Theme Interview: Lady in Spotlight

Page 1

เอ่ยปาก

ผู้หญิงที่น่าจับตามองแห่งปี ในปัจจุบัน ผู้หญิงยุคใหม่เริ่มหันมาใส่ใจ และยอมรับในความเป็นตัว ของตัวเองมากขึ้น ดังจะเห็นได้จากการที่ส่วนใหญ่แล้วมุ่งเรียนรู้และ อดทนท�ำงานอย่างหนัก เพือ่ ให้ชวี ติ ของตัวเองมีคณ ุ ค่า มีความสามารถเป็น ที่ยอมรับ มีความส�ำเร็จในหน้าที่การงาน และสามารถก้าวไปสู่เป้าหมายของ ชีวิตในวิถีทางเฉพาะตัวได้อย่างมั่นอกมั่นใจ คงปฏิเสธไม่ได้เลยว่า นี่เป็นอิทธิพลของกระแสสังคมยุคใหม่ ที่ไม่ว่าผู้หญิง หรือเพศ ไหนๆ ก็สามารถเปิดโลกทัศน์ได้อย่างฉับไวผ่านโลกไซเบอร์ ซึ่งคงท�ำให้หลายคนได้รู้แล้วว่า การจ�ำกัดตัวเองและยึดติดอยู่กับกรอบเดิมๆ เรื่องกายภาพ หรือมุมมองของสังคมที่ก�ำหนดว่า ผูห้ ญิงต้องเป็นเพียงผูต้ ามเสมอนัน้ แท้จริงแล้วคือความล้าหลัง และคงถึงเวลาทีผ่ หู้ ญิงจะต้องก้าว ออกมายืนข้างหน้า ในต�ำแหน่งของผู้น�ำ หรือผู้ที่ก�ำหนดทิศทางชีวิตของตัวเองได้บ้างเสียที แปลกแต่จริงว่า ความอ่อนโยน ความน่ารัก และความสดใส คือสิ่งที่สามารถเคียงคู่ไปได้ด้วย ดีกับความสามารถ ความเก่งกาจ และความเป็นผู้น�ำ เพียงแค่ผู้หญิงคนหนึ่งมีความกล้ามากพอที่จะ เปลีย่ นแปลงตัวเอง ปรับมุมมองทางความคิด มีความขยัน อดทน ใฝ่รู้ และมีใจรักในความส�ำเร็จ ก็จะสามารถ กลายเป็นผู้หญิงเก่ง ที่ทั้งฉลาด และยังคงความงดงามตามแบบฉบับที่ผู้หญิงทุกคนพึงมีไปพร้อมๆ กันได้ คอลัมน์เอ่ยปากของนิตยสารลิปส์เล่มนี้ จึงขอน�ำเสนอเรือ่ งราวเกีย่ วกับชีวติ และการงานของผูห้ ญิงเก่งยุคใหม่ที่ ก�ำลังน่าจับตามอง 6 คน ซึง่ มาจากหลากแวดวง หลายสาขา และมีไลฟ์สไตล์แตกต่างกันออกไป ทว่ามีความน่าสนใจ ในประเด็นเดียวกัน คือ ความสามารถที่น่ายกย่อง ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นแบบอย่างที่ดีแก่สังคม และอาจสร้างแรงบันดาล ใจให้เกิดกับผู้หญิงอีกหลายคน ที่ก�ำลังคิดจะเริ่มต้นออกเดินทางแสวงหาความส�ำเร็จของตัวเองก็เป็นได้ อุปสรรค การต่อสู้ ความมุ่งมั่น และเรื่องเล่าผ่านชีวิตของพวกเธอเหล่านี้ ก�ำลังจะพิสูจน์ให้เห็นอย่างแจ่มชัด ว่า แค่เปลี่ยนความคิด ชีวิตก็เปลี่ยน และไม่ว่าผู้หญิงคนไหน ก็สามารถเป็นผู้หญิงเก่งได้ทั้งนั้น 0226

0227


ทยา ทีปสุวรรณ

รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เรื่อง พรฤดี - รุจิรา ภาพ S. Guy

ขณะทีศ่ กึ ชิงเก้าอีผ้ วู้ า่ ราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 16 ก�ำลังเป็นไปอย่างเข้มข้น และ จะทราบผลในวันที่ 3 มีนาคมนี้ เมืองหลวง ของประเทศยังคงต้องการการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องแม้ในช่วงรอยต่อ นั่นเอง เราจึง เห็นหลายชิน้ งานในสมัยของหม่อมราชวงศ์ สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพฯ คนล่าสุด ยังถูกขับเคลื่อนไปข้างหน้าเพื่อ ยกระดั บ ชี วิ ต คนเมื อ งกรุ ง ให้ ดี ขึ้ น ทยา ทีปสุวรรณ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพฯ คือ หนึ่ ง ฟั น เฟื อ งส� ำ คั ญ ในการผลิ ด อกออก ผลของหลายโครงการดี ๆ เหล่ า นั้ น ซึ่ ง ตลอด 4 ปีที่ผ่านมา รองผู้ว่าฯ หญิงที่ทั้ง เก่งและแกร่งผู้นี้ได้อุทิศตนท�ำงานรับใช้คน กรุงเทพฯ และตั้งปณิธานสานต่องานต่างๆ ทีไ่ ด้ลงมือท�ำ ไม่วา่ บทสรุปของสนามชิงผูน้ ำ� กรุงเทพมหานครจะออกมาเป็นเช่นไร “อีฟไม่เคยวางแผนว่าจะมาท�ำงานสาย การเมือง แต่ครอบครัวก็อยู่ในแวดวงการเมือง มาตลอด ทั้งคุณพ่อ (เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์) คุณ แม่ (คุณหญิงศศิมา ศรีวิกรม์) พี่ชาย (พิมล ศรีวิกรม์) และสามี (ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ) การเข้า มารับหน้าที่รองผู้ว่าราชการกรุงเทพฯ ของอีฟ ต้องขอย้อนไปเมื่อ 4 ปีที่แล้ว ที่มีการเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพฯ ขณะนั้น สามีลงสมัครรับ เลือกตั้งซ่อมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อีฟก็ไป ช่วยสามีหาเสียง ก็เผอิญไปเจอคุณชายก�ำลังหา เสียงอยู่พอดี จึงเดินหาเสียงด้วยกัน ซึ่งคุณชาย มาบอกภายหลังว่าตอนนั้นท่านก็ดูเราอยู่ เห็น ว่ามีความเป็นธรรมชาติ เข้ากับชาวบ้านได้ และ ช่วยด้วยความรู้สึกว่าไม่ได้เป็นภาระ ...ผลเลือกตั้งคือ คุณชายได้รับเลือกให้ เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพฯ และสามีของอีฟก็ ชนะการเลือกตั้ง ตอนนั้นอีฟตั้งใจจะเป็นช้าง เท้าหลังเต็มที่ ช่วยงานของสามีบ้าง และดูแล ธุรกิจครอบครัวไปด้วย แต่วันที่ก�ำลังฉลองกัน ในครอบครัว คุณชายก็โทรมาหา บอกว่าอยาก ให้ อี ฟ มาช่ ว ยงานท่ า นในต�ำ แหน่ ง รองผู ้ ว ่ า ฯ 0228

อี ฟ ก็ ต กใจ ตอบท่ า นไปว่ า ‘อี ฟ ไม่ มี ค วาม สามารถขนาดนั้นหรอกค่ะ แต่แค่คุณชายให้ เกียรติโทรมาถามก็ดใี จแล้ว’ คุณชายบอกว่าท่าน ไม่ได้แค่ให้เกียรติโทรมาถามนะ แต่ตงั้ ใจชวนมา ท�ำงานด้วยจริงๆ เอาเป็นว่าให้มาคุยกันว่าสโคป งานเป็นยังไง จึงคุยกันในครอบครัวว่าน่าลองนะ เพราะโดยส่วนตัวอีฟเป็นคนชอบเสี่ยง ลุย ชอบ ความท้าทาย จึงตอบคุณชายไปว่าตกลง” หลังการตัดสินใจที่เจ้าตัวกล่าวว่าเป็นการ เลือกที่ถูกต้องที่สุดครั้งหนึ่งในชีวิต โครงการดีๆ มากมายก็ได้ถูกริเริ่มขึ้นเพื่อคนกรุงเทพฯ และ สร้างผลส�ำเร็จที่น่าพึงพอใจไม่น้อย “อีฟดีใจที่ได้ท�ำงานที่เกี่ยวกับรากฐานใน การพัฒนาชีวติ คน เริม่ จากการศึกษาซึง่ เป็นหัวใจ หลัก อันดับแรกคือด้านวิชาการต้องเข้มแข็ง แต่ ก็ไม่ลมื ให้ความส�ำคัญด้านโภชนาการเด็ก เพราะ คุณภาพอาหารถือเป็นโภชนาการทางสมองด้วย จึงท�ำโครงการเด็กยิ้มอิ่มท้องในโรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหานคร ตอนที่จัดตั้งโครงการนี้ใหม่ๆ ต้องไปชิมอาหารเช้าตามโรงเรียนกับคุณชายทุก เช้า และไปแบบไม่บอกล่วงหน้าด้วย ปรากฏว่า อาหารเช้าในโครงการนี้ดีมาก ข้าวต้มหมูเห็ด หอม โจ๊ก บางทีมีราดหน้า บางคนอาจจะมองว่า อาหารเช้าไม่ได้น่าตื่นเต้นอะไร แต่มื้อเช้าเป็น มื้อที่ส�ำคัญที่สุด และถ้าเด็กได้ทานอาหารที่มี ประโยชน์ สุขภาพใจ สุขภาพกายก็จะดี เรียน รู้เรื่องมากขึ้น ซึ่งหมายถึงคุณภาพชีวิตของเขา ในอนาคต ...อี ก โครงการหนึ่ ง ที่ ข ยายผลได้ อ ย่ า ง มหาศาลคือ หลักสูตรโตไปไม่โกง แม้เราจะเห็น ความส�ำคัญของวิชาการ แต่ก็ให้ความส�ำคัญ กับคุณธรรม จริยธรรม ความซือ่ สัตย์ และการท�ำ เพือ่ ส่วนรวมด้วย กรุงเทพมหานครจึงท�ำงานร่วม กับ ดร.จุรี วิจิตรวาทการ เลขาธิการองค์กรเพื่อ ความโปร่งใสในประเทศไทย ซึง่ เราก็ทำ� กันแบบ ยาแรงเลยค่ะ และเริ่มปลูกฝังตั้งแต่อนุบาล ใน ทีส่ ดุ ก็ได้หลักสูตรโตไปไม่โกง คิดตัง้ แต่เพลง สือ่ การสอนเด็ก เขียนหนังสือขึน้ มาใหม่ มีการเรียน

