PoWerpoint

Page 1

สมาชิกในกลุ่ม

สมาชิกในกลุ่ม นางสาว จริญญา กองเพชร 544148046 นางสาว สุ พตั รา กมลสาร 544148180 นางสาว รัตติยากร คาบุญเหลือ 544148181


ซอฟต์แวร์ ความหมายของซอฟต์ แวร์ การใช้ งานระบบสารสนเทศด้ วยคอมพิวเตอร์ จาเป็ นต้ องมีซอฟต์ แวร์ ควบคุมการทางาน เช่ น การซื้อของโดยใช้ บัตร เครดิตผู้ขายจะตรวจสอบบัตรเครดิตโดยใช้ เครื่องอ่ านบัตรแล้ วส่ งข้ อมูลของบัตรเครดิตไปยังศูนย์ ข้อมูลของบริษัทผู้ออก บัตรการตรวจสอบจะกระทากับฐานข้ อมูลกลาง โดยมีกลไกหรือเงือ่ นไขของการตรวจสอบจากนั้นจึงให้ คาตอบว่ าจะยอมรับ หรือปฏิเสธบัตรเครดิตใบนั้นการดาเนินการเหล่านีเ้ ป็ นไปโดยอัตโนมัติตามคาสั่ งของซอฟต์ แวร์ ทานองเดียวกันเมือ่ ซื้อสิ นค้ าในห้ างสรรพสิ นค้ าพนักงานเก็บเงินจะใช้ เครื่องกราดตรวจอ่ านรหัสแท่ งบนสิ นค้ าทาให้ บน จอภาพปรากฏชื่อสิ นค้ารหัสสิ นค้ า และราคาสิ นค้ า ในการดาเนินการนีต้ ้ องใช้ ซอฟต์ แวร์ ซอฟต์ แวร์ จึงเป็ นสิ่ งสาคัญที่ทาให้ ระบบทางานได้

ซอฟต์ แวร์ คือ ชุดคาสั่ งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์ เป็ นลาดับตามขั้นตอนของการทางานชุ ดคาสั่ งเหล่ านีไ้ ด้ จัดเตรียมและทา ขึน้ ก่อนแล้ วนาไปเก็บไว้ในหน่ วยความจาของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ อ่านชุ ดคาสั่ งแล้ วทางานตาม ซอฟต์ แวร์ จึงหมายถึง การสั่ งการให้ คอมพิวเตอร์ กระทาตามขั้นตอนและแผนงานต่ าง ๆตามเงือ่ นไขและข้ อตกลงที่ได้ ดาเนินการหรือจัดเตรียมไว้ แล้ วซอฟต์ แวร์ จึงเป็ นผลที่มนุษย์ จัดทาขึน้ และคอมพิวเตอร์ จะทางานตามกรอบของซอฟต์ แวร์ ที่วางไว้ แล้ วเท่ านั้น


การใช้ งานไมโครคอมพิวเตอร์ จะเริ่มขึน้ เมื่อไมโครคอมพิวเตอร์ พร้ อมรับคาสั่งโดยขึน้ ตัวพร้ อม (PROMPT) ดังรูป

จอภาพแสดงตัวพร้อม


เมือ่ ผู้ใช้ ป้อนคาสั่ง DIR ซึ่งเป็ นคาสั่งให้ คอมพิวเตอร์ แสดงข้ อมูลเกีย่ วกับแฟ้มข้ อมูลที่อยู่ในแผ่นบันทึกที่ตดิ ต่ อ อยู่ขณะนั้นผลลัพธ์ ทไี่ ด้ อาจแสดงดังรูปนั่นหมายความว่าผู้ใช้ ได้ สั่งให้ คอมพิวเตอร์ ทางานตามคาสั่ง DIR ซึ่งถูกเก็บ ไว้ในหน่ วยความจาก่อนแล้ว เมื่อเรียกคาสั่งคอมพิวเตอร์ จงึ ไปทางานตามชุดคาสั่งหรือซอฟต์ แวร์ นั่นเอง

ตัวอย่ างผลลัพธ์ ของการใช้ คาสั่ ง DIR


ชนิดของซอฟต์ แวร์ แบ่ งเป็ นสองประเภทใหญ่ คอื ซอฟต์ แวร์ ระบบ (SYSTEM SOFTWARE) และซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ (APPLICATION SOFTWARE)


ซอฟต์ แวร์ ระบบ ซอฟต์ แวร์ ระบบ คือ ซอฟต์ แวร์ ที่ช่วยในการจัดการระบบคอมพิวเตอร์ จัดการทางด้ านอุปกรณ์ รับเข้ าและ ส่ งออกการรับข้ อมูลจากแผงแป้ นอักขระ การแสดงผลบนจอภาพการนาข้ อมูลออกไปพิมพ์ยงั เครื่องพิมพ์ การ ดูแล การจัดเก็บข้ อมูลเป็ นแฟ้มการเรียกค้นข้ อมูล การสื่อสารข้อมูล ซอฟต์ แวร์ ระบบจึงหมายถึงซอฟต์ แวร์ ที่ดูแล จัดการอุปกรณ์ ต่าง ๆ ทีม่ ีอยู่ในระบบ ซอฟต์ แวร์ ระบบที่รู้ จกั กันดีคอื ระบบปฏิบัตกิ าร (OPERATING SYSTEM) เช่ น เอ็มเอสดอส ยูนิกซ์ โอเอสทู วินโดวส์ เป็ นต้ น

ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ คือ ซอฟต์ แวร์ ที่เขียนขึน้ เพือ่ ประยุกต์ กบั งานที่ผ้ใู ช้ ต้องการ เช่ น ซอฟต์ แวร์ ประมวลคา ซอฟต์ แวร์ จดั เก็บภาษี ซอฟต์ แวร์ สินค้าคงคลัง ซอฟต์ แวร์ ตารางทางาน ซอฟต์ แวร์ กราฟิ กซอฟต์ แวร์ จดั การ ฐานข้ อมูล เป็ นต้ น การทางานใด ๆโดยใช้ ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ จาเป็ นต้ องทางานภายใต้สิ่งแวดล้อมของซอฟต์แวร์ ระบบด้ วย ตัวอย่ างเช่ นซอฟต์ แวร์ ประมวลคาต้ องทางานภายใต้ ซอฟต์ แวร์ ระบบปฏิบัตกิ าร เอ็มเอสดอส หรือวินโดวส์ เป็ น ต้ น


ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ จะต้ องทางานภายใต้ ซอฟต์ แวร์ ระบบ


ซีพเี อ็ม (CONTROL PROGRAM/MICROCOMPUTER : CP/M) ซีพเี อ็ม (CONTROL PROGRAM/MICROCOMPUTER : CP/M) จัดเป็ นระบบปฏิบัตกิ ารรุ่นแรก ๆที่นามาใช้ งานกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ขนาด 8 บิตซึ่งปัจจุบันนีล้ ้าสมัยแล้วหลังจากเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ได้ ขยายมาเป็ นเครื่องขนาด 16 บิต ก็ได้ มีการเขียนระบบปฏิบัตกิ ารขึน้ ใหม่ คือ เอ็มเอสดอส (MICROSOFT DISK OPERATING SYSTEM : MS-DOS) พีซีดอส (PERSONAL COMPUTER DISK OPERATING SYSTEM : PC-DOS) ระบบปฏิบัตกิ ารเอ็มเอสดอสนีไ้ ด้ รับความนิยมนามาใช้ งานกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ระดับพีซี

เอ็มเอสดอส

เอ็มเอสดอส มีรากฐานมาจากระบบปฏิบัตกิ ารซีพเี อ็มนั่นเองโดยการเขียนโปรแกรมสาหรับใช้ งานกับ ไมโครโพรเซสเซอร์ ตระกูลอินเทล ขนาด 16 บิต เบอร์ 8088 ขึน้ ใหม่ ทยี่ งั คงรูปแบบลักษณะคาสั่งคล้าย ของเดิมเมื่อมีการปรับปรุงเพิม่ ขยายในเวลาต่อมาเป็ นรุ่น 2.0 จึงได้ มีการพัฒนาขีดความสามารถให้ สูงขึน้ อีกมากมาย โดยในรุ่น 2.0 นีจ้ ะมีรูปแบบคาสั่งที่คล้ายคลึงกับคาสั่งในระบบปฏิบัตกิ ารยูนิกซ์ โดยเฉพาะ ด้ านการจัดการข้ อมูลในฮาร์ ดดิสก์ที่จดั เป็ นโครงสร้ างต้ นไม้ ของการแบ่ งระบบแฟ้มเป็ นระบบย่ อย เอ็มเอสดอส เป็ นระบบปฏิบัตกิ ารที่เหมาะสาหรับงานงานเดียวแม้ จะมีซอฟต์ แวร์ มาเสริมช่ วยการใช้ งานในลักษณะหน้ าต่ าง (window) ทาให้ สามารถทางานหลายอย่ างพร้ อมกันแต่ กย็ งั ทาได้ ไม่ ดนี ักเพราะ ไม่ ได้ มีการออกแบบมาเพือ่ งานหลายชิ้นโดยเฉพาะเมื่อขีดความสามารถของฮาร์ ดแวร์ สูงขึน้ ระบบปฏิบัตกิ ารที่เหมาะสาหรับฮาร์ ดแวร์ จึงได้ รับการพัฒนาเพือ่ มาทดแทนเอ็มเอสดอสเช่ น ระบบปฎิบัติ การ โอเอสทู และวินโดวส์ 95


ระบบปฎิบตั ิการโอเอสทู และวินโดวส์ 95 ระบบปฎิบัตกิ ารโอเอสทูและวินโดวส์ 95 ถือเป็ นระบบปฎิบัตกิ ารที่ออกแบบและสร้ างมาใช้ กบั เครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ ตระกูลพีเอสทูของบริษทั ไอบีเอ็มจากัดเป็ นระบบปฎิบัตกิ ารที่นามาชดเชยขีดจากัด ของเอ็มเอสดอสเดิมด้ วยการเพิม่ ลักษณะพิเศษของการทางานหลายงานพร้ อมกันเทคนิคการเรียกใช้ คาสั่งเป็ น เมนูและสัญรูป (ICON)

