อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล

Page 1

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุดพระเจ้าปดุงตรวจพล

นายธีรพัฒน์ ทองฟัก

อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทยฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2561


อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด “พระเจ้าปดุงตรวจพล” ของ นายธีรพัฒน์ทองฟัก ได้รับการพิจารณาให้นับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต (นาฏศิลป์ไทย) คณะกรรมการอาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ...................................................................................................................อาจารย์ที่ปรึกษา (ดร.รุ่งนภา ฉิมพุฒ) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์รัชดาพร สุคโต) ...................................................................................................................กรรมการ (ดร.จิตติมา นาคีเภท) ...................................................................................................................กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประภาศรี ศรีประดิษฐ์) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์อุบลวรรณ โตอวยพร) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์ภูริตา เรืองจิรยศ) ...................................................................................................................กรรมการ (อาจารย์วรวิทย์ ทองเนื้ออ่อน) อนุมัติ


............................................................ .... (ดร.จิตติมา นาคีเภท) หัวหน้าภาควิชาศิลปะการแสดง


ประกาศคุณปู การ การสอบราเดี่ย วมาตรฐาน เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชา อาศรมศึกษา ซึ่งได้ สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี เนื่องจากได้รับความช่วยเหลือเป็นอย่างดีจาก ดร.ชวลิต สุนทรานนท์ และ นางสาวอภิญญา ชานิ ที่ได้ถ่ายทอดท่ารา ลีลา อารมณ์ ราเดี่ยวชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ขอขอบคุ ณ ดร.รุ่ ง นภาฉิ ม พุ ฒ ในการให้ ค าปรึ ก ษา การแนะนา ตรวจแก้ ไ ข ให้ ข้อเสนอแนะ ช่วยแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และติดตามความก้าวหน้าของการฝึกซ้อมราเดี่ยว ขอขอบคุณ ครอบครั วที่คอยให้ กาลั งใจ และสนับ สนุนการศึกษามาโดยตลอด และ ขอบคุณเพื่อนๆ น้องๆ พี่ๆ คุณครูในสาขาวิช า นาฏศิ ล ป์ไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร ที่คอยช่วยเหลือการเรียน และคอยให้กาลังใจ จึงขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ ธีรพัฒน์ ทองฟัก


สารบัญ บทที่

หน้า

1 บทนา…………………………………………………………................................….……...….. ความสาคัญของการถ่ายทอดท่ารา....……………………….........…………….......……… วัตถุประสงค์......................................………………….........…………….......………….. วิธีดาเนินงาน.....................................……………………….........…………....…...…… ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ................……………………….........…………….......………

1 1 1 2 2

2 ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา.......................................................................................... ประวัติส่วนตัวดร.ชวลิต สุนทรานนท์………………….........………....…………...……… ประวัติการศึกษาดร.ชวลิต สุนทรานนท์......……………….........……………...………… ประวัติการทางานดร.ชวลิต สุนทรานนท์…………….........………………………………. ผลงานทางด้านวิชาการและการแสดงดร.ชวลิต สุนทรานนท์....…………..………… ประวัติส่วนตัวนางสาวอภิญญา ชานิ………………….........………....…………...…..... ประวัติการศึกษานางสาวอภิญญา ชานิ......……………….........……………...…….... ประวัติการทางานนางสาวอภิญญา ชานิ…………….........…………………………..... ผลงานทางด้านวิชาการและการแสดงนางสาวอภิญญา ชานิ....…………..……….. ประวัติการสืบทอดและการถ่ายทอดท่ารา……………..……….........………...…………. แผนผังการสืบทอดและถ่ายทอดท่ารา.……………………….........…………....……...….

3 3

3 วิธีดาเนินการสืบทอดและฝึกหัด............................................................................. ขั้นตอนในการสืบทอดและฝึกหัด.......……………………….........………….……..……… ระยะเวลาและสถานที่การสืบทอดและฝึกหัด...........….........…………….......……… อุปกรณ์ในการสืบทอดและฝึกหัด......……………………….........……………....…...…… พัฒนาการในการสืบทอดและฝึกหัด.……………………….........……………....……...…

10 10 10 11 11

4

4 4 6 7 7 7 7 8


สารบัญ (ต่อ) บทที่

หน้า

4 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล….....……………....………… 12 ประวัติความเป็นมาของการแสดง………………..……….........……………....…………… 12 เรื่องย่อของการแสดง……………………...................….........…………..…....…………… 12 ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง……………………….........…………….............…………… 14 เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า……………………….........…………….........…………… 14 นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง……………………….........……………................…………… 15 กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่………………………................……………....…………… 19 กลวิธีในการรา................................……………………….........……………....………… 33 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ....................................................................................... 34 บทสรุป................................……………………......………….....................…….………. 35 ข้อเสนอแนะ………………………………........................……....…………………....………. 36 บรรณานุกรม........................................................................................................................

37

ภาคผนวก………………………....……………………………………….………………...............................

39

ประวัติผู้วิจัย………………………………………………………….……………........................................

42


สารบัญตาราง ตาราง 1 2 3 4

หน้า วิธีดาเนินงาน………………………………....…......…...………………………………………… ผลงานของ ดร.ชวลิต สุนทรานนท์…………………………………….........…………...... ระยะเวลาและสถานที่สืบทอดและฝึกหัด………………………………....…..…………..... กระบวนท่าราเดี่ยว ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล…………………………....….........……....

2 4 10 19


สารบัญภาพ ภาพ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

หน้า ดร.ชวลิต สุนทรานนท์……………………………………....……………........... นางสาวอภิญญา ชานิ……………………………………....……………........... การสอบราเดี่ยวชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล…………………………...………….............. เครื่องแต่งกายพระเจ้าปดุงตรวจพล………………………………....……………........... การแต่งหน้าพระเจ้าปดุงตรวจพล……………………………………....……………........... บรรยากาศการแสดงบนเวที วันซ้อมใหญ่………………………....…….……….......... บรรยากาศการแสดงบนเวที วันซ้อมใหญ่…………………………....………….............. บรรยากาศการแสดงบนเวที วันจริง………………………………....………….............. บรรยากาศการแสดงบนเวที วันจริง………………………………....………….............. ภาพรวมชุดการแสดงราเดี่ยว……………………………………....………….............. บรรยากาศการเสนอแนะจากกรรมการ……………………………....…………..............

3 6 7 14 15 31 31 32 32 33 33


บทที่ 1 บทนำ ควำมสำคัญของกำรถ่ำยทอดท่ำรำ ศิลปะกำรฟ้อนรำหรือควำมรู้แบบแผนของกำรฟ้อนรำเป็นสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้นด้วย ควำมประณีตงดงำม ได้ควำมบันเทิง อันโน้มน้ำว อำรมณ์และควำมรู้สึกของผู้รับชมให้คล้อยตำม ศิลปะประเภทนี้ต้องอำศัย บรรเลงดนตรี และกำรขับร้องเข้ำ ร่วมด้วยเพื่อส่งเสริม ให้เกิดคุณค่ำ ยิ่งขึ้ น หรือ เรียกว่ำศิลปะของกำรรำทำเพลง กำรศึกษำนำฏศิลป์ เป็นกำรศึกษำวัฒนธรรม ขนบธรรมเนีย มแขนงหนึ่ง นำฏศิ ล ป์ เป็ นส่ว นหนึ่ ง ของศิ ล ปะสำขำหนึ่ งของวิ จิต รศิล ป์ อั น ประกอบด้วย จิตรกรรม สถำปัตยกรรม วรรณคดี ดนตรีและนำฏศิลป์ นอกจำกจะแสดงควำม เป็นอำรยธรรมของประเทศแล้วยังเป็นเสมือนแหล่งรวมศิลปะและกำรแสดงหลำยรู ปแบบเข้ ำ ด้วยกัน โดยมีม นุษย์เ ป็ นศูนย์ กลำงในกำรที่จะสร้ำ งสรรค์ อนุรักษ์และถ่ำ ยทอดสืบไป (สุจิตต์ วงษ์เทศ , 2532,หน้ำ 15. ) นำฏศิลป์ไทย เป็นศิลปวัฒนธรรมที่แสดงถึงควำมเป็นไทย ที่มีมำตั้งแต่ช้ำนำน และได้รับ อิทธิพลแบบแผนตำมแนวคิดจำกต่ำ งชำติเข้ ำมำผสมผสำน และนำมำปรั บปรุงเป็นเอกลักษณ์ ประจำชำติไทย กำรแสดงนำฏศิลป์ไทยเป็นกำรแสดงที่มีควำมวิจิตรงดงำม ทั้งเสื้อผ้ำกำรแต่งกำย ลีล ำท่ำ รำดนตรีประกอบและบทร้ อง นอกจำกนี้กำรแสดงนำฏศิล ป์ไ ทยยั งเกิดจำกกำรละเล่น พื้นบ้ำน วิถีชีวิตของชำวไทยในแต่ละภูมิภำค ( ชวลิต สุนทรำนนท์,2550,หน้ำ147. ) กำรสอบรำเดี่ย วมำตรฐำนทำงด้ำ นนำฏศิลป์ไทย เป็นส่วนหนึ่งของกำรประเมินองค์ ควำมรู้ ควำมสำมำรถที่ไ ด้ศึกษำมำตลอดระยะเวลำ 4 ปี ตำมหลั กสูตรศิลปศำสตรบัณฑิต สำขำนำฏศิลป์ไทย ภำควิชำศิลปะกำรแสดง คณะมนุษยศำสตร์ มหำวิทยำลัยนเรศวร เพื่อ เพิ่มพูนควำมรู้ควำมสำมำรถในกำรรำให้ถูกต้องตำมแบบแผน จึงได้จัดให้มีกำรเรียนกำรสอนใน รำยวิชำ อำศรมศึกษำ เพื่อคงไว้ซึ่งรูปแบบกำรเรียนกำรสอนที่มีมำแต่โบรำณ ประกอบกับเพื่อ รวบรวมควำมรู้ควำมสำมำรถจำกผู้ทรงคุณวุฒิทำงด้ำนนำฏศิลป์ไทยคือ ดร.ชวลิต สุนทรำนนท์ และนำงสำวอภิญญำ ชำนิ เป็นผู้ถ่ำยทอดท่ำรำ ชุด พระเจ้ำปดุงตรวจพล เพื่อทำกำรศึกษำและ บันทึกท่ำรำไว้เป็นลำยลักษณ์อักษร เพื่อที่จะเป็นประโยชน์ทำงกำรศึกษำทำงด้ำนนำฏศิลป์สืบไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อประมวลองค์ควำมรู้ทำงด้ำนนำฏศิลป์ไทยจำกผู้ทรงคุณวุฒิทำงด้ำนนำฏศิลป์ไทย