เป็นวิชาบังคับทุกอาทิตย์ มีนิทานส�ำหรับเด็ก มี การจัดอบรมครู ...ขณะนี้หลักสูตรโตไปไม่โกงมีไปจนถึง ชั้น ม.3 และวางแผนว่าจะด�ำเนินงานไปจนถึง ม.6 ซึ่งได้รับการตอบรับที่ดีมาก ครูมีความสุข ที่ได้สอนเด็ก เห็นการเปลี่ยนแปลงของเด็กเชิง ทัศนคติ เด็กเกเรน้อยลง เด็กเก็บของมาคืน ผู้ ปกครองก็แฮปปี้กันมาก และโรงเรียนอินเตอร์ โรงเรียนเอกชนดาวน์โหลดหลักสูตรนี้ไปใช้กัน เยอะทีเดียว ซึ่งคุณชายก็บอกว่า ‘อีฟ เปิดกว้าง เลยนะ ไม่สงวนลิขสิทธิ์ ใครจะเอาไปใช้ ให้ใช้ได้ เลย’ ...แต่อีฟมองว่า เราไม่ควรหยุดอยู่แค่เด็ก นักเรียน แต่ควรเข้าไปถึงกลุ่มวัยรุ่น แล้วอะไร ล่ะที่จะเข้าถึงวัยรุ่นได้ ก็หนีไม่พ้นเรื่องของความ บันเทิง เราจึงไปคุยกับ GTH ร่วมกันท�ำหนังสัน้ ขึน้ มา 15 เรื่อง ฉายทางโมเดิร์นไนน์ทีวี มีดาราดังๆ มาร่วมแสดง และท่าน ว. วชิรเมธี มาให้ขอ้ คิดใน ตอนท้ายของเรือ่ งนัน้ ๆ อีกสิง่ ทีใ่ กล้ตวั เด็กมากๆ ก็ คือการ์ตูน เราได้ร่วมมือกับคุณบอย โกสิยพงษ์ ท�ำการ์ตูนที่สนับสนุนหลักสูตรโตไปไม่โกงขึ้นมา ซึ่งจะถูกปล่อยออกมาในเดือนเมษายนนี้ ...อีฟพูดเสมอว่าใครก็ตามทีจ่ ะมาเป็นผูว้ า่ ราชการกรุงเทพฯ คนต่อไป ถ้าคุณทิง้ โครงการนี้ ต้องถามแล้วว่าคุณทิ้งเพราะอะไร โตไปไม่โกง คุณไม่มีเหตุผลอะไรที่จะไม่ท�ำต่อเลยนะ ซึ่งก็ ขอฝากไว้ว่าอย่ามัวแต่จะไปสร้างนั่นสร้างนี่ที่ เป็นวัตถุเท่านั้น คนต่างหากที่เป็นเรื่องที่ส�ำคัญ ที่สุด และยากที่สุดแล้ว” ในสมัยการบริหารของ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร กรุงเทพมหานครได้รับรางวัล World’s Best City Award หรือมหานครที่น่าท่องเที่ยว ที่สุดในโลก ถึง 3 ปีซ้อน ตั้งแต่ พ.ศ.2553-2555 จากการโหวตของนักท่องเทีย่ วในหลายประเทศ โดยนิตยสาร Travel & Leisure นิตยสารท่อง เที่ยวระดับโลก ซึ่งเป็นรางวัลที่รองผู้ว่าฯ หญิง กล่าวว่าเป็นสิ่งที่สร้างความภาคภูมิใจให้แก่ ตนอย่างมาก ในฐานะแม่งานใหญ่ที่ต้องดูแล

ศักยภาพด้านนี้ของกรุงเทพฯ อี ก ผลส� ำ เร็ จ ที่ พ ลาดไม่ ไ ด้ ใ นการกล่ า ว ถึงคือ การที่กรุงเทพฯ ได้รับเลือกให้เป็นเมือง หนังสือโลกในปี 2556 หลังจากท่านผู้ว่าฯ และ รองผูว้ า่ ฯ หญิงผูน้ ี้ เดินหน้าผลักดันโครงการเพือ่ สนับสนุนการอ่านของคนเมืองอย่างสุดความ สามารถ “หลายคนมองว่าเราบ้าหรือเปล่า ที่ยื่น หนังสือไปถึงองค์การยูเนสโกว่าขอสมัครเป็น เจ้าภาพเมืองหนังสือโลก คนไทยอ่านหนังสือ น้อยจะตาย ก็เพราะเหตุนี้ กรุงเทพฯ จึงขอเป็น แกนหลักในการสร้างสังคมการอ่านให้เกิดขึ้น และเมื่อกรุงเทพฯ ได้รับเลือกเป็นเมืองหนังสือ โลก เราได้วางแผนจัดตั้งโครงการ อ่านกันสนั่น เมือง ขึ้นมา ที่น่าภูมิใจที่สุดคือ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงรับเป็น องค์อุปถัมภ์โครงการนี้ ซึ่งเราต้องกราบบังคม ทู ล ความคื บ หน้ า ให้ พ ระองค์ ท ่ า นทรงทราบ และพระองค์ท่านก็ทรงให้แนวคิดดีๆ กลับมา มากมาย” นอกจากผลงานข้ า งต้ น ที่ เ กิ ด จากการ ท� ำ งานอย่ า งสุ ด ก� ำ ลั ง ของรองผู ้ ว ่ า ราชการ กรุงเทพฯ หญิง ยังมีดอกผลของการทุ่มเทอีก มากมายที่น่าเอ่ยถึง ไม่ว่าจะเป็นความส�ำเร็จ ของโครงการลดเหลื่อมล�้ำ ที่มุ่งหมายลดช่อง ว่ า งในด้ า นต่ า งๆ ของคนในสั ง คม โครงการ ลานกีฬาส�ำหรับวัยรุน่ การจัดตัง้ ด็อกพาร์ค การ ปล่อยสัญญาณไว-ไฟฟรีทวั่ เมืองกรุง การจัดสรร บ้านและสร้างอาชีพให้คนเร่ร่อน การสร้างโรง พยาบาลให้กลุ่มผู้สูงอายุ รวมถึงการตั้งแก๊งก่อ หวอด ที่เป็นการรวมตัวกันของนักการเมืองรุ่น ใหม่ทใี่ ส่ใจในการพัฒนาสังคม เพือ่ รวมพลังกัน ท�ำงานให้บรรลุทุกเป้าหมายที่ตั้งไว้ “เมื่อไม่กี่วันมานี้อีฟคุยกับลูกว่า ‘แม่หมด เทอมแล้วนะ จะได้กลับมาอยู่กับลูกๆ แล้ว ดีใจ ไหม’ ลูกสาวคนโตบอกว่า ‘ถ้าแม่อยูต่ รงนัน้ แล้ว มีความสุข แม่ท�ำไปเถอะ พวกเราโอเค เฟย์จะ ดูแลน้องเอง’ ส่วนลูกชายคนที่สองบอกว่า ‘แม่ ครับ ถ้าแม่กลับมาอยู่กับเรา เราก็ดีใจนะ แต่ถ้า แม่อยู่ตรงนั้น แม่จะดูแลคนได้ทั้งกรุงเทพฯ’ ซึ่ง ส�ำหรับอีฟเอง ถ้าเราพร้อมและมีโอกาสท�ำงาน ให้กับสังคมหรือประเทศชาติ ก็จะท�ำอย่างเต็ม ที่ เพราะการท�ำงานตรงนี้คือความภูมิใจ และ ลูกหลานก็จะได้เห็นว่าพ่อแม่ของเขาท�ำอะไร ให้กับประเทศชาติบ้าง ...และใครก็ตามทีจ่ ะมาท�ำงานการเมือง ถ้ า มาเพื่ อ อยากดั ง มาเพื่ อ ผลประโยชน์ ส่วนตน อีฟขอร้องเถอะ อย่ามาเลย เพราะ งานการเมืองเป็นงานทีท่ ำ� เพือ่ ประโยชน์ของ ประเทศชาติจริงๆ” 0229


เอ่ยปาก

แพรว ศุภจริยาวัตร นักนิติวิทยาศาสตร์ช�ำนาญการ เรื่อง พิสุทธิณี ภาพ สมเกียรติ

แจ๊กเก็ต VICKTEERUT เสื้อเชิ้ต The Only Son 0230

ภาพของหญิงสาวในชุดท�ำงานสีเคร่งขรึม ในมื อ มี อุ ป กรณ์ คู ่ ใ จเดิ น ฝ่ า บรรยากาศที่ ปกคลุมไปด้วยความเศร้าโศก หม่นหมอง ลึ ก ลั บ เพื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ สื บ ค้ น ร่ อ งรอยของ คนร้ า ยที่ ก ่ อ อาชญากรรมอั น โศกสลดไว้ อย่างฉกาจฉกรรจ์ เงื่อนง�ำที่หลงเหลืออยู่ ภายในพื้ น ที่ ถู ก ล้ อ มไว้ ด ้ ว ยเทปสี เ หลื อ ง ก� ำ ลั ง รอการคลายปมจากผู ้ ช� ำ นาญการ อยู่ ภาพนี้ คือ ภาพตัวละครหญิงในซีรีส์ สืบสวนสอบสวนเรื่องดังอย่าง The X-Files และ CSI ทีผ่ ลักดันให้สาวไทยหน้าตาคมข�ำ คนนี้ แพรว ศุภจริยาวัตร เดินตามความ ฝันได้ส�ำเร็จ เพราะในวันนี้เธอคือ นักนิติวิทยาศาสตร์ ช� ำ นาญการ แห่ ง ส� ำ นั ก ตรวจพิ สู จ น์ ท างเคมี สถาบันนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ กระทรวงยุตธิ รรม อาชีพ ที่หลายคนคงยังไม่รู้จักเป็นอย่างดีสักเท่าไร อาชีพที่เต็มไปด้วยความเสี่ยงและบรรยากาศ อันไม่น่าอภิรมย์เอาเสียเลย แต่ส�ำหรับผู้หญิง คนนี้แล้วเธอยืดอกยืนยันอย่างเต็มปากเต็มค�ำ ว่า “ฉันเกิดมาเพื่อสิ่งนี้” “ตอนเด็กๆ แพรวอยากเป็นหมอ แต่พอ โตมาก็เริ่มรู้ว่า ตัวเองไม่เก่งพอที่จะเป็นหมอได้ ถ้าอย่างนั้นเปลี่ยนสายไปท�ำอาชีพอื่นที่ยังได้ ช่วยคนดีกว่า แพรวจบปริญญาตรีด้านเทคนิค การแพทย์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งใน การเรียนทางด้านนี้เราได้เรียนรู้การตรวจพิสูจน์ ในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์การแพทย์ แล้ว ส่งผลการตรวจที่ได้ไปให้คุณหมอวินิจฉัยโรค เพื่อรักษาคนไข้ แต่ลึกๆ แล้วแพรวรู้ตัวเองว่า แพรวอยากเป็นเจ้าหน้าที่ตรวจพิสูจน์หลักฐาน เหมือนในหนังที่เคยใฝ่ฝัน และอาชีพนั้นคือนัก

