การสื่อสารหมายถึง ความรู้รอบตัว > การสื่อสารหมายถึง สวัสดีค่ะ วันนี้ มีเรื่องการสื่อสารมาเล่าสู่กันฟังค่ะ การสื่อสารหมายถึง อะไร มีผู้รู้ได้ให้ความหมายเรื่องการสื่อสารไว้ต่างมากมายดังนี้ค่ะ เดนนิส แมคเควล (McQuail, 2005) กล่าวว่า การสื่อสารหมายถึงการให้ และการรับความหมาย การถ่ายทอดและการรับสาร ซึ่งรวมถึงแนวคิด ของการโต้ตอบ แบ่งปัน และมีปฏิสัมพันธ์กันด้วย ต่อไป Wilbur Schramm ก็ได้ให้ความหมายของการสื่อสารไว้ว่า การ สื่อสาร คือ กระบวนการแลกเปลี่ยนข่าวสาร เกิดขึ้นโดยการถ่ายทอด สารจากบุคคลฝ่ายหนึ่ง ซึ่งทำาหน้าที่ส่งสารผ่านสื่อหรือช่องทางต่าง ๆ ไปยังผู้รับสารโดยมี วัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง ทีนี้มาดูความหมายของการสื่อสารที่คนไทยได้ให้ความหมายกันไว้บ้าง ค่ะ สุมน อยู่สิน กล่าวว่า การสื่อสาร คือ กระบวนการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารระหว่างบุคคลต่อบุคลหรือบุคคลต่อกลุ่ม โดยใช้สัญลักษณ์ สัญญาณ หรือพฤติกรรมที่เข้าใจกัน โดยมีองค์ประกอบดังนี้ 1. ผู้ส่งสาร คือ ผูท ้ ี่ทำาหน้าที่ส่งข้อมูล สารไปยังผู้รับสารโดยผ่านช่อง ทางที่เรียกว่าสื่อ ถ้าหากเป็นการสื่อสารทางเดียวผู้ส่งจะทำาหน้าที่ส่งเพียงประการเดียวแต่ ถ้าเป็นการสื่อสาร 2 ทาง ผู้ส่งสารจะเป็นผู้รับในบางครั้งด้วย ผู้ส่งสารจะต้องมีทักษะในการสื่อสาร มีเจตคติต่อตนเอง ต่อเรื่องที่จะส่ง ต้องมีความรู้ในเนื้อหาที่จะส่งและอยู่ในระบบสังคมเดียว กับผู้รับก็จะทำาให้การ สื่อสารมีประสิทธิภาพ
2. ข่าวสาร ในการะบวนการติดต่อสือ ่ สารก็มีความสำาคัญ ข่าวสารที่ดี ต้องแปลเป็นรหัส เพื่อ สะดวกในการส่งการรับและตีความ เนื้อหาสารของสารและการจัดสารก็ จะต้องทำาให้การสื่อ ความหมายง่ายขึ้น 3. สื่อหรือช่องทางในการรับสาร คือ ประสาทสัมผัสทั้งห้า คือ ตา หู จมูก ลิ้น และกายสัมผัส และตัวกลางที่มนุษย์สร้างขึ้นมา เช่น สิ่งพิมพ์ กราฟิก สือ ่ อิเลกทรอนิกส์ 4. ผู้รับสาร คือ ผูท ้ ี่เป็นเป้าหมายของผู้ส่งสาร การสื่อสารจะมี ประสิทธิภาพ ผู้รับสารจะต้อง มีประสิทธิภาพในการรับรู้ มีเจตคติที่ดีตอ ่ ข้อมูลข่าวสาร ต่อผู้ส่งสารและ ต่อตนเอง http://km.siamha.com/ %E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA %E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA %E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AB %E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%96%E0%B8 %B6%E0%B8%87.html
ความรู้พื้นฐานเรื่องการสื่อสาร การสื่อสารเป็นปัจจัยสำาคัญในการดำารงชีวิต มนุษย์จำาเป็นต้องติดต่อ สื่อสารกันอยู่ตลอดเวลา การสื่อสารจึงเป็นปัจจัยสำาคัญอย่างหนึ่งนอก เหนือจากปัจจัยพื้นฐานในการดำารงชีวิตของมนุษย์ การสื่อสารมี
บทบาทสำาคัญต่อการดำาเนินชีวิตของมนุษย์มาก การสื่อสารมีความ สำาคัญอย่างยิ่งในปัจจุบัน ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นยุคโลกาภิวัตน์ เป็นยุคของ ข้อมูลข่าวสาร การสื่อสารมีประโยชน์ทั้งในแง่บุคคลและสังคม การ สื่อสารทำาให้คนมีความรู้และโลกทัศน์ที่กว้างขวางขึ้น การสื่อสารเป็นก ระบวนการที่ทำาให้สังคม เจริญก้าวหน้าอย่างไม่หยุดยั้ง ทำาให้มนุษย์ สามารถสืบทอดพัฒนา เรียนรู้ และรับรู้วัฒนธรรมของตนเองและสังคม ได้ การสื่อสารเป็นปัจจัยสำาคัญในการพัฒนาประเทศ สร้างสรรค์ความ เจริญก้าวหน้าแก่ชุมชน และสังคมในทุกด้าน ความหมายของการสื่อสาร คำาว่า การสื่อสาร (communications) มีที่มาจากรากศัพท์ภาษา ลาตินว่า communis หมายถึง ความเหมือนกันหรือร่วมกัน การสื่อสาร (communication)
หมายถึงกระบวนการถ่ายทอดข่าวสาร ข้อมูล
ความรู้ ประสบการณ์ ความรู้สึก ความคิดเห็น ความต้องการจากผู้ส่ง สารโดยผ่านสื่อต่าง ๆ ที่อาจเป็นการพูด การเขียน สัญลักษณ์อื่นใด การ แสดงหรือการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ไปยังผู้รับสาร ซึ่งอาจจะใช้ กระบวนการสื่อสารที่แตกต่างกันไปตามความเหมาะสม หรือความ จำาเป็นของตนเองและคู่สื่อสาร โดยมีวัตถุประสงค์ให้เกิดการรับรู้ร่วม กันและมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อกัน บริบททางการสื่อสารที่เหมาะสมเป็น ปัจจัยสำาคัญที่จะช่วยให้การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล บริบททางการสื่อสาร ความสำาคัญของการสื่อสาร การสื่อสารมีความสำาคัญดังนี้ 1. การสื่อสารเป็นปัจจัยสำาคัญในการดำารงชีวิตของมนุษย์ทุกเพศ ทุก วัย ไม่มีใครที่จะดำารงชีวิตได้ โดยปราศจากการสื่อสาร ทุกสาขาอาชีพ ก็ต้องใช้การสื่อสารในการปฏิบัติงาน การทำาธุรกิจต่าง ๆ โดยเฉพาะ
สังคมมนุษย์ที่มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาตลอดเวลา พัฒนาการทาง สังคม จึงดำาเนินไปพร้อม ๆ กับพัฒนาการทางการสื่อสาร 2. การสื่อสารก่อให้เกิดการประสานสัมพันธ์กันระหว่างบุคคลและสังคม ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างคนในสังคม ช่วยสืบทอด วัฒนธรรมประเพณี สะท้อนให้เห็นภาพความเจริญรุ่งเรือง วิถีชีวิตของ ผู้คน ช่วยธำารงสังคมให้อยู่ร่วมกันเป็นปกติสุขและอยู่ร่วมกันอย่างสันติ 3. การสื่อสารเป็นปัจจัยสำาคัญในการพัฒนาความเจริญก้าวหน้าทั้งตัว บุคคลและสังคม การพัฒนาทางสังคมในด้านคุณธรรม จริยธรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฯลฯ รวมทั้งศาสตร์ในการสื่อสาร จำาเป็น ต้องพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง การสื่อสารเป็นเครื่องมือในการพัฒนา คุณภาพชีวิตของมนุษย์และพัฒนาความเจริญก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ องค์ประกอบที่สำาคัญของการสื่อสาร มี 4 ประการ ดังนี้ 1. ผู้ส่งสาร (sender) หรือ แหล่งสาร (source) หมายถึง บุคคล กลุ่ม บุคคล หรือ หน่วยงานที่ทำาหน้าที่ในการส่งสาร หรือเป็นแหล่งกำาเนิด สาร ที่เป็นผู้เริ่มต้นส่งสารด้วยการแปลสารนั้นให้อยู่ในรูปของ สัญลักษณ์ที่มนุษย์สร้างขึ้นแทนความคิด ได้แก่ ภาษาและอากัปกิริยา ต่าง ๆ เพื่อสือ ่ สารความคิด ความรู้สึก ข่าวสาร ความต้องการและ วัตถุประสงค์ของตนไปยังผู้รับสารด้วยวิธีการใด ๆ หรือส่งผ่านช่องทาง ใดก็ตาม จะโดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม
เช่น ผูพ ้ ูด ผู้เขียน กวี
ศิลปิน นักจัดรายการวิทยุ โฆษกรัฐบาล องค์การ สถาบัน สถานีวิทยุ กระจายเสียง สถานีวิทยุโทรทัศน์ กองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ หน่วยงานของรัฐ บริษัท สถาบันสื่อมวลชน เป็นต้น คุณสมบัติของผู้ส่งสาร 1. เป็นผู้ที่มีเจตนาแน่ชัดที่จะให้ผู้อื่นรับรู้จุดประสงค์ของตนในการส่ง สาร แสดงความคิดเห็น หรือวิจารณ์ ฯลฯ
2. เป็นผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาของสารที่ต้องการจะสื่อออก ไปเป็นอย่างดี 3. เป็นผู้ที่มีบุคลิกลักษณะที่ดี มีความน่าเชื่อถือ แคล่วคล่องเปิดเผย จริงใจ และมีความรับผิดชอบ ในฐานะเป็นผู้ส่งสาร 4. เป็นผู้ที่สามารถเข้าใจความพร้อมและความสามารถในการรับสาร ของผู้รับสาร 5. เป็นผู้รู้จักเลือกใช้กลวิธีที่เหมาะสมในการส่งสารหรือนำาเสนอสาร 2. สาร (message) หมายถึง เรื่องราวที่มีความหมาย หรือสิ่งต่าง ๆ ที่ อาจอยู่ในรูปของข้อมูล ความรู้ ความคิด ความต้องการ อารมณ์ ฯลฯ ซึ่งถ่ายทอดจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสารให้ได้รับรู้ และแสดงออกมาโดย อาศัยภาษาหรือสัญลักษณ์ใด ๆ ที่สามารถทำาให้เกิดการรับรู้ร่วมกันได้ เช่น ข้อความที่พูด ข้อความที่เขียน บทเพลงที่ร้อง รูปที่วาด เรื่อง ราวที่อ่าน ท่าทางที่สื่อความหมาย เป็นต้น 2.1 รหัสสาร (message code)ได้แก่ ภาษา สัญลักษณ์ หรือสัญญาณที่ มนุษย์ใช้เพื่อแสดงออกแทนความรู้ ความคิด อารมณ์ หรือความรู้สึกต่าง ๆ 2.2 เนื้อหาของสาร (message content) หมายถึง บรรดาความรู้ ความ คิดและประสบการณ์ที่ผู้ส่งสารต้องการจะถ่ายทอดเพื่อการรับรู้ร่วมกัน แลกเปลี่ยนเพื่อความเข้าใจร่วมกันหรือโต้ตอบกัน 2.3 การจัดสาร (message treatment) หมายถึง การรวบรวมเนื้อหาของ สาร แล้วนำามาเรียบเรียงให้เป็นไปอย่างมีระบบ เพื่อให้ได้ใจความตาม เนื้อหา ที่ตอ ้ งการด้วยการเลือก ใช้รหัสสารที่เหมาะสม 3. สื่อ หรือช่องทาง (media or channel) เป็นองค์ประกอบที่สำาคัญอีก ประการหนึ่งในการสื่อสาร หมายถึง สิ่งที่เป็นพาหนะของสาร ทำา
หน้าที่นำาสารจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร ผู้ส่งสารต้องอาศัยสื่อหรือช่อง ทางทำาหน้าที่นำาสารไปสู่ผู้รับสาร การแบ่งประเภทของสื่อมีหลากหลายต่างกันออกไป ดังนี้ (สถาบันราชภัฏสวนดุสิต, 2542: 6 ) เกณฑ์ก ารแบ่ง 1. แบ่งตามวิธีการเข้า และถอดรหัส
ประเภทของสื่อ
ตัว อย่า ง
สื่อวัจนะ (verbal)
คำาพูด ตัวเลข
สื่ออวัจนะ (nonverbal) สีหน้า ท่าทาง นำ้าเสียง หนังสือพิมพ์ รูปภาพ สื่อที่รับรู้ด้วยการเห็น นิตยสาร
2. แบ่งตามประสาทการ สื่อที่รับรู้ด้วยการฟัง รับรู้
3. แบ่งตามระดับการ สื่อสาร หรือจำานวนผู้รับ สาร
4. แบ่งตามยุคสมัย
เทป วิทยุ
สื่อที่รู้ด้วยการเห็นและ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ การฟัง
วีดิทศ ั น์
สื่อระหว่างบุคคล
โทรศัพท์ จดหมาย
สื่อในกลุ่ม
ไมโครโฟน
สื่อสารมวลชน
โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์
สื่อดั้งเดิม
เสียงกลอง ควันไฟ
สื่อร่วมสมัย
โทรศัพท์ โทรทัศน์
สื่ออนาคต
เคเบิล วีดิโอเทกซ์
5. แบ่งตามลักษณะของ สื่อธรรมชาติ สื่อ
อากาศ แสง เสียง
สื่อมนุษย์หรือสื่อบุคคล คนส่งของ ไปรษณีย์ สื่อสิ่งพิมพ์
โฆษก หนังสือ นิตยสาร
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
ใบปลิว
สื่อระคน
วิทยุ วีดิทัศน์ ศิลาจารึก สื่อพื้นบ้าน หนังสือ ใบข่อย
6. แบ่งตามการใช้งาน
สื่อสำาหรับงานทั่วไป
จดหมายเวียน
สื่อเฉพาะกิจ
โทรศัพท์ วารสาร จุดสาร วีดิ ทัศน์
7. แบ่งตามการมีส่วน
สื่อร้อน
การพูด
ร่วม
สื่อเย็น
การอ่าน
ของผู้รับสาร 4. ผู้รับสาร (receiver) หมายถึง บุคคล กลุ่มบุคคล หรือมวลชนที่รับ เรื่องราวข่าวสาร จากผู้ส่งสาร และแสดงปฏิกิริยาตอบกลับ (Feedback) ต่อผู้ส่งสาร หรือส่งสารต่อไปถึงผู้รับสารคนอื่น ๆ ตามจุดมุ่งหมายของผู้ส่งสาร เช่น ผู้เข้าร่วมประชุม ผู้ฟังรายการวิทยุ กลุ่มผู้ฟังการอภิปราย ผูอ ้ ่าน บทความจากหนังสือพิมพ์ เป็นต้น การสื่อสารจะประสบความสำาเร็จตรงตามจุดประสงค์หรือไม่ผู้ส่งสารควร คำานึงถึงหลักการสื่อสาร ดังนี้ (ภาควิชาภาษาไทย สถาบันราชภัฏเทพ สตรี ลพบรี, 2542: 13-14) 1. ผู้ที่จะสื่อสารให้ได้ผลและเกิดประโยชน์ จะต้องทำาความเข้าใจเรื่อง องค์ประกอบในการสื่อสาร และปัจจัยทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับระบบ การรับรู้ การคิด การเรียนรู้ การจำา ซึ่งมีผลต่อประสิทธิภาพ ในการ สื่อสาร
2. ผู้ที่จะสื่อสารต้องคำานึงถึงบริบทในการสื่อสาร บริบทในการสื่อสาร หมายถึง สิ่งที่อยู่แวดล้อมที่มีส่วนในการกำาหนดรู้ความหมายหรือความ เข้าใจในการสื่อสาร 3. คำานึงถึงกรอบแห่งการอ้างอิง (frame of reference) มนุษย์ทุกคนจะมี พื้นความรู้ทักษะ เจตคติ ค่านิยม สังคม ประสบการณ์ ฯลฯ เรียกว่าภูมิ หลังแตกต่างกัน ถ้าคู่สื่อสารใดมีกรอบแห่ง การอ้างอิงคล้ายกัน ใกล้ เคียงกัน จะทำาให้การสื่อสารง่ายขึ้น 4. การสื่อสารจะมีประสิทธิผล เมื่อผู้ส่งสารส่งสารอย่างมีวัตถุประสงค์ ชัดเจน ผ่านสื่อหรือช่องทาง ที่เหมาะสม ถึงผู้รับสารที่มีทักษะในการ สื่อสารและมีวัตถุประสงค์สอดคล้องกัน 5. ผู้ส่งสารและผู้รับสาร ควรเตรียมตัวและเตรียมการล่วงหน้า เพราะจะ ทำาให้การสื่อสารราบรื่น สะดวก รวดเร็ว เป็นไปตามวัตถุประสงค์และ สามารถแก้ไขได้ทันท่วงที หากจะเกิดอุปสรรค์ ที่จุดใดจุดหนึ่ง 6. คำานึงถึงการใช้ทักษะ เพราะภาษาเป็นสัญลักษณ์ที่มนุษย์ตกลงใช้ ร่วมกันในการ สื่อความหมาย ซึ่งถือได้ว่าเป็นหัวใจในการสื่อสาร คู่สื่อสารต้องศึกษา เรื่องการใช้ภาษา และสามารถใช้ภาษาให้เหมาะสมกับกาลเทศะ บุคคล เนื้อหาของสาร และช่องทางหรือสื่อ ที่ใช้ในการสื่อสาร 7. คำานึงถึงปฏิกิริยาตอบกลับตลอดเวลา ถือเป็นการประเมินผลการ สื่อสาร ที่จะทำาให้คู่สื่อสารรับรู้ผลของการสื่อสารว่าประสบผลดีตรงตาม วัตถุหรือไม่ ควรปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขข้อบกพร่องใด เพื่อที่ จะทำาให้การสื่อสารเกิดผลตามที่ตอ ้ งการ คณาจารย์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (2551: 17) กล่าวถึง วัตถุประสงค์ของการสื่อสารไว้ดังนี้
1. เพื่อแจ้งให้ทราบ (inform) ในการทำาการสื่อสาร ผู้ทำาการสื่อสาร ควรมีความ ต้องการที่จะบอกกล่าวหรือชี้แจงข่าวสาร เรื่องราว เหตุการณ์ หรือสิ่งอื่นใดให้ผู้รับสารได้รับทราบ 2. เพื่อสอนหรือให้การศึกษา (teach or education) ผู้ทำาการสื่อสาร อาจมีวัตถุประสงค์เพื่อจะ ถ่ายทอดวิชาความรู้ หรือเรื่องราวเชิงวิชาการ เพื่อให้ผู้รับสารได้มีโอกาสพัฒนาความรู้ให้เพิ่มพูนยิ่งขึ้น 3. เพื่อสร้างความพอใจหรือให้ความบันเทิง (please of entertain) ผู้ ทำาการสื่อสารอาจ ใช้วัตถุประสงค์ในการสื่อสารเพื่อสร้างความพอใจ หรือให้ความบันเทิงแก่ผู้รับสาร โดยอาศัยสารที่ตนเองส่งออกไป ไม่ว่า จะอยู่ในรูปของการพูด การเขียน หรือการแสดงกิริยาต่าง ๆ 4. เพื่อเสนอหรือชักจูงใจ (Propose or persuade) ผู้ทำาการสื่อสารอาจ ใช้วัตถุประสงค์ใน การสื่อสารเพื่อให้ข้อเสนอแนะ หรือชักจูงใจในสิ่ง ใดสิ่งหนึ่งต่อผู้รับสาร และอาจชักจูงใจให้ผู้รับสารมีความคิดคล้อยตาม หรือยอมปฏิบัติตามการเสนอแนะของตน 5. เพื่อเรียนรู้ (learn) วัตถุประสงค์นี้มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้รับ สาร การแสวงหาความรู้ ของผู้รับสาร โดยอาศัยลักษณะของสาร ใน กรณีนี้มักจะเป็นสารที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับวิชาความรู้ เป็นการ หาความรู้เพิ่มเติมและเป็นการทำาความเข้าใจกับเนื้อหาของสารที่ผู้ ทำาการสื่อสารถ่ายทอดมาถึงตน 6. เพื่อกระทำาหรือตัดสินใจ (dispose or decide) ในการดำาเนินชีวิต ของคนเรามี สิ่งหนึ่งที่ต้องกระทำา อยู่เสมอก็คือ การตัดสินใจกระทำาการ อย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งการตัดสินใจ นั้นอาจได้รับการเสนอแนะ หรือ ชักจูงใจให้กระทำาอย่างนั้นอย่างนี้จากบุคคลอื่นอยู่เสมอ ทางเลือกใน การ ตัดสินใจของเราจึงขึ้นอยู่กับข้อเสนอแนะนั้น
การจำาแนกประเภทของการสื่อสาร มีผู้จำาแนกไว้หลาย ๆ ประเภท โดย ใช้เกณฑ์ในการพิจารณา ตามจุดประสงค์ของการศึกษาหรือ วัตถุประสงค์ที่ต้องการจะนำาเสนอ ซึ่งสรุปได้ตามตารางดังนี้ เกณฑ์การแบ่ง ประเภทของการสื่อสาร ตัวอย่าง 1. จำานวนผู้ทำาการสื่อสาร 1.1 การสื่อสารภายในตัวบุคคล (intrapersonal communication) - การพูดกับตัวเอง - การคิดคำานึงเรื่องต่าง ๆ - การร้องเพลงฟังเอง - การคิดถึงงานที่จะทำา เป็นต้น 1.2 การสื่อสารระหว่างบุคคล (interpersonal communication) - การพูดคุยระหว่างบุคคล 2 คนขึ้นไป - การพูดคุย - การเขียนจดหมาย - การโทรศัพท์ - การประชุมกลุ่มย่อย เป็นต้น 1.3 การสื่อสารกลุ่มใหญ่ (large group communication) - การอภิปรายในหอประชุม - การพูดหาเรื่องเลือกตั้ง - การปราศรัยในงานสังคม - การกล่าวปาฐกถา ในหอประชุม - การบรรยายทางวิชาการ ณ ศูนย์เรียนรวม เป็นต้น
1.4 การสื่อสารในองค์กร (organizational communication) - การสื่อสารในบริษัท - การสื่อสารในหน่วยงาน ราชการ - การสื่อสารในโรงงาน - การสื่อสารของธนาคาร เป็นต้น 1.5 การสื่อสารมวลชน (mass communication) การสื่อสารที่ผ่านสื่อเหล่านี้ คือ - หนังสือพิมพ์, นิตยสาร - วิทยุ - โทรทัศน์ - ภาพยนตร์ เป็นต้น 2.การเห็นหน้ากัน 2.1 การสื่อสารแบบเผชิญหน้า (face to face communication) - การสนทนาต่อหน้ากัน - การประชุมสัมมนา - การสัมภาษณ์เฉพาะหน้า - การเรียนการสอนในชั้นเรียน - การประชุมกลุ่มย่อย เป็นต้น 2.2 การสื่อสารแบบไม่เผชิญหน้า (interposed communication) - เอกสารการสื่อสารที่ผ่าน
สื่อมวลชนทุกชนิด คือ - หนังสือพิมพ์ - วิทยุ - โทรทัศน์ - วีดิทศ ั น์การสื่อสารที่ผ่าน สื่อมวลชนทุกชนิด - จดหมาย/โทรเลข/โทรสาร - อินเตอร์เน็ต เป็นต้น 3. ความสามารถในการโต้ตอบ 3.1 การสื่อสารทางเดียว (one-way communication) การสื่อสารที่ผ่านสื่อมวลชนทุกชนิด คือ - วิทยุ/โทรทัศน์/วีดิทัศน์ - โทรเลข/โทรสาร - ภาพยนตร์ เป็นต้น 3.2 การสื่อสารสองทาง (two-way communication) - การสื่อสารระหว่างบุคคล - การสื่อสารในกลุ่ม - การพูดคุย / การสนทนา เป็นต้น 4. ความแตกต่างระหว่าง ผู้รับสารและผู้ส่งสาร 4.1 การสื่อสารระหว่างเชื้อชาติ (interracial communication) - ชาวไทยสื่อสารกับคน ต่างประเทศ
- คนจีน, มาเลย์, อินเดีย ใน ประเทศมาเลเซีย สื่อสารกัน เป็นต้น 4.2 การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม (gosscultural communication) - การสื่อสารระหว่างคนไทยภาคใต้กับภาคเหนือหรือ ภาคอื่น ๆ - ชาวไทยสื่อสารกับชาวเขา เป็นต้น 4.3 การสื่อสารระหว่างประเทศ (international communication) - การเจรจาติดต่อสัมพันธ์ทางการทูต - การเจรจาในฐานะตัวแทน รัฐบาล เป็นต้น 5. การใช้ภาษา 5.1 การสื่อสารเชิงวัจนภาษา (verbal communication) - การพูด, การบรรยาย - การเขียนจดหมาย, บทความ เป็นต้น 5.2 การสื่อสารเชิงอวัจนภาษา (non-verbal communication) - การสื่อสารโดยไม่ใช้ถ้อยคำา, คำาพูด - อาการภาษา, กาลภาษา, เทศภาษา, สัมผัสภาษา, เนตรภาษา, วัตถุ ภาษา และปริภาษา เป็นต้น อุปสรรคในการสื่อสาร หมายถึง สิ่งที่ทำาให้การสื่อสารไม่บรรลุตาม วัตถุประสงค์ ของผู้สอ ื่ สาร และผู้รับสาร อุปสรรคในการสื่อสารอาจเกิด ขึ้นได้ทุกขั้นตอนของกระบวนการสื่อสาร ดังนั้นอุปสรรค ในการสื่อสาร จากองค์ประกอบต่าง ๆ 1. อุปสรรคที่เกิดจากผู้ส่งสาร 1.1 ผู้ส่งสารขาดความรู้ความเข้าใจและข้อมูลเกี่ยวกับสารที่ ต้องการจะสื่อ
1.2 ผู้ส่งสารใช้วิธีการถ่ายทอดและการนำาเสนอที่ไม่เหมาะ สม 1.3 ผู้ส่งสารไม่มีบุคลิกภาพที่ไม่ดี และไม่เหมาะสม 1.4 ผู้ส่งสารมีทัศนคติที่ไม่ดีตอ ่ การส่งสาร 1.5 ผู้ส่งสารขาดความพร้อมในการส่งสาร 1.6 ผู้ส่งสารมีความบกพร่องในการวิเคราะห์ผู้รับสาร 2. อุปสรรคที่เกิดจากสาร 2.1 สารไม่เหมาะสมกับผู้รับสาร อาจยากหรือง่ายเกินไป 2.2 สารขาดการจัดลำาดับที่ดี สลับซับซ้อน ขาดความชัดเจน 2.3 สารมีรูปแบบแปลกใหม่ยากต่อความเข้าใจ 2.4 สารที่ใช้ภาษาคลุมเครือ ขาดความชัดเจน 3. อุปสรรคที่เกิดขึ้นจากสื่อ หรือช่องทาง 3.1 การใช้สื่อไม่เหมาะสมกับสารที่ต้องการนำาเสนอ 3.2 การใช้สื่อที่ไม่มีประสิทธิภาพที่ดี 3.3 การใช้ภาษาที่ไม่เหมาะสมกับระดับของการสื่อสาร 4. อุปสรรคที่เกิดจากผู้รับสาร 4.1 ขาดความรู้ในสารที่จะรับ 4.2 ขาดความพร้อมที่จะรับสาร 4.3 ผู้รับสารมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อผู้ส่งสาร 4.4 ผู้รับสารมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อสาร 4.5 ผู้รับสารมีความคาดหวังในการสื่อสารสูงเกินไป http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter1-1.html ความรู้พื้นฐานเรื่องการสื่อสาร การสื่อสาร หมายถึง กระบวนการถ่ายทอดสารจากบุคคล หนึ่ง (ผูส ้ ่งสาร) ไปยังบุคคลหนึ่ง (ผู้รับสาร) โดยผ่านสื่อต่าง ๆ
ความสำาคัญของการสื่อสารด้านสังคม เพื่อเกิดความเข้าใจ กฏระเบียบ การอยู่รวมกันอย่างสงบสุขในสังคม ความสัมพันธ์ตอ ่ อุตสาหกรรมและธุรกิจ เป็นเครื่องมือในการเผยแพร่ ข่าวสารเกี่ยวกับสินค้า ชักจูงผู้บริโภคโดยการโฆษณา ด้านการปกครอง ใช้เป็นกลไกการกระจายข่าวสารต่าง ๆ สู่ผู้ปกครอง ให้เข้าใจตรงกันและรับทัศนคติของผู้ถูกปกครอง องค์ประกอบของการสื่อสาร มี 5 องค์ประกอบ ดังนี้ 1. ผู้ส่งสาร (Sender) คือบุคคล หน่วยงานที่เป็นผู้ส่งสาร แหล่งกำาเนิดสาร แล้วส่งสารไปยังบุคคลหรือหน่วยงานอื่นด้วยวิธีเดียว หรือหลายวิธี 2. สาร (Message) คือ เรื่องราว สิ่งต่าง ๆ ในรูปข้อมูล ความรู้ ความคิด หรืออารมณ์ที่ผู้ส่งสารให้ผู้อื่นรับรู้ แล้วเกิดปฏิกิริยา ตอบสนอง ประกอบด้วย 2.1 รหัสสาร ทั้งที่ไม่ใช้ถ้วยคำา (กิริยา ท่าทาง เครื่องหมาย) และใช้ถ้อยคำา (ภาษาพูด ภาษาเขียน) 2.2 เนื้อหาสาร แบ่งเป็น ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น 2.3 การจัดสาร คือ รวบรวมเนื้อหา เรียบเรียงด้วยการใช้ รหัสของสารที่เหมาะสม 3. สื่อหรือช่องทาง (Medium or Channal) สื่อ หมายถึง สิ่งที่เป็นพาหนะที่ทำาให้สารเคลื่อนที่ออกไป จากตัวผู้ส่งสาร ช่องทาง หมายถึง ทางที่ทำาให้ผู้ส่งสาร และผู้รับสาร ติดต่อกันได้
4. ผู้รับสาร (Receiver) คือ ผลที่เกิดจากการรับสารทาง พฤติกรรม เช่น หัวเราะ พอใจ ทำาให้ทราบถึงความสำาเร็จของการ สื่อสาร Sender Receive ผู้ส่งสาร
Message Feed back
Channel
สาร สื่อหรือช่องทาง ผู้รับสาร ใคร
ถึงใคร
กล่าวอะไร
ปฏิกิริยาการตอบสนอง ช่องทางใด
ผลเป็นอย่างไร
หลักการสื่อสาร ผู้สื่อสารต้องเข้าใจองค์ประกอบในการสื่อสาร มีสื่อ / ช่องทาง ที่เหมาะสม จุดประสงค์ชัดเจน ผู้ส่งสาร – ผูร้ ับสาร ควรเตรียมการล่วงหน้า ใช้ทักษะในภาษาที่เหมาะสมในการสื่อสาร คำานึงถึงปฏิกิริยาตอบกลับเพื่อนำามาประเมิน ปรับปรุง แก้ไขข้อบกพร่อง ต่อไป วัตถุประสงค์ในการสื่อสาร ผู้ส่งสารมีจุดประสงค์ให้ผู้รับได้ทราบความต้องการของตน ว่าตน ต้องการสื่อไปในรูปแบบไหน อาจจะมุ่งให้ผู้รับมีการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมตามที่ผู้ส่งสารกำาหนดไว้ มุ่งให้เกิดผลทางจิตใจหรืออารมณ์ มุ่งเน้นให้ผู้รับสารคล้อยตาม และเพื่อเสนอหรือชักจุงใจให้กระทำาและ ตัดสินใจ ประเภทของการสื่อสาร การสื่อสารภายในบุคคล (Intrapersonal Communication) บุคคลคน เดียว ทำาหน้าที่ทั้งผู้รับและผู้ส่งสาร
การสื่อสารระหว่างบุคคล (Interpersonal Communication) มีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป การสื่อสารกลุ่มใหญ่ (Large Group Communication) สื่อสารไปยัง บุคคลที่อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม การสื่อสารในองค์การ (Organization Communication) สือ ่ สารระหว่าง สมาชิกใน องค์การ การสื่อสารมวลชน (Mass Communication) สื่อสารไปยังคนจำานวนมาก ในเวลาเดียวกัน โดยอาศัยสือ ่ มวลชน อุปสรรคในการสื่อสาร ผู้ส่งสารและผู้รับสารมีความรู้ความเข้าใจไม่เพียงพอ มีทัศนคติที่ ไม่ดี ตัวผู้ส่งสารเองก็อาจไม่มีการนำาเสนอที่ทำาให้ผู้รับสารเกิดความ สนใจ หรืออาจจะเป็นที่ตัวสาร มีการจัดลำาดับของสารไม่ดี สลับซับซ้อน และเกิดจากการเลือกสื่อหรือช่องทางที่ไม่เหมาะสม ก็ทำาให้เป็นอุปสรรค ในการสื่อสารได้ http://info.muslimthaipost.com/main/index.php? page=sub&category=29&id=12226 พจนานุกรมออนไลน์เมอเรียม-เว็บสเตอร์ (Merriam – Webster Online Dictionary) นิยามว่า การสื่อสาร หมายถึงกระบวนการแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างบุคคล โดยผ่านระบบสัญลักษณ์ สัญญาณ หรือพฤติกรรมที่ เข้าใจกัน (www.m-w.com, เข้าถึงเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2553) เดนนิส แมคเควล (McQuail, 2005) กล่าวว่า การสื่อสารหมายถึงการให้ และการรับความหมาย การถ่ายทอดและการรับสาร ซึ่งรวมถึงแนวคิด ของการโต้ตอบ แบ่งปัน และมีปฏิสัมพันธ์กันด้วย ดังนั้น คำาว่า “การสื่อสาร” จึงมีความหมายที่กว้างขวางและเลื่อนไหลได้ จึงออกจะเป็นการยากที่จะกำาหนดคำานิยามถึง “การสื่อสาร” โดยให้เป็น
ที่ยอมรับของบุคคลทั่วไป อย่างไรก็ตาม หนึ่งในนิยามเชิงปฏิบัติการ (working definition) ที่นักวิชาการด้านการสื่อสารทั้งหลายใช้กันมาก คือ “การสื่อสารคือการส่ง (transmitting) ข้อมูล (information) จาก บุคคลหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่ง” ซึ่งเป็นนิยามที่ทำาให้มองเห็นภาพง่ายๆของ การสื่อสารได้ องค์ประกอบของการสื่อสาร การสื่อสารต้องประกอบด้วยผู้ส่งสาร (sender) และผู้รับสาร (receiver) เสมอ อย่างน้อยที่สุดก็ตอ ้ งมีบุคคลหรือกลุ่มคนที่ผู้ส่งสารตั้งใจส่งสารไป ถึง (intended receiver) แต่การสื่อสารยังต้องมีองค์ประกอบนอกเหนือ จากผู้ส่งสารและผู้รับสาร นั่นคือตัวกลางที่เข้ามาช่วยอธิบายให้ กระบวนการสื่อสารมีความสมบูรณ์ชัดเจนยิ่งขึ้น ดังนั้น การสื่อสารโดย ทั่วไปจึงประกอบด้วยองค์ประกอบ 5 ประการ ดังนี้ 1. ผู้ส่งสาร (Sender) หรือผู้สื่อสาร(Communicator) หรือแหล่งสาร (Source) เป็นแหล่ง หรือต้นทางหรือผู้ที่นำาเรื่องราวข่าวสาร ความรู้ ตลอดจนเหตุการณ์ต่างๆ เพื่อส่งไปยังผู้รับซึ่งอาจเป็นบุคคลหรือกลุ่มชน ก็ได้ ผู้ส่งนี้จะเป็นบุคคลเพียงคนเดียว กลุ่มบุคคลหรือสถาบันต่าง ๆ ก็ได้ 2. เนื้อหา (Message) ได้แก่ เรื่องราวที่ส่งออกมาจากผู้ส่งสาร เช่น ข่าวสารความรู้ ความคิดเห็น บทเพลง ภาพ ฯลฯ เพื่อให้ผู้รับสารได้รับ ข้อมูลเหล่านี้ 3. สื่อหรือช่องทางในการนำาสาร (Medium or Channel) หมายถึง ตัวกลางที่ช่วยถ่ายทอดข้อมูลและเหตุการณ์ต่าง ๆ จากผู้ส่งสารไปยัง ผู้รับ เช่น วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ 4. ผู้รับสารหรือกลุ่มเป้าหมาย (Receiver or Target Audience) ได้แก่ ผู้รับเนื้อหาเรื่องราวจากแหล่งหรือจากการที่ผู้ส่งสารส่งมา ผู้รับสารอาจ เป็นบุคคล กลุ่มชน หรือสถาบันก็ได้
5. ปฏิกิริยาสนองกลับ (Feedback) เมื่อผู้ส่งสารส่งข้อมูลไปยังผู้รับสาร ผลที่เกิดขึ้นคือ การที่ผู้รับอาจมีความเข้าใจหรือไม่เข้าใจ ยอมรับหรือ ปฏิเสธ พอใจหรือไม่พอใจ ฯลฯ และเมื่อเกิดผลกระทบทางใดทางหนึ่ง ขึ้น ก็จะทำาให้ผู้รับสารส่งข้อมูลกลับมายังผู้ส่งสาร ซึ่งอาจเป็นคำาพูด โต้ตอบ หรือการแสดงความคิดเห็น หรือการใช้ท่าทาง เช่น แสดง อาการง่วงนอน ปรบมือ ยิ้ม พยักหน้า เป็นต้น เพื่อทำาให้ผู้ส่งสารทราบ ว่า ผู้รับสารมีความพอใจหรือมีความเข้าใจในความหมายของข้อมูลที่ส่ง ไปหรือไม่ ในการสื่อสารแต่ละครั้ง อาจมีองค์ประกอบน้อยกว่าหรือมากกว่า 5 ประการตามที่กล่าวข้างต้น แล้วแต่บริบทของการสื่อสาร ซึ่งอาจเป็น เพียงการสื่อสารทางเดียว (ภาพที่ 1) หรือการสื่อสารสองทาง (ภาพที่ 2) แต่ก็ยังทำาให้การสื่อสารนั้นสำาเร็จและสมบูรณ์ได้ http://commarts.stou.ac.th/th/index.php? option=com_content&view=article&id=512:2553-07-28-04-ms&catid=241:2553-07-28-02-m-s การสื่อสาร (Communication) ทำาตัวหนา การสื่อสาร (Communication) มีรากศัพท์มาจากภาษาละติน คำาว่า Communis ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Communicate ซึ่งแปลตามตัว อักษรว่า Make Common หมายถึง ทำาให้มีสภาพร่วมกัน ซึ่งเป็นความ หมายที่ตรงกับธรรมชาติของการสื่อสาร คือ การทำาให้เกิดความเข้าใจ ร่วมกัน ตรงกัน กล่าวคือ มนุษย์มีการสื่อสารซึ่งกันและกันก็เพื่อเข้าใจ ให้ตรงกันนั้นเอง ดังนั้นการนิยามความหมายคำาว่า การสื่อสารจึง เป็นการนิยามที่ตั้งอยู่บนรากฐานของรากศัพท์เดิม คือ ความเข้าใจร่วม กัน เนื้อหา [ซ่อน]
1 องค์ประกอบของการสื่อสาร 2 ผู้ส่งสาร 3 ผู้รับสาร 4 สาร 5 ช่องทางการสื่อสาร 6 องค์ประกอบเพิ่มเติมของการสื่อสาร องค์ประกอบของการสื่อสาร กระบวนการถ่ายทอดสารของมนุษย์ประกอบโดยทั่วไป จะประกอบไป ด้วยองค์ประกอบ 4 ประการ คือ 1.ผู้ส่งสาร หรือผู้เข้ารหัส (sender / encoder) 2.ผู้รับสาร หรือ ผู้ถอดรหัส (receiver / decoder) 3.สาร (message) 4.ช่องทางการสื่อสาร (channel) ผู้ส่งสาร ผู้ส่งสาร (sender) คือ บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่เป็นผู้ริเริ่มหรือเริ่มต้นส่ง สารไปให้อีกบุคคลหนึ่งจะโดยตั้งใจหรือไม่ก็ตาม หรือเป็นผู้ทำาหน้าที่ส่ง สารผ่านช่องทางหนึ่งไปยังผู้รับสาร ฉะนั้น ผูส ้ ่งสารจึงมีบทบาทในการ ชี้นำาว่าพฤติกรรมการสื่อสารภายในสถานการณ์หนึ่งๆ นั้น จะเป็นไปใน รูปใดและมีผลอย่างไรหรืออีกนัยหนึ่งก็คือ ผูส ้ ่งสารคือ ผูก ้ ระตุ้น (stimulus) ที่ทำาให้เกิดการตอบสนอง (response) จากผู้รับสาร หรือผู้ส่ง สารอาจเรียก ผู้เข้ารหัส (encoder) คือ ผูท ้ ี่รับผิดชอบในการนำาความคิด ของผู้ริเริ่ม ความคิดหรือแหล่งสาร (source) ส่งไปยังผู้ที่ตอ ้ งการจะ สื่อสารด้วย โดยการใช้สัญญาณ (signal) และสัญลักษณ์ (symbol) หรือ เรียกว่า การเข้ารหัส (encoding) ซึ่งแสดงถึงเป้าหมายหรือสิ่งที่แหล่ง สารต้องการสื่อ
ผู้รับสาร ผู้รับสาร (encoder) คือ ผูท ้ ี่รับสารจากบุคคลหนึ่งหรือกลุ่มบุคคลหนึ่ง เมื่อได้รับสารผู้รับสารจะเกิดการตีความและการตอบสนองจะโดยตั้งใจ หรือไม่ตั้งใจก็ตาม และส่งปฏิกิริยาตอบสนอง (feedback) กลับไปให้ผู้ส่ง สาร หรือผู้รับสารเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ผูถ ้ อดรหัส (decoder) คือ ผู้ที่ถอด ความหมายของสัญญาณหรือสัญลักษณ์ที่ผู้เข้ารหัสส่งมา หรืออีกนัย หนึ่ง คือ ผู้รับผิดชอบการถอดรหัสของสาร (decoding) เพื่อให้ผู้รับสาร ปลายทาง (receiver / destination) หรือผู้รับสารที่ผู้ส่งสารต้องการให้ได้ รับสารของตน สาร สาร (message) หมายถึง สิ่งที่ผู้ส่งสารไปให้ผู้รับสารในรูปของรหัสคำาว่า “รหัส” หมายถึง สัญญาณ (signal) หรือสัญลักษณ์ (symbol) หรือกลุ่ม ของสัญลักษณ์ที่ถูกสร้างขึ้นในลักษณะที่มีความหมายต่อคน และผู้รับ สารสามารถเข้าใจความหมายของมันได้ต่อเมื่อมีการถอดความหมาย ของสัญญาณหรือสัญลักษณ์ออกมา สัญญาณหรือสัญลักษณ์ในที่นี้อาจ เป็น คำาพูด ตัวหนังสือ รูปภาพ เครื่องหมาย หรือกิริยาท่าทางต่างๆ ฯลฯ ซึ่งเป็นสิ่งที่แสดงหรือถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก ความต้องการและ วัตถุประสงค์ของผู้รับสาร ซึ่งส่วนใหญ่แล้ว สารก็คือ ภาษา (language) โดยสามารถแบ่งเนื้อหาของสารได้ 2 ประเภทคือ 1. รหัสของสารที่ใช้คำา (Verbal Message Codes) ได้แก่ ภาษาอันเป็น ระบบของสัญลักษณ์และหรือระบบของสัญญาณที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่อง มือในการติดต่อซึ่งกันและกัน มนุษย์ได้สร้างขึ้นและพัฒนาสืบทอดมา โดยลำาดับ ภาษาจะมีโครงสร้าง (Structure) ที่ทำาให้ส่วนประกอบต่างๆ (Elements) รวมเข้าไปด้วยกันอย่างมีความหมาย (ส่วนประกอบของ ภาษา เช่น เสียง (Sound) ตัวอักษร (Letters) คำา (Words) คำาสะกด
การันต์ เครื่องหมายต่างๆ ฯลฯ ซึ่งสิ่งเหล่านี้สามารถนำามาเรียบเรียงเข้า เป็นถ้อยคำา เป็นวลี และประโยคที่มีความหมาย โดยอาศัยระเบียบและ กฎเกณฑ์ของภาษานั้นๆ เป็นหลัก เช่น โครงสร้างประโยคตามหลักการ เขียนภาษาไทย ภาษาอังกฤษ เป็นต้น 2. รหัสของสารที่ไม่ใช้คำา (Nonverbal Message Codes) ได้แก่ ระบบ สัญลักษณ์สัญญาณหรือเครื่องหมายใดๆ ก็ตามที่ไม่เกี่ยวข้องกับการใช้ ถ้อยคำา เช่น ดนตรี การเต้นระบำา อากัปกริยาท่าทาง (Gesture) การ แสดงทางหน้าตา (Facial Expression) สี ธง สัญญาณไฟ ควัน สัญญาณ การวาดภาพ ฯลฯ ซึ่งแต่ละอย่างมีส่วนประกอบย่อย และเมื่อรวมเข้าด้วย กันตามแบบที่กำาหนดก็ทำาให้มีความหมายขึ้น ช่องทางการสื่อสารช่องทางการสื่อสาร คือ ตัวกลางที่ช่วยในการนำาส่ง สารจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร ช่องทางเปรียบเหมือนทางหรือพาหะ ระหว่างผู้ร่วมสื่อสาร เบอร์โล (Berlo) เป็นใครบอกด้วย อยู่ในยุคไหน แบ่งช่องทางการ สื่อสารออกเป็น 3 ประเภท 1. ช่องทางที่เป็นตัวกลางนำาสารจากผู้ส่งสารไปให้ผู้รับสาร ซึ่งได้แก่ คลื่นแสง คลื่นเสียง วิทยุ โทรเลข โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ เป็นต้น ช่อง ทางเหล่านี้เน้นหนักในเรื่องสื่อทางเทคโนโลยี 2. ช่องทางที่เป็นพาหนะของสิ่งที่นำาสาร เช่น อากาศ ซึ่งเป็นตัวนำาคลื่น เสียงไปสู่ประสาทรับความรู้สึกต่างๆ หรือประสาททั้งห้า (ได้แก่ การเห็น การได้ยิน การได้กลิ่น การสัมผัส และการลิ้นรส) ช่องทางประเภทนี้พบ ในกระบวนการสื่อสารระหว่างบุคคล 3. วิธีในการเข้ารหัสและถอดรหัสสาร (mode of encoding and decoding) เช่น การใช้วิธีพูด การใช้วิธีเขียน เป็นต้น ซึ่งนักทฤษฎี
นิเทศศาสตร์โดยทั่วไปไม่ยอมนิยาม “ช่องทางการสื่อสาร” ในความ หมายนี้ เรโอ (Rao) เน้นว่าช่องทางการสื่อสารมีลักษณะดังต่อไปนี้ 1. ช่องทางเป็นหน่วยพลังงานมวลสาร (matter – energy unit) ประเภท หนึ่งที่เรียกว่าสื่อ (medium) 2. ช่องทางเป็นตัวนำาส่งหน่วยพลังงานมวลสาร ซึ่งมีการจัดเป็นระเบียบ แบบแผนที่เรียกว่า สารสนเทศ (information) 3. ช่องทางเป็นตัวเชื่อมระหว่างบุคคลที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมใดกิจกรรม หนึ่ง องค์ประกอบเพิ่มเติมของการสื่อสาร สิ่งรบกวน สิ่งรบกวน (noise) คือ สิง่ จำากัดประสิทธิภาพการถ่ายทอดสารหรือสิ่งที่ เป็นอุปสรรคต่อการสื่อสาร ทำาให้การสื่อสารไม่บรรลุผลเท่าที่ควร หรือ บางครั้งอาจทำาให้การสื่อสารไม่สามารถดำาเนินต่อไปได้ มีการแบ่งประเภทของสิ่งรบกวนหลายวิธีด้วยกัน เช่น แชนนอนและวี เวอร์ (Shannon and Weaver) แบ่งสิ่งรบกวนเป็น 1. สิ่งรบกวนทางกายภาพ (physical noise) หมายถึง สิ่งรบกวนซึ่งเกิด ขึ้นภายนอกตัวบุคคล เช่น เสียงรถยนต์ เสียงคนคุยกัน เสียงประตู ฯลฯ 2. สิ่งรบกวนทางจิตใจ (psychological noise) หมายถึง สิ่งรบกวนซึ่งเกิด ขึ้นภายในตัวบุคคล ภายในความคิด จิตใจ และอารมณ์ของผู้สื่อสาร เช่น ผูพ ้ ูดมีอคติตอ ่ เรื่อง มีปัญหาในใจก่อนการพูด หรืออารมณ์ไม่ดี หรือผู้ฟังขาดสมาธิในการฟัง เป็นต้น ปฏิกิริยาตอบสนอง ปฏิกิริยาตอบสนอง (feedback) คือ สาร แต่เป็นสารที่ผู้รับสารไปให้กับผู้ ส่งสารเมื่อได้ตีความหมายของสารที่ตนได้รับ ในเมื่อความหมายของ
สารมิได้อยู่ที่ตัวสาร แต่อยู่ที่การตีความของผู้รับสาร ผู้สื่อสารจึงจำาเป็น ที่จะต้องสนใจและให้ความสำาคัญกับปฏิกิริยาตอบสนอง เนื่องจากบาง ครั้งผู้ส่งสารอาจต้องการส่งสารที่มีความหมาย X ไปให้ผู้รับสาร แต่ผู้รับ สารกลับตีความหมายของสารนั้นเป็น Y ซึ่งไม่ตรงกับที่ผู้ส่งสาร ถ้าผู้ส่ง สารสังเกตปฏิกิริยาตอบสนองว่าไม่เป็นไปในทางที่ตนต้องการ ผู้ส่งสาร ก็สามารถปรับสารของตนให้ผู้รับสารเข้าใจสารตรงตามที่ตนต้องการได้ ในที่สุด http://www.chulapedia.chula.ac.th/index.php/ %E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA %E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA %E0%B8%B2%E0%B8%A3_(Communication) ความหมายและองค์ประกอบของการสื่อสาร ความหมายและองค์ประกอบของการสื่อสาร
การสื่อสาร
(Communication) หมายถึง กระบวนการส่งข่าวสารข้อมูลจากผู้ส่ง ข่าวสารไปยังผู้รับข่าวสาร มีวัตถุประสงค์เพื่อชักจูงให้ผู้รับข่าวสารมีปฏิ กริยาตอบสนองกลับมา โดยคาดหวังให้เป็นไปตามที่ผู้ส่งต้องการ องค์ประกอบของการสื่อสาร ประกอบด้วย 1. ผู้ส่งข่าวสาร (Sender) 2. ข้อมูลข่าวสาร (Message) 3. สื่อในช่องทางการสื่อสาร (Media) 4. ผู้รับข่าวสาร (Receivers) 5. ความเข้าใจและการตอบสนอง กระบวนการสื่อสาร กระบวนการสื่อสาร (Communication Process) โดยทั่วไปเริ่มต้น จากผู้ส่งข่าวสาร (Sender) ทำาหน้าที่เก็บรวบรวม
แนวความคิดหรือข้อมูล จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เมื่อต้องการส่งข่าวไปยัง ผู้รับข่าวสาร ก็จะแปลงแนวความคิดหรือข้อมูล ที่เกี่ยวข้องออกมาเป็น ตัวอักษร นำ้าเสียง สี การเคลื่อนไหว ฯลฯ ซึ่งเรียก ว่าข่าวสาร (Massage) จะได้รับการใส่รหัส (Encoding) แล้วส่งไปยังผู้รับข่าวสาร (Receivers) ผ่านสื่อกลาง (Media) ในช่องทางการสื่อสาร (Communication Channels) ประเภทต่าง ๆ หรืออาจจะถูกส่งจากผู้ส่งข่าวสารไปยังผู้รับข่าวสาร โดยตรงก็ได้ ผูร้ ับข่าวสาร เมื่อได้รับข่าวสารแล้วจะ ถอดรหัส (Decoding) ตามความเข้าใจและประสบการณ์ในอดีต หรือ สภาพแวดล้อมในขณะนั้น และมีปฏิกริยาตอบสนอง กลับไปยังผู้ส่งข่าวสารซึ่งอยู่ในรูปขอความรู้ ความเข้าใจ การตอบรับ การปฏิเสธหรือการนิ่งเงียงก็เป็นได้ ทั้งนี้ข่าวสาร ที่ถูกส่งจากผู้ส่งข่าวสารอาจจะไม่ถึงผู้รับข่าวสารทั้งหมดก็เป็นได้ หรือ ข่าวสารอาจถูกบิดเบือนไปเพราะในกระบวนการ สื่อสาร ย่อมมีโอกาสเกิดสิ่งรบกวน หรือตัวแทรกแซง(Noise or Interferes) ได้ ทุกขั้นตอนของการสื่อสาร คุณลักษณะของผู้ประสบความสำาเร็จในการสื่อสาร 1. มีความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ 2. มีทักษะในการสื่อสาร 3. เป็นคนช่างสังเกต เรียนรู้ได้เร็ว และมีความจำาดี 4. มีความซื่อตรง มีความกล้าที่จะกระทำาในสิ่งที่ถูกต้อง 5. มีความคิดสุขุม รอบคอบ 6. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 7. คิดและแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี
8. มีความสามารถแยกแยะและจัดระเบียบข่าวสารต่าง ๆ 9. มีความสามารถในการเขียนได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 10. มีศิลปะและเทคนิคการจูงใจคน 11. รู้ขั้นตอนการทำางาน 12. มีมนุษยสัมพันธ์ดี การสื่อสาร (Communication) หมายถึง กระบวนการส่งข่าวสาร ข้อมูลจากผู้ส่งข่าวสารไปยังผู้รับข่าวสาร มีวัตถุประสงค์เพื่อชักจูงให้ ผู้รับข่าวสารมีปฏิกริยาตอบสนองกลับมา โดยคาดหวังให้เป็นไปตามที่ผู้ ส่งต้องการ องค์ประกอบของการสื่อสาร ประกอบด้วย 1. ผู้ส่งข่าวสาร (Sender) 2. ข้อมูลข่าวสาร (Message) 3. สื่อในช่องทางการสื่อสาร (Media) 4. ผู้รับข่าวสาร (Receivers) 5. ความเข้าใจและการตอบสนอง กระบวนการสื่อสาร กระบวนการสื่อสาร (Communication Process) โดยทั่วไปเริ่มต้น จากผู้ส่งข่าวสาร (Sender) ทำาหน้าที่เก็บรวบรวม แนวความคิดหรือข้อมูล จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เมื่อต้องการส่งข่าวไปยัง ผู้รับข่าวสาร ก็จะแปลงแนวความคิดหรือข้อมูล ที่เกี่ยวข้องออกมาเป็น ตัวอักษร นำ้าเสียง สี การเคลื่อนไหว ฯลฯ ซึ่งเรียก ว่าข่าวสาร (Massage) จะได้รับการใส่รหัส (Encoding) แล้วส่งไปยังผู้รับข่าวสาร (Receivers) ผ่านสื่อกลาง (Media) ในช่องทางการสื่อสาร (Communication Channels)
ประเภทต่าง ๆ หรืออาจจะถูกส่งจากผู้ส่งข่าวสารไปยังผู้รับข่าวสาร โดยตรงก็ได้ ผูร้ ับข่าวสาร เมื่อได้รับข่าวสารแล้วจะ ถอดรหัส (Decoding) ตามความเข้าใจและประสบการณ์ในอดีต หรือ สภาพแวดล้อมในขณะนั้น และมีปฏิกริยาตอบสนอง กลับไปยังผู้ส่งข่าวสารซึ่งอยู่ในรูปขอความรู้ ความเข้าใจ การตอบรับ การปฏิเสธหรือการนิ่งเงียงก็เป็นได้ ทั้งนี้ข่าวสาร ที่ถูกส่งจากผู้ส่งข่าวสารอาจจะไม่ถึงผู้รับข่าวสารทั้งหมดก็เป็นได้ หรือ ข่าวสารอาจถูกบิดเบือนไปเพราะในกระบวนการ สื่อสาร ย่อมมีโอกาสเกิดสิ่งรบกวน หรือตัวแทรกแซง(Noise or Interferes) ได้ ทุกขั้นตอนของการสื่อสาร คุณลักษณะของผู้ประสบความสำาเร็จในการสื่อสาร 1. มีความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ 2. มีทักษะในการสื่อสาร 3. เป็นคนช่างสังเกต เรียนรู้ได้เร็ว และมีความจำาดี 4. มีความซื่อตรง มีความกล้าที่จะกระทำาในสิ่งที่ถูกต้อง 5. มีความคิดสุขุม รอบคอบ 6. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 7. คิดและแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี 8. มีความสามารถแยกแยะและจัดระเบียบข่าวสารต่าง ๆ 9. มีความสามารถในการเขียนได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 10. มีศิลปะและเทคนิคการจูงใจคน 11. รู้ขั้นตอนการทำางาน 12. มีมนุษยสัมพันธ์ดี ความหมายและองค์ประกอบของการสื่อสาร
การสื่อสาร (Communication) หมายถึง กระบวนการส่งข่าวสาร ข้อมูลจากผู้ส่งข่าวสารไปยังผู้รับข่าวสาร มีวัตถุประสงค์เพื่อชักจูงให้ ผู้รับข่าวสารมีปฏิกริยาตอบสนองกลับมา โดยคาดหวังให้เป็นไปตามที่ผู้ ส่งต้องการ องค์ประกอบของการสื่อสาร ประกอบด้วย 1. ผู้ส่งข่าวสาร (Sender) 2. ข้อมูลข่าวสาร (Message) 3. สื่อในช่องทางการสื่อสาร (Media) 4. ผู้รับข่าวสาร (Receivers) 5. ความเข้าใจและการตอบสนอง กระบวนการสื่อสาร กระบวนการสื่อสาร (Communication Process) โดยทั่วไปเริ่มต้น จากผู้ส่งข่าวสาร (Sender) ทำาหน้าที่เก็บรวบรวม แนวความคิดหรือข้อมูล จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เมื่อต้องการส่งข่าวไปยัง ผู้รับข่าวสาร ก็จะแปลงแนวความคิดหรือข้อมูล ที่เกี่ยวข้องออกมาเป็น ตัวอักษร นำ้าเสียง สี การเคลื่อนไหว ฯลฯ ซึ่งเรียก ว่าข่าวสาร (Massage) จะได้รับการใส่รหัส (Encoding) แล้วส่งไปยังผู้รับข่าวสาร (Receivers) ผ่านสื่อกลาง (Media) ในช่องทางการสื่อสาร (Communication Channels) ประเภทต่าง ๆ หรืออาจจะถูกส่งจากผู้ส่งข่าวสารไปยังผู้รับข่าวสาร โดยตรงก็ได้ ผูร้ ับข่าวสาร เมื่อได้รับข่าวสารแล้วจะ ถอดรหัส (Decoding) ตามความเข้าใจและประสบการณ์ในอดีต หรือ สภาพแวดล้อมในขณะนั้น และมีปฏิกริยาตอบสนอง กลับไปยังผู้ส่งข่าวสารซึ่งอยู่ในรูปขอความรู้ ความเข้าใจ การตอบรับ การปฏิเสธหรือการนิ่งเงียงก็เป็นได้ ทั้งนี้ข่าวสาร
ที่ถูกส่งจากผู้ส่งข่าวสารอาจจะไม่ถึงผู้รับข่าวสารทั้งหมดก็เป็นได้ หรือ ข่าวสารอาจถูกบิดเบือนไปเพราะในกระบวนการ สื่อสาร ย่อมมีโอกาสเกิดสิ่งรบกวน หรือตัวแทรกแซง(Noise or Interferes) ได้ ทุกขั้นตอนของการสื่อสาร คุณลักษณะของผู้ประสบความสำาเร็จในการสื่อสาร 1. มีความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ 2. มีทักษะในการสื่อสาร 3. เป็นคนช่างสังเกต เรียนรู้ได้เร็ว และมีความจำาดี 4. มีความซื่อตรง มีความกล้าที่จะกระทำาในสิ่งที่ถูกต้อง 5. มีความคิดสุขุม รอบคอบ 6. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 7. คิดและแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี 8. มีความสามารถแยกแยะและจัดระเบียบข่าวสารต่าง ๆ 9. มีความสามารถในการเขียนได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 10. มีศิลปะและเทคนิคการจูงใจคน 11. รู้ขั้นตอนการทำางาน 12. มีมนุษยสัมพันธ์ดี ความหมายและองค์ประกอบของการสื่อสาร การสื่อสาร (Communication) หมายถึง กระบวนการส่งข่าวสาร ข้อมูลจากผู้ส่งข่าวสารไปยังผู้รับข่าวสาร มีวัตถุประสงค์เพื่อชักจูงให้ ผู้รับข่าวสารมีปฏิกริยาตอบสนองกลับมา โดยคาดหวังให้เป็นไปตามที่ผู้ ส่งต้องการ องค์ประกอบของการสื่อสาร ประกอบด้วย 1. ผู้ส่งข่าวสาร (Sender) 2. ข้อมูลข่าวสาร (Message)
3. สื่อในช่องทางการสื่อสาร (Media) 4. ผู้รับข่าวสาร (Receivers) 5. ความเข้าใจและการตอบสนอง กระบวนการสื่อสาร กระบวนการสื่อสาร (Communication Process) โดยทั่วไปเริ่มต้น จากผู้ส่งข่าวสาร (Sender) ทำาหน้าที่เก็บรวบรวม แนวความคิดหรือข้อมูล จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เมื่อต้องการส่งข่าวไปยัง ผู้รับข่าวสาร ก็จะแปลงแนวความคิดหรือข้อมูล ที่เกี่ยวข้องออกมาเป็น ตัวอักษร นำ้าเสียง สี การเคลื่อนไหว ฯลฯ ซึ่งเรียก ว่าข่าวสาร (Massage) จะได้รับการใส่รหัส (Encoding) แล้วส่งไปยังผู้รับข่าวสาร (Receivers) ผ่านสื่อกลาง (Media) ในช่องทางการสื่อสาร (Communication Channels) ประเภทต่าง ๆ หรืออาจจะถูกส่งจากผู้ส่งข่าวสารไปยังผู้รับข่าวสาร โดยตรงก็ได้ ผูร้ ับข่าวสาร เมื่อได้รับข่าวสารแล้วจะ ถอดรหัส (Decoding) ตามความเข้าใจและประสบการณ์ในอดีต หรือ สภาพแวดล้อมในขณะนั้น และมีปฏิกริยาตอบสนอง กลับไปยังผู้ส่งข่าวสารซึ่งอยู่ในรูปขอความรู้ ความเข้าใจ การตอบรับ การปฏิเสธหรือการนิ่งเงียงก็เป็นได้ ทั้งนี้ข่าวสาร ที่ถูกส่งจากผู้ส่งข่าวสารอาจจะไม่ถึงผู้รับข่าวสารทั้งหมดก็เป็นได้ หรือ ข่าวสารอาจถูกบิดเบือนไปเพราะในกระบวนการ สื่อสาร ย่อมมีโอกาสเกิดสิ่งรบกวน หรือตัวแทรกแซง(Noise or Interferes) ได้ ทุกขั้นตอนของการสื่อสาร คุณลักษณะของผู้ประสบความสำาเร็จในการสื่อสาร 1. มีความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ 2. มีทักษะในการสื่อสาร
3. เป็นคนช่างสังเกต เรียนรู้ได้เร็ว และมีความจำาดี 4. มีความซื่อตรง มีความกล้าที่จะกระทำาในสิ่งที่ถูกต้อง 5. มีความคิดสุขุม รอบคอบ 6. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 7. คิดและแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี 8. มีความสามารถแยกแยะและจัดระเบียบข่าวสารต่าง ๆ 9. มีความสามารถในการเขียนได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 10. มีศิลปะและเทคนิคการจูงใจคน 11. รู้ขั้นตอนการทำางาน 12. มีมนุษยสัมพันธ์ดี ความหมายและองค์ประกอบของการสื่อสาร การสื่อสาร (Communication) หมายถึง กระบวนการส่งข่าวสาร ข้อมูลจากผู้ส่งข่าวสารไปยังผู้รับข่าวสาร มีวัตถุประสงค์เพื่อชักจูงให้ ผู้รับข่าวสารมีปฏิกริยาตอบสนองกลับมา โดยคาดหวังให้เป็นไปตามที่ผู้ ส่งต้องการ องค์ประกอบของการสื่อสาร ประกอบด้วย 1. ผู้ส่งข่าวสาร (Sender) 2. ข้อมูลข่าวสาร (Message) 3. สื่อในช่องทางการสื่อสาร (Media) 4. ผู้รับข่าวสาร (Receivers) 5. ความเข้าใจและการตอบสนอง กระบวนการสื่อสาร กระบวนการสื่อสาร (Communication Process) โดยทั่วไปเริ่มต้น จากผู้ส่งข่าวสาร (Sender) ทำาหน้าที่เก็บรวบรวม
แนวความคิดหรือข้อมูล จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เมื่อต้องการส่งข่าวไปยัง ผู้รับข่าวสาร ก็จะแปลงแนวความคิดหรือข้อมูล ที่เกี่ยวข้องออกมาเป็น ตัวอักษร นำ้าเสียง สี การเคลื่อนไหว ฯลฯ ซึ่งเรียก ว่าข่าวสาร (Massage) จะได้รับการใส่รหัส (Encoding) แล้วส่งไปยังผู้รับข่าวสาร (Receivers) ผ่านสื่อกลาง (Media) ในช่องทางการสื่อสาร (Communication Channels) ประเภทต่าง ๆ หรืออาจจะถูกส่งจากผู้ส่งข่าวสารไปยังผู้รับข่าวสาร โดยตรงก็ได้ ผูร้ ับข่าวสาร เมื่อได้รับข่าวสารแล้วจะ ถอดรหัส (Decoding) ตามความเข้าใจและประสบการณ์ในอดีต หรือ สภาพแวดล้อมในขณะนั้น และมีปฏิกริยาตอบสนอง กลับไปยังผู้ส่งข่าวสารซึ่งอยู่ในรูปขอความรู้ ความเข้าใจ การตอบรับ การปฏิเสธหรือการนิ่งเงียงก็เป็นได้ ทั้งนี้ข่าวสาร ที่ถูกส่งจากผู้ส่งข่าวสารอาจจะไม่ถึงผู้รับข่าวสารทั้งหมดก็เป็นได้ หรือ ข่าวสารอาจถูกบิดเบือนไปเพราะในกระบวนการ สื่อสาร ย่อมมีโอกาสเกิดสิ่งรบกวน หรือตัวแทรกแซง(Noise or Interferes) ได้ ทุกขั้นตอนของการสื่อสาร คุณลักษณะของผู้ประสบความสำาเร็จในการสื่อสาร 1. มีความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ 2. มีทักษะในการสื่อสาร 3. เป็นคนช่างสังเกต เรียนรู้ได้เร็ว และมีความจำาดี 4. มีความซื่อตรง มีความกล้าที่จะกระทำาในสิ่งที่ถูกต้อง 5. มีความคิดสุขุม รอบคอบ 6. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 7. คิดและแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี 8. มีความสามารถแยกแยะและจัดระเบียบข่าวสารต่าง ๆ
9. มีความสามารถในการเขียนได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 10. มีศิลปะและเทคนิคการจูงใจคน 11. รู้ขั้นตอนการทำางาน 12. มีมนุษยสัมพันธ์ดี http://irrigation.rid.go.th/rid17/Myweb/machanical/information %20communication.html การสื่อสาร การสื่อสาร หมายถึงอะไร มีผู้รู้ได้ให้ความหมายเรื่องการสื่อสารไว้ต่าง มากมาย เดนนิส แมคเควล (McQuail, 2005) กล่าวว่า การสื่อสารหมายถึงการให้ และการรับความหมาย การถ่ายทอดและการรับสาร ซึ่งรวมถึงแนวคิด ของการโต้ตอบ แบ่งปัน และมีปฏิสัมพันธ์กันด้วย ต่อไป Wilbur Schramm ก็ได้ให้ความหมายของการสื่อสารไว้ว่า การ สื่อสาร คือ กระบวนการแลกเปลี่ยนข่าวสาร เกิดขึ้นโดยการถ่ายทอด สารจากบุคคลฝ่ายหนึ่ง ซึ่งทำาหน้าที่ส่งสารผ่านสื่อหรือช่องทางต่าง ๆ ไปยังผู้รับสารโดยมี วัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง ทีนี้มาดูความหมายของการสื่อสารที่คนไทยได้ให้ความหมายกันไว้ สุมน อยู่สิน กล่าวว่า การสื่อสาร คือ กระบวนการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารระหว่างบุคคลต่อบุคลหรือบุคคลต่อกลุ่ม โดยใช้สัญลักษณ์ สัญญาณ หรือพฤติกรรมที่เข้าใจกัน โดยมีองค์ประกอบดังนี้ 1. ผู้ส่งสาร คือ ผูท ้ ี่ทำาหน้าที่ส่งข้อมูล สารไปยังผู้รับสารโดยผ่านช่อง ทางที่เรียกว่าสื่อ ถ้าหากเป็นการสื่อสารทางเดียวผู้ส่งจะทำาหน้าที่ส่งเพียงประการเดียวแต่ ถ้าเป็นการสื่อสาร 2 ทาง
ผู้ส่งสารจะเป็นผู้รับในบางครั้งด้วย ผู้ส่งสารจะต้องมีทักษะในการสื่อสาร มีเจตคติต่อตนเอง ต่อเรื่องที่จะส่ง ต้องมีความรู้ในเนื้อหาที่จะส่งและอยู่ในระบบสังคมเดียว กับผู้รับก็จะทำาให้การ สื่อสารมีประสิทธิภาพ 2. ข่าวสาร ในการะบวนการติดต่อสือ ่ สารก็มีความสำาคัญ ข่าวสารที่ดี ต้องแปลเป็นรหัส เพื่อ สะดวกในการส่งการรับและตีความ เนื้อหาสารของสารและการจัดสารก็ จะต้องทำาให้การสื่อ ความหมายง่ายขึ้น 3. สื่อหรือช่องทางในการรับสาร คือ ประสาทสัมผัสทั้งห้า คือ ตา หู จมูก ลิ้น และกายสัมผัส และตัวกลางที่มนุษย์สร้างขึ้นมา เช่น สิ่งพิมพ์ กราฟิก สือ ่ อิเลกทรอนิกส์ 4. ผู้รับสาร คือ ผูท ้ ี่เป็นเป้าหมายของผู้ส่งสาร การสื่อสารจะมี ประสิทธิภาพ ผู้รับสารจะต้อง มีประสิทธิภาพในการรับรู้ มีเจตคติที่ดีตอ ่ ข้อมูลข่าวสาร ต่อผู้ส่งสารและ ต่อตนเอง http://www.pyp.ac.th/604 การสื่อสาร (Communication) หมายถึง กระบวนการส่งข่าวสารข้อมูล จากผู้ส่งข่าวสารไปยังผู้รับข่าวสาร มีวัตถุประสงค์เพื่อชักจูงให้ผู้รับ ข่าวสารมีปฏิกิริยาตอบสนองกลับมา โดยคาดหวังให้เป็นไปตามที่ผู้ส่ง ต้องการ องค์ประกอบของการสื่อสาร ประกอบด้วย 1. ผู้ส่งข่าวสาร (Sender) 2. ข้อมูลข่าวสาร (Message)
3. สื่อในช่องทางการสื่อสาร (Media) 4. ผู้รับข่าวสาร (Receivers) 5. ความเข้าใจและการตอบสนอง วัตถุประสงค์ของการสื่อสารได้จำาแนกไว้ ดังนี้ 1. เพื่อแจ้งให้ทราบหรือเพื่อทราบ หมายถึง การสื่อสารที่ผู้ส่งสารจะแจ้ง หรือบอกกล่าว ข่าวสาร ข้อมูล เหตุการณ์ ความคิด ความต้องการของตนให้ผู้รับได้ ทราบ 2. เพื่อสอนหรือให้การศึกษา หมายถึง การสื่อสารที่มุ่งจะให้ผู้รับมีการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางด้านองค์ความรู้ ความคิด สติปัญญา ฉะนั้น จึงมุ่งเน้นไปที่การเรียนการสอนหรือการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการโดย เฉพาะ 3. เพื่อสร้างความพอใจหรือให้ความบันเทิง หมายถึง การสื่อสารที่มุ่งให้ เกิดผลทางจิตใจหรืออารมณ์ ความรู้สึกแก่ผู้รับสาร ซึ่งจะเกิดขึ้นก็ตอ ่ เมื่อผู้ส่งสารมีข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับสาร และมี กลวิธีในการนำาเสนอเป็นที่พอใจ 4. เพื่อเสนอหรือชักจูงใจ มุ่งเน้นให้ผู้รับสารมีพฤติกรรมคล้อยตาม หรือ ยอมรับปฏิบัติตาม จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า วัตถุประสงค์ของการสื่อสารในแต่ละระดับมี จุดมุ่งหมายที่แตกต่างกันไป ซึ่งจะสำาเร็จได้ตอ ้ งขึ้นอยู่กับทั้งฝ่ายผู้ส่ง สารและฝ่ายผู้รับสาร มีความต้องการที่สัมพันธ์กัน โดยรวมแล้วพอสรุป วัตถุประสงค์การสื่อสารได้ ดังนี้
1. เพื่อแจ้งให้ทราบ คือ การรับและส่งข่าวสารด้านต่างๆ การนำาเสนอ เรื่องราว ความรู้สึกนึกคิด ความรู้ หรือสิ่งอื่นใด ที่ต้องการให้ผู้รับสารรู้ และเข้าใจข้อมูลนั้นๆ โดยมุ่งให้ความรู้และสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง 2. เพื่อความบันเทิงใจ คือ การรับส่งความรู้สึกที่ดี และมุ่งรักษามิตรภาพ ต่อกัน เป็นการนำาเสนอเรื่องราวหรือสิ่งอื่นใดที่จะทำาให้ผู้รับสารเกิด ความพึงพอใจ 3. เพื่อชักจูงใจ คือ การนำาเสนอเรื่องราวหรือสิ่งอื่นใดเพื่อจูงใจให้เกิด ความร่วมมือ สร้างกำาลังใจ เพื่อให้ผู้รับสารเกิดความคิดคล้อยตาม หรือ ปฏิบัติตามที่ผู้ส่งสารต้องการ และนำาไปสู่การปรับปรุงแก้ไข ประเภทของการสื่อสาร ได้จำาแนกประเภทของการสื่อสารไว้แตกต่างกันหลายลักษณะ ทั้งนี้ขึ้น อยู่กับว่าจะใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการจำาแนก ในที่นี้จะแสดงการจำาแนก ประเภทของการสื่อสาร โดยอาศัยเกณฑ์ในการจำาแนกที่สำาคัญ 3 ประการ คือ 1. จำาแนกตามกระบวนการหรือการไหลของข่าวสาร 2. จำาแนกตามภาษาสัญลักษณ์ที่แสดงออก 3. จำาแนกตามจำานวนผู้สอ ื่ สาร 1. จำาแนกตามกระบวนการหรือการไหลของข่าวสาร แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1.1 การสื่อสารทางเดียว (One-Way Communication) คือการ สื่อสารที่ข่าวสารจะถูกส่งจากผู้ส่งไปยังผู้รับในทิศทางเดียว โดยไม่มี การตอบโต้กลับจากฝ่ายผู้รับ เช่น การสื่อสารผ่านสื่อ วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ การออกคำาสั่งหรือมอบหมายงานโดย ฝ่ายผู้รับไม่มีโอกาส แสดงความคิดเห็น ซึ่งผู้รับอาจไม่เข้าใจข่าวสาร หรือเข้าใจไม่ถูกต้อง
ตามเจตนาของผู้ส่งและทางฝ่ายผู้ส่งเมื่อไม่ทราบปฏิกิริยาของผู้รับจึงไม่ อาจปรับการสื่อสารให้เหมาะสมได้ การสื่อสารแบบนี้สามารถทำาได้ รวดเร็วจึงเหมาะสำาหรับการสื่อสารในเรื่องที่เข้าใจง่าย ในสถานการณ์ของการสื่อสารบางอย่าง มีความจำาเป็นต้องใช้การ สื่อสารทางเดียว แม้ว่าเรื่องราวที่สื่อสารจะมีความซับซ้อนก็ตาม เช่น กรณีผู้รับและผู้ส่งไม่อาจพบปะ หรือติดต่อสือ ่ สารกันได้โดยตรง การ สื่อสารแบบกลุ่มใหญ่ และการสื่อสารมวลชนซึ่งไม่อาจทราบผู้รับที่ แน่นอน 1.2 การสื่อสารสองทาง (Two-way Communication) คือการสื่อสารที่มี การส่งข่าวสารตอบกลับไปมาระหว่างผู้สื่อสาร ดังนั้นผู้สื่อสารแต่ละฝ่าย จึงเป็นทั้งผู้ส่งและผู้รับในขณะเดียวกัน ผูส ้ ื่อสารมีโอกาสทราบปฏิกิริยา ตอบสนองระหว่างกัน ทำาให้ทราบผลของการสื่อสารว่าบรรลุจุดประสงค์ หรือไม่ และช่วยให้สามารถปรับพฤติกรรมในการสื่อสารให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ ตัวอย่างการสื่อสารแบบสองทาง เช่น การพบปะพูดคุยกัน การพูดโทรศัพท์ การออกคำาสั่งหรือมอบหมายงานโดยฝ่ายรับมีโอกาส แสดงความคิดเห็น การสื่อสารแบบนี้จึงมีโอกาสประสบผลสำาเร็จได้ มากกว่า แต่ถ้าเรื่องราวที่จะสื่อสารเป็นเรื่องง่าย อาจทำาให้เสียเวลาโดย ไม่จำาเป็น ในสถานการณ์ของการสื่อสารบางอย่าง เช่น ในการสื่อสารมวลชน ซึ่ง โดยปกติมีลักษณะเป็นการสื่อสารทางเดียว นักสื่อสารมวลชนก็มีความ พยายามที่จะทำาให้มีการสื่อสาร 2 ทางเกิดขึ้น โดยการให้ประชาชนส่ง จดหมาย โทรศัพท์ ตอบแบบสอบถาม กลับไปยังองค์กรสื่อมวลชน เพื่อ นำาผลไปปรับปรุงการสื่อสารให้บรรลุผลสมบูรณ์ยิ่งขึ้น 2. จำาแนกตามภาษาสัญลักษณ์ที่แสดงออก แบ่งเป็น
2.1 การสื่อสารเชิงวัจนะ (Verbal Communication) หมายถึงการสื่อสาร ด้วยการใช้ภาษาพูด หรือเขียนเป็นคำาพูด ในการสื่อสาร 2.2 การสื่อสารเชิงอวัจนะ (Non-Verbal Communication) หมายถึงการ สื่อสารโดยใช้รหัสสัญญาณอย่างอื่น เช่น ภาษาท่าทาง การแสดงออก ทางใบหน้า สายตา ตลอดจนถึงนำ้าเสียง ระดับเสียง ความเร็วในการพูด เป็นต้น 3. จำาแนกตามจำานวนผู้สอ ื่ สาร กิจกรรมต่างๆ ของบุคคลและสังคม ถือว่าเป็นผลมาจากการสื่อสารทั้งสิ้น ดังนั้นการสื่อสารจึงมีขอบข่ายครอบคลุมลักษณะการสื่อสารของมนุษย์ 3 ลักษณะคือ 3.1 การสื่อสารส่วนบุคคล (Intrapersonal Communication) 3.2 การสื่อสารระหว่างบุคคล (Interpersonal Communication) 3.3 การสื่อสารมวลชน (Mass Communication) http://principlesandtheoriesofcommunication.wikispaces.com/ %E0%B8%AB %E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8 %97%E0%B8%B5%E0%B9%88+1+ %E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8 %AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2+ %E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%96%E0%B8 %B8%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA %E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C+ %E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%9B %E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8 %97%E0%B8%82%E0%B8%AD %E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8 %AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA %E0%B8%B2%E0%B8%A3 องค์ประกอบของการสื่อสาร
ก่อนที่จะกล่าวถึงองค์ประกอบของการสื่อสารขอย้อนกลับไปที่ คำา ว่าการสื่อสารที่แสดงให้เห็นว่าจะต้องมีผู้เกี่ยวข้องอยู่ 2 ฝ่าย คือฝ่าย หนึ่งทำาหน้าที่เป็นผู้ส่งสาร และอีกฝ่ายทำาหน้าที่เป็นผู้รับสาร โดยที่ทั้ง 2 ฝ่ายมีความเกี่ยวพันกัน นอกจากนั้นแล้วยังจะต้องมีพาหนะในการนำา สารจากผู้ส่งสารไปถึงผู้รับสารด้วย พาหนะที่ว่านี้เราสามารถเรียกง่าย ๆ ว่า สื่อ นั่นเอง การทำาหน้าที่เป็นผู้ส่งสารและผู้รับสารนี้ หากเป็นการสื่อสาร ระหว่างบุคคลที่มีผู้เข้าร่วมทำาการสื่อสารกันเพียง 2 คน แล้วล่ะก้อทั้ง 2 ฝ่ายจะทำาหน้าที่สลับสับเปลี่ยนกันได้ เช่น ก. พูดคุยอยู่กับ ข. เรื่องการ เลือกตั้งผู้ว่า กทม. ในวันที่ 2 มิถุนายน 2539 จากกรณีนี้ทั้ง ก. และ ข. ต่างก็ทำาหน้าที่เป็นทั้งผู้ส่งสารและผู้รับสารในเวลาที่ใกล้เคียงกัน คือ เมื่อ ก. พูด ข. ฟังก. ก็เป็นผู้ส่งสาร ข. ก็เป็นผู้รับสาร แต่เมื่อ ข. พูด โต้ตอบกลับไป ก. ก็จะเป็นฝ่ายฟังหรือผู้รับสาร แล้ว ข. ก็จะเป็นผู้พูด หรือผู้ส่งสาร ส่วนเรื่องที่ ก. และ ข. พูดคุยกันนั้น ก็คือตัวสาร (Message) และตัวพาหนะที่นำาสารไปสู่ทั้ง 2 ฝ่าย ก็คือสื่อ หรือ Channel ซึ่งในที่นี้ ถ้าหากเป็นการคุยกันแบบเผชิญหน้าหรือ face to face สือ ่ ที่นำาเสียงของ ผู้ส่งสารไปสู่โสตสัมผัสทางหูของผู้รับสาร ก็คือ อากาศที่อยู่รอบ ๆ ตัว ของผู้ที่ทำาการสื่อสารกันนั่นเอง อากาศในที่นี้เราถือได้ว่าเป็นสื่อ ธรรมชาติ แต่ถ้าหากการพูดคุยระหว่าง ก. กับ ข. ไม่ได้เป็นแบบเผชิญ หน้า แต่เป็นแบบ Person to Person ตัวต่อตัว โดยเป็นการสนทนากัน ทางโทรศัพท์ เราก็ยังถือว่าเป็นการสื่อสารระหว่างบุคคลเหมือนกัน แต่ พาหนะที่นำาสารไปสู่ผู้ที่ทำาการสื่อสารกันนั้นเปลี่ยนแปลงไปจากอากาศ เป็นโทรศัพท์นั่นเอง และตัวเครื่องโทรศัพท์นี่เองที่เป็นสื่อหรือช่อง ทางการสื่อสารที่มนุษย์ประดิษฐ์คิดค้นขึ้น ไม่ได้เป็นสื่อธรรมชาติอย่าง เช่นอากาศ
องค์ประกอบของการสื่อสาร สำาหรับองค์ประกอบของการสื่อสารโดยทั่วไปมี 4 ประการ คือ 1. ผู้ส่งสาร (Sender) 2. สาร (Message) 3. ช่องทางการสื่อสารหรือสื่อ (Channel) 4. ผู้รับสาร (Receiver) ผู้ส่งสาร คือ ผู้เริ่มต้นการสื่อสาร (เริ่มต้นสร้างและส่งสารไปยังผู้อื่น) ในการสื่อสารครั้งหนึ่ง ๆ นั้น ผู้ส่งสารจะทำาหน้าที่เข้ารหัส (Encoding) อันเป็นการแปรสารให้อยู่ในรูปของสัญลักษณ์ที่มนุษย์คิดสร้างขึ้นแทน ความคิด ได้แก่ ภาษา (ภาษาพูด,ภาษาเขียนหรือวัจนภาษา) และ อากัปกิริยาท่าทางต่าง ๆ (อวัจนภาษา) สารที่ถูกเข้ารหัสแล้วนี้จะถูกผู้ส่ง สารไปยังผู้รับสารโดยผ่านทางติดต่อทางใดทางหนึ่ง เช่น ถ้าผู้ส่งสาร ต้องการส่งสาร ก. ไปถึงผู้รับสารที่อยู่ห่างไกลจากตนอย่างรวดเร็ว ผู้ส่ง สารก็อาจเลือกใช้ วิธีโทรเลข โทรศัพท์ จดหมาย ถ้าเป็นปัจจุบันก็อาจ ใช้โทรสาร ( Facsimile (FAX) ) หรือ E-mail (การสื่อสารผ่านทางจอ คอมพิวเตอร์) ซึ่งสะดวกและรวดเร็ว เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารใหม่ ดัง นั้นโดยทั่วไปแล้ว ในสถานการณ์การสื่อสารหนึ่ง ๆ นั้นผู้ส่งสารจะเป็น บุคคลหนึ่งที่มีความสำาคัญในการที่จะเป็นผู้เริ่มต้นสื่อสาร ถือเป็นบุคคล แรกที่จะทำาให้กระบวนการในการสื่อสารเกิดขึ้น แต่เนื่องจากการสื่อสารของมนุษย์มีหลายประเภทและหลายระดับ เพราะฉะนั้นจำานวนของผู้ส่งสารจึงอาจจะแตกต่างกันไป เช่น การ สื่อสารสาธารณะรูปแบบหนึ่ง คือ การอภิปราย ผู้ส่งสาร อาจมีจำานวน มากกว่า 1 คน และผู้ส่งสารอาจมิได้ส่งสารในฐานะที่เป็นตัวของตัวเอง แต่อาจจะส่งสารในฐานะที่เป็นตัวแทนของหน่วยงาน หรือ สถาบันใด สถาบันหนึ่ง ส่วนในกระบวนการสื่อสารมวลชนผู้ส่งสารก็คือตัวแทน
ขององค์กรเกี่ยวกับการสื่อสารมวลชน ซึ่งนอกจากจะส่งสารในฐานะที่ เป็นตัวของตัวเองแล้ว ก็ยังต้องมีความรับผิดชอบในฐานะที่เป็นตัวแทน ของสถาบันการสื่อสารมวลชนนั้น ๆ ด้วย แต่การเป็นผู้ส่งสารไม่ว่าจะในการสื่อสารประเภทและระดับใดก็ตาม ย่อมต้องมีบทบาทและหน้าที่ในการสื่อสารที่สำาคัญ คือ 1. การมีวัตถุประสงค์ในการสื่อสารที่แจ่มชัด 2. การเป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจเพียงพอในเนื้อหาของเรื่องราวที่ตนจะ สื่อสารกับผู้อื่น 3.การเป็นผู้มีความพยายามที่จะเข้าใจความสามารถและความพร้อมใน การรับสารของผู้ที่ตนสื่อสารด้วย 4. การเป็นผู้รู้จักเลือกใช้วิธีการในการสื่อสารให้เหมาะสมกับเรื่อง โอกาสและผู้รับสารของตน สาร (Message) คือ เรื่องราวอันมีความหมายและแสดงออกมาโดยอาศัย ภาษา หรือสัญลักษณ์ใด ๆ ก็ตามที่สามารถทำาให้เกิดการรับรู้ร่วมกันได้ สาร จะเกิดขึ้นได้ก็ตอ ่ เมื่อผู้ส่งสารเกิดความคิดขึ้น และต้องการจะส่ง หรือถ่ายทอดความคิดนั้นไปสู่การรับรู้ของผู้อื่น (ผู้รับสาร) การส่งสาร นั้น ก็โดยการที่ผู้ส่งสารแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลาย อย่างเพื่อแทนความคิดที่เกิดขึ้น พฤติกรรมที่ว่านี้ก็เช่น การพูด การ เขียน การวาดการแสดงอาการหรือกิริยาอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ และ พฤติกรรมในการแสดงออกซึ่งความคิดนี้ไม่ว่าจะด้วยวิธีการใด ๆ ก็ตาม ย่อมขึ้นอยู่กับทักษะของผู้กระทำาทั้งสิ้น ความสำาคัญของสารที่ถูกส่งมาจากผู้ส่งสาร ก็คือ การทำาหน้าที่เร้าให้ ผู้รับสารเกิดการรับรู้ความหมายและมีปฏิกิริยาตอบสนอง การที่ผู้รับสาร จะรับสารที่ถูกส่งมาในรูปของสัญลักษณ์ได้หรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับว่า ผู้รับ สารมีทักษะในการรับสารมากหรือน้อย ซึ่งทักษะในการรับสารได้แก่
ความสามารถในการคิด พิจารณา ความเข้าใจทั้งภาษาพูดและภาษา เขียน หากผู้รับสารแสดงพฤติกรรมการรับสาร ตรงกับพฤติกรรมของผู้ ส่งสาร เช่น ฟังอ่าน ดู สังเกต แสดงว่าผู้รับสารมีทักษะในการรับสาร สาร นั้น โดยทั่วไปประกอบด้วยส่วนสำาคัญ 3 ประการ คือ 1. รหัสของสาร (message codes) 2. เนื้อหาของสาร (message content) 3. การจัดสาร (message treatment) 1) รหัสของสาร คือ ภาษา (Language) หรือสัญลักษณ์ (symbolic) หรือ สัญญาณ (signal) ที่มนุษย์คิดขึ้นเพื่อใช้แสดงออกแทนความคิดเกี่ยวกับ บุคคลและสรรพสิ่งต่าง ๆ เราสามารถแบ่งรหัสของสารออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. รหัสของสาร ที่ใช้คำาพูด (verbal message codes) 2. รหัสของสารที่ไม่ใช้คำาพูด (nonverbal message codes) รหัสของสารที่ใช้คำาพูด ได้แก่ ภาษาอันเป็นระบบสัญลักษณ์ที่มนุษย์ ได้ พัฒนาขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ ภาษาทุกภาษาของมนุษย์มีการสร้างขึ้น และถูกพัฒนาสืบทอดมาโดยลำาดับเป็นระบบสัญลักษณ์ที่ทำาให้สารปราก ฎขึ้นได้ ส่วนรหัสของสารที่ไม่ใช้คำาพูด ได้แก่ ระบบสัญลักษณ์ สัญญาณ หรือ เครื่องหมายใด ๆ ก็ตามที่ไม่เกี่ยวข้องกับการใช้ถ้อยคำา เช่น อากัปกิริยา ธง ไฟ เป็นต้น ซึ่งมนุษย์ในแต่ละสังคมแต่ละวัฒนธรรมพัฒนาขึ้น และรับรู้ความหมาย ร่วมกัน เช่น การพยักหน้า แสดงอาการตอบรับหรือแสดงความเข้าใจ หรือเห็นด้วย แม้แต่ธงหรือไฟสัญญาณต่าง ๆ ก็ล้วนแต่เป็นรหัสของสาร
ที่ไม่ใช้คำาพูดทำาหน้าที่เป็นการบอกเรื่องราวที่มนุษย์ตกลงรับรู้ความ หมายร่วมกัน 2) เนื้อหาของสาร ที่มนุษย์สื่อสารกันนั้นครอบคลุมถึงความรู้และ ประสบการณ์ของมนุษย์ ที่มนุษย์ต้องการที่จะถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเพื่อ ความเข้าใจร่วมกัน ดังนั้น เมื่อพูดถึงเนื้อหาของสารแล้วจะมีขอบเขต กว้างขวางไม่มีที่สิ้นสุด ซึ่งเราอาจแบ่งเนื้อหาของสารได้เป็น 3 ประเภท คือ 1. สารประเภทข้อเท็จจริง ได้แก่ สารที่รายงานให้ทราบถึงความ จริงต่าง ๆ ที่มีอยู่ในโลกทางกายภาพ และอยู่ในวิสัยที่มนุษย์จะตรวจ สอบได้ถึงความแน่นอนถูกต้องของสารนั้น ถ้าพิสูจน์ตรวจสอบแล้วสาร นั้นเป็นจริง สารนั้นก็จัดได้ว่าเป็นสารที่มีคุณภาพควรแก่การเชื่อถือ 2. สารประเภทข้อคิดเห็น ได้แก่ สารซึ่งเกี่ยวกับปรากฎการณ์ที่ เกิดขึ้นในจิตใจจากการประเมินของผู้ส่งสาร อาจเป็นความรู้สึก แนวคิด ความเชื่อที่บุคคลมีต่อตนเองต่อบุคคลอื่น ต่อวัตถุ หรือต่อเหตุการณ์ใด ก็ตาม สารประเภทนี้เป็นสารที่ไม่อยู่ในวิสัยที่จะถูกตรวจสอบได้ว่าเป็น จริงหรือไม่ อาจทำาได้เพียงแค่การประเมินความน่ารับฟัง ความสมเหตุ สมผล ตลอดจนความเป็นไปได้ของสารนั้นเท่านั้น เพราะต่างคนต่างก็มี ความคิด มีความรู้สึก อารมณ์ ต่อวัตถุ เรื่องราว หรือ เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ แตกต่างกันออกไป สารประเภทนี้มักพบเห็นตามสื่อมวลชนประเภทต่าง ๆ เพราะเป็นเรื่องง่ายสำาหรับผู้สื่อข่าว หรือผู้ทำาข่าว ที่แค่เพียงเอา ไมโครโฟนไปจ่อปากผู้ให้สัมภาษณ์แล้วถามความคิดเห็นเกี่ยวกับ เหตุการณ์ เกี่ยวกับคำาพูด หรือความคิดเรื่องนั้นเรื่องนี้ที่กำาลังอยู่ใน ความสนใจของประชาชน เป็นต้น ซึ่งสารประเภทนี้เป็นสิ่งที่ทำาให้ ประชาชนผู้รับสารเกิดความสับสนได้ง่าย ว่าเหตุการณ์จริง ๆ หรือเรื่อง ราวจริง ๆ เป็นอย่างไรกันแน่เพราะบางทีเราอ่านข่าว ฟังข่าว ดูข่าว เรา
ก็อยากรู้เรื่องไปเลย ว่าข้อเท็จจริงเป็นอย่างไร เราไม่อยากไปเสียเวลา คิด พิจารณา ใคร่ครวญหรือวิเคราะห์หาหลักฐานหรือเหตุผลอื่น ๆ มาส นับสนุนว่าที่เราอ่านมา ฟังมา หรือดูมานั้น จริงหรือไม่จริงอย่างไร ปัจจุบันเราจะเห็นว่าข่าวที่มีเนื้อหาประเภทความคิดเห็นมาก ตามหน้า สื่อมวลชนทั้งหลาย (อาจเพราะว่าทำาง่าย ไม่ต้องศึกษาหรือทำาการบ้าน มากนัก) อย่างไรก็ตาม แม้สื่อมวลชนทั้งหลายจะพยายามเสนอสาร ประเภทข้อเท็จจริง หรือ Fact (พูดอะไรมา ก็เสนอหรือลงตามที่เค้าพูด เรื่องที่พูดจริงหรือไม่เราไม่รู้) หรือสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ๆ แต่บางทีรายงาน เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงแต่ละครั้งก็ยังไม่เพียงพอที่จะทำาให้ประชาชน เกิดความเชื่อถือได้ มิหนำาซำ้ายังอาจทำาให้ประชาชนเกิดความสับสนได้ เหมือนกันว่าความจริงคืออะไรกันแน่ เช่น กรณีการฆาตรกรรมผู้อำานวย การองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (อ.ส.ม.ท.) - ผอ.แสงชัย สุ นทรวัฒน์ ที่สอ ื่ มวลชนประโคมข่าวหรือลงข่าวกันแทบทุกวันในระยะ หนึ่งนั้น สือ ่ มวลชนก็พยายามรายงานความคืบหน้าของข่าวดังกล่าวว่า จับมือปืนยิง ผอ.แสงชัย ได้แล้ว ซึ่งความจริงอาจเป็นแค่การจับได้เพียง ผู้ตอ ้ งสงสัยแต่ยังไม่ใช่ตัวมือปืน ก็เป็นได้ แต่พอตำารวจจับมาสอบสวน สื่อมวลชนก็นำามาลงหรือนำามาเสนอต่อประชาชนผู้อ่าน ผู้ฟังว่าจับ มือปืนได้แล้ว พอเรารับฟังข่าวหรืออ่านข่าว เราก็ต้องตรวจสอบ จาก สื่อมวลชนฉบับอื่น ๆ หรือสถานีอื่น ๆ ว่า จับได้จริงหรือเปล่า เพราะ ฉะนั้นการที่สื่อมวลชนจะเสนอข่าวสารให้สมบูรณ์จริง ๆ จึงน่าจะเสนอ เนื้อหาของข่าวสารในลักษณะที่เป็น truth (สิ่งที่เป็นจริงหรือความจริง แท้แน่นอน) ด้วย เพราะ truth (เบื้องลึกข้อเท็จจริงที่แท้จริง แก่นจริง ๆ ของเรื่อง) นี้ โดยส่วนใหญ่มักจะเป็นข้อมูลหรือรายละเอียดที่ได้ผ่านการ ตรวจสอบ หรือการตัดสินกันแล้วอย่างแน่ชัดว่าความจริง คืออะไร (ผู้
ลงมือฆ่าเป็นใครกันแน่) โดยมากที่พบเห็นมักจะเป็นประเภทข่าวสืบสวน สอบสวนที่มีการหาข้อมูล หรือหลักฐานมาอ้างอิงถึงความถูกต้องแล้ว นั่นเอง ดังนั้น หากเป็นเพียงข้อสงสัย เป็นเพียงการกล่าวหา การนำา ข้อมูลเหล่านั้นมาเสนอสู่ประชาชน จะต้องระมัดระวังเรื่องการพาดหัว ข่าวด้วย เพราะประชาชนอาจเข้าใจผิดพลาดหรือเกิดความสับสนเกิด ขึ้นได้ ดังนั้นการเสนอข่าวสารต่าง ๆ ของสือ ่ มวลชนควรเสนอ Truth ให้มากที่ ผ่านมามักเสนอเพียง Fact ข่าวสารปัจจุบันนี้มีแต่ความคิดเห็น ทำาให้คน ดู คนฟังไม่รู้ว่าจริง ๆ แล้วข้อเท็จจริงคืออะไร ประชาชนอยากทราบว่า ความจริงคืออะไร สื่อมวลชนจึงควรแสวงหาความจริงมาเสนอด้วย มิใช่ เสนอเพียงข้อคิดเห็นของตน ควรจะให้ภูมิหลังของเรื่องนั้นเพื่อให้ผู้รับ ได้ทราบว่า จริง ๆ แล้วข้อเท็จจริงคืออะไร ไม่ใช่ให้ประชาชนฟังคนนั้น พูดที คนนี้พูดที แต่ไม่ได้เสนอมุมมองที่เป็นข้อเท็จจริงแก่ประชาชนเลย ยิ่งโดยเฉพาะการเสนอข่าวสารในยุคปัจจุบันก้าวหน้าไปมาก ทำาให้คนรู้ เห็นเหตุการณ์ต่าง ๆ มากขึ้น ได้ทราบความเป็นไปในสังคมมากขึ้น สื่อมวลชนก็ยิ่งควรตระหนักถึงเรื่องเนื้อหาของสารให้มากขึ้นด้วย 3. สารประเภทความรู้สึก ได้แก่พวกโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน นวนิยาย เรื่องสั้นทั้งหลายแหล่ ที่เป็นการเขียนจากจินตนาการ จากการ เพ้อฝัน จากอารมณ์ศิลปินยากที่จะตรวจสอบความจริงแท้แน่นอนของ ข้อมูลหรือตัวสารเหมือนกัน ปัจจุบันสื่อมวลชนในกระบวนการสื่อสารมวลชนโดยส่วนใหญ่แล้ว จะมี เนื้อหาของสารทั้ง 3 ประเภทนี้ปรากฎอยู่ ไม่ว่าจะเป็นสื่อหนังสือพิมพ์ วิทยุ หรือโทรทัศน์ เช่น นวนิยาย ที่ลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ ละครทาง โทรทัศน์ ละครทางวิทยุ แต่ทั้งนี้จะมากจะน้อยก็ขึ้นอยู่กับนโยบายการ
บริหารงานของสื่อแต่ละประเภท และก็ขึ้นอยู่กับจริยธรรม จรรยาบรรณ และความรับผิดชอบที่มีต่อสังคมที่สื่อมวลชนนั้น ๆ ดำาเนินการอยูด ่ ้วย 3) การจัดสาร สารที่ถูกจัดเตรียมมาอย่างดี ทั้งในเรื่องของการเรียบเรียง ลำาดับ ความยากง่าย รูปแบบการใช้ภาษา จะทำาให้สารนั้นมีคุณสมบัติ ในการสื่อสารได้ ตัวอย่างของการจัดสาร ที่เห็นได้ชัดก็คือ การจัดสาร ในการโฆษณา ซึ่งผู้ส่งสารได้ให้ความประณีตพิถีพิถันในการจัดสาร เพื่อให้สารนั้นสามารถดึงดูดความสนใจของผู้รับสารสามารถที่จะให้ ความเข้าใจและข้อคิดเห็นต่าง ๆ ได้ตามที่ผู้ส่งสารต้องการ ช่องทางการสื่อสาร หรือ สื่อ ในการสื่อสารใด ๆ ก็ตาม ผูส ้ ่งสารย่อมต้อง อาศัยช่องทางหรือสื่อให้ทำาหน้าที่นำาสารไปยังผู้รับสาร โดยทั่วไปแล้ว สารที่ถูกผู้ส่งสารถ่ายทอดไปยังผู้รับสารจะเข้าไปสู่ระบบการรับรู้ของ มนุษย์โดยผ่านประสาทสัมผัสทางใดทางหนึ่ง หรือหลายทาง ได้แก่ ทางการเห็น โดยประสาทตา ทางการได้ยิน โดยประสาทหูทางการได้ กลิ่น โดยประสาทจมูก ทางการสัมผัส โดยประสาทกาย และทางการลิ้ม รสโดยประสาทลิ้น ถ้าพิจารณาในแง่นี้แล้ว การสื่อสารระหว่างบุคคล 2 คนที่อยู่ตอ ่ หน้ากัน สารก็จะผ่านช่องทางเหล่านี้ไปสู่การรับรู้ของผู้กระทำาการสื่อสารทั้ง 2 ฝ่าย แต่ในการสื่อสารสำาหรับคนที่อยู่ห่างไกลกัน มนุษย์ไม่สามารถจะ อาศัยทางติตต่อที่มนุษย์มีอยู่ได้ มนุษย์จึงได้สร้างสื่อขึ้นมาเป็นเครื่อง ช่วยให้การติดต่อระหว่างผู้ส่งสารกับผู้รับสารมีความเป็นไปได้ มองใน แง่นี้เราจะเห็นได้ว่า แม้คำาว่า "ช่องทาง" และคำาว่า "สือ ่ " จะมีความ หมายใกล้เคียงกัน และอาจใช้แทนกันได้ แต่แท้ที่จริงแล้วคำาทั้ง 2 มี ความหมายแตกต่างกัน คำาว่า "ช่องทาง" หมายถึงทางซึ่งทำาให้ผู้ส่งสาร กับผู้รับสารติดต่อกันได้ อันได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ส่วน "สือ ่ " นั้น หมายถึงสื่อที่มอ ี ยู่ตามธรรมชาติ ได้แก่ อากาศ แสง เสียง ตลอดจน
อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่มนุษย์คิดขึ้น เพื่อใช้ติดต่อส่งสารไปถึงกันและ กัน การจัดแบ่งประเภทของสื่อที่มนุษย์ใช้ในการสื่อสารนั้น อาจแบ่ง ได้หลายแบบไม่มีข้อกำาหนดที่แน่นอนตายตัว เช่น อาจแบ่งโดยใช้ ลักษณะของสือ ่ เป็นเกณฑ์ หรืออาจแบ่งโดยใช้จำานวนและลักษณะของ การเข้าถึงผู้รับสารเป็นเกณฑ์ก็ได้ การแบ่งแบบใช้ลักษณะของสื่อเป็นเกณฑ์ มี 5 ประเภท คือ 1. สื่อธรรมชาติ ได้แก่ บรรยากาศที่อยู่รอบตัวมนุษย์อันมีอยู่ตาม ธรรมชาติ ทำาหน้าที่เป็นทางติดต่อของการสื่อสารระหว่างบุคคลแบบ เผชิญหน้า 2. สื่อมนุษย์ ได้แก่ บุคคลที่ทำาหน้าที่เป็นสื่อนำาสารไปสู่ผู้รับ เช่น คนนำา สาร นักเล่านิทาน โฆษก พ่อสือ ่ แม่สื่อ ตัวแทนการเจรจาปัญหาต่าง ๆ เป็นต้น 3. สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ สือ ่ ทุกชนิดที่อาศัยเทคนิคการพิมพ์ เช่น หนังสือ หนังสือพิมพ์ ใบปลิว แผ่นพับ วารสาร นิตยสาร ใบประกาศหรือแจ้ง ความ โปสเตอร์ ภาพ เป็นต้น 4. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ สือ ่ ที่พัฒนาขึ้นโดยใช้ระบบเครื่องกลไก ไฟฟ้า เป็นหลัก เช่น วิทยุ โทรทัศน์ โทรพิมพ์ เทปเสียง วีดีโอเทป เครื่อง ฉายภาพ เครื่องฉายภาพยนตร์ แม้กระทั่งคอมพิวเตอร์ก็ใช่ เป็นต้น 5. สื่อระคน ได้แก่ สื่อที่ทำาหน้าที่นำาสารได้แต่ไม่อาจจัดไว้ใน 4 ประเภท ข้างต้น เช่น หนังสือพิมพ์กำาแพง วัตถุจารึก สื่อพื้นบ้าน เป็นต้น การแบ่งแบบใช้จำานวนและลักษณะของการเข้าถึงผู้รับสาร มี 4 ประเภท คือ 1. สื่อระหว่างบุคคล เป็นสื่อที่มนุษย์ใช้สำาหรับการติดต่อสือ ่ สารระหว่าง บุคคลที่อยูห ่ ่างไกลกันจนไม่อาจจะติดต่อกันโดยไม่ผ่านสื่อหรือไม่มีสื่อ