2

2. เพื่อรับกำรถ่ำ ยทอดและฝึกฝนท่ำ รำตำมแนวทำง และวิธีกำรเรีย นกำรสอนของ ผู้ทรงคุณวุฒิ 3. เพื่อเรียนรู้กลวิธี บทบำท และลีลำ ท่ำรำ ซึ่งมีควำมแตกต่ำงกันในแต่ละเพลงแต่ ละสำย ( ทำง ) ของครูผู้สอนที่ได้รับกำรถ่ำยทอดมำ 4. เพื่อศึกษำข้อมูลและบันทึกข้อมูลที่เป็นประโยชน์ เพื่อนำมำเป็นแนวทำงในกำรเรียน กำรสอนและกำรศึกษำทำงด้ำนนำฏศิลป์ไทย วิธีดำเนินงำน ตำรำงที่ 1 วิธีดำเนินงำน ระยะเวลำดำเนินงำน ( พ.ศ.2561 ) วิธีดำเนินงำน

พฤษภำคม มิถุนำยน

กรกฎำคม

สิงหำคม

1.ศึกษำข้ อมูล รำเดี่ยวชุ ด พระเจ้ำปดุงตรวจพล 2. ขอถ่ำยทอดกระบวกำร ร ำจำกนำงสำวอภิ ญ ญำ ชำนิ 3.ขอถ่ำ ยทอดกระบวกำร รำจำก ดร.ชวลิต สุนทรำ นนท์ 4. สอบประเมิน 25% 5. สอบประเมิน 75% 6. สอบประเมิน 100% 7. นำเสนอรูปเล่มรำยงำน

ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1. ได้รับควำมรู้ทำงด้ำนนำฏศิลป์ไทย จำกกำรถ่ำยทอดท่ำรำจำกผู้ทรงคุณวุฒิ 2. ได้รับควำมรู้ควำมสำมำรถและประสบกำรณ์ในกำรรำให้ถูกต้องตำมแบบแผน


3

3. สำมำรถนำควำมรู้ที่ได้รับถ่ำยทอดท่ำรำให้ผู้สนใจอย่ำงถูกต้องตำมแบบแผนและนำ ควำมรู้ไปประยุกต์ใช้อย่ำงเหมำะสม 4. อนุรักษ์ท่ำ รำที่กำลังจะสูญหำยและบันทึกไว้เป็นลำยลักษณ์อักษร เพื่อให้ผู้ส นใจ ทำงด้ำนนำฏศิลป์ไทยสืบไป


บทที่ 2 ประวัตผิ ู้ถ่ายทอดท่ารา ราเดี่ยวชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล เป็นการแสดงที่ประดิษฐ์ขึ้นใหม่เพื่อใช้ประกอบการ แสดงในละครพันทาง เรื่อง สงครามเก้าทัพ ประดิษฐ์ท่าราขึ้น โดย ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี และได้ถ่ายทอดท่าราพระเจ้าปดุงตรวจพลให้กับ ดร.ชวลิต สุนทรานนท์ (นักวิชาการละครและ ดนตรีทรงคุณวุฒิ สานักการสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม) และออกแสดงครั้งแรกเมื่อปี พุทธศักราช 2536 ณ โรงละครแห่งชาติและต่อมาได้แสดง ในงานโอกาสอื่นๆ ตามความเหมาะสม ประวัติผู้ถ่ายทอดท่ารา 1. ประวัติของ ดร.ชวลิต สุนทรานนท์

ภาพที่ 1 : ดร.ชวลิต สุนทรานนท์ ที่มา : ดร. ชวลิต สุนทรานนท์, 10 กันยายน 2560.


4

ประวัติส่วนตัว ชื่อ ดร.ชวลิต สุนทรานนท์ เกิด วันที่ 4 สิงหาคม พุทธศักราช 2501 ตาแหน่ง นักวิชาการละครและดนตรี ระดับทรงคุณวุฒิ กรมศิลปากรกระทรวงวัฒนธรรม ประวัติการศึกษาผู้ถ่ายทอดท่ารา ประวัติการศึกษาของ ดร.ชวลิต สุนทรานนท์ ประกาศนียบัตรนาฏศิลป์ชั้นสูง วิทยาลัยนาฏศิลป์ ปริญญาตรีศึกษาศาสตรบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ปริญญาโทศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคาแหง ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

ประวัติการทางานของผู้ถ่ายทอดท่ารา ดร. ชวลิต สุนทรานนท์ ดารงตาแหน่ง นักวิชาการละครและดนตรีทรงคุณวุฒิ ณ สานัก การสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม

ผลงานทางด้านวิชาการและการแสดง ตารางที่ 2 : ผลงานด้านวิชาการของ ดร. ชวลิต สุนทรานนท์ ปีพุทธศักราช รายละเอียด 2538 บันทึกท่าราเพลงฉุยฉายนางวิฬาร์ 2548 รวบรวม ค้นคว้าวิจัย เรื่องเครื่องแต่งกายละครและการพัฒนา 2549 - 2551 พัฒนาระบบการจัดการองค์ความรู้ด้านการแสดงนาฏศิลป์ไทย : กรณีศึกษา หนังสือวิพิธทัศนา ชุดระบา รา ฟ้อน ปีที่ 1 - 3 2550 ศึกษาวิจัย เรื่องการศึกษา และพัฒนาองค์ความรู้เกี่ย วกับการแต่งกายยื น เครื่องโขน - ละครรา กรมศิลปากร 2552 พัฒนาระบบการจัดองค์ความรู้ด้านการแสดงนาฏศิลป์ไทย : กรณีศึกษาการ แสดงเป็นชุดเป็นตอนละครโขน (โขนตัวพระ) 2553 พัฒนาระบบการจัดองค์ความรู้ด้านการแสดงนาฏศิลป์ไทย : กรณีศึกษาการ


5

2554 2555 2556 ปีพุทธศักราช 2557

2558 2559

แสดงเป็นชุดเป็นตอนละครโขน ละครชาตรี เรื่องรถเสน ตอนรถเสนจากเมรี ละครนอก เรื่องสุวรรณหงส์ ตอนกุมภัณฑ์ถวายม้า ละครใน เรื่องอิเหนา ตอนบุษบาชมศาล-เล่นธาร ละครดึกดาบรรพ์ เรื่องอิเหนา ตอนชมศาล ละครพันทาง เรื่องพญาผานอง ตอนรักสามเส้า ละครเสภา เรื่องไกรทอง ตอนไกรทองรบชาละวัน นาฏกรรมโขนสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว คู่มือกลวิธีการแต่งกายยืนเครื่องโขน ของกรมศิลปากร คู่มือกลวิธีการแต่งหน้าในการแสดงโขนละคร ของกรมศิลปากร หนังสือโขนอัจฉริยนาฏกรรมสยาม รายละเอียด ราวงมาตรฐาน กรมศิลปากร เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติครูสอนนาฏศิลป์ เรื่องการแสดงพื้นเมือง งามตามกาลสมัย เอกสารประกอบการบรรยายนาฏศิลป์สาหรับมัคคุเทศก์ ข้ อมู ล เผยแพร่งานจัดนิทรรศการประกอบการแสดงโขน-ละคร อาทิ เรื่อ ง เงาะป่า, เรื่องศึกเก้าทัพ, การแสดงโขน ชุดพระพิราพ บทความศิลปวัฒนธรรมด้านนาฏดุริยางคศิลป์เผยแพร่แก่ครู อาจารย์นักศึกษา สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ข้อมูลจังหวะไทยกายบริหารเผยแพร่หนังสือนิตยสารศิลปากร, ชีวจิต, ข่าวสด, ขยับกายสบายชีวี เอกสารการประกอบการออกกาลังกายแบบราวงมาตรฐาน จัดทาบทโขน - ละคร ประกอบการแสดงของกรมศิลปากร การพัฒนาองค์ความรู้สู่การศึกษาด้านนาฏศิลป์ไทย เรื่อง ราวงมาตรฐาน ของ กรมศิลปากร กลวิธีการแต่งหน้าโขน - ละคร กรมศิลปากร การพัฒนาองค์ความรู้ ด้านการแสดงนาฏศิลป์ไ ทยเรื่อง ปะกิณกะสาระโขน, แต่งองค์ทรงเครื่องหนุมาน

ผลงานด้านการแสดง


6

ในระหว่างรับราชการตาแหน่งนักวิชาการละครและดนตรี ระดับ 3 - 6 ผู้บังคับบัญชา ได้มอบหมายให้เป็นผู้แสดงทั้งโขน ละคร และระบาเบ็ดเตล็ด ดังนี้ 1. โขน เรื่องรามเกียรติ์ แสดงเป็นพระลักษมณ์พระสัตรุด พระนารายณ์ พระอินทร์ พระอรชุน พระมาตุลี มานพ กวางทอง นางสีดา นางเบญกาย นางมณโฑ นางสามนักขาแปลง 2. ละครนอก เรื่องคาวี แสดงเป็นนางคันธมาลี เรื่องสังข์ทอง แสดงเป็นนางรจนา เรื่ อ งสุ ว รรณหงส์ แสดงเป็ น นา งเกศสุ ริ ย งแปลง พราหมณ์เกศสุริยง เรื่องแก้วหน้าม้า แสดงเป็นนางแก้วหน้าม้า เรื่องมณีพิชัย แสดงเป็นพราหมณ์ยอพระกลิ่น นางยี่สุ่น เรื่องลักษณ์วงศ์ แสดงเป็นพราหมณ์ทิพเกสร เรื่องมณีพิชัย แสดงเป็นนางจันทร์