นิตวิ ทิ ยาศาสตร์ จึงตัดสินใจเข้าเรียนต่อในระดับ ปริญญาโททางด้านนิติวิทยาศาสตร์ ที่คณะ แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัย มหิดล ท�ำให้ได้เรียนรู้การใช้กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในหลากหลายสาขาเพื่อพิสูจน์ข้อ เท็จจริงจากพยานหลักฐาน ...จากเมือ่ ก่อนทีเ่ คยมองว่า เจ้าหน้าที่ CSI เดินถือไฟฉาย ถือปืน ดูเท่ดี พอได้ไปเรียนทาง ด้านนีจ้ ริงๆ ถึงได้รวู้ า่ นิตวิ ทิ ยาศาสตร์มมี ากกว่า นั้น มันเป็นเรื่องของการพิสูจน์หลักฐานทั้งหมด ที่เราได้มาด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อยืนยันการกระท�ำความผิดและสนับสนุน งานกระบวนยุติธรรมให้เกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลอย่างสูงสุด เราต้องพยายามตรวจ หาหลักฐานแล้วเชือ่ มโยงทุกอย่างให้ได้ เหมือน เป็นการต่อจิ๊กซอว์ แพรวเลยรู้สึกสนุกกับงาน มากค่ะ ...คนท�ำงานด้านนี้ต้องเป็นคนช่างสังเกต ช่างวิเคราะห์ คิดอย่างละเอียดรอบคอบ ต้อง จินตนาการได้ดว้ ยว่าถ้าเราเป็นคนร้ายเราจะท�ำ อย่างไร จะเข้า-ออกทางไหน ถืออาวุธอย่างไร ซึง่ เราต้องเรียนรูจ้ ากประสบการณ์การท�ำคดีตา่ งๆ และยังต้องเรียนรู้จากศพด้วย เพราะถ้าเรารู้ว่า สาเหตุการเสียชีวิตเกิดจากอะไรจะท�ำให้เรา มองภาพเหตุการณ์ได้ชัดเจนขึ้น และยังต้องรู้ รอบด้านมากๆ ด้วย ...ปั จ จุ บั น นี้ มี ผู ้ ห ญิ ง เข้ า มาท� ำ งานด้ า น นี้มากกว่าผู้ชายมากนะคะ เพราะการท�ำงาน ด้านนิติวิทยาศาสตร์ต้องใช้ความละเอียดอ่อน พิถีพิถัน และอดทน ซึ่งผู้ชายไม่ค่อยชอบงาน ด้านนี้สักเท่าไร เหตุผลคือ กลัวศพ กลัวเลือด กลัวมีด กลัวเข็ม กลัวสารพัดอย่างค่ะ (หัวเราะ)” เธอเล่าถึงงานทีห่ ลายคนมองว่า ทัง้ เหนือ่ ย ทั้งสุ่มเสี่ยง ทั้งน่าสะพรึงกลัว และน่าสะเทือน ใจในบางครั้ ง อย่ า งร่ า เริ ง ผู ้ ห ญิ ง ตั ว เล็ ก ๆ ที่ ต้องเผชิญหน้ากับสถานการณ์หลากความรู้สึก แบบนี้มาเป็นเวลา 9 ปีแล้วมีวิธีการรับมือกับ สถานการณ์ต่างๆ อย่างไรบ้าง “งานหนั ก มากค่ ะ ยิ่ ง ถ้ า เจอเคสใหญ่ ๆ ความกดดันก็ยิ่งสูง ความคาดหวังสูง กระแส สั ง คมเข้ า มามี ผ ลกระทบมาก ซึ่ ง ท� ำ ให้ เ รา เครียด แต่พอช่วงหลังๆ แพรวเริ่มรู้สึกว่าเป็น ความท้าทายอย่างหนึ่งมากกว่าค่ะ งานของนัก นิติวิทยาศาสตร์เป็นงานที่ไม่เป็นเวลา บางวัน ต้องอยู่เวรคอยสแตนด์บายตลอด 24 ชั่วโมง บางวันมีคดีที่มีผู้เสียชีวิตเข้ามามากถึงสิบกว่า

เคส เราก็ ต ้ อ งออกไปตรวจทุ ก คดี ที่ พ นั ก งาน สอบสวนร้องขอในเขตพื้นที่รับผิดชอบของทาง สถาบันฯ ...ถ้าถามว่า เป็นงานที่เสี่ยงไหม เสี่ยงมาก ค่ะ มีอยู่ช่วงหนึ่งแพรวต้องลงไปท�ำงานที่สาม จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นเวลาสองปี ตอนแรก คุณแม่ของแพรวไม่ยอมให้ลงไป คุณแม่บอกว่า ‘ประเทศชาติไม่ใช่ของเรานะลูก ลูกแม่แม่เลี้ยง มากับมือ ท�ำไมจะต้องลงไปเสี่ยงภัยด้วย ถ้า ตายไปแม่จะอยูอ่ ย่างไร’ แพรวได้แต่ตอบว่า ‘ไม่ เป็นไรหรอก เดี๋ยวแพรวจะรายงานสถานการณ์ ให้ฟังตลอดเลยนะ’ ต้องใช้เวลานานมากกว่าจะ ขอคุณแม่ได้ แต่กบั คุณพ่อไม่มปี ญ ั หาค่ะ คุณพ่อ บอกกับแพรวว่า ‘ในเมื่อเราเลือกเดินในเส้นทาง นี้แล้ว เราก็ต้องท�ำหน้าที่ของเราให้ดีที่สุด’ ...คดีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ทแี่ พรว ได้มีส่วนร่วมในการตรวจพิสูจน์หลักฐานกลาย เป็นคดีที่แพรวประทับใจมาก ทีมของเราไปเจอ กระเป๋าของคนร้ายทีท่ งิ้ ไว้ในขณะหลบหนีต�ำรวจ ภายในกระเป๋ามีวัตถุต้องสงสัยอยู่ข้างใน แพรว เก็บหลักฐานจากกระเป๋าเพือ่ น�ำไปตรวจดีเอ็นเอ ปรากฏว่าดีเอ็นเอตรงกับบุคคลหนึง่ ในฐานข้อมูล พอดี เหมือนเราได้ช่วยเชื่อมโยงคดี และช่วย ขยายผลการสืบสวน ไปสู่การน�ำจับผู้กระท�ำผิด ในที่สุด โดยแพรวเป็นคนเก็บหลักฐานเองด้วย เลยยิ่งรู้สึกประทับใจค่ะ ...ส่ ว นเรื่ อ งการรั บ มื อ กั บ ความกลั ว นั้ น แพรวยอมรับว่าเป็นคนกลัวผีและไม่ชอบอยู่ใน ความมืด แต่แพรวไม่กลัวศพ แต่ถ้าให้อยู่คน เดียวกับศพก็คงไม่ไหวเหมือนกัน (หัวเราะ) แต่ อาจารย์คุณหญิงพรทิพย์บอกเสมอว่า เราท�ำ ดีเขาไม่มาท�ำอะไรเราหรอก และอาจจะเป็น เพราะแพรวเจอศพมามากเสียจนชินท�ำให้ไม่ ค่อยกลัว ยิ่งตอนลงพื้นที่เมื่อครั้งเกิดสึนามิยิ่ง ต้องเจอกับศพเยอะมาก จากทีก่ ลัวเลยกลายเป็น ความรู้สึกอยากช่วยเขามากกว่า ตอนนั้นแพรว บอกกับเขาว่า มีอะไรก็ให้ส่งสัญญาณมานะเรา จะได้ตรวจพิสูจน์อัตลักษณ์เขาได้ถูกเพื่อที่จะ ได้แจ้งให้ญาติมารับกลับไปได้ ซึ่งในบางครั้ง ตรวจอยู่ดีๆ ก็เจอรอยสัก เจอแหวน ท�ำให้ทราบ ได้ว่าเขาเป็นใคร ...ส�ำหรับเรื่องน่าสะเทือนใจที่ได้เจอนั้น จริงๆ แล้วแพรวรู้สึกสะเทือนใจในทุกคดี แต่ คดี ที่ ส ะเทื อ นใจที่ สุ ด เป็ น คดี ที่ พ ่ อ พาลู ก ซ้ อ น มอเตอร์ไซค์แล้วโดนรถชน น้องโดนรถเหยียบ กระโหลกแตก เสียชีวิต ส่วนพ่อบาดเจ็บ พ่อเขา

อุ้มลูกอยู่กลางถนน ร้องไห้ฟูมฟาย กอดลูกไว้ ไม่ยอมปล่อย เราต้องรอจนกว่าเขาจะพร้อม ถึงสามารถเข้าไปตรวจพิสูจน์เพื่อหาหลักฐาน มาตามหาตัวคนร้ายได้ เห็นแล้วแพรวร้องไห้ ตามเขาเลยค่ะ เพราะเข้าใจความรู้สึกของคนที่ สูญเสียคนรักไป” งานที่เต็มไปด้วยรายละเอียดอันอ่อนไหว ต่อความรู้สึก ซึ่งต้องใช้ข้อเท็จจริงมาโยงใยไป สู่การไขปริศนาที่อยู่เบื้องหลังได้ส�ำเร็จ คือ งาน ที่ต้องอาศัยการเรียนรู้อย่างไม่มีวันสิ้นสุด ซึ่ง นักนิตวิ ทิ ยาศาสตร์สาวคนนีก้ พ็ ร้อมทีจ่ ะพัฒนา ตัวเองอยู่เสมอ “ตอนนีแ้ พรวก�ำลังสนใจเรือ่ งการตรวจร่องรอยพยานหลักฐานจ�ำพวกเส้นใย เส้นผม เส้นขน เศษสี เศษกระจก เศษแก้ว หลักฐานพวกนีเ้ ปรียบ ได้กับพระรองของคดี ต่างจากดีเอ็นเอและลาย นิ้วมือที่ถือว่าเป็นพระเอก แพรวเลือกตรวจด้าน นี้ เพราะหลักฐานประเภทนี้เป็นพระรองที่บางที ก็โดดเด่น และมีความหลากหลาย งานสายนี้ มีมานานแล้วแต่ไม่ค่อยมีคนสนใจเพราะเป็น หลักฐานที่มีขนาดเล็กและหายาก ...แพรวคงท�ำงานด้านนีต้ อ่ ไปเรือ่ ยๆ เพราะ รู้สึกเหมือนตัวเองเกิดมาเพื่อสิ่งนี้ แพรวมองตัว เองในอนาคตว่า เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญการตรวจพิสจู น์ หลักฐาน หรือเป็นปรึกษา สามารถวิเคราะห์และ ให้ข้อมู​ูลได้ คล้ายๆ กับเป็นปรมาจารย์ในสาย งานนี้เลยค่ะ ...งานนิติวิทยาศาสตร์เป็นงานที่สนับสนุน งานกระบวนการยุติธรรมได้มาก แพรวอยาก ให้ทุกคนเห็นคุณค่าของงานด้านนี้ งานของเรา ช่วยลดปัญหาอาชญากรรมได้ ช่วยให้ชุมชน สามารถพึง่ พาตัวเองได้โดยไม่ตอ้ งพึง่ เจ้าหน้าที่ รั ฐ และสามารถมี ส ่ ว นร่ ว มกั บ กระบวนการ ยุติธรรมได้อย่างชัดเจนและเข้าถึง นอกจากนี้ นิตวิ ทิ ยาศาสตร์ยงั สามารถลดปัญหาการล้นคุก ได้ เพราะเมือ่ ไม่มอี าชญากรรม ก็ไม่มคี นร้าย ทุก วันนี้เราเน้นกระบวนการจับคนร้ายเข้าคุกอย่าง เดียว โดยไม่ได้มองถึงเรื่องการป้องปราม หรือ การลดการก่ออาชญากรรมเลย ...การเป็นนักนิติวิทยาศาสตร์มีอะไร มากกว่าที่คิดค่ะ”

