทอดท่าราและกลวิธีในการราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์ -ลิง และไม้ไผ่สีสุก ของอาจารย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน ทาให้ผู้ศึกษาเกิดความเข้าใจเกี่ยวตัวละครที่แสดงมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ผู้ ศึ ก ษาได้ ฝึ ก ปฏิ บั ติ ท่ า ร าอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความช านาญและเพื่ อ พั ฒ นาฝี มื อ ในการร า จนสามารถขึ้นแสดงราเดี่ยวมาตรฐานราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก ได้อย่างสมบูรณ์ ข้อเสนอแนะ การแสดงราเดี่ยวมาตรฐานราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก จาก ท่านคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านนาฏศิลป์ไทย จานวน 5 ท่าน ดังนี้ 1. ดร.นพรัตน์ศุภาการ หวังในธรรม - ไม่มี 2. ดร.ไพฑูรย์ เข้มแข็ง - เริ่มการแสดงเปิดไฟเร็วไป ผู้แสดงหน่วยก้านใช้ได้ ควรระวังตอนราเชิดฉิ่งห่มเข่าให้เข้ากับ จังหวะฉิ่ง ยังห่มเข่าคล่อมจังหวะอยู่ อันนี้สาคัญมากในการราเพลงเชิดฉิ่ง ผู้แสดงซ้อมมาใช้ได้ - แต่งกายสวยงามเรียบร้อยดี และควรเช็คอุปกรณ์ที่สวมใส่ - ตอนราเชิดฉิ่งทีละตัวควรเคลื่อนที่บ้างในท่าที่ทาได้ เช่น ขยับขึ้นหน้ามาบ้าง อย่าพยายาม ปักหลักราอยู่กับที่ที่เดียว ลีลาท่าราการราเชิดฉิ่งศรทนงทั้งสามตัวใช้ได้ จังหวะได้ ทาการบ้านมาดี - ตอนหน้าพาทย์รัวสามลาที่ไม่ไผ่จะหักเป็นสองท่อน ตอนจะขว้างอยากให้ action - ตอนเข้าหันก้นไปนิด นักแสดงเราไม่นิยมหันก้นหรือหันหลังให้ผู้ชม - ยักษ์ลิงตอนท้ายราเสร็จและเข้าเฝ้าพระอิศวรอยู่ไกลไปนิด เข้าไปได้อีก - สรุป ผู้แสดงทาการบ้านมาดี ใช้ได้ ตลอดทั้งอุปกรณ์ ฉาก ดนตรี ใช้ได้


14

3. อ.ตวงฤดี ถาพรพาสี - ราได้สวยงามดีมาก จังหวะพอดี เพลงหน้าพาทย์ราได้ตรงจังหวะ ต้องปรับปรุงเรื่อง วงพระนิดหน่อย 4. ผศ.ฐิติมา วิทยาวงศรุจิ - กาไลแหวนข้อเท้าซ้ายห้อยมาแต่แรกแล้วก็หลุด เพลงเชิดฉิ่ง ต้องแน่นและนิ่ง 5. รศ.นุชนาฏ ดีเจริญ - การแต่งกายไม่เรียบร้อย มีชิ้นส่วนหลุดกลางเวที เป็นอุปสรรคสาหรับการแสดง จากข้อเสนอแนะของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านนาฏศิลป์ไทย ผู้ศึกษาจะนาความรู้ที่รับ นาไปปรับปรุงต่อไป


15

บทที่ 4 อำศรมศึกษำทำงนำฏศิลป์ไทยรำเบิกโรง ชุด กำเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก ราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์ -ลิง และไม้ไผ่สีสุก มีองค์ประกอบที่สาคัญหลายด้าน หากขาด สิ่ ง ใดไปจะท าให้ ก ารแสดงขาดความสมบู ร ณ์ โดยผู้ ศึ ก ษาได้ แ บ่ ง แยกส่ ว นประกอบที่ ส าคั ญ ของ การแสดงร าเบิ กโรง ชุด กาเนิ ดยั กษ์ - ลิ ง และไม้ไผ่ สี สุ ก ได้แก่ ประวัติความเป็นมาของการแสดง เรื่องย่อของการแสดง เพลงประกอบการแสดง ดนตรีประกอบการแสดง ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง ฉากและอุปกรณ์ประกอบการแสดง เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง กระบวนท่ารา และกลวิธีในการรา ดังต่อไปนี้ ประวัติควำมเป็นมำของกำรแสดง การแสดงราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก เป็นตานานการกาเนิดยักษ์-ลิง ทีเ่ ป็น ตัวละครบางตัวในเรื่องรามเกียรติ์ คือ เวรัมภะอสูรและชามภู วราช และตานานการเกิด ไม้ไผ่ สี สุ ก แทรกอยู่ภายในเนื้อเรื่องรามเกียรติ์ ที่มีคติคาสอนและแง่คิดในด้านต่าง ๆ โดยกรมศิลปากรได้นามา เป็นการแสดงราเบิกโรง แสดงครั้งแรกในรายการศรีสุขนาฏกรรม ประพันธ์บทโดยอาจารย์เสรี หวังในธรรม ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ศิลปะการละคร) ประจาปี พ.ศ. 2531 เรื่องย่อของกำรแสดง พระฤาษีสุขวัฒนะได้บาเพ็ญพรตอยู่ ณ เชิงเขาพระสุเมรุมาเป็นเวลานาน วันหนึ่งได้เกิด มีต้น ไผ่ต้นหนึ่งเกิดขึ้นกลางกองไฟเพียงลาเดียว ลาต้นมีลักษณะเป็นสีเขียวสะอาด พระฤาษีสุขวัฒนะเล็งดู ด้วยญาณไม่แน่ใจว่าเป็นอาเพศหรือมงคล จึงได้นาไม้ไผ่ลานั้นไปถวายไปพระอิศวร ณ เขาพระสุเมรุ เมื่อพระอิศวรรับมาก็เห็นว่า ลาต้นไม้ไผ่มีลักษณะเป็นสีเขียวสะอาด จึงนามาทาเป็นคันศรโค้งเรียว สวยงาม มีพลังอานุภาพเปรียบดั่งอาวุธของเทพ พระอิศวรได้ลองน้าวคันศรดูเกิดแสงแวววับ สะท้าน ตั้งแต่สวรรค์ถึงผืนแผ่นดินโลกมนุษย์ ด้วยอานาจของพระอิศวรผู้เป็นเจ้า คันศรจึงหักออกเป็นสองท่อน เมื่อขว้างไม้ไผ่ท่อนปลาย บังเกิดเป็นลิง และขว้างท่อนโคนกลายเป็นยักษ์ เมื่อได้เห็นดังนั้น พระอิศวร จึงทานายพยากรณ์ว่าไม้ไผ่ท่อนปลายเกิดเป็นลิงชื่อนิลเกสรหรือชามภูวราช ซึ่งจะเป็นต้นตระกูลของ เหล่าวานร เมื่อถึงปางพระนารายณ์ อวตารมาผลาญยักษ์ จะได้เป็น ไพร่พลกาลังกองทัพในสงคราม ส่วนท่อนโคนเกิดเป็นยักษ์ชื่อว่าเวรัมภะอสู รจะเป็นต้นตระกูลพวกเหล่าอสูรร้าย และในภายภาคหน้า นั้นลิงที่เกิดจากท่อนปลายจะชนะเหล่า ยักษ์อสูรที่เกิดจากท่อนโคน แล้วพระอิศวรจึงให้นามไม้ไผ่อัน เป็นมงคลนี้ว่า “ไม้ไผ่สีสุก”