3. ละครพันทาง เรื่องพระลอ แสดงเป็นไก่แก้ว เรื่องขุนช้าง – ขุนแผน แสดงเป็นพลายชุมพลมอญ เรื่องพระอภัย มณี แสดงเป็นนางผีเสื้อสุมรแปลง สินสุมร สุ ด สาคร 4. ระบาเบ็ดเตล็ด ราสี่ภาค ราลาวดวงเดือน ฟ้อนแพน ราซัดชาตรี ราฝรั่งคู่ ราวงมาตรฐาน ราโนรา ฯลฯ การปฏิบัติหน้าที่ด้านการเป็นผู้แสดงนั้นได้มีโอกาสเดินทางไปเผยแพร่นาฏศิลป์ไทยใน ต่า งประเทศมากมาย เช่ น อินโดนีเซี ย มาเลเซี ย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ลาว กัมพูช า เวีย ดนาม ออสเตรเลี ย อั ฟ ริ ก า รั ส เซี ย เมี ย นม่ า เยอรมั น เชคโกสโลวาเกี ย ฟิ น แลนด์ ตุ ร กี อิ นเดี ย เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ค ฮังการี สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ปุ่น เกาหลี ฮ่องกง ไทเป โรมาเนีย สเปน ฝรั่งเศส อังกฤษ อิตาลี บราซิล เม็กซิโก เคนยา บาห์เรน บรูไน ดูไบ อิหร่าน อิสราเอล ลิเบีย อเมริกา นิวซีแลนด์ โปรตุเกส นอร์เวย์ จอร์แดน ฯลฯ 2. ประวัตขิ องนางสาวอภิญญา ชานิ


7

ภาพที่ 2 : นางสาวอภิญญา ชานิ ที่มา : นางสาวอภิญญา ชานิ, 10 สิงหาคม 2561. ประวัติส่วนตัว ชื่อ เกิด ตาแหน่ง

นางสาวอภิญญา ชานิ วันที่ 20 กรกฎาคม พุทธศักราช 2527 พนักงานมหาวิทยาลัยนเรศวร

ประวัติการศึกษาผู้ถ่ายทอดท่ารา ประวัติการศึกษาของ นางสาวอภิญญา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร

ชานิ โรงเรียนอนุชชาวัฒนา โรงเรียนนครสวรรค์ สาขานาฏศิ ล ป์ ไ ทย คณะมนุ ษ ยศาสตร์

ผลงานทางด้านวิชาการ - เข้าร่วมบริหารองค์การนิสิต ประจาปีการศึกษา 2546


8

- ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรโครงการฝึกอบรมนิสิตเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการ - ประกันคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร รุ่นที่ 1 ผลงานด้านการแสดง นางสาวอภิญญา ชานิ ได้รับการถ่ายทอดราเดี่ยว ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล เพื่อเป็นการสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ ปีการศึกษา 2548 ได้รับการถ่ายทอดท่ารา จาก อาจารย์ธงไชย โพธยารมย์ และนางสาวณัฐกานต์ บุญศิริ

ภาพที่ 3 : การสอบราเดี่ยวมาตรฐานชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ของนางสาวอภิญญา ชานิ ที่มา : นางสาวอภิญญา ชานิ, 22 กรกฏาคม 2561. ประวัติการสืบทอดและการถ่ายทอดท่ารา ท่า นผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ได้ประดิษฐ์ราเดี่ย วชุ ด พระเจ้า ปดุงตรวจพล และได้ ถ่ายทอดท่าราให้กับ อาจารย์ธงไชย โพธยารมย์ และยังมีการถ่ายทอดท่าราในการแสดงละคร พันทางเรื่อง สงครามเก้าทัพ ให้กับ ดร.ชวลิต สุนทรานนท์ และได้ถ่ายทอดทอดท่าราในการสอบ ราเดี่ย วมาตรฐานทางด้า นนาฏศิลป์ของนิสิตที่มีความสามารถ และมีความตั้งใจที่จะได้รับการ ถ่ายทอดราเดี่ยว ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพลในการสอบราเดี่ยวมาตรฐานแก่นายธีรพัฒน์ ทองฟัก นิสิตสาขานาฏศิลป์ไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

แผนผังการสืบทอดและถ่ายทอดท่ารา แผนการถ่ายทอดท่าราเดี่ยว ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล


9

ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี อาจารย์ธงไชย โพธยารมย์

นางสาวณัฐกานต์ บุญศิริ

ดร.ชวลิต สุนทรานนท์

นางสาวอภิญญา ชานิ

นายธีรพัฒน์ ทองฟัก


บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรสืบทอดและฝึกหัด ศิลปะแห่งกำรร่ำยรำที่มีผู้แสดงตั้งแต่ 1- 2 คน เช่น กำรรำเดี่ยว กำรรำคู่ กำรรำอำวุธ มี ลักษณะกำรแต่งกำยตำมรูปแบบของกำรแสดง ไม่เล่นเป็นเรื่องรำวอำจมีบทขับร้องประกอบกำร รำเข้ำกับทำนองเพลงดนตรี มีกระบวนท่ำรำ โดยเฉพำะกำรรำคู่ จะต่ำงจำกระบำ เนื่องจำกจะ มีควำมเชื่อมโยงสอดคล้องต่อเนื่องกัน และเป็นบทเฉพำะของผู้แสดงนั้นๆ กำรศึกษำในรำยวิชำอำศรมศึกษำทำงด้ำ นนำฏศิล ป์ไทย เป็นวิชำที่มีวัตถุประสงค์เพื่อ กำรศึ ก ษำค้ น คว้ ำ รวบรวมควำมรู้ จ ำกผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ มี ค วำมรู้ ควำมช ำนำญที่ ได้ สั่ ง สม ประสบกำรณ์จนเกิดควำมเชี่ ยวชำญทำงด้ำนนำฏศิลป์ไทยโดยเป็นที่ยอมรับในวงกำรอำชีพ ใน กำรศึกษำมีลักษณะเป็นกำรถ่ำยทอดประกอบกำรฝึกหัดปฏิบัติ จำกผู้ทรงคุณวุฒิโดยตรง(ตัวต่อ ตัว ) โดยมุ่ งกระบวนกำรฝึ ก ทัก ษะเป็นส ำคั ญ ที่มี ก ำรก ำหนดระยะเวลำ เนื้ อ หำวิ ช ำที่ ศึก ษำ กิจกรรมที่ใช้ในกำรเรียนกำรสอน ตลอดจนมีกำรบันทึกท่ำรำเป็นหลักฐำนทำงวิชำกำร ( ปำลิตำ แป้นไม้, 2551, หน้ำ 30-35. ) ขั้นตอนในกำรสืบทอดและฝึกหัด กำรเรียนกำรสอนเป็นไปได้โดยกำรได้รับถ่ำยทอดท่ำรำจำกผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เรียนได้ ปฏิบัติท่ำรำตัวต่อตัวกับผู้ทรงคุณวุฒิ โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ - ศึกษำควำมรู้ทำงวิชำกำร ประวัติควำมเป็นมำและควำมสำคัญของรำเดี่ยวชุด พระเจ้ำป ดุงตรวจพล และศึกษำควำมเป็นมำของตัวละครที่เกี่ยวข้องในกำรรำเดี่ยวชุด พระเจ้ำปดุงตรวจ พล - หัดฟังเพลง และศึกษำกระบวนกำรรำ - ต่อท่ำรำจำกผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อให้นิสิตเก็บรำยละเอียดของท่ำรำ - ทบทวนท่ำรำเป็นประจำทุกวัน พร้อมปรับปรุงแก้ไขท่ำรำจำกผู้ทรงคุณวุฒิ ระยะเวลำและสถำนที่ในกำรสืบทอดและฝึกหัด ตำรำงที่ 3 : ระยะเวลำและสถำนที่สืบทอดและฝึกหัด วัน เดือน ปี รำยกำร สถำนที่ ผู้ฝึกซ้อม 20-23 มิ . ย. ปฏิบัติและเข้ำรับกำรถ่ำ ยทอดรำ ม ห ำ วิ ท ย ำ ลั ย น ำ ง ส ำ ว อ ภิ ญ ญ ำ 2561 เดี่ยวชุด พระเจ้ำปดุงตรวจพล นเรศวร ชำนิ


11

26-27 มิ . ย. ปฏิบัติและเข้ำรับกำรถ่ำ ยทอดรำ 2561 เดี่ยวชุด พระเจ้ำปดุงตรวจพล 15ก.ค. 2561 ปฏิบัติและเข้ำรับกำรถ่ำ ยทอดรำ เดี่ยวชุด พระเจ้ำปดุงตรวจพล 3 0 ก . ค . ปฏิบัติและเข้ำรับกำรถ่ำ ยทอดรำ 2561 เดี่ยวชุด พระเจ้ำปดุงตรวจพล

ม ห ำ วิ ท ย ำ ลั ย นเรศวร ม ห ำ วิ ท ย ำ ลั ย นเรศวร โรงละครแห่ ง ชำติ ส ำ นั ก ก ำ ร สั ง คี ต กรมศิลปำกร