สไตล์ ดนีย์นาถ หน้า-ผม ธีรยุทธ จันอ้น 0231


เอ่ยปาก

มะลิ จาตุรจินดา

กราฟิกดีไซเนอร์และผู้บริหาร Beourfriend Studio เรื่อง รัชชา ภาพ กฤษฎา

มะลิ จาตุ ร จิ น ดา กราฟิ ก ดี ไ ซเนอร์ แ ละ ผู ้ บ ริ ห ารคนเก่ ง แห่ ง สตู ดิ โ อรั บ ออกแบบ สุดเก๋ Beourfriend คือผู้ที่เต็มเปี่ยมด้วย ความคิดแปลกใหม่ และสนุกได้กับทุกการ สร้างสรรค์ผลงานผ่านใจรัก จนไม่นา่ แปลก ใจเลยว่า ท�ำไมผลงานทุกชิ้นของเธอล้วน ประสบความส�ำเร็จ และได้รับการตอบรับ อย่างกว้างขวางเช่นทุกวันนี้ “มะลิเลือกมาท�ำงานออกแบบเพราะเป็น คนชอบสร้าง ชอบท�ำอะไรทีจ่ บั ต้องได้ และชอบ ท�ำอะไรที่ก่อให้เกิดความรู้สึกขึ้นกับคนดู โดย ค้นพบว่าตัวเองชอบสื่อสารกับผู้อื่น แต่ไม่ชอบ พูด ดังนั้น การสื่อสารด้วยภาพ (Visual Communications) จึงถูกจริตกับเรามากที่สุด ...เส้นทางสายอาชีพของมะลิเป็นเส้นทาง ของโอกาสทีจ่ บั พลัดจับผลูกนั เข้ามาเรือ่ ยๆ กล่าว คือ ตอนจบมัธยมแล้วเห็นเพื่อนๆ เลือกสอบเข้า นิเทศศาสตร์กนั ก็เลยไปเลือกบ้าง แล้วก็ได้เข้าไป เรียนเอกโฆษณา ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่ง ตอนนัน้ ก็ยงั ไม่รหู้ รอกว่าโฆษณาคืออะไร แต่พอดี ว่าเป็นคนทีช่ อบสนใจในทุกๆ เรือ่ ง และหาความ สุขได้ง่ายๆ เลยสนุกไปกับการเรียนในครั้งนี้ ...พอเรียนจบจึงไปเป็นอาร์ตไดเร็กเตอร์ให้ กับบริษทั โฆษณาเล็กๆ แล้ววันหนึง่ ก็ได้รบั มอบ หมายให้ออกแบบโลโก้ของ More Music ซึง่ ตรง นั้นเองที่ท�ำให้ได้เริ่มรู้จักกับงานกราฟิกดีไซน์ มากขึ้น โดยรู้สึกว่างานนี้เปิดโอกาสให้ได้คิด ได้เปรียบเทียบของอย่างหนึ่งออกมาเป็นภาพ ทีห่ ลากหลาย แล้วก็ได้ลงมือท�ำ ซึง่ ตรงกับสไตล์ ของเราอยูแ่ ล้ว จึงชอบมาก เลยตัดสินใจไปเรียน ต่อเกี่ยวกับด้านนี้ที่ประเทศอังกฤษ ...ตอนนั้นไปเรียนอยู่ 4 ปีที่ Central Saint Martins College of Art and Design ซึ่งก�ำลัง เปิดสอนเรือ่ งกราฟิกดีไซน์อยูพ่ อดี แล้วเขาตอบ รับมะลิเข้าไปเรียนเลยหลังจากที่ได้ดูผลงาน โดยที่ไม่ต้องสอบสัมภาษณ์ ซึ่งพอเรียนจบก็ได้ ไปศึกษาต่อปริญญาโทที่ Royal College of Art ผ้า บMiss Selfridge เกีเสื่ย้อวกั Communication art and design อีก 0232

2 ปี โดยแต่ละขั้นตอนนั้นเหมือนกับเป็นความ พอเหมาะพอดีที่ทยอยกันเข้ามาในชีิวิตเรื่อยๆ ท�ำให้มะลิได้มาเรียนรู้ ได้มาท�ำในสิ่งที่ท�ำแล้ว มีความสุข และส่งผลให้กลายมาเป็นอาชีพหลัก ของเราอย่างเช่นทุกวันนี้” หลังจากสั่งสมวิชาและประสบการณ์จน เต็มอิ่มแล้ว เธอจึงตัดสินใจก้าวขึ้นบันไดไปอีก ขั้นหนึ่ง “แรกๆ ก็รวมตัวกับเพื่อนๆ ที่เป็นฟรีแลนซ์ แล้วตั้งเป็นสตูดิโอ Beourfriend ขึ้นมา โดยจะ เน้นการท�ำงานเชิงทดลอง (Experimental) ที่มี พื้นฐานจากคอนเซ็ปต์ แล้วสร้างขึ้นมาเป็นชิ้น งานด้วยสื่อที่หลากหลาย ซึ่งพอท�ำมาสักพัก หนึ่งลูกค้าเลยเริ่มไม่รู้แล้วว่าเราท�ำอะไรกันแน่ (หัวเราะ) เพราะเราท�ำได้หลายอย่างมาก เช่น ท�ำงานสิ่งพิมพ์ก็ได้ ออกแบบอินเตอร์แอ๊กทีฟ เว็บไซต์ก็ได้ หรือท�ำแบรนดิ้งก็ได้ ...ในปี 2011 เลยแยกออกมาเป็น 3 บริษัท ที่ชัดเจนขึ้น ซึ่งตอนนี้มะลิจะดูในส่วนที่รองรับ งานจ�ำพวก Visual Communications โดยตรง เช่น เป็นที่ปรึกษาในการสร้างแบรนด์ และงาน ออกแบบระบบป้ายบอกทางให้กับโรงแรม ห้าง รวมไปถึงการออกแบบประสบการณ์ในพื้นที่ (Space experience) โดยตอนนี้เรามีลูกค้าที่ ให้ความไว้วางใจมาแล้วหลายราย ไม่วา่ จะเป็น องค์กรขนาดใหญ่หรือขนาดกลาง ครอบคลุมทัง้ ในและต่างประเทศ” การยอมรับดังกล่าวคงไม่ได้มาอย่างง่ายๆ สิง่ ทีน่ า่ จะขาดไม่ได้เลยคือเอกลักษณ์ทแี่ ตกต่าง อันเป็นใบเบิกทางส�ำคัญ “มีอาจารย์คนหนึง่ เคยบอกว่า งานของมะลิ เป็นเหมือนกับการผนวกระหว่างงานออกแบบ กับงานวิจิตรศิลป์เข้าด้วยกัน ท�ำให้เกิดชิ้นงาน ที่มีหลากมิติ ทั้งในเรื่องของฟอร์มและแนวคิด ผลงานทีอ่ อกมาจะเล่นกับความคาดหวังของคน ดู และสร้างให้เกิดชิ้นงานที่เกินกว่าความคาด หวัง เช่น เรามองว่าระบบป้ายบอกทางสามารถ ท�ำได้มากกว่าการบอกทาง แต่มันมีศักยภาพ

ในการสร้างประสบการณ์หรือบอกตัวตนของ พื้ น ที่ เ ฉพาะนั้ น ๆ ด้ ว ย งานบางชิ้ น จะมี ช ่ อ ง ว่างให้เกิดการตีความ ท�ำให้สามารถตีความได้ แตกต่างกันออกไป ...ทั้งนี้ก็จะสอดคล้องกับการท�ำงานของ Beourfriend ด้วย ที่จะค่อนข้างคิดงานให้ตอบ โจทย์ของลูกค้าแต่ละรายโดยเฉพาะ ไม่ใช่การ ท�ำงานจากแม่แบบ ที่คิดครั้งหนึ่งแล้วต่อมาก็ แค่เปลี่ยนรูปแบบไปเรื่อยๆ ซึ่งจริงๆ ลักษณะ ที่เราท�ำอยู่ในแง่ของการท�ำเงินแล้วไม่ดีนะคะ เพราะต้องใช้เวลาค่อนข้างมากในการทดลองให้ เกิดสิ่งใหม่ๆ แต่ที่เรายังเลือกท�ำตรงนี้เพราะเรา เล็งเห็นถึงสิ่งที่ได้รับกลับมา นั่นคือความภูมิใจ ที่ได้เห็นความคิดของเราออกมาเป็นรูปเป็นร่าง แล้วทั้งเราและลูกค้าก็ต่างชื่นชอบและมีความ สุขด้วยกันทั้งคู่ ...มะลิจะให้ความส�ำคัญกับทีมงานมาก เวลาท�ำงานร่วมกันจึงเหมือนมาแลกเปลี่ยน ไอเดียกันตามความสามารถและความสนใจ ของแต่ละคน โดยแม้ว่าทุกวันนี้มะลิจะอยู่ใน ต�ำแหน่งหัวหน้า แต่ก็คิดว่าตัวเองยังบริหารได้ ไม่ค่อยดีนะ (หัวเราะ) มะลิจะคอยเป็นผู้ให้ค�ำ ปรึกษา และเน้นการถ่ายทอดวิธีคิดและวาง ระบบให้ทีมงาน เน้นการสร้างมุมมองความคิด สร้างสรรค์และผลักดันศักยภาพของทีมงาน มากกว่า” ไฟแห่งการสร้างสรรค์คงคุกรุ่นอยู่ในชีวิต ของเธอคนนี้ตลอดเวลา จนน่าสนใจว่ามีที่มา อย่างไร “จริงๆ แล้วแรงบันดาลใจมีเยอะมาก สิ่ง ต่างๆ ที่เห็นในชีวิตประจ�ำวันสามารถหยิบเอา มาเป็นไอเดียได้ทั้งหมด ดังนั้น มะลิจึงไม่เคย มีปัญหาเรื่องคิดงานไม่ออก ปัญหาจะอยู่ที่ว่า จะเลือกหยิบมาใช้อย่างไรให้เหมาะมากกว่า ซึ่งในการออกแบบนั้นเราต้องเลือกหยิบอย่าง มีรสนิยม มีสุนทรียภาพ และต้องเลือกให้ตอบ โจทย์ให้มากที่สุด ...ไม่อยากบอกเลยว่ามีแรงบันดาลใจส่วน

หนึ่งเหมือนกันที่ได้มาจากความเบื่อ (หัวเราะ) เพราะมะลิเป็นคนไม่ชอบท�ำอะไรที่ตัวเองรู้อยู่ แล้ว มะลิชอบทดลองท�ำโน่นท�ำนี่ไปเรื่อยๆ แต่ แปลกอยู่อย่างว่างานบางงานที่กินเวลามากๆ เช่น งานเย็บสมุด กลับชอบ ซึ่งอาจเป็นเพราะ ได้สร้างผลงานออกมาเป็นชิ้นที่จับต้องได้ ได้ ค่อยๆ ใช้มือประกอบออกมาและเห็นเป็นรูป เป็นร่าง (ยิ้ม) ...อี ก อย่ า งหนึ่ ง ที่ เ ป็ น ก� ำ ลั ง ใจส� ำ คั ญ คื อ ครอบครัวและเพื่อนร่วมงาน มะลิโชคดีมากที่มี ครอบครัวทีเ่ ป็นแบบอย่าง มีเพือ่ นร่วมงานทีด่ ี ซึง่ คนเหล่านี้จะคอยช่วยกระตุ้นให้เราอยากทุ่มเท อยากสร้างผลงานทีใ่ หม่และสร้างสรรค์อยูเ่ สมอ