ระบบปฏิบตั ิการยูนิกซ์ ระบบปฎิบัตกิ ารยูนิกซ์ เป็ นระบบปฎิบัตกิ ารที่พตั นาและออกแบบสาหรับงานด้ านวิชาการและ ประยุกต์ ใช้ ทางด้ านวิทยาศาสตร์ บนเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ แต่ ในภายหลังก็ได้ ปรับปรุงไปใช้ บนเครื่อง เกือบทุกระดับรวมถึงเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ด้วย ระบบปฎิบัตกิ ารยูนิกซ์ เป็ นระบบใหญ่ และซับซ้ อน สามารถให้ ผ้ใู ช้ หลายรายทางานหลายงานพร้ อมกันอย่างไรก็ตามจะมีขดี จากัดที่หน่ วยความจาของระบบ เป็ นระบบปฎิบัตกิ ารที่นิยมใช้ เป็ นเครือข่ ายเพือ่ การติดต่อสื่อสารข้ อมูลร่ วมกัน


ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ ได้ รับความนิยมใช้ งานอย่ างแพร่ หลายในทุกวงการความนิยมส่ วนหนึ่งมาจากขีดความสามารถของ ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ น้ัน ๆเพราะซอฟต์ แวร์ ที่ผลิตออกจาหน่ าย ต่ างพยายามแข่ งขันกันหลาย ๆ ด้ าน เช่ นเรียนรู้และใช้ งานได้ ง่ าย สนับสนุนให้ ใช้ กบั เครื่องพิมพ์ได้ ดมี ีคู่มือการใช้ ซอฟต์ แวร์ ที่อ่านเข้ าใจง่ ายให้ วธิ ีหรือขั้นตอนที่อธิบายไว้อย่ างชัดเจน และมีระบบโอนย้ ายข้อมูลเข้ าออกกับซอฟต์ แวร์ อนื่ ได้ ง่าย

ซอฟต์แวร์ใช้งานทัว่ ไป 

ซอฟต์ แวร์ ใช้ งานทั่วไปเป็ นซอฟต์ แวร์ ที่ไม่ ได้ มุ่งเน้ น เฉพาะสาหรับงานใดงานหนึ่งผู้ใช้ งานจะต้ องเป็ นผู้ นาไปประยุกต์ กบั งานของตนผู้ใช้ อาจต้ องมีการสร้ าง หรือพัฒนาชิ้นงานภายในซอฟต์ แวร์ ต่อไปอีกราคาของ ซอฟต์ แวร์ ใช้ งานทั่วไปนีจ้ ะไม่ สูงมากเกินไป ซอฟต์ แวร์ ใช้ งานทั่วไปซึ่งนิยมเรียกว่าซอฟต์ แวร์ สาเร็จ แบ่ งออกเป็ นหลายกลุ่มตามลักษณะการใช้ งาน คือ - ด้ านการประมวลคา - ด้ านการวิเคราะห์ ข้อมูลหรือตารางทางาน - ด้ านการเก็บและเลือกค้นข้ อมูลเป็ นระบบฐานข้ อมูล - ด้ านการติดต่ อสื่อสารทางไกล - ด้ านการพิมพ์ต้งั โต๊ ะ

ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะทาง 

ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ เฉพาะทางเป็ นโปรแกรมที่ได้ รับ การออกแบบและพัฒนาสาหรับนาไปใช้ งานเฉพาะด้ าน หรือในอาชีพใดอาชีพหนึ่ง เช่ น โปรแกรมช่ วยจัดการ ด้ านการเงินโปรแกรมช่ วยจัดการบริการลูกค้า ฯลฯ ตามปกติจะไม่ ค่อยได้พบเห็นซอฟต์ แวร์ ประเภทนีใ้ น ท้ องตลาดทั่วไปแต่ จะซื้อหาได้ จากผู้ผลิตหรือตัวแทน จาหน่ ายในราคาค่อนข้ างสู งกว่าซอฟต์ แวร์ ที่ใช้ งาน ทั่วไป โครงสร้ างของซอฟต์ แวร์ เฉพาะทางมักจะ ประกอบด้ วยฐานข้ อมูลเพือ่ ใช้ เก็บข้ อมูลลูกค้า และ ระบบของงานภายในซอฟต์ แวร์ ควรจะมีส่วนทางาน ประมวลคาเพือ่ ใช้ สร้ างรายงาน ติดต่ อโต้ ตอบจดหมาย และการนัดหมายตามกาหนดการ ลักษณะของ ซอฟต์ แวร์ เฉพาะทางนีม้ ีท้งั รูปแบบที่มีผ้ใู ช้ งานคนเดียว หรือผู้ใช้ งานได้ พร้ อมกันหลายคน