น ำ ง ส ำ ว อ ภิ ญ ญ ำ ชำนิ น ำ ง ส ำ ว อ ภิ ญ ญ ำ ชำนิ ดร . ช วลิ ต สุ นทร ำ นนท์

อุปกรณ์ในกำรสืบทอดและฝึกหัด 1. ผ้ำโจงกระเบน 1 ผืน 2. สมุดและเครื่องเขียนบันทึกท่ำรำ 3. ซีดีเพลง พระเจ้ำปดุงตรวจพล 4. กล้องถ่ำยภำพและบันทึกวีดีโอ 5. เครื่องเล่นเพลง 6. ดำบ พัฒนำกำรในกำรสืบทอดและฝึกหัด - นำงสำวอภิญญำ ชำนิ ได้ถ่ำยทอดท่ำรำเดี่ยวชุด พระเจ้ำปดุงตรวจพลให้แก่นิสิต และเก็บรำยละเอียดแก่นิสิต ฝึกกำรใช้พื้นที่ อำรมณ์ แววตำ และยังอธิบำยถึงรำยละเอียดของชุด กำรแสดงรำเดี่ยวให้แก่นิสิต เพื่อให้นิสิตมีควำมเข้ำใจในกำรแสดงมำกขึ้น - ดร. ชวลิต สุนทรำนนท์ ได้ปรับท่ำรำเดี่ยวชุด พระเจ้ำปดุงตรวจพล ให้มีควำม เหมำะแก่นิสิต มำกขึ้น และยังฝึกสอนลีลำของกำรตรวจพล กำรใช้อำวุธให้เหมำะสมกับนิสิตมำก ขึ้น


บทที่ 4 อาศรมศึกษาทางนาฏศิลป์ไทย ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล การราพระเจ้าปดุงตรวจพลอยู่ในละครพันทาง เรื่อง สงครามเก้าทัพ มีจุดมุ่งหมายเพื่อรา อวดฝีมือในกระบวนการตรวจพลที่ใช้ในการแสดงราเดี่ยวทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด พระเจ้าปดุงตรวจ พล ผู้แสดงควรมีลักษณะดังนี้ - เป็นผู้ศึกษานาฏศิลป์ไทย ( ตัวพระ ) - เป็นผู้ที่มีบุคลิกสง่างามตามแบบละครพระ - เป็นผู้ที่มีความชานาญในการใช้อาวุธ ( ดาบ ) ( อภิญญา ชานิ, สัมภาษณ์ วันที่ 4 ตุลาคม 2561. ) ประวัติความเป็นมาของการแสดง พระเจ้าปดุงตรวจพลอยู่ในละครพันทาง เรื่อง สงครามเก้าทัพ ประวัติศาสตร์โดยมีพระเจ้าป ดุงซึ่งเป็นกษัตริย์พม่าได้ ๓ ปี สั่งให้ยกกองทัพมาถึง ๙ ทัพ หวังจะตีไทยซึ่งทรงให้กองทัพไปตั้งรบอยู่ บริเวณทุ่งลาดหญ้า จ.กาญจนบุรี แต่ด้วยพระปรีชาสามารถของสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ทรงให้นา ปืนใหญ่และปืนปากกว้างยิงด้วยท่อนไม้เป็นกระสุนไปตั้ งเรียง ยิงใส่หอรบพม่าหักและพังลงมาทาให้ พม่าล้มตายเป็นจานวนมาก ทางพระเจ้าปดุงทราบข่าวการพ่ายแพ้ของทัพทั้งสองจึงถอยทัพไปยัง เมืองเมาะตะมะ ส่วนทัพที่เหลือของพม่าก็ถูกกองทัพไทยตีจนแตกหมดสิ้น หลังจากนั้น 1 ปี พ.ศ. 2329 พม่าก็ยกทัพมาแสนกว่าคนตั้งค่ายที่ท่าดิ นแดงจังหวัดกาญจนบุรี สมเด็จพระพุทธยอดฟ้า ฯ ทรงให้จัดกองทัพหกหมื่นคนไปตี พม่า รบกันอยู่ 3 วัน ไทยตีค่ายพม่า ได้ พม่า ก็แ ตกพ่ายหนีกลับไป ละครเรื่องนี้เป็นบทประพันธ์ของ อาจารย์มนตรี ตราโมท นาออกแสดงครั้งแรกเมื่อปี 2536 ที่ กรม ศิลปากร โดยผู้ประดิษฐ์ท่าราคือ ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี ( อภิญญา ชานิ, 2548, 29. ) เรื่องย่อของการแสดง พระเจ้าปดุง ต้องทาสงครามปราบปรามเสี้ยนหนามแผ่นดินอยู่หลายปี แต่พระเจ้าปดุงนั้น เข้มแข็งในการศึกยิ่งกว่าบรรดาราชวงศ์ของพระเจ้าอลองพญาองค์อื่นๆ เมื่อปราบปรามพวกที่คิดร้าย ราบคาบทั่วทั้งเขตพม่า รามัญ และไทยใหญ่แล้ ว จึงสร้างเมืองอมระบุระขึ้นเป็ นราชธานีใหม่ แล้ว


13

ยกกองทัพไปตีประเทศมณีบุระทางฝ่ายเหนือ และประเทศยะไข่ ทางตะวันตกได้ทั้งสองประเทศ แผ่ ราชอาณาเขตกว้างขวางยิ่งกว่ารัชกาลก่อนๆ เช่นพระเจ้าหงสาวดีบุเรงนอง ด้วยในพระเจ้าปดุงเสวย ราชย์มาได้ 3 ปี จึงคิดเข้ามาตีเมืองไทยให้มีเกียรติยศเป็นขณะนั้น พระเจ้าปดุงก็ได้ประเทศที่ใกล้เคียง อาณาเขต มีรี้พลบริบูรณ์ และทาสงครามมีชัยชนะมาทุกแห่ง โดยแบ่งออกเป็น 9 ทัพ ดังนี้ ทัพที่ 1 ให้ แมงยี แมงข่ องกยอ เป็นแม่ทัพ ที่ ทั้งทัพบก ทัพเรือ จานวนพล 10,000 เรือ กาปั่นรอบ 15 ลาลงมาตั้งที่เมืองมะริด ให้ยกทัพบกมาตีหัวเมืองไทยทางปักษ์ใต้ ตั้ งแต่เมืองชุมพรลง ไปจนถึงเมืองตะกั่วป่าลงไป จนถึงเมืองถลาง ในพงศวดารพม่ากล่าวว่า แมงยี แมงข่องกยอยกลงมา แต่เดือน 8 ปีมะเส็ง ด้วยพระเจ้าปดุงให้เป็นพนักงานรวบรวมเสบียงอาหารไว้สาหรับ กองทัพหลวงที่ จะยกมาตั้งประชุมเมืองเมาะตะมะด้วย ครั้นเมื่อกองทัพหลวงยกมาไม่ได้เตรียมเสบียงไว้พอการ พระ เจ้าปดุงทรงพิโรธให้ประหารชีวิตแมงยี แมงข่องกยอเสีย แล้วตั้งเกงหวุ่นแมงยีมหาสีหะสุระ อัครมหา เสนาบดีเป็นแม่ทัพที่ 1 แทน ทัพที่ 2 ให้ อนอกแฝกคิดหวุ่น เป็นแม่ทัพถือพล 10,000 ลงมาตั้งที่เมืองทวาย ให้เดินเข้ า ทางด่านบ้องตี้มาตีหัวเมืองไทยฝ่ายตะวันตก ตั้งแต่เมืองราชบุรี เมืองเพชรบุรี ลงไปบรรจบกองทัพที่ 1 ที่เมืองชุมพร ทัพที่ 3 ให้ หวุ่นคยีสะโดะศิริมหาอุจจะนา เจ้าเมืองตองอู เป็นแม่ทัพ ถือพล 30,000 ยกมา ทางเมืองเชียงแสนให้ลงมาตีเมืองนครลาปางและหัวเมืองทางริมแม่น้าแควใหญ่และน้ายม ตั้งแต่เมือง สวรรคโลก เมืองสุโขทัย ลงมาบรรจบกองทัพหลวงที่กรุงเทพฯ ทัพที่ 4 ให้ เมียนหวุ่นแมงยีมหาทิมข่อง เป็นแม่ทัพ ถือพล 11,000 ยกลงมาตั้งที่เมืองเมาะ ตะมะ กรุงเทพฯ ทางด่านเจดีย์สามองค์ ทัพที่ 5 ให้ เนียมเมหวุ่น เป็นแม่ทัพ ถือพล 50,000 มาตั้งที่เมืองเมาะตะมะ เป็นแม่ทัพหนุน ที่ 4 ทัพที่ 6 ให้ ตะแคงกามะ ราชบุตรที่ 2 ( พม่าเรีย กว่า ศิริธรรมราชา ) เป็นแม่ทัพ ถือพล 12,000 มาตั้งที่เมืองเมาะตะมะเป็นทัพที่ 1 ของทัพหลวงที่จะยกเข้ามาตีกรุงเทพฯ ทางด่านพระเจดีย์ สามองค์ ทัพที่ 7 ให้ ตะแคงจักกุ ราชบุตรที่ 3 ( พม่าเรียกว่า สะโดะมันชอ ) เป็นแม่ทัพถิแพล 11,000 มาตั้งที่เมืองเมาะตะมะเป็นทัพหน้าที่ 2 ของทัพหลวง ทัพที่ 8 ให้ กองทัพหลวง จานวนพล 50,000 พระเจ้าปดุง เป็นจอมทัพเสด็จลงมาเมืองเมาะ ตะมะ เมื่อเดือน 12 ปีมะเส็ง