...ทุกวันนี้มะลิเลยไม่ต้องถามตัวเองว่าฉัน ประสบความส�ำเร็จแล้วหรือยัง เพราะชีวิตเรา มีความสุขแล้ว และพอดีว่าได้ท�ำงานในสิ่งที่ ตัวเองรัก ท�ำให้ไม่คอ่ ยรูส้ กึ เหนือ่ ยในการท�ำงาน สักเท่าไหร่ ...แต่ต่อจากนี้ก็ยังคงต้องพยายามท�ำทุก งานและทุกวันให้ดีอย่างเต็มที่ พร้อมที่จะเรียนรู้ เพราะจะท�ำให้เราก้าวไปข้างหน้าอย่างพัฒนา ซึง่ มะลิหวังว่าอนาคตจะสามารถสร้างชิน้ งานให้ เป็นประโยชน์แก่สังคมวงกว้างได้มากขึ้น นี่คือ แผนที่มะลิวางไว้และตั้งใจว่าจะท�ำให้ได้ ...อย่างไรก็ตาม มะลิไม่ได้สนุกอยู่กับแค่ เรื่องงานอย่างเดียวเท่านั้น แต่จะพยายามปรับ

สมดุลให้ชีวิตด้วย เช่น งานที่บริษัทจะพยายาม ท�ำแค่ภายในเวลางาน ส่วนวันหยุดก็จะเก็บ ไว้เป็นเวลาของที่บ้าน แบ่งไปใช้เป็นเวลาส่วน ตัวบ้าง และยกเวลาส่วนนี้ให้กับครอบครัวให้ มากที่สุด ...ความสุขและความจริงใจ คือหัวใจ ส�ำคัญในการท�ำงานของมะลิ เพราะมะลิเชือ่ ว่า เมื่อเรารักที่จะท�ำอะไรแล้ว เราจะสนุก และเกิดแรงผลักดันให้ทุ่มเทสร้างสรรค์สิ่ง ที่มีคุณค่าออกมาได้ค่ะ” หน้า-ผม นรัตถ์ ยุวนิช 0233


เอ่ยปาก

ชลณัฏฐ์ โกยกุล พิธีกร

เรื่อง รัชชา ภาพ กฤษฎา

หนึ่งสาวสวยมาดลุยๆ ที่หลายคนอาจคุ้น หน้าคุ้นตาผ่านหน้าจอของสถานีโทรทัศน์ ไทยพีบีเอสนั้น คือ ชลณัฏฐ์ โกยกุล หรือ ปาล์ม ผู้ที่ด�ำรงต�ำแหน่งพิธีกรคนเก่งใน รายการสารคดีชื่อดังหลายรายการ อาทิ พื้นที่ชีวิต และชุมชนต้นแบบ ที่ล้วนแล้ว แต่ชว่ ยสร้างหรือปลุกกระแสคิดบวกให้เกิด การท�ำประโยชน์เพื่อสังคมมาแล้วนับครั้ง ไม่ถ้วน “จริงๆ แล้วปาล์มมองว่างานที่ทําอยู่คงไม่ สามารถนับได้ว่าเป็นการช่วยเหลือสังคมแบบ จริงจังนะคะ เพราะปาล์มไม่ได้เป็นเอ็นจีโอ ไม่ ได้รสู้ กึ ว่าตัวเองเสียสละเพือ่ สังคมขนาดนัน้ งาน ที่ปาล์มทําก็ยังได้เงินเหมือนคนอื่นๆ แต่ปาล์ม แค่สนใจประเด็นทางสังคม ทีต่ วั เองรูส้ กึ ว่าสนุก และท้าทายดี ดังนั้น งานที่ออกมาส่วนใหญ่ จึง เป็นแนวสิ่งแวดล้อม ชุมชน หรือพูดเรื่องเกี่ยว กับสังคมค่ะ ...ปาล์มเริ่มท�ำงานเป็นพิธีกรตั้งแต่สมัย เรียนอยู่ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยเริ่ม จากการที่ได้เป็นเชียร์ลีดเดอร์ในงานฟุตบอล ประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ ซึ่งท�ำให้มีโอกาส ไปออกสื่อต่างๆ แล้วมีคนมาเห็นเข้าจึงชวนไป ท�ำงานพิธีกร ...รายการที่เคยทําสมัยเรียนเป็นรายการ เกี่ยวกับวัยรุ่น พาไปเที่ยว พาไปกิน พาไปดู เทรนด์ใหม่ๆ ทว่าตอนนั้นปาล์มไม่ได้มีความ สุขกับงานที่ทําเลย คือในรายการปาล์มต้องดู ตืน่ เต้นวีด้ ว้ายกับทุกสิง่ ทีเ่ ห็น เลยรูส้ กึ ว่ามันตลก มาก เพราะในชีวติ จริง คงไม่มใี ครทีท่ ำ� เสียงสูงต�ำ่ ยักคิ้วหลิ่วตาพูดจาประดิษฐ์ขนาดนั้น ซึ่งตอน นัน้ ยังเด็ก คิดแค่วา่ ทํางานแบบนี้ ไม่กชี่ วั่ โมงก็ได้ เงินเยอะมาก เลยทําเอาเงินไปกินขนม ไปเที่ยว เล่น แต่ไม่เคยดูงานตัวเองและไม่บอกใครให้ดู ด้วย บางทีมีคนมาถามถึงเพราะเขาเห็นเราใน รายการ ปาล์มก็จะบอกไปแบบขําๆ ว่าไม่ใช่มั้ง อาจเป็นคนหน้าคล้ายก็ได้นะ (หัวเราะ)” เมื่อค้นพบบางสิ่งที่ไม่ใช่ ปาล์มจึงเริ่มต้น ค้นหาความเป็นตัวตนที่แท้จริงของตัวเอง 0234

“พอเรี ย นจบ ปาล์ ม ไปท� ำ งานดี เ จอยู ่ ประมาณหนึ่งปี แล้วพอดีว่าตอนนั้นเป็นช่วงที่ สถานีโทรทัศน์ TITV เปลีย่ นเป็น ThaiPBS คือยก ระดับเป็นทีวีสาธารณะอย่างเป็นทางการ ทาง สถานีกป็ ระกาศรับสมัครพิธกี รและผูป้ ระกาศ ซึง่ ปาล์มคิดว่าน่าสนใจดี เลยเข้าไปสมัคร และผ่าน การคัดเลือก จนได้มาเป็นพิธีกรอย่างทุกวันนี้ ...ทีไ่ ทยพีบเี อส ปาล์มโชคดีมากทีไ่ ด้เริม่ ต้น ด้วยการเป็นพิธกี รรายการชุมชนต้นแบบ ซึง่ เปิด โอกาสให้ได้คุยกับคนและไปศึกษาชุมชนที่เป็น ตัวอย่างจากทัว่ ประเทศ โดยตรงนัน้ ท�ำให้ปาล์ม รู้สึกได้เลยว่า ปาล์มค้นพบตัวเองแล้ว งานแบบ นี้แหละคืองานที่ใช่ งานที่สนุกสําหรับเรา (ยิ้ม) ...มี ค นถามบ่ อ ยเหมื อ นกั น ว่ า ท� ำไมไม่ เลือกท�ำงานสบายๆ แต่งตัวสวยๆ อยูใ่ นห้องแอร์ ท�ำไมมาชอบงานแบบนี้ มาทํางานลุยๆ ทําไม ซึง่ ปาล์มคิดว่า นิยามของค�ำว่าสบายของแต่ละ คนอาจไม่เหมือนกัน สําหรับปาล์มเราสบายใจ กับการลงพื้นที่หรือลุยท�ำงานภาคสนาม การ แต่งตัวสวยๆ ทํางานอยู่แต่ในห้องแอร์ นั่นเป็น ความลําบากสาํ หรับปาล์มมากกว่านะ (หัวเราะ) ...แต่มาท�ำงานตรงนี้ปาล์มก็เคยเหนื่อย และท้อเหมือนกัน แต่ไม่เคยต้องมานั่งถามตัว เองว่าตอนนี้เราท�ำอะไรอยู่ คือปาล์มจะเป็นคน ทีซ่ อื่ สัตย์กบั ความรูส้ กึ ของตัวเองมาก ถ้าไม่ชอบ ไม่ใช่ ก็จะหยุดทันที เพราะรูส้ กึ ว่าเราไม่มเี หตุผล ไม่มีกําลังใจและไม่มีเรี่ยวแรงที่จะทําต่อ ...สิ่งหนึ่งที่ปาล์มไม่เคยคิดว่าเป็นปัญหา เลยคือการที่เราเป็นผู้หญิง ซึ่งบางครั้งแม้จะ ประสบปัญหาจากข้อจ�ำกัดในจุดนี้อยู่บ้าง แต่ ปาล์มก็จะพยายามปรับตัวและหาวิธีการแก้ไข ในแต่ละกรณีไป เช่น ถ้าไปในสถานที่ซึ่งห้าม ผู้หญิงเข้า แล้วเราอยากเข้าไปถ่าย ถ้าเหตุผล คือห้ามเพราะคิดว่าถ้าผูห้ ญิงเข้าไปแล้ว จะเสียง ดังเกะกะ เราก็เจรจาอย่างละม่อม ขอเข้าไปด้วย ความสงบและเคารพสถานที่ แต่ถ้าเป็นเหตุผล เรือ่ งความเชือ่ ทางศาสนาเราก็ไม่ดงึ ดันขอเข้าไป เพราะเป็นการไม่ให้เกียรติความเชื่อของเขา ซึ่ง ในจุดนี้ปาล์มไม่ได้รู้สึกว่าคนที่กีดกันเป็นคน