ได้ เป็นสื่อที่ใช้เฉพาะบุคคล มีลักษณะเป็นส่วนตัว ไม่เกี่ยวกับผู้อื่นที่ไม่ ได้เกี่ยวข้องกับการสื่อสารในขณะนั้น ๆ เช่น จดหมาย โทรเลข โทรศัพท์ ภาพถ่ายในครอบครัว บันทึกช่วยจำา อนุทิน เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ ทำาหน้าที่ช่วยให้การส่งสารระหว่างผู้ส่งถึงผู้รับที่อยูห ่ ่างไกลกันมีความ เป็นไปได้ นอกจากนั้น ก็ยังมีเครื่องมืออุปกรณ์บางชนิดที่จด ั ว่าเป็นสื่อที่ ใช้ในการสื่อสารระหว่างบุคคล เช่น การประชุมกลุ่มย่อย การเรียน การ สอน ซึ่งจำาเป็นจะต้องใช้สื่อต่าง ๆ เข้ามาเกี่ยวข้องด้วยเช่น กระดานดำา หนังสือ เอกสาร เป็นต้น 2. สื่อมวลชน มนุษย์คิดสือ ่ มวลชนขึ้น เพื่อที่จะติดต่อกับผู้รับสาร เป็น จำานวนมากในเวลาเดียวกันได้ โดยทั่วไปแล้วสื่อมวลชน ได้แก่ หนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ภาพยนตร์ สื่อมวลชนนี้มี ประโยชน์ในแง่ของการเผยแพร่ข่าวสารไปยังมวลชน ได้ ภายในเวลา อันรวดเร็ว 3. สื่อเฉพาะกิจ คือ สื่อซึ่งถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้สำาหรับการสื่อสารที่ สนับสนุน กิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ จำานวนและกลุ่มผู้รับ สารมีลักษณะที่แน่นอน เมื่อเทียบกับสื่อมวลชนแล้ว สื่อเฉพาะกิจ จะแคบ กว่าในแง่ของการเข้าถึงผู้รับสาร เช่น การจัดทำานิตยสารเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ภายในหน่วยงาน การทำาวีดีโอเทปแนะนำาการใช้ ผลิตภัณฑ์ของบริษัทใดบริษัทหนึ่ง เป็นต้น 4. สื่อประสม ได้แก่ การนำาสื่อประเภทต่าง ๆ ทั้ง 3 ประเภท ข้างต้น ไป ใช้ในการสื่อสารอันจะทำาให้การสื่อสารในครั้งนั้น ๆ มีประสิทธิผลเพิ่ม มากขึ้นในกรณีของสื่อนี้ หากมีการใช้โดยรู้จักข้อดีและข้อเสียของสื่อ แต่ละชนิด เข้าใจ ถึงอิทธิพลของสื่อที่มีตอ ่ พฤติกรรมการรับสาร มีการ เลือกใช้สื่อให้เหมาะแก่วัตถุประสงค์ในการสื่อสารแล้ว ประสิทธิผลของ การสื่อสารครั้ง ๆ นั้น ก็จะเพิ่มมากขึ้นด้วย
ผู้รับสาร เป็นองค์ประกอบประการสุดท้ายในกระบวนการของการ สื่อสารและเป็นองค์ประกอบสำาคัญ ไม่ยิ่งหย่อนกว่าองค์ประกอบอื่น ๆ ทั้งนี้เพราะการสื่อสารใด ๆ ก็ตามจะไม่ประสบผลสำาเร็จได้เลยหรืออาจ ประสบผลสำาเร็จไม่เต็มที่ถ้าผู้รับสารไม่เข้าใจหน้าที่และบทบาทของ ตนเองที่มีต่อการสื่อสาร ในกระบวนการสื่อสารนั้น ผู้รับสารมีบทบาทขั้นพื้นฐาน 2 ประการ คือ 1. การรู้ความหมายตามเรื่องราวที่ผู้ส่งสาร ส่งผ่านสื่ออย่างใดอย่างหนึ่ง มาถึงตน 2. การแสดงปฏิกิริยาตอบสนองต่อผู้ส่งสาร ดังนั้น ในกระบวนการสื่อสารใด ๆ ก็ตาม การสื่อสารจะเกิดประสิทธิผล ได้ก็ต่อเมื่อผู้รับสารได้พัฒนาตนเองให้เป็นผู้ที่มีทักษะในการสื่อสาร ได้แก่ การเป็นผู้ฟัง ผูอ ้ ่าน ตลอดจนการเป็นผู้ที่สามารถคิดและรับรู้ ความหมายได้ การมีทัศนคติที่ดีต่อผู้ส่งสาร ต่อเรื่องที่สื่อสารตลอดจน การเป็นผู้มีความพยายามในการรับสารและสามารถแสดงปฏิกิริยาตอบ สนองต่อผู้ส่งสารทั้งนี้เพื่อให้การสื่อสารบรรลุเป้าหมายนั่นเอง ในการพิจารณาองค์ประกอบทางด้านผู้ส่งสารและผู้รับสารนั้น ในความ เป็นจริงแล้วทั้งผู้ส่งสารและผู้รับสาร ก็คือ บุคคลอย่างน้อย 2 คน ที่มี บทบาทร่วมกันอยู่ในกระบวนการสื่อสาร ถ้าไม่มีผู้ส่งสาร และผู้รับสาร แล้ว การสื่อสารก็จะเกิดขึ้นไม่ได้ หรือถ้ามีแต่ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเพียงฝ่าย เดียวก็เช่นกัน การสื่อสารก็จะไม่เกิดขึ้น ข้อสำาคัญ ก็คือ ในกระบวนการสื่อสารระหว่างบุคคลนั้น เราไม่อาจชี้ให้ ตายตัวลงไปได้ว่า ใครเป็นผู้ส่งสาร และใครเป็นผู้รับสาร เพราะจริง ๆ แล้ว บุคคลที่ทำาการสื่อสารโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในการสื่อสารแบบเผชิญ หน้า (Face to Face) ระหว่างบุคคล 2 คน ทั้งสองคนต่างก็มีบทบาทเป็น ทั้งผู้ส่งสารและผู้รับสาร เกือบจะในเวลาเดียวกัน ซึ่งเราอาจเรียกได้ว่า
ทั้ง 2 คน แสดงบทบาทในฐานะที่เป็นคู่ของการสื่อสาร ต่างก็ทำาหน้าที่ ในการเข้ารหัส ตีความ และถอดรหัสโดยสลับเปลี่ยนหมุนเวียนกันไป จนกว่าการสื่อสารจะบรรลุเป้าหมาย ในกระบวนการสื่อสาร ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารประเภทใดหรือ ระดับใดก็ตาม นอกจากองค์ประกอบการสื่อสารทั้ง 4 ประการที่กล่าว ข้างต้นแล้ว ก็น่าจะมีองค์ประกอบเพิ่มเติมอีก 2 ประการ ที่จะทำาให้ กระบวนการติดต่อสื่อสารมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้นองค์ประกอบทั้ง 2 ประการนี้ ก็คือ ปฏิกิริยาตอบกลับหรือปฏิกิริยาสะท้อนกลับ (feedback) และกรอบแห่งการอ้างอิง (Frame of reference) หรือสนามแห่ง ประสบการณ์ร่วม (Field of experience) ระหว่างผู้ส่งสารกับผู้รับสารใน กระบวนการสื่อสารนั้น ๆ ด้วย http://e-book.ram.edu/e-book/m/mc111/mc111_04_00.html ทฤษฎีการสื่อสารคืออะไร ทฤษฎีก ารสื่อ สาร คือ การอธิบายการสื่อสารในด้านความหมาย กระบวนการ องค์ประกอบ วิธีการ บทบาทหน้าที่ ผล อิทธิพล การใช้ การควบคุม แนวคิดของศาสตร์ต่าง ๆ แนวโน้มอนาคต และ ปรากฏการณ์เกี่ยวกับการสื่อสาร แต่การอธิบายต้องมีการอ้างอิงอย่างมี เหตุผลที่ได้จากหลักฐาน เอกสาร หรือปากคำาของมนุษย์ เราแปลคำานี้มาจากภาษาอังกฤษที่ว่า communication theory ซึ่งมีความ หมายครอบคลุมกว้างขวาง รวมไปถึง theory of communication (ทฤษฎีข องการสื่อ สาร) theories in communication (ทฤษฎีใ นการ สื่อ สาร) theories for communication (ทฤษฎีเ พื่อ การสื่อ สาร ) และ theories about communication (ทฤษฎีเ กี่ย วกับ การสื่อ สาร ) 1. ทฤษฎีเ พื่อ การสื่อ สาร เกิดขึ้นมานานก่อนที่จะมีการศึกษาในสาขา วิชานิเทศศาสตร์ เริ่มด้วยปรัชญาพุทธและปรัชญากรีก ที่ว่าด้วยการคิด
และการพูด หลักวิธีการเผยแพร่ศรัทธาของศาสนาคริสต์ ทฤษฎี เศรษฐกิจการเมืองต่าง ๆ ว่าด้วยเสรีภาพของการแสดงออกตั้งแต่ก่อน การปฏิวัติฝรั่งเศส ทฤษฎีทางการแพทย์และสรีรวิทยาที่ว่าด้วยประสาท กับการรับสารและสมรรถภาพในการส่งสารของมนุษย์ ทฤษฎีจิต วิเคราะห์และจิตบำาบัดของฟรอยด์ รวมไปถึงหลักและทฤษฎีต่าง ๆ ว่า ด้วยภาษา สังคม และวัฒนธรรม ล้วนแล้วแต่เป็นทฤษฎีของสาขาต่าง ๆ ที่ทำาหน้าที่เป็นทฤษฎีแนวปฏิบัติ เพื่อการสื่อสารภายในบุคคล ระหว่าง บุคคล การสื่อสารในกลุ่มหรือการสื่อสารในสังคมใหญ่ แม้แต่ภายใน สาขานิเทศศาสตร์ ก่อนที่จะมีการสถาปนาเป็นสาขาการศึกษาในยุโรป และอเมริกาตอนต้นศตวรรษที่ 20 ความรู้ที่ได้มาจากการปฏิบัติงาน วิชาชีพวารสารศาสตร์ ก็ยังมีบทบาทเป็นทฤษฎีหลักเพื่อการปฏิบัติเรื่อย มา จนกระทั่งกลายเป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรีที่สหรัฐอเมริกาขยาย ไปเจริญเติบโตที่เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ อังกฤษ และออสเตรเลีย ใน ช่วง 20 ปี ก่อนศตวรรษที่ 21 การศึกษาทางด้านวารสารศาสตร์ที่แยกเป็นเอกเทศในระดับ มหาวิทยาลัย เริ่มต้นเป็นครั้งแรกที่มหาวิทยาลัยมิสซูรี่ และมหาวิทยาลัย โคลัมเบียที่นิวยอร์ค จนในปัจจุบันมีวิทยาลัยหรือภาควิชานิเทศศาสตร์ ในสหรัฐอเมริกาประมาณ 1,500 แห่ง ในประเทศไทย เกิดขึ้นแล้ว ประมาณ 50 แห่ง โดยเริ่มต้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แล้วขยายออกไปสู่สถาบันการศึกษาทั้งของ รัฐและเอกชน ในตอนต้น ๆ การศึกษานิเทศก์ศาสตร์จะมุ่งเน้นในด้านการใช้ทฤษฎี เพื่อการสื่อสารมาประยุกต์เป็นเทคนิควิธี และทักษะในการประกอบ อาชีพทางด้านการสื่อสารมวลชนในระบบการเมืองต่าง ๆ โดยเฉพาะ แบบเสรีประชาธิปไตย และระบบตลาดเสรี บนพื้นฐานลัทธิทุนนิยม
โดยสรุปทฤษฎีเพื่อการสื่อสารก็คือ ทฤษฎีแนวปฏิบัติ (operational theory) หรือหลักวิชาทั้งมวลในการปฏิบัติงานด้านการสื่อสาร โดย เฉพาะการสื่อสารมวลชนที่อาศัยหนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์ ภาพยนตร์ และการสื่อสารธุรกิจที่มีการโฆษณา และการ ประชาสัมพันธ์เป็นหลักสำาคัญ 2. ทฤษฎีข องการสื่อ สาร (Theory of communication) หลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยในสหรัฐได้พัฒนาการศึกษา นิเทศศาสตร์ที่เน้นสอนการปฏิบัติงานทางวิชาชีพ (professional practice) ไปสู่การศึกษาวิจัยเพื่อสร้างทฤษฎีแนวปรัชญาวิทยาศาสตร์ โดยแรงผลักดันส่วนหนึ่งจากอิทธิพลทางปัญญา (intellectual influence) ของนักวิชาการที่อพยพมาจากยุโรป อาทิ ลูอิน และลาซาร์ส เฟลด์ ทฤษฎีของการสื่อสารจึงเริ่มก่อตั้งขึ้น โดยค่อย ๆ แยกจากทฤษฎีทาง สังคมวิทยา จิตวิทยา และภาษา กลายมาเป็นศาสตร์ไหม่ในตัวของมัน เองที่เรียกว่า การสื่อสารมวลชน (mass communication study) มุ่งวิจัย ผลของสื่อมวลชนที่มีต่อการเมือง สังคม และวัฒนธรรม เราเรียกทฤษฎี แนวปรัชญาวิทยาศาสตร์ในระยะเริ่มแรกนี้ว่า ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน (Mass Communication Theory) ซึ่งจะเห็นได้ชัดจากผลงานของวิลเบอร์ ชรามม์ เมลวิน เดอเฟอร์ และเดนิส แมคเควล แต่กลุ่มทฤษฎีระบบ (Systems Theories) ของวีเนอร์ แชนนอน และวี เวอร์ (Wiener – Shannon – Weaver) และในเชิงการสื่อสารของมนุษย์ (Human Communication) ของเบอร์โล (Berlo) รวมทั้งในเชิงการ สื่อสารระหว่างบุคคล (Interpersonal Communication) ของไฮเดอร์ นิว คอมบ์ เฟสติงเกอร์ และออสกูด (Heider-Newcomb-Festiger-Osgood)
ส่งผลให้การศึกษาด้านสื่อสารมวลชนขยายตัวออกไปครอบคลุมอาณา บริเวณของการสื่อสาร (communication spheres) ที่กว้างขวางขึ้น วิชาการสื่อสารมวลชนจึงได้ปรับปรุงตนเอง และขยายตัวจากความเป็น เพียงนิเทศศิลป์ (communication art) มาเป็นนิเทศศาสตร์ (Communication art and science หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า communication arts) สมบูรณ์ในสองทศวรรษสุดท้ายของศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีของการ สื่อสารมิได้จำากัดอยู่เฉพาะที่เกี่ยวกับสื่อมวลชนเท่านั้น แต่จะครอบคลุม การสื่อสารทุกประเภทและในทุกปริบท (cintext) นับตั้งแต่การสื่อสาร ภายในบุคคล (intrapersonal communication) จนไปถึงการสื่อสารของ โลก (global communication) สร้างเป็นองค์ความรู้ที่อธิบายการสื่อสาร ทั่วไป ในแง่ขององค์ประกอบ โครงสร้าง กระบวนการ บทบาทหน้าที่ จุด ประสงค์ (purposes) ประสิทธิผล (effectiveness) ประสิทธิภาพ (efficiency) และค่าประสิทธิภาพ (cost-efficiency)
ทฤษฎีของการสื่อสารดังกล่าว อาจจำาแนกแยกย่อยออกเป็นทฤษฎีต่าง ๆ ในการสื่อสาร (theories in communication) เมื่อองค์ความรู้เข้าไป เกี่ยวข้องกับการสื่อสารประเภทใดประเภทหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น ทฤษฎี ต่าง ๆ ในการสื่อสารระหว่างบุคคล หรือในการสื่อสารมวลชน เป็นต้น 3. ทฤษฎีเ กี่ย วกับ การสื่อ สาร (Theories about communication) ทฤษฎีแนวปฏิบัติในนิเทศศิลป์ และทฤษฎีแนวปรัชญาวิทยาศาสตร์ใน นิเทศศาสตร์ ได้ร่วมกันสร้างความเจริญก้าวหน้าให้แก่ทฤษฎีการ สื่อสารเป็นอย่างยิ่ง สามารถผลิตบัณฑิตออกไปทำางานในวิชาชีพปีละ มาก ๆ เฉพาะในประเทศไทย ซึ่งมีนักศึกษาในสาขานี้รวมทั้งสิ้นไม่ตำ่า กว่าห้าหมื่นคน มีบัณฑิตที่จบออกไปปีละหลายพันคน ปัญหาที่บัณฑิต ส่วนใหญ่ในประเทศต่าง ๆ ต้องเผชิญมีความคล้ายคลึงกัน คือไม่ สามารถนำาทฤษฎีไปใช้ปฏิบัติได้ในวงการวิชาชีพที่ส่วนมากยังมี ลักษณะอนุรักษ์นิยม (conservatism)... อนุรักษ์นิยมในแง่ที่นักวิชาชีพ ส่วนใหญ่ยังมิได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยตรง และในแง่ที่ยังจะต้องผูกพัน กับผลประโยชน์ของธุรกิจที่เป็นเจ้าของสื่อหรือเป็นผู้อุปถัมภ์สื่อโดยการ ให้โฆษณาหรือประชาสัมพันธ์ ช่องว่างระหว่างวิชาการและการปฏิบัติในวิชาชีพยิ่งขยายวงกว้างออก ไป การศึกษาวิจัยส่วนใหญ่ในมหาวิทยาลัยผลักดันให้ทฤษฎีโน้มเอียง ไปในทางผลประโยชน์ของประชาชน และในทางการสร้างสรรค์ประชา สังคม (civil society) มากขึ้น ในขณะที่การปฏิบัติในวิชาชีพส่วนใหญ่ ยังเน้นส่งเสริมธุรกิจและอุตสาหกรรมในระบบทุนนิยมเป็นเสมือนหนึ่ง พาณิชยศิลป์อันเป็นกลไกของตลาดเสรีที่มีทุนเป็นปัจจัยหลัก ช่องว่างที่กว้างใหญ่กลายเป็นความขัดแย้งของอุดมการณ์สองขั้ว (bipolar ideoloty) และนี่เองที่เป็นจุดเริ่มต้นความเติบโตของทฤษฎี สื่อสารแนววิพากษ์
ทฤษฎีเศรษฐกิจการเมือง เศรษฐกิจสังคม สังคมจิตวิทยา มานุษยวิทยา จริยศาสตร์ นิเวศวิทยา และสุนทรียศาสตร์ ได้ถูกนำามาเป็นหลักและแนว ในการมองการสื่อสารมวลชน สร้างขึ้นเป็นกลุ่มทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ การสื่อสาร จัดว่าเป็นกลุ่มทฤษฎีที่พยายามอธิบายเชิงวิพากษ์ต่อการ สื่อสารที่มีผลกระทบต่อชีวิตและสังคม โดยสรุป ทฤษฎีการสื่อสารก็คือการอธิบายการสื่อสารในด้านความ หมาย กระบวนการ องค์ประกอบ หลักการ วิธีการ บทบาทหน้าที่ ผล อ ทธิพล การใช้ การควบคุม ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับการสื่อสาร สภาพ ปัญหา และแนวโน้มในอนาคต รวมทั้งการอธิบายแนวคิดของศาสตร์ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการสื่อสาร เราอาจจำาแนกทฤษฎีการสื่อสารออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ (1) ทฤษฎีการสื่อสารแนวปฏิบัติ ที่พัฒนามาจากทฤษฎีเพื่อการสื่อสาร (2) ทฤษฎีการสื่อสารแนวปรัชญา
วิทยาศาสตร์ ที่พัฒนามาจากทฤษฎีของการสื่อสาร และ (3) ทฤษฎีการ สื่อสารแนววิพากษ์ ที่พัฒนามาจากทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสาร ความสำา คัญ ของทฤษฎีก ารสื่อ สาร ทฤษฎีการสื่อสารโดยรวมจัดว่าเป็นแก่นหรือองค์ความรู้ในทาง นิเทศศาสตร์ที่ใช้เป็นหลักในการศึกษาวิจัย และการปฏิบัติงานทางด้าน นิเทศศาสตร์โดยทางตรง หรือโดยทางอ้อม... โดยทางตรง อาทิ การ สื่อสารมวลชน การโฆษณา การประชาสัมพันธ์... โดยทางอ้อม อาทิ การสื่อสารภายในบุคคล (จิตวิทยา) การสื่อสารระหว่างบุคคล (จิตวิทยา และสังคมวิทยา) การสื่อสารภายในองค์กร (การบริหารองค์กร) การ สื่อสารของประเทศ (รัฐศาสตร์) เราอาจแยกแยะให้เห็นความสำาคัญของทฤษฎีการสื่อสารแนวต่าง ๆ ได้ ดังนี้ 1. ทฤษฎีแ นวปฏิบ ัต ิ (Operational theory) ใช้เป็นหลักในการบริหาร และปฏิบัติงานสื่อสารทุกประเภทในสาขานิเทศศาสตร์ และสาขาอื่นที่ เกี่ยวข้อง สามารถนำามาสร้างเป็นกลยุทธ์ เพื่อการเพิ่มประสิทธิผลและ ประสิทธิภาพของการสื่อสารมวลชน การสื่อสารพัฒนาการ การสื่อสาร การเมืองหรือการสื่อสารธุรกิจ ทฤษฎีการสื่อสารแนวปฏิบัติสามารถนำามาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งในด้านการศึกษา การพัฒนาอารมณ์ และจิตใจ รวมทั้งการพัฒนา พฤติกรรม อาทิ การใช้สื่อเพื่อการเรียนรู้ ความเพลิดเพลิน ความบันเทิง หรือจิตบำาบัด นอกจากนั้นยังจะเป็นประโยชน์ต่อการสื่อสาร เพื่อการ พัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม วิชาต่าง ๆ ในหลักสูตรปริญญาตรี สาขานิเทศศาสตร์ จัดว่าเป็นการรวม ทฤษฎีแนวปฏิบัติไว้ เพื่อสะดวกแก่การศึกษาทั้งในเชิงองค์รวมและเชิง แยกส่วน... เชิงองค์รวมอยู่ในวิชาแกนบังคับร่วมเชิงแยกส่วนอยู่ในวิชา
เอกบังคับสาขาต่าง ๆ อาทิ สือ ่ สิ่งพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์ ภาพยนตร์ การโฆษณา การประชาสัมพันธ์ 2. ทฤษฎีแ นววิพ ากษ์ (Critical theory) ใช้เป็นหลักในการศึกษาวิจัย และวิพากษ์วิจารณ์การสื่อสารภายในองค์กร การสื่อสารสาธารณะ การ สื่อสารมวลชน การสื่อสารระหว่างประเทศ หรือการสื่อสารของโลก สามารถใช้เป็นพื้นฐานความคิดของการสร้างสมมติฐาน
ในงานวิจัย และการแสวงหาแนวหรือประเด็นในการวิพากษ์วิจารณ์สื่อ หรือการสื่อสารโดยนักวิชาการ หรือนักวิจารณ์สื่อ (media critics) การศึกษาทฤษฎีแนววิพากษ์ ควรอยู่ในวิชาปีสูงของระดับปริญญาตรี หรือในวิชาส่วนใหญ่ของระดับปริญญาโท 3. ทฤษฎีแ นวปรัช ญาวิท ยาศาสตร์ (Scientific-philosophical theory) ใช้เป็นหลักในการแสวงหา (searching) หรือพิสูจน์ (proving) ข้อเท็จจริง หรือสัจจะ ในเชิงวิทยาศาสตร์ เพื่อนำาไปเป็นพื้นฐานหลัก เพื่อการพัฒนาการบริหารหรือการปฏิบัติงานการสื่อสารทุกประเภท รวม ทั้งใช้เป็นหลักในการปรับปรุงวิพากษ์วิจารณ์สื่อ หรือการสื่อสารให้มี คุณค่าในเชิงสร้างสรรค์ ปรัชญาในที่นี้มิได้หมายถึงวิชาปรัชญาทั่วไป (general philosophy) แต่หมายถึงแนวคิดลึกซึ้งและกว้างขวางบนพื้น ฐานการวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์ สามารถนำามาใช้เป็นพื้นฐานในการสร้าง สมมติฐานของการวิจัย และการอ้างอิงในการศึกษาวิจัยทาง นิเทศศาสตร์ ทฤษฎีการสื่อสารแนวปรัชญาวิทยาศาสตร์เปิดโอกาสให้เพิ่มขยาย ขอบเขตของนิเทศศาสตร์ออกไปทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ แนวดิ่ง ได้แก่ การศึกษาค้นคว้าลึกซึ้งในความหมายปรัชญา วัตถุประสงค์ บทบาทหน้าที่ สิทธิเสรีภาพ และความรับผิดชอบของการสื่อสารประเภท ต่าง ๆ แนวราบ ได้แก่ การศึกษาความสัมพันธ์เกี่ยวโยงระหว่างนิเทศศาสตร์กับ ศาสตร์อื่น ๆ อาทิ จิตวิทยา สังคมวิทยา สังคมศาสตร์แขนงต่าง ๆ รวมทั้ง วิทยาศาสตร์กายภาพ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Life sciences) พิภพศาสตร์ (Earth sciences) นอกจากนั้น ยังอาจนำาไปสู่การปฏิรูปหรือการปฏิวัติวิชาการและวิชาชีพ นิเทศศาสตร์ ให้มีคุณประโยชน์ยิ่งขึ้นต่อชีวิตและโลก ก่อให้เกิดความ
คุ้มค่าคุ้มทุนในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารในประเทศต่าง ๆ และใน โลกมนุษย์โดยรวม ทฤษฎีไซเบอร์เนติกส์ของนอร์เบิร์ต วีเนอร์ และทฤษฎีสารเวลาขาอง สมควร กวียะ (เสนอที่ประชุมราชบัณฑิตยสถาน เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2545) เป็นตัวอย่างของทฤษฎีแนวปรัชญาวิทยาศาสตร์ที่ขยายขอบเขต ของนิเทศศาสตร์ออกไปบูรณาการกับศาสตร์ทุกแขนงทั้งในทาง มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ส่วนทฤษฎีปทัสถานซึ่งเริ่มต้นโดยวิลเบอร์ชรามม์แสดงให้เห็นถึงการ ศึกษาเจาะลึกลงไปในบทบาทหน้าที่หรือภารกิจของสื่อในปริบทของ ประเทศต่าง ๆ ที่มีปทัสถานทางการเมืองและ
เศรษฐกิจแตกต่างกัน ได้แก่ เสรีนิยม อำานาจนิยม เบ็ดเสร็จนิยม และ ทฤษฎีความรับผิดชอบทางสังคม โดยสรุป ทฤษฎีการสื่อสารทุกแนวและทุกระดับมีความสำาคัญอย่างยิ่งต่อ การศึกษา ทางนิเทศศาสตร์ที่จำาเป็นต่อการทำางานและการวิจัยที่เกี่ยว กับการสื่อสาร เช่นเดียวกับทฤษฎีในศาสตร์ทุกแขนง ทฤษฎีการสื่อสารมีประโยชน์ตอ ่ ชีวิต องค์กร สังคม และโลก ทั้งโดยทาง ตรงและทางอ้อม การศึกษาหรือการทำางานที่ปราศจากหลักการหรือ ทฤษฎี ย่อมเปรียบเสมือนการแล่นเรือออกไปสู่จุดหมายปลายทางอีกฝั่ง หนึ่งของมหาสมุทร โดยปราศจากความรู้ทางภูมิศาสตร์ อุตุนิยม ดาราศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ นอกจากจะขาดประสิทธิผล (คือแล่นเรือไป ไม่ถึงจุดหมายปลายทาง) หรือขาดประสิทธิภาพ (คือแล่นเรือไปถึงช้า กว่ากำาหนด) แล้วยังมีความเสี่ยงต่อความเสียหาที่สำาคัญสองประการคือ ความเสียหายจากภัยอันตราย (เช่น เรือเกยหินโสโครกหรือเรือแตก เพราะพายุ) และความเสียหายจากการพลาดโอกาส (เช่น ท้องเรือว่าง ยังบรรทุกสินค้าบางประเภทได้อีก แต่ไม่รู้ไม่สนใจความต้องการ ของ ตลาด) ในทางนิเทศศาสตร์ ความเสียหายจากภัยอันตราย (risk cost) เห็นได้ ชัดจากการสื่อสารโดยไม่รู้กฎหมายหรือจริยธรรมและการสื่อสารโดย ไม่รู้หลักจิตวิทยา ความเสียหายจากการพลาดโอกาส (opportunity cost) อาจได้แก่ การ บริหารสถานีวิทยุหรือโทรทัศน์โดยขาดความรู้หรือไม่คำานึงถึงศักยภาพ ของเครื่องส่งหรือของบุคลากร การไม่ถือโอกาสสื่อสารทำาความเข้าใจ เมื่อเราได้พบบุคคลที่มีปัญหาขัดแย้งกับเรา ทั้งนี้เพราะเราไม่รู้ไม่เข้าใจ ทฤษฎีความโน้มเอียงร่วมของนิวคอมบ์ ซึ่งบอกว่าการสื่อสารระหว่าง
บุคคลเป็นโอกาสสำาคัญของการประนีประนอมความคิดความเข้าใจซึ่ง กันและกัน ความเสียหายอันเกิดจากการพลาดโอกาสในทางนิเทศศาสตร์ อาจมี ผลกระทบรุนแรงต่อชีวิตและทรัพย์สิน อาทิ การมิได้รายงานหรือเตือน ภัยเกี่ยวกับสภาพอากาศให้ชาวประมงทราบ อาจทำาให้เกิดความเสีย หายอย่างมหาศาลต่อชีวิตและเรือประมง ดังเช่น กรณีพายุที่ขึ้นฝั่งภาค ใต้ของไทย หลายครั้ง การมิได้สื่อสารสร้างความอบอุ่นในครอบครัว อาจนำาไปสู่การติดยาของ ลูกหลาน หรือแม้แต่การฆ่าตัวตายตามทฤษฏีของเอมิลดูรแกง (Émile Durkheim) นักสังคมวิทยาชาวฝรั่งเศส ผู้เขียน “Le Suicide” (การฆ่าตัว ตาย) ในปี ค.ศ. 1897 ซึ่งได้เสนอว่าสาเหตุสำาคัญอย่างหนึ่งของการฆ่า ตัวตาย คือความวิปริตผิดปกติ (anomaly) ที่มิได้มีการระบายถ่ายเทด้วย การสื่อสารกับบุคคลอื่น วิว ัฒ นาการของทฤษฎีก ารสื่อ สาร
ยุค ก่อ นทฤษฎีก ารสื่อ สาร ยุคก่อนทฤษฎี (pre-theoritical period) อาจย้อนหลังไปหลายล้านปี เมื่อ สัตว์ประเภทหนึ่งได้มีวิวัฒนาการมาสู่ความเป็นมนุษย์นับกลับมาจนถึง คริสต์ศตวรรษที่ 20 วิวัฒนาการสามพันห้าร้อยล้านปีของสมองชีวิต (brain of life) ได้สร้าง เสริมให้สมองของมนุษย์มีสมรรถนะหลายพันล้านเท่าของสมอง แบคทีเรีย และนี่เองที่ทำาให้มนุษย์วานรได้วิวัฒนาการมาเป็นมนุษย์ผู้ ชำานาญในการใช้มือ (homo habills) มนุษย์ผู้ลุกขึ้นยืนตัวตรง (homo erectus) มนุษย์ผู้ฉลาด (homo sapiens) และมนุษย์ผู้ฉลาดแสนฉลาด (homo sapiens sapiens) อย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ตลอดช่วงระยะเวลาของวิวัฒนาการสมองได้ทำาหน้าที่เป็นศูนย์กลาง ของการสื่อสาร 2 ระบบ คือ (1) การสื่อสารภายในร่างกาย และ (2) การ สื่อสารระหว่างร่างกายกับภายนอก ระหว่างสิ่งมีชีวิตในสปีชีส์ (species) เดียวกัน และกับสิ่งภายนอกที่รับรู้ได้โดยอาศัยช่องทางหรือประสาทการ สื่อสาร 1. การสื่อสารภายในร่างกายเป็นไปทั้งโดยมีจิตสำานึก (conscious) จิตใต้สำานึก (subconscious) และจิตไร้สำานึก (unconscious) จิตสำานึกและจิตใต้สำานึกอยู่เฉพาะภายในสมอง จิตสำานึกอยู่ในรูปแบบ ของการสำานึกรู้และการคิด จิตใต้สำานึกส่วนใหญ่ “ซ่อนเร้น” อยู่ในส่วน เล็ก ๆ ของสมองที่ทำาหน้าที่เป็นศูนย์เก็บความจำา คือ ฮิปโปแคมปัส (hippocampus) ส่วนจิตไร้สำานึก หมายถึง การสื่อสารระหว่างสมองกับ ทุกเซลล์และทุกอวัยวะภายในร่างกาย 2. การสื่อสารระหว่างสิ่งมีชีวิตกับภายนอกร่างกายของตนเอง หรือกับ สิ่งแวดล้อม ส่วนใหญ่กระทำาโดยจิตสำานึกที่เกิดจากการส่งสาร และรับ สารผ่านประสาทการรับรู้ แต่ก็มีการสื่อสารกับภายนอกอีกส่วนหนึ่งที่
เกิดขึ้นในระดับจิตใต้สำานึก เพราะในบรรดารูป รส กลิ่น เสียง หรือ สัมผัส ที่ผ่านตาม ลิ้น จมูก หู หรือผิวหนังเข้าสู่สมองของเรานั้น จะมี เพียงส่วนเดียวที่เรารับรู้ในระบบจิตสำานึกของเรา นอกจากนั้นอาจจะ ผ่านเข้าทางระบบจิตใต้สำานึก เช่น เสียงของทำานองเพลง (melody) ที่ ขับร้องโดยนักร้องเพียงคนเดียว มักจะผ่านเข้าทางระบบจิตสำานึกแต่ เสียงประสาน (harmony) ของเครื่องดนตรีนับร้อยชิ้นมักจะผ่านเข้าทาง ระบบจิตใต้สำานึก กระบวนการสื่อสารทั้งภายในและภายนอกเกิดขึ้นมาพร้อมกับสิ่งมีชีวิต แต่เมื่อสิ่งมีชีวิตได้วิวัฒนามาเป็นมนุษย์ กระบวนการสื่อสารก็ยิ่งมีความ สลับซับซ้อนมากขึ้น มีพลัง สมรรถภาพและสมรรถนะเพิ่มมากขึ้น เฉพาะภายในร่างกายก็ได้มีพัฒนาการของเนื้อเยื่อใหม่ (neocortex) ของสมองส่วนบน ที่ทำาให้มีการเรียนรู้ การคิด เกิดปัญญา (intellignce) และภูมิ
ปัญญา (wisdom) ที่เหนือกว่าสัตว์อื่น ๆ แม้ในหมู่สปีชีส์ที่คล้ายคลึงกับ มนุษย์ อาทิ ลิงชิมแปนซี หรือลิงโบโนโบ ส่วนด้านภายนอกร่างกาย มนุษย์ก็ได้อาศัยสมองปัญญาและมือซึ่งเป็น มรดกของมนุษย์ผู้ลุกขึ้นยืนตัวตรง (homo erectus) สร้างเครื่องมือหรือ ส่วนขยายของมือ (extension of hands) นับตั้งแต่ก้อนหินไปจนถึงสถานี อวกาศ อย่างไรก็ตาม กระบวนการสื่อสารของมนุษย์ตั้งแต่จุดแรกเริ่มกำาเนิด มนุษย์จนถึงเอประมาณห้าแสนปี ก็ยังเป็นไปตามธรรมชาติ เช่นเดียวกับ สัตว์ทั้งหลาย นั่นคือ เป็นสิ่งที่เกิดมาพร้อมกับชีวิต และต้องดำาเนินไป เพื่อตอบสนองความต้องการของชีวิต เป็นสิ่งที่ตอ ้ งมีเพื่อชีวิต (communication for life) และเป็นสิ่งที่ต้องทำาโดยอัตโนมัติ และไม่ สามารถหลีกเลี่ยงหรือละเลยได้ (compulsory communication) การสื่อสารโดยธรรมชาติตอบสนองความต้องการทางเพศและความ ต้องการทางสังคม เพื่อทำาให้อัตตา (self) ชาติพันธุ์ (race) และสปีชีส์ (species) ของตนอยู่รอดปลอดภัย นั่นคือ บทบาทหน้าที่ (function) ที่ เป็นเหตุผลหลักของการที่มนุษย์จะต้องมีการสื่อสาร ส่วนบทบาทหน้าที่ อื่นก็เพิ่มเสริมเข้ามาเป็นส่วนประกอบ เพื่อตอบสนองความต้องการพื้น ฐานที่ขยายออกมาถึงระดับชื่อเสียง ความภาคภูมิใจและอำานาจเหนือผู้ อื่น กระนั้นก็ตาม บทบาทหน้าที่ในการอยู่รอดปลอดภัยของชีวิตและสังคมก็ ยังมีความสำาคัญเป็นอันดับแรกเรื่อยมา ยิ่งมีอันตรายหรืออุปสรรคต่อ การอยู่รอดปลอดภัยมาก มนุษย์ก็ยิ่งมีความจำาเป็นที่จะต้องพัฒนาการ สื่อสารให้มีประสิทธิผลมากขึ้น และนี่เองที่ทำาให้สมองของมนุษย์มี พัฒนาการขึ้นในส่วนหน้าด้านซ้ายของเนื้อเยื่อใหม่ จนสามารถทำาให้ มนุษย์พูดเป็นคำาได้เมื่อประมาณ 5 แสนปีก่อน
การสื่อสารเป็นคำา (verval communication) หรือการพูดทำาให้สื่อสารกัน ได้เร็วจนสามารถ ที่จะลดหรือป้องกันอันตรายจากสัตว์ร้ายหรือมนุษย์ กลุ่มอื่น เพราะมันเป็นความจำาเป็นที่จะต้องต่อสู้เพื่อความอยู่รอดปลอดภัย และนี่เองที่เป็นจุดเริ่มต้นของภาษา. จากภาษาพูดมาสู่ภาษาภาพ และ ภาษาเขียน หลักฐานภาษาภาพที่ได้พบที่ถำ้าลาสโกส์และถำ้าโซเวต์ในฝรั่งเศส ถำ้าอัล ตามิราในสเปน รวมทั้งหลายแห่งในออสเตรเลีย ส่วนใหญ่มีความหมาย เกี่ยวกับอำานาจลึกลับเหนือธรรมชาติ ทำาให้เราต้องสันนิษฐานว่า ภาษา พูดอย่างเดียวไม่เพียงพอต่อการลดหรือขจัดอันตรายต่อความอยู่รอด ปลอดภัยของมนุษย์เสียแล้ว ไม่ว่าเขาจะอยู่ในท้องถิ่นทวีปใด ภัยอันตรายจากสัตว์หรือมนุษย์กลุ่มอื่นอาจลดได้ ป้องกันได้โดยการรวม ตัวกันอย่างรวดเร็ว ด้วยการใช้ภาษาพูด แต่ยังมีภัยอันตรายอีกมากมาย หลายอย่างที่มนุษย์ต้องตกอยู่ใน
สภาพจนตรอกจนใจ จนทำาอะไรไม่ได้ แม้จะมีการรวมตัวรวมกลุ่มช่วย เหลือกันเข้มแข็งเพียงใดก็ตาม ภัยอันตรายจากพายุ นำ้าท่วม แผ่นดินไหว ภูเขาไฟ ฟ้าผ่า เชื้อโรค และ ความกลัวอันตรายที่เกิดจากอวิชชา เมือ ่ ได้เห็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น สุริยุปราคา จันทรุปราคา ดาวหาง ดาวตก ภัยอันตรายและความกลัวอันตรายนี่เองที่อาจทำาให้มนุษย์ต้องทำาอะไร บางอย่างเพื่อระบายความรู้สึกกลัว หรือพยายามติดต่อสื่อสารขอความ เห็นใจจากอำานาจ “ลึกลับ” ที่อาจอยู่เบื้องหลังอาจจะต้องร้อง เต้น เขียน ภาพ ฆ่าสัตว์ หรือฆ่ามนุษย์ด้วยกันเองเพื่อบูชายันต์ การพยายามสื่อสารกับ “อำานาจลึกลับ” ก่อให้เกิดศาสนาโบราณและ ไสยศาสตร์ของชนเผ่าต่าง ๆ ในทุกทวีป แต่เมื่อประมาณสามพันปี ศาสดาผู้เปรื่องปราชญ์และทรงปัญญา ได้เสนอหลักศีลธรรมเพื่อการอยู่ ร่วมกันอย่างสุขสันติของเผ่าพันธุ์มนุษย์ ทำาให้เกิดศาสนาต่าง ๆ ต่อเนื่อง กันมาในประวัติศาสตร์ ได้แก่ ฮินดู ขงจือ ้ พุทธ คริสต์ อิสลาม สิกข์ (sikn) และบาไฮ การสื่อสารกลายเป็นองค์ประกอบสำาคัญของศาสนาและไสยศาสตร์ ทั้ง ในด้านการสถาปนาและในด้านการเผยแพร่ลัทธิความเชื่อหรือคำาสอน การสถาปนาลัทธิความเชื่อ ได้แก่ การสร้างเรื่อง (story-making) การ เล่าเรื่อง (story-telling) เกี่ยวกับอำานาจลึกลับ เทพเจ้า พระเจ้าหรือภูตผี ปีศาจ แม้ศาสนาพุทธนิกายมหายาน ก็ยังมุ่งใช้จิตวิทยาการสร้างเรื่อง สร้าง สมมติเทพ และนิทานชาดก เกี่ยวกับการประสูติในชาติและรูปลักษณ์ ต่าง ๆ ของพระพุทธองค์ ทั้งนี้เพื่อชักจูงโน้มน้าวประชาชนให้ตื่นเต้น สนใจ และเลื่อมใสศรัทธา อาทิ ลัทธิดินแดนบริสุทธิข ์ องจีนเชื่อว่าถ้ามี ศรัทธาในอำานาจของอมิตาภา ซึ่งเป็นพระพุทธเจ้าของเขตปัจฉิม จะได้
ไปเกิดใหม่ในแดนสุขาวดี ซึ่งปราศจากความทุกข์โดยสิ้นเชิง มีพระ โพธิสัตว์หลายองค์ที่กลับมาเกิดในหลายชาติ เพื่อช่วยเหลือมนุษย์ก่อน ที่จะบรรลุการตรัสรู้สูงสุดและกลายเป็นพระพุทธเจ้าอีกพระองค์หนึ่ง อวโลกิตศวร ก็ถือกันว่าเป็นพระโพธิสัตว์แห่งความเมตตา สงสาร ซึ่งคน จีนเชื่อว่าปรากฏออกมาในร่างเจ้าแม่กวนอิม ผทรงเมตตาและให้ทาน แก่เด็กคอยช่วยเหลือผูต ้ กทุกข์ได้ยาก และนักเดินทางในแดนกันดาร ส่วนในจักรวรรดิเขมร พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ก็ได้สลักเป็นจตุรพักตร์ขึ้น ไว้ทั้ง 54 ปรางค์ ในบริเวณปราสาทบายน (ไพชยนต์) ในด้านการเผยแพร่ลัทธิความเชื่อหรือคำาสอนได้มีการใช้ปัจจัยกลยุทธ์ ทั้งในการสร้างสื่อและในการสร้างสาร ศาสนาพุทธสื่อสารเผยแพร่ด้วย ภาษาบาลี ซึ่งเป็นภาษาที่ชาวบ้านอินเดียในยุคนั้นเข้าใจง่ายจนสามารถ เข้าถึงหลักการสื่อสารภายในบุคคล ระหว่างบุคคลและการสื่อสารสังคม เป็นอย่างดี ทุกศาสนามีการใช้คำาอุปมาอุปไมย (metaphor) ที่ทำาให้ เข้าใจคำาสอนได้อย่างลึกซึ้ง
ศาสนาคริสต์ นิกายโปรเตสแตนต์ ใช้สื่อสิ่งพิมพ์เผยแพร่ลัทธิลูเธอร์ อย่างจริงจังมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1536 โดยนักปฏิรูปศาสนา ฌอง กัลแวง (Jean Calvin) เริ่มต้นด้วยหนังสือ เรื่อง สถาบันศาสนาคริสต์ (“L’ Institution de la Religion Chrétianne”) ศาสนาคริสต์นิกายคาทอลิก ตั้งวิทยาลัยเผยแพร่ศรัทธา (propaganda fide) ในปี ค.ศ. 1622 เพื่อผลิตมิชชันนารีเป็นสื่อบุคคลออกไปสอน ศาสนาในต่างประเทศ นับว่าเป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่สอนวิชา นิเทศศาสตร์ แต่ก็ยังไม่มีองค์ความรู้ที่พอจะนับเป็นหลักทฤษฎีได้ ในยุคก่อนทฤษฎีนี้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ทางด้านวิทยาศาสตร์ก็ได้ มีการศึกษาเรื่องการสื่อสาร โดยมีหลักฐานแน่ชัดว่า ชาร์ล ดาร์วิน (Charle Darwin) เจ้าของทฤษฎีวิวัฒนาการ ได้เขียนหนังสือรายงาน การศึกษาเล่มใหญ่ เรื่อง “The Expression of Emotions in Man And Animals” (การแสดงอารมณ์ของมนุษย์และสัตว์) ในปี ค.3 ศ. 1872 โดยสรุป ในช่วงก่อนทฤษฎีนี้ ยังมิได้มีการศึกษาการสื่อสารอย่างจริงจัง ทั้งในระดับวิชาชีพและวิชาการ ที่เห็นได้ชัดคือยังไม่มีการเปิดสอน หลักสูตรการสื่อสารหรือนิเทศศาสตร์เป็นสาขา (discipline) ใน มหาวิทยาลัย แม้ว่าได้มีความพยายามที่จะเรียนรู้เพื่อพัฒนาการปฏิบัติ งานสื่อสารบ้างแล้วก็ตาม ทฤษฎีก ารสื่อ สารยุค ต้น อาจเรียกได้ว่าเป็นยุคที่ได้มีการพัฒนาวิชาการทางด้านการสื่อสาร สร้างเป็นทฤษฎีแนวปฏิบัติสำาหรับสถานศึกษาในสถาบันชั้นสูง เป็นการ นำาวิชาการสื่อสารเข้าสู่ยุคทฤษฎีช่วงแรก ก่อนที่จะวิวัฒนาการไปสู่ยุค สมัยนิยม จึงอาจเรียกยุคนี้อีกอย่างหนึ่งว่า ยุคก่อนสมัยนิยม (premodern age) มีแนวโน้มพัฒนาหลักการรายงานข่าวสารในชีวิตประจำา วันให้เป็นศิลปะศาสตร์แขนงใหม่ที่เรียกว่า วารสารศาสตร์ (journalism)
ยุคนี้อาจแบ่งได้เป็น 2 ช่วงคือ ช่วงแรกประมาณทศวรรษ 1890 ถึง ประมาณทศวรรษ 1920 และช่วงที่สองทศวรรษที่ 1920 ถึงประมาณ ทศวรรษที่ 1940 1. มีก ารพัฒ นาวิช าการสื่อ สาร ใน 6 ด้าน คือ 1.1 วารสารศาสตร์ท างสื่อ สิ่ง พิม พ์ (print journalism) มีการก่อตั้ง โรงเรียน หรือสถาบันวารสารศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา โดยเริ่มต้นที่ มหาวิทยาลัยมิสซูรี และมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย (นครนิวยอร์ค)
วิชาการวารสารศาสตร์ค่อย ๆ ขยายออกไปครอบคลุมการโฆษณา (advertising) และการประชาสัมพันธ์ (public relations) โดยเฉพาะเมื่อ นักหนังสือพิมพ์ตอ ้ งมีส่วนร่วมหรือสัมผัสกับงานการสื่อสารทั้งสองแขนง เอ็ดเวิร์ด แบร์เนส์ (Edward Bernays) หลานของซิกมุนด์ฟรอยด์ (Sigmund Freud) เริ่มสร้างทฤษฎีการประชาสัมพันธ์เป็นก้าวแรก หลัง จากที่ไอวีลีตั้งสำานักงานประชาสัมพันธ์แห่งแรก ที่นิวยอร์ก ในปี 1903 1.2 วิช าการภาพยนตร์ ค่อย ๆ เริ่มเจริญเติบโตในสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส และเยอรมนี โดยเฉพาะเมื่อมีการสถาปนาระบบดารา (star system) ขึน ้ ในฮอลลีวูด ในปี 1910 และภาพยนตร์อเมริกันประสบความ สำาเร็จในการขยายอิทธิพลของฮอลลีวูดออกไปทั่วโลกตั้งแต่ปี 1919 1.3 การปฏิว ัต ิท างโทรคมนาคม ก่อให้เกิดการพัฒนาวารสารศาสตร์ ทางวิทยุและ โทรทัศน์ (Broadcast journalism) การประดิษฐ์เครื่องส่ง สัญญาด้วยคลื่นวิทยุของไฮน์ริค เฮิร์ตส์ (Heinrich Hertz) นำามาสู่การ กำาเนิดสื่อใหม่ คือวิทยุกระจายเสียงสำาหรับนักวารสารศาสตร์สมัยใหม่ จะได้ใช้ในการรายงานข่าวสารเป็นประจำาวัน เริ่มตั้งแต่ปี 1920 ที่สถานี เชล์มฟอร์ดในประเทศอังกฤษและปี 1921 ที่สถานีหอไอเฟล ประเทศ ฝรั่งเศส 1.4 ทางด้า นหนัง สือ เริ่มเกิดมีวรรณกรรมมวลชน (Mass Literature) โดยการบุกเบิกของนักเขียนอเมริกัน ชื่อ เอช จี เวลส์ (H.G. Wells) นัก เขียนอังกฤษชื่อ ดี เอ็ช ลอเรนซ์ (D.H. Lawrence) และนักเขียนฝรั่งเศส ชื่อ จูลส์ เวร์น (Jules Verne) มีการเขียนเรื่องแนววิทยาศาสตร์เพื่อป้อน สถานีวิทยุกระจายเสียงและภาพยนตร์ หนังสือกลายเป็นสื่อมวลชน ประเภทช้า (slower media) ที่เป็นพื้นฐานสำาคัญของการพัฒนา สื่อมวลชนประเภทเร็ว (faster media) ที่ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์
1.5 ทางด้า นสัง คมวิท ยาการสื่อ สาร (Sociology of Communication) เอมีล ดูรแกง (Émile Durkheim) นักสังคมวิทยาชาว ฝรั่งเศสทำาการวิจัยเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสารกับการฆ่า ตัวตาย สร้างเป็นทฤษฎีอัตวินิบาตกรรม (Théorie de Suicide 1897) ที่ เสนอว่าสังคมที่มีระดับการสื่อสารระหว่างบุคคลตำ่าจะมีอต ั ราการฆ่าตัว ตายสูง ทฤษฎีนี้ยำ้าให้เห็นบทบาทและความสำาคัญของการสื่อสารที่มีต่อ การแก้ปัญหาสังคม 1.6 ทางด้า นจิต วิท ยาการสื่อ สาร (Psychology of Communication) ซิกมุนด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) เขียนหนังสือ เกี่ยวกับการตีความหมายหรือการทำานายฝัน (1900) และเรียงความสาม เรื่องเกี่ยวกับเรื่องเพศ (1905) อาจถือได้ว่าเป็นบุคคลแรกที่ได้ศึกษา เกี่ยวกับการสื่อสารภายในบุคคล (intrapersonal communication) อย่าง ลึกซึ้งจริงจัง ทั้งในด้านทฤษฎี
และการปฏิบัติ ซึ่งรู้จักกันทั่วไปในนามของจิตวิเคราะห์ (psychoanalysis) และจิตบำาบัด (psychotherapy) 2. ในช่ว งที่ส อง (ทศวรรษ 1920 ถึงทศวรรษ 1940) เป็นช่วงที่โลกโดย เฉพาะสหรัฐอเมริกาเผชิญกับวิกฤตการณ์ร้ายแรง คือภาวะเศรษฐกิจ ตกตำ่า (Depression) ในปี 1929 ผนวกกับความเติบโตของลัทธินาซีใน เยอรมนี และลัทธิฟาสชิสต์ในอิตาลี ที่นำาไปสู่สงครามโลกครั้งที่สอง (1939 – 1945) ในช่วงที่สองนี้ อาณาเขตของทฤษฎีการสื่อสารได้ขยายออกไป ครอบคลุมรัฐศาสตร์ของการสื่อสาร (Politics of Communication) เกิด ปรากฏการณ์ที่อาจวิเคราะห์เชิงทฤษฎีออกได้เป็น 3 ปทัสถาน คือ ทฤษฎีเสรีนิยมแบบตะวันตก (Western Libertarianism) ทฤษฎีอำานาจ นิยมนาซีและฟาสชิสต์ (Nazi-Fascist Authoritarianism) และทฤษฎี เบ็ดเสร็จนิยมมาร์กซิสต์-เลนินิสต์ (Marxist-Leninist Totalitarianism) 2.1 ทฤษฎีอ ำา นาจนิย มนาซีแ ละฟาสชิส ต์ หลักการและกลยุทธ์การ สื่อสารได้ถูกนำามาใช้ทั้งเชิงรุกและเชิงรับ เยอรมนียุคฮิตเลอร์และอิตาลี ยุคมุสโสลินี พัฒนากลไกการโฆษณาชวนเชื่อ (propaganda machine) ตั้งแต่ระดับแผนกขึ้นไปสู่ระดับกระทรวง ใช้สื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุกระจาย เสียง ละครและภาพยนตร์ ในการปฏิบัติการทางจิตวิทยา (psychological actions) โน้มน้าวจูงใจให้หลงเชื่อในลัทธิถือเชื้อชาติผิว พรรณ (racism) และการกำาจัดศัตรูของสังคม โจเซฟ เกิบเบลส์ (Joseph Goebbels) ประสบความสำาเร็จสูงในการแปร กลยุทธ์จิตวิทยาการสื่อสาร ออกมาเป็นโครงสร้างของรัฐที่มี ประสิทธิภาพในการปลุกระดมคนเยอรมันให้ทำาตามความคิดของผู้นำา (Führer) อย่างมัวเมา จนถึงกับร่วมกันสังหารยิวหลายล้านคนด้วยวิธี การโหดร้ายทารุณ