14

ทัพที่ 9 ให้ จอข่องนรทา เป็นแม่ทัพถือพล 5,000 ( เข้าใจว่าตั้งที่เมืองเมาะตะมะเหมือนกัน ) ยกเข้ า มาทางด่า นแม่ ล ะเมาะแขวงเมือ งไทยในเดือ นอ้ า ย ปี มะเส็ง พร้อมกันทุก ทัพ คือ จะมาตี กรุงเทพฯ 5 ทัพเป็นจานวนพล 89,000 ตีหัวเมืองฝ่ายเหนือ 2 ทัพ เป็นจานวนพล 35,000 ตีหัวเมือง ปักษ์ใต้ฝ่า ยตะวันตก 2 ทัพ จานวนพล 20,000 จานวนพลของข้าสึกที่ยกมาตีไ ทยครั้งนี้รวมทั้งสิ้น 44,000 ด้วยกัน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า ฯ จึงโปรดให้พระราชวงศานุวงศ์กับทั้งเสนาบดีข้าราชการ ผู้ใหญ่พร้อมกันหน้าพระที่นั่ง ทรงที่จะต่อสู้พม่าข้าศึก ศึกพม่าที่พระเจ้าปดุงยกมาครั้งนั้นใหญ่หลวง ผิดกับศึกพม่าที่เคยมีมาก่อนด้วยรี้พลมากมาย ที่ข้าศึกยกมาเห็นว่าเสียเปรียบข้าศึก เพราะเหตุนี้ที่ต้อง แบ่งกาลังแยกย้ายไปหลายแห่ง กาลังกองทัพไปก็อ่อนแอด้วยกันทุกทาง เพราะฉะนั้น ควรจะรวบรวม กาลังไปต่อสู้ข้าศึกในทางที่สาคัญก่อน ทางไหนไม่เห็นสาคัญปล่อยให้ข้าศึกทาตามใจชอบไปพลางๆ กองทัพใหญ่ของข้าศึกยกเข้ามาที่ด่านเจดีย์สามองค์และพระเจ้าปดุงเป็นจอมพลนั้นมาเอง ( อภิญญา ชานิ, 2548, 31. )

ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง การแสดงราเดี่ยว ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ใช้ปี่พาทย์ในการบรรเลงประกอบการแสดงคือ เพลงกราวพม่ากลองยาว เครื่องแต่งกายและการแต่งหน้า 1. เครื่องแต่งกายราเดี่ยวชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ในการราพระเจ้าปดุงตรวจพล กาหนดให้แต่งกายแบบละครพันทาง โดยมี ส่วนประกอบ การแต่งกายส่วนต่างๆ ดังนี้

1 2 3

4


15

6

5

8 7 9 10

11

ภาพที่ 4 : เครื่องแต่งกายพระเจ้าปดุงตรวจพล ผู้แสดงแบบ : นายธีรพัฒน์ ทองฟัก วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2561 เครื่องแต่งกายราเดี่ยวชุด พระเจ้าปดุงตรวจพลมีส่วนประกอบทั้งหมด 11 ชิ้น ดังนี้ 1. พระมาลาพม่า 2. กรองคอสีเหลืองปักเพชร 3. เสื้อแขนกระบอกสีดา แขนเสื้อมีขลิบสีทอง 4. เสื้อกัก๊ สีดา 5. สังวาลไขว้เพชร 6. ผ้าคาดเอวสีทอง เข็มขัดและหัวเข็มขัด 7. ผ้ายกสีดา 8. คล้ายกระโปรงสีดาขลิบทอง 9. สนับเพลาสีดาขลิบทอง 10. แหวนรอบข้อเท้า 11. กาไลข้อเท้า ( กาไลหัวบัว ) 2. การแต่งหน้าราเดีย่ วชุดพระเจ้าปดุงตรวจพล ในการราเดี่ยวชุดพระเจ้าปดุงตรวจพล มีการกาหนดการแต่งหน้าในรูปแบบของละคร พันทาง ซึ่งจะมีเอกลักษณ์ของตัวละคร ดังนี้


16

ภาพที่ 5 : การแต่งหน้าราเดี่ยวชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ผู้แสดงแบบ : นายธีรพัฒน์ ทองฟัก วันที่ 31 สิงหาคม 2561 นาฏยศัพท์ที่ใช้ในการแสดง ในการราพระเจ้าปดุงตรวจพล มีการใช้นาฏยศัพท์ในการราพระเจ้าปดุงตรวจพล ดังนี้ ส่วนที่ 1 ศีรษะ - เอียงศีรษะ หรือ อ่อนศีรษะ คือ กิริยาที่จะต้องใช้ร่างกายตั้งแต่ช่วงเอว ไหล่ ขึ้นมา กล่าวคือ เมื่อจะเอียงศีรษะก็ จะต้องเริ่มกดเอว กดไหล่ ข้างเดียวกันกับศีรษะที่เอียง เพื่อเน้นให้เห็นเส้นสรีระของร่างกายเป็นเส้น โค้ง หากเอียงแต่ศีรษะเพียงอย่างเดียว ท่าราจะดูแข็ ง และเหมือนคนราคอฟาด (คือ ราคอพับไปมา เหมือนเด็กอนุบาลรา) การเอียงนั้นจะต้องได้สัดส่วนที่พองาม ตัวนางจะกดลาตัวและการเอียงมากกว่า ตัวพระ ตัวพระนั้นการเอีย งนี้จะใช้เพีย งแง่ศีรษะ (คือ ให้ความรู้สึกว่า เอียงเพียงเล็กน้อย) เท่า นั้น มิฉะนั้นเมื่อเวลาสวมชฎาแล้วจะเห็นได้ชัดเจนว่าผู้ใดเอียงมากจนยอดชฎานั้นโอนเอนไปมาอย่างแรง การเอีย งศีรษะจึงมี ความยากที่จะกาหนด ต้องหมั่นราในกระจกหรือครูเป็นผู้ตรวจสอบให้งดงาม ถูกต้อง ส่วนที่ 2 ไหล่


17

- ผึ่งไหล่ หรือ ตึงไหล่ คือ การดันไหล่ให้ผายออกได้แนวประมาณ 180 องศา และจะต้องดันหน้าอกให้แอ่น ขึ้น เพื่อให้ดูสง่ามากยิ่งขึ้น (โดยเฉพาะตัวพระ ในอดีตเมื่อรัดเครื่องจะไม่ใส่นวมอกอย่างปัจจุบัน การ ดันหน้าอกและรูปร่างจึงมีความสาคัญ และเห็นได้ชัดเจนมาก) จึงมีคาใช้ประกอบเมื่อสอนราว่า “อก ผายไหล่ผึ่ง อกตึงไหล่ตั้ง” - กดไหล่ คือ การเอียงข้างใดข้างหนึ่ง โดยจะต้องกดมาตั้งแต่ลาตัว (ฝึกหัดด้วยการถองสะเอว) เมื่อกดเอวแล้ว ไหล่ก็จะลดลงตาม การกดไหล่นี้ต้องในระดับ ระนาบ คือ เมื่อ กดลงแล้ วไม่ล้าไป ด้านหน้าหรือเบี่ยงไปด้านหลัง ข้อพึงระวังอีกอย่างหนึ่งที่มักจะเป็นปัญหาให้กับผู้ราในปัจจุบัน คือ เมื่อ กดไหล่ลงข้างหนึ่งแล้วจะยกไหล่อีกข้างโดยเจตนา ดูคล้ายหุ่นกระบอกพม่าที่ยกไหล่กระโดดไปมา พึง กดไหล่โดยผ่อนตามธรรมชาติจะดีกว่า - ตีไหล่ คือ การกดไหล่ แล้วบิดไหล่ข้างที่กดไปข้างหลัง ส่วนที่ 3 ลาตัว - ทรงตัว คือ การตั้งลาตัวให้ตรง ไม่โอนเอนไปด้านหน้า (ราหน้าคว่า) หรือไปด้านหลัง (ราหน้า หงาย) การทรงตัวนี้ต้องดันหลังให้ตึง ยกอกขึ้นเล็กหน้า แต่ต้องไม่ให้หน้าท้องยืนล้าออกมามาก ต้อง เกร็งหน้าท้องไว้ด้วยเสมอ ส่วนที่ 4 มือและแขน - วง หรือ ตั้งวง คือ ช่วงท่อนแขนและมือที่กางออก ข้อมือหักหงายให้อ่อนโค้งเข้าหาลาแขน การจะ ตั้งวงให้ได้สัดส่วนที่งามนั้น มิ ได้ขึ้ นอยู่ กับการมีนิ้วมือที่เรียวโค้งไปด้านหลังได้มากๆ แต่อย่างเดีย ว ขึ้นอยู่กับองศาระหว่างท่อนแขนบนล่าง และท่อนแขนล่างกับข้อมือประกอบด้วย เพราะความหมาย ของ “วง” นั้น คือเป็นส่วนของเส้นโค้ง การตั้งวงจึงต้องทอดแขนแลให้ เห็นเป็นเส้นโค้งที่มีสัดส่วน สวยงามตามแบบฉบับของแต่ล ะบท เช่น พระ นาง ยักษ์ ลิง เป็นต้น ดังนั้น ระดับแขนระหว่า งตัว ละครต่างๆ จึงแตกต่างกัน กล่าวโดยรวมคือ ตัวยักษ์จะมีวงกว้างที่สุด รองมาคือ ลิง พระ และนาง ใน เรื่องของระดับวงนี้ ควรได้รับการแนะนาจากผู้เชี่ยวชาญเพื่อจับท่าให้ได้ตามมาตรฐาน ซึ่งสามารถ แบ่งย่อยเป็นระดับต่างๆ ดังนี้