16

บทร้อง ราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก ประพันธ์บทร้องโดยอาจารย์เสรี หวังในธรรม มีลักษณะเพลงหน้าพาทย์เชิดฉิ่งศรทนงประกอบสลับกับเนื้อร้องเห่เชิดฉิ่ง ดังต่อไปนี้ -ปี่พาทย์ทาเพลงวา-ร้องเพลงเห่เชิดฉิ่งรังสฤษฏ์เวฬุพฤกษชาติ สัณฐานเรียวเขียวสะอาดสดใส เป็นคันศรงอนงามอาไพ ฤทธิไกรเพียงเทพศาสตรา -ปี่พาทย์ทาเพลงศรทนง-ร้องเพลงเห่เชิดฉิ่งเสร็จแล้วลองพลังอาวุธ น้าวด้วยมกุฎพาหา เกิดแสงแวววาบปลาบตา สะท้านแต่ชั้นฟ้าถึงดินดอน -ปี่พาทย์ทาเพลงศรพระลักษณ์-ร้องเพลงเห่เชิดฉิ่งเดชะอานาจสุรารักษ์ สิทธิศักดิ์ไม่มีที่ย่อหย่อน คันศรหักยับลงกับกร เป็นสองท่อนด้วยอานาจเทวา -ปี่พาทย์ทาเพลงศรสาเร็จ-ร้องร่ายทรงขว้างไม้ไผ่ท่อนปลาย กลายเป็นวานรเก่งกล้า ท่อนโคนขว้างไปในพริบตา กลายเป็นอสุราฤทธี -ปี่พาทย์ทาเพลงรัวสามลา-ปี่พาทย์ทาเพลงเชิด(กรมศิลปากร, 2552, หน้า 1-2) ดนตรีที่ใช้ประกอบกำรแสดง เพลงที่ในการแสดงราเบิกโรงชุดกาเนิดยักษ์ ลิง และไม้ไผ่สีสุก มีการเริ่มต้นด้วย เพลงวา ซึ่งเป็น เพลงหนึ่งที่อยู่เพลงโหมโรงกลางวัน เพื่อเป็นการประกาศให้รู้ว่า ขณะนี้การแสดงดังกล่าวกาลังจะเริ่มขึ้นแล้ว จากนั้นร้องเพลงเห่เชิดฉิ่ง สลับกับปี่พาทย์ทาเพลงเชิดฉิ่งศรทนง เชิดฉิ่งศรพระลั กษณ์ เชิดฉิ่งศรสาเร็จ ตามลาดับ เพื่อเป็นเพลงหน้าพาทย์ประกอบอากัปกิริยาของการแผลงศร ต่อด้วยการร้องร่าย ในตอนท้ ายปี่ พาทย์ทาเพลงรัวสามลา ซึ่งเป็นเพลงหน้าพาทย์ที่แสดงให้เห็นถึงฤทธิ์เดชหรือการแผลงอิทธิฤทธิ์ และจบลง ด้วยเพลงเชิด โดยใช้ดนตรีวงปี่พาทย์เครื่องห้าประเภทไม้แข็งในการบรรเลงเพลงประกอบการแสดง


17

วงปี่ พ าทย์ เ ครื่ อ งห้ า เป็ น วงปี่ พ าทย์ป ระเภทไม้ แ ข็ ง ที่ไ ด้ พั ฒ นามาจากวงปี่ พ าทย์ช าตรี ใช้ประกอบการแสดงโขน ละคร และหนังใหญ่ในสมัยกรุงศรีอยุธยา วงปี่พาทย์เครื่อง 5 ประกอบด้วย เครื่องดนตรีดังต่อไปนี้ (ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์, 2542, หน้า 22.) 1. ระนาดเอก 1 ราง 2. ฆ้องวงใหญ่ 1 วง 3. ปี่ใน 1 เลา 4. ฉิ่ง 1 คู่ 5. ตะโพน 1 ใบ 6. กลองทัด 1 คู่

ภำพ 6 วงปี่พำทย์ไม้แข็ง ที่มำ: กรมวิชาการ, 2561, หน้า 49 ฉำกและอุปกรณ์ประกอบกำรแสดง 1. ฉาก ราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก จัดฉากโดยสมมติเป็นฉากประทับของพระอิศวร ในวิมาน โดยมีอุปกรณ์ประกอบฉาก ดังต่อไปนี้


18

1.1 เครื่องราชูปโภค ประกอบด้วย - เครื่องทรงพระสาอาง ได้แก่ ผอบ คนโท คันฉ่อง เป็นต้น 1.2 เตียงใหญ่สีแดง 1.3 พานวางตรีศูล 1.4 หมอนสามเหลี่ยม 2. อุปกรณ์ประกอบการแสดง 1.1 ไม้ไผ่สีสุก 1 ลา

ภำพ 7 กำรจัดวำงฉำกและองค์ประกอบกำรแสดง ที่มำ: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561

ภำพ 8 อุปกรณ์ประกอบกำรแสดง ที่มำ : ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561


19

เครื่องแต่งกำยและกำรแต่งหน้ำ 1. การแต่งกาย ร าเบิ กโรงชุดกาเนิดยักษ์ - ลิ ง และไม้ไผ่ สี สุ ก โดยการแต่งกายสมมติเป็ น พระอิศวร จึงแต่งกายด้วยชุดยืนเครื่องพระ ซึ่งเป็นแบบแผนมาตั้งแต่โบราณว่าพระอิศวรนั่นมีพระ วรกายสีขาว ดังนั้นพระอิศวรจึงต้องใส่ชุดยืนเครื่องสีขาว อันมีลักษณะการแต่งกายดังนี้ 1.1 เครื่องประดับศีรษะ 1) ชฎายอดน้าเต้า และพวงอุบะ ดอกไม้ทัด 1.2 เครื่องแต่งกาย 1) เสื้อแขนยาวสีขาว 2) สนับเพลาสีขาวขลิบเหลือง 3) ผ้ายกสีขาว 4) กรองคอสีเหลือง 5) อินทรธนูสีเหลือง 6) รัดสะเอวสีขาวขลิบเหลือง 7) ห้อยหน้าสีขาวขลิบเหลือง 8) ห้อยข้างปลายสะบัดสีขาวขลิบเหลือง 9) สไบลายเสือ 1.3 เครื่องประดับ 1) ทับทรวงสีทอง 2) สังวาลนาคสีทอง 3) กาไลแผงสีทอง (ทองกร) 4) ปะวะหล่า 5) แหวนรอบข้อมือสีทอง 6) หัวเข็มขัดสีทอง พร้อมสายเข็มขัดสีทอง 7) กาไลข้อเท้าสีทอง (หัวบัว) 8) แหวนรอบข้อเท้าสีทอง 9) พาหุรัดรูปนาค


20

ภำพ 9 เครื่องแต่งกำยรำเบิกโรง ชุด กำเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก ที่มำ: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561 2. การแต่งหน้า ลักษณะของการแต่งหน้าพระอิศวร เป็นลักษณะของการแต่งหน้าแบบละคร ไทย โดยการผัดหน้า เขียนคิ้วให้มีลักษณะโก่งสีดา ทาปากสีแดงสด เขียนขอบตาให้มีความเข็ม และมี เครื่องหมายทรงช่อกนก ซึ่งทาจากปะเก็นติดที่หน้าผาก เป็นสัญลักษณ์แทนตาที่สามของพระอิศวร

ภำพที่ 10 กำรแต่งหน้ำรำเบิกโรง ชุด กำเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสกุ ที่มำ: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561