โปรแกรมประมวลคา ซอฟต์ แวร์ ประมวลคาเป็ นซอฟต์ แวร์ ในการนาตัวอักษรมาเรียงต่ อเป็ นคาประโยคหรือ ย่ อหน้ า คล้ายเครื่องพิมพ์ดดี พิมพ์ข้อความบนกระดาษแต่ ต่างกันที่ตวั อักษรที่พมิ พ์หรือ ป้ อนเข้ าทางแผงแป้ นอักขระจะเข้ าไปเก็บอยู่ในหน่ วยความจาของคอมพิวเตอร์ ทาให้ สามารถดัดแปลงได้ ง่ายภายใต้ ข้อกาหนดของซอฟต์ แวร์ ผ้ใู ช้ สามารถกาหนดปรับแต่ ง รูปแบบได้ ตามต้ องการ เช่ นการกาหนดเส้ นกั้นหน้ าและกั้นหลัง กั้นบนและกั้นล่างเมื่อมี การแก้ไขจนเป็ นที่พอใจแล้วสามารถสั่งพิมพ์เอกสารออกทางเครื่องพิมพ์ได้ หลายชุด ตามที่ต้องการเอกสารที่พมิ พ์จากเครื่องพิมพ์ จะมีคุณภาพดีไม่ มีรอยเปื้ อนจากการแก้ไข ดัดแปลง นอกจากนีย้ งั สามารถเก็บบันทึกเอกสารนั้นเป็ นแฟ้มในสื่อบันทึกเช่ น แผ่นบันทึก เพือ่ ให้ พกพาติดตัวไปใช้ กบั เครื่องอืน่ แฟ้มเอกสารที่เก็บไว้แล้วนีส้ ามารถเรียกมาแสดงผล บนจอภาพเพือ่ ทาการดัดแปลงใหม่ ได้ อกี ด้ วย


ตัวอย่างการใช้ซอฟต์แวร์ประมวลคา MICROSOFT WORD

ซอฟต์ แวร์ ประมวลคามีคุณสมบัตดิ เี ด่ นกว่าการเตรียมเอกสารด้ วยเครื่องพิมพ์ดดี หลายประการอาจสรุปได้ ดงั นี้ สามารถควบคุมสั่งจัดวางรูปแบบเอกสารได้ ใหม่ ตามต้ องการโดยจะพิมพ์ผลลัพธ์ ออกมาตามรูปแบบที่กาหนด เช่ น การ กาหนดจานวนตัวอักษรในแต่ ละบรรทัดการกาหนดตาแหน่ งเริ่มต้ นว่ าจะชิดขอบซ้ ายและตาแหน่ งจบบรรทัดให้ ชิด ขอบขวาที่ตาแหน่ งใดเป็ นต้ น ช่ วยควบคุมให้ แก้ไขดัดแปลงข้ อความเป็ นกลุ่ม คือ สามารถสั่งทาการลบ เคลือ่ นย้ ายหรือสาเนาข้ อความเป็ นคา ประโยคหรือย่ อหน้ าจากตาแหน่ งหนึ่งไปยังตาแหน่ งอืน่ ของเอกสารได้ ง่าย สามารถควบคุมการแสดงตัวอักษรของข้ อความที่อาจเป็ นตัวเข้ ม ตัวหนา ตัวเอียงและขีดเส้ นใต้ ที่ตาแหน่ งต่ าง ๆ


โปรแกรมตารางการทางาน การวิเคราะห์ และคานวณตัวเลขของวิศวกรด้ วยการสร้ างเป็ นรูปแบบจาลองใน ลักษณะของสู ตรคานวณ และสมการทางคณิตศาสตร์ มักมีการขีดเขียน คานวณ และจด บันทึกลงในกระดาษโดยมีเครื่องคิดเลขเป็ นเครื่องมือช่ วยในการคานวณ การคานวณตาม งานที่ออกแบบหรือการค้นหาคาตอบของรูปแบบจาลองสมการที่สร้ างขึน้ นับเป็ นงานที่น่า เบื่อและต้ องใช้ ความอดทนมากพอสมควร เพราะวิศวกรจะต้ องทาการคานวณใหม่ ซ้าแล้ว ซ้าเล่าหลายๆ ครั้ง ตามการแปรเปลีย่ นอย่างไม่ หยุดนิ่งขององค์ประกอบ หรือปัจจัยสาคัญ ของงานโดยเฉพาะอย่ างยิง่ หากงานนั้นเกีย่ วข้องกับความปลอดภัยของชีวติ และทรัพย์ สิน ด้ วยการคานวณต่ าง ๆ ก็ต้องยิง่ ระมัดระวังให้ มีการตรวจทานเพือ่ ให้ ได้ ผลลัพธ์ ที่ถูกต้ อง และแม่ นยา


ตัวอย่ างการใช้ ซอฟต์ แวร์ ตารางทางาน

ซอฟต์ แวร์ สาเร็จตารางทางานหรือกระดาษอิเลกทรอนิกส์ เป็ นเครื่องมือช่ วยเพือ่ การวิเคราะห์ และ คานวณตัวเลขให้ กบั วิศวกรได้ เป็ นอย่ างดีเพราะการใช้ งานซอฟต์ แวร์ นี้ จะเปรียบเหมือนกับการนั่งทางาน บนโต๊ ะทางานที่มีกระดาษแผ่นใหญ่ ๆประกอบด้ วยตารางสี่เหลีย่ มของช่ องตามแนวแถวและสดมภ์ จานวน มากมายปรากฏบนจอภาพโดยแต่ ละช่ องบนแผ่นกระดาษอิเลกทรอนิกส์ นีจ้ ะเก็บข้ อความเป็ นตัวอักษร หรือตัวเลขหรือสู ตรคานวณ