ไม่ดีนะคะ แค่เขาอาจมีมุมมองอีกแบบหนึ่งที่ แตกต่างจากเราเท่านั้น” จากนิสิตสาวของมหาวิทยาลัยเก่าแก่ของ ประเทศ สู่พิธีกรภาคสนามที่ต้องเข้าไปคลุกคลี กับวิถีชาวบ้านอย่างถึงแก่น ท�ำให้มุมมองและ ความคิดของเธอคนนี้เปลี่ยนไป “เรื่องการมองคนของปาล์มเปลี่ยนไปมาก คือเมื่อก่อนเวลาเห็นคนสักเต็มตัว เห็นคนสูบ บุหรี่ ปาล์มก็จะรูส้ กึ ว่าลึกๆ ว่าเราเป็นคนทีด่ กี ว่า คนเหล่านั้น แต่พอได้มาท�ำรายการที่ท�ำอยู่ทุก วันนี้ ได้ไปคุยกับคนหลายๆ แบบ เช่น โจรกลับ ใจ แม่วัยทีนท�ำแท้ง จึงได้รู้ว่าเราไม่ควรตัดสิน คนจากรูปลักษณ์ภายนอก ปาล์มได้เรียนรูว้ า่ คน เราเลือกเกิดไม่ได้ บางทีการที่เขาต้องท�ำอย่าง นั้นอาจเป็นเพราะเขามีความจ�ำเป็น ซึ่งแท้จริง แล้วเขาก็เป็นคนเหมือนกับเรา และเราก็ไม่ได้ แตกต่างกัน ปาล์มสัมผัสได้กับตัวเองเลยว่า งานนี้ช่วยให้เรามองคนด้วยสายตาที่อ่อนโยน ขึ้น เข้าใจโลก และเข้าใจมนุษย์มากขึ้น ...ดังนัน้ แม้การท�ำงานบางครัง้ จะหนักมาก อย่างล่าสุด ปาล์มไปถ่ายรายการสารคดีใต้น�้ำ เกี่ยวกับฉลามวาฬและหมึกยักษ์ที่ฟิลิปปินส์ มา ไปเจอพายุ ต้องแช่น�้ำจนตัวเปื่อย ได้แผล เต็มตัวไปหมด แต่ปาล์มก็มคี วามสุขมาก ปาล์ม ตระหนักเสมอว่าตัวเองโชคดีมากแค่ไหนที่ได้ ท�ำสิ่งเหล่านี้ และนี่แหละคือบ่อเกิดของแรง บันดาลใจทีป่ าล์มสามารถหยิบเอาไปใช้ในงาน ต่อๆ ไปได้” เส้นทางสายอาชีพของพิธกี รสาวคงด�ำเนิน มาถึงจุดที่เธอค้นพบแล้วในแนวที่ใช่ ทว่าเธอ พอใจจนเรียกตัวเองได้ว่าเป็นผู้หญิงที่เก่งแล้ว หรือยัง “ปาล์มยังไม่คิดว่าตัวเองเป็นผู้หญิงเก่ง นะคะ ปาล์มมองว่าคนทีเ่ ก่งจริงๆ น่าจะเป็นคนที่ เก่งทัง้ ในด้านการงาน มีความฉลาดทางอารมณ์ และสามารถจัดสรรเวลาหรือการลําดับความ สําคัญในชีวิตได้ดีด้วย ปาล์มเองท�ำได้ดีแค่ใน บางเรื่อง แต่ก็มีหลายเรื่องที่คิดว่ายังไม่ผ่าน มาตรฐานของคนเก่งที่คิดว่าควรจะเป็น

...สิ่งที่ปาล์มพยายามทําอยู่ตลอดคือการ จัดสรรเวลาให้ลงตัว แม้ปาล์มจะเป็นคนที่รัก งานมาก แต่งานก็ไม่เคยส�ำคัญกว่าครอบครัว หรือคนที่อยู่ข้างๆ ปาล์มเชื่อจริงๆ ว่าสุดท้าย ในวันที่เราประสบความสําเร็จ ถ้าหันไปแล้วไม่ เจอใครสักคนที่จะมาแบ่งปันความสุขหรือยินดี ไปกับความสําเร็จด้วยกันกับเรา ก็คงจะรู้สึก เหี่ยวเฉาน่าดู ...แต่ถ้ามองเรื่องงาน ตอนนี้ปาล์มรู้สึกว่า ปาล์มประสบความสําเร็จแล้ว ซึ่งนั่นอาจเป็น

เพราะปาล์มไม่ได้ตั้งเป้าไว้ว่าจะต้องได้เป็น พิธีกรอันดับหนึ่ง หรือจะต้องได้ทํากี่รายการ สิ่งที่สําคัญมากกว่าคือการได้ทํางานในสิ่งที่เรา รัก และผลตอบแทนที่ทําให้เราชื่นใจ คือความ เปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการปฏิบัติจริง อย่าง เช่น เมื่อมีคนได้ดูรายการของเราแล้วเกิดแรง บันดาลใจให้ออกไปทําอะไรเพือ่ คนอืน่ หรือออก ไปช่วยเปลีย่ นแปลงสังคม ซึง่ สาํ หรับปาล์มแล้ว นีค่ อื รางวัลทีย่ งิ่ ใหญ่ของชีวติ ดีกว่าเงินทองหรือ เรตติ้งที่สูงที่สุดในโลกเป็นไหนๆ

...ต่อจากนี้ปาล์มก็แค่ทําทุกๆ วันให้ ดี ที่ สุ ด และมี ค วามสุ ข อยู ่ กั บ การดํ า เนิ น ไปในปัจจุบันเท่านั้น ปาล์มไม่จําเป็นต้อง พยายามไขว่คว้าอะไรให้มากมายอีก เพราะ สิ่งที่มีค่าที่สุดสําหรับปาล์ม ปาล์มได้รับมัน เรียบร้อยแล้ว (ยิ้ม)”

สถานที่ ร้านประตูสีฟ้า เอกมัย 10 0235


คิม จงสถิตย์วัฒนา

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการฝ่ายขาย และการตลาด บริษัท นานมีบุ๊คส์ จ�ำกัด เรื่อง พิสุทธิณี ภาพ กฤษฎา

ในชีวิตคนทุกคนย่อมเคยพานพบกับจุดเปลี่ยน ต้นเหตุแห่งการเปลี่ยนแปลงนั้นอาจเกิดจาก วิกฤตทีเ่ ข้ามาสัน่ คลอนความมัน่ คงทีเ่ คยเป็นอยู่ หรืออุบัติเหตุที่ไม่คาดคิดว่าจะต้องประสบ แต่ ส�ำหรับ คิม จงสถิตย์วฒ ั นา ทายาทธุรกิจรองเท้า น�ำเข้า และส�ำนักพิมพ์คุณภาพคนนี้ จุดเปลี่ยน ในกรณีของเธออาจไม่ใช่จุดเปลี่ยนที่พลิกชีวิต ให้กลับตาลปัตรจนน่าตื่นตกใจ แต่กลับเป็น จุดเปลี่ยนแบบเรียบง่ายที่มีเป้าหมายเพื่อการ เปลี่ยนแปลงอย่างยั่งยืน 0236

“ความจริงแล้วตอนเด็กๆ คิมมีความฝัน อยากประกอบหลายอาชีพมากเลยค่ะ ไม่ว่าจะ เป็น ศิลปิน นักเขียน ทนายความ เจ้าของร้าน อาหาร นักเต้นร�ำ คิมคลุกคลีกับนานมีบุ๊คส์ มา ตั้งแต่เด็ก แต่ไม่เคยคิดว่าจะประกอบอาชีพ ด้านนี้โดยตรงเลยนะคะ คิมเลือกเรียนในคณะ วิศวกรรมศาสตร์ ด้านอุตสาหการ ด้วยความ ตั้งใจว่าจะมาช่วยงานของคุณพ่อ คือ โรงงาน ผลิตรองเท้าปิแอร์ การ์แดง ...แต่คิมมาเจอกับประสบการณ์ที่เปลี่ยนแปลงชีวติ คือ คิมได้แรงบันดาลใจจากการอ่าน หนังสือค่อนข้างเยอะ โดยเฉพาะนวนิยายเรื่อง 100 ปีแห่งความโดดเดีย่ ว ของ Gabriel Garcia Marquez บ้านปรารถนารัก ของ Isabel Allende หรือวรรณกรรมของลาว ค�ำหอม เป็นต้น หนังสือ พวกนี้ช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้คิมรู้จักคิดถึง เรื่องสังคม ประกอบกับการที่คิมได้ไปออกค่าย ที่กัมพูชา หรือไปฝึกงานที่ส�ำนักพิมพ์ในต่าง ประเทศ ท�ำให้เริ่มปรับเปลี่ยนมุมมอง เริ่มตั้ง ค�ำถามว่า คนเรามีชีวิตอยู่เพื่ออะไร ตอนนั้น คิมได้ค�ำตอบแล้วว่า คิมอยากประกอบอาชีพที่ สร้างความแตกต่างทางสังคม ...ช่วงนั้นคิมได้คุยกับคุณแม่ (สุวดี จงสถิตย์วัฒนา) อยู่บ่อยๆ เพราะอยากรู้ว่าท�ำไม คุณแม่ถงึ เลือกท�ำงานหนังสือ คุณแม่ของคิมเป็น คนยุค 6 ตุลาฯ เก่า ท่านเลยรู้สึกเหมือนกันกับ คิมว่า ต้องการท�ำอะไรเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคม ของเรา ในการเปลี่ยนแปลงสังคมเราสามารถ ท�ำได้ในหลายบทบาท หนึ่งในบทบาทที่พวกเรา คนในวงการหนังสือท�ำได้ คือ การผลิตหนังสือ เพือ่ สร้างคน นีค่ อื ทีม่ าว่าท�ำไมนานมีบคุ๊ ส์ ถึงเป็น สถานทีท่ ำ� งานแห่งแรกและแห่งเดียวของคิมค่ะ” แววตาสดใสบ่งบอกถึงความกระตือรือร้น ของผู ้ บ ริ ห ารหญิ ง ไฟแรงผู ้ เ ป็ น นั ก อ่ า นตั ว ยง นับตั้งแต่วันแรกที่เธอยื่นมือเข้ามาช่วยแบ่งเบา ภาระของคุณแม่ผู้มีอุดมการณ์ร่วมกัน เราได้ เห็นความเปลี่ยนแปลงในเชิงก้าวกระโดดของ องค์กรผลิตสื่อสิ่งพิมพ์น�้ำดีองค์กรนี้อยู่หลาย ด้านด้วยกัน “ทุกวันนี้ส�ำนักพิมพ์ของเรามีจุดยืนชัดเจน ว่ า บทบาทของเราไม่ ใ ช่ เ ป็ น เพี ย งแค่ ผู ้ ผ ลิ ต หนังสืออีกต่อไปแล้ว แต่เราเป็น ‘Content Provider’ และในปีนี้เรามีจุดยืนชัดเจนว่าเราเป็น ‘Family Destination’ หมายความว่า เราน�ำ เนื้อหาในหนังสือมาแปลงเป็นบริการด้านการ เรียนรู้ เช่น การจัดค่ายวิทยาศาสตร์และค่าย