21

นำฏยศัพท์ที่ใช้ในกำรแสดง นาฏยศัพท์ หมายถึง ศัพท์ที่เกี่ยวกับลักษณะท่าราที่ใช้ในการฝึกหัดเพื่อใช้ในการแสดงโขน ละคร ผู้รวบรวมและผู้ให้คาอธิบายเป็นคนแรก คือ ครูอาคม สายาคม จัดทาเป็นตาราเมื่อ พ.ศ. 2497 ซึ่งครูอาคม สายาคม เรียบเรียงจากความรู้ในการปฏิบัติของท่านเอง รวมทั้ งการสอบถามจากบรรดา ครู อ าวุ โ สทั้ ง ปวงที่ อ ยู่ ใ นกรมศิ ล ปากร และได้ ใ ช้ เ ป็ น ต้ น แบบของต ารารุ่ น หลั ง ต่ อ มาเมื่ อ ศิ ล ปิ น ให้ความสาคัญกับวิชาการทางด้านนาฏศิลป์มากขึ้น จึงมีผู้เขียนตาราอันมีเรื่องราวเกี่ยวกับนาฏยศัพท์ ในนาฏศิล ป์ ไทยนี้ ส อดแทรกอยู่ ห ลายเล่ มด้ว ยกันซึ่งตลอดระยะเวลาของการถ่ายทอดและฝึ กหั ด ครูผู้ทรงคุณวุฒิจะให้นาฏยศัพท์นี้เองเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดท่ารา ซึ่งผู้เ รียนจะต้องเป็นผู้ที่รู้จัก และมีความชานาญในเรื่องนาฏยศัพท์มาแล้วเป็นอย่างดี มิเช่นนั้นการสื่อสารระหว่างครูและผู้เรียนจะ เป็นไปได้อย่างลาบาก (ประภาศรี ศรีประดิษฐ์, 2548, หน้า 49-52) ราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก เป็นกระบวนท่าราซึ่งแสดงออกถึงความสามารถ ไหวพริบของผู้แสดงในการปฏิบัติท่วงท่าให้มี ความสอดคล้องกับทานองและเนื้อเพลงอวัยวะทุกส่วน ของร่ า งกาย จะต้ อ งมี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น เพื่ อ ประกอบเป็ น กระบวนท่ า นาฏยศั พ ท์ ขึ้ น มา ซึ่ ง ตลอด ระยะเวลาของการถ่ายทอดและฝึกหัด ครูผู้ทรงคุณวุฒิจะให้คานาฏยศัพท์นี้เองเป็นสื่อกลางในการ ถ่ายทอดท่ารา ซึ่งผู้เรียนจะต้องเป็นผู้ที่รู้จักและมีความชานาญในเรื่องนาฏยศัพท์มาแล้วเป็นอย่างดี มิเช่นนั้นการสื่อสารระหว่างครูและผู้เรียนจะเป็นไปได้อย่างลาบาก ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่านาฏยศัพท์ เป็ น ศั พ ท์ ข องท่ า ร าที่ ใ ช้ ใ นการสื่ อ สารถ่ า ยทอด และเรี ย นรู้ ท่ า ร าในขั้ น ตอนของการบั น ทึ ก ท่ า ร า โดยนาฏยศัพท์ที่พบในการแสดงราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก มีดังนี้ 1. วง คือ ช่วงมือและแขนที่กางออก ปลายมือจะตั้งขึ้น ลาแขนโค้งไม่หักหรืองอเป็นเหลี่ยม วงโดยทั่วไปมี 5 ชนิด ได้แก่ วงบน วงกลาง วงล่าง วงหน้า และวงหงายหรือวงบัวบาน - วงบน ตัว พระจะกางแขนออกข้างล าตัว เฉียงมาด้านหน้าเล็ กน้อยยกขึ้นสู ง ในระดั บ แง่ศีรษะ ตัวนางจะวงแคบและต่ากว่าตัวพระเล็กน้อย ในระดับปลายหางคิ้ว - วงกลาง อยู่ด้านข้างระดับไหล่ค่อนมาข้างหลังเล็กน้อย ทั้งตัวพระตัวนาง - วงล่าง อยู่ด้านหน้าตรงหัวเข็มขัดหรือชายพก ตัวพระวงจะเฉียงข้างเล็กน้อย - วงหน้า อยู่ด้านหน้าระดับปาก ทั้งพระและนาง - วงหงายหรือวงบัวบาน จัดเป็นวงพิเศษที่มีรูปร่างไม่เหมือนวงทั้ง 4 ดังกล่าวคือ จากวง ดังกล่าวนามาพลิกข้อมือหงายฝ่ามือขึ้นให้ปลายนิ้วชี้ออกด้านข้างหรือตกลงล่าง 2. จีบ คือ การจรดหัวแม่มือและนิ้วชี้เข้าหากันตรงข้อปลายของนิ้วชี้ นิ้วที่เหลือทั้งสามตึงและ กรีดออกให้มากที่สุด ได้แก่ จีบหงาย จีบคว่า จีบตลบหน้าหรือจีบปรกหน้า และจีบส่งหลัง - จีบหงาย คือการจีบที่หงายฝ่ามือขึ้น ให้ปลายนิ้วที่จรดกันตั้งขึ้น จีบทุ กครั้งจะต้องหัก ข้อมือเข้าลาแขนด้วย - จีบคว่า คือการจีบที่พลิกข้อมือให้ปลายนิ้วตกลงล่าง - จีบส่งหลัง คือการส่งจีบไปข้างหลัง ตั้งแขนและพยายามให้แขนที่ส่งไปข้างหลังนั้นห่าง จากลาตัว ปลายนิ้วที่จีบจะต้องชี้ขึ้นข้างบน 3. เอียงศีรษะ ศีรษะมักเอียงพร้อมกับการกดไหล่ เช่น กดไหล่ขวาก็เอียงศีรษะทางขวา เป็นต้น


22

4. ลักคอ คือ ศีรษะเอียงเป็นคนละทางกับไหล่ที่กดลง เช่น กดไหล่ขวาเอียงศีรษะข้างซ้าย เป็นต้น 5. ประเท้า คือ อาการของเท้าข้างใดข้างหนึ่ง ใช้จมูกเท้าตบพื้นเบา ๆ แล้วยกขึ้นโดยให้เท้า อีกข้างหนึ่งยืนรับน้าหนักตัว ตัวพระต้องแยกหรือแบะเข่าออกให้ได้เหลี่ยมแล้วจึงประเท้ายกขึ้นอยู่สูง ระดับกลางน่องของขาที่ยืนรับน้าหนักปลายเท้าชี้ออกด้านข้าง 6. ก้าวเท้า คือ การวางเท้าที่ยกสูงจากพื้น โดยวางส้นเท้าลงก่อนแล้วจึงตามด้วยปลายนิ้วเท้า ทิ้งน้าหนักตัวลงไปยังเท้าที่ก้าวให้หมด การก้าวเท้ามี 2 วิธี คือ ก้าวหน้าและก้าวข้าง - ก้าวหน้า หมายถึง ก้าวเท้าไปข้างหน้า ตัวพระจะต้องแบะเข่าออกให้ได้เหลี่ยมปลายเท้า ที่ก้าวจะเอียงไปด้านข้างให้ส้นเท้าหน้าอยู่ในแนวเดียวกับหัวแม่เท้าหลังห่างกันประมาณคืบครึ่งหรือ หนึ่งฟุต เปิดส้นเท้าหลัง - ก้าวข้าง หมายถึง ก้าวเท้าที่ยกลงเฉียงไปด้านข้างทิ้งน้าหนักตัวลงไปยังเท้าที่ก้าวจะเป็น ข้างซ้ายหรือข้างขวาก็ได้ ขณะที่ ลาตัวหัวตรงอยู่ด้านหน้า ตัวพระจะต้องก้าวเฉียงออกด้านข้า งให้ มากกว่าก้าวหน้า 7. กระทุ้งเท้า คือ อาการของจมูกเท้าที่อยู่ข้างหลังกระทุ้งลงกับพื้นเบา ๆ วิธีกระทุ้ง คือ เท้าหน้ายืนย่อเข่ารับน้าหนักตัว เท้าหลังเปิดส้นเท้าขึ้นให้จมูกเท้าวางอยู่บนพื้นแล้วยกขึ้นเล็กน้อยก่อน จึงจะกระทุ้ง 8. กระดกเท้า คือ อาการของเท้าข้างใดข้างหนึ่งยืนย่อเข่ารับน้าหนักตัว ถีบเข่าหรือ ส่งเข่าอีก ข้างหนึ่งไปข้างหลัง แล้วหนีบน่องให้ชิดหน้าขามากที่สุด หักข้อเท้าให้ปลายเท้าตกลงล่างการกระดก อาจสืบเนื่องมาจากการกระทุ้งก็ได้ หรือถีบเข่าขึ้นข้างหลังเลย โดยไม่ต้องกระทุ้งเท้าก่อนก็ได้ ตัวพระ เวลากระทุ้งจะต้องกันเข่าหรือเปิดเข่าให้ขากางออก ห่างจากขาที่ยืนย่อเข่ารับน้าหนักตัว 9. จรดเท้า คือ การยืนเต็มเท้าด้วยเท้าข้างใดข้างหนึ่งให้จมูกเท้าอีกข้างหนึ่งจรดพื้น ยกส้นเท้า ขึ้นเล็กน้อย โดยต้องให้เท้าที่จรดอยู่ขนานกับเท้าที่ยืนเต็มเท้า เมื่อจรดเท้าแล้วจึงหยุดท่านิ่งสักพักหนึ่ง 10. ฉายเท้า คือ การยืนเต็มเท้าด้วยเท้าใดเท้าหนึ่ง ใช้จมูกเท้าอีกข้างไสไปด้านข้าง ยกส้นขึ้น เล็กน้อย 11. ผสมเท้า คือ การยืนเต็มเท้าทั้งสองข้างให้ส้นเท้าชิดกัน ตัวพระเปิดปลายเท้าให้แยกออกจากกัน 12. เหลื่อมเท้า คือ การยืนเต็มเท้าทั้งสองข้าง โดยใช้เท้าข้างใดข้างหนึ่งอยู่ติดกั บกลางฝ่าเท้า ของอีกข้างหนึ่ง เปิดปลายเท้าทั้งสองให้แยกออกจากกัน 13. ซอยเท้า หรือขยั่นเท้า คือ การย่อตัวลง แข็งหน้าขายกเท้าซ้ายสลับกับการยกเท้าขวาถี่ ๆ การซอยเท้าสามารถปฏิบัติอยู่กับที่ หรือวิ่งเคลื่อนที่ก็ได้ 14. การตีไหล่ คือ โดยมากจะเป็นการตีไล่ออก ถ้ าตีไล่ออกข้างซ้ายจะเริ่มด้วยการเวียนศีรษะ ข้างซ้าย พร้อมกับเชียงรายขัวลงมาแล้ว ค่อย ๆ หันไหล่ขวาไปข้างหลั งประมาณ 45 องศาไม่เ กิน จากนั้น พร้อมทั้งเวียนศีรษะข้างขวาตามไปด้วยข้อสาคัญเวลาตีไรออกนั้นอย่าขัดตัวให้มากเกินไปจน เป็นการบิดตัว (หันแต่เพียงส่วนไหล่เท่านั้น) เพราะจะทาให้ลาตัวเบี้ยวและไม่สวยงาม 15. กระดกเสี้ยว คือ ยกขาข้างใดข้างหนึ่งไปข้างลาตัว ยืนด้วยขาข้างเดียวงอเข่าน้อย เอียง ศีรษะ กดตัว กดไหล่ กดเอว ข้างเดียวกับเท้า