ซอฟต์ แวร์ จัดการฐานข้ อมูล ในสังคมเทคโนโลยีสารสนเทศยุคปัจจุบันข้ อมูลที่มอี ยู่จานวนมากมายจะต้ องมีการ จัดเก็บนามาใช้ อย่ างมีประสิทธิภาพการรวบรวมและเก็บข้ อมูลไว้ด้วยกันจะช่ วยให้ การ เรียกค้นเพิม่ เติมเพือ่ เปลีย่ นแปลงทาได้ ง่ายซึ่งการรวบรวมข้ อมูลเข้ าด้ วยกันนีเ้ รียกว่า ฐานข้ อมูลประโยชน์ ของการใช้ ฐานข้อมูลจะช่ วยให้ สามารถใช้ ข้อมูลร่ วมกันช่ วยหลีกเลีย่ ง ความซ้าซ้ อนของข้ อมูลที่จะเกิดขึน้ ช่ วยขจัดความขัดแย้ งของข้ อมูลและสามารถกาหนด ความเป็ นมาตรฐานเดียวกันได้ ง่ายเป็ นต้ น ซอฟต์ แวร์ จดั การฐานข้ อมูลช่ วยให้ ผ้ใู ช้ ดาเนินการจัดการข้ อมูลได้ ง่ายและมีให้ เลือกใช้ ได้ หลายซอฟต์ แวร์ ทุกซอฟต์ แวร์ เน้ นให้ ผ้ใู ช้ สามารถสร้ างแฟ้มข้ อมูลช่ วยในการจัดเก็บ การขอดู การเรียกค้น การเพิม่ เติม การลบ การจัดเรียงและการทารายงาน การจัดเก็บฐานข้ อมูลภายใต้ การทางานของซอฟต์ แวร์ จดั การฐานข้ อมูลเป็ นเรื่องทาง เทคนิคภายในที่ยุ่งยากซับซ้ อนผู้ใช้ งานฐานข้อมูลทั่วไปไม่ จาเป็ นต้ องเข้ าใจเพราะ ซอฟต์ แวร์ จดั การฐานข้ อมูลยังสามารถควบคุมความถูกต้ องของข้ อมูลในฐานข้ อมูลข้ อมูล ที่ปรากฏในฐานข้ อมูลจะต้ องเป็ นไปตามกฎเกณฑ์ ความถูกต้ อง


ระบบฐานข้ อมูลเชื่อมโยงได้ ท้งั ภาพ เสี ยงและวีดที ศั น์

ซอฟต์ แวร์ จดั การฐานข้ อมูลมีมากมายหลายโปรแกรมส่ วนใหญ่ เน้ นการใช้ งานที่ง่ายและใช้ งานใน ระบบผู้ใช้ คนเดียว หรือเชื่อมโยงเป็ นกลุ่มตลอดจนเชื่อมโยงกับฐานข้ อมูลอืน่ ซอฟต์ แวร์ จัดการฐานข้ อมูล ที่รู้จกั กันดี ได้ แก่ดเี บส ฟอกซ์ เบส แอกเซส เป็ นต้ น


ซอฟต์ แวร์ กราฟิ ก การนาเสนอข้อมูลตัวเลขโดยปกติจะอยู่ในรูปของตาราง เป็ นแถวและสดมภ์ ซึ่งไม่ ใช่ วิธีการนาเสนอข้ อมูลทีด่ เี พราะการนาเสนอข้ อมูลในรูปแบบตารางไม่ ดงึ ดูดความสนใจ และตีความข้ อมูลตัวเลขได้ ลาบากไม่ สมบูรณ์การแปลงข้ อมูลตัวเลขให้ อยู่ในรูปภาพและ แผนภูมิจะเป็ นวิธีที่ดแี ละมีประสิทธิภาพสู งเพราะการนาเสนอข้ อมูลด้ วยวิธีนีจ้ ะดึงดูด ความสนใจสื่อความหมายได้กระจ่ างชัดและเข้ าใจง่ าย ในปัจจุบันนิยมนาข้ อมูลมาเขียนเป็ นแผนภูมิ หรือนาข้อมูลมาวิเคราะห์ คานวณตัวเลข ทางสถิตไิ ด้ ข้อมูลตัวเลขชุดใหม่ แล้วจึงค่อยนามาสร้ างเป็ นแผนภูมิซึ่งแผนภูมิที่ได้ นีจ้ ะ นาไปเสนอต่ อผู้บริหารระดับสู งเพือ่ ใช้ วางแผนและตัดสินใจหรืออาจใช้ เพือ่ นาเสนอบุคคล ทั่วไป เพือ่ การประชาสัมพันธ์ แผนภูมิทางธุรกิจเพือ่ การนาเสนอมักมีการจัดทาขึน้ เป็ น พิเศษเพราะจะต้ องให้ เข้ าใจง่ ายดึงดูดความสนใจต่ อผู้พบเห็น