แซร์จ ชาโกตีน (Serge Tchakhotine) ศาสตราจารย์จิตวิทยาสังคมแห่ง มหาวิทยาลัยปารีส ศึกษายุทธการการโฆษณาชวนเชื่อของเยอรมนี เขียนเป็นหนังสือเล่มสำาคัญประกอบการบรรยายเรื่อง “Le Viol des Foules par la Propagande Politique” (การข่มขืนฝูงชนด้วยการ โฆษณาชวนเชื่อทางการเมือง) ตีพิมพ์ในปี 1940 ก่อนสงครามโลกครั้งที่ สองเพียงสองเดือน อีกเรื่องหนึ่งคือ “ปรัชญาและโครงสร้างของฟาสซิสต์เยอรมัน” โดยโร เบิร์ต เอ แบรดี (Robert A. Brady) ศาสตราจารย์วิชาเศรษฐศาสตร์แห่ง มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ตีพิมพ์ในอังกฤษปี 1937 ยุทธการการโฆษณาชวนเชื่อของเยอรมนี เป็นปรากฏการณ์ทางการ เมืองและสังคมที่ผลักดันให้เห็นความสำาคัญของการศึกษาวิชาการ รณรงค์ทางการเมืองและสาธารณมติ
(Political Campaign and Public Opinion) ในสาขาจิตวิทยาสังคม รัฐศาสตร์ และนิเทศศาสตร์ ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่สอง วอลเตอร์ ลิปมันน์ (Walter Lipmann) นักวารสารศาสตร์อเมริกันเขียน เรื่อง “สาธารณมติ” (1922) แฮโรลด์ ดี ลาสเวลล์ (Harold D. Lasswell) ศาสตราจารย์รัฐศาสตร์อเมริกันเขียนเรื่อง “เทคนิค การ โฆษณาชวนเชื่อ ในสงครามโลก ” (1927) และ “การ โฆษณาชวนเชื่อ และเผด็จ การ ” (1936) ทั้งสองนับว่าเป็นผู้บุกเบิก คนสำาคัญให้สาขาวิชาการสื่อสารการเมืองขึ้นมาเคียงข้างสาขาวิชาการ สื่อสารองค์กรที่มีการประชาสัมพันธ์เป็นแกนหลัก ในช่วงที่สองของยุคต้นนี้ นักวิชาการหลายคนได้รับมอบหมายจาก รัฐบาลให้ทำาหน้าที่วิจัยเกี่ยวกับการโฆษณาชวนเชื่อและข่าวสารสรง คราม เพื่อใช้เป็นกลยุทธ์การสื่อสารต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อของ ฝ่ายอักษะในช่วงก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง นัก คณิตศาสตร์ พอล เอฟ ลาซาร์สเฟลด์ (Paul F. Lazarsfeld) เป็นคนหนึ่ง ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นหัวหน้าสำานักงานวิจัยวิทยุของมูลนิธิรอคกี้เฟล เลอร์ และต่อมาเป็นนักวิจัยที่ปรึกษาของสำานักงานสารนิเทศสงคราม เขาได้ผลิตผลงานวิจัยที่สำาคัญหลายชิ้น รวมทั้งการสร้างสมมติฐานการ ไหลสองทอดของข่าวสาร (Two-step flow hypothesis) หลายเป็นคน หนึ่งที่ร่วมวางรากฐานการวิจัยเพื่อสร้างทฤษฎีการสื่อสารใน สหรัฐอเมริกา ทั้ง ๆ ที่เขาเคยเป็นเพียงผู้ได้รับทุนร๊อกกีเฟลเลอร์ผ่าน ทางมหาวิทยาลัยเวียนนาที่เขาได้รับปริญญาเอกทางคณิตศาสตร์ 2.2 ทฤษฎีเ สรีน ิย มแบบตะวัน ตก จากการที่จะต้องเข้าร่วมรบกับฝ่าย พันธมิตรทั้งในแนวหน้าและแนวหลัง รวมทั้งการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ ตกตำ่าภายในประเทศ ทำาให้ประธานาธิบดี แฟรงคลิน ดีโรสเวลต์ เองก็
ต้องหันมาพึ่งพากลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ ทั้งในระดับประเทศและ ระหว่างประเทศ เขาได้สร้างลัทธินิวดีล (New Deal) เพื่อแก้ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่าง นายจ้างกับลูกจ้าง และระหว่างเศรษฐีนายทุนกับคนจน ได้ใช้บุคลิก เฉพาะตนที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมีมนุษยสัมพันธ์ รวมทั้งสื่อสิ่งพิมพ์และ วิทยุกระจายเสียงในการจูงใจคนอเมริกันให้เห็นความจำาเป็นที่จะต้อง เข้าร่วมรบกับฝ่ายพันธมิตร นับว่าเป็นการนำาหลักการและทฤษฎีการ ประชาสัมพันธ์ของภาคเอกชนไปใช้ในภาครัฐได้อย่างผล หลังสงคราม จึงได้มีการเปิดสอนวิชาการสื่อสารสาธารณะ (Public Communication) และบริการข่าวสารสาธารณะ (Public information Service) ทั้งใน อเมริกาและยุโรปกลายเป็นแขนงวิชาหนึ่งของการประชาสัมพันธ์ใน ประเทศไทยที่เรียกว่า “การประชาสัม พัน ธ์ภ าครัฐ ” หรือ “การ ประชาสัม พัน ธ์ข องรัฐ บาล ” ถือได้ว่าเป็นทฤษฎีการสื่อสารภายในกร อบปทัสถานการเมืองแบบเสรีประชาธิปไตย 2.3. ทฤษฎีเ บ็ด เสร็จ นิย มแบบมาร์ก ซิส ต์ -เลนิน ิส ต์ สำาหรับใน สหภาพโซเวียต ตั้งแต่การปฏิวัติรัสเซีย ในปี 1920 เลนินเขียนทฤษฎี การเมืองแนวสังคมนิยมหลายเล่ม ในส่วนที่
เกี่ยวกับการสื่อสารมวลชน เขาได้เสนอแนวคิดสำาคัญที่ว่า สือ ่ มวลชนจะ ต้องเป็นของรัฐโดยการควบคุมของพรรค มีหน้าที่ในการให้การศึกษา แก่ชนชั้นกรรมาชีพ มิใช่ทำาธุรกิจขายข่าวเช่นในประเทศเสรีนิยม ซึ่ง สื่อมวลชนมักจะกลายเป็นเพียงเครื่องมือของนายทุน ทฤษฎีพื้นฐานอุดมทัศน์มาจากทฤษฎีมาร์กซิสต์ผสมผสานกันออกมา เป็นทฤษฎีมาร์กซิสต์-เลนินิสต์ (Marxism-Leninism) ซึ่งจะมีอิทธิพล อย่างมากต่อประเทศคอมมิวนิสต์หลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในจีนและเวียตนาม มองในแง่ทฤษฎีปทัสถาน (normative theory) ทฤษฎีมาร์กซิสต์-เลนิ นิสต์ สร้างรัฐเบ็ดเสร็จนิยม (totalitarian state) ที่รัฐมีอำานาจเต็มในการ ดำาเนินงานการสื่อสารมวลชน เพื่อให้เป็นกลไกการโฆษณาชวนเชื่อ (propaganda machine) ที่จะปลุกระดมมวลชนและผลักดันประเทศไปสู่ ความเป็นสังคมนิยมที่สมบูรณ์ การศึกษาวารสารศาสตร์สังคมนิยม (socialist journalism) ในประเทศ คอมมิวนิสต์จึงได้มุ่งเน้นไปที่เป้าหมายอุดมการณ์นี้นับตั้งแต่ทศวรรษ 1920 เรื่อยมาจนถึงครึ่งหลังของศตวรรษ 20 คู่ขนานมากับ วารสารศาสตร์นิยม (liberal journalism) ในประเทศตะวันตกและที่นิยม ตะวันตก ทฤษฎีก ารสื่อ สารยุค กลาง ยุคนี้เริ่มตั้งแต่ประมาณปี 1945 หลังสงครามโลกครั้งที่สองจนมาถึง ทศวรรษ 1970 อาจเรียกได้ว่าเป็นยุคโมเดิร์นนิสต์ (modernism) มีแนว โน้มสำาคัญสามประการคือ (1) การวิพากษ์ทฤษฎีการสื่อสารของกลุ่ม อำานาจนิยม และเบ็ดเสร็จนิยม (2) การก่อเกิดทฤษฎีสื่อสารเพื่อการ พัฒนา หรือนิเทศศาสตร์พัฒนาการ (Development Communication Theory (3) การวิพากษ์ลัทธิสมัยนิยม (modernism) ที่เป็นจุดเริ่มต้นของ
ลัทธิหลังสมัยนิยม (postmodernism) (4) การพัฒนาเทคนิคและ เทคโนโลยีอันเป็นที่มาของศาสตร์แห่งการสื่อสารมวลชน 1. ในภาพรวม การวิพากษ์ทฤษฎีของกลุ่มอำานาจนิยมและเบ็ดเสร็จนิยม ก็คือ การวิเคราะห์เชิงมานุษยวิทยาว่าเป็นแนวคิดที่ขัดต่อหลักสิทธิ มนุษยชน ปิดกั้นเสรีภาพทางการเมืองของปัจเจกชน ใช้สื่อมวลชน ปฏิบัติการทางจิตวิทยาอย่างเข้มข้นเพื่อผลทางการเมืองของฝ่าย เผด็จการ สื่อมวลชนมีประสิทธิผลสูงในเชิงการเมือง แต่ขาดคุณค่าใน เชิงมนุษยธรรม การวิพากษ์ได้ก่อให้เกิดทฤษฎีหลากหลายที่เกี่ยวกับผลและอิทธิพลของ สื่อในเชิงลบ อาทิ กลุ่มทฤษฎีผลอันไม่จำากัดของสื่อ (unlimited effects) ได้แก่ ทฤษฎี กระสุนปืน (magic bullet theory) และทฤษฎีกระสุนเงิน (silver bullet theory) ซึ่งเชื่อว่าการโฆษณาชวนเชื่อ
ของสือ ่ มวลชนมีอิทธิพลต่อความเชื่อและพฤติกรรมของมวลชนอย่าง มหาศาล เช่น ในกรณีที่ฮิตเลอร์กระทำาต่อประชาชนชาวเยอรมันก่อน สงครามโลกครั้งที่ 2 ทฤษฎีเข็มฉีดยา (hypodermic needle theory) ที่ พยายามแสดงให้เห็นว่าสื่อมวลชนสามารถอัดฉีด “สารอย่า ง เดีย วกัน ” แก่สมาชิกทั้งหมดของสังคมมวลชนอย่างได้ผล กลุ่มทฤษฎีนี้ต่อมาถูก “ลบล้า ง” ด้วยกลุ่มทฤษฎีผลที่จำากัดของสื่อ (limited effects) ที่อ้างปัจจัยตัวแปรต่าง ๆ ทางด้านจิตวิทยา สังคมวิทยา หรือรัฐศาสตร์ที่สามารถจำากัดผลของสื่อได้ ทางด้านจิตวิทยา เช่น กระบวนการเลือกสรร (selective process) ความ น่าเชื่อถือของแหล่งสาร (source credibility) กระบวนการยอมรับ นวัตกรรม (innovation adoption process) ทฤษฎีแรงเสริม (reinforcement theory) ทางด้านสังคมวิทยา เช่น แบบจำาลองการเกี่ยวโยงพึ่งพากันของผลจาก สื่อมวลชน (dependency model of media effects) สมมติฐานการไหล สองทอดของการสื่อสาร (two-step flow of communication) แบบจำาลอง สังคมวัฒนธรรมและกลุ่มประเภททางสังคมในกระบวนการโน้มน้าวใจ (sociocultural and social categories models of the persuasion process) ทางด้านรัฐศาสตร์ เช่น ทฤษฎีปทัสถานของการปฏิบัติงานสื่อสาร มวลชน (normative theories of media performance) อย่างไรก็ตาม การวิพากษ์ผลและอิทธิพลของสือ ่ มิได้จำากัดอยู่เฉพาะผล ทางตรงเท่านั้น หากมุ่งมองไปที่ผลทางอ้อมด้วย ทฤษฎีสำาคัญที่ยังศึกษา กันจนถึงปัจจุบัน ได้แก่ ทฤษฎีคนเฝ้าประตู (gatekeeper theory) ซึ่ง เคิร์ท ลูอิน (Kurt Lewin) เป็นผู้เริ่มเสนอในปี 1947 ว่าสื่อมวลชนเป็นผู้ กลั่นกรองคัดเลือกข่าวให้เหลือน้อยลงเพื่อการเสนอต่อประชาชน แสดง ให้เห็นอำานาจเด็ดขาดของสื่อมวลชนที่ไม่มีใครเข้าไปเกี่ยวข้องได้
ทฤษฎีบทบาทหน้าที่ในการกำาหนดวาระ (agend-setting function) โดย ลาซาร์สเฟลด์ (Lazarsfeld) เริ่มชี้ให้เห็นตั้งแต่ปี 1944 ว่านักการเมือง พยายามโน้มนำาประชามติให้สนใจแต่วาระเรื่องราวที่สอดคล้อง สนับสนุนจุดยืนของพรรคตน ซึ่งต่อมาแม็คคอมบ์และชอว์ (McCombs and Shaws) ในปี 1972 ได้เสนอเป็นทฤษฎีที่แสดงอิทธิพลทางอ้อมของ สื่อในการชี้นำาวาระทางสังคม หรือเรื่องราวที่ต้องให้ความสนใจ แบบจำาลองการขยายวงของความเงียบ (spiral of silence) ซึ่งโนแอลนอยมันน์ (Noelle-Neumann) เริ่มเสนอตั้งแต่ปี 1974 ว่าสื่อมวลชนเป็นผู้ สร้างบรรยากาศของความคิดเห็น (climate of opinion) ที่ทำาให้ปัจเจก ชนรู้แนวโน้มของประชามติ และมักจะปิดปากเงียบเมื่อรู้สึกว่าประชามติ ไม่ตรงกับความคิดเห็นของตน จำานวนปัจเจกชนที่ปิดปากเงียบจะเพิ่ม ขึ้นเรื่อยๆ ตามสัดส่วนความเข้มข้นของประชามตินั้น
2. นอกจากแนวโน้มในการวิพากษ์ผลและอิทธิพลของสื่อแล้ว ยุคกลาง ของทฤษฎีการสื่อสารยังมีแนวโน้มในการเสนอแนวคิดและแนวทางใหม่ เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของสื่อมวลชน เพราะมีแรงผลักดันจากผลของ สงคราม สงครามทำาให้เห็นความสำาคัญของการบูรณะฟื้นฟูพัฒนายุโรป ตะวันตก การขยายขอบเขตการพัฒนาออกไปสู่ประเทศที่ยังด้อยพัฒนา ในโลกที่สาม รวมทั้งความสำาคัญที่จะต้องปรับเปลี่ยนบทบาทของ สื่อมวลชนให้หันมาเน้นสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมใน ประเทศ ต่าง ๆ ทุกทวีป ได้เกิดมีกลุ่มทฤษฎีที่รวมเรียกว่า ทฤษฎีการสื่อสารเพื่อการพัฒนา หรือ นิเทศศาสตร์พัฒนาการ ซึ่งส่วนใหญ่มาจากนักวิชาการอเมริกันที่ ตระหนักในอำานาจอิทธิพลของสื่อ และประสงค์จะใช้สื่อในแนวทางใหม่ ที่จะช่วยแก้ไขปัญหาของโลก โดยเฉพาะในส่วนที่ยังยากจนและมอง เห็นว่าล้าสมัย แดเนียล เลอร์เนอร์ (Daniel Lerner) เขียนหนังสือเรื่อง :”The Passing of Traditional Society, Modernization of the Middle East” (การผ่านไป ของสังคมประเพณีดั้งเดิม การทำาให้ตะวันออกกลางทันสมัย) ในปี 1958 เสนอความคิดให้เปลี่ยนตะวันออกกลางจากสภาพสังคมประเพณีดั้งเดิม ไปสู่ความทันสมัย เป็นหนังสือเล่มสำาคัญที่ชูธงทฤษฎีการสื่อสารเพื่อการ พัฒนาอย่างกล้าหาญ ทฤษฎีของเขาได้รับการสนับสนุนโดยทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ของรอส ตอฟ (Rostow) ที่เสนอในปี 1960 ว่า ประเทศที่ดอ ้ ยพัฒนาจะเจริญ เติบโตได้ก็ด้วยการทำาให้เป็นประเทศอุตสาหกรรม (industrialization) มิ ฉะนั้นก็ไม่สามารถที่จะบินเหิน (take-off) ขึน ้ ไปสู่ความทันสมัยได้ หลังจากนั้นอีกสองปี เอเวอเร็ตต์ รอเจอร์ส (Everett Rogers) ทุมเทงาน วิจัยและเปิดฉากเสนอทฤษฎีสื่อสารนวัตกรรม (communication of
innovation) ไปทั่วโลก แนวความคิดของเขามีอิทธิพลเป็นอันมากต่อนัก นิเทศศาสตร์ในประเทศที่กำาลังพัฒนา โดยเฉพาะแบบจำาลองการยอมรับ ของชาวบ้าน (adoption process model of the peasants) ที่ยังนำามา ประยุกต์ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ลูเซียนพาย (Ludien Pye) ในปีเดียวกันเขียนเรื่อง “บทบาทของทหาร ในประเทศกำา ลัง พัฒ นา ” แต่ที่ตอกยำ้าความสำาคัญของสื่อมวลชนในการพัฒนามากเป็นพิเศษจน พูดได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของนิเทศศาสตร์พัฒนาการที่แท้จริงก็คือหนังสือ เรื่อง “สื่อ มวลชนกับ การพัฒ นาประเทศ ” (1964) ของวิลเบอร์ชรา มบ์ (Wilbur Schramm) นักสังคมวิทยาที่ตอ ่ มาได้รับการยกย่องว่าเป็น นักวิชาการสื่อสารมวลชนที่สำาคัญที่สุดคนหนึ่งของโลก
ทฤษฎีเหล่านี้มุ่งเสนอให้สื่อช่วยส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะที่ยังล้าหลัง โดยมองเห็นว่า “การพัฒ นาก็ค ือ การทำา ให้ท ัน สมัย ” (เลอร์เนอร์) “การพัฒ นาคือ ความมั่น คง ” (แม็คนามารา) “การพัฒ นาคือ เสรีภ าพ ” (ฌ็องมาเออ ผู้อำานวยการยูเนสโก) “การพัฒ นาคือ การปฏิว ัต ิด ้ว ยเสรีภ าพ ” (เฮ อร์เบิร์ต มาร์แชล รัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐ) แต่ก็ถูกย้อนวิพากษ์ (reverse criticism) ว่าการทำาให้ทันสมัย (modernization) ก็คือการทำาให้เป็นตะวันตก (westernization) ทำาให้ เป็นอเมริกัน (Americanization) เป็นการหล่อหลอมโน้มน้าวให้เชื่อใน ลัทธินิยม (modernism) เป็นเสรีภาพที่นำาไปสู่ความเป็นทาสความคิดและ วัฒนธรรมตะวันตก 3. การวิพากษ์ลัทธิสมัยนิยม (modernism) เป็น จุด เริ่ม ต้น ของลัท ธิ หลัง สมัย นิย ม (postmodernism) นักทฤษฎีแนววิพากษ์จำานวนมิใช่ น้อยได้ทุ่มเทศึกษาวิจัยเพื่อโต้แย้งหรือตักเตือนให้ประเทศกำาลังพัฒนา ยั้งคิดไตร่ตรองก่อนที่จะทุ่มตัวยอมรับลัทธิสมัยนิยมจากนักวิชาการชาว อเมริกัน เฮอร์เบอร์ต มาค์คูเซ (Herbert Marcuse) ได้วางรากฐานการวิพากษ์ สังคมไว้ในหนังสือเรื่อง มนุษย์มิติเดียว (One-dimensional Man) ซึ่ง เสนอในปี 1964 ว่า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ถูกนำามาเป็น บรรทัดฐานความคิดและเครื่องมือสร้างความทันสมัย ท้ายที่สุดก็ได้ลด ระดับการพูดและการคิดของมนุษย์ให้เหลือเพียงมิติเดียว อาทิ การรวบ ความจริงกับการปรากฏความจริงไว้ด้วยกัน การรวบสิ่งของกับบทบาท หน้าที่ของมันไว้ด้วยกัน การรวบธนบัตรกับความสุขไว้ด้วยกัน
ทฤษฎีของเขาสร้างขึ้นตั้งแต่สอนอยู่ที่สาขาปรัชญาในมหาวิทยาลัยฟรัง เฟิร์ต ซึ่งรู้จักกันในนามของสำานักแฟรงเฟิร์ต (Frankfurt School) มีส่วน เป็นชนวนให้นักศึกษาลุกฮือต่อต้านสถาบันทุนนิยม (capitalist establishment) และสังคมบริโภค (society of consumption) ทั้งในปารีส และแคลิฟอร์เนีย ในปี 1968 ชื่อของเขาถูกกล่าอ้างว่าอยู่ในกลุ่มสามเอ็ม (3 M’s) ผู้ปฏิวัติสังคม คือ Marx, Mao และ Marcuse เฮอร์เบิร์ต ชิลเลอร์ (Herbert Schillet) แห่งมหาวิทยาลัยซานดิเอโก มลรัฐแคลิฟอร์เนีย เป็นผู้ผลักดันทฤษฎีวิพากษ์ออกไปสู่ทฤษฎีใหม่ที่ อาจเรียกว่าลัทธิจักรวรรดินิยมทางการสื่อสาร (communication imperialism) โดยการเขียนเรื่อง จักรวรรดิ์อเมริกันกับการสื่อสาร “American Empire and Communicaiton” (1969) ตามมาด้วยหนังสืออีก หลายเล่มที่เป็นศูนย์รวมความคิดต่อต้าน “การรุกรานทางวัฒนธรรม” ของสหรัฐอเมริกา ติดตามสนับสนุนด้วยงานวิจัยของ คาร์ล นอร์เด็นส เตร็ง (Karl Nordenstreng) ตาปิโอ วารีส (Tapio Varis) จาก
ประเทศฟินแลนด์ สมควร กวียะ, บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา จาก ประเทศไทยและนักคิดนักวิชาการอีกหลายคนจากตะวันออกกลางและ อเมริกาใต้ในช่วงทศวรรษ 1970 ในบทความเรื่อง “La Morale des Objects” (วัตถุธรรม) ตีพิมพ์ในวารสา รนิทเทศศาสตร์ของฝรั่งเศส (1969) ฌ็อง โบดริยาร์ด (Jean Baudrillard) มีส่วนริเริ่มอย่างสำาคัญในการสถาปนาทฤษฎีการบริโภคสัญญะ (consumption of signs) ที่ประสมประสานแนวคิดลัทธินิยมบริโภคขอ งมาร์คูเซและลัทธิจักรวรรดินิยมทางการสื่อสารของชิลเลอร์ทฤษฎี บริโภคสัญญะอธิบายว่า ในประเทศที่มั่งคั่งฟุ่มเฟือย (Pays de Cocagne) ด้วยลัทธิบริโภค มนุษย์มีความสุขความหวังของชีวิตอยู่ที่ความเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจที่จะทำาให้เขาได้บริโภควัตถุอย่างฟุ่มเฟือย แต่ใน ความเป็นจริงเขาต้องบริโภค “สัญญะของวัตถุ” ที่มาจากสื่อมวลชนด้วย และโดยทั่วไป “สัญญะ” ก็มักจะไม่ตรงกับ “วัตถุ” หรือผลิตภัณฑ์ ทฤษฎีที่วิพากษ์การบริโภคสัญญะ วิเคราะห์ลัทธิบริโภคและวิจารณ์ลัทธิ จักรวรรดินิยมทางการสื่อสาร ได้ร่วมกันกระตุ้นเตือนอย่างรุนแรงให้ โลกของนิเทศศาสตร์ผ่านจากยุคสมัยนิยม (modernism) มาสู่ยุคหลัง สมัยนิยม (postmodernism) ในทศวรรษ 1980 4. การพัฒนาเทคนิคและเทคโนโลยีก ลายเป็น ที่ม าของวิช าการ สื่อ สารมวลชน ย้อนกลับมาที่สหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นักคิดนักวิชาการไม่เพียงแต่จะได้เสนอแนวคิดทฤษฎีการสื่อสารเพื่อ การพัฒนาโลกที่สาม (ประเทศด้อยพัฒนาและกำาลังพัฒนา) เท่านั้น หาก ยังได้พยายามศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาเทคนิคและเทคโนโลยีการสื่อสาร ของตนเองให้เพิ่มพูนคุณค่าและประสิทธิภาพอยู่โดยตลอด อาจเรียก รวมแนวคิดทฤษฎีเหล่านี้อยู่ในกลุ่มพัฒนาการสื่อสาร (communication
development) ซึ่งต่อมายูเนสโกก็ได้นำาไปเป็นพื้นฐานในการตั้ง โครงการนานาชาติ เพื่อการพัฒนาการสื่อสาร (International Program for Communication Development) และญี่ปุ่นก็ได้นำาแนวคิดไปสร้าง แผนพัฒนาระบบเครือข่ายสารสนเทศ (Information Network System) ที่เริ่มต้นตั้งแต่ปี 1985-2000 ทำาให้ญี่ปุ่นก้าวเข้ามาสู่สภาพสังคมสื่อสาร (cybersociety) ในต้นศตวรรษที่ 21 ทฤษฎีที่สำาคัญและเป็นรากฐานของการพัฒนาสังคมสื่อสารเรื่อยมา จนถึงปัจจุบันก็คือ ไซเบอร์เนติกส์ (Cybernetics) ซึ่งหมายถึงศาสตร์ที่ว่า ด้วยการสื่อสารและการควบคุมภายในสัตว์และในเครื่องจักร ซึ่งนำา เสนอโดยนอร์เบิร์ต วีเนอร์ (Norber Wiener) เมื่อปี 1948 แสดงให้เห็น บทบาทสำาคัญของสารสนเทศในการเสริมสร้างและดำารงสังคมมนุษย์ โดยอาศัยกลไกการป้อนไปและป้อนกลับ (feedforward-feedback mechanism) ภายในระบบชีวิตและระบบสังคม ซึ่งถือว่ามีชีวิตเช่น เดียวกัน ชีวิตและสังคมจะเจริญพัฒนาไปได้ก็โดยการพัฒนาระบบการ สื่อสารที่สามารถถ่ายทอดแลกเปลี่ยนสารสนเทศกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
ในปีเดียวกัน ฮาโรลด์ ลาสเวลล์ (Harold Lasswell) เสนอทฤษฎีบทบาท หน้าที่ของสื่อมวลชน (functionalism) เสนอให้เห็นชัดเจนเป็นครั้งแรก ว่าบทบาทหน้าที่ของสื่อมวลชน คือการดำารงรักษาและบูรณาการสังคม (social integration) จึงจะต้องมีการปรับปรุงพัฒนาสื่อมวลชนมิให้เกิด ความล้มเหลว (dysfunction) ในการปฏิบัติหน้าที่ของตนคือ การเฝ้า ระวังสภาพแวดล้อม การประสานส่วนต่าง ๆ ของสังคมให้ตอบสนองต่อ สภาพแวดล้อม และการถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรม อีกทฤษฎีหนึ่งแม้ในตอนเริ่มต้นมิได้เกี่ยวกับการสื่อสารมวลชนโดยตรง แต่ก็ถูกนำามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาสื่อมวลชน นั่นคือ ทฤษฎี สารสนเทศ (information theory) ของ แชนนอน และวีเวอร์ (Shannon and Weaver) ซึ่งพัฒนาขึ้นในปี 1949 เสนอเป็นแบบจำาลองที่วิเคราะห์ การถ่ายทอดสารนิเทศ และแสดงให้เห็นการสื่อสารเป็นกระบวนการที่ เริ่มต้นจากแหล่งสาร (source) เลือกสาร (message) ถ่ายทอดไป (transmitted) ในรูปแบบของสัญญาณ (signal) ผ่านช่องทางการสื่อสาร (channel) ไปยังเครื่องรับ (receive) ซึ่งแปลงสัญญาณเป็นสารสำาหรับจุด หมายปลายทาง (destination) ในกระบวนการนี้อาจมีสิ่งรบกวนหรือ แทรกแซง (noise or interference) ซึ่งทำาให้สารที่ส่งกับสารที่รับแตกต่าง กันได้ แบบจำาลองของทฤษฎีสารสนเทศนี้ มีส่วนเป็นแรงบันดาลใจให้ เดวิด เค เบอร์โล (David K. Berlo) พัฒนาไปเป็นแบบจำาลองทางจิตวิทยาว่าด้วย องค์ประกอบของการสื่อสารระหว่างบุคคลที่รู้จักกันดีในนามของ S M C R (Source, Message, Channel, Receiver) พิมพ์ในหนังสือ ชือ ่ “The Process of Communication” (กระบวนการสื่อสาร” ในปี 1960 แต่องค์ประกอบของกระบวนการการสื่อสารที่เสนอเพิ่มเติมอย่างมีความ สำาคัญจากทฤษฎีสารสนเทศของแชนนอน-วิเวอร์ ก็คือการเข้ารหัสและ
การถอดรหัส (encoding-decoding) ของผู้ส่งสารและผู้รับสารในแบบ จำาลองเชิงวงกลมของ วิลเบอร์ ชรามม์ และ ชาร์ลส์ ออสกูด (Wilbur Schramm and Charles osgood) ทำาให้เห็นว่าการสื่อสารของมนุษย์และ ของสือ ่ มวลชนจะมีประสิทธิผลสูงก็ตอ ่ เมื่อการเข้ารหัสถอดรหัสที่ดี ผู้ สื่อสารทั้งสองฝ่ายจะต้องมีความรู้ความสามารถในการแปลสารสนเทศ (information) เป็นสาร (messgae) และแปลงสารเป็นสารสนเทศได้ทั้ง สองทิศทาง ทฤษฎีอีกกลุ่มหนึ่งที่นำามาประยุกต์ใช้บ่อยครั้งในการเพิ่มประสิทธิภาพ ของการสื่อสารมวลชนก็คือแนวคิดของแบบจำาลองการใช้ประโยชน์และ การไดรับความพึงพอใจ (uses and gratifications) โดยเฉพาะของเอ ลิฮูคัทซ์ (Elihu Katz) และคณะ (1974) ซึ่งเสนอว่า “การใช้ป ระโยชน์ และการได้ร ับ ความพึง พอใจของผู้ร ับ สารมาจากการเปิด รับ สารจากสื่อ มวลชนที่เ ขาคาดหวัง ว่า จะให้ส ารสนเทศตามความ ต้อ งการ อัน เกิด จากสภาวะทางจิต ใจและทางสัง คม ”
จากทฤษฎีนี้ทำาให้เริ่มตระหนักว่าสื่อมวลชนที่ประสบความสำาเร็จจะต้อง มีการวิเคราะห์วิจัยให้รู้ความต้องการสารสนเทศของประชาชน รวมทั้ง สภาวะทางจิตใจและสังคมอันเป็นที่มาของความต้องการนั้นอยู่ตลอด เวลา ทฤษฎีที่กล่าวข้างต้นมีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการสื่อสารมวลชน ซึ่งถือว่า เป็นการสื่อสารที่สำาคัญที่สุดของสังคมสมัยใหม่ (modern society) ใน ที่สุดก็ก่อให้เกิดศาสตร์ใหม่ที่ขยายตัวมาจากวารสารศาสตร์ เรียกว่า วิชาการสื่อสารมวลชน สถาบันการศึกษาหลายแหล่งในสหรัฐอเมริกาได้ต่อเติมชื่อคณะหรือ สถาบันวารสารศาสตร์ เรียกเป็น “วารสารศาสตร์และสื่อสารมวชชน” (Journalism and Mass Communication) ซึ่งในประเทศไทยก็จะเห็นได้ ชัดเจนจากกรณีของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่ก่อตั้งขึ้นเป็นคณะ วารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนในช่วงทศวรรษ 1970 เช่นเดียวกัน แต่สถาบันการศึกษาอีกส่วนหนึ่งก็ขยายขอบเขตหลักสูตรการศึกษาออก ไปครอบคลุมวาทะวิทยา และศิลปะการแสดง แล้วเรียกรวมว่า นิเทศศาสตร์ (Communication Arts) ซึ่งต้องการให้หมายถึงทั้งศิลปะ และศาสตร์ของการสื่อสาร (Art and Science of Communication) ดัง เช่นในกรณีของคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปัจจุบัน สถาบันการศึกษาส่วนใหญ่ในประเทศไทยนิยมใช้คำาว่า “นิเทศศาสตร์” ยกเว้น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำาแหง และ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งต้องเน้นความสำาคัญของวิชาการที่เกี่ยวกับ สื่อมวลชน ซึ่งถือว่าเป็นสื่อหลักของสังคมมวลชน ทฤษฎีก ารสื่อ สารยุค ปัจ จุบ ัน
ยุคนี้อาจแบ่งได้เป็น 2 ช่วง คือ ช่วงแรกตั้งแต่ประมาณปี 1980 ถึง ประมาณปี 1995 และช่วงที่สองประมาณปี 1990 จนถึงปัจจุบัน คือปี 2002 1. ในช่ว งแรก มีแนวโน้มการพัฒนาแนวคิดทฤษฎีการสื่อสารมาใน 2 ทิศทาง คือ (1) การวิพากษ์เชิงองค์รวม (holistic approach criticism) ที่ นำาโลกการสื่อสารเข้าสู่ยุคหลังสมัยนิยม และ (2) การปฏิรูปแนวคิดและ แนวทางการพัฒนาการสื่อสารในสังคมใหม่ 1.1 การวิพากษ์เชิงองค์รวม หมายถึง การที่นักคิด นักวิจัย จากสาขา วิชาต่าง ๆ หันมาใช้ความคิดเชิงองค์รวม วิเคราะห์และวิพากษ์การ สื่อสารในระบบทุนนิยมเสรีของสังคมเศรษฐกิจการตลาด (liberal capitalism in market economy) ในเชิงเศรษฐกิจการเมือง เกิดกลุ่มทฤษฎีการครอบงำากำาหนด (determinism) ที่วิพากษ์ว่าเทคโนโลยีลัทธิสมัยนิยม และลัทธิการแพร่ กระจายของรอเจอร์ส (Rogers’s Diffusionism) มีอำานาจในการกำาหนด ชะตากรรมของประเทศ (fatalism) เทคโนโลยีสร้างสื่อให้
เป็นพระเจ้า (dei ex machina) และ “เปิดโอกาสให้ชนชั้นนำามีอำานาจ เหนือความรู้และการตัดสินใจของประชาชน” ตามทัศนะของ ฌ็อง ฟร็ องซัวส์ ลีโอตาร์ด (Jean Francois Lyotard) ในหนังสือเรื่อง “La Condition Postmoderne” (1979) มองลึกและกว้างไปในปรัชญาเชิงองค์รวม ฌาคส์แดริดา (Jacques Derrida) และมิแชล ฟูโกลต์ (Michel Foucault) สนับสนุนแนวคิดเชิง วิพากษ์ของลีโอตาร์ด และเสริมต่อว่าในยุคสื่อหลากหลาย รัฐบาลและ ชนชั้นนำายังได้ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารควบคุมพฤติกรรมสังคมแบบ ตามจำาลอง “กวาดดูโดยรอบ” (panopticon) ซึ่งถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิ และคุณค่าความเป็นมนุษย์ของประชาชน ทั้งสามนักวิชาการจึงได้เสนอ แนวคิดใหม่ที่เรียกว่า ลัทธิหลังสมัยนิยม (postmodernism) ถือว่าใน สังคมใหม่ เอกชนต้องเข้ามามีบทบาทในการสร้างระบบสารสนเทศเสรี (free flow of information) ทั้งในองค์กรและในสังคม สมควร กวียะ เสนอแนวคิดไว้เมื่อปี 1986 ว่า มองในแง่อำานาจอิทธิพล ของเทคโนโลยี เราอาจแบ่งประเทศในโลกออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม ประเทศที่กำาหนดเทคโนโลยี และกลุ่มประเทศที่ถูกกำาหนดโดย เทคโนโลยี กลุ่มแรกสร้างเทคโนโลยีเพื่อตอบสนองความต้องการของ สังคม กลุ่มที่สองถูกเทคโนโลยีจากกลุ่มแรกเข้ามากำาหนดวิถีชีวิต และ ระบบเศรษฐกิจสังคมของประเทศ ก่อให้เกิดความเสียเปรียบทั้งด้าน เศรษฐกิจ การเมือง และสังคมวัฒนธรรม ประเทศจะต้องใช้เงินมหาศาล เป็นต้นทุนของการทำาเผื่อทำาเกินอย่างฟุ่มเฟือยโดยไม่จำาเป็น (redundancy cost) รวมทั้งต้นทุนของการสูญเสียโอกาสในการผลิต เทคโนโลยีของตนเอง (opportunities cost) วิสาหกิจหรือการประกอบการ (entreprise) ในทศวรรษ 1980 มีลักษณะ เป็นนามธรรม และหลากหลายรูปแบบเต็มไปด้วยภาษาสัญลักษณ์ และ
กระแสการสื่อสารที่เป็นบ่อเกิดของการปรับโครงสร้าง และลำาดับชั้นของ การพึ่งพาอาศัยกันในระดับโลก แต่การต่อสู้แข่งขันที่ขยายขอบเขตและ เพิ่มความเข้มข้นได้บีบบังคับให้เจ้าของกิจการและผู้บริหารต้องนำาความ รุนแรง และความวิจิตรวิตถาร (violence and hardcore fantasy) ของ ศิลปะประยุกต์มาใช้ในการสื่อสารและวิทยายุทธ์การบริหารองค์กร วัฒนธรรมการโฆษณาและการโฆษณาชวนเชื่อแอบแฝงตามแบบฮอลลี วูด (Hollywoodian hidden propaganda) แทรกซึมเข้าไปสู่วิถีและวิธีการ สื่อสารของมนุษย์ในสังคมหลังสมัยใหม่ จนถึงขนาดทีอ ่ าจมีส่วนในการ สร้างวัฒนธรรมสงครามเย็นหรือแม้สงครามยิง 1.2 แนวโน้มที่สองในช่วงแรกของทฤษฎีการสื่อสารยุคปัจจุบัน คือการ ปฏิรูปแนวคิดและแนวทางของการพัฒนาการสื่อสารในสังคมใหม่ สังคมใหม่ตอ ้ งอาศัยสารสนเทศเป็นปัจจัยหลักของการสร้างและธำารง พัฒนาสังคม จึงต้องสร้างและพัฒนาระบบสารสนเทศ ทั้งในองค์กรและ ในสังคม
บนพื้นฐานแนวคิดจากรายงานเรื่อง L’ Informatisation de la Societe (การสร้างสังคมให้เป็นระบบสารสนเทศ) ของซิมองโนรา และอะแลง แมงก์ (Simon Nora และ Alain Minc) ที่เสนอต่อรัฐบาลฝรั่งเศส ในปี 1978 องค์กรกลายเป็นองค์กรสารสนเทศ (Information Organization) สังคมกลายเป็นสังคมสารสนเทศ (Information Society) ต้องอาศัยการ สนับสนุนทางเทคโนโลยีจากระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นปัจจัยหลักของ การสร้างระบบสารสนเทศ (Informationization) สหรัฐอเมริกา ยุโรปตะวันตก และญี่ปุ่น จึงเริ่มวางแผนพัฒนานิทศทางนี้ มาตั้งแต่ต้นทศวรรษ 1980 แผนของญี่ปุ่นดำาเนินงานโดยบรรษัท โทรเลขและโทรศัพท์แห่งชาติ (NTT) ภายใต้โครงการ 15 ปี เพื่อพัฒนา ระบบเครือข่ายสารสนเทศ (Information Network System) กลายเป็นแม่ แบบสำาคัญสำาหรับสาธารณรัฐเกาหลี มาเลเซีย และประเทศกำาลังพัฒนา อีกหลายประเทศ จุดมุ่งหมายก็เพื่อนำาเทคโนโลยีของชาติมาสร้างสังคม สารสนเทศที่พึ่งตนเองได้ ต่อมาภายหลังความหมายของคำา “สังคมสารสนเทศ” ได้ขยาย ครอบคลุมมาถึงคำา “สังคมความรู้” (Knowledge Society) และ “สังคม สื่อสาร” (Cyber หรือ Communication Soiety) สังคมความรู้ หมายถึง สังคมสารสนเทศที่เน้นสารสนเทศประเภทความรู้ สำาคัญกว่าประเภทอื่น เพราะเชื่อว่าความรู้คือสารสนเทศที่พิสูจน์สรุป แล้วว่าเป็นความจริง และมีสาระพร้อมจะนำาไปใช้เป็นประโยชน์ต่อชีวิต และสังคม สังคมสื่อสาร คือ สังคมสารสนเทศที่ประชากรส่วนใหญ่มีเครื่องมือ สื่อสารหรือเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) พร้อมที่จะ สื่อสารกันได้อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง อาณาบริเวณของการสื่อสาร
ครอบคลุมทุกท้องถิ่นของสังคม และสามารถขยายออกไปได้ทั่วโลกใน ยุคโลกาภิวัตน์ (globalisation) ทฤษฎีโลกาภิวัตน์ถือกำาเนิดขึ้นในบทความเรื่อง Globalization ที่ ศาสตราจารย์ธีโอดอร์ เววิตต์ (Theoder Levitt) เสนอในวารสาร “Harvard Business Review” เมื่อปี 1983 แม้ว่าก่อนหน้านั้นในช่วงหลัง สงครามโลกครั้งที่สอง มีการใช้คำานี้กันแล้วในทางด้านการเงิน (financial globalization) มีความหมายถึงการค้าข้ามพรมแดนในระบบ การเงินระหว่างประเทศ 2. ในช่วงที่สองของทฤษฎีการสื่อสารยุคปัจจุบัน ซึ่งเริ่มตั้งแต่ประมาณ กลางทศวรรษ 1990 มาถึงปี 2002 นับว่าเป็นช่วงวิกฤตทางทฤษฎี (Theoritical Crisis) ที่สำาคัญมากอีกครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ทฤษฎีการ สื่อสาร ทั้งนี้เพราะถึงแม้โลกจะมีเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะระบบ อินเตอร์เน็ตที่สามารถทำาให้ทุกองค์กรและทุกสังคมติดต่อเชื่อมโยงกัน ได้ในอาณาจักรไซ
เบอร์ (Cyberspace) หรือโลกไซเบอร์ (Cyberworld) แต่โลกภายใต้การ บริหารจัดการขององค์กรโลก หรือสหประชาชาติก็ยังอยู่ในสภาพไร้ ระเบียบและแตกแยกจลาจลกันจนถึงขั้นทำาศึกสงคราม รายงานการศึกษาปัญหาการสื่อสารของโลก โดยคณะกรรมาธิการ “แม็คไบรด์” ของยูเนสโก ได้พบมาตั้งแต่ปี 1978 ว่า ในโลกหนึ่งเดียวนี้มี หลายความคิด หลายความเชื่อ หลายความเห็น (“Many Voices, One World” ชื่อของรายงานที่พิมพ์เป็นหนังสือในปี 1979) แต่ที่โลกมีปัญหา ก็เพราะว่าประเทศต่าง ๆ และสังคมวัฒนธรรมต่าง ๆ ไม่พยายามสื่อสาร ทำาความเข้าใจและประนีประนอมยอมรับกัน ทั้งนี้เพราะมีทิฐิในลัทธิ ความเชื่อของตน หรือมีผลประโยชน์ขัดแย้งกันในทางเศรษฐกิจ การเมือง จนกระทั่งทศวรรษสุดท้ายของศตวรรษที่ 20 ทิฐิหรือความขัดแย้งเหล่า นั้นก็ยังไม่บรรเทาเบาบาง แต่กลับยิ่งรุนแรงจนกลายเป็นความตึงเครียด ระหว่างภูมิรัฐศาสตร์ (geopolitics) ภูมิเศรษฐศาสตร์ (geoeconomics) และภูมิสังคมวัฒนธรรม (geosocio-culture) อาณาจักรทางเศรษฐกิจของ โลกขยายเข้าไปก้าวก่ายแทรกซ้อนกับอาณาจักรทางการเมือง การ ปกครอง ซึ่งมีความเหลือ ่ มลำ้ากันอยู่แล้วกับอาณาจักรทางสังคม วัฒนธรรม ความตึงเครียด (tension) กลายเป็นความเครียดของโลก (world stress) ที่บั่นทอนทั้งสุขภาพกายและจิตของประชากร การทำาศึกสงคราม การก่อการร้าย การต่อสู้เชิงกลยุทธ์เศรษฐกิจ หรือ แม้แต่การแข่งขันกันในเชิงอุตสาหกรรม กลายเป็นสิ่งที่บ่อนทำาลาย คุณภาพชีวิต คุณภาพของสิ่งแวดล้อม หรือระบบนิเวศ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ง ขวัญ กำาลังใจ และศักดิ์ศรีเกียรติภูมิของมนุษยชาติ ท้ายที่สุดความขัดแย้งในความเป็นจริงก็นำามาสู่ความรู้สึกขัดแย้งในเชิง ทฤษฎี เข้าทำานอง “สื่อยิ่งมาก การสื่อสารยิ่งน้อย” (The more the
media, the less the communication) ซึ่งอาจจะเป็นเพราะว่าสื่อส่วนใหญ่ มักถูกใช้เพื่อสร้างสังคมบริโภคที่มนุษย์แข่งขันกันด้วยการโฆษณา สินค้าฟุ่มเฟือย หรือโฆษณาชวนเชื่อลัทธิเศรษฐกิจการเมืองที่ไม่คำานึง ถึงสิทธิเสรีภาพและคุณค่าของความเป็นมนุษย์ สือ ่ ส่วนน้อยเท่านั้นที่ถูก ใช้เพื่อสร้างสังคมสารสนเทศหรือสังคมความรู้ที่แท้จริง ซึ่งมนุษย์อยู่ร่วม กันด้วยสติปัญญาและคุณธรรมความรับผิดชอบร่วมกัน แต่เหตุผลที่แน่นอนก็คือ ทฤษฎีการสื่อสารตั้งแต่ก่อนยุคทฤษฎี ยุคสมัย นิยม ยุคหลังสมัยนิยม แม้มีการวิพากษ์วิจารณ์ และปรับปรุงพัฒนามา แล้วเพียงใด ทฤษฎีการสื่อสารก็ยังอยู่ในกรอบของปรัชญาตะวันตกที่ เน้นเทคนิคนิยม (technism) มากกว่ามนุษยนิยม (humanism) และ เป็นการสื่อสารทางเดียวมากกว่าการสื่อสารสองทาง ทั้งนี้เพราะปรัชญา ตะวันตกมีรากฐานมาจากลัทธิเทวนิยมแนวศาสนาคริสต์ (Christian theism) ซึ่งถือว่าพระเจ้าองค์เดียวมีอำานาจเหนือมนุษย์ ถ่ายทอดมา เป็นกระบวนทัศน์การสื่อสารเบื้องบนสู่เบื้องล่าง (top-down communication) จากผู้นำาถึงประชาชน จากคนรวยถึงคนจน จากคนมี ถึงคนไม่มี (have to have-not) จากนายทุนผู้ผลิตถึงประชาชนผู้บริโภค จากผู้มีอำานาจทางเศรษฐกิจหรือการเมืองถึง
ผู้บริโภคสัญญะ ซึ่งหมายถึงผู้จ่ายเงินส่วนหนึ่งซื้อความเป็นนามธรรมที่ ไม่มีตัวตนของสินค้าหรืออุดมการณ์ การแสวงหากระบวนทัศน์ใหม่จึงค่อย ๆ เริ่มขึ้นในตอนต้นทศวรรณ 1990 และค่อยทวีความเข้มข้นจริงจังในครึ่งหลังของทศวรรษนี้ รัฐธรรมนูณฉบับ 2540 ของประเทศไทยได้รับทฤษฎีสื่อมวลชน ประชาธิปไตยมาเป็นแนวทางของรัฐ ในการปฏิรูปการสื่อสารมวลชนให้ มีหลักประกันเสรีภาพ อิสรภาพ ความเสมอภาค ความรับผิดชอบ และ ประสิทธิภาพเพื่อสาธารณประโยชน์ และเพื่อสังคมตามที่บัญญัติใน มาตรา 39, 40 และ 41 อมาตยา เสน (Amatya sen) นักเศรษฐศาสตร์ผู้ได้รับรางวัลโนเบล ในปี 1996 เสนอทฤษฎีกระแสเสรีของข่าวสารเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ (free flow of information for economic development) ชี้ให้เห็นว่าความเปิดกว้าง ของข่าวสาร (informational openness) จะส่งเสริมระบอบประชาธิปไตย และระบอบประชาธิปไตยจะส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจที่แท้จริงและ ยั่งยืน เพราะผู้นำาในระบอบนี้จะรับรู้ขอ ้ มูลข่าวสารที่ถูกต้องเพื่อการริเริ่ม และดำาเนินโครงการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ โจเซฟ สติกลิทซ์ (Joseph Stiglitz) นักเศรษฐศาสตร์อีกคนหนึ่งที่ได้รับ รางวัลโนเบล ในปี 2000 เสนอทฤษฎีสารสนเทศอสมมาตร (Asymetric Information) แสดงเป็นสมการว่าความแตกต่างทางสารสนเทศทำาให้ เกิดความแตกต่างระหว่างกลุ่มคนรวยกับคนจน เช่น การรับรู้ข่าวสาร เรื่องสัมปทานของรัฐเร็วกว่าหรือดีกว่าย่อมได้เปรียบในการยื่นซอง ประกวดราคา ทำาให้มีโอกาสดีกว่าในการได้มาซึ่งสัมปทาน ทำาให้มี โอกาสที่จะเพิ่มความรำ่ารวยยิ่งกว่าคนที่มิได้รับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับ สัมปทาน
ทฤษฎีนี้ยืนยันถึงบทบาทสำาคัญของการเผยแพร่สารสนเทศเพื่อการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ทว่าการเผยแพร่สารสนเทศนั้นจะต้องยึด หลักความโปร่งใส ความเสมอภาค และความรับผิดชอบต่อสังคมโดย รวม ไม่ว่าจะเป็นการเผยแพร่สารสนเทศของสือ ่ ประเภทใด การทำางาน บนพื้นฐานอุดมการณ์ดังกล่าว จึงต้องมีอิสรภาพในทางวิชาชีพ (professional independence) ซึ่งถือว่าเป็นจริยธรรมที่สำาคัญ ในช่วงเวลาเดียวกัน สมควร กวียะ ได้นำาเอาทฤษฎีความรับผิดชอบต่อ สังคมมาปฏิรูปการประชาสัมพันธ์แบบดั้งเดิม สร้างเป็นทฤษฎีการ ประชาสัมพันธ์ใหม่ที่เรียกว่า การสื่อสารองค์กรเชิงบูรณาการ (Integrated Oraganizational Communication) ทฤษฎีนี้เสนอว่าองค์กร จะต้องปรับเปลี่ยนปรัชญา (1) จากการสื่อสารมิติเดียวมาเป็นการสื่อสาร หลายมิติ (multi-dimensional communication) ใช้หลายสื่อ หลาย ทิศทาง และมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมทั้งองค์กรและสังคมอย่างเป็น ธรรม (2) จากการสื่อสารถึงสาธารณชนหรือมวลชนมาเป็นการสื่อสาร