23

กระบวนท่ำรำและกำรใช้พื้นที่ กระบวนท่าราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์ -ลิง และไม้ไผ่สีสุก มีความงดงามละเมียดละไม ตาม แบบของนาฏศิลป์ไทย โดยการแสดงมีลักษณะของกระบวนท่ารา ดังนี้ ตำรำง 7 แสดงกระบวนท่ำรำเบิกโรง ชุด กำเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก ท่ำที่ 1.

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง ปี่พำทย์ทำ เพลงวำ ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

คำอธิบำยท่ำรำ ศีรษะ : หน้าตรง มือ : มือขวาถือตรีศูล มือซ้ายวางบนหน้าขา ข้างซ้าย เท้ ำ : นั่ ง ห้ อ ยขาข้ า ง ซ้าย

2.

ร้องเพลงเห่เชิด ฉิ่ง รังสฤษฏ์เวฬุ พฤกษชาติ

ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาถือไม้ไผ่ ระดั บ วงบน มื อ ซ้ า ย จีบส่งหลัง เท้ำ: ก้าวหน้าเท้าซ้าย

3.

สัณฐานเรียว เขียวสะอาด สดใส

ศีรษะ : เอียงขวา มื อ : ปฏิบัติท่าผาลา มือขวาถือไม้ไผ่ระดับ วงบน มื อ ซ้ า ยตั้ ง วง ห ง า ย ป ล า ย นิ้ ว ต ก ระดับเอว เท้ำ: ก้าวหน้าเท้าขวา จากนั้ น ขยั่ น เท้ า มา ด้านหน้า


24

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่ 4.

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง คำอธิบำยท่ำรำ ซ้ำ ศีรษะ : เอียงซ้าย มื อ : ปฏิ บั ติ ท่ า ผาลา มื อ ขวาถื อ ไม้ ไผ่ ทิ้ ง ปลายลงระดับเอว มือ ซ้ายตั้งวงบน เท้ำ: ก้าวหน้าเท้าซ้าย จากนั้ น ขยั่ น เท้ า มา ด้านหน้า

5.

เป็นคันศร งอนงามอาไพ

ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือซ้ายและขวา จับไม้ไผ่ ขนานข้างตัว ด้านขวา เท้ ำ : ก้ า วหน้ า เท้ า ขวา พร้ อ มขยั่ น ไป ด้านซ้าย

6.

ฤทธิไกรเพียง เทพศาสตรา

ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : ปฏิบัติท่าเฉิดฉิน มือขวาถือไม้ไผ่ ร ะดับ วงหน้ า มื อ ซ้ า ยตั้ ง วง บัวบาน เท้ำ: ยกเท้าขวา


25

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่ 7.

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง

คำอธิบำยท่ำรำ

ซ้ำ

ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : ปฏิบัติท่าบัวชูฝัก มื อ ขว าถื อ ไม้ ไ ผ่ ทิ้ ง ปลายลงระดั บ ศี ร ษะ มือซ้ายตั้งวงล่าง เท้ ำ : ก้ า วหน้ า เท้ า ซ้ า ย พร้ อ มขยั่ น ไป ด้านขวา

8.

ปี่พำทย์ทำเพลง ศีรษะ : เอียงซ้าย เชิด มือ : ปฏิบัติท่าราร่าย มื อ ขว าถื อ ไม้ ไ ผ่ ทิ้ ง ปลายลงระดั บ ศี ร ษะ มือซ้ายตั้งวงหน้า เท้ำ : เหลื่อมเท้าขวา

9.

ปี่พำทย์ทำเพลง ศีรษะ : เอียงซ้าย เชิด มือ : มือขวาถือไม้ ไ ผ่ ทิ้ ง ปลายลงระดั บ วง บน มือซ้ายจีบส่งหลัง เท้ำ: วางส้นเท้าซ้าย


26

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง

คำอธิบำยท่ำรำ

10.

ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

ศีรษะ : เอียงขวา มื อ : ปฏิ บั ติ ท่ า ป้ อ ง หน้ า มื อ ขวาถื อ ไม้ ไผ่ ระดั บ วงล่ า ง มื อ ซ้ า ย ป้องหน้า เท้ำ : ก้าวข้างเท้าขวา

11.

ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : ปฏิบัติท่าบัวชูฝัก มื อ ขว าถื อ ไม้ ไ ผ่ ทิ้ ง ปลายลงระดั บ ศี ร ษะ มือซ้ายตั้งวงล่าง เท้ำ: ยกเท้าซ้าย

12.

ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

ศีรษะ : เอียงซ้าย มื อ : ปฏิ บั ติ ท่ า สอด สร้อย มือขวาถือไม้ไผ่ ระดั บ วงบน มื อ ซ้ า ย จีบหงายระดับชายพก เท้ำ : จรดเท้าขวา


27

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง

คำอธิบำยท่ำรำ

13.

ปี่พำทย์ทำเพลง ศีรษะ : เอียงขวา เชิด มื อ : ปฏิ บั ติ ท่ า บั ว ชู ฝั ก มื อ ขวาถื อ ไม้ ไ ผ่ ระดับชายพก มือซ้าย ตั้งวงบัวบาน เท้ำ : ยกเท้าขวา

14.

ปี่พำทย์ทำเพลง ศีรษะ : เอียงซ้าย เชิด มื อ : มื อ ทั้ ง สองจี บ หงายระดับชายพก เท้ ำ : จรดเท้ า ขวา จากนั้ น หมุ น ตั ว ม า ด้านขวา

15.

ปี่พำทย์ทำเพลง ศีรษะ : เอียงซ้าย ศรทนง มื อ : มื อ ทั้ ง สองพนม มือระหว่างอก เท้ำ : ก้าวข้างเท้าขวา


28

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง

คำอธิบำยท่ำรำ

16.