ภาษาคอมพิวเตอร์ มนุษย์ ใช้ ภาษาในการสื่อสารมาตั้งแต่ สมัยโบราณการใช้ ภาษาเป็ นเรื่องที่มนุษย์ พยายามถ่ ายทอดความคิดและความรู้สึกต่ าง ๆเพือ่ การโต้ ตอบและสื่อความหมาย ภาษาที่ มนุษย์ ใช้ ตดิ ต่อสื่อสารในชีวติ ประจาวัน เช่ นภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ต่ างเรียกว่า ภาษาธรรมชาติ (artificial language) เพระมีการศึกษาได้ยนิ ได้ ฟังกันมาตั้งแต่ เกิด การใช้ งานทางคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็ นเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์ ให้ ทางานตามที่ ต้ องการจาเป็ นต้ องมีการกาหนดภาษาสาหรับใช้ ตดิ ต่ อสั่งงานกับคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ จะเป็ น ภาษาประดิษฐ์ (artificial language) ที่มนุษย์ คดิ สร้ างมาเองเป็ น ภาษาที่มีจุดมุ่งหมายเฉพาะ มีกฎเกณฑ์ ที่ตายตัวและจากัด คืออยู่ในกรอบให้ ใช้ คาและ ไวยากรณ์ ที่จากัด และมีการตีความหมายที่ชัดเจนจึงจัดภาษาคอมพิวเตอร์ เป็ น ภาษาที่มี รูปแบบเป็ นทางการ (formal language) ต่ างกับภาษาธรรมชาติที่มีขอบเขตกว้างมาก ไม่ มี รูปแบบตายตัวที่แน่ นอน กฎเกณฑ์ ของภาษาจะขึน้ กับหลักไวยากรณ์ และการยอมรับของ กลุ่มผู้ใช้ น้ัน ๆ


ภาษาคอมพิวเตอร์ อาจแบ่ งได้ เป็ น 3 ระดับ คือ ภาษาเครื่อง (MACHINE LANGUAGE) ภาษาระดับต่า (LOW-IANGUAGE) และภาษาระดับสู ง (HIGH-LEVEL LANGUAGE) ภาษาเครื่อง ภาษาเครื่องเป็ นภาษาที่ขนึ้ กับฮาร์ ดแวร์ ของคอมพิวเตอร์ แต่ ละระบบโดยเขียนอยู่ในรูปของรหัสของ ระบบเลขฐานสอง ประกอบด้ วยเลข 0 และเลข 1 ที่นามาเขียนเรียงติดต่ อกันประโยคคาสั่งของ ภาษาเครื่องจะประกอบด้ วยส่ วนที่ระบุให้ คอมพิวเตอร์ ทางานอะไร เช่ นสั่งให้ ทาการบวกเลข สั่งให้ ทาการ เคลือ่ นย้ ายข้อมูล เป็ นต้นและอีกส่ วนเพือ่ บอกแหล่งข้ อมูลที่จะนามาทางานตามที่ระบุในตอนแรก

ภาษาระดับต่าหรือภาษาแอสเซมบลี ภาษาระดับตา่ หรือภาษาแอสเซมบลีลกั ษณะของภาษานีจ้ ะเป็ นการใช้ ตวั อักษรมาเรียงกันเป็ นคา แทน เลขฐานสองโดยคาที่กาหนดขึน้ จะมีความหมายที่สามารถเข้ าใจและจาได้ ง่าย เช่ น จะใช้ คาสั่ง ADD แทน การบวก คาสั่ง SUB แทนการลบ เป็ นต้ น

ภาษาระดับสู ง ภาษาระดับสู ง การพัฒนาภาษาคอมพิวเตอร์ ในยุคต่ อมาจึงพยายามให้ เป็ นภาษาที่สามารถนาไปใช้ กบั เครื่องต่ างระบบกันไม่ ต้องเสียเวลาเรียนรู้ใหม่ ท้งั หมด