กับสมาชิกของสังคม เน้นสังคมภายในองค์กรและชุมชนรอบองค์กร ก่อนขยายขอบเขตออกไปสู่องค์กรอื่น และสังคมมวลชน (3) จากการ สื่อสารโน้มน้าวใจให้คล้อยตามมาเป็นการสื่อสารเพื่อสร้างความเป็น หนึ่งเดียวบนพื้นฐานความแตกต่าง (oneness of differences) ของความรู้ ความคิด และบทบาทหน้าที่ (4) จากการสื่อสารเพื่อสร้างเสริมภาพ ลักษณ์ (mind image) ขององค์กรเพียงด้านเดียวมาเป็นการสื่อสารเพื่อ ส่งเสริมภาพจริง (real image) ที่แสดงความรับผิดชอบขององค์กรต่อ สังคมต่อโลกและต่อชีวิตของเพื่อนมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นลูกค้าหรือกลุ่มเป้า หมายขององค์กรหรือไม่ แต่การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (paradingm shift) ที่มีความหมายความ สำาคัญมาก เริ่มต้นโดย ฟริตจอฟ คาปรา (Fritjof Capra) นักวิจัยสาขา ฟิสิกส์ จากมหาวิทยาลัยเวียนนา ซึ่งต่อมาได้เป็นผู้อำานวยการศูนย์นิเวศ ศึกษา (Ecoliteracy) ที่มหาวิทยาลัยเบิร์กเลย์ แคลิฟอร์เนีย ในปี 1975 เขาจุดประกายกระบวนทัศน์ใหม่เชิงปรัชญาฟิสิกส์ในหนังสือเรื่อง The Tao of Physics (เต๋าแห่งฟิสิกส์) โดยการประยุกต์ทฤษฎีแนวปรัชญา ตะวันออกโดยเฉพาะฮินดู พุทธ และเต๋า เข้าบูรณาการกับสัจธรรมทาง วิทยาศาสตร์ที่ค้นพบใหม่ในศตวรรษที่ 20 อาทิ ทฤษฎีควอนตัม (Quantum Theory) และทฤษฎีจักรวาลวิทยาต่าง ๆ (Cosmological Theories) เสนอให้เห็นคุณค่าเชิงวิทยาศาสตร์ของปรัชญาตะวันออกที่ สมควรจะนำามาปฏิรูปสังคมที่ได้ถูกกระทำาให้เป็นทาสความคิดของตะวัน ตกตลอดมา ปี 1982 เขาเสนอปรัชญาสังคมแนวใหม่เชิงองค์รวมในหนังสือเรื่อง “The Turning Point” (จุดเปลี่ยนแปลงแห่งศตวรรษ) เสนอให้ใช้การคิด เชิงองค์รวม (holistic thinking) ในการแก้ปัญหาของสังคมและของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้สื่อมวลชนคำานึงถึงสิ่งแวดล้อม มีจิตสำานึกที่จะ
ทำาความรู้จัก เข้าใจ ช่วยอนุรักษ์ระบบนิเวศ และส่งเสริมการพัฒนาที่ ยั่งยืน ในปี 1996 หนังสือเรื่อง “The Web of Life” (ใยแห่งชีวิต) ของเขา ปฏิรูปปรัชญาวิทยาศาสตร์บนพื้นฐานทฤษฎีระบบ (Systems Theories) ทฤษฎีไซเบอร์เนติกส์ และทฤษฎีเกยา (Gaia Theory) ของเจมส์ เลิฟล๊ อก (James Lovelock) ที่เสนอว่า โลกก็เป็นสิ่งมีชีวิตเป็นอภิชีวิต (Superbeing) ที่ชีวิตทั้งหลายอยู่ร่วมกันเป็นสหชีวิต (symbiosis) เช่น เดียวกับที่แบคทีเรียนับแสนล้านมีชีวิตร่วมกันกับร่างกายมนุษย์ สรุปให้ เห็นว่าการสื่อสารหรือสันนิธานกรรม (communication) คือความเชื่อม โยงระหว่างกัน (interconnectedness) ของทุกระบบ ระบบชีวิต ระบสังคม ระบบโลก เป็นกระบวนการเชื่อมโยงด้วยสารสนเทศในรูปแบบของ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างการป้อนไปและการป้อนกลับ (feed forward – feedback interacfion) ทำาให้ทุกส่วนของระบบติดต่อเชื่อมโยงกันตาม หลักปรัชญาของนิเวศวิทยาแนวลึก (deep ecology)
จากพื้นฐานแนวคิดหนังสือสามเล่มของฟริตจอฟ คาปรา สมควร กวียะ พยายามนำามาสร้างเป็นกระบวนทัศน์ใหม่ของการสื่อสารมวลชน ใน หนังสือเรื่องนิเวศนิเทศ (Eco-communication) ในปี 1997 นิเวศวิทยาเป็นแนวคิดการสื่อสารเชิงนิเวศวิทยา (Ecological Communication) ที่เสนอให้สื่อมวลชนเปลี่ยนมโนทัศน์ของการทำางาน จากการเสนอข่าวสารตามกระแสในรูปแบบดั้งเดิมของวารสารศาสตร์ อเมริกัน (American journalism) ซึ่งวางรากฐานหยั่งลึกมาตั้งแต่ต้น ศตวรรษมาเป็นการเฝ้าติดตามสืบสวนสอบสวนพฤติกรรมและผลกระทบ ของอุตสาหกรรมเชิงลบ (negative industry) ที่มีตอ ่ ระบบนิเวศ ดิน นำ้า อากาศ อาหาร ชีวิต และโลก สื่อมวลชนใหม่จะต้องมีจิตสำานึกรับผิด ชอบอย่างลึกซึ้งต่อความเสื่อมโทรมของชีวิตโลก และหลีกเลี่ยงการ โฆษณาสนับสนุนผลิตภัณฑ์ที่กำาลังก่อให้เกิดผลกระทบเชิงลบระยะยาว ต่อพิภพ (The Earth) ซึ่งเป็นที่อยู่แห่งเดียวและอาจจะเป็นแหล่งสุดท้าย ของมนุษยชาติ สำาหรับกระบวนทัศน์ใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารภายในบุคคล และ การสื่อสารระหว่างบุคคล มีความเคลื่อนไหวที่น่าสนใจในการเสนอ ทฤษฎีปัญญาแห่งจิตวิญญาณ (Spiritual Intelligence Quotient หรือ SQ) ในสหรัฐอเมริกา โดยไมเคิล เพอร์ซิงเกอร์ (Micheal Persinger) นัก จิตประสาทวิทยา เริ่มต้นในปี 1990 แต่มีการขยายความคิดโดย วีเอส รามจันทรัน (V.S. Ramachandran) แห่งมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ในปี 1997 และเป็นที่ยอมรับกว้างขวางในปี 2000 เมื่อมิเชล เลวิน (Michel Levin) เขียนหนังสือเรื่อง “Spiritual Intelligence Awakening the Power of Your Spirituality and Intuition” เส้นทางเดินของปัญญาแห่งจิตวิญญาณ (Paths of SQ) มี 6 ประการคือ การรู้จักหน้าที่ (Duty) การรู้จักทะนุถนอม (Nurturing) การแสวงหา
ความรู้ (Knowledge) การปรับเปลี่ยนลักษณะตน (Personal Transformation) การสร้างภราดรภาพ (Brotherhood) และการเป็นผู้นำา แบบบริการ (Servant Leadership) ทฤษฎีปัญญาแห่งจิตวิญญาณ เป็นแนวคิดใหม่ในการพัฒนาการสื่อสาร ของมนุษย์ คล้ายทฤษฎีเส้นทางที่ปราศจากกาลเวลา (The Timeless Way) ของดีปักโชปรา (Deepak Chopra) ในหนังสือ “Ageless Body, Timeless mind” (1993) ที่เสนอว่ามนุษย์จะต้องรู้จักใช้ธรรมะหรือพลัง แห่งวิวัฒนาการ (power of evolution) มาเป็นพลังสร้างสรรค์ร่างกาย และจิตใจ โดยปฏิบัติตนในเส้นทางที่ปราศจากกาลเวลาหรือความ เสื่อมโทรมตามอายุขัยที่เร็วเกินควร คือ (1) รู้จักชื่นชมกับความเงียบ (silence) (2) รู้จักความสัมพันธ์เชิงบวกของตนกับธรรมชาติ (nature) (3) ไว้วางใจในความรู้สึกของตนเอง (trust in own feeling) (4) มีความ มั่นคงในท่ามกลางความสับสนวุ่นวาย (self – centered amid chaos) (5) รู้จักเล่นสนุกสนานเหมือนเด็ก (childlike fantasy and play) (6) มั่นใจใน สติสัมปชัญญะของตน (trust in own conscionsness) และ (7)
ไม่ยึดติดความคิดดั้งเดิมแต่สร้างเสริมความคิดสร้างสรรค์ตลอดเวลา (non – attachment but openness to won creativity) ทั้งทฤษฎีปัญญาแห่งจิตวิญญาณ (SQ) และทฤษฎีเส้นทางที่ปราศจาก กาลเวลา (Timeless Way) นับว่าเป็นพัฒนาการมาสู่กระบวนทัศน์ใหม่ ของทฤษฎีการสื่อสารภายในบุคคลที่เริ่มต้นโดยซิกมุนด์ฟรอยด์ และ ทฤษฎีการสื่อสารระหว่างบุคคลที่เริ่มต้นโดยฟริตซ์ไฮเดอร์ เป็นการนำา เอาจริยศาสตร์มาผสมผสานเป็นจริยธรรมการสื่อสารของมนุษย์ (Ethics of Human Communication) ที่ถูกทำาให้เสือ ่ มโทรมมาหลายทศวรรษ โดยลัทธิบริโภค และกระแสโลกาภิวัตน์ของระบอบทุนนิยมเสรี โดยเฉพาะอย่างยิ่งทฤษฎีเส้นทางที่ปราศจากการเวลา มีส่วนช่วย สนับสนุนให้เกิดกระบวนทัศน์ลำ้าสมัยและแนวอนาคต (ultramodernist and futuristic paradigm) ที่มีเวลาเข้ามาเป็นปัจจัยสำาคัญของสารสนเทศ และการสื่อสารทุกประเภท นั่นคือ ทฤษฎีสารเวลา (The Infotime Theory) ซึ่ง สมควร กวียะ ได้นำาเสนอต่อที่ประชุมราชบัณฑิตสำานัก ธรรมศาสตร์และการเมือง เมื่อเดือนมีนาคม 2002 หลังจากที่ได้วิจัยและ พัฒนามาตั้งแต่ปี 1997 ทฤษฎีสารเวลามาจากการวิจยเชิงทดลองทางความคิด (thought experiment) บนพื้นฐานความคิดเชิงองค์รวม และความรู้ทาง นิเทศศาสตร์ มนุษศาสตร์ สังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ทุกแขนง ได้รับ แรงบันดาลใจจากแนวคิดทฤษฎีของพระพุทธองค์ ไอน์สไตน์ ดาร์วิน ฟ รอยด์ ชรามม์ วีเนอร์ คาปรา โชปรา และโดยเฉพาะอย่างยิ่งสตีเฟน ฮอว์คิง (Stephen Hawking) ในหนังสือเรื่อง “A Brief History of Time” (1990) ตามทฤษฎีสารเวลาสาร (Information) หมายถึงทุกสรรพสิ่งในเอกภพ คือสารทางกายภาพ (Physical Information) สารทางชีวภาพ
(Biological Information) สารทางสมอง (Brain Information) และสาร นอกร่างกาย (Extrasomatic Information) หรือสารสังคม (Social Information) การสื่อสาร คือการสร้างสภาพร่วมระหว่างผู้สอ ื่ สาร (commonnessmaking) หรือการสร้างความเป็นหนึ่งเดียว (oneness-making) ของทุก สาร นับตั้งแต่อะตอม โมเลกุล ดาวฤกษ์ กาแล็กซี่ หรือดาราจักร ดาว เคราะห์ ชีวิต สังคม มาจนถึงองค์กร การสื่อสารเป็นกระบวนการพลวัตของความเชื่อมโยงติดต่อระหว่างกัน (dynamic process of intyerconnectedness) ที่ก่อให้เกิดสารหรือระบบ (information or system) แต่จากทฤษฎีเวลาทั้งในทางวิทยาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และ สังคมศาสตร์ พบว่าการสื่อสารอย่างเดียวไม่พอที่จะเกิดให้เกิดระบบได้ ระบบต้องมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงโดยตลอด (perpetual change) นับ ตั้งแต่การเกิดไปจนถึงการตาย
ทุกระบบหรือทุกสารจึงต้องมีเวลาเป็นองค์ประกอบที่จะขาดเสียมิได้ เรียกรวมเสียใหม่ว่า สารเวลา หรือ Infotime... สารคือโครงสร้างและ กระบวนการก็คือ เวลา ซึ่งจะต้องรวมกันเป็นหนึ่งเดียว โดยสรุป ทฤษฎีสารเวลาก็คือ สมมติฐานหลักของทฤษฎีการสื่อสารหรือ สันนิธานกรรมทั่วไป (The General Communication Theory) ซึ่งคาดว่า จะเป็นปฐมบทสำาคัญ (major postulate) สำาหรับทฤษฎีของทุกสิ่งทุกอย่าง (The Theory of Everything and Every Non-Thing) ทฤษฎีก ารสื่อ สารและการเรีย นการสอน เพื่อให้การเรียนการสอนบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้และผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ได้ดีที่สด ุ นอกจากจะใช้เทคโนโลยีการศึกษาทั้งในเรื่องของ กระบวนการและทรัพยากรต่าง ๆ แล้วจำาเป็นต้องอาศัยทฤษฏีการสื่อสาร ในการนำาเสนอเนื้อหาจากผู้ส่งไปยังผู้รับ สื่อหรือช่องทางในการ ถ่ายทอด และวิธีการในการติดต่อเพื่อเป็นแนวทางสำาหรับการจัดการ เรียนการสอนอย่างได้ผลดีที่สด ุ ด้วย ทั้งนี้เพราะสิ่งสำาคัญที่สุดอย่างหนึ่ง ในกระบวนการสื่อสาร คือ การที่จะสื่อความหมายอย่างไรเพื่อให้ผู้รับ สารนั้นเข้าใจได้อย่างถูกต้องว่าผู้ส่งหมายความว่าอะไรในข่าวสารนั้นมี นักวิชาการหลายท่านได้นำาเสนอทฤษฏีการสื่อสารที่นำามาใช้เป็นหลัก ในการศึกษาถึงวิธีการส่งผ่านข้อมูลสารสนเทศการใช้สื่อและช่อง ทางการสื่อสาร ทฤษฏีการสื่อสารเหล่านี้ได้นำามาใช้ในขอบข่ายของ เทคโนโลยีการศึกษาตั้งแต่ทศวรรษ 1980s เป็นต้นมาเพื่อเอื้อประโยชน์ สำาหรับใช้เป็นแนวทางในสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียน รวมถึงการ เลือกใช้สื่อเพื่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการเรียนรู้ได้อย่างดี สูตรการสื่อสารของลาสแวลล์ (Lesswell) ฮาโรลด์ ลาสแวลล์ (Harold Lasswell) ได้ทำาการวิจัยในเรื่องการสื่อสาร มวลชนไว้ในปี พ.ศ. 2491 และได้คิดสูตรการสื่อสารที่ถึงพร้อมด้วย
กระบวนการสื่อสารที่สอดคล้องกัน โดยในการสื่อสารนั้นจะต้องตอบ คำาถามต่อไปนี้ให้ได้คือ ใคร พูดอะไร โดยวิธีการและช่องทางใด ไปยังใคร ด้วยผลอะไร
สูตรการสื่อสารของลาสแวลล์เป็นที่รู้จักกันอย่างแร่หลายและเป็นที่นิยม ใช้กันทั่วไปโดยสามารถนำามาเขียนเป็นรูปแบบจำาลองและเปรียบเทียบ กับองค์ประกอบของการสื่อสารได้ดังนี้ ในการที่จะจัดให้การเรียนการสอนเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพดีนั้น เรา สามารถนำาสูตรของลาสแวลล์มาใช้ได้เช่นเดียวกับการสื่อสารธรรมดา คือ • ใคร (Who) เป็นผู้ส่งหรือทำาการสื่อสาร เช่น ในการอ่านข่าว ผูอ ้ ่าน ข่าวเป็นผู้ส่งข่าวารไปยังผู้ฟังทางบ้าน ในสถานการณ์ในห้องเรียน ธรรมดาก็เช่นเดียวกันย่อมเป็นการพูดระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน หรือการ ที่ผู้เรียนกลายเป็นผู้ส่งโดยการตอบสนองกลับไปยังผู้สอน แต่ถ้าเป็นการ สอนโดยใช้ภาพยนตร์หรือโทรทัศน์ ตัวผู้ส่งก็คือภาพยนตร์หรือ โทรทัศน์นั้น • พูดอะไร ด้วยวัตถุประสงค์อะไร (Says what, with what purpose) เป็น สิ่งที่เกี่ยวกับ เนื้อหาข่าวสารที่ส่งไป ผู้ส่งจะส่งเนื้อหาอะไรโดยจะเป็น ข่าวสารธรรมดาเพื่อให้ผู้รับทราบความเคลื่อนไหวของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในแต่ละวัน หรือเป็นการให้ความรู้โดยที่ผู้สอนจะต้องทราบว่าจะสอน เรื่องอะไร ทำาไมจึงจะสอนเรื่องนั้น สอนเพื่อวัตถุประสงค์อะไร และคาด ว่าจะได้รับการตอบสนองจากผู้เรียนอย่างไรบ้าง • โดยใช้วิธีการและช่องทางใด (By what means, in what channel) ผูส ้ ่ง ทำาการส่งข่าวสารโดยการพูด การแสดงกริยาท่าทาง ใช้ภาพ ฯลฯ หรือ อาจจะใช้อุปกรณ์ระบบไฟฟ้า เช่น ไมโครโฟน หรือเครื่องเล่นวีซ ีีเพื่อ ถ่ายทอดเนื้อหาข่าวสารให้ผู้รับรับได้โดยสะดวก ถ้าเป็นในการเรียน การสอน ผู้สอนอาจจะสอนโดยการบรรยายหรือใช้สื่อสารสอนต่าง ๆ เพื่อช่วยในการส่งเนื้อหาบทเรียนไปให้ ผู้เรียนรับและเข้าใจได้อย่างถูก ต้องทำาให้เกิดการเรียนรู้ขึ้น
• ส่งไปยังใคร ในสถานการณ์อะไร (To whom, in what situation) ผูส ้ ่ง จะส่งข่าวสารไปยัง ผู้รับเป็นใครบ้าง เนื่องในโอกาสอะไร เช่น การอ่าน ข่าวเพื่อให้ผู้ฟังทางบ้านทราบถึงเหตุการณ์ ประจำาวัน หรือแสดงการทำา กับข้าวให้กลุ่มแม่บ้านชม ผู้ส่งย่อมต้องทราบว่าผู้รับเป็นกลุ่มใดบ้างเพื่อ สามารถเลือกสรรเนื้อหาและวิธีการส่งให้เหมาะสมกับผู้รับ การเรียนการ สอนก็เช่นเดียวกัน การสอน ผู้เรียนอายุ 8 ปีกับอายุ 15 ปีตอ ้ งมีวิธีการ สอนและการใช้สื่อการสอนต่างกัน ผู้สอนต้องทราบถึงระดับสติปัญญา ความสามารถและภูมิหลังของผู้เรียนแต่ละคนว่ามีความแตกต่างกัน อย่างไรบ้างตลอดจน สิ่งอำานวยความสะดวกต่าง ๆ และสิ่งแวดล้อมทาง กายภาพของการเรียน เช่น มีสอ ื่ การสอนอะไร ที่จะนำามาใช้สอนได้บ้าง สภาพแวดล้อมห้องเรียนที่จะสอนเป็นอย่างไร ฯลฯ • ได้ผลอย่างไรในปัจจุบัน และอนาคต (With what effect, immediate and long term ?) การส่งข่าวสารนั้นเพื่อให้ผู้รับฟังผ่านไปเฉย ๆ หรือ จดจำาด้วยซึ่งต้องอาศัยเทคนิควิธีการที่
แตกต่างกัน และเช่นเดียวกันกับในการเรียนการสอนที่จะได้ผลนั้น ผู้ สอนจะต้องตระหนักอยู่เสมอว่าเมื่อสอนแล้ว ผู้เรียนจะได้รับความรู้เกิด การเรียนรู้มากน้อยเท่าใด และสามารถจดจำาความรู้ที่ได้รับนั้นได้นาน เพียงใด โดยที่ผู้เรียนอาจได้รับความรู้เพียงบางส่วนหรือไม่เข้าใจเลย ก็ได้ การวัดผลของการถ่ายทอดความรู้นั้นอาจทำาได้ยากเพราะบางครั้ง ผู้เรียนอาจจะไม่แสดงการตอบสนองออกมา และบางครั้งการตอบสนอง นั้นก็อาจจะวัดผลไม่ได้เช่นกัน ทฤษฏี SMCR ของเบอร์โ ล (Berio) เดวิด เค. เบอร์โล (David K.Berlo) (รูปที่ 3.2 ๗ ได้พัฒนาทฤษฎีที่ผู้ส่ง จะส่งสารอย่างไร และผู้รับจะรับ แปลคววามหมาย และมีการโต้ตอบกับ สารนั้นอย่างไร ทฤษฏี S M C R ประกอบด้วย • ผู้ส่ง (source) ต้องเป็นผู้ที่มีทักษะความชำานาญในการสื่อสารโดยมี ความสามารถใน “การเข้ารหัส” (encode) เนื้อหาข่าวสาร มีทัศนคติที่ดี ต่อผู้รับเพื่อผลในการสื่อสารมีความรู้อย่างดีเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารที่จะ ส่ง และควรจะมีความสามารถในการปรับระดับของข้อมูลนั้นให้เหมาะ สมและง่ายต่อระดับความรู้ของผู้รับ ตลอดจนพื้นฐานทางสังคมและ วัฒนธรรมที่สอดคล้องกับผู้รับด้วย • ข้อมูลข่าวสาร (message) เกี่ยวข้องด้านเนื้อหา สัญลักษณ์ และวิธีการ ส่งข่าวสาร • ช่องทางในการส่ง (channel) หมายถึง การที่จะส่งข่าวสารโดยการให้ ผู้รับได้รับข่าวสาร ข้อมูลโดยผ่านประสานทสัมผัสทั้ง 5 หรือเพียงส่วน ใดส่วนหนึ่ง คือ การได้ยิน การดู การสัมผัส การลิ้มรส หรือการได้กลิ่น • ผู้รับ (receiver) ต้องเป็นผู้มีทักษะความชำานาญในการสื่อสารโดยมี ความสามารถใน “การถอดรหัส” (decode) สาร เป็นผู้ที่มีทัศนคติ ระดับ
ความ และพื้นฐานทางสังคมวัฒนธรรม เช่นเดียวหรือคล้ายคลังกันกับผู้ ส่งจึงจะทำาให้การสื่อสารความหมายหรือการสื่อสารนั้นได้ผล ตามลักษณะของทฤษฏี S M C R นี้ มีปัจจัยที่มีความสำาคัญต่อขีดความ สามารถของผู้ส่งและรับที่จะทำาการสื่อสารความหมายนั้นได้ผลสำาเร็จ หรือไม่เพียงใด ได้แก่ • ทักษะในการสื่อสาร (communication skills) หมายถึง ทักษะซึ่งทั้งผู้ส่ง และผู้รับควรจะมีความชำานาญในการส่งและการรับการเพื่อให้เกิดความ เข้าใจกันได้อย่างถูกต้อง เช่น ผู้ส่งต้องมีความสามารถในการเข้ารหัส สาร มีการพูดโดยการใช้ภาษาพูดที่ถูกต้อง ใช้คำาพูดที่ชัดเจนฟังง่าย มี การแสดงสีหน้าหรือท่าทางที่เข้ากับการพูด ท่วงทำานองลีลาในการพูด เป็นจังหวะ น่าฟัง หรือการเขียนด้วยถ้อยคำาสำานวนที่ถูกต้องสละสลวย น่าอ่าน เหล่านี้เป็นต้น ส่วนผู้รับต้องมี
ความสามารถในการถอดรหัสและมีทักษะที่เหมือนกันกับผู้ส่งโดยมี ทักษะการฟังที่ดี ฟังภาษาที่ผู้ส่งพูดมารู้เรื่อง หรือสามารถอ่านข้อความที่ ส่งมานั้นได้ เป็นต้น • ทัศ นคติ (attitudes) เป็นทัศนคติของผู้ส่งและผู้รับซึ่งมีผลต่อการ สื่อสาร ถ้าผู้ส่งและผู้รับ มีทศ ั นคติที่ดีต่อกันจะทำาให้การสื่อสารได้ผลดี ทั้งนี้เพราะทัศนคติย่อมเกี่ยวโยงไปถึงการยอมรับซึ่งกันและกันระหว่างผู้ ส่งและผู้รับด้วย เช่น ถ้าผู้ฟังมีความนิยมชมชอมในตัวผู้พูดก็มักจะมี ความเห็นคล้อยตามไปได้ง่าย แต่ในทางตรงข้าม ถ้าผู้ฟังมีทัศนคติไม่ดี ต่อผู้พูดก็จะฟังแล้วไม่เห็นชอบด้วยและมีความเห็นขัดแย้งในสิ่งที่พูดมา นั้น หรือถ้าทั้งสองฝ่ายมีทัศนคติไม่ดีต่อกันท่วงทำานองหรือนำาเสียงใน การพูดก็อาจจะห้วนห้าวไม่น่าฟัง แต่ถ้ามีทัศนคติที่ดีต่อกันแล้วมักจะพูด กันด้วยความไพเราะอ่านหวานน่าฟัง เหล่านี้เป็นต้น • ระดับความรู้ (knowledge levels) ถ้าผู้ส่งและผู้รับมีระดับความรู้เท่า เทียมกันก็จะทำาให้การสื่อสารนั้นลุล่วงไปด้วยดี แต่ถ้าหากความรู้ของผู้ ส่งและผู้รับมีระดับที่แตกต่างกันย่อมจะต้องมีการปรับปรุงความยากง่าย ของข้อมูลที่จะส่งในเรื่องความยากง่ายของภาษาและถ้อยคำาสำานวนที่ ใช้ เช่น ไม่ใช่คำาศัพท์ทางวิชาการ ภาษาต่างประเทศ หรือถ้อยคำายาว ๆ สำานวนสลับซับซ้อน ทั้งนี้เพื่อให้สะดวกและง่ายต่อความเข้าใจ ตัวอย่าง เช่น การที่หมอรักษาคนไข้แล้วพูดแต่คำาศัพท์การแพทย์เกี่ยวกับโรค ต่าง ๆ ย่อมทำาให้คนไข้ไม่เข้าใจว่าตนเองเป็นโรคอะไรแน่หรือ พัฒนากรจากส่วนกลางออกไปพัฒนาหมู่บ้านต่าง ๆ ในชนบทเพื่อให้คำา แนะนำาทางด้านการเกษตรและเลี้ยงสัตว์แก่ชาวบ้าน ถ้าพูดแต่ศัพท์ทาง วิชาการโดยไม่อธิบายด้ายถ้อยคำาภาษาง่าย ๆ หรือไม่ใช้ภาษาท้องถิ่นก็ จะทำาให้ชาวบ้านไม่เข้าใจหรือเข้าใจผิดได้ หรือในกรณีของการใช้
ภาษามือของผู้พิการทางโสต ถ้าผู้รับไม่เคยได้เรียนภาษามือ มาก่อน ทำาให้ไม่เข้าใจและไม่สามารถสื่อสารกันได้ เหล่านี้เป็นต้น • ระบบสังคมและวัฒนธรรม (socio - culture systems) ระบบสังคมและ วัฒนธรรมในแต่ละชาติเป็นสิ่งที่มีส่วนกำาหนดพฤติกรรมของประชาชน ในประเทศนั้น ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องไปถึงขนบธรรมเนียมประเพณีที่ยึดถือ ปฏิบัติ สังคมและวัฒนธรรมในแต่ละชาติย่อมมีความแตกต่างกัน เช่น การให้ความเคารพต่อผู้อาวุโส หรือวัฒนธรรมการกินอยู่ ฯลฯ ดังนั้น ใน การติดต่อสื่อสารของบุคคลต่างชาติต่างภาษา จะต้องมีการศึกษาถึงกฎ ข้อบังคับทางศาสนาของแต่ละศาสนาด้วย การสื่อ สารทางเดีย วเชิง เส้น ตรงของแชนนัน และวีเ วอร์
คล็อด อี. แชนนัน (Claude E.Shannon) และวอร์เรนวีเวอร์ (Warren Weaver) ได้คิดทฤษฏีการสื่อสารทางเดียวเชิงเส้นตรง การสื่อสารเริ่ม ด้วยผู้ส่งซึ่งเป็นแหล่งข้อมูลทำาหน้าที่ส่งเนื้อหาข่าวสารเพื่อส่งไปยังผู้รับ โดยผ่านทางเครื่องส่งหรือตัวถ่ายทอดในลักษณะของสัญญาณที่ถูกส่ง ไปในช่องทางต่าง ๆ กันแล้วแต่ลักษณะของการส่งสัญญาณแต่ละ ประเภท เมื่อทางฝ่ายผู้ได้รับสัญญาณแล้ว สัญญาณที่ได้รับจะถูกปรับ ให้เหมาะสมกับเครื่องรับหรือการรับเพื่อทำาการแปลสัญญาณให้เป็น เนื้อหาข่าวสารนั้นอีกครั้งหนึ่งให้ตรงกับที่ผู้ส่งส่งมาก ในขึ้นนี้เนื้อหาที่ รับจะไปถึงจุดหมายปลายทางคือผู้รับตามที่ต้องการ แต่ในบางครั้ง สัญญาณที่ส่งไปอาจถูกรบกวนหรืออาจมีบางสิ่งบางอย่างมาขัดขวาง สัญญาณนั้น ทำาให้สญ ั ญาณที่ส่งไปกับสัญญาณที่ได้รับมีความแตกต่าง กันเป็นเหตุให้เนื้อหาข่าวสารที่ส่งจากแหล่งข้อมูลไปยังจุดหมายปลาย ทางอาจผิดเพี้ยนไปนับเป็นความล้มเหลวของการสื่อสารเนื่องจากที่ส่ง ไปกับข้อมูลที่ได้รับไม่ตรงกัน อันจะทำาให้เกิดการแปลความหมายผิด หรือความเข้าใจผิดในการสื่อสารกันได้ จากทฤษฏีการสื่อสารนี้พิจารณาได้ว่า แชนนันและวีเวอร์สนใจว่าเมื่อมี การสื่อสารกันจะมีอะไรเกิดขึ้นกับข้อมูลข่าวสารที่ส่งไปนั้น ไม่ว่าจะ เป็นการส่งโดยผ่านอุปกรณ์ระบบไฟฟ้า หรือการส่งโดยใช้สัญญาณต่าง ๆ เช่น เมื่อมีการเปิดเพลงออกอากาศทางสถานีวิทยุ เสียงเพลงนั้นจะถูก แปลงเป็นสัญญาณและส่งด้วยการกลำ้าสัญญาณ (modulation) จาก สถานีวิทยุไปยังเครื่องรับวิทยุ โดยเครื่องรับจะแปลงสัญญาณคลื่นนั้น เป็นเพลงให้ผู้รับได้ยิน ในขณะที่สัญญาณถูกส่งไปจะมีสิ่งต่าง ๆ “สิ่ง รบกวน” (noise source) เช่น ในการส่งวิทยุระบบ AM สัญญาณจะถูกรับ กวนโดยไฟฟ้าในบรรยากาศ หรือในขณะที่ครูฉายวิดีทัศน์ในห้องเรียน การรับภาพและเสียงของผู้เรียนถูกระกวนโดยสิ่งรบกวนหลายอย่าง
เช่น แสงที่ตกลงบนจอโทรทัศน์ และเสียงพูดคุยจากภายนอก เป็นต้น หรืออีกตัวอย่างหนึ่งเช่นการพูดโทรศัพท์ ผูท ้ ี่เริ่มต่อโทรศัพท์จะเป็นผู้ส่ง เพื่อส่งข่าวสารโดยอาศัยโทรศัพท์เป็นเครื่องส่ง เมื่อผู้ส่งพูดไปเครื่อง โทรศัพท์จะแปลงคำาพูดเป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งไปตามสายโทรศัพท์ เมื่อ สัญญาณไฟฟ้านั้นส่งไปยังเครื่องรับโทรทัศน์ของหมายเลขที่ตด ิ ต่อก็จะ มีเสียงดังขึ้น และเมื่อมีผู้รับ โทรศัพท์เครื่องนั้นก็จะแปลงสัญญาณไฟฟ้า ให้กลับเป็นคำาพูดส่งถึงผู้รับหรือผู้ฟังซึ่งเป็นจุดหมายปลายทางของการ สื่อสาร แต่ถ้าระหว่างที่ส่งสัญญาณไปมีสิ่งรบกวนสัญญาณ เช่น ฝนตก ฟ้าคะนอง ก็จะทำาให้สัญญาณที่ได้รับถูกรบกวนสั่นสะเทือนอาจรับไม่ได้ เต็มที่เป็นเหตุให้การฟังไม่ชัดเจน ดังนี้เป็นต้น จึงสรุปได้ว่า “สิ่งรบกวน” ค สิ่งที่ทำาให้สญ ั ญาณเสียไปภายหลังไปภายหลังที่ถูกส่งจากผู้ส่งและ ก่อนที่จะถึงผู้รับทำาให้สัญญาณที่ส่งไปกับสัญญาณที่ได้รับมีลักษณะ แตกต่างกัน และอาจกล่าวได้ว่าเป็นอุปสรรคของการสื่อสารเนื่องจาก ทำาให้การสื่อสารไม่ได้ผลเต็มที่ถูกต้องตามที่ควรจะเป็น การสื่อ สารเชิง วงกลมของออสกูด และชแรมม์
ตามปกติแล้วในการสื่อสารระหว่างบุคคลและแบบกลุ่มบุคคลนั้น ผู้ส่ง และผู้รับจะมีการเปลี่ยนบทบาทกันไปมาในลักษณะการสื่อสารสองทาง โดยเมื่อผู้ส่งได้ส่งข้อมูลข่าวสารไปแล้ว ทางฝ่ายผู้รับทำาการแปลความ หมายข้อมูลที่รับมา และจะเปลี่ยนบทบาทจากผู้รับกลับเป็นผู้ส่งเดิมเพื่อ ตอบสนองต่อ สิ่งที่รับมา ในขณะเดียวกันผู้ส่งเดิมจะเปลี่ยนบทบาทเป็น ผู้รับเพื่อรับข้อมูลที่ส่งกลับมาและทำาการแปลความหมายสิ่งนั้น ถ้ามี ข้อมูลที่จะต้องส่งตอบกลับไปก็จะเปลี่ยนบทบาทเป็นผู้ส่งอีกครั้งหนึ่งเพื่อ ส่ง ข้อมูลกลับไปยังผู้รับเดิมการสื่อสารในลักษณะที่ทั้งผู้ส่งและผู้รับจะ วนเวียนเปลี่ยนบทบาทกันไปมาในลักษณะเชิงวงกลมด้วยลักษณะดัง กล่าวทำาให้ชารลส์ อี. ออสกูด (Charles E. Osgood) และ วิลเบอร์ แอล. ชแรมม์ (Wibur L. Schramm) ได้สร้างแบบจำาลองการสื่อสารเชิงวงกลม ขึ้น โดยเน้นถึงไม่เพียงแต่องค์ประกอบของการสื่อสารเท่านั้น แต่รวมถึง พฤติกรรมของทั้งผู้ส่งและผู้รับด้วยโดยที่แบบจำาลองการสื่อสารเชิง วงกลมนี้จะมีลักษณะของการสื่อสารสองทางซึ่งตรงกันข้างอย่างเห็นได้ ขัดกับการสื่อสารทางเดียวเชิงเส้นตรงของแชนนันและวีเวอร์ ข้อแตก ต่างอีกประการคือในขณะที่ความสนใจของแชนนันและวีวเรอ์อยู่ที่ช่อง ทางการติดต่อระหว่างผู้ส่งและผู้รับ แต่ออสกูดและชแรมม์ได้มุ่ง พิจารณาและเฉพาะพฤติกรรมของผู้ส่งและผู้รับซึ่งเป็นผู้ที่มีส่วนสำาคัญ ในกระบวนการสื่อสาร ในแบบจำาลองนี้จะเห็นได้ว่าออสกูดและชแรมม์มิได้กล่าวถึงตัวถ่ายทอด การสื่อสารเลยแต่ได้เน้นถึงการกระทำาของผู้ส่งและผู้รับซึ่งทำาให้ทอ ี่ ย่าง เดียวกันและเปลี่ยนบทบาทกันไปมาในการเข้า รหัสสาร การแปลความ หมาย และการถอดรหัสสาร อย่างไรก็ตามอาจกล่าวได้ว่าหน้าที่ในการ เข้า รหัสนั้น มีส่วนคล้ายคลึงกับตัวถ่ายทอด และการถอดรหัสก็ คล้ายคลึงกับการับของเครื่องรับนั่นเอง
ขอบข่า ยประสบการณ์ใ นทฤษฏีก ารสื่อ สารของชแรมม์ ชแรมม์ได้นำาทฤษฏีการสื่อสารทางเดียวเชิงเส้นตรงของเชนนันและวี เวอร์มาใช้เพื่อเป็นแนวทางในการอธิบายการสื่อสารที่เกิดขึ้นในการ เรียนการสอน โดยเน้นถึงวัตถุประสงค์ของการสอน ความหมายของ เนื้อหาข้อมูล และการที่ข้อมูลได้รับการแปลความหมายอย่างไร นอกจา กนี้ชแรมม์ยังให้ความสำาคัญของการสื่อความหมาย การรับรู้ และการ แปลความหมายของสัญลักษณ์ว่าเป็นหัวใจสำาคัญของการเรียนการสอน ตามลักษณะการสื่อสารของชแรรมม์นี้ การสื่อสารจะเกิดขึ้นได้อย่างดีมี ประสิทธิภาพเฉพาะในส่วนที่ผู้ส่งและผู้รับทั้งสองฝ่ายต่างมีวัฒนธรรม ประเพณีความเชื่อ ความรู้ ฯลฯ ทีสอดคล้องกล้ายคลึงและมีประสงการณ์ ร่วมกัน จึงจะทำาให้สามารถเข้าใจความหมายที่สื่อกันนั้นได้ ทั้งนี้เพราะ ผู้ส่งสามารถเข้ารหัสและผู้รับสามารถถอดรหัสเนื้อหาข่าวสารในขอบ ข่าวประสบการณ์ที่แต่ละคนมีอยู่ เช่น ถ้าไม่เคยเรียน
ภาษารัสเซีย เราคงไม่สามารถพูดหรือแปลความหมายของภาษารัสเซีย ได้ ดังนี้เป็นต้น ถ้าส่วนของประสบการณ์ของทั้งผู้ส่งและผู้รับซ้อนกัน เป็นวงกว้างมากเท่าใด จะทำาให้การสื่อสารนั้นเป็นไปได้โดยสะดวกและ ง่ายมากยิ่งขึ้นเพราะต่างฝ่ายจะเข้าใจสิ่งที่กล่าวถึงนั้นได้เป็นอย่างดี แต่ เมื่อใดที่วงของขอบข่ายประสบการณ์ซ้อนกันน้อยมากหรือไม่ซ้อนกัน เลย แสดงว่าทั้งผู้ส่งและผู้รับแทบจะไม่มีประสบการณ์ร่วมกันเลย การ สื่อสารนั้นจะทำาได้ยากลำาบากหรือแทบจะสื่อสารกันไม่ได้อย่างสิ้นเชิง ซึ่งสามารถทราบได้จากผลป้อนกลับที่ผู้ส่งกลับไปยังผู้ส่งนั้นเอง จากทฤษฏีการสื่อสารของชแรมม์เนื่องจากในการสื่อสารเราไม่สามารถ ส่ง “ความหมาย” (meaning) ของข้อมูลไปยังผู้รับได้ สิ่งที่ส่งไปจะเป็น เพียง “สัญลักษณ์” (symbol) ของความหมายนั้น เช่น คำาพูด รูปภาพ เสียงเพลง ท่าทาง ฯลฯ ดังนั้น เมื่อมีการสื่อสารเกิดขึ้น ผู้ส่งต้องพยายาม เข้ารหัสสารซึ่งเป็นสัญลักษณ์เพื่อให้ผู้รับเข้าใจได้โดยง่าย ซึ่งสารแต่ละ สารจะประกอบด้วยสัญลักษณ์ต่าง ๆ มากมาย โดยที่สัญลักษณ์แต่ละตัว จะบ่งบอกถึง “สัญญาณ” (signal) ของบางสิ่งบางอย่างซึ่งจะทราบได้ โดยประสบการณ์ของคนเรา เช่น เมื่อยกมือขึ้นเป็นสัญญาณของการ ห้อมหรือเมื่อตะโกนเสียงดังเป็นสัญญาณของความโกรธ ฯลฯ ดังนั้น ผู้ ส่งจึงต้องส่งสัญญาณเป็นคำาพูด ภาษาเขียน ภาษามือ ฯลฯ เพื่อถ่ายทอด ความหมายของสารที่ต้องการจะส่ง โดยพยายามเชื่อมโยงเนื้อหาสาร เข้ากับประสบการณ์ที่สอดคล้องกันทั้งสองฝ่าย เพื่อให้ผู้รับสามารถแปล และเข้าใจความหมายของสัญลักษณ์เหล่านั้นได้โดยง่ายในขอบข่าย ประสบการณ์ของตน ตัวอย่างเช่น ถ้าผู้ส่งต้องการส่งสารคำาว่า “ดิจิทัล” ให้ผู้รับที่ยังไม่เคยรู้จักคำานี้มาก่อน ผู้ส่งต้องพยายามใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการอธิบายด้วยคำาพูด ภาพกราฟิกอุปกร์ระดับดิจิทัล เช่น กล้องถ่ายภาพ หรือลัญลักษณ์อื่นใดก็ตามเพื่อให้ผู้รับสามารถเข้าใจ
และมีประสบการณ์ร่วมกับผู้ส่งได้มากทีสุดเพื่อเข้าใจความหมายของ “ดิจิทัล” ตามที่ผู้ส่งต้องการ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเรียนการสอนเป็นการที่ผู้สอนต้องให้ความรู้ และขยายขายข่ายประสบการณ์ของผู้เรียนให้กว้างขวางยิ่งขึ้น หากมี สงใดทีผ ่ ู้เรียนยังไม่มีประสบการณ์หรือยังไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นอย่าง เพียงพอ ผู้สอนจำาเป็นต้องพยายามเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ใน เรื่องนั้น ๆ ให้แก่ผู้เรียนโดยการอภิปราลยร่วมกัน ให้ผู้เรียนตอบคำาถาม หรือทำาการบ้านเพิ่มเติมย่อมจะเป็นการทราบข้อมูลป้อนกลับว่าผู้เรียน เกิดเการเรียนรู้และได้รับประสบการณ์ในเรื่องที่เรียนนั้นอย่างเพียงพอ หรือยังและถูกต้องหรือไม่ ถ้าผู้เรียนยับไม่สามารถเข้าใจหรือยังไม่เกิด การเรียนรู้ที่ถูกต้องขึ้น แสดงว่าเกิด “สิ่งรบกวน” ของสัญญาณในการ สอนนั้น ผู้สอนต้องพยายามแก้ไขวิธีการสอนโดยอาจใช้สื่อประเภทต่าง ๆ เข้าช่วย หรือการอภิปลายยกตัวอย่างให้ง่ายขึ้น รวมถึงการใช้ สัญลักษณ์อื่น ๆ ที่เหมาะกับระดับของผู้เรียนมาช่วยการสอนนั้นจนกว่า ผู้เรียนจะมีประสบการณ์ร่วมกับผู้สอนและเกิดการเรียนรู้ที่ ถูกต้องใน ที่สุด จากทฤษฏีการสื่อสารที่กล่าวมาแล้วอาจสรุปได้ว่า ในการสื่อสารนั้นการ ที่ผู้ส่งและผู้รับจะสามารถเข้าใจกันได้ดีเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับทักษะ ทัศนคติ ความรู้ ระบบสังคมและวัฒนธรรมของทั้งสองฝ่าย ถ้าทั้งผู้ส่ง และผู้รับมีสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้สอดคล้องกันมากจะทำาให้การสื่อสารนั้นได้ ผลดียิ่งขึ้น เพาะต่างฝ่ายจะมีความเข้าใจซึ่งกันและกัน และสามารถขจัด อุปสรรค์ในการสื่อสารระหว่างผู้ส่งและ ผู้รับออกไปได้ 1. ความหมาย
การสื่ อสารโทรคมนาคม (Telecommunication) หมายถึง การติดต่อสื่ อสารด้วยการรับส่ งข้อมูล ข่าวสารระหว่างตัวประมวลผล โดยผ่านสื่ อกลางที่เชื่อมต้นทางและปลายทางที่ห่างกัน โดยใช้อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์หลายรู ปแบบ ตามกฎเกณฑ์ หรื อระเบียบวิธีการที่กาำ หนดขึ้นในแต่ละอุปกรณ์ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึง การเชื่อมต่อเครื่ องคอมพิวเตอร์ ต้ งั แต่สอง เครื่ องขึ้นไป เพื่อขยายขีดความสามารถที่มีจาำ กัด ทำาให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูล หรื อแบ่งปั นทรัพยากรให้มี การใช้งานร่ วมกัน โปรโตคอล (Protocol) หมายถึง ระเบียบวิธีการ มาตรฐาน หรื อกฎเกณฑ์ในการติดต่อสื่ อสาร ระหว่าง กันของเครื่ องมืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ หรื อ วิธีที่ถูกกำาหนดขึ้นเพื่อการสื่ อสารข้อมูล ซึ่งผูส้ ่ งข้อมูลจะ ต้องส่ งข้อมูลในรู ปแบบตามวิธีการสื่ อสารที่ตกลงไว้กบั ผูร้ ับข้อมูล จึงจะสามารถสื่ อสารข้อมูลกันได้ อินเทอร์ เน็ต (Internet) หมายถึง การเชื่อมโยงเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เข้าด้วยกัน ตามโครงการของอาร์ ป้ าเน็ต (ARPAnet = Advanced Research Projects Agency Network) เป็ น หน่วยงานสังกัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ถูก ก่อตั้งเมื่อประมาณ ปี ค.ศ.1960(พ.ศ.2503) และได้ถูกพัฒนาเรื่ อยมา 2. ชนิดของสัญญาญข้อมูล (Signal Types) สัญญาณอนาลอก (Analog Signal) อยูใ่ นรู ปของคลื่นที่มีความต่อเนื่อง สัญญาณดิจิทอล (Digital Signal) หรื อสัญญาณพัลซ์ (Pulse Signal) มีระดับสัญญาณเพียง 2 ระดับ คือสู งกับต่าำ 3. องค์ประกอบของการสื่ อสาร ผูส้ ่ งข้อมูล (Sender) ผูร้ ับข้อมูล (Receiver) ข้อมูล (Data) สื่ อนำาข้อมูล (Medium) โปรโตคอล (Protocol) 4. ประเภทของเครื อข่าย PAN (Personal Area Network) LAN (Local Area Network) MAN (Metropolitan Area Network) WAN (Wide Area Network) 5. รู ปแบบเครื อข่าย (Topology) แบบดาว (Star Topology) แบบบัส (Bus Topology) แบบวงแหวน (Ring Topology)
แบบตาข่าย (Mesh Topology) แบบไร้สาย (Wireless Topology) 6. อุปกรณ์เครื อข่าย (Network Equipment) ฮับ (Hub) สวิตต์ (Switch) อุปกรณ์ทวนสัญญาณ (Repeater) บริ ดจ์ (Bridge) เราเตอร์ (Router) 7. ประเภทของสื่ อกลาง (Media Types) แบบใช้สาย ได้แก่ แบบสายเกลียวคู่ (Twisted-pair wires) และ แบบสายเคเบิลร่ วมแกน (Coaxial cable) และแบบสายเคเบิลใยแก้ว (Fiber optic) แบบไร้สาย ได้แก่ คลื่นไมโครเวฟ (Microwave) คลื่นวิทยุ (Radio Wave) และแสงอินฟราเรด (Infrared) 8. แบบของการส่ งข้อมูล (Data Transfer Types) สัญญาณไม่สมั พันธ์กนั หรื อ สัญญาณแบบไม่ประสานจังหวะ (Asynchronously) อักขระแต่ละตัว ถูกส่ งเพียงแค่ 1 ครั้ง โดยมีบิตเริ่ มต้น (Start bit) และบิตสิ้ นสุ ด (Stop bit) สัญญาณสัมพันธ์กนั หรื อ สัญญาณแบบประสานจังหวะ (Synchronously) ส่ งข้อมูลเป็ นบล๊อก ำ อน (Redundancy check) แต่ตรวจด้วย ข้อมูลเป็ นชนิดที่เกิดขึ้นทันที มีการตรวจสอบความซ้าซ้ การเพิ่ม bit ต่อท้าย มีไว้เพื่อตรวจความถูกต้อง เรี ยกว่า parity check เป็ นการตรวจว่าผลรวมข้อมูล เป็ นเลขคู่ หรื อคี่ 9. เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) เครื อข่ายคอมพิวเตอร์แบบรวมศูนย์ (Centralized Computer Network) เครื อข่ายคอมพิวเตอร์แบบกระจายศูนย์ (Decentralized Computer Network) 10. ความเป็ นส่วนตัวของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์ เน็ต (Internet) คือ เครื อข่ายสาธารณะ อินทราเน็ต (Intranet) คือ เครื อข่ายในองค์กร เอ็กทราเน็ต (Extranet) คือ เครื อข่ายระหว่างองค์กร 11. ทิศทางการส่ งข้อมูล (Direction of Data Sending) การส่ งข้อมูลแบบทิศทางเดียว (Simplex Transmission) การส่ งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน (Half-Duplex Transmission) การส่ งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน (Full-Duplex Transmission) 12. โมเด็ม (Modem)
มอดูเลเตอร์ (Modulator) แปลงดิจิทอลเป็ นอนาล็อกในการส่ งสัญญาณระยะไกล ดีมอดูเลเตอร์ (Demodulator) แปลงจากอนาล็อกกลับมาเป็ นดิจิทอล 13. ช่องทางการติดต่อสื่ อสาร แบบมีสาย (Physical Wire) สายทวิสเตดแพร์ (Twisted-pair wire) สายโคแอคเชียล (Coaxial Cable) สายใยแก้วนำา แสง (Fiber Optic Cable) แบบไร้สาย (Wireless) ดาวเทียม (Sattellite) อินฟราเรด (Infrared) คลื่นวิทยุ (Radio) และเซลลูลาร์ (Cellular) 14. โปรโตคอล (Protocol) TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol) HTTP (Hyper Text Transfer Protocol) FTP (File Transfer Protocol) SMTP (Simple Mail Transport Protocol) POP3 (Post Office Protocol 3) 15. โมเดลการเชื่อมต่อ (OSI = Open System Interconnection Model) Physical Layer Data Link Layer Network Layer Transport Layer Session Layer Presentation Layer Application Layer http://www.thaiall.com/mis/mis08.htm
การติดต่อสื่ อสารเป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นควบคู่มากับมนุษย์ เนื่องจากมนุษย์ตอ้ งอยูร่ วมกันเป็ นกลุ่มเป็ นก้อน โดย มนุษย์ใช้ภาษาเป็ นสื่ อในการส่ งข้อมูล แลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่ งกันและกัน โดยมีอากาศเป็ นตัวกลาง ซึ่ งในภาษา ที่มนุษย์ใช้สื่อสารกันนั้น จะต้องมีขอ้ ตกลงกันว่าแต่ละสัญลักษณ์ หรื อคำาพูด แทนหรื อหมายถึงสิ ่ งใด มนุษย์ ได้คิดค้นวิธีการและเครื่ องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่ อสารกันมาตั้งแต่สมัยโบราณแล้ว ยกตัวอย่างเช่น การใช้ สัญญาณควันไฟของชาวอินเดียแดง หรื อการใช้มา้ เร็ วในการส่ งสาส์น จนกระทัง่ พัฒนามาเป็ นการใช้ โทรเลข วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ และอินเทอร์ เน็ต ความหมายของการสื่ อสารข้อมูล เกิดจากคำาสองคำา คือ การสื่ อสาร (Communication) ซึ่ ง หมายถึง การส่ งเนื้ อหาจากฝ่ ายหนึ่งไปยังอีกฝ่ ายหนึ่ง และคำาว่าข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริ งหรื อสิ่ ง ที่ถือหรื อยอมรับว่าเป็ นข้อเท็จจริ งสำาหรับใช้เป็ นหลักอนุมานหาความจริ งหรื อการคำานวณ [17] ซึ่ งในที่น้ ี เราจะหมายถึงข้อมูลที่เกิดขึ้นจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในรู ปตัวเลข 0 หรื อ 1 ต่อเนื่องกันไป ซึ่ งเป็ นค่าที่ เครื่ องคอมพิวเตอร์เข้าใจ นัน่ คือ การสื่ อสารข้อมูล หมายถึง การส่ งเนื้ อหาที่อยูใ่ นรู ปตัวเลขฐานสองที่เกิด
จากอุปกรณ์หรื อเครื่ องคอมพิวเตอร์ต้ งั แต่ 2 เครื่ องขึ้นไป โดยมีจุดประสงค์เพื่อต้องการติดต่อ แลกเปลี่ยน ข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนแบ่งปันการใช้ทรัพยากรที่มีอยูใ่ ห้เกิดประโยชน์สูงสุ ด http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/computer/network/net_datacom1.htm