18

- วงสูง หรือ วงบน ตัวพระ กันวงออกข้างลาตัว เฉียงมาทางด้านหน้าเล็กน้อย (แนวเดียวกันกับหน้าขาที่ เปิดออก) ยกขึ้นให้ปลายมื ออยู่ ในระดับแง่ศีรษะ ตัวนาง จะกันวงเฉียงมาด้านหน้ามากกว่าตัวพระ เล็กน้อย และลดระดับวงให้อยู่ที่ระดับหางคิ้ว - วงกลาง ทั้งตัวพระและตัวนาง ลดระดับวงลงให้สูงเพียงระดับหัวไหล่ - วงต่า หรือ วงล่าง มือที่ตั้งวงอยู่บริเวณหัวเข็มขัดหรือชายพก ตัวพระจะกันกว้างออกไปอีกเล็กน้อย - วงหน้า ทอดลาแขนให้โค้งไปด้านหน้า ปลายมือชี้เข้าระดับปาก เช่นเดียวกันทั้งตัวพระและนาง - วงหงาย หรือ วงบัวบาน เป็นวงพิเ ศษที่มีลักษณะไม่เป็นเส้นโค้ง กล่าวคือท่อนแขนบนและล่างและข้อมือหัก เป็นมุ ม ฝ่า มื อที่ตั้งวงจะหงายขึ้ น ปลายนิ้วจะชี้ ออกด้า นข้ า ง ( เช่ น ท่า พรหมสี่หน้า ) หรือตกลง ด้านล่าง ( เช่น ท่านางนอน ) - จีบ คือ การจรดปลายนิ้วหัวแม่มือที่ข้อแรกของปลายนิ้วชี้ นิ้วที่เหลือทั้งสามกรีดออกไป ด้านหลังมือให้มากที่สุด ที่สาคัญคือ จะต้องหักข้อมือเข้าหาลาแขนให้ได้มากที่สุด ท่าจีบแบ่งเป็น - จีบหงาย คือ การจีบที่หงายฝ่ามือขึ้น ปลายนิ้วที่จีบชี้ขึ้น - จีบคว่า คือ การจีบที่คว่ามือลง ปลายนิ้วที่จีบชี้ลงเบื้องล่าง - จีบปรกหน้า หรือ จีบตลบหน้า คือ การจีบที่อยู่ระดับใบหน้า หันปลายนิ้วที่จีบชี้ที่บริเวณดวงตา - จีบปรกข้าง ลักษณะคล้ายวงบัวบานระดับสูง แต่หักข้อมือที่จีบเข้าหาแง่ศีรษะ


19

- จีบหลัง หรือ จีบส่งหลัง คือ การทอดแขนไปด้านหลังให้ตึง มือที่จีบพลิกหงายขึ้นด้านบน การจีบส่งหลัง จะต้องเหยียดออกไปด้านหลังให้สุดและปลายนิ้วที่จีบจะไม่ชี้เข้ามาที่ก้นโดยเด็ดขาด ส่วนที่ 5 เท้า - ประเท้า คือ อาการของเท้าข้างใดข้างหนึ่ง ใช้จมูกเท้าตบพื้นเบาๆ แล้วยกขึ้น โดยให้ อีกเท้าหนึ่งยืนย่อ เข่ารับน้าหนักตัว การประเท้าของตัวพระและตัวนางจะแตกต่างกันตรงที่ตัวพระต้องแยกหรือแบะเข่า ออกให้ได้เหลี่ยม แล้วจึงประ เท้าที่ประแล้วยกขึ้นสูงระดับกลางน่องของขาที่ยืนรับน้าหนัก ปลายเท้าชี้ ออกด้านข้าง ส่วนตัวนางไม่แบะเข่า ยืนให้เท้าที่จะเตรีย มประเหลื่อมจากเท้าที่รับน้าหนักไปข้างหน้า ประมาณครึ่งเท้า เมื่ อประแล้วยกเท้าขึ้ นสูงระดับครึ่งน่อง ปลายเท้า ชี้ออกด้า นหน้า ถ้าจะให้ดูงาม ยิ่งขึ้นจะต้องกระดกปลายนิ้วเท้าให้งอนขึ้นเล็กน้อยทั้งตัวพระและตัวนาง -

ก้าวเท้า คือ การวางเท้าที่ยกลงสู่พื้น โดยวางส้นเท้าลงก่อน แล้วจึงตามด้วยปลายเท้า ทิ้ง น้าหนักตัวลงไปยังเท้าที่ก้าวให้หมด การก้าวเท้ามี 2 วิธี คือ ก้าวหน้า หมายถึง การก้าวเท้าไปข้างหน้า ตัวพระจะต้องแบะเข้าออกให้ได้เหลี่ยมปลายเท้าที่ ก้าวจะเฉียงไปทางด้านข้างเล็กน้อย กะให้ส้นเท้าหน้าอยู่ในแนวกันกับหัวแม่เท้าหลัง ห่างกันประมาณ หนึ่งคืบ เท้าหลังเปิดส้นเท้า สาหรับตัวนางไม่แบะเข่า และก้าวเท้าให้ปลายเท้าชี้ค่อนไปทางด้านหน้า ห่างจากส้นเท้าหลังที่เปิดส้นเท้าขึ้นประมาณหนึ่งคืบ ก้าวข้าง หมายถึง การก้าวเท้าเฉียงไปทางด้านข้างของเท้าที่ยก จะเป็นเท้าข้างใดก็ได้ ในขณะ ที่ลาตัวอยู่ด้านหน้า ตัวพระจะก้าวเฉียงออกจากด้านข้างให้มากกว่าก้าวหน้า สาหรับตัวนางก้าวข้าง จะต้องกะปลายเท้ากับส้นเท้าหลังให้อยู่ในแนวเฉียงห่างกันประมาณหนึ่งคืบ กระดก คือ อาการปฏิบัติต่อเนื่องจากการกระทุ้ง โดยยืนขาเดียวย่อเข่าโดยใช้เท้าหน้าที่ยืนย่อ เข่าอยู่รับน้าหนักตัว ถีบเข่าหรือส่งเข่าข้างที่ยกนั้นไปทางด้านหลัง แล้วหนีบน่องให้ชิดต้นขามากที่สุด (เท้าที่ยกจะต้องอยู่ใกล้ก้นให้ได้มากที่สุด) หักข้อเท้าลงให้ปลายเท้าตกลงเบื้องล่าง การกระดกอาจ สืบเนื่องอาจทาต่อเนื่องจากกระทุ้งเท้าก็ได้หรือกระดกโดยไม่กระทุ้งก็ได้ ตัวพระเมื่อกระดกเท้าจะต้อง


20

กันเข่าหรือเปิดเข่าให้ขากางออกจากขาที่ยืนรับน้าหนักตัวอยู่ การกระดกนี้แบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ กระดกหลัง คือ อาการของเท้าที่กระดกไปข้างหลัง เมื่อมองจากด้านหน้าจะไม่เห็นเท้าหลังที่ กระดกเท้า ซอยเท้า คือ การย่าเท้าถี่ ๆ ของเท้าที่อยู่เสมอกัน ให้ตัวเคลื่อนไปในทิศทางต่าง ๆหรืออยู่กับที่ ขยั่นเท้า คือ การย่าเท้าถี่ๆ ของเท้าที่อยู่เสมอกัน หรือไว้กัน ให้เคลื่อนตัวไปในข้างหน้าหรือ ด้านข้าง - จรดเท้า คือ กิริยาที่จมูกเท้าแตะลงบนพื้น โดยส้นเท้าจะลอยขึ้นจากพื้นเล็กน้อย สามารถ ปฏิบัติได้ทั้งในขณะที่ขาที่ยืนน้าหนักเหยียดตรงหรือย่อลง ( จุฑารัตน์ โพธิ์สระ, 2560, 29. )

กระบวนท่าราและการใช้พื้นที่ ตารางที่ 4 : กระบวนท่าราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ท่าที่ ทานองเพลง ภาพท่ารา คาอธิบายท่ารา 1 กราวพม่ากลองยาว เดิ นออกมาหน้ า เวที 3 จัง หวะ มือขวาถือดาบ


21

2

แล้ ว ก้ า วเท้ า ซ้ า ย เอี ย งซ้ า ย จากนั้นก้าวเท้าขวา เอียงขวา 3 จังหวะ

3

ถอนเท้าขวา เอียงขวา แล้วยื ด เท้าซ้ายออกไปด้านข้าง พร้อมตี ไหล่ ข วาออกตามจั ง หวะ แล้ ว กล่ อ มหน้า ตามจัง หวะเพลง 1 จังหวะใหญ่

ตารางที่ 4 : กระบวนท่าราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ( ต่อ ) ท่าที่ ทานองเพลง ภาพท่ารา คาอธิบายท่ารา 4 กราวพม่ากลองยาว มื อข วา ถื อด า บไ ว้ ด้ า นหลั ง พร้ อ มกั บ หยิ บ จี บ ( ท่า เรี ย ก ) โดยก้ า วเท้ า ขวาแล้ ว ลากเท้ า ซ้ายก้าวข้าง โยกตัวตามจังหวะ


22

5

ท้า ยจังหวะให้ล ากเท้า ซ้ า ยเข้ า และลากเท้า ขวามาเหลื่อมเท้ า แล้วค่อยๆ กรายมือออกเป็นตั้ง มือ

6

มื อ ขวาถื อ ดาบมารวมมื อ หน้ า ลาตัว ก้าวเท้าขวาแล้วลากเท้า ซ้ายก้าวข้าง โยกตัวตามจังหวะ

ตารางที่ 4 : กระบวนท่าราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ( ต่อ ) ท่าที่ ทานองเพลง ภาพท่ารา คาอธิบายท่ารา 7 กราวพม่ากลองยาว ท้า ยจังหวะให้ล ากเท้า ซ้ า ยเข้ า และลากเท้า ขวามาเหลื่อมเท้ า แล้วรวมมือไว้ด้านหน้าลาตัว


23

8

ถอนเท้าหลังหมุนรวบตัวเองแล้ว เปลี่ ย นมื อซ้ า ยถือ ดาบ มือ ขวา นิ้ ว ชี้ ม้ ว นมื อ กวดไปข้ า งล าตั ว พร้อมกับหมุนตัวกลับ