นักอ่าน การจัดท�ำหลักสูตรห้องเรียนทดลอง วิทย์ที่เปิดโอกาสให้โรงเรียนประถมสามารถน�ำ หลักสูตรการทดลองต่างๆ ไปท�ำในโรงเรียนได้ มี การจัดท�ำศูนย์วทิ ยาศาสตร์ NANMEEBOOKS Learning Center ขึ้นมา สิ่งเหล่านี้ท�ำให้ธุรกิจ ของเราเป็นธุรกิจคอนเทนต์ทคี่ รอบคลุมรอบด้าน มากขึ้น นี่คือปรัชญาของนานมีบุ๊คส์ที่มีอยู่ว่า การเรียนรู้สามารถเสพได้จากหลายรูปแบบ ไม่ ว่าจะเป็นการอ่าน หรือการปฏิบัติจริง ...ในการท�ำธุรกิจเชิงการเรียนรู้ไม่ใช่เรื่อง ง่ า ย และไม่ ใ ช่ ธุ ร กิ จ ที่ ไ ด้ เ งิ น เร็ ว หรื อ ได้ เ งิ น มาก ต้องอาศัยผู้น�ำที่มีอุดมการณ์จริงๆ ถึงจะ สามารถสืบทอดแนวความคิดหลักขององค์กรให้ กับพนักงานได้ ซึ่งถ้าหากไม่ได้รับแรงสนับสนุน จากผู ้ น� ำ ที่ มี อุ ด มการณ์ อ ย่ า งคุ ณ แม่ ข องคิ ม พวกเราคงท� ำ อย่ า งที่ ท� ำ อยู ่ ใ นทุ ก วั น นี้ ไ ม่ ไ ด้ เพราะผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์อีกแบบคงจะบอก ว่า ท�ำแบบนี้ไม่มีก�ำไรนะ ไม่คุ้มหรอก อย่าท�ำ เลยดีกว่า” การขั บ เคลื่ อ นธุ ร กิ จ ควบคู ่ ไ ปกั บ การ เปลี่ ย นแปลงสั ง คมฟั ง ดู เ ป็ น ภารกิ จ อั น ใหญ่ หลวงส�ำหรับผู้หญิงร่างบอบบางอย่างเธอคน นี้ การมุ่งไปสู่เป้าหมายขนาดใหญ่ที่ตั้งอยู่ห่าง ไกลลิบตา คงจะท�ำให้เธอเหนือ่ ยล้าไม่นอ้ ย เมือ่ เอ่ยถามถึงวิธกี ารเติมก�ำลังใจให้ไม่หมดไฟง่ายๆ เธอตอบด้วยน�้ำเสียงที่เต็มเปี่ยมไปด้วยพลังว่า “เวลาคิมคุยกับน้องๆ ในออฟฟิศที่เขาบ่น ว่า ‘เหนือ่ ยมากเลยพี่ หนูไม่ได้หยุดงานมาหลาย วันแล้ว’ คิมจะบอกกับน้องๆ เสมอว่า ‘ทุกคน... พี่เองก็เหนื่อยเหมือนกัน แต่เรามาดูที่เป้าหมาย ดีกว่าว่าโปรเจ็กต์ทเี่ ราท�ำนัน้ สร้างความแตกต่าง นะ’ ถ้าได้ยินใครบ่นว่า ‘เหนื่อย’ คิมจะส่งเขาไป ขายหนังสือตามโรงเรียนเลยค่ะ คิมคิดว่า เมื่อ เขาได้เห็นแววตาของเด็กๆ เวลามาซื้อหนังสือ แล้ว เขาจะเข้าใจในทันทีเลยว่า หนังสือของเรา เปลี่ยนแปลงชีวิตคนบางคนได้จริงๆ ...ยกตัวอย่างเช่น มีน้องคนหนึ่งโดนลักพา ตัว เหตุการณ์นี้ตกเป็นข่าวดังเลยทีเดียว อยู่มา วันหนึ่งอาจารย์บรรณารักษ์ของโรงเรียนที่น้อง เขาเรียนอยู่โทรมาบอกเราว่า น้องเขาโดนจับ เข้าไปไว้หลังรถ แต่พอเขาอ่านการ์ตูนเรื่องเอา ชีวิตรอดปลอดภัยไว้ก่อนของนานมีฯ ท�ำให้เขา สามารถหนีรอดมาได้ เหตุการณ์นี้ท�ำให้เห็นว่า สิ่งที่เราท�ำนั้นมีประโยชน์ต่อเด็กๆ จริงๆ ...ตัวคิมเองก็รวู้ า่ เป้าหมายของคิมเป็นเป้า หมายทีย่ งิ่ ใหญ่นะ แต่คมิ มองว่าเป็นเหมือนการ

เติมพลังให้แก่ชีวิตเรา ท�ำให้รู้สึกว่าเราไม่ได้มี ชีวิตที่ไร้ค่า อุปสรรคในชีวิตที่เข้ามาขัดขวางเรา ย่อมมีแน่นอน ซึ่งถ้าเป็นเมื่อก่อนเวลาเจอกับ อุปสรรคใดๆ ก็ตาม คิมจะรู้สึกผิดหวัง ไม่เข้าใจ ว่าท�ำไมถึงเป็นแบบนี้ อย่างเวลาเข้าไปเสนอ โปรเจ็กต์ให้กับกระทรวงบางกระทรวงแล้วโดน ไล่ออกมา หรือไปหา ผอ. บางโรงเรียนแล้วเขา บอกว่า นักเรียนไทยเราเน้นเรียนเพื่อให้สอบได้ แล้วจะทดลองไปท�ำไมกัน แต่ตอนนี้เริ่มเข้าใจ แล้วว่า คนเราคิดต่างกันได้ ไม่ใช่ว่าสิ่งที่เราคิด จะถูกไปเสียทั้งหมด ทางที่ดีเราค่อยๆ ท�ำงาน ตามเป้าหมายของเราไปดีกว่าค่ะ” ก้าวต่อไปของนักธุรกิจหญิงผูย้ นื ยันในเป้า หมายที่ชัดเจนอย่างหนักแน่นจะเป็นเช่นไร ไม่ ทราบว่าเธอมีโครงการว่าจะผันตัวไปสู่บทบาท อื่นบ้างหรือเปล่า เรานึกสงสัย “ณ ตอนนีค้ มิ มองเห็นตัวเองชัดเจนมากว่า คิมก�ำลังอินกับเรื่องการเรียนรู้และการศึกษา ในอนาคตคิมมองนานมีบุ๊คส์ว่าจะเป็นองค์กร ชั้นน�ำที่โดดเด่นเรื่องเด็กและเยาวชน การเรียน รู้และการศึกษา ไม่แน่ในอนาคตเราอาจจะตั้ง โรงเรียนขึ้นมาก็ได้ หรือต่อไปเราอาจจะร่วมมือ กับทางโรงเรียนต่างๆ เพือ่ ยกมาตรฐานการเรียน รู้เรื่องคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้ดียิ่งขึ้น เพราะเราเชือ่ มัน่ ว่าถ้าเราปลูกฝังให้เด็กไทยชอบ วิทยาศาสตร์ตั้งแต่เด็ก จะช่วยแก้ปัญหาหลาย อย่างของสังคมได้” ไม่ใช่วา่ ผูห้ ญิงทุกคนจะมองเห็นเป้าหมาย ในเส้นทางชีวิตได้ชัดเจนเช่นเธอคนนี้ เราจึง อยากให้ผู้หญิงเก่งแห่งแวดวงส�ำนักพิมพ์ฝาก ถึ ง ผู ้ ห ญิ ง คนอื่ น ๆ ที่ ยั ง ค้ น หาเป้ า หมายของ ตัวเองไม่เจอสักหน่อย “คิมคิดว่า บทบาทของผู้หญิงเราไม่ว่าจะ เป็นในครอบครัว ในสังคม ในชุมชน เราควรต้อง มีจดุ ยืน ต้องท�ำงานและใช้ชวี ติ อย่างมีเป้าหมาย คิมจึงอยากฝากถึงผูห้ ญิงทุกคนว่า คนเราควรมี ความเคารพในตัวเอง อย่าดูถูกตัวเอง พวกเรา ทุกคนสามารถสร้างความแตกต่างได้โดยเริ่ม จากตัวเราเองก่อน ...และไม่ว่าเราจะต้องเผชิญหน้ากับ อุ ป สรรคในรู ป แบบไหนก็ ต าม เมื่ อ เรามี ศรัทธาแล้วเราจะสามารถก้าวข้ามผ่านพ้น ไปได้ค่ะ” หน้า-ผม นรัตถ์ ยุวนิช 0237


วทานิกา ปัทมสิงห์ ณ อยุธยา

ครีเอทีฟ ไดเร็กเตอร์ / ดีไซเนอร์ Vatanika เรื่อง พิสุทธิณี ภาพ สมเกียรติ

อาชีพดีไซเนอร์นับเป็นความใฝ่ฝันของเด็ก ผู้หญิงแทบทุกคนที่โตมากับการเล่นสนุก โดยการแต่งองค์ทรงเครือ่ งตุก๊ ตาตัวโปรดให้ สวยถูกใจเจ้าของ แต่ส่วนใหญ่แล้วพอเด็ก หญิงตัวน้อยเริ่มโตเป็นสาว ตุ๊กตาคู่ใจกลับ ถูกเก็บเข้าลิ้นชักไปตามวัยที่หันไปสนใจ เรื่องราวในชีวิตจริง มากกว่าเรื่องเพ้อฝัน ตามประสาเด็ก ความฝันทีจ่ ะเป็นดีไซเนอร์ ของหญิงสาวส่วนใหญ่เลยพลอยดับสูญไป โดยปริยาย แต่หากมีความตั้งใจจริงแล้ว ความฝันใน รูปแบบที่ว่าไม่น่าจะอยู่ไกลเกินเอื้อม ดังเช่น ความฝันของผู้หญิงสวยโฉบเฉี่ยวผู้รู้จักสไตล์ และเป้าหมายในอนาคตของตัวเองดีคนนี้ แพรวทานิกา ปัทมสิงห์ ณ อยุธยา ดีไซเนอร์ผู้ก่อตั้ง Vatanika แบรนด์เสื้อผ้าผู้หญิงภายใต้ชื่อเดียว กับตัวเธอเอง การมีแบรนด์เป็นของตัวเองดูน่า จะเป็นความฝันสูงสุดของดีไซเนอร์ทุกคน แต่ ส�ำหรับดีไซเนอร์สาวสวยมากความสามารถคน นี้ นีย่ งั ไม่ใช่สงิ่ ทีต่ รงตามความฝันของเธอไปเสีย ทัง้ หมด แต่กน็ บั เป็นการเริม่ ต้นทีส่ วยงามตามที่ เธอบอกกล่าวเอาไว้ว่า “จริงๆ แล้ว แพรชอบกระเป๋าและอยาก ออกแบบทุกอย่างเกีย่ วกับเครือ่ งหนัง แพรเรียน จบทางด้าน Product Design จาก London College of Fashion ซึ่งได้เรียนเกี่ยวกับการ