สื่ อการเรี ยนการสอน โดย พิมพ์พร แก้วเครื อ - 08 ต.ค. 2544 ความหมายของสื่ อการเรี ยนการสอน สื่ อการเรี ยนการสอนเป็ นตัวกลางซึ่งมีความสำาคัญในกระบวนการเรี ยนการสอนมีหน้าที่เป็ นตัวนำา ความต้องการของครู ไปสู่ตวั นักเรี ยนอย่างถูกต้องและรวดเร็ ว เป็ นผลให้นกั เรี ยนเปลี่ยน,แปลงพฤติกรรมไป ตามจุดมุ่งหมายการเรี ยนการสอนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สื่ อการสอนได้นาำ ไปใช้ในการเรี ยนการสอน ตลอด และยังได้รับการพัฒนาไปตาการเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ซึ่งก้าวหน้าไปไม่หยุด ยั้ง นักการศึกษาเรี ยกชื่อการสอนด้วยชื่อต่าง ๆ เช่น อุปกรณ์การสอน โสตทัศนูปกรณ์ เทคโนโลยีการศึกษา สื่ อการเรี ยนการสอน สื่ อการศึกษาเป็ นต้น สื่ อการเรี ยนการสอนมีประโยชน์สาำ หรับครู ผสู ้ อนอย่างไร สื่ อการเรี ยนการสอนสามรถช่วยการเรี ยนการสอนของครู ได้ดีมากซึ่งเราจะเห็นว่าครู น้ ันสามารถจัด ประสบการณ์การเรี ยนรู้ให้กบั นักเรี ยนได้มากทีเดียว แถมยังช่วยให้ครู มีความรู ้มากขึ้ นในการจัดแหล่ง วิทยาการที่เป็ นเนื้ อหาเหมาะสมแก่การเรี ยนรู ้ตามจุดมุ่งหมายในการสอนช่วยครู ในด้านการคุมพฤติกรรม การเรี ยนรู ้และสามารถสนับสนุนการเรี ยนรู้ของนักเรี ยนได้มากทีเดียว สื่ อการสอนจะช่วยส่ งเสริ มให้ นักเรี ยนได้ทาำ กิจกรรมหลายๆรู ปแบบ เช่น การใช้ศนู ย์การเรี ยน การใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน การสาธิ ต การ แสดงนาฏการ เป็ นต้น ช่วยให้ครู ผสู้ อนได้สอนตรงตามจุดมุ่งหมายการเรี ยนการสอน และยังช่วยในการ ขยายเนื้อหาที่เรี ยนทำาให้การสอนง่ายขึ้น และยังจะช่วยประหยัดเวลาในการสอน นักเรี ยนจะได้มีเวลาในการ ทำากิจกรรมการเรี ยนมากขึ้นจากข้อมูลเราจะได้เห็นถึงประโยชน์ของสื่ อการเรี ยนการสอน ซึ่งทำาให้เรามอง เห็นถึงความสำาคัญของสื่ อสารมีประโยชน์และมีความจำาเป็ นสามารถช่วยพัฒนาการเรี ยนการสอนได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ ประเภทของสื่ อการเรี ยนการสอน 1.สื่ อประเภทวัสดุ ได้แก่ สื่ อเล็ก ซึ่งทำาหน้าที่เก็บความรู ้ในลักษณะของภาพเสี ยง และ อักษรในรู ป แบบต่าง ๆ ที่ผเู้ รี ยนสามารถใช้เป็ นแหล่งหาประสบการณ์ หรื อศึกษาได้อย่างแท้จริ งและกว้างขวาง แบ่งออก เป็ น 2 ลักษณะ คือ 1.1 วัสดุที่เสนอความรู้ได้จากตัวมันเอง ได้แก่หนังสื อเรี ยนหรื อตำาราของจริ งหุ่ นจำาลอง รู ปภาพ แผนภูมิ แผนที่ ป้ ายนิเทศ เป็ นต้น 1.2 วัสดุที่ตอ้ งอาศัยสื่ อประเภทเครื่ องกลไก เป็ นตัวนำาเสนอความรู ้ได้แก่ฟิล์มภาพยนตร์ แผ่นสไลด์ ฟิ ล์มสตริ ป เส้นเทปบันทึกเทป รายการวิทยุ รายการโทรทัศน์ รายการที่ใช้เครื่ องช่วยสอน เป็ นต้น
2. สื่ อประเภทเครื่ องมือ หรื อโสตทัศนูปกรณ์ ได้แก่ สื่ อใหญ่ ที่เป็ ฯตัวกลางหรื อทางผ่านของความรู ้ ที่ถ่ายทอดไปยังครู และนักเรี ยน สื่ อประเภทนี้ ตวั มันเองแทบไม่มีประโยชน์ต่อการสื่ อความหมายเลยถ้าไม่มี ใครรู ้ในรู ปแบบต่าง ๆ มาป้ อนผ่านเครื่ องกลไกลเหล่านี้ สื่ อประเภทนี้จึงจำาเป็ นต้องอาศัยสื่ อประเภทวัสดุ บางชนิดเป็ นแหล่งความรู้ให้มนั ส่งผ่าน ซึ่งจะทำาให้ความรู ้ที่ส่งผ่านมีการเคลื่อนไหวไปสู่นกั เรี ยนจำานวน มาก ได้ไกลๆ และรวดเร็ว และบางทีกท็ าำ หน้าที่เหมือนครู เสี ยเอง เช่น เครื่ องช่วยสอน ได้แก่เครื่ องฉายภาพยนตร์ เครื่ องเล่นแผ่นเสี ยง เครื่ องบันทึกเสี ยง เครื่ องรับวิทยุ เครื่ องฉายภาพนิ่งทั้งหลาย 3.สื่ อประเภทเทคนิคหรื อวิธีการ ตัวกลางในกระบวนการเรี ยนการสอนไม่จาำ เป็ นต้องใช้แต่วสั ดุหรื อ เครื่ องมือเท่านั้น บางครั้งจะต้องใช้เทคนิคและกลวิธีต่าง ๆ ควบคู่กนั ไป โดยเน้นที่เทคนิคและวิธีการเป็ น สำาคัญ คุณค่าของสื่ อการเรี ยนการสอน้ 1.สื่ อการเรี ยนการสอนสามารถเอาชนะข้อจำากัดเรื่ องความแตกต่างกันของประสบการณ์ด้ ังเดิมของผู ้ เรี ยน คือเมื่อใช้สื่อการเรี ยนการสอนแล้วจะช่วยให้เด็กซึ่ งมีประสบการณ์เดิมต่างกันเข้าใจได้ใกล้เคียงกัน 2.ขจัดปัญหาเกียวกับเรื่ องสถานที่ ประสบการณ์ตรงบางอย่าง หรื อการเรี ยนรู ้ 3.ทำาให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงจากสิ่ งแวดล้อมและสังคม 4.สื่ อการเรี ยนการสอนทำาให้เด็กมีความคิดรวบยอดเป็ นอย่างเดียวกัน 5.ทำาให้เด็กมีมโนภาพเริ่ มแรกอย่างถูกต้องและสมบูรณ์ 6.ทำาให้เด็กมีความสนใจและต้องการเรี ยนในเรื่ องต่าง ๆ มากขึ้ น เช่นการอ่าน ความคิดริ เริ่ ม สร้างสรรค์ ทัศนคติ การแก้ปัญหา ฯลฯ 7.เป็ นการสร้างแรงจูงใจและเร้าความสนใจ 8.ช่วยให้ผเู้ รี ยนได้มีประสบการณ์จากรู ปธรรมสู่นามธรรม ระบบสื่ อการศึกษา นับตั้งแต่มนุษย์ได้รู้จกั นำาเอาสื่ อ (media) มาใช้ในการสื่ อความหมายก็ได้มีการพัฒนาเรื่ อยมา จาก สื่ อที่ใช้สญ ั ลักษณ์ รู ป มาจนถึงสื่ อในรู ปแบบต่าง ๆ ที่ใช้อยูใ่ นปัจจุบนั นี้ โดยธรรมชาติแล้วสื่ อแต่ละประเภท จะมีคุณค่าอยูใ่ นตัวของมันเอง เพียงแต่วา่ ผูผ้ ลิตและผูใ้ ช้จะสามารถดึงเอาคุณค่านั้นมาใช้ได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพเพียงใด สื่ อใดก็ตามถ้าได้มีการวางแผนดำาเนินการผลิตการใช้ อย่างมีระบบ ย่อมเกิดประโยชน์ ทางการศึกษา ตามจุดมุงหมายที่วางไว้ วิธีการระบบสามารถนำามาใช้กบั กระบวนการสื่ อได้ทุกกระบวนการ เช่น การเลือก การผลิต การใช้เป็ นต้น ในการเลือกสื่ อด้วยวิธีระบบนั้น กูดแมน ได้เสนอวิธีการเลือกไว้ตามลำาดับดังนี้ 1.พิจารณาดูวา่ ในจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมได้กาำ หนดให้ผเู ้ รี ยนแสดงพฤติกรรมโดยการดู การฟัง หรื อการกระทำา
2.พิจารณาดูคุณลักษณะของผูเ้ รี ยน (อายุ ระดับชั้น ระดับสติปัญญา พัฒนาการทางการอ่านลักษณะ ทางร่ างกาย พื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรม เป็ นต้น ) จะบ่งบอกได้วา่ สามารถใช้สื่อกับเด็กคนนั้นหรื อ กลุ่มนั้นได้บา้ ง 3.พิจารณาดูวา่ มีสื่ออะไรบ้าง ที่จะสามารถนำามาใช้เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายที่กาำ หนดไว้ และใช้กบั กลุ่มผูเ้ รี ยนที่มีลกั ษณะตามที่ตอ้ งการดังกล่าวแล้วจะเกิดประโยชน์สูงสุ ด 4.พิจารณาวิธีการนำาเสนอที่จะใช้ได้อย่างเหมาะสม และในการนำาเสนอนั้นมีสื่ออะไรบ้าง จะต้องเตรี ยมเครื่ องมือประเภทใดในการนำาเสนอครั้งนั้น 5.นำาเสนอเครื่ องมือ โดยการสำารวจดูวา่ เครื่ องมือเทคโนโลยีทางการศึกษาที่คาดว่าจะเป็ นประโยชน์ สำาหรับการเรี ยนครั้งนี้ที่มีอยูใ่ นสถานศึกษาหรื อไม่ ถ้าไม่มีจะซื้ อหรื อหามาด้วยวิธีใด 6.การวิเคราะห์สื่อและสำารวจสื่ อที่ตอ้ งการ โดยการวิเคราะห์สื่อในสถานศึกษาว่ามีอะไรบ้างที่เหมาะ สมสำาหรับการเรี ยนการสอนเนื้ อหานั้น ๆ ให้บรรลุจุดมุ่งหมายที่ได้ 7.วิเคราะห์ขีดความสามารถของหน่วยงานผลิตสื่ อที่ไม่ให้บริ การหรื อไม่มีขายได้หรื อไม่ ถ้าผลิตเอง ได้ตอ้ งวิเคราะห์ต่อไปอีกว่ามีงบประมาณที่จะใช้ในการผลิตหรื อไม่และได้มาจากไหน 8.พิจารณาดูวา่ สื่ อต่าง ๆ ที่จะนำามาใช้กบั วิธีการนำาเสนอนั้น ๆ มีความเหมาะสมทั้งในแง่คุณภาพและ ราคาเพียงใดแล้วนำามาจัดลำาดับความสำาคัญสำาหรับการเลือก 9.เลือกวิธีการและสื่ อที่มีประสิ ทธิภาพสู ง โดยเลือกตัวเลือกที่มีคุณภาพ และราคาเหมาะสม 10.เลือกสื่ อหรื อผลิตสื่ อที่ตอ้ งการ ในขั้นนี้ ผูใ้ ช้จะได้สื่อที่ตอ้ งการ แต่ถา้ สื่ อนั้นไม่มีจะนำาไปผลิต ต้วยวิธีการระบบ จะเห็นได้วา่ ในกระบวนการใช้วิธีการระบบในการเลือกสื่ อ จะมีข้ นั ตอนที่ผกู พันกับการผลิตสื่ ออยูด่ ว้ ย การเลือกและจัดหาสื่ อการเรี ยนการสอน ในการเลือกสื่ อการเรี ยนการสอนเพื่อให้เกิดประสิ ทธิ ภาพต่อการเรี ยนการสอนนั้น ผูส้ อนจำาเป็ น ต้องคำานึงถึงองค์ประกอบในการเลือกสื่ อได้แก่ จุดมุงหมายของการสอน รู ปแบบและระบบของการเรี ยน การสอนลักษณะของผูเ้ รี ยน เกณฑ์เฉพาะของสื่ อ วัสดุอุปกรณ์และตลอดจนสิ่ งอำานวยความสดวกที่มีอยู่ นอกจากนี้ยงั ต้องคำานึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเภทของสื่ อกับคุณสมบัติเฉพาะและจุดประสงค์ของการ เรี ยนการสอน <ย่อหน่า>การกำาหนกขั้นตอนในการเลือกสื่ อการเรี ยการสอนได้กาำ หนดขั้นตอนในการเลือกไว้ 6 ขั้น สิ่ ง ที่ตอ้ งนำามาพิจารณาสื่ อได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนกับการเลือกสื่ อการเรี ยนการสอน http://sps.lpru.ac.th/script/show_article.pl?mag_id=5&group_id=23&article_id=194
ความสำาคัญของทฤษฎีการสื่ อสาร ทฤษฎีการสื่ อสารโดยรวมจัดว่าเป็ นแก่นหรื อองค์ความรู ้ในทางนิเทศศาสตร์ ที่ใช้เป็ นหลักในการศึกษาวิจยั และการปฏิบตั ิงานทางด้านนิเทศศาสตร์โดยทางตรง หรื อโดยทางอ้อม... โดยทางตรง อาทิ การสื่ อสาร มวลชน การโฆษณา การประชาสัมพันธ์... โดยทางอ้อม อาทิ การสื่ อสารภายในบุคคล (จิตวิทยา) การ
สื่ อสารระหว่างบุคคล (จิตวิทยาและสังคมวิทยา) การสื่ อสารภายในองค์กร (การบริ หารองค์กร) การ สื่ อสารของประเทศ (รัฐศาสตร์ ) เราอาจแยกแยะให้เห็นความสำาคัญของทฤษฎีการสื่ อสารแนวต่าง ๆ ได้ดงั นี้ ทฤษฎีแนวปฏิบตั ิ (Operational theory) ใช้เป็ นหลักในการบริ หารและปฏิบตั ิงานสื่ อสารทุกประเภทในสาขานิเทศศาสตร์ และสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง สามารถนำามาสร้างเป็ นกลยุทธ์ เพื่อการเพิ่มประสิ ทธิ ผลและประสิ ทธิ ภาพของการสื่ อสารมวลชน การ สื่ อสารพัฒนาการ การสื่ อสารการเมืองหรื อการสื่ อสารธุรกิจ ทฤษฎีการสื่ อสารแนวปฏิบตั ิสามารถนำามาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งในด้านการศึกษา การพัฒนา อารมณ์ และจิตใจ รวมทั้งการพัฒนาพฤติกรรม อาทิ การใช้สื่อเพื่อการเรี ยนรู ้ ความเพลิดเพลิน ความบันเทิง หรื อจิตบำาบัด นอกจากนั้นยังจะเป็ นประโยชน์ต่อการสื่ อสาร เพื่อการพัฒนาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่ งแวดล้อม วิชาต่าง ๆ ในหลักสูตรปริ ญญาตรี สาขานิเทศศาสตร์ จัดว่าเป็ นการรวมทฤษฎีแนวปฏิบตั ิไว้ เพื่อสะดวกแก่ การศึกษาทั้งในเชิงองค์รวมและเชิงแยกส่วน... เชิงองค์รวมอยูใ่ นวิชาแกนบังคับร่ วมเชิงแยกส่ วนอยูใ่ นวิชา เอกบังคับสาขาต่าง ๆ อาทิ สื่ อสิ่ งพิมพ์ วิทยุกระจายเสี ยง โทรทัศน์ ภาพยนตร์ การโฆษณา การ ประชาสัมพันธ์ ทฤษฎีแนววิพากษ์ (Critical theory) ใช้เป็ นหลักในการศึกษาวิจยั และวิพากษ์วจิ ารณ์การสื่ อสารภายในองค์กร การสื่ อสารสาธารณะ การสื่ อสาร มวลชน การสื่ อสารระหว่างประเทศ หรื อการสื่ อสารของโลก สามารถใช้เป็ นพื้นฐานความคิดของการสร้าง สมมติฐานในงานวิจยั และการแสวงหาแนวหรื อประเด็นในการวิพากษ์วิจารณ์สื่อหรื อการสื่ อสารโดยนัก วิชาการ หรื อนักวิจารณ์สื่อ (media critics) การศึกษาทฤษฎีแนววิพากษ์ ควรอยูใ่ นวิชาปี สูงของระดับปริ ญญาตรี หรื อในวิชาส่ วนใหญ่ของระดับ ปริ ญญาโท ทฤษฎีแนวปรัชญาวิทยาศาสตร์ (Scientific-philosophical theory) ใช้เป็ นหลักในการแสวงหา (searching) หรื อพิสูจน์ (proving) ข้อเท็จจริ ง หรื อสัจจะ ในเชิง วิทยาศาสตร์ เพื่อนำาไปเป็ นพื้นฐานหลักเพื่อการพัฒนาการบริ หารหรื อการปฏิบตั ิงานการสื่ อสารทุกประเภท รวมทั้งใช้เป็ นหลักในการปรับปรุ งวิพากษ์วิจารณ์สื่อ หรื อการสื่ อสารให้มีคุณค่าในเชิงสร้างสรรค์ ปรัชญา ในที่น้ ีมิได้หมายถึงวิชาปรัชญาทัว่ ไป (general philosophy) แต่หมายถึงแนวคิดลึกซึ้ งและกว้าง ขวางบนพื้นฐานการวิจยั เชิงวิทยาศาสตร์ สามารถนำามาใช้เป็ นพื้นฐานในการสร้างสมมติฐานของการวิจยั และการอ้างอิงในการศึกษาวิจยั ทางนิเทศศาสตร์
ทฤษฎีการสื่ อสารแนวปรัชญาวิทยาศาสตร์เปิ ดโอกาสให้เพิ่มขยายขอบเขตของนิเทศศาสตร์ ออกไปทั้งใน แนวดิ่งและแนวราบ แนวดิ่ง ได้แก่ การศึกษาค้นคว้าลึกซึ้ งในความหมายปรัชญา วัตถุประสงค์บทบาท หน้าที่ สิ ทธิ เสรี ภาพ และความรับผิดชอบของการสื่ อสารประเภทต่าง ๆ แนวราบ ได้แก่ การศึกษาความสัมพันธ์เกี่ยวโยงระหว่างนิเทศศาสตร์ กบั ศาสตร์ อื่น ๆ อาทิ จิตวิทยา สังคมวิทยา สังคมศาสตร์แขนงต่าง ๆ รวมทั้งวิทยาศาสตร์ กายภาพ วิทยาศาสตร์ ชีวภาพ (Life sciences) พิภพศาสตร์ (Earth sciences) นอกจากนั้น ยังอาจนำาไปสู่การปฏิรูปหรื อการปฏิวตั ิวิชาการและวิชาชีพนิเทศศาสตร์ ให้มีคุณประโยชน์ยิ ง่ ขึ้นต่อชีวิตและโลก ก่อให้เกิดความคุม้ ค่าคุม้ ทุนในการใช้เทคโนโลยีการสื่ อสารในประเทศต่าง ๆ และใน โลกมนุษย์โดยรวม ทฤษฎีไซเบอร์เนติกส์ของนอร์เบิร์ต วีเนอร์ และทฤษฎีสารเวลาขาองสมควร กวียะ (เสนอที่ประชุม ราชบัณฑิตยสถาน เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2545) เป็ นตัวอย่างของทฤษฎีแนวปรัชญาวิทยาศาสตร์ ที่ขยาย ขอบเขตของนิเทศศาสตร์ออกไปบูรณาการกับศาสตร์ ทุกแขนงทั้งในทางมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ ส่ วนทฤษฎีปทัสถานซึ่งเริ่ มต้นโดยวิลเบอร์ชรามม์แสดงให้เห็นถึงการศึกษาเจาะลึกลงไปในบทบาทหน้าที่ หรื อภารกิจของสื่ อในปริ บทของประเทศต่าง ๆ ที่มีปทัสถานทางการเมืองและเศรษฐกิจแตกต่างกัน ได้แก่ เสรี นิยม อำานาจนิยม เบ็ดเสร็ จนิยม และทฤษฎีความรับผิดชอบทางสังคม โดยสรุ ป ทฤษฎีการสื่ อสารทุกแนวและทุกระดับมีความสำาคัญอย่างยิ ่งต่อการศึกษา ทางนิเทศศาสตร์ ที่ จำาเป็ นต่อการทำางานและการวิจยั ที่เกี่ยวกับการสื่ อสาร เช่นเดียวกับทฤษฎีในศาสตร์ ทุกแขนง ทฤษฎีการสื่ อสารมีประโยชน์ต่อชีวิต องค์กร สังคม และโลก ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม การศึกษาหรื อ การทำางานที่ปราศจากหลักการหรื อทฤษฎี ย่อมเปรี ยบเสมือนการแล่นเรื อออกไปสู่จุดหมายปลายทางอีกฝั ่ง หนึ่งของมหาสมุทร โดยปราศจากความรู้ทางภูมิศาสตร์ อุตุนิยม ดาราศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ นอกจากจะขาด ประสิ ทธิ ผล (คือแล่นเรื อไปไม่ถึงจุดหมายปลายทาง) หรื อขาดประสิ ทธิ ภาพ (คือแล่นเรื อไปถึงช้ากว่า กำาหนด) แล้วยังมีความเสี่ ยงต่อความเสี ยหาที่สาำ คัญสองประการคือ ความเสี ยหายจากภัยอันตราย (เช่น เรื อ เกยหิ นโสโครกหรื อเรื อแตกเพราะพายุ) และความเสี ยหายจากการพลาดโอกาส (เช่น ท้องเรื อว่าง ยัง บรรทุกสิ นค้าบางประเภทได้อีก แต่ไม่รู้ไม่สนใจความต้องการ ของตลาด) ในทางนิเทศศาสตร์ ความเสี ยหายจากภัยอันตราย (risk cost) เห็นได้ชดั จากการสื่ อสารโดยไม่รู้ กฎหมายหรื อจริ ยธรรมและการสื่ อสารโดยไม่รู้หลักจิตวิทยา ความเสี ยหายจากการพลาดโอกาส (opportunity cost) อาจได้แก่ การบริ หารสถานีวิทยุหรื อ โทรทัศน์โดยขาดความรู้หรื อไม่คาำ นึงถึงศักยภาพของเครื่ องส่ งหรื อของบุคลากร การไม่ถือโอกาสสื่ อสาร ทำาความเข้าใจเมื่อเราได้พบบุคคลที่มีปัญหาขัดแย้งกับเรา ทั้งนี้เพราะเราไม่รู้ไม่เข้าใจทฤษฎีความโน้มเอียง ร่ วมของนิวคอมบ์ ซึ่งบอกว่าการสื่ อสารระหว่างบุคคลเป็ นโอกาสสำาคัญของการประนีประนอมความคิด ความเข้าใจซึ่งกันและกัน
ความเสี ยหายอันเกิดจากการพลาดโอกาสในทางนิเทศศาสตร์ อาจมีผลกระทบรุ นแรงต่อชีวิตและทรัพย์สิน อาทิ การมิได้รายงานหรื อเตือนภัยเกี่ยวกับสภาพอากาศให้ชาวประมงทราบ อาจทำาให้เกิดความเสี ยหายอย่าง มหาศาลต่อชีวิตและเรื อประมง ดังเช่น กรณีพายุที่ข้ึนฝั่งภาคใต้ของไทย หลายครั้ง การมิได้สื่อสารสร้างความอบอุ่นในครอบครัว อาจนำาไปสู่การติดยาของลูกหลาน หรื อแม้แต่การฆ่าตัวตาย ตามทฤษฏีของเอมิลดูรแกง (Émile Durkheim) นักสังคมวิทยาชาวฝรั่งเศส ผูเ้ ขียน “Le Suicide” (การฆ่าตัวตาย) ในปี ค.ศ. 1897 ซึ่งได้เสนอว่าสาเหตุสาำ คัญอย่างหนึ่งของการฆ่าตัวตาย คือความวิปริ ตผิดปกติ (anomaly) ที่มิได้มีการระบายถ่ายเทด้วยการสื่ อสารกับบุคคลอื่น ยุค ก่อ นทฤษฎีก ารสื่อ สาร ยุคก่อนทฤษฎี (pre-theoritical period) อาจย้อนหลังไปหลายล้านปี เมื่อ สัตว์ประเภทหนึ่งได้มีวิวัฒนาการมาสู่ความเป็นมนุษย์นับกลับมาจนถึง คริสต์ศตวรรษที่ 20 วิวัฒนาการสามพันห้าร้อยล้านปีของสมองชีวิต (brain of life) ได้สร้าง เสริมให้สมองของมนุษย์มีสมรรถนะหลายพันล้านเท่าของสมอง แบคทีเรีย และนี่เองที่ทำาให้มนุษย์วานรได้วิวัฒนาการมาเป็นมนุษย์ผู้ ชำานาญในการใช้มือ (homo habills) มนุษย์ผู้ลุกขึ้นยืนตัวตรง (homo erectus) มนุษย์ผู้ฉลาด (homo sapiens) และมนุษย์ผู้ฉลาดแสนฉลาด (homo sapiens sapiens) อย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ตลอดช่วงระยะเวลาของวิวัฒนาการสมองได้ทำาหน้าที่เป็นศูนย์กลาง ของการสื่อสาร 2 ระบบ คือ (1) การสื่อสารภายในร่างกาย และ (2) การ สื่อสารระหว่างร่างกายกับภายนอก ระหว่างสิ่งมีชีวิตในสปีชีส์ (species) เดียวกัน และกับสิ่งภายนอกที่รับรู้ได้โดยอาศัยช่องทางหรือประสาทการ สื่อสาร 1. การสื่อสารภายในร่างกายเป็นไปทั้งโดยมีจิตสำานึก (conscious) จิตใต้สำานึก (subconscious) และจิตไร้สำานึก (unconscious)
จิตสำานึกและจิตใต้สำานึกอยู่เฉพาะภายในสมอง จิตสำานึกอยู่ในรูปแบบ ของการสำานึกรู้และการคิด จิตใต้สำานึกส่วนใหญ่ “ซ่อนเร้น” อยู่ในส่วน เล็ก ๆ ของสมองที่ทำาหน้าที่เป็นศูนย์เก็บความจำา คือ ฮิปโปแคมปัส (hippocampus) ส่วนจิตไร้สำานึก หมายถึง การสื่อสารระหว่างสมองกับ ทุกเซลล์และทุกอวัยวะภายในร่างกาย 2. การสื่อสารระหว่างสิ่งมีชีวิตกับภายนอกร่างกายของตนเอง หรือกับ สิ่งแวดล้อม ส่วนใหญ่กระทำาโดยจิตสำานึกที่เกิดจากการส่งสาร และรับ สารผ่านประสาทการรับรู้ แต่ก็มีการสื่อสารกับภายนอกอีกส่วนหนึ่งที่ เกิดขึ้นในระดับจิตใต้สำานึก เพราะในบรรดารูป รส กลิ่น เสียง หรือ สัมผัส ที่ผ่านตาม ลิ้น จมูก หู หรือผิวหนังเข้าสู่สมองของเรานั้น จะมี เพียงส่วนเดียวที่เรารับรู้ในระบบจิตสำานึกของเรา นอกจากนั้นอาจจะ ผ่านเข้าทางระบบจิตใต้สำานึก เช่น เสียงของทำานองเพลง (melody) ที่ ขับร้องโดยนักร้องเพียงคนเดียว มักจะผ่านเข้าทางระบบจิตสำานึกแต่ เสียงประสาน (harmony) ของเครื่องดนตรีนับร้อยชิ้นมักจะผ่านเข้าทาง ระบบจิตใต้สำานึก กระบวนการสื่อสารทั้งภายในและภายนอกเกิดขึ้นมาพร้อมกับสิ่งมีชีวิต แต่เมื่อสิ่งมีชีวิตได้วิวัฒนามาเป็นมนุษย์ กระบวนการสื่อสารก็ยิ่งมีความ สลับซับซ้อนมากขึ้น มีพลัง สมรรถภาพและสมรรถนะเพิ่มมากขึ้น เฉพาะภายในร่างกายก็ได้มีพัฒนาการของเนื้อเยื่อใหม่ (neocortex) ของสมองส่วนบน ที่ทำาให้มีการเรียนรู้ การคิด เกิดปัญญา (intellignce) และภูมิปัญญา (wisdom) ที่เหนือกว่าสัตว์อื่น ๆ แม้ในหมู่สปีชีส์ที่ คล้ายคลึงกับมนุษย์ อาทิ ลิงชิมแปนซี หรือลิงโบโนโบ ส่วนด้านภายนอกร่างกาย มนุษย์ก็ได้อาศัยสมองปัญญาและมือซึ่งเป็น มรดกของมนุษย์ผู้ลุกขึ้นยืนตัวตรง (homo erectus) สร้างเครื่องมือหรือ
ส่วนขยายของมือ (extension of hands) นับตั้งแต่ก้อนหินไปจนถึงสถานี อวกาศ อย่างไรก็ตาม กระบวนการสื่อสารของมนุษย์ตั้งแต่จุดแรกเริ่มกำาเนิด มนุษย์จนถึงเอประมาณห้าแสนปี ก็ยังเป็นไปตามธรรมชาติ เช่นเดียวกับ สัตว์ทั้งหลาย นั่นคือ เป็นสิ่งที่เกิดมาพร้อมกับชีวิต และต้องดำาเนินไป เพื่อตอบสนองความต้องการของชีวิต เป็นสิ่งที่ตอ ้ งมีเพื่อชีวิต (communication for life) และเป็นสิ่งที่ต้องทำาโดยอัตโนมัติ และไม่ สามารถหลีกเลี่ยงหรือละเลยได้ (compulsory communication) การสื่อสารโดยธรรมชาติตอบสนองความต้องการทางเพศและความ ต้องการทางสังคม เพื่อทำาให้อัตตา (self) ชาติพันธุ์ (race) และสปีชีส์ (species) ของตนอยู่รอดปลอดภัย นั่นคือ บทบาทหน้าที่ (function) ที่ เป็นเหตุผลหลักของการที่มนุษย์จะต้องมีการสื่อสาร ส่วนบทบาทหน้าที่ อื่นก็เพิ่มเสริมเข้ามาเป็นส่วนประกอบ เพื่อตอบสนองความต้องการพื้น ฐานที่ขยายออกมาถึงระดับชื่อเสียง ความภาคภูมิใจและอำานาจเหนือผู้ อื่น กระนั้นก็ตาม บทบาทหน้าที่ในการอยู่รอดปลอดภัยของชีวิตและสังคมก็ ยังมีความสำาคัญเป็นอันดับแรกเรื่อยมา ยิ่งมีอันตรายหรืออุปสรรคต่อ การอยู่รอดปลอดภัยมาก มนุษย์ก็ยิ่งมีความจำาเป็นที่จะต้องพัฒนาการ สื่อสารให้มีประสิทธิผลมากขึ้น และนี่เองที่ทำาให้สมองของมนุษย์มี พัฒนาการขึ้นในส่วนหน้าด้านซ้ายของเนื้อเยื่อใหม่ จนสามารถทำาให้ มนุษย์พูดเป็นคำาได้เมื่อประมาณ 5 แสนปีก่อน การสื่อสารเป็นคำา (verval communication) หรือการพูดทำาให้สื่อสารกัน ได้เร็วจนสามารถ ที่จะลดหรือป้องกันอันตรายจากสัตว์ร้ายหรือมนุษย์ กลุ่มอื่น เพราะมันเป็นความจำาเป็นที่จะต้องต่อสู้เพื่อความอยู่รอด
ปลอดภัย และนี่เองที่เป็นจุดเริ่มต้นของภาษา. จากภาษาพูดมาสู่ภาษา ภาพ และภาษาเขียน หลักฐานภาษาภาพที่ได้พบที่ถำ้าลาสโกส์และถำ้าโซเวต์ในฝรั่งเศส ถำ้าอัล ตามิราในสเปน รวมทั้งหลายแห่งในออสเตรเลีย ส่วนใหญ่มีความหมาย เกี่ยวกับอำานาจลึกลับเหนือธรรมชาติ ทำาให้เราต้องสันนิษฐานว่า ภาษา พูดอย่างเดียวไม่เพียงพอต่อการลดหรือขจัดอันตรายต่อความอยู่รอด ปลอดภัยของมนุษย์เสียแล้ว ไม่ว่าเขาจะอยู่ในท้องถิ่นทวีปใด ภัยอันตรายจากสัตว์หรือมนุษย์กลุ่มอื่นอาจลดได้ ป้องกันได้โดยการรวม ตัวกันอย่างรวดเร็ว ด้วยการใช้ภาษาพูด แต่ยังมีภัยอันตรายอีกมากมาย หลายอย่างที่มนุษย์ต้องตกอยู่ในสภาพจนตรอกจนใจ จนทำาอะไรไม่ได้ แม้จะมีการรวมตัวรวมกลุ่มช่วยเหลือกันเข้มแข็งเพียงใดก็ตาม ภัยอันตรายจากพายุ นำ้าท่วม แผ่นดินไหว ภูเขาไฟ ฟ้าผ่า เชื้อโรค และ ความกลัวอันตรายที่เกิดจากอวิชชา เมือ ่ ได้เห็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น สุริยุปราคา จันทรุปราคา ดาวหาง ดาวตก ภัยอันตรายและความกลัวอันตรายนี่เองที่อาจทำาให้มนุษย์ต้องทำาอะไร บางอย่างเพื่อระบายความรู้สึกกลัว หรือพยายามติดต่อสื่อสารขอความ เห็นใจจากอำานาจ “ลึกลับ” ที่อาจอยู่เบื้องหลังอาจจะต้องร้อง เต้น เขียน ภาพ ฆ่าสัตว์ หรือฆ่ามนุษย์ด้วยกันเองเพื่อบูชายันต์ การพยายามสื่อสารกับ “อำานาจลึกลับ” ก่อให้เกิดศาสนาโบราณและ ไสยศาสตร์ของชนเผ่าต่าง ๆ ในทุกทวีป แต่เมื่อประมาณสามพันปี ศาสดาผู้เปรื่องปราชญ์และทรงปัญญา ได้เสนอหลักศีลธรรมเพื่อการอยู่ ร่วมกันอย่างสุขสันติของเผ่าพันธุ์มนุษย์ ทำาให้เกิดศาสนาต่าง ๆ ต่อเนื่อง กันมาในประวัติศาสตร์ ได้แก่ ฮินดู ขงจือ ้ พุทธ คริสต์ อิสลาม สิกข์ (sikn) และบาไฮ
การสื่อสารกลายเป็นองค์ประกอบสำาคัญของศาสนาและไสยศาสตร์ ทั้ง ในด้านการสถาปนาและในด้านการเผยแพร่ลัทธิความเชื่อหรือคำาสอน การสถาปนาลัทธิความเชื่อ ได้แก่ การสร้างเรื่อง (story-making) การ เล่าเรื่อง (story-telling) เกี่ยวกับอำานาจลึกลับ เทพเจ้า พระเจ้าหรือภูตผี ปีศาจ แม้ศาสนาพุทธนิกายมหายาน ก็ยังมุ่งใช้จิตวิทยาการสร้างเรื่อง สร้าง สมมติเทพ และนิทานชาดก เกี่ยวกับการประสูติในชาติและรูปลักษณ์ ต่าง ๆ ของพระพุทธองค์ ทั้งนี้เพื่อชักจูงโน้มน้าวประชาชนให้ตื่นเต้น สนใจ และเลื่อมใสศรัทธา อาทิ ลัทธิดินแดนบริสุทธิข ์ องจีนเชื่อว่าถ้ามี ศรัทธาในอำานาจของอมิตาภา ซึ่งเป็นพระพุทธเจ้าของเขตปัจฉิม จะได้ ไปเกิดใหม่ในแดนสุขาวดี ซึ่งปราศจากความทุกข์โดยสิ้นเชิง มีพระ โพธิสัตว์หลายองค์ที่กลับมาเกิดในหลายชาติ เพื่อช่วยเหลือมนุษย์ก่อน ที่จะบรรลุการตรัสรู้สูงสุดและกลายเป็นพระพุทธเจ้าอีกพระองค์หนึ่ง อวโลกิตศวร ก็ถือกันว่าเป็นพระโพธิสัตว์แห่งความเมตตา สงสาร ซึ่งคน จีนเชื่อว่าปรากฏออกมาในร่างเจ้าแม่กวนอิม ผู้ทรงเมตตาและให้ทาน แก่เด็กคอยช่วยเหลือผูต ้ กทุกข์ได้ยาก และนักเดินทางในแดนกันดาร ส่วนในจักรวรรดิเขมร พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ก็ได้สลักเป็นจตุรพักตร์ขึ้น ไว้ทั้ง 54 ปรางค์ ในบริเวณปราสาทบายน (ไพชยนต์) ในด้านการเผยแพร่ลัทธิความเชื่อหรือคำาสอนได้มีการใช้ปัจจัยกลยุทธ์ ทั้งในการสร้างสื่อและในการสร้างสาร ศาสนาพุทธสื่อสารเผยแพร่ด้วย ภาษาบาลี ซึ่งเป็นภาษาที่ชาวบ้านอินเดียในยุคนั้นเข้าใจง่ายจนสามารถ เข้าถึงหลักการสื่อสารภายในบุคคล ระหว่างบุคคลและการสื่อสารสังคม เป็นอย่างดี ทุกศาสนามีการใช้คำาอุปมาอุปไมย (metaphor) ที่ทำาให้ เข้าใจคำาสอนได้อย่างลึกซึ้ง
ศาสนาคริสต์ นิกายโปรเตสแตนต์ ใช้สื่อสิ่งพิมพ์เผยแพร่ลัทธิลูเธอร์ อย่างจริงจังมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1536 โดยนักปฏิรูปศาสนา ฌอง กัลแวง (Jean Calvin) เริ่มต้นด้วยหนังสือ เรื่อง สถาบันศาสนาคริสต์ (“L’ Institution de la Religion Chrétianne”) ศาสนาคริสต์นิกายคาทอลิก ตั้งวิทยาลัยเผยแพร่ศรัทธา (propaganda fide) ในปี ค.ศ. 1622 เพื่อผลิตมิชชันนารีเป็นสื่อบุคคลออกไปสอน ศาสนาในต่างประเทศ นับว่าเป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่สอนวิชา นิเทศศาสตร์ แต่ก็ยังไม่มีองค์ความรู้ที่พอจะนับเป็นหลักทฤษฎีได้ ในยุคก่อนทฤษฎีนี้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ทางด้านวิทยาศาสตร์ก็ได้ มีการศึกษาเรื่องการสื่อสาร โดยมีหลักฐานแน่ชัดว่า ชาร์ล ดาร์วิน (Charle Darwin) เจ้าของทฤษฎีวิวัฒนาการ ได้เขียนหนังสือรายงาน การศึกษาเล่มใหญ่ เรื่อง “The Expression of Emotions in Man And Animals” (การแสดงอารมณ์ของมนุษย์และสัตว์) ในปี ค.3 ศ. 1872 โดยสรุป ในช่วงก่อนทฤษฎีนี้ ยังมิได้มีการศึกษาการสื่อสารอย่างจริงจัง ทั้งในระดับวิชาชีพและวิชาการ ที่เห็นได้ชัดคือยังไม่มีการเปิดสอน หลักสูตรการสื่อสารหรือนิเทศศาสตร์เป็นสาขา (discipline) ใน มหาวิทยาลัย แม้ว่าได้มีความพยายามที่จะเรียนรู้เพื่อพัฒนาการปฏิบัติ งานสื่อสารบ้างแล้วก็ตาม ทฤษฎีการสื่อสารยุคต้น อาจเรียกได้ว่าเป็นยุคที่ได้มีการพัฒนาวิชาการทางด้านการสื่อสาร สร้างเป็นทฤษฎีแนวปฏิบัติสำาหรับสถานศึกษาในสถาบันชั้นสูง เป็นการ นำาวิชาการสื่อสารเข้าสู่ยุคทฤษฎีช่วงแรก ก่อนที่จะวิวัฒนาการไปสู่ยุค สมัยนิยม จึงอาจเรียกยุคนี้อีกอย่างหนึ่งว่า ยุคก่อนสมัยนิยม (premodern age) มีแนวโน้มพัฒนาหลักการรายงานข่าวสารในชีวิตประจำา วันให้เป็นศิลปะศาสตร์แขนงใหม่ที่เรียกว่า วารสารศาสตร์ (journalism)
ยุคนี้อาจแบ่งได้เป็น 2 ช่วงคือ ช่วงแรกประมาณทศวรรษ 1890 ถึง ประมาณทศวรรษ 1920 และช่วงที่สองทศวรรษที่ 1920 ถึงประมาณ ทศวรรษที่ 1940 1. มีการพัฒนาวิชาการสื่อสาร ใน 6 ด้าน คือ 1.1 วารสารศาสตร์ทางสื่อสิ่งพิมพ์ (print journalism) มีการก่อตั้ง โรงเรียน หรือสถาบันวารสารศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา โดยเริ่มต้นที่ มหาวิทยาลัยมิสซูรี และมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย (นครนิวยอร์ค) วิชาการวารสารศาสตร์ค่อย ๆ ขยายออกไปครอบคลุมการโฆษณา (advertising) และการประชาสัมพันธ์ (public relations) โดยเฉพาะเมื่อ นักหนังสือพิมพ์ตอ ้ งมีส่วนร่วมหรือสัมผัสกับงานการสื่อสารทั้งสองแขนง เอ็ดเวิร์ด แบร์เนส์ (Edward Bernays) หลานของซิกมุนด์ฟรอยด์ (Sigmund Freud) เริ่มสร้างทฤษฎีการประชาสัมพันธ์เป็นก้าวแรก หลัง จากที่ไอวีลีตั้งสำานักงานประชาสัมพันธ์แห่งแรก ที่นิวยอร์ก ในปี 1903 1.2 วิชาการภาพยนตร์ ค่อย ๆ เริ่มเจริญเติบโตในสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส และเยอรมนี โดย เฉพาะเมื่อมีการสถาปนาระบบดารา (star system) ขึ้นในฮอลลีวด ู ในปี 1910 และภาพยนตร์อเมริกันประสบความสำาเร็จในการขยายอิทธิพล ของฮอลลีวูดออกไปทั่วโลกตั้งแต่ปี 1919 1.3 การปฏิวัติทางโทรคมนาคม ก่อให้เกิดการพัฒนาวารสารศาสตร์ทางวิทยุและ โทรทัศน์ (Broadcast journalism) การประดิษฐ์เครื่องส่งสัญญาด้วยคลื่นวิทยุของไฮน์ริค เฮิร์ตส์ (Heinrich Hertz) นำามาสู่การกำาเนิดสื่อใหม่ คือวิทยุกระจายเสียง สำาหรับนักวารสารศาสตร์สมัยใหม่ จะได้ใช้ในการรายงานข่าวสารเป็น
ประจำาวัน เริ่มตั้งแต่ปี 1920 ที่สถานีเชล์มฟอร์ดในประเทศอังกฤษและปี 1921 ที่สถานีหอไอเฟล ประเทศฝรั่งเศส 1.4 ทางด้านหนังสือ เริ่มเกิดมีวรรณกรรมมวลชน (Mass Literature) โดยการบุกเบิกของนัก เขียนอเมริกัน ชือ ่ เอช จี เวลส์ (H.G. Wells) นักเขียนอังกฤษชื่อ ดี เอ็ช ลอเรนซ์ (D.H. Lawrence) และนักเขียนฝรั่งเศส ชื่อ จูลส์ เวร์น (Jules Verne) มีการเขียนเรื่องแนววิทยาศาสตร์เพื่อป้อนสถานีวิทยุกระจาย เสียงและภาพยนตร์ หนังสือกลายเป็นสื่อมวลชนประเภทช้า (slower media) ที่เป็นพื้นฐานสำาคัญของการพัฒนาสื่อมวลชนประเภทเร็ว (faster media) ที่ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ 1.5 ทางด้านสังคมวิทยาการสื่อสาร (Sociology of Communication) เอมีล ดูรแกง (Émile Durkheim) นักสังคมวิทยาชาวฝรั่งเศสทำาการวิจัย เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสารกับการฆ่าตัวตาย สร้างเป็น ทฤษฎีอัตวินิบาตกรรม (Théorie de Suicide 1897) ที่เสนอว่าสังคมที่มี ระดับการสื่อสารระหว่างบุคคลตำ่าจะมีอัตราการฆ่าตัวตายสูง ทฤษฎีนี้ยำ้า ให้เห็นบทบาทและความสำาคัญของการสื่อสารที่มีต่อการแก้ปัญหาสังคม 1.6 ทางด้านจิตวิทยาการสื่อสาร (Psychology of Communication) ซิกมุนด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) เขียนหนังสือเกี่ยวกับการตีความ หมายหรือการทำานายฝัน (1900) และเรียงความสามเรื่องเกี่ยวกับเรื่อง เพศ (1905) อาจถือได้ว่าเป็นบุคคลแรกที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับการสื่อสาร ภายในบุคคล (intrapersonal communication) อย่างลึกซึ้งจริงจัง ทั้งใน ด้านทฤษฎีและการปฏิบัติ ซึ่งรู้จักกันทั่วไปในนามของจิตวิเคราะห์ (psychoanalysis) และจิตบำาบัด (psychotherapy) 2. ในช่วงที่สอง
(ทศวรรษ 1920 ถึงทศวรรษ 1940) เป็นช่วงที่โลกโดยเฉพาะ สหรัฐอเมริกาเผชิญกับวิกฤตการณ์ร้ายแรง คือภาวะเศรษฐกิจตกตำ่า (Depression) ในปี 1929 ผนวกกับความเติบโตของลัทธินาซีในเยอรมนี และลัทธิฟาสชิสต์ในอิตาลี ที่นำาไปสู่สงครามโลกครั้งที่สอง (1939 – 1945) ในช่วงที่สองนี้ อาณาเขตของทฤษฎีการสื่อสารได้ขยายออกไป ครอบคลุมรัฐศาสตร์ของการสื่อสาร (Politics of Communication) เกิด ปรากฏการณ์ที่อาจวิเคราะห์เชิงทฤษฎีออกได้เป็น 3 ปทัสถาน คือ ทฤษฎีเสรีนิยมแบบตะวันตก (Western Libertarianism) ทฤษฎีอำานาจ นิยมนาซีและฟาสชิสต์ (Nazi-Fascist Authoritarianism) และทฤษฎี เบ็ดเสร็จนิยมมาร์กซิสต์-เลนินิสต์ (Marxist-Leninist Totalitarianism) 2.1 ทฤษฎีอำานาจนิยมนาซีและฟาสชิสต์ หลักการและกลยุทธ์การสื่อสารได้ถูกนำามาใช้ทั้งเชิงรุกและเชิงรับ เยอรมนียุคฮิตเลอร์และอิตาลียุคมุสโสลินี พัฒนากลไกการ โฆษณาชวนเชื่อ (propaganda machine) ตั้งแต่ระดับแผนกขึ้นไปสู่ระดับ กระทรวง ใช้สื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง ละครและภาพยนตร์ ในการ ปฏิบัติการทางจิตวิทยา (psychological actions) โน้มน้าวจูงใจให้หลง เชื่อในลัทธิถือเชื้อชาติผิวพรรณ (racism) และการกำาจัดศัตรูของสังคม โจเซฟ เกิบเบลส์ (Joseph Goebbels) ประสบความสำาเร็จสูงในการแปร กลยุทธ์จิตวิทยาการสื่อสาร ออกมาเป็นโครงสร้างของรัฐที่มี ประสิทธิภาพในการปลุกระดมคนเยอรมันให้ทำาตามความคิดของผู้นำา (Führer) อย่างมัวเมา จนถึงกับร่วมกันสังหารยิวหลายล้านคนด้วยวิธี การโหดร้ายทารุณ แซร์จ ชาโกตีน (Serge Tchakhotine) ศาสตราจารย์จิตวิทยาสังคมแห่ง มหาวิทยาลัยปารีส ศึกษายุทธการการโฆษณาชวนเชื่อของเยอรมนี
เขียนเป็นหนังสือเล่มสำาคัญประกอบการบรรยายเรื่อง “Le Viol des Foules par la Propagande Politique” (การข่มขืนฝูงชนด้วยการ โฆษณาชวนเชื่อทางการเมือง) ตีพิมพ์ในปี 1940 ก่อนสงครามโลกครั้งที่ สองเพียงสองเดือน อีกเรื่องหนึ่งคือ “ปรัชญาและโครงสร้างของฟาสซิสต์เยอรมัน” โดยโร เบิร์ต เอ แบรดี (Robert A. Brady) ศาสตราจารย์วิชาเศรษฐศาสตร์แห่ง มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ตีพิมพ์ในอังกฤษปี 1937 ยุทธการการโฆษณาชวนเชื่อของเยอรมนี เป็นปรากฏการณ์ทางการ เมืองและสังคมที่ผลักดันให้เห็นความสำาคัญของการศึกษาวิชาการ รณรงค์ทางการเมืองและสาธารณมติ (Political Campaign and Public Opinion) ในสาขาจิตวิทยาสังคม รัฐศาสตร์ และนิเทศศาสตร์ ยุคหลัง สงครามโลกครั้งที่สอง วอลเตอร์ ลิปมันน์ (Walter Lipmann) นักวารสารศาสตร์อเมริกันเขียน เรื่อง “สาธารณมติ” (1922) แฮโรลด์ ดี ลาสเวลล์ (Harold D. Lasswell) ศาสตราจารย์รัฐศาสตร์อเมริกันเขียนเรื่อง “เทคนิคการโฆษณาชวนเชื่อ ในสงครามโลก” (1927) และ “การโฆษณาชวนเชื่อและเผด็จการ” (1936) ทั้งสองนับว่าเป็นผู้บุกเบิกคนสำาคัญให้สาขาวิชาการสื่อสาร การเมืองขึ้นมาเคียงข้างสาขาวิชาการสื่อสารองค์กรที่มีการ ประชาสัมพันธ์เป็นแกนหลัก ในช่วงที่สองของยุคต้นนี้ นักวิชาการหลายคนได้รับมอบหมายจาก รัฐบาลให้ทำาหน้าที่วิจัยเกี่ยวกับการโฆษณาชวนเชื่อและข่าวสารสรง คราม เพื่อใช้เป็นกลยุทธ์การสื่อสารต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อของ ฝ่ายอักษะในช่วงก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง นัก คณิตศาสตร์ พอล เอฟ ลาซาร์สเฟลด์ (Paul F. Lazarsfeld) เป็นคนหนึ่ง
ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นหัวหน้าสำานักงานวิจัยวิทยุของมูลนิธิรอคกี้เฟล เลอร์ และต่อมาเป็นนักวิจัยที่ปรึกษาของสำานักงานสารนิเทศสงคราม เขาได้ผลิตผลงานวิจัยที่สำาคัญหลายชิ้น รวมทั้งการสร้างสมมติฐานการ ไหลสองทอดของข่าวสาร (Two-step flow hypothesis) หลายเป็นคน หนึ่งที่ร่วมวางรากฐานการวิจัยเพื่อสร้างทฤษฎีการสื่อสารใน สหรัฐอเมริกา ทั้ง ๆ ที่เขาเคยเป็นเพียงผู้ได้รับทุนร๊อกกีเฟลเลอร์ผ่าน ทางมหาวิทยาลัยเวียนนาที่เขาได้รับปริญญาเอกทางคณิตศาสตร์ 2.2 ทฤษฎีเสรีนิยมแบบตะวันตก จากการที่จะต้องเข้าร่วมรบกับฝ่ายพันธมิตรทั้งในแนวหน้าและแนวหลัง รวมทั้งการแก้ปัญหาเศรษฐกิจตกตำ่าภายในประเทศ ทำาให้ประธานาธิบดี แฟรงคลิน ดีโรสเวลต์ เองก็ต้องหันมาพึ่งพากลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ ทั้งในระดับประเทศและระหว่างประเทศ เขาได้สร้างลัทธินิวดีล (New Deal) เพื่อแก้ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่าง นายจ้างกับลูกจ้าง และระหว่างเศรษฐีนายทุนกับคนจน ได้ใช้บุคลิก เฉพาะตนที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมีมนุษยสัมพันธ์ รวมทั้งสื่อสิ่งพิมพ์และ วิทยุกระจายเสียงในการจูงใจคนอเมริกันให้เห็นความจำาเป็นที่จะต้อง เข้าร่วมรบกับฝ่ายพันธมิตร นับว่าเป็นการนำาหลักการและทฤษฎีการ ประชาสัมพันธ์ของภาคเอกชนไปใช้ในภาครัฐได้อย่างผล หลังสงคราม จึงได้มีการเปิดสอนวิชาการสื่อสารสาธารณะ (Public Communication) และบริการข่าวสารสาธารณะ (Public information Service) ทั้งใน อเมริกาและยุโรปกลายเป็นแขนงวิชาหนึ่งของการประชาสัมพันธ์ใน ประเทศไทยที่เรียกว่า “การประชาสัมพันธ์ภาครัฐ” หรือ “การ ประชาสัมพันธ์ของรัฐบาล” ถือได้ว่าเป็นทฤษฎีการสื่อสารภายในกร อบปทัสถานการเมืองแบบเสรีประชาธิปไตย
2.3. ทฤษฎีเบ็ดเสร็จนิยมแบบมาร์กซิสต์-เลนินิสต์ สำาหรับในสหภาพโซเวียต ตั้งแต่การปฏิวัติรัสเซีย ในปี 1920 เลนิน เขียนทฤษฎีการเมืองแนวสังคมนิยมหลายเล่ม ในส่วนที่เกี่ยวกับการ สื่อสารมวลชน เขาได้เสนอแนวคิดสำาคัญที่ว่า สือ ่ มวลชนจะต้องเป็นของ รัฐโดยการควบคุมของพรรค มีหน้าที่ในการให้การศึกษาแก่ชนชั้น กรรมาชีพ มิใช่ทำาธุรกิจขายข่าวเช่นในประเทศเสรีนิยม ซึ่งสื่อมวลชน มักจะกลายเป็นเพียงเครื่องมือของนายทุน ทฤษฎีพื้นฐานอุดมทัศน์มาจากทฤษฎีมาร์กซิสต์ผสมผสานกันออกมา เป็นทฤษฎีมาร์กซิสต์-เลนินิสต์ (Marxism-Leninism) ซึ่งจะมีอิทธิพล อย่างมากต่อประเทศคอมมิวนิสต์หลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในจีนและเวียตนาม มองในแง่ทฤษฎีปทัสถาน (normative theory) ทฤษฎีมาร์กซิสต์-เลนิ นิสต์ สร้างรัฐเบ็ดเสร็จนิยม (totalitarian state) ที่รัฐมีอำานาจเต็มในการ ดำาเนินงานการสื่อสารมวลชน เพื่อให้เป็นกลไกการโฆษณาชวนเชื่อ (propaganda machine) ที่จะปลุกระดมมวลชนและผลักดันประเทศไปสู่ ความเป็นสังคมนิยมที่สมบูรณ์ การศึกษาวารสารศาสตร์สังคมนิยม (socialist journalism) ในประเทศ คอมมิวนิสต์จึงได้มุ่งเน้นไปที่เป้าหมายอุดมการณ์นี้นับตั้งแต่ทศวรรษ 1920 เรื่อยมาจนถึงครึ่งหลังของศตวรรษ 20 คู่ขนานมากับ วารสารศาสตร์นิยม (liberal journalism) ในประเทศตะวันตกและที่นิยม ตะวันตก ทฤษฎีก ารสื่อ สารยุค กลาง
ยุคนี้เริ่มตั้งแต่ประมาณปี 1945 หลังสงครามโลกครั้งที่สองจนมาถึง ทศวรรษ 1970 อาจเรียกได้ว่าเป็นยุคโมเดิร์นนิสต์ (modernism) มีแนว โน้มสำาคัญสามประการคือ 1.
การวิพากษ์ทฤษฎีการสื่อสารของกลุ่มอำานาจนิยม และเบ็ดเสร็จ นิยม
2.
การก่อเกิดทฤษฎีสื่อสารเพื่อการพัฒนา หรือนิเทศศาสตร์ พัฒนาการ (Development Communication Theory
3.
การวิพากษ์ลัทธิสมัยนิยม (modernism) ที่เป็นจุดเริ่มต้นของลัทธิ หลังสมัยนิยม (postmodernism)
4.