ปี่พำทย์ทำเพลง ศีรษะ : เอียงขวา ศรทนง มื อ : มื อ ทั้ ง สองพนม มือระหว่างอก เท้ำ : ก้าวข้างเท้าซ้าย จ า ก นั้ น ห มุ น ตั ว ด้านซ้าย

17.

ปี่พำทย์ทำเพลง ศีรษะ : เอียงซ้าย ศรทนง มื อ : มื อ ทั้ ง สองพนม มือระหว่างอก เท้ำ : ก้าวข้างเท้าขวา

18.

ปี่พำทย์ทำเพลง ศีรษะ : เอียงขวา ศรทนง มื อ : มื อ ทั้ ง สองพนม มือระหว่างอก เท้ำ : ก้าวข้างเท้าซ้าย จ า ก นั้ น ห มุ น ตั ว ด้านหน้า


29

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่ 19.

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง ร้องเพลงเห่เชิด ฉิ่ง เสร็จแล้วลอง พลังอาวุธ

20.

น้าวด้วยมกุฎ พาหา

21.

ซ้ำ

คำอธิบำยท่ำรำ ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือซ้ายจีบหงาย ระดับชายพก มือขวา ถือไม้ไผ่ระดับชายพก จากนั่นมือขวาจีบม้วน ตั้งวง เท้ ำ : เลาะเท้ า ทาง ด้ า นซ้ า ย โดยการใช้ ปลายเท้าทั้งสองย่าลง บนพื้น จังหวะ 1 2 3 จากนั้ น แตะเท้ า ขวา ขาตึง ศีรษะ : เอียงขวา มือ : ปฏิบัติท่าแผงศร มื อ ซ้ า ยถื อ ไม้ ไ ผ่ แ ขน ตึงระดับไหล่ มือขวา จีบปรกข้าง เท้ำ : ยกเท้าขวา

ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือซ้ายถือไม้ไผ่ แขนตึงระดับไหล่ มือ ขวาจี บ หงายระดั บ ชายพก เท้ำ : ก้าวข้างเท้าขวา


30

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง

คำอธิบำยท่ำรำ

22.

เกิดแสงแวววาบ ศีรษะ : เอียงซ้าย ปลาบตา มือ : มือขวาถือไม้ ไ ผ่ ระดั บ วงบน มื อ ซ้ า ย เท้ า สะเอว จากนั้ น ควงไม้ไผ่ เท้ ำ : ก้ า วหน้ า เท้ า ซ้าย จากนั้นขยั่นเท้า ไปทางด้านขวา

23.

สะท้านแต่ชั้นฟ้า ศีรษะ : เอียงซ้าย ถึงดินดอน มือ : ปฏิบัติท่าบัวชูฝัก มือขวาถือไม้ไผ่ ร ะดับ ชายพก มือซ้ายตั้งวง บัวบาน เท้ำ : ยกเท้าขวา

24.

ซ้ำ

ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาถือไม้ ไ ผ่ ระดับวงบน มือซ้ายชี้ ลงลงพื้นแขนตึงระดับ ไหล่ เท้ ำ : ก้ า วหน้ า เท้ า ซ้าย จากนั้นขยั่นเท้า หมุ น หลั ง ไปทางด้ า น ซ้าย


31

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่ 25.

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

คำอธิบำยท่ำรำ ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายจีบหงาย ระดับชายพก มือขวา ถือไม้ไผ่ระดับชายพก จากนั้นม้วนมือทั้งสอง มือซ้ายตั้งวงล่าง เท้ ำ : จรดเท้ า ขวา จากนั้ น หมุ น ตั ว ม า ด้านขวา

26.

ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

ศีรษะ : เอียงขวา มื อ : ปฏิ บั ติ ท่ า ผาลา มือขวาถือไม้ไผ่ ร ะดับ วงบน มื อ ซ้ า ยตั้ ง วง ห ง า ย ป ล า ย นิ้ ว ต ก ระดับเอว เท้ำ : กระดกเท้าซ้าย

27.

ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

ศีรษะ : เอียงซ้าย มื อ : ปฏิ บั ติ ท่ า ผาลา มือขวาถือไม้ไผ่ ร ะดับ วงบน มื อ ซ้ า ยตั้ ง วง ห ง า ย ป ล า ย นิ้ ว ต ก ระดับเอว เท้ำ : วางหลังเท้าซ้าย


32

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่ 28.

29.

30.

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง คำอธิบำยท่ำรำ ปี่พำทย์ทำ ศีรษะ : เอียงขวา เพลงเชิด มื อ : ปฏิ บั ติ ท่ า ผาลา มือขวาถือไม้ไผ่ระดับวง บน มือซ้ายตั้งวงหงาย ปลายนิ้ ว ตกระดั บ เอว จากนั้นตีไหล่เข้าออก เท้ำ : ขยั่นเท้า จากนั้น ก้ า วหน้ า เท้ า ขวาแล้ ว วางหลังเท้าซ้าย ปี่พำทย์ทำ ศีรษะ : เอียงขวา เพลงเชิด มื อ : ปฏิ บั ติ ท่ า พิ ส มั ย เรียงหมอนข้างซ้าย มือ ขวาถื อ ไม้ ไ ผ่ แ ขนตึ ง ระดับไหล่ มือซ้ายตั้งวง บน จากนั้นยักตัว แล้ว ย้อนลงท้ายจังหวะ เท้ำ : ผสมเท้า ปี่พำทย์ทำ ศีรษะ : เอียงซ้าย เพลงเชิด มือ : มือขวาถือไม้ไผ่ทิ้ง ปลายลงงอแขนระดั บ เอว มือซ้ายตั้งวงหงาย ปลายนิ้วตกระดับเอว เท้ำ : ก้าวข้างเท้า ขวา จากนั้ น ย้ อ นตั ว แล้ ว หนั ก เท้ า ขวากระดก เสี้ ย วเท้ า ซ้ า ยหมุ น ไป ทางด้านซ้าย


33

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่ 31.

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

คำอธิบำยท่ำรำ ศีรษะ : เอียงขวา มือ : ปฏิบัติท่าแผงศร มื อ ขวาถื อ ไม้ ไ ผ่ แ ขน ตึงระดับไหล่ มือซ้าย จีบปรกข้าง เท้ำ : วางหลังเท้าซ้าย

32.

ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

33.

ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

ศีรษะ : เอียงขวา มือ : ปฏิบัติท่าจีบยาว มื อ ขวาถื อ ไม้ ไ ผ่ แ ขน ตึงระดับไหล่ มือซ้าย ตั้งวงบน จากนั้นตีไหล่ เข้ า ออกสลั บ ท่ า แผง ศร เท้ ำ : ขยั่ น เท้ า แล้ ว ก้ า วหน้ า เท้ า ขวาวาง หลังเท้าซ้าย ศีรษะ : เอียงขวา มือ : ปฏิบัติท่าสอดสูง ด้านขวา มือขวาถือไม้ ไผ่ ทิ้ ง ปลายลงระดั บ ศี ร ษะ มื อ ซ้ า ยตั้ ง วง แขนตึงระดับไหล่ เท้ำ : จรดเท้าซ้าย


34

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง

คำอธิบำยท่ำรำ

34.

ปี่พำทย์ทำเพลง ศีรษะ : เอียงซ้าย เชิด มือ : ปฏิบัติท่าดึงจี บ ด้านซ้าย มือขวาถือไม้ ไผ่ระดับศีรษะ มือซ้าย ดึ ง จี บ แขนตึ ง ระดั บ ไหล่ ปฏิบัติสลับมือ เท้ ำ : จรดเท้ า ขวา จากนั้นวิ่งขึ้นลง

35.

ปี่พำทย์ทำเพลง ศีรษะ : เอียงขวา ศรพระลักษมณ์ มือ : ปฏิบัติท่าโก่งศร มื อ ขวาตั้ ง วงบน มื อ ซ้ า ยถื อ ไม้ ไ ผ่ ใ ห้ ช่ ว ง โคนขัดกับขาขวาที่ยก ช่ ว ง ป ล า ย ขั ด กั บ แขนขวา จากนั้นเยื้อง ตัวตามจังหวะเพลง เท้ำ : ยกเท้าขวา ปี่พำทย์ทำเพลง ศีรษะ : เอียงซ้าย ศรพระลักษมณ์ มือ : ปฏิบัติท่าโก่งศร มื อ ซ้ า ยตั้ ง วงบน มื อ ขวาถื อ ไม้ ไ ผ่ ใ ห้ ช่ ว ง โคนขัดกับขาซ้ายที่ยก ช่ ว งปลายขั ด กั บแขน ซ้ า ย จากนั้ น เยื้ อ งตั ว ตามจังหวะเพลง เท้ำ : ยกเท้าซ้าย

36.