9

มื อ ซ้ า ยตั้ ง วงล่ า ง แล้ ว ค่ อ ยๆ เลื่อนมือมาจีบที่ปาก แล้วตีไหล่ ตามจังหวะ

ตารางที่ 4 : กระบวนท่าราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ( ต่อ ) ท่าที่ ทานองเพลง ภาพท่ารา คาอธิบายท่ารา


24

10

กราวพม่ากลองยาว

มือซ้ายรูปที่หนวด ถอนเท้าซ้าย วางเท้าขวา ทาสลับข้า งกัน 2 ครั้ง

11

ช่ ว งท้ า ยจั ง หวะยิ้ ม ก้ า วเท้ า ซ้า ยขโยกเท้าขวา แล้วยกเท้า ซ้า ย มือขวาจีบที่กลางอก มือ ขวาวาดดาบโดยหันคมดาบเข้ า หาลาตัว

12

หมุนหันหลังกลับ กรายจีบตั้งวง บน วางเท้า ซ้ า ยขโยกขวา มื อ ขวาฟันดาบระดับชายพก โดย ปฏิบั ติท่ า ที่ 11 และท่ า ที่ 12 1 จังหวะใหญ่

ตารางที่ 4 : กระบวนท่าราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ( ต่อ )


25

ท่าที่ ทานองเพลง 13 กราวพม่ากลองยาว

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา กระโดดโดยก้ า วเท้ า ขวาก่ อ น แล้ ว ยื นนิ่ งท่ า ก้ า วข้ า งเท้ า ขวา มื อ ขวาถื อ ดาบ มื อ ซ้ า ยตั้ ง วง ระดับชายพก

14

ฟันดาบลงด้ า นข้ า งล าตั ว เท้ า เหมือนเดิม มือซ้ายตั้งวงกลาง

15

มือขวาควงดาบตั้งวงมือซ้ายจีบ ที่ชายพก กระดกเท้าซ้ายขึ้น

ตารางที่ 4 : กระบวนท่าราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ( ต่อ )


26

ท่าที่ ทานองเพลง 16 กราวพม่ากลองยาว

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา มือขวาแขนตึง มือซ้ ายสอดสูง หน้า มองมือสูง กระดกเท้า ซ้ า ย ขึ้น โยกตัวตามจังหวะ จากนั้น ปฏิบั ติท่า ที่ 14 15 และ 16 สลับกัน 1 จังหวะใหญ่

17

จากนั้นวางเท้าซ้ายลงพร้อมกับ เปลี่ ย นเอี ย งซ้ า ย เพื่ อ เตรี ย ม กระโดด

18

กระโดดก้าวเท้าซ้ายแล้วก้าวเท้า ขวาแตะ พลิกดาบให้ปลายทิ่ม ลงมื อ ขวาระดั บ ปลายคิ้ ว มื อ ซ้ายตั้งวงสูง

ตารางที่ 4 : กระบวนท่าราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ( ต่อ )


27

ท่าที่ ทานองเพลง 19 กราวพม่ากลองยาว

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา ก้ า วเท้ า ขวาออกเป็ น ก้ า วข้ า ง พร้ อ มๆ กั บ วาดมื อ ที่ ถื อ ดาบ ออกเป็นหงายมือ เปลี่ย นเอีย ง ขวาพร้อมถัดเท้าขวา

20

ก้ า วเท้ า ขวาออกเป็ น ก้ า วข้ า ง กั บ วาดมื อ ที่ ถื อ ดาบออกเป็ น หงายมือ เปลี่ยนเอียงขวาพร้อม ถัดเท้าขวา

21

ถัดเท้า สลับแต่ มือขวาควงดาบ เ อี ย ง ซ้ า ย มื อ ซ้ า ย ตั้ ง ว ง เหมือนเดิม


28

ตารางที่ 4 : กระบวนท่าราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ( ต่อ ) ท่าที่ ทานองเพลง ภาพท่ารา คาอธิบายท่ารา 22 กราวพม่ากลองยาว หมุ นตั ว ไปด้ า นหลั ง ขโยกเท้ า ขวา มือขวาควงดาบ1 ครั้งแล้ว หันคมเข้ า หาตั ว เองมื อซ้ า ยจี บ ระดับชายพก ยกเท้าซ้าย

23

หมุนตัวไปทางด้านขวา วางเท้า ซ้ายลง มือขวาถือดาบข้างลาตัว มือซ้ายตั้งวง ก้มตัวลงขนานกับ พื้น

24

ขโยกเท้า ขวาแล้วแตะเท้า ซ้ า ย มือขวาลากดาบไปตั้งด้า นหน้ า มือซ้ ายจีบระดับชายพก ปฏิบัติ ท่าที่ 23 และท่าที่ 24 2 จังหวะ ใหญ่


29

ตารางที่ 4 : กระบวนท่าราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ( ต่อ ) ท่าที่ ทานองเพลง ภาพท่ารา คาอธิบายท่ารา 25 กราวพม่ากลองยาว มือขวาถือ ดาบควง 2 ครั้งตวั ด ปลายดาบไปไว้ที่ ห ลัง มือ ซ้ า ย จีบที่อก มองทางซ้ายมือ

26

ควงดาบ 1 ครับกลับมาด้านหน้า หันคมดาบเข้าล าตัว มือซ้ ายส่ง จี บ หลั ง กระ ทุ้ ง ส้ นเ ท้ า ซ้ า ย ปฏิบัติท่า ที่ 25 และท่าที่ 26 2 จังหวะใหญ่


30

27

เอาดาบขัดไว้ที่หลังมือซ้ายกามือ ขั ดที่ดาบ เดินถัดเท้า หน้า มอง ตรง เดินเป็นวงกลม

ตารางที่ 4 : กระบวนท่าราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ( ต่อ ) ท่าที่ ทานองเพลง ภาพท่ารา คาอธิบายท่ารา 28 กราวพม่ากลองยาว วิ่งซอยเท้าขึ้นมาข้างเวที ทาท่า ซั กแป้ง โดยมือขวาถื อดาบมื อ ซ้ายตั้งวงระดับปาก เหลื่อมเท้า ขวา

29

ยืดยุบแล้ววิ่งไปทางขวาของเวที ก้าวข้างเท้าขวา แล้ววิ่งไปกลาง เวที


31

30

มือขวาถือดาบพาดแขน พร้อม กับหยิ บจีบแล้วกลายมือเป็นตั้ง วงระดับอก โดยก้าวข้างเท้าซ้าย จากนั้นดึงเท้าขวามาเหลื่อมเท้า

ตารางที่ 4 : กระบวนท่าราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ( ต่อ ) ท่าที่ ทานองเพลง ภาพท่ารา คาอธิบายท่ารา 31 กราวพม่ากลองยาว ลากเท้าซ้ายเข้ ามาและลากเท้า ขวามาเหลื่อมเท้า แล้วรวมมือ กันไว้ด้านหน้า

32

ก้าวเท้าขวา แล้วยกเท้า ซ้ายไป ก้า วข้ า งโกยมือ ทั้งสองขึ้ น โยก ตัวตามจังหวะ


32

33

ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าและแตะ เท้าขวา มือซ้ายตั้งวงระดับชาย พก มือขวาค่อยๆ เลื่อนดาบไปชี้ แขนตึง โดยหันตัว 45 องศาของ เวที

ตารางที่ 4 : กระบวนท่าราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ( ต่อ ) ท่าที่ ทานองเพลง ภาพท่ารา คาอธิบายท่ารา 34 กราวพม่ากลองยาว วาดดาบระดับไหล่ มาวางที่มือ ก้าวหน้าเท้าขวา จากนั้นวิ่งเป็น วงกลมมากลางเวที


33

35

ก้าวเท้าขวาแตะเท้าซ้าย ตีไหล่ มือขวาถือดาบพาดแขน มือซ้าย กามือระดับชายพก

36

จากนั้นมือตั้งสองจีบระดับศีรษะ ก้า วหน้า เท้า ขวา ยื ดยุบแล้ววิ่ง ไปทางขวาเป็นวงกลมมากลาง เวที

ตารางที่ 4 : กระบวนท่าราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ( ต่อ ) ท่าที่ ทานองเพลง ภาพท่ารา คาอธิบายท่ารา 37 กราวพม่ากลองยาว จากนนั้นถัดเท้าขวา มือซ้า ยตั้ง วงสูง มือขวาถือดาบ แล้วสะบัด ข้อมือเดินขึ้นมาหน้าเวที 3 ครั้ง


34

38

ก้าวเท้าขวาเอียงซ้าย มือขวาถือ ดาบระดับชายพก มือซ้ายวางที่ ปลายดาบ แล้วตีไหล่เลื่อนดาบ ไปข้างหน้า 3 ครั้ง

39

ก้าวข้างเท้าขวา มือขวาถือดาบ ระดับ ศีร ษะ มื อซ้ า ยจีบ ส่ง หลั ง ยืดยุ บแล้วควงดาบตามจัง หวะ วิ่งเป็นวงกลมไปกลางเวที

ตารางที่ 4 : กระบวนท่าราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ( ต่อ ) ท่าที่ ทานองเพลง ภาพท่ารา คาอธิบายท่ารา


35

40

กราวพม่ากลองยาว

มือขวาควงดาบระดับศีรษะ มือ ซ้ า ย จี บ ส่ ง ห ลั ง ซ อ ย เ ท้ า หมุนรอบลาตัว 1 รอบ หันหน้า ตรง

41

วิ่งไปด้ า นหน้ า ของเวที โดยมื อ ซ้ า ยตั้ ง วง มื อ ขวาถื อ ดาบฟั น ดาบไปทางซ้ า ยข้ า งล าตั ว ยก เท้าซ้าย

42

จากนั้นควงดาบ 1 ครั้งแล้วฟัน ดาบไปทางขวา ข้ า งล าตั ว ยก เท้าซ้ายหน้าตรง

ตารางที่ 4 : กระบวนท่าราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ( ต่อ )