การพัฒนาซอฟต์ แวร์ การผลิตผลิตภัณฑ์ที่จะต้ องใช้ วธิ ีการพัฒนาทางวิศวกรรมไม่ ว่าจะเป็ นรถยนต์ ซี่งเป็ น วิศวกรรมเครื่องกลเครื่องโทรทัศน์ ซึ่งเป็ นวิศวกรไฟฟ้าตลอดไปจนถึงงานการก่อสร้ าง สะพานหรืออาคารสู งซึ่งเป็ นวิศวกรรมโยธาล้วนต้ องมีกระบวนการหรือขั้นตอนพัฒนา และบารุงรักษาที่ประกอบด้ วยวิธีการต่ าง ๆมากมาย การพัฒนาระบบซอฟต์ แวร์ ขนาดใหญ่ ๆ เช่ นระบบสินค้าคงคลังในงานธุรกิจ ระบบการ ลงทะเบียนเรียนในมหาวิทยาลัยหรือระบบบัญชีลกู หนีเ้ จ้ าหนีข้ องบริษทั ร้ านค้า นับเป็ น งานที่ค่อนข้ างซับซ้ อนมีขอบเขตเกิดกว่าที่สมองของมนุษย์ จะจดจาได้ อย่ างครบถ้ วนไม่ ใช่ งานเล็ก ๆหรือโปรแกรมเล็กๆ สาหรับผู้พฒ ั นาเพียงคนเดียวจาเป็ นต้ องอาศัยผู้ร่วมพัฒนา หลายคนทางานร่ วมกันในช่ วงเวลาที่ยาวพอสมควรเพราะในระหว่างการพัฒนาอาจมี ปัญหาอุปสรรคเกิดขึน้ ได้ เสมอ เช่ นเป้ าหมายของระบบอาจมีการปรับเปลีย่ นให้ เหมาะสม ขึน้ หรือปัญหาด้ านบุคลากรที่ร่วมโครงการอาจมีการสับเปลีย่ นเนื่องจากการเปลีย่ น ตาแหน่ ง หรือย้ ายงานใหม่ เป็ นต้ น


ระบบใช้ งานติดต่ อคอมพิวเตอร์ ตามปกติเมื่อซื้อเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ มาใช้ งานมักจะได้ ระบบปฏิบัตกิ ารมาพร้ อม กับเครื่องซึ่งสามารถช่ วยจัดการให้ ผ้ใู ช้ เรียกใช้ หรือติดต่อกับเครื่องได้ ทันทีโดยรูปแบบของ การติดต่ อกับเครื่องจะขึน้ กับระบบปฏิบัตกิ ารที่ตดิ ตั้งและซอฟต์ แวร์ เสริมสภาพแวดล้อม การใช้ งานซึ่งเป็ นซอฟต์ แวร์ ปรับปรุ งเปลีย่ นแปลงระบบติดต่ อระหว่างเครื่องกับผู้ใช้ ให้ ใช้ ง่ ายและทางานได้ รวดเร็วขึน้ ระบบติดต่ อใช้ งานคอมพิวเตอร์ อาจแบ่ งได้ เป็ นสามกลุ่มด้ วยกัน กลุ่มพิมพ์คาสั่งเข้ าไป ทีละบรรทัดกลุ่มเลือกรายการเมนู และกลุ่ม เลือกสัญรูป


วิศวกรรมซอฟต์ แวร์ ไม่ ใช่ เป็ นเรื่องที่เกีย่ วข้ องเฉพาะกับปัญหาเทคนิคของกระบวนการพัฒนาเท่ านั้นยังจะ รวมไปถึงปัญหาด้ านบุคลากรและการควบคุมติดตามโครงการซึ่งในที่นีจ้ ะกล่าวเฉพาะกระบวนการพัฒนา ซอฟต์ แวร์ และระบบซอฟต์ แวร์ ที่มีการหมุนเวียนใช้ งานเป็ นวัฏจักรซอฟต์ แวร์ ดังรูป

วัฏจักรซอฟต์ แวร์


ซอฟต์ แวร์ ที่พฒ ั นามาแล้วจะเข้ าสู่ วฏั จักรของการนาไปใช้ งานแล้วนามาปรับปรุงแก้ไข และย้ อนกลับ นามาใช้ งานใหม่ ตลอดระยะเวลาการใช้ งานซอฟต์ แวร์ น้ ัน จนกว่าจะมีซอฟต์ แวร์ ใหม่ มาแทนที่ ผลิตภัณฑ์ อตุ สาหกรรมต่ าง ๆ มีวฎั จักรเช่ นเดียวกัน เพียงแต่ ว่า วัฏจักรของผลิตภัณฑ์ ไม่ ใช่ การปรับปรุงแก้ไข แต่ จะเป็ นการซ่ อมบารุ งให้ ใช้ งานต่อไปได้ ซอฟต์ แวร์ ต่างกับผลิตภัณฑ์ ตรงที่ไม่ มีส่วนสึกหรอ การปรับปรุงแก้ไขซอฟต์ แวร์ อาจเกิดขึน้ จากข้ อผิดพลาดของซอฟต์ แวร์ ที่ยงั หลงค้างอยู่หรือจาก ข้ อกาหนดของเงือ่ นไขภายในซอฟต์ แวร์ ที่มีการเปลีย่ นแปลง เช่ นการเปลี่ยนแปลงวิธีการจัดเก็บภาษีของ ระบบบัญชี ต้องแก้ไขเงือ่ นไขในซอฟต์ แวร์ ใหม่ ตามปกติซอฟต์ แวร์ ที่พฒ ั นามาแล้วมักมีการปรับปรุงแก้ไขอยู่ เสมอเพราะเป้ าหมายความต้ องการของผู้ใช้ งานมักจะเปลีย่ นแปลงภายหลังการทดลองใช้ ไประยะหนึ่ง ปัญหาสาคัญของการปรับปรุงแก้ไขซอฟต์ แวร์ ส่วนใหญ่ จะอยู่ที่ผู้ปรับปรุงแก้ไขเป็ นคนละคนกับผู้พฒ ั นา ดังนั้นผู้ปรับปรุงจะต้ องศึกษาโปรแกรมและเอกสารประกอบให้ เข้ าใจอย่ างถ่ องแท้ เสียก่อนจึงจะสามารถ ปรับปรุงได้ ซึ่งต้ องใช้ เวลาพอสมควรและถ้ าโปรแกรมและเอกสารประกอบไม่ ได้ มีรูปแบบโครงสร้ างที่ดี พอแล้วผู้ปรับปรุงซอฟต์ แวร์ จะประสบปัญหากับการแก้ไขมากยิง่ ขึน้ จนบางครั้งต้ องพัฒนาซอฟต์ แวร์ ขนึ้ ใหม่ เหตุการณ์ เช่ นนีพ้ บเห็นกันอยู่เสมอๆ ตามปกติระยะเวลาที่ใช้ เพือ่ การพัฒนาซอฟต์ แวร์ จะน้ อยกว่าระยะเวลาของการปรับปรุงแก้ไขเพราะ เมื่อซอฟต์ แวร์ นาไปใช้ งานแล้วจะมีการย้ อนกลับมาปรับปรุงแก้ไขได้ตลอดเวลาการปรับปรุงแก้ไข ซอฟต์ แวร์ สามารถทาได้ ง่ายและรวดเร็วหากมีการเตรียมการตั้งแต่ ข้นั ตอนการพัฒนาซอฟต์ แวร์ โดย พยายามศึกษาวิเคราะห์ และออกแบบให้ ละเอียดและให้ เอือ้ ต่ อการนาไปแก้ไขปรับปรุงได้ ง่ายในภายหลัง