35

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่ 37.

38.

39.

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง

คำอธิบำยท่ำรำ

ร้องเพลงเห่ เชิดฉิ่ง เดชะอานาจ สุรารักษ์

ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : ปฏิบัติท่าเฉิดฉิน มือขวาถือไม้ไผ่ ร ะดับ วงหน้ า มื อ ซ้ า ยตั้ ง วง บัวบาน เท้ำ : ยกเท้าขวา

สิทธิศักดิ์ไม่มีที่ ศีรษะ : เอียงขวา ย่อหย่อน มื อ : : ปฏิ บั ติ ท่ า เฉิ ด ฉิน มือขวาถือไม้ไผ่ทิ้ง ปลายลงระดั บ ศี ร ษะ มือซ้ายตั้งวงหน้า เท้ำ : ยกเท้าซ้าย

คันศรหักยับ

ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือทั้งสองกามือ คว่าลงระดับเอว เท้ำ : ก้าวข้างเท้าซ้าย


36

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่ 40.

41.

42.

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง

คำอธิบำยท่ำรำ

ลงกับกร

ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือทั้งสองกามือ แยกออกจากกันระดับ เอว เท้ ำ : ถอนเท้ า ขวา แตะเท้าซ้ายขาตึง

เป็นสองท่อน ศีรษะ : เอียงซ้าย ด้วยอานาจเทวา มือ : มือขวาถือ ไม้ ไ ผ่ ระดั บ ศี ร ษะ มื อ ซ้ า ย จีบส่งหลัง เท้ ำ : ก้ า วหน้ า เท้ า ขวาแตะเท้าซ้าย

ซ้ำ

ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาถือ ไม้ ไ ผ่ ระดั บ ศี ร ษะ มื อ ซ้ า ย จีบส่งหลัง เท้ ำ : ก้ า วหน้ า เท้ า ขวา จากนั้นขยั่นเท้ า ขึ้นด้านหน้า


37

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่ 43.

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

44.

ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

45.

ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

คำอธิบำยท่ำรำ ศีรษะ : เอียงซ้าย มื อ : มื อ ทั้ ง สองจี บ ค ว่ า ร ะ ดั บ ช า ย พ ก จากนั้นพลิกมือทั้งสอง เป็ น จี บ หงายระดั บ ชายพก เท้ ำ : จรดเท้ า ขวา จากนั้นขยั่นเท้ า หมุ น มาข้างหน้า ศีรษะ : หน้าตรง มือ : มือทั้งสองตั้งวง กลาง จากนั้ น ตี ไ หล่ เข้าออก เท้ำ : กระดกเท้าซ้าย จากนั้นห่มจังหวะเข่า ตามจังหวะฉิ่ง ศีรษะ : เอียงขวา มื อ : ปฏิ บั ติ ท่ า โก่ ง ศิ ลป์ มื อขวาถื อไม้ ไผ่ ระดับชายพก มือซ้ าย จี บคว่ าแขนตึ ง ระดั บ ไหล่ จากนั้นตีไหล่ เข้า ออก เท้ำ : กระดกเสี้ยวเท้า ขวา จากนั้นห่มจังหวะ เข่าตามจังหวะฉิ่ง


38

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่ 46.

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

47.

ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

48.

ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

คำอธิบำยท่ำรำ ศีรษะ : เอียงซ้าย มื อ : ปฏิ บั ติ ท่ า โก่ ง ศิล ป์ มือขวาถือไม้ ไ ผ่ ทิ้ ง ปลายลงแขนตึ ง ระดับไหล่ มือซ้ายตั้ง วงล่ า ง จากนั้ น ตี ไ หล่ เข้าออก เท้ำ : กระดกเสี้ยวเท้า ซ้ า ย จ า ก นั้ น ห่ ม จังหวะเข่าตามจังหวะ ฉิ่ง ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : ปฏิบัติท่ากังหั น ร่ อ น มื อ ขวาถื อ ไม้ ไ ผ่ หั ก ข้ อ มื อ เข้ า หาตั ว แขนตึงระดับไหล่ มือ ซ้ า ย ตั้ ง ว ง แ ข น ตึ ง ระดับไหล่ เท้ำ : จรดเท้าขวาวิ่ง ขึ้นลง ศีรษะ : เอียงขวา มือ : ปฏิบัติท่ากังหัน ร่ อ น มื อ ขวาถื อ ไม้ ไ ผ่ แขนตึงระดับไหล่ มือ ซ้ า ยจี บ หงายแขนตึ ง ระดับไหล่ เท้ำ : จรดเท้าซ้ายขึ้น ลง จากนั้นขยั่นเท้าไป ทางด้านขวา


39

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง

คำอธิบำยท่ำรำ

49.

ปี่พำทย์ทำเพลง ศีรษะ : เอียงซ้าย ศรสำเร็จ มือ : ปฏิบัติท่าแผงศร มื อ ซ้ า ยถื อ ไม้ ไ ผ่ แ ขน ตึงระดับไหล่ มือขวา จีบปรกข้าง เท้ำ : กระดกเท้าซ้าย จากนั้นหมุนตัวไปทาง ด้านซ้าย

51.

ปี่พำทย์ทำเพลง ศีรษะ : เอียงขวา ศรสำเร็จ มือ : ปฏิบัติท่าแผงศร มื อ ซ้ า ยถื อ ไม้ ไ ผ่ แ ขน ตึงระดับไหล่ มือขวา จีบปรกข้าง เท้ำ : กระดกเท้าขวา จากนั้นหมุนตัวไปทาง ด้านซ้าย

52.

ปี่พำทย์ทำเพลง ศีรษะ : เอียงซ้าย ศรสำเร็จ มือ : ปฏิบัติท่าแผงศร มื อ ซ้ า ยถื อ ไม้ ไ ผ่ แ ขน ตึงระดับไหล่ มือขวา จีบปรกข้าง เท้ำ : กระดกเท้าซ้าย จากนั้นหมุนตัวไปทาง ด้านซ้าย


40

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง

คำอธิบำยท่ำรำ

53.

ปี่พำทย์ ทำเพลง ศรสำเร็จ

ศีรษะ : เอียงขวา มื อ : ปฏิ บั ติ ท่ า แผง ศร มื อ ซ้ า ยถื อ ไม้ ไ ผ่ แขนตึงระดับไหล่ มือ ขวาจีบปรกข้าง เท้ำ: กระดกเท้าขวา จากนั้ น หมุ น ตั ว ไป ทางด้านซ้าย

54.

ปี่พำทย์ ทำเพลง ศรสำเร็จ

ศีรษะ : เอียงขวา มือ : ปฏิบัติท่าแผลง ศร มื อ ซ้ า ยถื อ ไม้ ไ ผ่ แขนตึงระดับไหล่ มือ ขวาจีบปรกข้าง เท้ำ : ผสมเท้า

55.

ปี่พำทย์ทำ เพลงรัว

ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาถือไม้ไผ่ ทิ้ ง ปลายลงขอแขน ระดั บ อก มื อ ซ้ า ยตั้ ง วงขอแขนระดับอก เท้ำ : ก้าวข้างเท้าขวา


41

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง

คำอธิบำยท่ำรำ

56.

ปี่พำทย์ทำ เพลงรัว

ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือขวาถือไม้ ไ ผ่ ระดั บ วงบน มื อ ซ้ า ย จีบส่งหลัง เท้ำ : ยืนแตะเท้าซ้าย

57.

ร้องร่ำย ทรงขว้างไม้ไผ่ ท่อนปลาย

ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : มือซ้ายถือไม้ไผ่ ท าท่ า ขว้ า งไปทาง ด้ า นขวา มื อ ซ้ า ยเท้ า สะเอว เท้ำ : ก้าวข้างเท้าขวา

58.