0238

ออกแบบกระเป๋าโดยตรงเลย แพรจึงไม่ได้คดิ ว่า จะมาเป็นดีไซเนอร์เสือ้ ผ้า แต่ทนี พี้ อตอนกลับมา เริม่ ท�ำธุรกิจในเมืองไทย มีหลายคนแนะน�ำว่าถ้า คิดจะเปิดแบรนด์เป็นของตัวเองแล้วน่าจะผลิต สินค้าให้ครบวงจรไปเลยดีกว่า ...ช่วงแรกๆ แพรเน้นไปที่กระเป๋าเป็นหลัก โดยมีเสื้อผ้าเป็นองค์ประกอบนิดหน่อย ปรากฏ ว่าเสื้อผ้าขายดีกว่ากระเป๋ามาก คงเป็นเพราะ กระเป๋าที่แพรผลิตจะท�ำมาจาก exotic skin เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งมีแค่กลุ่มคนกลุ่มเล็กๆ เท่านั้น ที่เข้าใจในกระเป๋าที่ท�ำจากหนังประเภทนี้ พอ เห็นแบบนี้แล้วแพรและทีมงานเลยตัดสินใจ ลุยเต็มที่ในส่วนของเสื้อผ้า ซึ่งถ้าแพรมีโอกาส ท�ำเสื้อผ้าจากหนังทั้งหมดเลยก็คงจะดี แต่ด้วย ความที่ประเทศไทยเป็นเมืองร้อน การน�ำหนัง มาเป็นวัสดุท�ำเสื้อผ้าคงไม่ค่อยเหมาะ แพรเลย ต้องเก็บความฝันเอาไว้ก่อน รอถึงตอนที่เรามี โอกาสน�ำสินค้าของเราไปขายในต่างประเทศ น่าจะดีกว่าค่ะ” การปรับตัวเข้าหางานดีไซน์ในรูปแบบที่ แตกต่างไปจากสายงานที่ถนัดต้องอาศัยการ พยายามท� ำ ความเข้ า ใจอยู ่ บ ้ า ง แต่ ผ ลงาน คอลเล็กชั่นอันสะท้อนถึงตัวตนของดีไซเนอร์ สาวเจ้าของแบรนด์ได้อย่างเด่นชัด และงาน ออกแบบชุดราตรีและชุดเจ้าสาวที่ต้องวัดตัว สั่งตัดแบบ made-to-order เท่านั้น คือ บท พิสูจน์ว่าดีไซเนอร์เครื่องหนังคนนี้ท�ำเสื้อผ้าได้ ดีไม่แพ้กัน “การท�ำงานในแง่ของการออกแบบไม่คอ่ ย ยากมากเพราะเป็นงานดีไซน์เหมือนกัน อาจ จะมีรายละเอียดที่แตกต่างจากงานเครื่องหนัง อยู่บ้าง เป็นต้นว่า สมมุติเราสั่งผ้าพิมพ์ลาย ปริ๊นต์มาตัดเสื้อ แล้วผ้าที่สั่งมามีส่วนที่เสียอยู่ สิบเปอร์เซ็นต์ เราจะท�ำอย่างไร ต้องสั่งผ้าล็อต ใหม่มาเป็นจ�ำนวนเท่าไร ช่วงแรกแพรงงกับ รายละเอียดงานพวกนี้เหมือนกันนะคะ แต่ส่วน ทีย่ ากทีส่ ดุ คือ การดีลกับซัพพลายเออร์มากกว่า ซึง่ แพรลงมือท�ำเองเสียเป็นส่วนใหญ่ แต่กค็ อ่ ยๆ ปรับตัวกันไปค่ะ ...ในส่วนของเสื้อผ้าส�ำเร็จรูป แพรจะท�ำ ออกมาปี ล ะสองครั้ ง ในช่ ว งเดื อ นมี น าคมกั บ เดือนตุลาคม ดังนั้น ช่วงนี้แพรจึงเป็นช่วงที่แพร ยุ่งเป็นพิเศษ เพราะเป็นช่วงที่คอลเล็กชั่นล่าสุด ซึ่งเป็นคอลเล็กชั่นที่สี่ของแบรนด์ก�ำลังจะวาง

ขายเร็วๆ นี้แล้ว ...ส�ำหรับการหาแรงบันดาลใจในการออก แบบเสื้อผ้าในแต่ละคอลเล็กชั่น แพรมักจะได้ มาจากการเดินทาง ท่องเที่ยว งานศิลปะตาม มิวเซียมต่างๆ หรือว่าวิวทิวทัศน์ที่เราเห็นจาก สองข้างทาง และวัฒนธรรมของเมืองนัน้ ๆ อย่าง ในคอลเล็กชั่นล่าสุดนี้ แพรได้แรงบันดาลใจมา จากเกอิชา ซึ่งโชคดีมากที่แพรมีแพลนไปเที่ยว เกียวโตพอดีเลย การเดินทางไปพักผ่อนในครั้ง นีจ้ งึ เหมือนกับเป็นแจ๊กพอต เพราะแพรมีโอกาส หาข้อมูลมาออกแบบงานไปด้วย ยิ่งได้ไปเห็น เครื่องแต่งกาย ปิ่นปักผมของเกอิชาตัวจริง ยิ่ง ช่วยสร้างแรงบันดาลใจได้มากขึน้ จริงๆ ค่ะ แพร ได้โอบิแท้ๆ ของเกอิชามาส�ำหรับใช้ในเสื้อผ้า ด้วย คิดไว้ว่าอาจจะน�ำมาท�ำเป็นไอเท็มพิเศษ ที่มีชิ้นเดียวค่ะ” เรื่ อ งการออกแบบคงไม่ ใ ช่ ป ั ญ หา แต่ ส�ำหรับเรื่องการบริหารธุรกิจ และเทคนิคการ ตลาดที่มีกลยุทธ์พราวแพรวให้เลือกหยิบมาใช้ เธอท�ำความคุ้นเคยกับสิ่งเหล่านี้ดีหรือยัง “แพรขอใช้ค�ำว่า ดีในระดับหนึ่งดีกว่าค่ะ เพราะในบางครั้งแพรยังใช้ความเป็นศิลปินเข้า มาผสมในการท�ำธุรกิจค่อนข้างมาก ซึ่งจริงๆ แล้ว แพรมองว่าธุรกิจก็คือธุรกิจ เพราะถ้าแพร ออกแบบเสื้อมาสักตัวหนึ่ง เสื้อตัวนั้นสวยมาก แต่ไม่สามารถน�ำมาขายจริงได้ เพราะราคา ขายสูงเกินไปก็คงไม่ถือว่างานของเราประสบ ความส�ำเร็จ ...แพรเคยมีประสบการณ์แบบนีเ้ หมือนกัน ค่ะ อย่างในคอลเล็กชั่นแรก แพรใช้หนังแกะใน การท�ำชุดทัง้ หมดเลย แล้วยังใช้ลกู ไม้ฝรัง่ เศสอีก ด้วยท�ำให้ตน้ ทุนสูงเกินไป ซึง่ ในเชิงธุรกิจแล้วเรา ค�ำนึงถึงว่า ต้องตัง้ ราคาทีค่ นไทยจ่ายไหว ต้องมี สินค้าทีค่ นอายุนอ้ ยลงมาหน่อยพอจะซือ้ ได้ ต้อง ครอบคลุมกลุม่ ลูกค้าให้ทวั่ ถึงขึน้ ดังนัน้ สิง่ ทีแ่ พร ออกแบบต้องค�ำนึงถึงธุรกิจเป็นหลัก ไม่ใช่ท�ำ ตามฝันของเราเพียงอย่างเดียว” ดีไซเนอร์สาวกล่าวอย่างมั่นใจ เมื่อเอ่ย ถามถึงดีไซเนอร์หญิงทีเ่ ธอยึดเป็นไอคอนในการ ท�ำงาน ดีไซเนอร์รุ่นใหม่ส่ายหน้าปฏิเสธว่า เธอ ไม่เคยยึดติดกับบุคคล หรือสไตล์ของใครคนใด คนหนึ่ง และคิดว่าทุกคนควรใส่ความเป็นตัว ของตัวเองลงไปในการท�ำงานมากกว่า เธอให้ ค�ำตอบอย่างตรงไปตรงมา ซึ่งเป็นคุณสมบัติ

ที่ตัวเธอเองมองว่า อาจจะเป็นอุปสรรคต่อการ ท�ำงานอยู่บ้าง “แพรเป็ น คนคิ ด อะไรแล้ ว ก็ พู ด ออกมา อย่างที่คิดเลย ถ้าโมโหหรือไม่พอใจอะไรจะไม่ ค่อยเก็บ จริงอยู่ว่า การเป็นคนตรงไปตรงมาก็ มีข้อดี แต่เวลาท�ำงานในบางครั้งเราควรต้อง ลดลงมานิดหนึง่ ซึง่ แพรพยายามทีจ่ ะใช้เหตุผล ให้มากขึ้นนะคะ อยากจะปรับตรงนี้นิดหนึ่งค่ะ ...อีกหนึง่ จุดทีอ่ ยากจะปรับปรุงตัวเองก็คอื เรื่องการแบ่งเวลา คนเราต้องรู้จักแบ่งเวลาให้ดี ไม่อย่างนัน้ สมองของเราจะไม่ได้พกั ผ่อนเลย ซึง่ ท�ำให้การท�ำงานในวันต่อๆ ไปรวนไปหมด อีก ทั้งแพรยังมีโรคประจ�ำตัว คือ ไมเกรนอีกด้วย ดังนัน้ การพักผ่อนให้เพียงพอจึงส�ำคัญทีส่ ดุ ค่ะ” แน่นอนว่า ไม่มใี ครสมบูรณ์แบบไปเสียทุก อย่าง แต่ ณ จุดทีเ่ ธอยืนอยูใ่ นทุกวันนี้ เราเชือ่ ว่า ผู้หญิงหลายคนชื่นชมและอยากท�ำงานในรูป แบบเดียวกับเธอ ในฐานะดีไซเนอร์หญิงที่น่า จับตามองจะให้ค�ำแนะน�ำแก่ว่าที่ดีไซเนอร์ทั้ง หลายอย่างไรบ้าง “ต้องขยัน อดทน ไม่ท้อ และแบ่งเวลาให้ เป็น” พอเอ่ยถึงคุณสมบัตขิ อ้ สุดท้ายเธอหัวเราะ เบาๆ แล้วเริ่มให้คะแนนตัวเองในคุณสมบัติ แต่ละข้อดังต่อไปนี้ “ถ้าเรื่องแบ่งเวลาให้เป็นแพรอาจจะได้ คะแนนแค่ศนู ย์ (หัวเราะ) เรือ่ งความขยันอาจจะ ได้คะแนนประมาณแปด แต่ถา้ เรือ่ งความอดทน แพรให้คะแนนตัวเองเต็มสิบเลยค่ะ เพราะแพร มองว่าตัวเองเป็นคนค่อนข้างมีความอดทนสูง และสู้งาน การเป็นดีไซเนอร์เป็นงานที่เหนื่อย มากนะคะ คุณสมบัติข้อนี้จึงเป็นเรื่องส�ำคัญ ทีเดียวค่ะ” การมาจากครอบครัวที่สมบูรณ์พร้อมและ มีความเป็นอยู่อันแสนสุขสบายมาโดยตลอด อาจท�ำให้หลายคนตั้งค�ำถามเรื่องความอดทน และสู้งานคุณสมบัติที่เธอเชื่อมั่นว่ามีอยู่ในตัว เองอย่ า งเต็ ม เปี ่ ย ม แต่ ส� ำ หรั บ วทานิ ก าแล้ ว ค�ำปรามาสต่างๆ ไม่ใช่เรื่องที่เธอเก็บมาใส่ใจ เพราะเธอใส่ใจอยู่เพียงเรื่องเดียวเท่านั้น “ทุกวันนี้แพรโฟกัสอยู่เรื่องเดียว คือ การท�ำผลงานของเราให้ออกมาดีทสี่ ดุ เวลา ลูกค้าใส่เสือื้ ผ้าของแพรแล้วเขามองเห็นตัว เองในลุคที่สวยที่สุด เพียงแค่นี้แพรก็พอใจ แล้วค่ะ” 0239


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.