ขั้นตอนการพัฒนาซอฟต์ แวร์ •

การพัฒนาซอฟต์ แวร์ ที่ใช้ กนั ทั่วไปจะแบ่ งออกเป็ นขั้นตอน ดังนี้ การวิเคราะห์ การออกแบบ การเขียน โปรแกรมหรือการสร้ างชิ้นงานจริง และการตรวจสอบซอฟต์ แวร์

การวิเคราะห์ การออกแบบ การเขียนโปรแกรมหรือการสร้ างชิ้นงานจริง การตรวจสอบซอฟต์ แวร์

  


แนวโน้ มของซอฟต์ แวร์ พัฒนาการทางซอฟต์ แวร์ มีการเปลีย่ นแปลงที่รวดเร็วไม่ แพ้ ทางด้ านฮาร์ ดแวร์ สิ่งที่เป็ น ประจักษ์ พยานในเรื่องนีค้ อื ผู้พฒ ั นาซอฟต์ แวร์ ได้ ปรับปรุงซอฟต์ แวร์ ร่ ุนใหม่ ตลอดเวลา แนวโน้ มของซอฟต์ แวร์ จึงอยู่ที่การทาให้ ซอฟต์ แวร์ น้ ันใช้ งานง่ ายมีระบบกุย ที่ให้ ผ้ ใู ช้ เมาส์ หรืออุปกรณ์ ชี้ตาแหน่ งชี้ได้ โดยตรง 

ขณะนีม้ ีโปรแกรมจัดระบบงานที่เป็ นแบบกุยหลายระบบที่มีแนวโน้ มของการใช้ งาน เชื่อมโยงต่ อกันเป็ นเครือข่ ายและใช้ งานร่ วมกันได้ ดเี ช่ น โปรแกรมวินโดวส์ เอ็นที วินโดวส์ 95 โปรแกรมเหล่านีท้ าให้ ผ้ ใู ช้ ใช้ งานคอมพิวเตอร์ ได้ สะดวกขึน้ เมือ่ เชื่อมโยงระบบเป็ นเครือข่ ายมากขึน้ ซอฟต์ แวร์ ร่ ุนใหม่ จาเป็ นต้ องทางานเชื่อมโยงถึงกันใน ระบบเครือข่ ายด้ วยการทางานจะทางานเป็ นกลุ่ม และใช้ งานร่ วมกัน สามารถดาเนินกิจกรรม ต่ าง ๆร่ วมกัน 

ตัวอย่ างโปรแกรมบนเครือข่ ายที่ประสบผลสาเร็จอย่ างดีในขณะนีไ้ ด้ แก่ โปรแกรมการเปิ ด อ่ านหนังสื อไฮเปอร์ เท็กซ์ แบบสื่ อประสมที่เรียกว่ า โปรแกรมค้ นผ่ าน (Browser) โปรแกรมค้ น ผ่ านที่มีชื่อเสี ยง เช่ น เน็ตสเคป (netscape) โมเสก (mosaic) และ อินเทอร์ เน็ต เอ็กโพลเลอร์ (Internet Explorer) โปรแกรมเหล่ านีท้ าให้ ผ้ ใู ช้ สามารถใช้ งานผ่ านเครือข่ ายได้ โดยง่ าย อนาคตของซอฟต์ แวร์ ยงั มีหนทางอีกยาวไกลและการพัฒนาซอฟต์ แวร์ จะยังคงต่ อดาเนินการ เนื่องต่ อไปอีกมาก 



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.