36

ท่าที่ ทานองเพลง 43 กราวพม่ากลองยาว

44

ภาพท่ารา

คาอธิบายท่ารา จากนั้นควงดาบมาด้านหน้า หัน คมดาบเข้าหาตัวเอง มือซ้ายตั้ง วงระดับชายพก ยกเท้าซ้ายเอียง ขวา

ก้า วหน้า เท้า ขวา ควงดาบพาด หลัง มือซ้ายกามือวางข้างลาตัว ยืดยุบ แล้วเดินเข้าข้างเวที

แสดงท่าราโดย นายธีรพัฒน์ ทองฟัก ผู้บันทึกภาพ : นางสาวกาญจนา เริงศักดิ์, วันที่ 3 กันยายน 2561 กลวิธีในการรา กระบวนการราพระเจ้าปดุงตรวจพล มีการสืบทอดท่าในลีลาท่าราของละครพันทาง อัน เนื่องมาจากการแสดงชุดพระเจ้าปดุงตรวจพลนี้อยู่ในละครพันทาง จึงมีลีลาลักษณะเฉพาะทาง และ ที่สาคัญลีลาท่าทางของแต่ละบุคคลก็จะแตกต่างกันออกไปอย่างเห็นได้ชัด ครูท่านใดมีจุดเด่นในการรา ที่ดูมีท่าทางดีตรงไหน ครูท่านนั้นก็จะนามาใช้ จึงทาให้กระบวนการราที่มีความหลากหลายแต่คงไว้ซึ่ง แบบแผนที่มีลักษณะท่าราที่เหมือนกัน


บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ การศึกษาวิธีการราชุ ด พระเจ้า ปดุงตรวจพล ซึ่งเป็นตัวละครที่อยู่ ในละครออกภาษา ( พันทาง ) เรื่องสงครามเก้า ทั พ เป็นการศึ กษาเพื่อให้ท ราบถึ งวิธีการราออกภาษา ( พม่า ) โดย การศึกษาจากแหล่งวิทยาการต่างๆ จากการศึกษาสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านนาฏศิลป์และผู้ที่มี ประสบการณ์ในการราเดี่ยวทางด้านนาฏศิลป์ไทย ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ซึ่งได้รับความอนุเคราะห์ จาก ดร.ชวลิต สุนทรานนท์ นักวิชาการละครและดนตรี กรมศิลปากรกระทรวงวัฒนธรรม สานักการ สังคีต กรมศิลปากร และได้รับการถ่ายทอดท่าราจากนางสาวอภิญญา ชานิ พนักงานมหาวิทยาลัย นเรศวร เป็ นผู้ถ่า ยทอดท่าราเดี่ยวทางด้านนาฏศิลป์ไ ทย ชุ ด พระเจ้า ปดุงตรวจพล และยังได้มาซึ่ ง กลวิธีและเทคนิคในการราตรวจพล การราพระเจ้าปดุงตรวจพล เป็นการราที่จะต้องใช้ตัวละครเป็นสื่อในถ่ายทอดให้ เห็นถึงความสามารถของปรมาจารย์ผู้คิดประดิษฐ์ ทั้งรูปแบบ เรื่องราวกระบวนการรา เพลง ฉาก แสง สี เสียง เป็นต้น ละครอิงประวัติศาสตร์ เป็นศิลปะในการแสดงละครที่เน้นเนื้อเรื่องไปทางปลุกใจ ด้วยเหตุนี้เนื้อเรื่องโดยส่วนใหญ่จึงมีลักษณะของการต่อสู้ ความขัดแย้ง ความรัก และความเสียสละ เป็นต้น และละครอิงประวัติศาสตร์ก็มีอารมณ์ของผู้แสดงซึ่งสามารถสื่อให้ผู้ชมเข้าใจและเกิดความ ประทับใจต่อผลงานการแสดงนั้นๆ ได้อย่างดี เพลงที่ใช้ประกอบการแสดงเป็นไปตามลักษณะของเนื้อ เรื่อง เช่น ถ้ากล่าวถึงชนชาติพม่าก็ใช้สาเนียงพม่า เป็นต้น โดยใช้วงปี่พาทย์บรรเลงประกอบการแสดง ในบางครั้งอาจใช้ดนตรีสากลบรรเลง ( อภิญญา ชานิ , 2548 ,หน้า 45. ) โดยผู้ที่จะราเดี่ยว ชุด พระเจ้าปดุงตรวจพล ต้องมีคุณสมบัติที่เป็นผู้เรียนตัวพระและมีความ ชานาญในการใช้อาวุธ โดยใช้ปี่พาทย์บรรเลงเพลงกราวพม่ากลองยาวประกอบการแสดง ในการแต่ง กายนั้นจะเป็นการแต่งกายแบบละครพันทาง ซึ่งราเดี่ยวชุด พระเจ้าปดุงตรวจพลนั้นเป็นการแต่งกาย แบบกษัตริย์พม่าเพื่อไปออกรบจะมีการสวมหมวกและถืออาวุธที่เป็นลักษณะเด่นของพระเจ้าปดุง โดย มีนาฏยศัพท์ที่สาคัญในการราพระเจ้าปดุงตรวจพลคือ การตีไหล่ โดยมักจะเห็นทั่วไปในละครพันทาง โดยการราพระเจ้าปดุงตรวจพล จะไม่มีบทร้อง แต่จะเป็นการราตีบทที่เป็นท่ามาตรฐานของการตรวจ พล มีอยู่ 3 ท่าหลักดังนี้ 1. ท่าเรียกพล 2. ท่ารวมพล 3. ท่าเดินตรวจพล ผู้ราจะต้องศึกษาวิธีราใน การตรวจพลเพื่อที่จะให้การถ่ายทอดท่ารา ราเดี่ยวชุด พระเจ้าปดุงตรวจเป็นไปโดยง่าย


35

ข้อเสนอแนะ 1. 2. 3. 4. 5.

ในการสอบแต่ละครั้งมีการเตรียมความพร้อมให้มากที่สุด ควรฝึกฝนทบทวนท่าราอย่างสม่าเสมอ ควรเข้าใจถึงอารมณ์ของตัวละครนั้นๆ เวลาแสดงควรมีสมาธิเพื่อที่จะได้แสดงออกมาอย่างสมบูรณ์ ในการสอบราเดี่ยวมาตรฐานควรเลือกชุดการแสดงที่เหทาะสมกับผู้สอบ


บรรณานุกรม


37

บรรณานุกรม ชวลิต สุนทรานนท์, การศึกษาและพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับการแต่งกายยืนเครื่องโขน-ละครรา. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนท์พับลิชชิ่ง, 2550. ปาลิตา แป้นไม้. ( 2551 ). โครงการปริญญานิพนธ์ การสอบราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด พระเจ้าปดุง ตรวจพล. ( 1 ): คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. สุจิตต์ วงษ์เทศ. ( 2532 ). ร้องราทาเพลง : ดนตรีนาฏศิลป์ของชาวสยาม. กรุงเทพมหานคร: มติชน. อภิญญา ชานิ. ( 2548 ). โครงการปริญญานิพนธ์ การสอบราเดี่ยวมาตรฐาน ชุด พระเจ้าปดุง ตรวจพล. ( 1 ): คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. อภิญญา ชานิ. สัมภาษณ์ วันที่ 4 ตุลาคม 2561.


ภาคผนวก


40

ภาคผนวก ก. ภาพบรรยากาศวันซ้อมใหญ่และวันจริง วันที่ 30 -31 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ โรงละครเฉลิมพระเกียติ 72 พรรษา มหาวิทยาลัยนเรศวร

ภาพที่ 6 : บรรยากาศการแสดงบนเวที วันซ้อมใหญ่ ที่มา : นางสาวพัชรธิชา มายอด, วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2561


41

ภาพที่ 7 : บรรยากาศการแสดงบนเวที วันซ้อมใหญ่ ที่มา : นางสาวพัชรธิชา มายอด, วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2561

ภาพที่ 8 : บรรยากาศการแสดงบนเวที วันจริง ที่มา : นางสาวพัชรธิชา มายอด, วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2561


42

ภาพที่ 9 : บรรยากาศการแสดงบนเวที วันจริง ที่มา : นางสาวพัชรธิชา มายอด, วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2561

ภาพที่ 10 : ภาพรวมชุดการแสดงราเดี่ยว ที่มา : นางสาวพัชรธิชา มายอด, วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2561


43

ภาพที่ 11 : บรรยากาศการเสนอแนะจากกรรมการ ที่มา : นางสาวพัชรธิชา มายอด, วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2561


ประวัตผิ ู้วิจัย


43

ประวัตผิ ู้วิจัย

ชื่อ-นามสกุล นายธีรพัฒน์ ทองฟัก Mr.Theerapat Thomgfag ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 24 หมู่ 10 ตาบล ยางโกลน อาเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก 65120 โทรศัพท์มือถือ 0848203986 Email-address Theerapat042540@gmail.com วัน เดือน ปีเกิด

วันที่ 4 เดือน มกราคม พ.ศ. 2540

สถานที่เกิด โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชนครไทย จังพิษณุโลก สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธ ประวัติการศึกษา 1. พ.ศ. 2542 วุฒิการศึกษา อนุบาล

สถาบัน โรงเรียนบ้านน้าพริก

2. พ.ศ. 2545 วุฒิการศึกษา ประถมศึกษา

สถาบัน โรงเรียนบ้านน้าพริก

3. พ.ศ. 2551 วุฒิการศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น

สถาบัน โรงเรียนยางโกลนวิทยา

4. พ.ศ. 2554 วุฒิการศึกษา มัธยมศึกษา ตอนปลาย สถาบัน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ 5. พ.ศ. 2558 วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี

สถาบัน มหาวิทยาลัยนเรศวร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.