กลายเป็นวานร ศีรษะ : เอียงซ้าย มื อ : โกยมื อ ทั้ ง สอง ขึ้นระดับศีรษะ เท้ำ : ยืนแตะเท้าขวา ขาตึง


42

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่ 59.

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง

คำอธิบำยท่ำรำ

เก่งกล้า

ศีรษะ : เอียงขวา มือ : ปฏิบัติท่าเฉิดฉิน มือซ้ายถือไม้ไผ่ระดับ วงหน้ า มื อ ขวาตั้ ง วง บัวบาน เท้ำ : ยืนแตะเท้าซ้าย ขาตึง

60.

ท่อนโคนขว้างไป ศีรษะ : เอียงขวา ในพริบตา มือ : มือขวาถือไม้ไ ผ่ ทาท่าขว้างไปทางซ้าย มือซ้ายเท้าสะเอว เท้ำ : ก้าวข้างเท้าซ้าย

61.

กลายเป็นอสุรา ศีรษะ : เอียงขวา มื อ : โกยมื อ ทั้ ง สอง ขึ้นระดับศีรษะ เท้ำ : ยืนแตะเท้าซ้าย ขาตึง


43

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่ 62.

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง

คำอธิบำยท่ำรำ

ฤทธี

ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : ปฏิบัติท่าเฉิดฉิน มือขวาถือไม้ไผ่ ร ะดับ วงหน้ า มื อ ซ้ า ยตั้ ง วง บัวบาน เท้ำ : ยืนแตะเท้าขวา ขาตึง

63.

ปี่พำทย์ทำเพลง ศีรษะ : เอียงซ้าย รัวสำมลำ มือ : ใช้หัวแม่มือขวา หักไม้ไผ่ระดับวงหน้า มือซ้ายเท้าสะเอว เท้ำ : ยืนแตะเท้าซ้าย ขำตึง

64.

ปี่พำทย์ทำเพลง ศีรษะ : เอียงขวา รัวสำมลำ มื อ : มื อ ขวาถื อ ท่ อ น โคน มื อ ซ้ า ยถื อ ท่ อ น ปลาย เท้ำ : ยืนแตะเท้าขวา ขาตึง


44

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง

คำอธิบำยท่ำรำ

65.

ปี่พำทย์ ทำเพลง รัวสำมลำ

ศีรษะ : เอียงซ้าย มื อ : มือซ้ายขว้ า งไม้ ไผ่ ไ ปทาง ด้ า น ข ว า จากนั้นเท้าสะเอว มือ ขวาจั บ ไม้ ไ ผ่ ร ะดั บวง ล่าง เท้ำ : ยืนแตะเท้าขวา ขาตึง

66.

ปี่พำทย์ ทำเพลง รัวสำมลำ

ศีรษะ : เอียงขวา มื อ : มื อ ขวาขว้ า งไม้ ไผ่ ไ ปทางด้ า นซ้ า ย จากนั้นเท้าสะเอว มือ ขวาวงมือไว้ที่ห น้าขา ซ้าย เท้ำ : ยืนแตะเท้าซ้าย ขาตึง

67.

ปี่พำทย์ ทำเพลง รัวสำมลำ

ศีรษะ : เอียงซ้าย มือ : ปฏิบัติท่ายิ้ม มือ ซ้ า ยจี บ กรี ด นิ้ ว ระดั บ ป า ก มื อ ข ว า เ ท้ า สะเอว เท้ำ : ยืนแตะเท้าขวา ขาตึง


45

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง

คำอธิบำยท่ำรำ

68.

ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

ศีรษะ : หน้าตรง มื อ : มื อ ซ้ า ยจี บ ส่ ง หลั ง มือขวาตั้งวงบน เท้ ำ : นั่ ง ห้ อ ยขาข้ า ง ซ้าย

69.

ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

ศีรษะ : หน้าตรง มือ : มือขวาถือตรีศูล มือซ้ายวางบนหน้าขา ข้างซ้าย เท้ ำ : นั่ ง ห้ อ ยขาข้ า ง ซ้าย

70.

ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาถือตรีศูล ระดั บ วงบน มื อ ซ้ า ย จีบส่งหลัง เท้ ำ : ก้ า วหน้ า เท้ า ซ้าย


46

ตำรำง 7 (ต่อ) ท่ำที่ 71.

ท่ำรำ

ทำนอง/เพลง ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

72.

ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

73.

ปี่พำทย์ทำ เพลงเชิด

คำอธิบำยท่ำรำ ศีรษะ : เอียงซ้าย มื อ : ปฏิ บั ติ ท่ า สอด สร้อยมาลา มือขวาถือ ตรีศูลระดับวงบน มือ ซ้ า ยจี บ หงายระดั บ ชายพก เท้ำ : ก้าวข้างเท้าขวา จ า ก นั้ น ห มุ น ม า ทางด้านหน้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : มือขวาถือตรีศูล ระดั บ วงบน มื อ ซ้ า ย ตั้ ง วงแขนตึ ง ระดั บ ไหล่ จากนั้ น ย้ อ นตั ว ตามจังหวะ เท้ำ : ผสมเท้า ศีรษะ : เอียงขวา มือ : ปฏิบัติท่าชักแป้ง ผัดหน้า มือขวาถือตรี ศู ล ระดั บ วงบน มื อ ซ้ายตั้งวงหน้า เท้ำ : ก้าวข้างเท้าขวา จากนั้นวิ่งซอยเท้าเข้า เวทีด้านขวา


47

กลวิธีในกำรรำ ราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุ ก เป็นการแสดงหนึ่งที่ปรากฏอยู่ในการแสดง ร าเบิ ก โรง ซึ่ ง เป็ น การอวดฝี มื อ การร่ า ยร าของพระอิ ศ วรที่ มี ลั ก ษณะเฉพาะของโขนพระ ที่มีการผสมผสานกันระหว่างกระบวนท่าราเชิดฉิ่งและการตีบท จึงมีกระบวนท่าราที่มีความเข้มแข็ง สง่าและงดงาม กลการราในแบบฉบับของอาจารย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน ประกอบไปด้วยการใช้ลีลาแบบ การแสดงโขน ที่มีลักษณะระดับวงบนและการก้าวเท้าที่กว้างกว่า การราละคร มีการใช้ จังหวะเข่า ซึ่งถือเป็ น ลี ล าท่าเฉพาะ ต้องใช้พละกาลั งเป็นอย่า งสู ง เนื่องจากการแสดงชุดนี้มีระยะเวลานาน ประกอบกับเครื่ องแต่งกายที่มีน้าหนักมาก ผู้แสดงจะต้องใช้จังหวะเข่าให้สัมพันธ์กันกับจังหวะฉิ่ง และการฝึ ก ปฏิ บั ติ ใ ห้ บุ ค ลิ ก เข้ า กั บ ตั ว ละครคื อ พระอิ ศ วรจะต้ อ งมี บุ ค ลิ ก ความสง่ า งาม องอาจ ดูมีความน่ าเกรงขาม กลวิธีในอย่ างสุ ดท้ายคือ การบริห ารท่า ให้พอดี กับดนตรี เนื่ องจากเป็นการ ใช้ดนตรีแบบบันทึกเสียง