การพัฒนาเทคนิคและเทคโนโลยีอันเป็นที่มาของศาสตร์แห่งการ สื่อสารมวลชน
1. ในภาพรวม การวิพากษ์ทฤษฎีของกลุ่มอำานาจนิยมและเบ็ดเสร็จนิยม ก็คือ การวิเคราะห์เชิงมานุษยวิทยาว่าเป็นแนวคิดที่ขัดต่อหลักสิทธิ มนุษยชน ปิดกั้นเสรีภาพทางการเมืองของปัจเจกชน ใช้สื่อมวลชน ปฏิบัติการทางจิตวิทยาอย่างเข้มข้นเพื่อผลทางการเมืองของฝ่าย เผด็จการ สื่อมวลชนมีประสิทธิผลสูงในเชิงการเมือง แต่ขาดคุณค่าใน เชิงมนุษยธรรม การวิพากษ์ได้ก่อให้เกิดทฤษฎีหลากหลายที่เกี่ยวกับผลและอิทธิพลของ สื่อในเชิงลบ อาทิ กลุ่มทฤษฎีผลอันไม่จำากัดของสื่อ (unlimited effects) ได้แก่ ทฤษฎี กระสุนปืน (magic bullet theory) และทฤษฎีกระสุนเงิน (silver bullet theory) ซึ่งเชื่อว่าการโฆษณาชวนเชื่อของสื่อมวลชนมีอิทธิพลต่อความ เชื่อและพฤติกรรมของมวลชนอย่างมหาศาล เช่น ในกรณีที่ฮิตเลอร์ กระทำาต่อประชาชนชาวเยอรมันก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ทฤษฎีเข็ม ฉีดยา (hypodermic needle theory) ที่พยายามแสดงให้เห็นว่าสื่อมวลชน
สามารถอัดฉีด “สารอย่างเดียวกัน” แก่สมาชิกทั้งหมดของสังคมมวลชน อย่างได้ผล กลุ่มทฤษฎีนี้ต่อมาถูก “ลบล้าง” ด้วยกลุ่มทฤษฎีผลที่จำากัดของสื่อ (limited effects) ที่อ้างปัจจัยตัวแปรต่าง ๆ ทางด้านจิตวิทยา สังคมวิทยา หรือรัฐศาสตร์ที่สามารถจำากัดผลของสือ ่ ได้ ทางด้านจิตวิทยา เช่น กระบวนการเลือกสรร (selective process) ความน่าเชื่อถือของแหล่งสาร (source credibility) กระบวนการยอมรับ นวัตกรรม (innovation adoption process) ทฤษฎีแรงเสริม (reinforcement theory) ทางด้านสังคมวิทยา เช่น แบบจำาลองการเกี่ยวโยงพึ่งพากันของผลจาก สื่อมวลชน (dependency model of media effects) สมมติฐานการไหล สองทอดของการสื่อสาร (two-step flow of communication) แบบจำาลอง สังคมวัฒนธรรมและกลุ่มประเภททางสังคมในกระบวนการโน้มน้าวใจ (sociocultural and social categories models of the persuasion process) ทางด้านรัฐศาสตร์ เช่น ทฤษฎีปทัสถานของการปฏิบัติงานสื่อสาร มวลชน (normative theories of media performance) อย่างไรก็ตาม การวิพากษ์ผลและอิทธิพลของสือ ่ มิได้จำากัดอยู่เฉพาะผล ทางตรงเท่านั้น หากมุ่งมองไปที่ผลทางอ้อมด้วย ทฤษฎีสำาคัญที่ยังศึกษา กันจนถึงปัจจุบัน ได้แก่ ทฤษฎีคนเฝ้าประตู (gatekeeper theory) ซึ่ง เคิร์ท ลูอิน (Kurt Lewin) เป็นผู้เริ่มเสนอในปี 1947 ว่าสื่อมวลชนเป็นผู้ กลั่นกรองคัดเลือกข่าวให้เหลือน้อยลงเพื่อการเสนอต่อประชาชน แสดง ให้เห็นอำานาจเด็ดขาดของสื่อมวลชนที่ไม่มีใครเข้าไปเกี่ยวข้องได้ ทฤษฎีบทบาทหน้าที่ในการกำาหนดวาระ (agend-setting function) โดย ลาซาร์สเฟลด์ (Lazarsfeld) เริ่มชี้ให้เห็นตั้งแต่ปี 1944 ว่านักการเมือง พยายามโน้มนำาประชามติให้สนใจแต่วาระเรื่องราวที่สอดคล้อง
สนับสนุนจุดยืนของพรรคตน ซึ่งต่อมาแม็คคอมบ์และชอว์ (McCombs and Shaws) ในปี 1972 ได้เสนอเป็นทฤษฎีที่แสดงอิทธิพลทางอ้อมของ สื่อในการชี้นำาวาระทางสังคม หรือเรื่องราวที่ต้องให้ความสนใจ แบบจำาลองการขยายวงของความเงียบ (spiral of silence) ซึ่งโนแอลนอยมันน์ (Noelle-Neumann) เริ่มเสนอตั้งแต่ปี 1974 ว่าสื่อมวลชนเป็นผู้ สร้างบรรยากาศของความคิดเห็น (climate of opinion) ที่ทำาให้ปัจเจก ชนรู้แนวโน้มของประชามติ และมักจะปิดปากเงียบเมื่อรู้สึกว่าประชามติ ไม่ตรงกับความคิดเห็นของตน จำานวนปัจเจกชนที่ปิดปากเงียบจะเพิ่ม ขึ้นเรื่อยๆ ตามสัดส่วนความเข้มข้นของประชามตินั้น 2. นอกจากแนวโน้มในการวิพากษ์ผลและอิทธิพลของสื่อแล้ว ยุคกลาง ของทฤษฎีการสื่อสารยังมีแนวโน้มในการเสนอแนวคิดและแนวทางใหม่ เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของสื่อมวลชน เพราะมีแรงผลักดันจากผลของ สงคราม สงครามทำาให้เห็นความสำาคัญของการบูรณะฟื้นฟูพัฒนายุโรป ตะวันตก การขยายขอบเขตการพัฒนาออกไปสู่ประเทศที่ยังด้อยพัฒนา ในโลกที่สาม รวมทั้งความสำาคัญที่จะต้องปรับเปลี่ยนบทบาทของ สื่อมวลชนให้หันมาเน้นสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมใน ประเทศ ต่าง ๆ ทุกทวีป ได้เกิดมีกลุ่มทฤษฎีที่รวมเรียกว่า ทฤษฎีการสื่อสารเพื่อการพัฒนา หรือ นิเทศศาสตร์พัฒนาการ ซึ่งส่วนใหญ่มาจากนักวิชาการอเมริกันที่ ตระหนักในอำานาจอิทธิพลของสื่อ และประสงค์จะใช้สื่อในแนวทางใหม่ ที่จะช่วยแก้ไขปัญหาของโลก โดยเฉพาะในส่วนที่ยังยากจนและมอง เห็นว่าล้าสมัย แดเนียล เลอร์เนอร์ (Daniel Lerner) เขียนหนังสือเรื่อง :”The Passing of Traditional Society, Modernization of the Middle East” (การผ่านไป ของสังคมประเพณีดั้งเดิม การทำาให้ตะวันออกกลางทันสมัย) ในปี 1958
เสนอความคิดให้เปลี่ยนตะวันออกกลางจากสภาพสังคมประเพณีดั้งเดิม ไปสู่ความทันสมัย เป็นหนังสือเล่มสำาคัญที่ชูธงทฤษฎีการสื่อสารเพื่อการ พัฒนาอย่างกล้าหาญ ทฤษฎีของเขาได้รับการสนับสนุนโดยทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ของรอส ตอฟ (Rostow) ที่เสนอในปี 1960 ว่า ประเทศที่ดอ ้ ยพัฒนาจะเจริญ เติบโตได้ก็ด้วยการทำาให้เป็นประเทศอุตสาหกรรม (industrialization) มิ ฉะนั้นก็ไม่สามารถที่จะบินเหิน (take-off) ขึน ้ ไปสู่ความทันสมัยได้ หลังจากนั้นอีกสองปี เอเวอเร็ตต์ รอเจอร์ส (Everett Rogers) ทุมเทงาน วิจัยและเปิดฉากเสนอทฤษฎีสื่อสารนวัตกรรม (communication of innovation) ไปทั่วโลก แนวความคิดของเขามีอิทธิพลเป็นอันมากต่อนัก นิเทศศาสตร์ในประเทศที่กำาลังพัฒนา โดยเฉพาะแบบจำาลองการยอมรับ ของชาวบ้าน (adoption process model of the peasants) ที่ยังนำามา ประยุกต์ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ลูเซียนพาย (Ludien Pye) ในปีเดียวกันเขียนเรื่อง “บทบาทของทหารใน ประเทศกำาลังพัฒนา” แต่ที่ตอกยำ้าความสำาคัญของสื่อมวลชนในการพัฒนามากเป็นพิเศษจน พูดได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของนิเทศศาสตร์พัฒนาการที่แท้จริงก็คือหนังสือ เรื่อง “สื่อมวลชนกับการพัฒนาประเทศ” (1964) ของวิลเบอร์ชรามบ์ (Wilbur Schramm) นักสังคมวิทยาที่ต่อมาได้รับการยกย่องว่าเป็นนัก วิชาการสื่อสารมวลชนที่สำาคัญที่สุดคนหนึ่งของโลก ทฤษฎีเหล่านี้มุ่งเสนอให้สื่อช่วยส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะที่ยังล้าหลัง โดยมองเห็นว่า “การพัฒนาก็คือการทำาให้ทันสมัย” (เลอร์เนอร์) “การพัฒนาคือความ มั่นคง” (แม็คนามารา) “การพัฒนาคือเสรีภาพ” (ฌ็องมาเออ ผู้อำานวย
การยูเนสโก) “การพัฒนาคือการปฏิวัติด้วยเสรีภาพ” (เฮอร์เบิร์ต มาร์แชล รัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐ) แต่ก็ถูกย้อนวิพากษ์ (reverse criticism) ว่าการทำาให้ทันสมัย (modernization) ก็คือการทำาให้เป็นตะวันตก (westernization) ทำาให้ เป็นอเมริกัน (Americanization) เป็นการหล่อหลอมโน้มน้าวให้เชื่อใน ลัทธินิยม (modernism) เป็นเสรีภาพที่นำาไปสู่ความเป็นทาสความคิดและ วัฒนธรรมตะวันตก 3. การวิพากษ์ลัทธิสมัยนิยม (modernism) เป็นจุดเริ่มต้นของลัทธิหลัง สมัยนิยม (postmodernism) นักทฤษฎีแนววิพากษ์จำานวนมิใช่น้อยได้ ทุ่มเทศึกษาวิจัยเพื่อโต้แย้งหรือตักเตือนให้ประเทศกำาลังพัฒนายั้งคิด ไตร่ตรองก่อนที่จะทุ่มตัวยอมรับลัทธิสมัยนิยมจากนักวิชาการชาว อเมริกัน เฮอร์เบอร์ต มาค์คูเซ (Herbert Marcuse) ได้วางรากฐานการวิพากษ์ สังคมไว้ในหนังสือเรื่อง มนุษย์มิติเดียว (One-dimensional Man) ซึ่ง เสนอในปี 1964 ว่า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ถูกนำามาเป็น บรรทัดฐานความคิดและเครื่องมือสร้างความทันสมัย ท้ายที่สุดก็ได้ลด ระดับการพูดและการคิดของมนุษย์ให้เหลือเพียงมิติเดียว อาทิ การรวบ ความจริงกับการปรากฏความจริงไว้ด้วยกัน การรวบสิ่งของกับบทบาท หน้าที่ของมันไว้ด้วยกัน การรวบธนบัตรกับความสุขไว้ด้วยกัน ทฤษฎีของเขาสร้างขึ้นตั้งแต่สอนอยู่ที่สาขาปรัชญาในมหาวิทยาลัยฟรัง เฟิร์ต ซึ่งรู้จักกันในนามของสำานักแฟรงเฟิร์ต (Frankfurt School) มีส่วน เป็นชนวนให้นักศึกษาลุกฮือต่อต้านสถาบันทุนนิยม (capitalist establishment) และสังคมบริโภค (society of consumption) ทั้งในปารีส และแคลิฟอร์เนีย ในปี 1968 ชื่อของเขาถูกกล่าอ้างว่าอยู่ในกลุ่มสามเอ็ม (3 M’s) ผู้ปฏิวัติสังคม คือ Marx, Mao และ Marcuse
เฮอร์เบิร์ต ชิลเลอร์ (Herbert Schillet) แห่งมหาวิทยาลัยซานดิเอโก มลรัฐแคลิฟอร์เนีย เป็นผู้ผลักดันทฤษฎีวิพากษ์ออกไปสู่ทฤษฎีใหม่ที่ อาจเรียกว่าลัทธิจักรวรรดินิยมทางการสื่อสาร (communication imperialism) โดยการเขียนเรื่อง จักรวรรดิ์อเมริกันกับการสื่อสาร “American Empire and Communicaiton” (1969) ตามมาด้วยหนังสืออีก หลายเล่มที่เป็นศูนย์รวมความคิดต่อต้าน “การรุกรานทางวัฒนธรรม” ของสหรัฐอเมริกา ติดตามสนับสนุนด้วยงานวิจัยของ คาร์ล นอร์เด็นส เตร็ง (Karl Nordenstreng) ตาปิโอ วารีส (Tapio Varis) จากประเทศ ฟินแลนด์ สมควร กวียะ, บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา จากประเทศไทยและ นักคิดนักวิชาการอีกหลายคนจากตะวันออกกลางและอเมริกาใต้ในช่วง ทศวรรษ 1970 ในบทความเรื่อง “La Morale des Objects” (วัตถุธรรม) ตีพิมพ์ในวารสา รนิทเทศศาสตร์ของฝรั่งเศส (1969) ฌ็อง โบดริยาร์ด (Jean Baudrillard) มีส่วนริเริ่มอย่างสำาคัญในการสถาปนาทฤษฎีการบริโภคสัญญะ (consumption of signs) ที่ประสมประสานแนวคิดลัทธินิยมบริโภคขอ งมาร์คูเซและลัทธิจักรวรรดินิยมทางการสื่อสารของชิลเลอร์ทฤษฎี บริโภคสัญญะอธิบายว่า ในประเทศที่มั่งคั่งฟุ่มเฟือย (Pays de Cocagne) ด้วยลัทธิบริโภค มนุษย์มีความสุขความหวังของชีวิตอยู่ที่ความเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจที่จะทำาให้เขาได้บริโภควัตถุอย่างฟุ่มเฟือย แต่ใน ความเป็นจริงเขาต้องบริโภค “สัญญะของวัตถุ” ที่มาจากสื่อมวลชนด้วย และโดยทั่วไป “สัญญะ” ก็มักจะไม่ตรงกับ “วัตถุ” หรือผลิตภัณฑ์ ทฤษฎีที่วิพากษ์การบริโภคสัญญะ วิเคราะห์ลัทธิบริโภคและวิจารณ์ลัทธิ จักรวรรดินิยมทางการสื่อสาร ได้ร่วมกันกระตุ้นเตือนอย่างรุนแรงให้ โลกของนิเทศศาสตร์ผ่านจากยุคสมัยนิยม (modernism) มาสู่ยุคหลัง สมัยนิยม (postmodernism) ในทศวรรษ 1980
4. การพัฒนาเทคนิคและเทคโนโลยีกลายเป็นที่มาของวิชาการสื่อสาร มวลชน ย้อนกลับมาที่สหรัฐอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นักคิดนัก วิชาการไม่เพียงแต่จะได้เสนอแนวคิดทฤษฎีการสื่อสารเพื่อการพัฒนา โลกที่สาม (ประเทศด้อยพัฒนาและกำาลังพัฒนา) เท่านั้น หากยังได้ พยายามศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาเทคนิคและเทคโนโลยีการสื่อสารของ ตนเองให้เพิ่มพูนคุณค่าและประสิทธิภาพอยู่โดยตลอด อาจเรียกรวม แนวคิดทฤษฎีเหล่านี้อยู่ในกลุ่มพัฒนาการสื่อสาร (communication development) ซึ่งต่อมายูเนสโกก็ได้นำาไปเป็นพื้นฐานในการตั้ง โครงการนานาชาติ เพื่อการพัฒนาการสื่อสาร (International Program for Communication Development) และญี่ปุ่นก็ได้นำาแนวคิดไปสร้าง แผนพัฒนาระบบเครือข่ายสารสนเทศ (Information Network System) ที่เริ่มต้นตั้งแต่ปี 1985-2000 ทำาให้ญี่ปุ่นก้าวเข้ามาสู่สภาพสังคมสื่อสาร (cybersociety) ในต้นศตวรรษที่ 21 ทฤษฎีที่สำาคัญและเป็นรากฐานของการพัฒนาสังคมสื่อสารเรื่อยมา จนถึงปัจจุบันก็คือ ไซเบอร์เนติกส์ (Cybernetics) ซึ่งหมายถึงศาสตร์ที่ว่า ด้วยการสื่อสารและการควบคุมภายในสัตว์และในเครื่องจักร ซึ่งนำา เสนอโดยนอร์เบิร์ต วีเนอร์ (Norber Wiener) เมื่อปี 1948 แสดงให้เห็น บทบาทสำาคัญของสารสนเทศในการเสริมสร้างและดำารงสังคมมนุษย์ โดยอาศัยกลไกการป้อนไปและป้อนกลับ (feedforward-feedback mechanism) ภายในระบบชีวิตและระบบสังคม ซึ่งถือว่ามีชีวิตเช่น เดียวกัน ชีวิตและสังคมจะเจริญพัฒนาไปได้ก็โดยการพัฒนาระบบการ สื่อสารที่สามารถถ่ายทอดแลกเปลี่ยนสารสนเทศกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ในปีเดียวกัน ฮาโรลด์ ลาสเวลล์ (Harold Lasswell) เสนอทฤษฎีบทบาท หน้าที่ของสื่อมวลชน (functionalism) เสนอให้เห็นชัดเจนเป็นครั้งแรก
ว่าบทบาทหน้าที่ของสื่อมวลชน คือการดำารงรักษาและบูรณาการสังคม (social integration) จึงจะต้องมีการปรับปรุงพัฒนาสื่อมวลชนมิให้เกิด ความล้มเหลว (dysfunction) ในการปฏิบัติหน้าที่ของตนคือ การเฝ้า ระวังสภาพแวดล้อม การประสานส่วนต่าง ๆ ของสังคมให้ตอบสนองต่อ สภาพแวดล้อม และการถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรม อีกทฤษฎีหนึ่งแม้ในตอนเริ่มต้นมิได้เกี่ยวกับการสื่อสารมวลชนโดยตรง แต่ก็ถูกนำามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาสื่อมวลชน นั่นคือ ทฤษฎี สารสนเทศ (information theory) ของ แชนนอน และวีเวอร์ (Shannon and Weaver) ซึ่งพัฒนาขึ้นในปี 1949 เสนอเป็นแบบจำาลองที่วิเคราะห์ การถ่ายทอดสารนิเทศ และแสดงให้เห็นการสื่อสารเป็นกระบวนการที่ เริ่มต้นจากแหล่งสาร (source) เลือกสาร (message) ถ่ายทอดไป (transmitted) ในรูปแบบของสัญญาณ (signal) ผ่านช่องทางการสื่อสาร (channel) ไปยังเครื่องรับ (receive) ซึ่งแปลงสัญญาณเป็นสารสำาหรับจุด หมายปลายทาง (destination) ในกระบวนการนี้อาจมีสิ่งรบกวนหรือ แทรกแซง (noise or interference) ซึ่งทำาให้สารที่ส่งกับสารที่รับแตกต่าง กันได้ แบบจำาลองของทฤษฎีสารสนเทศนี้ มีส่วนเป็นแรงบันดาลใจให้ เดวิด เค เบอร์โล (David K. Berlo) พัฒนาไปเป็นแบบจำาลองทางจิตวิทยาว่าด้วย องค์ประกอบของการสื่อสารระหว่างบุคคลที่รู้จักกันดีในนามของ S M C R (Source, Message, Channel, Receiver) พิมพ์ในหนังสือ ชือ ่ “The Process of Communication” (กระบวนการสื่อสาร” ในปี 1960 แต่องค์ประกอบของกระบวนการการสื่อสารที่เสนอเพิ่มเติมอย่างมีความ สำาคัญจากทฤษฎีสารสนเทศของแชนนอน-วิเวอร์ ก็คือการเข้ารหัสและ การถอดรหัส (encoding-decoding) ของผู้ส่งสารและผู้รับสารในแบบ จำาลองเชิงวงกลมของ วิลเบอร์ ชรามม์ และ ชาร์ลส์ ออสกูด (Wilbur
Schramm and Charles osgood) ทำาให้เห็นว่าการสื่อสารของมนุษย์และ ของสือ ่ มวลชนจะมีประสิทธิผลสูงก็ตอ ่ เมื่อการเข้ารหัสถอดรหัสที่ดี ผู้ สื่อสารทั้งสองฝ่ายจะต้องมีความรู้ความสามารถในการแปลสารสนเทศ (information) เป็นสาร (messgae) และแปลงสารเป็นสารสนเทศได้ทั้ง สองทิศทาง ทฤษฎีอีกกลุ่มหนึ่งที่นำามาประยุกต์ใช้บ่อยครั้งในการเพิ่มประสิทธิภาพ ของการสื่อสารมวลชนก็คือแนวคิดของแบบจำาลองการใช้ประโยชน์และ การไดรับความพึงพอใจ (uses and gratifications) โดยเฉพาะของเอ ลิฮูคัทซ์ (Elihu Katz) และคณะ (1974) ซึ่งเสนอว่า “การใช้ประโยชน์ และการได้รับความพึงพอใจของผู้รับสารมาจากการเปิดรับสารจาก สื่อมวลชนที่เขาคาดหวังว่าจะให้สารสนเทศตามความต้องการ อันเกิด จากสภาวะทางจิตใจและทางสังคม” จากทฤษฎีนี้ทำาให้เริ่มตระหนักว่าสื่อมวลชนที่ประสบความสำาเร็จจะต้อง มีการวิเคราะห์วิจัยให้รู้ความต้องการสารสนเทศของประชาชน รวมทั้ง สภาวะทางจิตใจและสังคมอันเป็นที่มาของความต้องการนั้นอยู่ตลอด เวลา ทฤษฎีที่กล่าวข้างต้นมีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการสื่อสารมวลชน ซึ่งถือว่า เป็นการสื่อสารที่สำาคัญที่สุดของสังคมสมัยใหม่ (modern society) ใน ที่สุดก็ก่อให้เกิดศาสตร์ใหม่ที่ขยายตัวมาจากวารสารศาสตร์ เรียกว่า วิชาการสื่อสารมวลชน สถาบันการศึกษาหลายแหล่งในสหรัฐอเมริกาได้ต่อเติมชื่อคณะหรือ สถาบันวารสารศาสตร์ เรียกเป็น “วารสารศาสตร์และสื่อสารมวชชน” (Journalism and Mass Communication) ซึ่งในประเทศไทยก็จะเห็นได้ ชัดเจนจากกรณีของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่ก่อตั้งขึ้นเป็นคณะ วารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนในช่วงทศวรรษ 1970 เช่นเดียวกัน
แต่สถาบันการศึกษาอีกส่วนหนึ่งก็ขยายขอบเขตหลักสูตรการศึกษาออก ไปครอบคลุมวาทะวิทยา และศิลปะการแสดง แล้วเรียกรวมว่า นิเทศศาสตร์ (Communication Arts) ซึ่งต้องการให้หมายถึงทั้งศิลปะ และศาสตร์ของการสื่อสาร (Art and Science of Communication) ดัง เช่นในกรณีของคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปัจจุบัน สถาบันการศึกษาส่วนใหญ่ในประเทศไทยนิยมใช้คำาว่า “นิเทศศาสตร์” ยกเว้น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำาแหง และ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งต้องเน้นความสำาคัญของวิชาการที่เกี่ยวกับ สื่อมวลชน ซึ่งถือว่าเป็นสื่อหลักของสังคมมวลชล ทฤษฎีก ารสื่อ สารยุค ปัจ จุบ ัน ยุคนี้อาจแบ่งได้เป็น 2 ช่วง คือ ช่วงแรกตั้งแต่ประมาณปี 1980 ถึง ประมาณปี 1995 และช่วงที่สองประมาณปี 1990 จนถึงปัจจุบัน คือปี 2002 1. ในช่วงแรก มีแนวโน้มการพัฒนาแนวคิดทฤษฎีการสื่อสารมาใน 2 ทิศทาง คือ 1.
การวิพากษ์เชิงองค์รวม (holistic approach criticism) ที่นำาโลก การสื่อสารเข้าสู่ยุคหลังสมัยนิยม และ
2.
การปฏิรูปแนวคิดและแนวทางการพัฒนาการสื่อสารในสังคมใหม่
1.1 การวิพากษ์เชิงองค์รวม หมายถึง การที่นักคิด นักวิจัย จากสาขา วิชาต่าง ๆ หันมาใช้ความคิดเชิงองค์รวม วิเคราะห์และวิพากษ์การ สื่อสารในระบบทุนนิยมเสรีของสังคมเศรษฐกิจการตลาด (liberal capitalism in market economy) ในเชิงเศรษฐกิจการเมือง เกิดกลุ่มทฤษฎีการครอบงำากำาหนด (determinism) ที่วิพากษ์ว่าเทคโนโลยีลัทธิสมัยนิยม และลัทธิการแพร่ กระจายของรอเจอร์ส (Rogers’s Diffusionism) มีอำานาจในการกำาหนด
ชะตากรรมของประเทศ (fatalism) เทคโนโลยีสร้างสื่อให้เป็นพระเจ้า (dei ex machina) และ “เปิดโอกาสให้ชนชั้นนำามีอำานาจเหนือความรู้และ การตัดสินใจของประชาชน” ตามทัศนะของ ฌ็อง ฟร็องซัวส์ ลีโอตาร์ด (Jean Francois Lyotard) ในหนังสือเรื่อง “La Condition Postmoderne” (1979) มองลึกและกว้างไปในปรัชญาเชิงองค์รวม ฌาคส์แดริดา (Jacques Derrida) และมิแชล ฟูโกลต์ (Michel Foucault) สนับสนุนแนวคิดเชิง วิพากษ์ของลีโอตาร์ด และเสริมต่อว่าในยุคสื่อหลากหลาย รัฐบาลและ ชนชั้นนำายังได้ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารควบคุมพฤติกรรมสังคมแบบ ตามจำาลอง “กวาดดูโดยรอบ” (panopticon) ซึ่งถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิ และคุณค่าความเป็นมนุษย์ของประชาชน ทั้งสามนักวิชาการจึงได้เสนอ แนวคิดใหม่ที่เรียกว่า ลัทธิหลังสมัยนิยม (postmodernism) ถือว่าใน สังคมใหม่ เอกชนต้องเข้ามามีบทบาทในการสร้างระบบสารสนเทศเสรี (free flow of information) ทั้งในองค์กรและในสังคม สมควร กวียะ เสนอแนวคิดไว้เมื่อปี 1986 ว่า มองในแง่อำานาจอิทธิพล ของเทคโนโลยี เราอาจแบ่งประเทศในโลกออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม ประเทศที่กำาหนดเทคโนโลยี และกลุ่มประเทศที่ถูกกำาหนดโดย เทคโนโลยี กลุ่มแรกสร้างเทคโนโลยีเพื่อตอบสนองความต้องการของ สังคม กลุ่มที่สองถูกเทคโนโลยีจากกลุ่มแรกเข้ามากำาหนดวิถีชีวิต และ ระบบเศรษฐกิจสังคมของประเทศ ก่อให้เกิดความเสียเปรียบทั้งด้าน เศรษฐกิจ การเมือง และสังคมวัฒนธรรม ประเทศจะต้องใช้เงินมหาศาล เป็นต้นทุนของการทำาเผื่อทำาเกินอย่างฟุ่มเฟือยโดยไม่จำาเป็น (redundancy cost) รวมทั้งต้นทุนของการสูญเสียโอกาสในการผลิต เทคโนโลยีของตนเอง (opportunities cost)
วิสาหกิจหรือการประกอบการ (entreprise) ในทศวรรษ 1980 มีลักษณะ เป็นนามธรรม และหลากหลายรูปแบบเต็มไปด้วยภาษาสัญลักษณ์ และ กระแสการสื่อสารที่เป็นบ่อเกิดของการปรับโครงสร้าง และลำาดับชั้นของ การพึ่งพาอาศัยกันในระดับโลก แต่การต่อสู้แข่งขันที่ขยายขอบเขตและ เพิ่มความเข้มข้นได้บีบบังคับให้เจ้าของกิจการและผู้บริหารต้องนำาความ รุนแรง และความวิจิตรวิตถาร (violence and hardcore fantasy) ของ ศิลปะประยุกต์มาใช้ในการสื่อสารและวิทยายุทธ์การบริหารองค์กร วัฒนธรรมการโฆษณาและการโฆษณาชวนเชื่อแอบแฝงตามแบบฮอลลี วูด (Hollywoodian hidden propaganda) แทรกซึมเข้าไปสู่วิถีและวิธีการ สื่อสารของมนุษย์ในสังคมหลังสมัยใหม่ จนถึงขนาดทีอ ่ าจมีส่วนในการ สร้างวัฒนธรรมสงครามเย็นหรือแม้สงครามยิง 1.2 แนวโน้มที่สองในช่วงแรกของทฤษฎีการสื่อสารยุคปัจจุบัน คือการ ปฏิรูปแนวคิดและแนวทางของการพัฒนาการสื่อสารในสังคมใหม่ สังคมใหม่ตอ ้ งอาศัยสารสนเทศเป็นปัจจัยหลักของการสร้างและธำารง พัฒนาสังคม จึงต้องสร้างและพัฒนาระบบสารสนเทศ ทั้งในองค์กรและ ในสังคม บนพื้นฐานแนวคิดจากรายงานเรื่อง L’ Informatisation de la Societe (การสร้างสังคมให้เป็นระบบสารสนเทศ) ของซิมองโนรา และอะแลง แมงก์ (Simon Nora และ Alain Minc) ที่เสนอต่อรัฐบาลฝรั่งเศส ในปี 1978 องค์กรกลายเป็นองค์กรสารสนเทศ (Information Organization) สังคมกลายเป็นสังคมสารสนเทศ (Information Society) ต้องอาศัยการ สนับสนุนทางเทคโนโลยีจากระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นปัจจัยหลักของ การสร้างระบบสารสนเทศ (Informationization) สหรัฐอเมริกา ยุโรปตะวันตก และญี่ปุ่น จึงเริ่มวางแผนพัฒนานิทศทางนี้ มาตั้งแต่ต้นทศวรรษ 1980 แผนของญี่ปุ่นดำาเนินงานโดยบรรษัท
โทรเลขและโทรศัพท์แห่งชาติ (NTT) ภายใต้โครงการ 15 ปี เพื่อพัฒนา ระบบเครือข่ายสารสนเทศ (Information Network System) กลายเป็นแม่ แบบสำาคัญสำาหรับสาธารณรัฐเกาหลี มาเลเซีย และประเทศกำาลังพัฒนา อีกหลายประเทศ จุดมุ่งหมายก็เพื่อนำาเทคโนโลยีของชาติมาสร้างสังคม สารสนเทศที่พึ่งตนเองได้ ต่อมาภายหลังความหมายของคำา “สังคมสารสนเทศ” ได้ขยาย ครอบคลุมมาถึงคำา “สังคมความรู้” (Knowledge Society) และ “สังคม สื่อสาร” (Cyber หรือ Communication Soiety) สังคมความรู้ หมายถึง สังคมสารสนเทศที่เน้นสารสนเทศประเภทความรู้ สำาคัญกว่าประเภทอื่น เพราะเชื่อว่าความรู้คือสารสนเทศที่พิสูจน์สรุป แล้วว่าเป็นความจริง และมีสาระพร้อมจะนำาไปใช้เป็นประโยชน์ต่อชีวิต และสังคม สังคมสื่อสาร คือ สังคมสารสนเทศที่ประชากรส่วนใหญ่มีเครื่องมือ สื่อสารหรือเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) พร้อมที่จะ สื่อสารกันได้อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง อาณาบริเวณของการสื่อสาร ครอบคลุมทุกท้องถิ่นของสังคม และสามารถขยายออกไปได้ทั่วโลกใน ยุคโลกาภิวัตน์ (globalisation) ทฤษฎีโลกาภิวัตน์ถือกำาเนิดขึ้นในบทความเรื่อง Globalization ที่ ศาสตราจารย์ธีโอดอร์ เววิตต์ (Theoder Levitt) เสนอในวารสาร “Harvard Business Review” เมื่อปี 1983 แม้ว่าก่อนหน้านั้นในช่วงหลัง สงครามโลกครั้งที่สอง มีการใช้คำานี้กันแล้วในทางด้านการเงิน (financial globalization) มีความหมายถึงการค้าข้ามพรมแดนในระบบ การเงินระหว่างประเทศ 2. ในช่วงที่สองของทฤษฎีการสื่อสารยุคปัจจุบัน ซึ่งเริ่มตั้งแต่ประมาณ กลางทศวรรษ 1990 มาถึงปี 2002 นับว่าเป็นช่วงวิกฤตทางทฤษฎี
(Theoritical Crisis) ที่สำาคัญมากอีกครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ทฤษฎีการ สื่อสาร ทั้งนี้เพราะถึงแม้โลกจะมีเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะระบบ อินเตอร์เน็ตที่สามารถทำาให้ทุกองค์กรและทุกสังคมติดต่อเชื่อมโยงกัน ได้ในอาณาจักรไซเบอร์ (Cyberspace) หรือโลกไซเบอร์ (Cyberworld) แต่โลกภายใต้การบริหารจัดการขององค์กรโลก หรือสหประชาชาติก็ยัง อยู่ในสภาพไร้ระเบียบและแตกแยกจลาจลกันจนถึงขั้นทำาศึกสงคราม รายงานการศึกษาปัญหาการสื่อสารของโลก โดยคณะกรรมาธิการ “แม็คไบรด์” ของยูเนสโก ได้พบมาตั้งแต่ปี 1978 ว่า ในโลกหนึ่งเดียวนี้มี หลายความคิด หลายความเชื่อ หลายความเห็น (“Many Voices, One World” ชื่อของรายงานที่พิมพ์เป็นหนังสือในปี 1979) แต่ที่โลกมีปัญหา ก็เพราะว่าประเทศต่าง ๆ และสังคมวัฒนธรรมต่าง ๆ ไม่พยายามสื่อสาร ทำาความเข้าใจและประนีประนอมยอมรับกัน ทั้งนี้เพราะมีทิฐิในลัทธิ ความเชื่อของตน หรือมีผลประโยชน์ขัดแย้งกันในทางเศรษฐกิจ การเมือง จนกระทั่งทศวรรษสุดท้ายของศตวรรษที่ 20 ทิฐห ิ รือความขัด แย้งเหล่านั้นก็ยังไม่บรรเทาเบาบาง แต่กลับยิ่งรุนแรงจนกลายเป็นความ ตึงเครียดระหว่างภูมิรัฐศาสตร์ (geopolitics) ภูมิเศรษฐศาสตร์ (geoeconomics) และภูมิสังคมวัฒนธรรม (geosocio-culture) อาณาจักร ทางเศรษฐกิจของโลกขยายเข้าไปก้าวก่ายแทรกซ้อนกับอาณาจักร ทางการเมือง การปกครอง ซึ่งมีความเหลือ ่ มลำ้ากันอยู่แล้วกับอาณาจักร ทางสังคมวัฒนธรรม ความตึงเครียด (tension) กลายเป็นความเครียด ของโลก (world stress) ที่บั่นทอนทั้งสุขภาพกายและจิตของประชากร การทำาศึกสงคราม การก่อการร้าย การต่อสู้เชิงกลยุทธ์เศรษฐกิจ หรือ แม้แต่การแข่งขันกันในเชิงอุตสาหกรรม กลายเป็นสิ่งที่บ่อนทำาลาย คุณภาพชีวิต คุณภาพของสิ่งแวดล้อม หรือระบบนิเวศ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ง ขวัญ กำาลังใจ และศักดิ์ศรีเกียรติภูมิของมนุษยชาติ
ท้ายที่สุดความขัดแย้งในความเป็นจริงก็นำามาสู่ความรู้สึกขัดแย้งในเชิง ทฤษฎี เข้าทำานอง “สื่อยิ่งมาก การสื่อสารยิ่งน้อย” (The more the media, the less the communication) ซึ่งอาจจะเป็นเพราะว่าสื่อส่วนใหญ่ มักถูกใช้เพื่อสร้างสังคมบริโภคที่มนุษย์แข่งขันกันด้วยการโฆษณา สินค้าฟุ่มเฟือย หรือโฆษณาชวนเชื่อลัทธิเศรษฐกิจการเมืองที่ไม่คำานึง ถึงสิทธิเสรีภาพและคุณค่าของความเป็นมนุษย์ สือ ่ ส่วนน้อยเท่านั้นที่ถูก ใช้เพื่อสร้างสังคมสารสนเทศหรือสังคมความรู้ที่แท้จริง ซึ่งมนุษย์อยู่ร่วม กันด้วยสติปัญญาและคุณธรรมความรับผิดชอบร่วมกัน แต่เหตุผลที่แน่นอนก็คือ ทฤษฎีการสื่อสารตั้งแต่ก่อนยุคทฤษฎี ยุคสมัย นิยม ยุคหลังสมัยนิยม แม้มีการวิพากษ์วิจารณ์ และปรับปรุงพัฒนามา แล้วเพียงใด ทฤษฎีการสื่อสารก็ยังอยู่ในกรอบของปรัชญาตะวันตกที่ เน้นเทคนิคนิยม (technism) มากกว่ามนุษยนิยม (humanism) และ เป็นการสื่อสารทางเดียวมากกว่าการสื่อสารสองทาง ทั้งนี้เพราะปรัชญา ตะวันตกมีรากฐานมาจากลัทธิเทวนิยมแนวศาสนาคริสต์ (Christian theism) ซึ่งถือว่าพระเจ้าองค์เดียวมีอำานาจเหนือมนุษย์ ถ่ายทอดมา เป็นกระบวนทัศน์การสื่อสารเบื้องบนสู่เบื้องล่าง (top-down communication) จากผู้นำาถึงประชาชน จากคนรวยถึงคนจน จากคนมี ถึงคนไม่มี (have to have-not) จากนายทุนผู้ผลิตถึงประชาชนผู้บริโภค จากผู้มีอำานาจทางเศรษฐกิจหรือการเมืองถึงผู้บริโภคสัญญะ ซึ่งหมาย ถึงผู้จ่ายเงินส่วนหนึ่งซื้อความเป็นนามธรรมที่ไม่มีตัวตนของสินค้าหรือ อุดมการณ์ การแสวงหากระบวนทัศน์ใหม่จึงค่อย ๆ เริ่มขึ้นในตอนต้นทศวรรณ 1990 และค่อยทวีความเข้มข้นจริงจังในครึ่งหลังของทศวรรษนี้ รัฐธรรมนูณฉบับ 2540 ของประเทศไทยได้รับทฤษฎีสื่อมวลชน ประชาธิปไตยมาเป็นแนวทางของรัฐ ในการปฏิรูปการสื่อสารมวลชนให้
มีหลักประกันเสรีภาพ อิสรภาพ ความเสมอภาค ความรับผิดชอบ และ ประสิทธิภาพเพื่อสาธารณประโยชน์ และเพื่อสังคมตามที่บัญญัติใน มาตรา 39, 40 และ 41 อมาตยา เสน (Amatya sen) นักเศรษฐศาสตร์ผู้ได้รับรางวัลโนเบล ในปี 1996 เสนอทฤษฎีกระแสเสรีของข่าวสารเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ (free flow of information for economic development) ชี้ให้เห็นว่าความเปิดกว้าง ของข่าวสาร (informational openness) จะส่งเสริมระบอบประชาธิปไตย และระบอบประชาธิปไตยจะส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจที่แท้จริงและ ยั่งยืน เพราะผู้นำาในระบอบนี้จะรับรู้ขอ ้ มูลข่าวสารที่ถูกต้องเพื่อการริเริ่ม และดำาเนินโครงการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ โจเซฟ สติกลิทซ์ (Joseph Stiglitz) นักเศรษฐศาสตร์อีกคนหนึ่งที่ได้รับ รางวัลโนเบล ในปี 2000 เสนอทฤษฎีสารสนเทศอสมมาตร (Asymetric Information) แสดงเป็นสมการว่าความแตกต่างทางสารสนเทศทำาให้ เกิดความแตกต่างระหว่างกลุ่มคนรวยกับคนจน เช่น การรับรู้ข่าวสาร เรื่องสัมปทานของรัฐเร็วกว่าหรือดีกว่าย่อมได้เปรียบในการยื่นซอง ประกวดราคา ทำาให้มีโอกาสดีกว่าในการได้มาซึ่งสัมปทาน ทำาให้มี โอกาสที่จะเพิ่มความรำ่ารวยยิ่งกว่าคนที่มิได้รับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับ สัมปทาน ทฤษฎีนี้ยืนยันถึงบทบาทสำาคัญของการเผยแพร่สารสนเทศเพื่อการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ทว่าการเผยแพร่สารสนเทศนั้นจะต้องยึด หลักความโปร่งใส ความเสมอภาค และความรับผิดชอบต่อสังคมโดย รวม ไม่ว่าจะเป็นการเผยแพร่สารสนเทศของสือ ่ ประเภทใด การทำางาน บนพื้นฐานอุดมการณ์ดังกล่าว จึงต้องมีอิสรภาพในทางวิชาชีพ (professional independence) ซึ่งถือว่าเป็นจริยธรรมที่สำาคัญ
ในช่วงเวลาเดียวกัน สมควร กวียะ ได้นำาเอาทฤษฎีความรับผิดชอบต่อ สังคมมาปฏิรูปการประชาสัมพันธ์แบบดั้งเดิม สร้างเป็นทฤษฎีการ ประชาสัมพันธ์ใหม่ที่เรียกว่า การสื่อสารองค์กรเชิงบูรณาการ (Integrated Oraganizational Communication) ทฤษฎีนี้เสนอว่าองค์กร จะต้องปรับเปลี่ยนปรัชญา (1) จากการสื่อสารมิติเดียวมาเป็นการสื่อสาร หลายมิติ (multi-dimensional communication) ใช้หลายสื่อ หลาย ทิศทาง และมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมทั้งองค์กรและสังคมอย่างเป็น ธรรม (2) จากการสื่อสารถึงสาธารณชนหรือมวลชนมาเป็นการสื่อสาร กับสมาชิกของสังคม เน้นสังคมภายในองค์กรและชุมชนรอบองค์กร ก่อนขยายขอบเขตออกไปสู่องค์กรอื่น และสังคมมวลชน (3) จากการ สื่อสารโน้มน้าวใจให้คล้อยตามมาเป็นการสื่อสารเพื่อสร้างความเป็น หนึ่งเดียวบนพื้นฐานความแตกต่าง (oneness of differences) ของความรู้ ความคิด และบทบาทหน้าที่ (4) จากการสื่อสารเพื่อสร้างเสริมภาพ ลักษณ์ (mind image) ขององค์กรเพียงด้านเดียวมาเป็นการสื่อสารเพื่อ ส่งเสริมภาพจริง (real image) ที่แสดงความรับผิดชอบขององค์กรต่อ สังคมต่อโลกและต่อชีวิตของเพื่อนมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นลูกค้าหรือกลุ่มเป้า หมายขององค์กรหรือไม่ แต่การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (paradingm shift) ที่มีความหมายความ สำาคัญมาก เริ่มต้นโดย ฟริตจอฟ คาปรา (Fritjof Capra) นักวิจัยสาขา ฟิสิกส์ จากมหาวิทยาลัยเวียนนา ซึ่งต่อมาได้เป็นผู้อำานวยการศูนย์นิเวศ ศึกษา (Ecoliteracy) ที่มหาวิทยาลัยเบิร์กเลย์ แคลิฟอร์เนีย ในปี 1975 เขาจุดประกายกระบวนทัศน์ใหม่เชิงปรัชญาฟิสิกส์ในหนังสือเรื่อง The Tao of Physics (เต๋าแห่งฟิสิกส์) โดยการประยุกต์ทฤษฎีแนวปรัชญา ตะวันออกโดยเฉพาะฮินดู พุทธ และเต๋า เข้าบูรณาการกับสัจธรรมทาง วิทยาศาสตร์ที่ค้นพบใหม่ในศตวรรษที่ 20 อาทิ ทฤษฎีควอนตัม
(Quantum Theory) และทฤษฎีจักรวาลวิทยาต่าง ๆ (Cosmological Theories) เสนอให้เห็นคุณค่าเชิงวิทยาศาสตร์ของปรัชญาตะวันออกที่ สมควรจะนำามาปฏิรูปสังคมที่ได้ถูกกระทำาให้เป็นทาสความคิดของตะวัน ตกตลอดมา ปี 1982 เขาเสนอปรัชญาสังคมแนวใหม่เชิงองค์รวมในหนังสือเรื่อง “The Turning Point” (จุดเปลี่ยนแปลงแห่งศตวรรษ) เสนอให้ใช้การคิด เชิงองค์รวม (holistic thinking) ในการแก้ปัญหาของสังคมและของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้สื่อมวลชนคำานึงถึงสิ่งแวดล้อม มีจิตสำานึกที่จะ ทำาความรู้จัก เข้าใจ ช่วยอนุรักษ์ระบบนิเวศ และส่งเสริมการพัฒนาที่ ยั่งยืน ในปี 1996 หนังสือเรื่อง “The Web of Life” (ใยแห่งชีวิต) ของเขา ปฏิรูปปรัชญาวิทยาศาสตร์บนพื้นฐานทฤษฎีระบบ (Systems Theories) ทฤษฎีไซเบอร์เนติกส์ และทฤษฎีเกยา (Gaia Theory) ของเจมส์ เลิฟล๊ อก (James Lovelock) ที่เสนอว่า โลกก็เป็นสิ่งมีชีวิตเป็นอภิชีวิต (Superbeing) ที่ชีวิตทั้งหลายอยู่ร่วมกันเป็นสหชีวิต (symbiosis) เช่น เดียวกับที่แบคทีเรียนับแสนล้านมีชีวิตร่วมกันกับร่างกายมนุษย์ สรุปให้ เห็นว่าการสื่อสารหรือสันนิธานกรรม (communication) คือความเชื่อม โยงระหว่างกัน (interconnectedness) ของทุกระบบ ระบบชีวิต ระบสังคม ระบบโลก เป็นกระบวนการเชื่อมโยงด้วยสารสนเทศในรูปแบบของ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างการป้อนไปและการป้อนกลับ (feed forward – feedback interacfion) ทำาให้ทุกส่วนของระบบติดต่อเชื่อมโยงกันตาม หลักปรัชญาของนิเวศวิทยาแนวลึก (deep ecology) จากพื้นฐานแนวคิดหนังสือสามเล่มของฟริตจอฟ คาปรา สมควร กวียะ พยายามนำามาสร้างเป็นกระบวนทัศน์ใหม่ของการสื่อสารมวลชน ใน หนังสือเรื่องนิเวศนิเทศ (Eco-communication) ในปี 1997
นิเวศวิทยาเป็นแนวคิดการสื่อสารเชิงนิเวศวิทยา (Ecological Communication) ที่เสนอให้สื่อมวลชนเปลี่ยนมโนทัศน์ของการทำางาน จากการเสนอข่าวสารตามกระแสในรูปแบบดั้งเดิมของวารสารศาสตร์ อเมริกัน (American journalism) ซึ่งวางรากฐานหยั่งลึกมาตั้งแต่ต้น ศตวรรษมาเป็นการเฝ้าติดตามสืบสวนสอบสวนพฤติกรรมและผลกระทบ ของอุตสาหกรรมเชิงลบ (negative industry) ที่มีตอ ่ ระบบนิเวศ ดิน นำ้า อากาศ อาหาร ชีวิต และโลก สื่อมวลชนใหม่จะต้องมีจิตสำานึกรับผิด ชอบอย่างลึกซึ้งต่อความเสื่อมโทรมของชีวิตโลก และหลีกเลี่ยงการ โฆษณาสนับสนุนผลิตภัณฑ์ที่กำาลังก่อให้เกิดผลกระทบเชิงลบระยะยาว ต่อพิภพ (The Earth) ซึ่งเป็นที่อยู่แห่งเดียวและอาจจะเป็นแหล่งสุดท้าย ของมนุษยชาติ สำาหรับกระบวนทัศน์ใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารภายในบุคคล และ การสื่อสารระหว่างบุคคล มีความเคลื่อนไหวที่น่าสนใจในการเสนอ ทฤษฎีปัญญาแห่งจิตวิญญาณ (Spiritual Intelligence Quotient หรือ SQ) ในสหรัฐอเมริกา โดยไมเคิล เพอร์ซิงเกอร์ (Micheal Persinger) นัก จิตประสาทวิทยา เริ่มต้นในปี 1990 แต่มีการขยายความคิดโดย วีเอส รามจันทรัน (V.S. Ramachandran) แห่งมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ในปี 1997 และเป็นที่ยอมรับกว้างขวางในปี 2000 เมื่อมิเชล เลวิน (Michel Levin) เขียนหนังสือเรื่อง “Spiritual Intelligence Awakening the Power of Your Spirituality and Intuition” เส้นทางเดินของปัญญาแห่งจิตวิญญาณ (Paths of SQ) มี 6 ประการคือ การรู้จักหน้าที่ (Duty) การรู้จักทะนุถนอม (Nurturing) การแสวงหา ความรู้ (Knowledge) การปรับเปลี่ยนลักษณะตน (Personal Transformation) การสร้างภราดรภาพ (Brotherhood) และการเป็นผู้นำา แบบบริการ (Servant Leadership)
ทฤษฎีปัญญาแห่งจิตวิญญาณ เป็นแนวคิดใหม่ในการพัฒนาการสื่อสาร ของมนุษย์ คล้ายทฤษฎีเส้นทางที่ปราศจากกาลเวลา (The Timeless Way) ของดีปักโชปรา (Deepak Chopra) ในหนังสือ “Ageless Body, Timeless mind” (1993) ที่เสนอว่ามนุษย์จะต้องรู้จักใช้ธรรมะหรือพลัง แห่งวิวัฒนาการ (power of evolution) มาเป็นพลังสร้างสรรค์ร่างกาย และจิตใจ โดยปฏิบัติตนในเส้นทางที่ปราศจากกาลเวลาหรือความ เสื่อมโทรมตามอายุขัยที่เร็วเกินควร คือ (1) รู้จักชื่นชมกับความเงียบ (silence) (2) รู้จักความสัมพันธ์เชิงบวกของตนกับธรรมชาติ (nature) (3) ไว้วางใจในความรู้สึกของตนเอง (trust in own feeling) (4) มีความมั่นคงในท่ามกลางความสับสนวุ่นวาย (self – centered amid chaos) (5) รู้จักเล่นสนุกสนานเหมือนเด็ก (childlike fantasy and play) (6) มั่นใจในสติสัมปชัญญะของตน (trust in own conscionsness) และ (7) ไม่ยึดติดความคิดดั้งเดิมแต่สร้างเสริมความคิดสร้างสรรค์ตลอดเวลา (non – attachment but openness to won creativity) ทั้งทฤษฎีปัญญาแห่งจิตวิญญาณ (SQ) และทฤษฎีเส้นทางที่ปราศจาก กาลเวลา (Timeless Way) นับว่าเป็นพัฒนาการมาสู่กระบวนทัศน์ใหม่ ของทฤษฎีการสื่อสารภายในบุคคลที่เริ่มต้นโดยซิกมุนด์ฟรอยด์ และ ทฤษฎีการสื่อสารระหว่างบุคคลที่เริ่มต้นโดยฟริตซ์ไฮเดอร์ เป็นการนำา เอาจริยศาสตร์มาผสมผสานเป็นจริยธรรมการสื่อสารของมนุษย์ (Ethics of Human Communication) ที่ถูกทำาให้เสือ ่ มโทรมมาหลายทศวรรษ โดยลัทธิบริโภค และกระแสโลกาภิวัตน์ของระบอบทุนนิยมเสรี โดยเฉพาะอย่างยิ่งทฤษฎีเส้นทางที่ปราศจากการเวลา มีส่วนช่วย สนับสนุนให้เกิดกระบวนทัศน์ลำ้าสมัยและแนวอนาคต (ultramodernist
and futuristic paradigm) ที่มีเวลาเข้ามาเป็นปัจจัยสำาคัญของสารสนเทศ และการสื่อสารทุกประเภท นั่นคือ ทฤษฎีสารเวลา (The Infotime Theory) ซึ่ง สมควร กวียะ ได้นำาเสนอต่อที่ประชุมราชบัณฑิตสำานัก ธรรมศาสตร์และการเมือง เมื่อเดือนมีนาคม 2002 หลังจากที่ได้วิจัยและ พัฒนามาตั้งแต่ปี 1997 ทฤษฎีสารเวลามาจากการวิจัยเชิงทดลองทางความคิด (thought experiment) บนพื้นฐานความคิดเชิงองค์รวม และความรู้ทาง นิเทศศาสตร์ มนุษศาสตร์ สังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ทุกแขนง ได้รับ แรงบันดาลใจจากแนวคิดทฤษฎีของพระพุทธองค์ ไอน์สไตน์ ดาร์วิน ฟ รอยด์ ชรามม์ วีเนอร์ คาปรา โชปรา และโดยเฉพาะอย่างยิ่งสตีเฟน ฮอว์คิง (Stephen Hawking) ในหนังสือเรื่อง “A Brief History of Time” (1990) ตามทฤษฎีสารเวลาสาร (Information) หมายถึงทุกสรรพสิ่งในเอกภพ คือสารทางกายภาพ (Physical Information) สารทางชีวภาพ (Biological Information) สารทางสมอง (Brain Information) และสาร นอกร่างกาย (Extrasomatic Information) หรือสารสังคม (Social Information) การสื่อสาร คือการสร้างสภาพร่วมระหว่างผู้สอ ื่ สาร (commonnessmaking) หรือการสร้างความเป็นหนึ่งเดียว (oneness-making) ของทุก สาร นับตั้งแต่อะตอม โมเลกุล ดาวฤกษ์ กาแล็กซี่ หรือดาราจักร ดาว เคราะห์ ชีวิต สังคม มาจนถึงองค์กร การสื่อสารเป็นกระบวนการพลวัตของความเชื่อมโยงติดต่อระหว่างกัน (dynamic process of intyerconnectedness) ที่ก่อให้เกิดสารหรือระบบ (information or system) แต่จากทฤษฎีเวลาทั้งในทางวิทยาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และ สังคมศาสตร์ พบว่าการสื่อสารอย่างเดียวไม่พอที่จะเกิดให้เกิดระบบได้
ระบบต้องมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงโดยตลอด (perpetual change) นับ ตั้งแต่การเกิดไปจนถึงการตาย ทุกระบบหรือทุกสารจึงต้องมีเวลาเป็นองค์ประกอบที่จะขาดเสียมิได้ เรียกรวมเสียใหม่ว่า สารเวลา หรือ Infotime... สารคือโครงสร้างและ กระบวนการก็คือ เวลา ซึ่งจะต้องรวมกันเป็นหนึ่งเดียว โดยสรุป ทฤษฎีสารเวลาก็คือ สมมติฐานหลักของทฤษฎีการสื่อสารหรือ สันนิธานกรรมทั่วไป (The General Communication Theory) ซึ่งคาดว่า จะเป็นปฐมบทสำาคัญ (major postulate) สำาหรับทฤษฎีของทุกสิ่งทุกอย่าง (The Theory of Everything and Every Non-Thing) ทฤษฎีการสื่ อสารและการเรียนการสอน เพื่อให้การเรี ยนการสอนบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายที่ต้ งั ไว้และผูเ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ได้ดีที่สุด นอกจากจะใช้ เทคโนโลยีการศึกษาทั้งในเรื่ องของกระบวนการและทรัพยากรต่าง ๆ แล้วจำาเป็ นต้องอาศัยทฤษฏีการสื่ อสาร ในการนำาเสนอเนื้ อหาจากผูส้ ่งไปยังผูร้ ับ สื่ อหรื อช่องทางในการถ่ายทอด และวิธีการในการติดต่อเพื่อเป็ น แนวทางสำาหรับการจัดการเรี ยนการสอนอย่างได้ผลดีที่สุดด้วย ทั้งนี้เพราะสิ่ งสำาคัญที่สุดอย่างหนึ่งใน กระบวนการสื่ อสาร คือ การที่จะสื่ อความหมายอย่างไรเพื่อให้ผรู ้ ับสารนั้นเข้าใจได้อย่างถูกต้องว่าผูส้ ่ ง หมายความว่าอะไรในข่าวสารนั้นมีนกั วิชาการหลายท่านได้นาำ เสนอทฤษฏีการสื่ อสารที่นาำ มาใช้เป็ นหลักใน การศึกษาถึงวิธีการส่งผ่านข้อมูลสารสนเทศการใช้สื่อและช่องทางการสื่ อสาร ทฤษฏีการสื่ อสารเหล่านี้ ได้ นำามาใช้ในขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาตั้งแต่ทศวรรษ 1980s เป็ นต้นมาเพื่อเอื้อประโยชน์สาำ หรับ ใช้เป็ นแนวทางในสื่ อสารระหว่างผูส้ อนและผูเ้ รี ยน รวมถึงการเลือกใช้สื่อเพื่อประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิผล ในการเรี ยนรู ้ได้อย่าง สู ตรการสื่ อสารของลาสแวลล์ (Lesswell) ฮาโรลด์ ลาสแวลล์ (Harold Lasswell) ได้ทาำ การวิจยั ในเรื่ องการสื่ อสารมวลชนไว้ในปี พ.ศ. 2491 และได้คิดสูตรการสื่ อสารที่ถึงพร้อมด้วยกระบวนการสื่ อสารที่สอดคล้องกัน โดยในการสื่ อสารนั้น จะต้องตอบคำาถามต่อไปนี้ ให้ได้คือ ใคร พูดอะไร โดยวิธีการและช่องทางใด ไปยังใคร ด้วยผลอะไร สูตรการสื่ อสารของลาสแวลล์เป็ นที่รู้จกั กันอย่างแร่ หลายและเป็ นที่นิยมใช้กนั ทัว่ ไปโดยสามารถนำามาเขียน เป็ นรู ปแบบจำาลองและเปรี ยบเทียบกับองค์ประกอบของการสื่ อสารได้ดงั นี้ ในการที่จะจัดให้การเรี ยนการสอนเกิดขึ้นอย่างมีประสิ ทธิ ภาพดีน้ นั เราสามารถนำาสูตรของลาสแวลล์มา ใช้ได้เช่นเดียวกับการสื่ อสารธรรมดา คือ