48

บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ จากการศึกษาราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์ -ลิง และไม้ไผ่สีสุก ผู้ศึกษาได้รวบรวมองค์ความรู้ที่ ได้รับการถ่ายทอดกระบวนท่าราจากอาจารย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน นาฏศิลปินอาวุโส สานักการสังคีต กรมศิ ล ปากร ซึ่ ง ท่ า นได้ ค วามเมตตากรุ ณ าถ่ า ยทอดกระบวนท่ า ร าเบิ ก โรง ชุ ด ก าเนิ ด ยั ก ษ์ -ลิ ง และไม้ไผ่สีสุก สามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้ บทสรุป การแสดงราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก เป็นตานานการกาเนิดยักษ์-ลิง ทีเ่ ป็น ตัวละครบางตัวในเรื่องรามเกียรติ์ คือ เวรัมภะอสูรและชามภู วราช และตานานการเกิด ไม้ไผ่ สี สุ ก แทรกอยู่ภายในเนื้อเรื่องรามเกียรติ์ ที่มีคติคาสอนและแง่คิดในด้านต่าง ๆ โดยกรมศิลปากรได้นามา เป็นการแสดงราเบิกโรง แสดงครั้งแรกในรายการศรีสุขนาฏกรรม ประพันธ์บทโดยอาจารย์เสรี หวังในธรรม ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ศิลปะการละคร) ประจาปี พ.ศ. 2531 เนื้อเรื่องย่อกล่าวถึงพระฤาษีสุขวัฒนะได้บาเพ็ญพรตอยู่ ณ เขาพระสุเมรุ และได้มีต้นไผ่ต้น หนึ่งเกิดขึ้นกลางกองไฟ พระฤาษีสุขวัฒนะจึงได้นาไม้ไผ่มาถวายแก่พระอิศวร พระอิศวรจึงนาไม้ไผ่นั้น มาทาเป็นคันศร แต่เมื่อลองน้าว คันศรไม้ไผ่ก็หักเป็น สองท่อน พระอิศวรทิ้งท่อนปลายบังเกิดเป็นลิง คือชามภูวราช และทิ้งท่อนต้นเกิดเป็นยักษ์คือเวรัมภะอสูรและพระอิศวรได้ให้นามไม้ไผ่อันเป็นมงคลนี้ ว่า ไม้ไผ่สีสุก เพลงประกอบการแสดง ประกอบไปด้วยเพลงวา จากนั้นร้องเพลงเห่เชิดฉิ่ง สลับกับปี่พาทย์ ท าเพลงเชิ ด ฉิ่ ง ศรทนง เชิ ด ฉิ่ ง ศรพระลั ก ษณ์ เชิ ด ฉิ่ ง ศรส าเร็ จ ตามล าดั บ ต่ อ ด้ ว ยการร้ อ งร่ า ย ในตอนท้ายปี่พาทย์ทาเพลงรัวสามลา และจบลงด้วยเพลงเชิด โดยวงดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบการ แสดงคือ วงปี่พาทย์เครื่องห้าประเภทไม้แข็ง การแต่งกายราเบิกโรงชุดกาเนิดยักษ์ -ลิง และไม้ไผ่สีสุก สมมุติเป็นพระอิศวร แต่งกายด้วย ชุดยืนเครื่องพระแขนยาว สีขาวขลิบเหลือง สวมชฎายอดน้าเต้า และสวมเสื้อ (ฉลององค์) ซึ่งเป็นแบบ แผนมาตั้งแต่โบราณว่าพระอิศวรนั่นมีพระวรกายสีขาว


49

การแต่งหน้า ลักษณะของการแต่งหน้าพระอิศวร เป็นลักษณะของการแต่งหน้าแบบละคร ไทย โดยการผัดหน้า เขียนคิ้วให้มีลักษณะโก่งสีดา ทาปากสีแดงสด เขียนขอบตาให้มีความเข็ม และมี เครื่ องหมายทรงช่อกนกทาจากปะเก็นติด ที่ห น้าผาก เป็นสั ญลั กษณ์ แทนตาที่ส ามของพระอิ ศ วร กลวิธีการราเบิกโรงชุดกาเนิดยักษ์ -ลิงและไม้ไผ่สีสุก เป็นการผสมผสานกันระหว่างกระบวนท่า ราเชิดฉิ่งและการตีบท จึงมีกระบวนท่าราที่มีความเข้มแข็ง สง่า และงดงาม กลวิธีการราในแบบฉบับ ของอาจารย์ฉันทวัฒน์ ชูแหวน ประกอบไปด้วยการใช้ลีลาแบบการแสดงโขน ที่มีลักษณะระดับวงบน และการก้าวเท้าที่กว้างกว่าการราละคร มีการใช้จังหวะเข่าซึ่งถือเป็นลีลาท่าเฉพาะ ต้องใช้พละกาลัง เป็นอย่างสูง ผู้แสดงจะต้องใช้จังหวะเข่าให้สัมพันธ์กันกับจังหวะฉิ่ง และการฝึกปฏิบัติให้บุคลิกเข้ากับ ตัวละครคือพระอิศวรจะต้องมีบุคลิกความสง่างาม องอาจ ดูมีความน่าเกรงขาม กลวิธีในอย่างสุดท้าย คือ การบริหารท่าให้พอดีกับดนตรี เนื่องจากเป็นการใช้ดนตรีแบบบันทึกเสียง ข้อเสนอแนะ 1. ผู้ที่สนใจศึกษาการรา ราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์ -ลิง และไม้ไผ่สีสุก ควรฝึกพลังกาลังขา ให้แข็งแรง 2. ในกรณีที่ใช้แผ่ น บั น ทึกเสี ยงควรฝึ กซ้ อมสม่าเสมอ เพื่อให้ ท่าราและจังหวะของเพลง สอดคล้องกัน 3. ควรศึกษากลวิธีการรา ราเบิกโรง ชุด กาเนิดยักษ์ -ลิง และไม้ไผ่สีสุก ในรูปแบบอาจารย์ ท่านอื่น ๆ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่


50

บรรณำนุกรม


51

บรรณำนุกรม กรมวิชาการ. (2545). ดนตรีวิถีไทย. กรุงเทพฯ. กรมศิลปากร. (2498). บทละคอน เรื่อง รำมเกียรติ์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์วัฒนาพานิช. กรมศิลปากร. (2552). บทละครเบิกโรง ชุด กำเนิดยักษ์-ลิง และไม้ไผ่สีสุก. จัดแสดงเนื่องในรายการ ศรีสุขนาฏกรรม ประจาปี 2552 ปีที่ 31 ครั้งที่ 1 วันศุกร์ที่ 30 มกราคม 2552 เวลา 17.00 น. ณ หอวชิร าวุธ านุ ส รณ์ และ วันเสาร์ที่ 7 กุมภาพันธ์ 2552 เวลา 14.00 น. ณ โรงละคร แห่งชาติภาคตะวันตก จังหวัดสุพรรณบุรี. ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์. (2542). สำรำนุกรมเพลงไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์. ประภาศรี ศรีประดิษฐ์. (2548). เอกสำรประกอบกำรสอน 202213 นำฏศิลป์ ไทยตั ว พระ 3. คณะ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. พระบาทสมเด็จ พระรามาธิบดี ศรีสินทร มหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว . (2484). บ่อเกิด รำมเกียรติ์. กรุงเทพฯ: ประจักษ์วิทยา.


52

ภาคผนวก


53

เข้าพบอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา วันที่ 11 กรกฎาคม 2561 ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561

เข้าพบอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา วันที่ 11 กรกฎาคม 2561 ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561


54

เข้าพบอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา วันที่ 2 สิงหาคม 2561 ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561

เข้าพบอาจารย์ผู้ถ่ายทอดท่ารา วันที่ 2 สิงหาคม 2561 ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561


55

การสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย วันที่ 31 สิงหาคม 2561 ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561

การสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย วันที่ 31 สิงหาคม 2561 ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561


56

ชฎายอดนาเต้า ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561

ฉลององค์แขนยาว หรือเสือแขนยาว ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561


57

สนับเพลา หรือกางเกง ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561

ภูษา หรือผ้ายก ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561


58

ห้อยหน้า ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561

ห้อยข้าง ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561


59

รัดสะเอว ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561

อินทรธนู ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561


60

กรองคอ ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561

ผ้าลายเสือ ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561


61

ทับทรวง ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561

พาหุรัดรูปนาค ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561


62

ประคาคอ ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561

สังวาลนาค ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561


63

ลูกไม้ปลายมือ ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561

ปะวะหล่า ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561


64

แหวนรอบข้อมือ ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561

ทองกร หรือกาไลแผง ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561


65

เข็มขัด ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561

กาไลข้อเท้า ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561


66

แหวนรอบข้อเท้า ที่มา: ธวัชชัย สาริการินทร์, 2561


67

ประวัติผู้วิจัย


68

ประวัติผู้วิจัย ชื่อ – ชื่อสกุล วัน เดือน ปี เกิด ที่อยู่ปัจจุบัน ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2558

ธวัชชัย สาริการินทร์ 22 มีนาคม 2540 78 ม.3 ตาบลริมสีม่วง อาเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ 67270 นิสิตชั้นปีที่ 4 สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.