ใคร (Who) เป็ นผูส้ ่ งหรื อทำาการสื่ อสาร เช่น ในการอ่านข่าว ผูอ้ า่ นข่าวเป็ นผูส้ ่ งข่าวารไปยังผูฟ้ ังทางบ้าน ในสถานการณ์ในห้องเรี ยนธรรมดาก็เช่นเดียวกันย่อมเป็ นการพูดระหว่างผูส้ อนกับผูเ้ รี ยน หรื อการที่ผเู ้ รี ยน กลายเป็ นผูส้ ่ งโดยการตอบสนองกลับไปยังผูส้ อน แต่ถา้ เป็ นการสอนโดยใช้ภาพยนตร์หรื อโทรทัศน์ ตัวผู ้ ส่ งก็คือภาพยนตร์หรื อโทรทัศน์น้ นั พูดอะไร ด้วยวัตถุประสงค์อะไร (Says what, with what purpose) เป็ นสิ่ งที่เกี่ยวกับ เนื้ อหา ข่าวสารที่ส่งไป ผูส้ ่งจะส่งเนื้ อหาอะไรโดยจะเป็ นข่าวสารธรรมดาเพื่อให้ผรู ้ ับทราบความเคลื่อนไหวของ เหตุการณ์ต่าง ๆ ในแต่ละวัน หรื อเป็ นการให้ความรู ้โดยที่ผสู ้ อนจะต้องทราบว่าจะสอนเรื่ องอะไร ทำาไมจึง จะสอนเรื่ องนั้น สอนเพื่อวัตถุประสงค์อะไร และคาดว่าจะได้รับการตอบสนองจากผูเ้ รี ยนอย่างไรบ้าง โดยใช้วิธีการและช่องทางใด (By what means, in what channel) ผูส้ ่ งทำาการส่ งข่าวสาร โดยการพูด การแสดงกริ ยาท่าทาง ใช้ภาพ ฯลฯ หรื ออาจจะใช้อุปกรณ์ระบบไฟฟ้ า เช่น ไมโครโฟน หรื อ เครื่ องเล่นวีซีดีเพื่อถ่ายทอดเนื้ อหาข่าวสารให้ผรู ้ ับรับได้โดยสะดวก ถ้าเป็ นในการเรี ยนการสอน ผูส้ อนอาจ จะสอนโดยการบรรยายหรื อใช้สื่อสารสอนต่าง ๆ เพื่อช่วยในการส่ งเนื้ อหาบทเรี ยนไปให้ ผูเ้ รี ยนรับและ เข้าใจได้อย่างถูกต้องทำาให้เกิดการเรี ยนรู้ข้ึน ส่ งไปยังใคร ในสถานการณ์อะไร (To whom, in what situation) ผูส้ ่ งจะส่ งข่าวสารไปยัง ผูร้ ับเป็ นใครบ้าง เนื่องในโอกาสอะไร เช่น การอ่านข่าวเพื่อให้ผฟู ้ ังทางบ้านทราบถึงเหตุการณ์ ประจำาวัน หรื อแสดงการทำากับข้าวให้กลุ่มแม่บา้ นชม ผูส้ ่ งย่อมต้องทราบว่าผูร้ ับเป็ นกลุ่มใดบ้างเพื่อสามารถเลือกสรร เนื้อหาและวิธีการส่งให้เหมาะสมกับผูร้ ับ การเรี ยนการสอนก็เช่นเดียวกัน การสอน ผูเ้ รี ยนอายุ 8 ปี กับอายุ 15 ปี ต้องมีวิธีการสอนและการใช้สื่อการสอนต่างกัน ผูส้ อนต้องทราบถึงระดับสติปัญญาความสามารถ และภูมิหลังของผูเ้ รี ยนแต่ละคนว่ามีความแตกต่างกันอย่างไรบ้างตลอดจน สิ ่ งอำานวยความสะดวกต่าง ๆ และสิ่ งแวดล้อมทางกายภาพของการเรี ยน เช่น มีสื่อการสอนอะไร ที่จะนำามาใช้สอนได้บา้ ง สภาพแวดล้อม ห้องเรี ยนที่จะสอนเป็ นอย่างไร ฯลฯ ได้ผลอย่างไรในปัจจุบนั และอนาคต (With what effect, immediate and long term ?) การส่ งข่าวสารนั้นเพื่อให้ผรู้ ับฟังผ่านไปเฉย ๆ หรื อจดจำาด้วยซึ่ งต้องอาศัยเทคนิควิธีการที่แตก ต่างกัน และเช่นเดียวกันกับในการเรี ยนการสอนที่จะได้ผลนั้น ผูส้ อนจะต้องตระหนักอยูเ่ สมอว่าเมื่อสอน แล้ว ผูเ้ รี ยนจะได้รับความรู้เกิดการเรี ยนรู้มากน้อยเท่าใด และสามารถจดจำาความรู ้ที่ได้รับนั้นได้นานเพียงใด โดยที่ผเู ้ รี ยนอาจได้รับความรู้เพียงบางส่วนหรื อไม่เข้าใจเลยก็ได้ การวัดผลของการถ่ายทอดความรู ้น้ั นอาจ ทำาได้ยากเพราะบางครั้งผูเ้ รี ยนอาจจะไม่แสดงการตอบสนองออกมา และบางครั้ งการตอบสนองนั้นก็อาจจะ วัดผลไม่ได้เช่นกัน ทฤษฏี SMCR ของเบอร์โล (Berio) เดวิด เค. เบอร์โล (David K.Berlo) ได้พฒั นาทฤษฎีที่ผสู ้ ่ งจะส่ งสารอย่างไร และผูร้ ับจะรับ แปลคว วามหมาย และมีการโต้ตอบกับสารนั้นอย่างไร ทฤษฏี S M C R ประกอบด้วย
ผูส้ ่ ง (source) ต้องเป็ นผูท้ ี่มีทกั ษะความชำานาญในการสื่ อสารโดยมีความสามารถใน “การเข้ารหัส” (encode) เนื้อหาข่าวสาร มีทศั นคติที่ดีต่อผูร้ ับเพื่อผลในการสื่ อสารมีความรู ้อย่างดีเกี่ยวกับข้อมูล ข่าวสารที่จะส่ง และควรจะมีความสามารถในการปรับระดับของข้อมูลนั้นให้เหมาะสมและง่ายต่อระดับ ความรู ้ของผูร้ ับ ตลอดจนพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับผูร้ ับด้วย ข้อมูลข่าวสาร (message) เกี่ยวข้องด้านเนื้ อหา สัญลักษณ์ และวิธีการส่ งข่าวสาร ช่องทางในการส่ง (channel) หมายถึง การที่จะส่ งข่าวสารโดยการให้ผรู ้ ับได้รับข่าวสาร ข้อมูลโดยผ่าน ประสานทสัมผัสทั้ง 5 หรื อเพียงส่วนใดส่วนหนึ่ง คือ การได้ยนิ การดู การสัมผัส การลิ ้มรส หรื อการได้ กลิ่น ผูร้ ับ (receiver) ต้องเป็ นผูม้ ีทกั ษะความชำานาญในการสื่ อสารโดยมีความสามารถใน “การถอดรหัส” (decode) สาร เป็ นผูท้ ี่มีทศั นคติ ระดับความ และพื้นฐานทางสังคมวัฒนธรรม เช่นเดียวหรื อคล้ายคลัง กันกับผูส้ ่ งจึงจะทำาให้การสื่ อสารความหมายหรื อการสื่ อสารนั้นได้ผล ตามลักษณะของทฤษฏี S M C R นี้ มีปัจจัยที่มีความสำาคัญต่อขีดความสามารถของผูส้ ่ งและรับที่ จะทำาการสื่ อสารความหมายนั้นได้ผลสำาเร็ จหรื อไม่เพียงใด ได้แก่ ทักษะในการสื่ อสาร (communication skills) หมายถึง ทักษะซึ่ งทั้งผูส้ ่ งและผูร้ ับควรจะมีความ ชำานาญในการส่งและการรับการเพื่อให้เกิดความเข้าใจกันได้อย่างถูกต้อง เช่น ผูส้ ่ งต้องมีความสามารถใน การเข้ารหัสสาร มีการพูดโดยการใช้ภาษาพูดที่ถูกต้อง ใช้คาำ พูดที่ชดั เจนฟังง่าย มีการแสดงสี หน้าหรื อ ท่าทางที่เข้ากับการพูด ท่วงทำานองลีลาในการพูดเป็ นจังหวะ น่าฟัง หรื อการเขียนด้วยถ้อยคำาสำานวนที่ถูก ต้องสละสลวยน่าอ่าน เหล่านี้ เป็ นต้น ส่วนผูร้ ับต้องมีความสามารถในการถอดรหัสและมีทกั ษะที่เหมือนกัน กับผูส้ ่ งโดยมีทกั ษะการฟังที่ดี ฟังภาษาที่ผสู้ ่งพูดมารู ้เรื่ อง หรื อสามารถอ่านข้อความที่ส่งมานั้นได้ เป็ นต้น ทัศนคติ (attitudes) เป็ นทัศนคติของผูส้ ่ งและผูร้ ับซึ่ งมีผลต่อการสื่ อสาร ถ้าผูส้ ่ งและผูร้ ับ มีทศั นคติที่ดี ต่อกันจะทำาให้การสื่ อสารได้ผลดี ทั้งนี้เพราะทัศนคติยอ่ มเกี่ยวโยงไปถึงการยอมรับซึ่งกันและกันระหว่างผู ้ ส่ งและผูร้ ับด้วย เช่น ถ้าผูฟ้ ังมีความนิยมชมชอมในตัวผูพ้ ดู ก็มกั จะมีความเห็นคล้อยตามไปได้ง่าย แต่ในทาง ตรงข้าม ถ้าผูฟ้ ังมีทศั นคติไม่ดีต่อผูพ้ ดู ก็จะฟังแล้วไม่เห็นชอบด้วยและมีความเห็นขัดแย้งในสิ ่ งที่พดู มานั้น หรื อถ้าทั้งสองฝ่ ายมีทศั นคติไม่ดีต่อกันท่วงทำานองหรื อนำาเสี ยงในการพูดก็อาจจะห้วนห้าวไม่น่าฟัง แต่ถา้ มี ทัศนคติที่ดีต่อกันแล้วมักจะพูดกันด้วยความไพเราะอ่านหวานน่าฟัง เหล่านี้ เป็ นต้น ระดับความรู ้ (knowledge levels) ถ้าผูส้ ่ งและผูร้ ับมีระดับความรู ้เท่าเทียมกันก็จะทำาให้การสื่ อสาร นั้นลุล่วงไปด้วยดี แต่ถา้ หากความรู้ของผูส้ ่ งและผูร้ ับมีระดับที่แตกต่างกันย่อมจะต้องมีการปรับปรุ งความ ยากง่ายของข้อมูลที่จะส่ งในเรื่ องความยากง่ายของภาษาและถ้อยคำาสำานวนที่ใช้ เช่น ไม่ใช่คาำ ศัพท์ทาง วิชาการ ภาษาต่างประเทศ หรื อถ้อยคำายาว ๆ สำานวนสลับซับซ้อน ทั้งนี้เพื่อให้สะดวกและง่ายต่อความเข้าใจ ตัวอย่างเช่น การที่หมอรักษาคนไข้แล้วพูดแต่คาำ ศัพท์การแพทย์เกี่ยวกับโรคต่าง ๆ ย่อมทำาให้คนไข้ไม่เข้าใจ ว่าตนเองเป็ นโรคอะไรแน่หรื อพัฒนากรจากส่ วนกลางออกไปพัฒนาหมู่บา้ นต่าง ๆ ในชนบทเพื่อให้คาำ
แนะนำาทางด้านการเกษตรและเลี้ยงสัตว์แก่ชาวบ้าน ถ้าพูดแต่ศพั ท์ทางวิชาการโดยไม่อธิ บายด้ายถ้อยคำา ภาษาง่าย ๆ หรื อไม่ใช้ภาษาท้องถิ่นก็จะทำาให้ชาวบ้านไม่เข้าใจหรื อเข้าใจผิดได้ หรื อในกรณี ของการใช้ ภาษามือของผูพ้ ิการทางโสต ถ้าผูร้ ับไม่เคยได้เรี ยนภาษามือ มาก่อนทำาให้ไม่เข้าใจและไม่สามารถสื่ อสารกัน ได้ เหล่านี้เป็ นต้น ระบบสังคมและวัฒนธรรม (socio - culture systems) ระบบสังคมและวัฒนธรรมในแต่ละชาติ เป็ นสิ่ งที่มีส่วนกำาหนดพฤติกรรมของประชาชนในประเทศนั้น ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องไปถึงขนบธรรมเนียม ประเพณี ที่ยดึ ถือปฏิบตั ิ สังคมและวัฒนธรรมในแต่ละชาติยอ่ มมีความแตกต่างกัน เช่น การให้ความเคารพ ต่อผูอ้ าวุโส หรื อวัฒนธรรมการกินอยู่ ฯลฯ ดังนั้น ในการติดต่อสื่ อสารของบุคคลต่างชาติต่างภาษา จะต้องมี การศึกษาถึงกฎข้อบังคับทางศาสนาของแต่ละศาสนาด้วย การสื่ อสารทางเดียวเชิงเส้นตรงของแชนนันและวีเวอร์ คล็อด อี. แชนนัน (Claude E.Shannon) และวอร์ เรนวีเวอร์ (Warren Weaver) ได้คิด ทฤษฏีการสื่ อสารทางเดียวเชิงเส้นตรง การสื่ อสารเริ่ มด้วยผูส้ ่ งซึ่งเป็ นแหล่งข้อมูลทำาหน้าที่ส่งเนื้ อหา ข่าวสารเพื่อส่ งไปยังผูร้ ับ โดยผ่านทางเครื่ องส่ งหรื อตัวถ่ายทอดในลักษณะของสัญญาณที่ถูกส่ งไปในช่อง ทางต่าง ๆ กันแล้วแต่ลกั ษณะของการส่ งสัญญาณแต่ละประเภท เมื่อทางฝ่ ายผูไ้ ด้รับสัญญาณแล้ว สัญญาณที่ ได้รับจะถูกปรับให้เหมาะสมกับเครื่ องรับหรื อการรับเพื่อทำาการแปลสัญญาณให้เป็ นเนื้ อหาข่าวสารนั้นอีก ครั้งหนึ่งให้ตรงกับที่ผสู้ ่งส่งมาก ในขึ้นนี้เนื้อหาที่รับจะไปถึงจุดหมายปลายทางคือผูร้ ับตามที่ตอ้ งการ แต่ใน บางครั้งสัญญาณที่ส่งไปอาจถูกรบกวนหรื ออาจมีบางสิ่ งบางอย่างมาขัดขวางสัญญาณนั้น ทำาให้สญ ั ญาณที่ ส่ งไปกับสัญญาณที่ได้รับมีความแตกต่างกันเป็ นเหตุให้เนื้ อหาข่าวสารที่ส่งจากแหล่งข้อมูลไปยังจุดหมาย ปลายทางอาจผิดเพี้ยนไปนับเป็ นความล้มเหลวของการสื่ อสารเนื่องจากที่ส่งไปกับข้อมูลที่ได้รับไม่ตรงกัน อันจะทำาให้เกิดการแปลความหมายผิดหรื อความเข้าใจผิดในการสื่ อสารกันได้ จากทฤษฏีการสื่ อสารนี้ พิจารณาได้วา่ แชนนันและวีเวอร์ สนใจว่าเมื่อมีการสื่ อสารกันจะมีอะไรเกิดขึ้ นกับ ข้อมูลข่าวสารที่ส่งไปนั้น ไม่วา่ จะเป็ นการส่งโดยผ่านอุปกรณ์ระบบไฟฟ้ า หรื อการส่ งโดยใช้สญ ั ญาณต่าง ๆ เช่น เมื่อมีการเปิ ดเพลงออกอากาศทางสถานีวิทยุ เสี ยงเพลงนั้นจะถูกแปลงเป็ นสัญญาณและส่ งด้วยการกล้าำ สัญญาณ (modulation) จากสถานีวิทยุไปยังเครื่ องรับวิทยุ โดยเครื่ องรับจะแปลงสัญญาณคลื่นนั้นเป็ น เพลงให้ผรู ้ ับได้ยนิ ในขณะที่สญ ั ญาณถูกส่งไปจะมีสิ่งต่าง ๆ “สิ่ งรบกวน” (noise source) เช่น ใน การส่ งวิทยุระบบ AM สัญญาณจะถูกรับกวนโดยไฟฟ้ าในบรรยากาศ หรื อในขณะที่ครู ฉายวิดีทศั น์ใน ห้องเรี ยน การรับภาพและเสี ยงของผูเ้ รี ยนถูกระกวนโดยสิ่ งรบกวนหลายอย่าง เช่น แสงที่ตกลงบนจอโทรทัศน์ และ เสี ยงพูดคุยจากภายนอก เป็ นต้น หรื ออีกตัวอย่างหนึ่งเช่นการพูดโทรศัพท์ ผูท้ ี่เริ ่ มต่อโทรศัพท์จะเป็ นผูส้ ่ ง เพื่อส่ งข่าวสารโดยอาศัยโทรศัพท์เป็ นเครื่ องส่ ง เมื่อผูส้ ่ งพูดไปเครื่ องโทรศัพท์จะแปลงคำาพูดเป็ นสัญญาณ ไฟฟ้ าส่ งไปตามสายโทรศัพท์ เมื่อสัญญาณไฟฟ้ านั้นส่ งไปยังเครื่ องรับโทรทัศน์ของหมายเลขที่ติดต่อก็จะมี
เสี ยงดังขึ้น และเมื่อมีผรู้ ับ โทรศัพท์เครื่ องนั้นก็จะแปลงสัญญาณไฟฟ้ าให้กลับเป็ นคำาพูดส่ งถึงผูร้ ับหรื อผูฟ้ ัง ซึ่งเป็ นจุดหมายปลายทางของการสื่ อสาร แต่ถา้ ระหว่างที่ส่งสัญญาณไปมีสิ่ งรบกวนสัญญาณ เช่น ฝนตกฟ้ า คะนอง ก็จะทำาให้สญ ั ญาณที่ได้รับถูกรบกวนสัน่ สะเทือนอาจรับไม่ได้เต็มที่เป็ นเหตุให้การฟังไม่ชดั เจน ดังนี้เป็ นต้น จึงสรุ ปได้วา่ “สิ่ งรบกวน” คือ สิ่ งที่ทาำ ให้สญ ั ญาณเสี ยไปภายหลังไปภายหลังที่ถูกส่ งจากผูส้ ่ ง และก่อนที่จะถึงผูร้ ับทำาให้สญ ั ญาณที่ส่งไปกับสัญญาณที่ได้รับมีลกั ษณะแตกต่างกัน และอาจกล่าวได้วา่ เป็ น อุปสรรคของการสื่ อสารเนื่องจากทำาให้การสื่ อสารไม่ได้ผลเต็มที่ถูกต้องตามที่ควรจะเป็ น การสื่ อสารเชิงวงกลมของออสกูดและชแรมม์ ตามปกติแล้วในการสื่ อสารระหว่างบุคคลและแบบกลุ่มบุคคลนั้น ผูส้ ่ งและผูร้ ับจะมีการเปลี่ยนบทบาทกัน ไปมาในลักษณะการสื่ อสารสองทาง โดยเมื่อผูส้ ่ งได้ส่งข้อมูลข่าวสารไปแล้ว ทางฝ่ ายผูร้ ับทำาการแปลความ หมายข้อมูลที่รับมา และจะเปลี่ยนบทบาทจากผูร้ ับกลับเป็ นผูส้ ่ งเดิมเพื่อตอบสนองต่อ สิ ่ งที่รับมา ในขณะ เดียวกันผูส้ ่ งเดิมจะเปลี่ยนบทบาทเป็ นผูร้ ับเพื่อรับข้อมูลที่ส่งกลับมาและทำาการแปลความหมายสิ ่ งนั้น ถ้ามี ข้อมูลที่จะต้องส่งตอบกลับไปก็จะเปลี่ยนบทบาทเป็ นผูส้ ่ งอีกครั้ งหนึ่งเพื่อส่ ง ข้อมูลกลับไปยังผูร้ ับเดิมการ สื่ อสารในลักษณะที่ท้ งั ผูส้ ่งและผูร้ ับจะวนเวียนเปลี่ยนบทบาทกันไปมาในลักษณะเชิงวงกลมด้วยลักษณะดัง กล่าวทำาให้ชารลส์ อี. ออสกูด (Charles E. Osgood) และ วิลเบอร์ แอล. ชแรมม์ (Wibur L. Schramm) ได้สร้างแบบจำาลองการสื่ อสารเชิงวงกลมขึ้น โดยเน้นถึงไม่เพียงแต่องค์ประกอบของการ สื่ อสารเท่านั้น แต่รวมถึงพฤติกรรมของทั้งผูส้ ่ งและผูร้ ับด้วยโดยที่แบบจำาลองการสื่ อสารเชิงวงกลมนี้ จะมี ลักษณะของการสื่ อสารสองทางซึ่งตรงกันข้างอย่างเห็นได้ขดั กับการสื่ อสารทางเดียวเชิงเส้นตรงของ แชนนันและวีเวอร์ ข้อแตกต่างอีกประการคือในขณะที่ความสนใจของแชนนันและวีวเรอ์อยูท่ ี่ช่องทางการ ติดต่อระหว่างผูส้ ่งและผูร้ ับ แต่ออสกูดและชแรมม์ได้มุ่งพิจารณาและเฉพาะพฤติกรรมของผูส้ ่ งและผูร้ ับซึ่ง เป็ นผูท้ ี่มีส่วนสำาคัญในกระบวนการสื่ อสาร ในแบบจำาลองนี้ จะเห็นได้วา่ ออสกูดและชแรมม์มิได้กล่าวถึงตัวถ่ายทอดการสื่ อสารเลยแต่ได้เน้นถึงการกระ ทำาของผูส้ ่ งและผูร้ ับซึ่งทำาให้ที่อย่างเดียวกันและเปลี่ยนบทบาทกันไปมาในการเข้า รหัสสาร การแปลความ หมาย และการถอดรหัสสาร อย่างไรก็ตามอาจกล่าวได้วา่ หน้าที่ในการเข้า รหัสนั้น มีส่วนคล้ายคลึงกับตัว ถ่ายทอด และการถอดรหัสก็คล้ายคลึงกับการับของเครื่ องรับนัน่ เอง ขอบข่ายประสบการณ์ในทฤษฏีการสื่ อสารของชแรมม์ ชแรมม์ได้นาำ ทฤษฏีการสื่ อสารทางเดียวเชิงเส้นตรงของเชนนันและวีเวอร์ มาใช้เพื่อเป็ นแนวทางในการ อธิ บายการสื่ อสารที่เกิดขึ้นในการเรี ยนการสอน โดยเน้นถึงวัตถุประสงค์ของการสอน ความหมายของ เนื้อหาข้อมูล และการที่ขอ้ มูลได้รับการแปลความหมายอย่างไร นอกจากนี้ ชแรมม์ยงั ให้ความสำาคัญของการ สื่ อความหมาย การรับรู้ และการแปลความหมายของสัญลักษณ์วา่ เป็ นหัวใจสำาคัญของการเรี ยนการสอน ตามลักษณะการสื่ อสารของชแรรมม์น้ ี การสื่ อสารจะเกิดขึ้นได้อย่างดีมีประสิ ทธิ ภาพเฉพาะในส่ วนที่ผสู ้ ่ ง
และผูร้ ับทั้งสองฝ่ ายต่างมีวฒั นธรรม ประเพณี ความเชื่อ ความรู ้ ฯลฯ ทีสอดคล้องกล้ายคลึงและมีประสง การณ์ร่วมกัน จึงจะทำาให้สามารถเข้าใจความหมายที่สื่อกันนั้นได้ ทั้งนี้เพราะผูส้ ่งสามารถเข้ารหัสและผูร้ ับสามารถถอดรหัสเนื้ อหาข่าวสารในขอบข่าวประสบการณ์ที่แต่ละ คนมีอยู่ เช่น ถ้าไม่เคยเรี ยนภาษารัสเซีย เราคงไม่สามารถพูดหรื อแปลความหมายของภาษารัสเซียได้ ดังนี้ เป็ นต้น ถ้าส่ วนของประสบการณ์ของทั้งผูส้ ่ งและผูร้ ับซ้อนกันเป็ นวงกว้างมากเท่าใด จะทำาให้การสื่ อสาร นั้นเป็ นไปได้โดยสะดวกและง่ายมากยิง่ ขึ้นเพราะต่างฝ่ ายจะเข้าใจสิ่ งที่กล่าวถึงนั้นได้เป็ นอย่างดี แต่เมื่อใดที่ วงของขอบข่ายประสบการณ์ซอ้ นกันน้อยมากหรื อไม่ซอ้ นกันเลย แสดงว่าทั้งผูส้ ่ งและผูร้ ับแทบจะไม่มี ประสบการณ์ร่วมกันเลย การสื่ อสารนั้นจะทำาได้ยากลำาบากหรื อแทบจะสื่ อสารกันไม่ได้อย่างสิ้ นเชิง ซึ่ง สามารถทราบได้จากผลป้ อนกลับที่ผสู้ ่ งกลับไปยังผูส้ ่ งนั้นเอง จากทฤษฏีการสื่ อสารของชแรมม์เนื่องจากในการสื่ อสารเราไม่สามารถส่ ง “ความหมาย” (meaning) ของข้อมูลไปยังผูร้ ับได้ สิ่ งที่ส่งไปจะเป็ นเพียง “สัญลักษณ์” (symbol) ของความหมายนั้น เช่น คำาพูด รู ปภาพ เสี ยงเพลง ท่าทาง ฯลฯ ดังนั้น เมื่อมีการสื่ อสารเกิดขึ้น ผูส้ ่ งต้องพยายามเข้ารหัสสารซึ่ งเป็ น สัญลักษณ์เพื่อให้ผรู้ ับเข้าใจได้โดยง่าย ซึ่งสารแต่ละสารจะประกอบด้วยสัญลักษณ์ต่าง ๆ มากมาย โดยที่ สัญลักษณ์แต่ละตัวจะบ่งบอกถึง “สัญญาณ” (signal) ของบางสิ่ งบางอย่างซึ่ งจะทราบได้โดย ประสบการณ์ของคนเรา เช่น เมื่อยกมือขึ้นเป็ นสัญญาณของการห้อมหรื อเมื่อตะโกนเสี ยงดังเป็ นสัญญาณ ของความโกรธ ฯลฯ ดังนั้น ผูส้ ่งจึงต้องส่ งสัญญาณเป็ นคำาพูด ภาษาเขียน ภาษามือ ฯลฯ เพื่อถ่ายทอดความ หมายของสารที่ตอ้ งการจะส่ง โดยพยายามเชื่อมโยงเนื้ อหาสารเข้ากับประสบการณ์ที่สอดคล้องกันทั้งสอง ฝ่ าย เพื่อให้ผรู ้ ับสามารถแปลและเข้าใจความหมายของสัญลักษณ์เหล่านั้นได้โดยง่ายในขอบข่าย ประสบการณ์ของตน ตัวอย่างเช่น ถ้าผูส้ ่งต้องการส่ งสารคำาว่า “ดิจิทลั ” ให้ผรู ้ ับที่ยงั ไม่เคยรู ้จกั คำานี้ มาก่อน ผูส้ ่ งต้องพยายามใช้สญ ั ลักษณ์ต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็ นการอธิ บายด้วยคำาพูด ภาพกราฟิ กอุปกร์ ระดับดิจิทลั เช่น กล้องถ่ายภาพ หรื อลัญลักษณ์อื่นใดก็ตามเพื่อให้ผรู ้ ับสามารถเข้าใจและมีประสบการณ์ร่วมกับผูส้ ่ งได้มากที สุ ดเพื่อเข้าใจความหมายของ “ดิจิทลั ” ตามที่ผสู ้ ่ งต้องการ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเรี ยนการสอนเป็ นการที่ผสู ้ อนต้องให้ความรู ้และขยายขายข่ายประสบการณ์ของ ผูเ้ รี ยนให้กว้างขวางยิง่ ขึ้น หากมีสิ่งใดที่ผเู้ รี ยนยังไม่มีประสบการณ์หรื อยังไม่มีความรู ้ในเรื่ องนั้นอย่างเพียง พอ ผูส้ อนจำาเป็ นต้องพยายามเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ในเรื่ องนั้น ๆ ให้แก่ผเู ้ รี ยนโดยการอภิปราลย ร่ วมกัน ให้ผเู ้ รี ยนตอบคำาถาม หรื อทำาการบ้านเพิ่มเติมย่อมจะเป็ นการทราบข้อมูลป้ อนกลับว่าผูเ้ รี ยนเกิดเการ เรี ยนรู ้และได้รับประสบการณ์ในเรื่ องที่เรี ยนนั้นอย่างเพียงพอหรื อยังและถูกต้องหรื อไม่ ถ้าผูเ้ รี ยนยับไม่ สามารถเข้าใจหรื อยังไม่เกิดการเรี ยนรู้ที่ถูกต้องขึ้น แสดงว่าเกิด “สิ่ งรบกวน” ของสัญญาณในการสอนนั้น ผูส้ อนต้องพยายามแก้ไขวิธีการสอนโดยอาจใช้สื่อประเภทต่าง ๆ เข้าช่วย หรื อการอภิปลายยกตัวอย่างให้
ง่ายขึ้น รวมถึงการใช้สญ ั ลักษณ์อื่น ๆ ที่เหมาะกับระดับของผูเ้ รี ยนมาช่วยการสอนนั้นจนกว่าผูเ้ รี ยนจะมี ประสบการณ์ร่วมกับผูส้ อนและเกิดการเรี ยนรู ้ที่ ถูกต้องในที่สุด จากทฤษฏีการสื่ อสารที่กล่าวมาแล้วอาจสรุ ปได้วา่ ในการสื่ อสารนั้นการที่ผสู ้ ่ งและผูร้ ับจะสามารถเข้าใจกัน ได้ดีเพียงใดย่อมขึ้นอยูก่ บั ทักษะ ทัศนคติ ความรู ้ ระบบสังคมและวัฒนธรรมของทั้งสองฝ่ าย ถ้าทั้งผูส้ ่ งและ ผูร้ ับมีสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ สอดคล้องกันมากจะทำาให้การสื่ อสารนั้นได้ผลดียงิ่ ขึ้น เพาะต่างฝ่ ายจะมีความเข้าใจ ซึ่งกันและกัน และสามารถขจัดอุปสรรค์ในการสื่ อสารระหว่างผูส้ ่ งและ ผูร้ ับออกไปได้ http://www.baanjomyut.com/library/communication_theory/index.html
ทฤษฎีการเรี ยนรู้ (อังกฤษ: learning theory) การเรี ยนรู ้คือกระบวนการที่ทาำ ให้คนเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม ความคิด คนสามารถเรี ยนได้จากการได้ยนิ การสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยี การเรี ยนรู ้ของ เด็กและผูใ้ หญ่จะต่างกัน เด็กจะเรี ยนรู้ดว้ ยการเรี ยนในห้อง การซักถาม ผูใ้ หญ่มกั เรี ยนรู ้ดว้ ยประสบการณ์ที่ มีอยู่ แต่การเรี ยนรู้จะเกิดขึ้นจากประสบการณ์ที่ผสู ้ อนนำาเสนอ โดยการปฏิสมั พันธ์ระหว่างผูส้ อนและผู ้ เรี ยน ผูส้ อนจะเป็ นผูท้ ี่สร้างบรรยากาศทางจิตวิทยาที่เอื้ออำานวยต่อการเรี ยนรู ้ ที่จะให้เกิดขึ้นเป็ นรู ปแบบใด ก็ได้เช่น ความเป็ นกันเอง ความเข้มงวดกวดขัน หรื อความไม่มีระเบียบวินยั สิ ่ งเหล่านี้ผสู ้ อนจะเป็ นผูส้ ร้าง เงื่อนไข และสถานการณ์เรี ยนรู้ให้กบั ผูเ้ รี ยน ดังนั้น ผูส้ อนจะต้องพิจารณาเลือกรู ปแบบการสอน รวมทั้งการ สร้างปฏิสัมพันธ์กบั ผูเ้ รี ยน การเรี ยนรู ้ตามทฤษฎีของ Bloom (Bloom's Taxonomy)[แก้] Bloom ได้แบ่งการเรี ยนรู้เป็ น 6 ระดับ ความรู ้ที่เกิดจากความจำา (knowledge) ซึ่ งเป็ นระดับล่างสุ ด ความเข้าใจ (Comprehend) การประยุกต์ (Application) การวิเคราะห์ (Analysis) สามารถแก้ปัญหา ตรวจสอบได้ การสังเคราะห์ (Synthesis) สามารถนำาส่ วนต่างๆ มาประกอบเป็ นรู ปแบบใหม่ได้ให้แตกต่างจากรู ป เดิม เน้นโครงสร้างใหม่ การประเมินค่า (Evaluation) วัดได้ และตัดสิ นได้วา่ อะไรถูกหรื อผิด ประกอบการตัดสิ นใจบนพื้น ฐานของเหตุผลและเกณฑ์ที่แน่ชดั การเรี ยนรู ้ตามทฤษฎีของเมเยอร์ (Mayor)[แก้] ในการออกแบบสื่ อการเรี ยนการสอน การวิเคราะห์ความจำาเป็ นเป็ นสิ่ งสำาคัญ และตามด้วยจุดประสงค์ของ การเรี ยน โดยแบ่งออกเป็ นย่อยๆ 3 ส่วนด้วยกัน พฤติกรรม ควรชี้ชดั และสังเกตได้ เงื่อนไข พฤติกรรมสำาเร็จได้ควรมีเงื่อนไขในการช่วยเหลือ มาตรฐาน พฤติกรรมที่ได้น้ นั สามารถอยูใ่ นเกณฑ์ที่กาำ หนด การเรี ยนรู ้ตามทฤษฎีของบรู เนอร์ (Bruner)[แก้]
ความรู ้ถูกสร้างหรื อหล่อหลอมโดยประสบการณ์ ผูเ้ รี ยนมีบทบาทรับผิดชอบในการเรี ยน ผูเ้ รี ยนเป็ นผูส้ ร้างความหมายขึ้นมาจากแง่มุมต่างๆ ผูเ้ รี ยนอยูใ่ นสภาพแวดล้อมที่เป็ นจริ ง ผูเ้ รี ยนเลือกเนื้ อหาและกิจกรรมเอง เนื้อหาควรถูกสร้างในภาพรวม การเรี ยนรู ้ตามทฤษฎีของไทเลอร์ (Tylor)[แก้] ความต่อเนื่อง (continuity) หมายถึง ในวิชาทักษะ ต้องเปิ ดโอกาสให้มีการฝึ กทักษะในกิจกรรมและ ประสบการณ์บ่อยๆ และต่อเนื่องกัน การจัดช่วงลำาดับ (sequence) หมายถึง หรื อการจัดสิ่ งที่มีความง่าย ไปสู่สิ่งที่มีความยาก ดังนั้นการจัด กิจกรรมและประสบการณ์ ให้มีการเรี ยงลำาดับก่อนหลัง เพื่อให้ได้เรี ยนเนื้ อหาที่ลึกซึ้ งยิง่ ขึ้น บูรณาการ (integration) หมายถึง การจัดประสบการณ์จึงควรเป็ นในลักษณะที่ช่วยให้ผเู ้ รี ยน ได้ เพิ่มพูนความคิดเห็นและได้แสดงพฤติกรรมที่สอดคล้องกัน เนื้ อหาที่เรี ยนเป็ นการเพิ่มความสามารถทั้งหมด ของผูเ้ รี ยนที่จะได้ใช้ประสบการณ์ได้ในสถานการณ์ต่างๆ กัน ประสบการณ์การเรี ยนรู ้ จึงเป็ นแบบแผนของ ปฏิสมั พันธ์ (interaction) ระหว่างผูเ้ รี ยนกับสถานการณ์ที่แวดล้อม ทฤษฎีการเรี ยนรู้ 8 ขั้น ของกาเย่ (Gagne)[แก้] การจูงใจ (Motivation Phase) การคาดหวังของผูเ้ รี ยนเป็ นแรงจูงใจในการเรี ยนรู ้ การรับรู ้ตามเป้ าหมายที่ต้ งั ไว้ (Apprehending Phase) ผูเ้ รี ยนจะรับรู ้สิ่งที่สอดคล้องกับความตั้งใจ การปรุ งแต่งสิ่ งที่รับรู้ไว้เป็ นความจำา (Acquisition Phase) เพื่อให้เกิดความจำาระยะสั้นและระยะ ยาว ความสามารถในการจำา (Retention Phase) ความสามารถในการระลึกถึงสิ่ งที่ได้เรี ยนรู้ไปแล้ว (Recall Phase ) การนำาไปประยุกต์ใช้กบั สิ่ งที่เรี ยนรู้ไปแล้ว (Generalization Phase) การแสดงออกพฤติกรรมที่เรี ยนรู้ ( Performance Phase) การแสดงผลการเรี ยนรู้กลับไปยังผูเ้ รี ยน ( Feedback Phase) ผูเ้ รี ยนได้รับทราบผลเร็ วจะทำาให้มีผล ดีและประสิ ทธิภาพสูง องค์ประกอบที่สาำ คัญที่ก่อให้เกิดการเรี ยนรู้ จากแนวคิดนักการศึกษา กาเย่ (Gagne)[แก้] ผูเ้ รี ยน (Learner) มีระบบสัมผัสและ ระบบประสาทในการรับรู ้ สิ่ งเร้า (Stimulus) คือ สถานการณ์ต่างๆ ที่เป็ นสิ่ งเร้าให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ การตอบสนอง (Response) คือ พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากการเรี ยนรู ้ การสอนด้วยสื่ อตามแนวคิดของกาเย่ (Gagne) เร้าความสนใจ มีโปรแกรมที่กระตุน้ ความสนใจของผูเ้ รี ยน เช่น ใช้ การ์ ตูน หรื อ กราฟิ กที่ดึงดูดสายตา
ความอยากรู ้อยากเห็นจะเป็ นแรงจูงใจให้ผเู้ รี ยนสนใจในบทเรี ยน การตั้งคำาถามก็เป็ นอีกสิ่ งหนึ่ง บอกวัตถุประสงค์ ผูเ้ รี ยนควรทราบถึงวัตถุประสงค์ ให้ผเู ้ รี ยนสนใจในบทเรี ยนเพื่อให้ทราบว่าบทเรี ยนเกี่ยว กับอะไร กระตุน้ ความจำาผูเ้ รี ยน สร้างความสัมพันธ์ในการโยงข้อมูลกับความรู ้ที่มีอยูก่ ่อน เพราะสิ่ งนี้สามารถทำาให้ เกิดความทรงจำาในระยะยาวได้เมื่อได้โยงถึงประสบการณ์ผเู ้ รี ยน โดยการตั้งคำาถาม เกี่ยวกับแนวคิด หรื อ เนื้อหานั้นๆ เสนอเนื้อหา ขั้นตอนนี้จะเป็ นการอธิบายเนื้ อหาให้กบั ผูเ้ รี ยน โดยใช้สื่อชนิดต่างๆ ในรู ป กราฟิ ก หรื อ เสี ยง วิดีโอ การยกตัวอย่าง การยกตัวอย่างสามารถทำาได้โดยยกกรณี ศึกษา การเปรี ยบเทียบ เพื่อให้เข้าใจได้ซาบซึ้ การฝึ กปฏิบตั ิ เพื่อให้เกิดทักษะหรื อพฤติกรรม เป็ นการวัดความเข้าใจว่าผูเ้ รี ยนได้เรี ยนถูกต้อง เพื่อให้เกิด ำ ่อรับสิ่ งที่ผิด การอธิ บายซ้าเมื การให้คาำ แนะนำาเพิ่มเติม เช่น การทำาแบบฝึ กหัด โดยมีคาำ แนะนำา การสอบ เพื่อวัดระดับความเข้าใจ การนำาไปใช้กบั งานที่ทาำ ในการทำาสื่ อควรมี เนื้ อหาเพิ่มเติม หรื อหัวข้อต่างๆ ที่ควรจะรู ้เพิ่มเติม
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%8E %E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A 3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9% 89
การสื่ อสารและการเรี ยนรู้ วิธีการการสื่ อสาร แบ่งออกได้ 3 วิธี คือ 1.1 การสื่ อสารด้วยวาจา หรื อ "วจภาษา" (Oral Communication) เช่น การพูด การร้องเพลง เป็ นต้น 1.2 การสื่ อสารที่มิใช่วาจา หรื อ "อวจนภาษา" (Nonverbal Communication) และการ สื่ อสารด้วยภาษาเขียน (Written Communication) เช่น การสื่ อสารด้วยท่าทาง ภาษามือและตัว หนังสื อ เป็ นต้น โปสเตอร์ สไลด์ เป็ นต้น (Eyre 1979:31) หรื อโดยการใช้สญ ั ลักษณ์และเครื่ องหมายต่าง ๆ เช่น ลูก ศรชี้ทางเดิน เป็ นต้น 2. รู ปแบบของการสื่ อสาร แบ่งได้เป็ น 2 รู ปแบบ คือ 2.1 การสื่ อสารทางเดียว (One - Way Communication) เป็ นการส่ งข่าวสารหรื อการสื่ อ ความหมายไปยังผูร้ ับแต่เพียงฝ่ ายเดียว โดยที่ผรู ้ ับไม่สามารถมีการตอบสนองในทันที (immediate response) ให้ผสู้ ่งทราบได้ แต่อาจจะมีปฏิกิริยาสนองกลับ (feedback) ไปยังผูส้ ่ งภายหลังได้ การ
สื่ อสารในรู ปแบบนี้ จึงเป็ นการที่ผรู้ ับไม่สามารถมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันได้ทนั ที จึงมักเป็ นการสื่ อสารโดยอาศัย สื่ อมวลชน เช่น การฟังวิทยุ หรื อการชมโทรทัศน์ เหล่านี้ เป็ น 2.2 การสื่ อสารสองทาง (Two-Way Communication) เป็ นการสื่ อสารหรื อการสื่ อความ หมายที่ผรู ้ ับมีโอกาสตอบสนองมายังผูส้ ่งได้ในทันที โดยที่ผสู ้ ่ งและผูร้ ับอาจจะอยูต่ ่อหน้ากันหรื ออาจอยู่ คนละสถานที่กไ็ ด้ แต่ท้ งั สองฝ่ ายจะสามารถมีการเจรจาหรื อการโต้ตอบกันไปมา โดยที่ต่างฝ่ ายต่างผลัดกัน ทำาหน้าที่เป็ นทั้งผูส้ ่ งและผูร้ ับในเวลาเดียวกัน เช่น การพูดโทรศัพท์ การประชุม เป็ น 3 ประเภทของการสื่ อสาร แบ่งได้เป็ น 4 ประเภท ดังนี้ 3.1 การสื่ อสารในตนเอง (Intapersonal or Self-Communication) เป็ นการสื่ อสาร ภายในตัวเอง หมายถึง บุคคลผูน้ ้ นั เป็ นทั้งผูส้ ่ งและผูร้ ับในขณะเดียวกัน เช่น การเขียนและอ่านหนังสื อ เป็ นต้น 3.2 การสื่ อสารระหว่างบุคคล (Interpersonal Communication) เป็ นการสื่ อสารระหว่าง คน 2 คน เช่น การสนทนา หรื อการโต้ตอบจดหมายระหว่างกัน เป็ นต้น 3.3 การสื่ อสารแบบกลุ่มชน (Group Communication) เป็ นการสื่ อสารระหว่างบุคคลกับกลุ่ม ชนซึ่งประกอบด้วยคนจำานวนมาก เช่น การสอนในห้องเรี ยนระหว่างครู เพียงคนเดียวกับนักเรี ยนทั้งห้อง หรื อระหว่างกลุ่มชนกับบุคคล เช่น กลุ่มชนมาร่ วมกันฟังคำาปราศรัยหาเสี ยงของผูส้ มัครรับเลือกตั้ง เป็ นต้น 3.4 การสื่ อสารมวลชน (Mass Communication) เป็ นการสื่ อสารโดยการอาศัยสื่ อมวลชน ประเภทวิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ และสื่ อสิ่ งพิมพ์ต่าง ๆ เช่น นิตรสาร หนังสื อพิมพ์ แผ่นพับ แผ่นโปสเตอร์ ฯลฯ เพื่อการติดต่อไปยังผูร้ ับสารจำานวนมากซึ่งเป็ นมวลชนให้ได้รับข้อมูลข่าวสารเดียวกันในเวลาพร้อม ๆ หรื อ 1. ผูส้ ่ ง ผูส้ ื่ อสาร หรื อต้นแหล่งของการส่ ง (Sender, Communicatior or Source) เป็ น แหลหรื อผูท้ ี่นาำ ข่าวสารเรื่ องราว แนวความคิด ความรู ้ ตลอดจนเหตุการณ์ต่าง ๆ เพื่อส่ งไปยังผูร้ ับซึ่งอาจเป็ น บุคคลหรื อกลุ่มชนก็ได้ ผูส้ ่งนี้ จะเป็ นบุคคลเพียงคนเดียว กลุ่มบุคคลหรื อสถาบัน โดยอยูใ่ นลักษณะต่าง ๆ ได้หลายอย่าง 2. เนื้อหาเรื่ องราว (Message) ได้แก่ เนื้อหาของสารหรื อเรื่ องราวที่ส่งออกมา เช่น ความรู ้ ความคิด ข่าวสาร บทเพลง ข้อเขียน ภาพ ฯลฯ เพื่อให้ผรู ้ ับรับข้อมูลเหล่านี้ 3. สื่ อหรื อช่องทางในการนำาสาร (Media or Channel) หมายถึง ตัวกลางที่ช่วยถ่ายทอดแนวความ คิด เหตุการณ์ เรื่ อราวต่าง ๆ ที่ผสู้ ่งต้องการให้ไปถึงผูร้ ับ 4. ผูร้ ับหรื อกลุ่มเป้ าหมาย (Receiver or Target Audience) ได้แก่ ผูร้ ับเนื้ อหาเรื่ องราวจาก แหล่งหรื อที่ผสู้ ่งส่งมา ผูร้ ับนี้ อาจเป็ นบุคคล กลุ่มชน หรื อสถาบันก็ได้
5. ผล (Effect) หมายถึง สิ่ งที่เกิดขึ้นจากการที่ผสู ้ ่ งส่ งเรื่ องราวไปยังผูร้ ับ ผลที่เกิดขึ้ นคือ การที่ผรู ้ ับอาจ มีความเข้าใจหรื อไม่รู้เรื่ อง ยอมรับหรื อปฏิเสธ พอใจหรื อโกรธ ฯลฯ สิ ่ งเหล่านี้เป็ นผลของการสื่ อสาร และ จะเป็ นผลสื บเนื่องต่อไปว่าการสื่ อสารนั้นจะสามารถบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายหรื อไม่ ทั้งนี้ยอ่ มขึ้นอยูก่ บั ทัศนคติของผูร้ ับ สื่ อที่ใช้ และสถานการณ์ในการสื่ อสารเป็ นสำาคัญด้วย 6. ปฏิกริ ยาสนองกลับ (Feedback) เป็ นสิ่ งที่เกี่ยวเนื่องจากผลซึ่งผูร้ ับส่ งกลับมายังผูส้ ่ งโดยผูร้ ับอาจแสดงอาการให้เห็น เช่น ง่วงนอน ปรบมือ ยิม้ พยักหน้า การพูดโต้ตอบ หรื อการแสดงความคิดเห็น เพื่อเป็ นข้อมูลที่ทาำ ให้ผสู ้ ่ งทราบ ว่า ผูร้ ับมีความพอใจหรื อมีความเข้าใจในความหมายที่ส่งไปหรื อไม่ปฏิกริ ยาสนองกลับนี้ คือข้อมูลย้อนกลับ อันเกิดจากการตอบสนองของผูร้ ับที่ส่งกลับไปยัง องค์ประกอบของการสื่ อสารในการเรี ยนการสอน 1. ผูส้ ่ งสารในการเรี ยนการสอน คือ ผูส้ อน ครู วิทยากร หรื อผูบ้ รรยาย 2. เนื้อหาความรู้ ที่ส่งให้แก่ผเู ้ รี ยน ได้แก่ เนื้อหาของวิชาตามหลักสูตรที่กาำ หนดไว้โดยจะ แบ่งไว้เป็ นบทเรี ยน มีการเรี ยงลำาดับความยากง่ายเพื่อความสะดวกในการนำามาสอน 3. สื่ อหรื อช่องทางที่ ใช้ส่งเนื้ อหาความรู้ให้แก่ผเู้ รี ยน 4. ผูร้ ับสารในการเรี ยนการสอน ได้แก่ ผูเ้ รี ยน ซึ่งมีระดับอายุ สติปัญญา และความรู ้พ้ืนฐานที่แตกต่างกันในแต่ละระดับชั้น จึงทำาให้มีความสามารถในการถอดรหัสแตกต่างกันไป ด้วย 5. ผลที่เกิดขึ้นในการเรี ยนการสอน หมายถึง ผลของการเรี ยนรู ้เพื่อแสดงว่าผูเ้ รี ยนสามารถเข้าใจสาร หรื อความรู ้ที่รับมาหรื อไม่ 6. ปฏิกริ ยาสนองกลับของผูเ้ รี ยน หมายถึง การที่ผเู ้ รี ยนตอบคำาถามได้หรื ออาจ จะถามคำาถามกลับไปยังผูส้ อน หรื อการที่ผเู้ รี ยนแสดงอาการง่วงนอน ยิม้ หรื อแสดงกริ ยาใด ๆ ส่ งกลับ 1. การเรี ยนรู้ในรู ปแบบการสื่ อสารทางเดียว การให้สิ่งเร้าแก่ผเู ้ รี ยนในรู ปแบบการสื่ อสารทางเดียวหรื อใน การสื่ อสารระบบวงเปิ ด (Open-Loop System) นี้ สามารถให้ได้โดยใช้การฉายภาพยนตร์ วีดิ ทัศน์ การใช้โทรทัศน์วงจรปิ ดในการสอนแก่ผเู ้ รี ยนจำานวนมากในห้องเรี ยนขนาดใหญ่ หรื อการสอนโดยใช้ วิทยุและโทรทัศน์การศึกษาแก่ผเู้ รี ยนที่เรี ยนอยูท่ ี่บา้ น การแปลความหมายของผูเ้ รี ยนต่อสิ่ งเร้าก่อนจะมีการ ตอบสนองที่เหมาะสมนั้นนับว่าเป็ นสิ่ งสำาคัญยิง่ เพราะถ้าขอบข่ายประสบการณ์ของผูเ้ รี ยนมีนอ้ ยหรื อแตก ต่างไปจากผูส้ อนมากจะทำาให้การเรี ยนนั้นไม่ประสบผลสำาเร็ จเท่าที่ควร รู ปแบบของสิ่ งเร้า การแปลความหมาย และการตอบสนอง ในการสื่ อสารทางเดียว โดยไม่มีปฏิกริ ยาสนองกลับส่ งไปยังผูส้ อนหรื อสิ ่ งเร้า ดังนั้น การเรี ยนการสอนโดย ใช้ผสู ้ อนหรื อใช้สื่อการสอนในรู ปแบบการสื่ อสารทางเดียวหรื อการสื่ อสารในระบบวงเปิ ดนี้ จึงควรจะมี การอธิ บายความหมายของเนื้ อหาบทเรี ยนให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจก่อนการเรี ยนหรื ออาจจะมีการอภิปรายภายหลัง จากการเรี ยนหรื อดูเรื่ องราวนั้นแล้วก็ได้ เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีความเข้าใจและแปลความหมายในสิ ่ งเร้านั้นอย่างถูก ต้องตรงกันจะได้มีการตอบสนองและเกิดการเรี ยนรู ้ได้ในทำานองเดียว การเรี ยนรู้ในรู ปแบบการสื่ อสารสองทาง การให้สิ่งเร้าแก่ผเู ้ รี ยนในรู ปแบบการสื่ อสารสองทงหรื อ การสื่ อสารระบบวงปิ ด (Closed Loop System) นี้ สามารถให้ได้โดยการใช้อุปกรณ์ประเภท 3.
เครื่ องช่วยสอน (Teaching Machine) หรื อการอภิปรายกันในระหว่างผูส้ อนกับผูเ้ รี ยน ทั้งนี้เพราะ ในสถานการณ์ของการสื่ อสารแบบนี้ เนื้อหาข้อมูลต่างจะผ่านอยูแ่ ต่เฉพาะในระหว่างกลุ่มบุคคลที่อยูใ่ นที่ นั้น โดยถ้าเป็ นการเรี ยนโดยการใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนหรื อการใช้เครื่ องช่วยสอน เนื้ อหาความรู ้ จะถูกส่ งจากเครื่ องไปยังผูเ้ รี ยนเพื่อให้ผเู้ รี ยนทำาการตอบสนองโดยส่ งคำาตอบหรื อข้อมูลกลับไปยังเครื่ องอีก ครั้งหนึ่ง หรื อถ้าเป็ นการอภิปรายในห้องเรี ยนผูส้ อนและผูเ้ รี ยนจะมีการโต้ตอบเนื้ อหาความรู ้กนั เป็ นการมี ปฏิสมั พันธ์ระหว่างกันเช่นเดียวกันการใช้อุปกรณ์การสอนดังกล่าวมาแล้วการใช้การสื่ อสารรู ปแบบนี้ ใน การเรี ยนการสอนมีขอ้ ดีที่สาำ คัญหลายประการโดยเมื่อผูร้ ับมีการตอบสนองแล้ว จะเปลี่ยนบทบาทเป็ นผูส้ ่ ง และมีปฏิกริ ยาสนองกลับส่งไปยังผูส้ ่ งเดิมซึ่งจะกลายเป็ นผูร้ ับ http://thanapat131313.blogspot.com/2009/07/blog-post.html
เทคโนโลยีและการสื่ อสารเพื่อการศึกษา… โลกปั จจุบนั เป็ นสังคมข่าวสารข้อมูล เปรี ยบเสมือนโลกเป็ นหมู่บา้ นเล็กๆ หมู่บา้ นหนึ่งที่คนเราสามารถ ติดต่อสื่ อสารกันได้อย่างรวดเร็ วทัว่ ถึงภายในพริ บตา เทคโนโลยีการศึกษาจำาเป็ นต้องทราบถึงโทรคมนาคม เพื่อนำามาใช่ในการเรี ยนการสอนโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในการศึกษาทางไกลที่ตอ้ งใช้เทคโนโลยีและระบบการ สื่ อสารโทรคมนาคมช่วยในการเรี ยนการสอนในเรื่ องต่างๆ ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีและการสื่ อสารเพื่อการศึกษา… เทคโนโลยีเป็ นสิ่ งที่ช่วยเพิม่ พูนศักยะภายและสมรรถนะการทำางานในทุกวงการเมื่อนำาเทคโนโลยีมาใช้ใน ในการศึกษาจะเรี ยกว่า”เทคโนโลยีการศึกษา”โดยเทคโนโลยีจะช่วยเพิ่มประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลใน การศึกษาทำาให้ผเู้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู้ที่ดีข้ึ น นอกจากนี้ การเรี ยนรู้จะเกิดขึ้นได้เมื่อมีการสื่ อสารระหว่างผูส้ อนและผูเ้ รี ยนด้วยลักษณะต่างๆของการ สื่ อสารผูส้ อนสามารถนำาการสื่ อสารมาใช้ในการเรี ยนการสอนเพื่อบรรลุถึงจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ได้หลาก หลายวิธีการ ทำาให้สรุ ปได้วา่ เทคโนโลยีการศึกษาเป็ นการนำาเทคโนโลยีและการสื่ อสารมาใช่เพื่อเอื้อ ประโยชน์ในการศึกษาได้อย่างมีประสิ ทธิผล หรื อในทางกลับกันอาจกล่าวได้วา่ เทคโนโลยีและการสื่ อสาร เป็ นสิ่ งที่เอื้ออำานวยการศึกษาเพื่อช่วยให้ผเู้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ได้ดีข้ึน ระยะทางของการสื่ อสารในการเรี ยนการสอน... ลักษณะการสื่ อสารที่มีรูปแบบ วิธีการ ประเภท และระยะทางของการสื่ อสารแตกต่างกัน ทำาให้การเรี ยนการ สอนและการเรี ยนรู้ท้ งั ในรู ปแบบปกติและการศึกษาทางไกลต้องคำานึงถึงสิ่ งเหล่านี้ดว้ ย เพื่อสามารถเลือกใช้ สื่ อและวิธีการให้เหมาะสมกับรู ปแบบการเรี ยนการสอน การสื่ อสารในห้องเรี ยน
ลักษณะการสื่ อสารในห้องเรี ยนส่วนมากแล้วจะเป็ นการสื่ อสารระยะใกล้แบบการสื่ อสารสองทางโดยผูส้ อน ใช้เนื้อหาการสอนประกอบทั้งวัสดุ อุปกรณ์ และเทคนิควิธีการต่างๆ เช่น ใช้ภาพนำาเข้าสู่บทเรี ยน การใช้วี ซีดี เป็ นต้น ปัจจุบนั การเรี ยนการสอนในห้องเรี ยนมีเพิ่มขึ้นอีก 2 รู ปแบบ นอกเหนือจากการสื่ อสารสอง ทางและการสื่ อสารระยะใกล้ที่ใช้กนั มาแต่เดิม ได้แก่ - การสื่ อสารระยะไกลแบบการสื่ อสารทางเดียว ตัวอย่าง เช่น การรับรายการโทรทัศน์การศึกษาจากโรงเรี ยนวังไกลกังวลทางโทรทัศน์ช่อง UBC ด้วยจาน รับสัญญาณผ่านดาวเทียมแบบรับตรง วิธีการเหล่านี้ ลว้ นเพิ่มพูลสมรรถนะในการเรี ยนการสอนและการ เรี ยนได้อย่างมีประสิ ทธิภาพยิง่ - การสื่ อสารระยะไกลแบบการสื่ อสารสองทาง เช่นการเรี ยนในห้องเรี ยนเสมือนที่ผเู้ รี ยนในห้องเรี ยนหนึ่งสามารถเรี ยนร่ วมกับผูเ้ รี ยนในสถาบันการศึกษา แห่ งอื่นที่มีผสู ้ อนสดและส่ งการสอนนั้นมาเพื่อเรี ยนร่ วมกันได้ การสื่ อสารในการศึกษาทางไกล การศึกษาทาง”กลเป็ นการเรี ยนการสอนและผูเ้ รี ยนถึงแม้จะไม่อยูใ่ นที่ เดียวกันแต่สามารถสื่ อสารกันได้ดว้ ยระบบโทรคมนาคมซึ่งเป็ นการสื่ อสารระยะไกล การเรี ยนการสอนรู ป แบบนี้ผเู ้ รี ยนจะเรี ยนอยูท่ ี่บา้ นหรื อสถานที่ต่างๆ ตาความสะดวกของแต่ละคน และสามารถเรี ยนรู ้ได้จากสื่ อ สิ่ งพิมพ์ละสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ประเภทต่างๆ เช่น หนังสื อ เอกสารประกอบการเรี ยน เทปเสี ยง แผ่นวีซีดี รายการวิทยุ โทรทัศน์การสอน เป็ นต้น - การสื่ อสารระยะไกลแบบการสื่ อสารทางเดียว เป็ นแบบประสารเวลาด้วยการสอนบนเว็บโดยผูเ้ รี ยนเข้าไปเรี ยนในเว็บไซต์ของวิชา ส่ งการบ้านหรื อถาม คำาถามทางอีเมลไปยังผูส้ อนสอน หรื อติดคำาถามบนเว็บบอร์ ดเพื่อให้ผเู ้ ชี่ยวชาญตอบ - การสื่ อสารระยะไกลแบบการสื่ อสารสองทาง เป็ นแบบประสารเวลาด้วยการสอนบนเว็บโดยผูเ้ รี ยนล็อกออนเข้าเข้าเรี ยนในเวลาที่ผสู ้ อนกำาหนด ทำาให้ผู ้ สอนและผูเ้ รี ยนสามารถมีปฏิสมั พันธ์กนั ได้ทนั ที หรื ออาจเป็ นการเรี ยนแต่มีการนัดหมายเวลาเพื่อสนทนา สดด้วยเสี ยงแบบเห็นหน้ากันหรื อพิมพ์ขอ้ ความโต้ตอบกันไปมาได้ ความหมายขอ”ของโทรคมนาคม”… โทคมนาคม เป็ นการส่ งข้อมูลสารสนเทศในรู ปแบบของตัวอักษร ภาพ และเสี ยง โดยใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า หรื อการติดต่อสื่ อสารจากที่หนึ่งไปสู่ที่หนึ่งโดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แปลงข้อมูลให้เป็ นพลังงานไฟฟ้ า ให้ไหลไปตามตัวกลางสื่ อสัญญาณทางกายภาพ เช่น สายเคเบิลทองแดง เคเบิลเส้นใยนำาแสง หรื อโดยใช้ ตัวกลางสื่ อสัญญาณไร้สาย เข่น คลื่นวิทยุแบบแพร่ สญ ั ญาณ คลื่นไมโครเวฟ การส่ งสัญญาณผ่านดาวเทียม แสงอินฟราเรด โดยที่จุดส่ งกับจุดรับจะอยูห่ ่างไกลกัน และเรื่ องราวที่ส่งจะเฉพาะเจาะจงถึงผูร้ ับคนใดคน
หนึ่งหรื อผูร้ ับทัว่ ไปก็ได้ เช่น รับฟังเสี ยงทางโทรศัพท์ ดูรายการโทรทัศน์ที่ส่งผ่านดาวเทียมมายังจานรับ สัญญาณ เป็ นต้น การสื่ อสารโทรคมนาคม… ระบบการสื่ อสารโทรคมนาคมมีการทำางานโดยเริ่ มขึ้นเมื่อข้อมูลถูกแปลงเป็ นสัญญาณไฟฟ้ า สัญญาณนั้นถูก ส่ งผ่านสื่ อหรื อช่องทางไปยังเครื่ องรับ และเครื่ องรับถอดรหัสหรื อแปลงสัญญาณกลับมาเป็ นรู ปแบบที่ผรู ้ ับ ข้อมูลนั้นเข้าใจได้ องค์ประกอบของการสื่ อสารโทรคมนาคม การสื่ อสารโทรคมนาคมเป็ นการสื่ อสารระยะไกลที่ตอ้ งอาศัยองค์ประกอบสำาคัญ 3 อย่าง ได้แก่ ตัวส่ งผ่าน หรื อพาหะ ช่องทางโทรคมนาคม และอุปกรณ์สื่อสาร - ตัวส่ งผ่านและพาหะ เพื่อนำาข่าวสารไปถึงกันโดยใช้คลื่นวิทยุความถี่สูงในลักษณะคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเป็ น “คลื่นพาห์”ช่วยนำา สัญญาณไฟฟ้ าแพร่ กระจายไปไนบรรยากาศไปยังเครื่ องรับได้โดยสะดวก - ช่องทางโทรคมนาคม ช่องทางโทรคมนาคม หมายถึง ทาง หรื อตัวกลางสื่ อสัญญาณ ที่ขอ้ มูลสารสนเทศใช้เดินทางเพื่อการสื่ อสาร ในระบบโทรคมนาคมจากแหล่งส่ งไปยังจุดรับ โดยช่องทางนี้ จะเป็ นตัวกลางสื่ อสัญญาณทางกายภาพ หรื อ ตัวกลางสื่ อสัญญาณไร้สายก็ได้ - อุปกรณ์สื่อสาร อุปกรณ์สื่อสาร หมายถึงอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการสื่ อสารข้อมูลระหว่างจุดส่ งและจุดรับ โดยที่แต่ละจุดจะ ต้องมีเครื่ องมือสื่ อสารซึ่งมีท้ งั เครื่ องรับอยูภ่ ายในเครื่ องเดียวกัน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า … พื้นฐานของช่องทางโทรคมนาคม-ทั้งด้วยการใช้ตวั กลางสื่ อสัญญาณทางกายภาพหรื อแบบไร้สายก็ตาม – จะเป็ นการใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ไม่วา่ จะเป็ นสัญญาณโทรศัพท์ คลื่นเรดาร์ หรื อการเปิ ดปิ ดประตูหน้าบ้าน ด้วยรี โมตคอนโทรล เหล่านี้ เรี ยกว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ทั้งสิ้ น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ านี้ ประกอบด้วยสนาม พลังงานไฟฟ้ าและพลังงานแม่เหล็กซึ่งเดินทางเป็ นคลื่น ท่ามกลางคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจะเป็ นคลื่น ความถี่วิทยุ ซึ่งเป็ น คลื่นพาห์ ช่วยนำาสัญญาณในการสื่ อสารคลื่นแบบต่างๆ ที่ใช้สื่อสารจะมีความแตกต่าง กันแล้วแต่ความถี่ นับตั้งแต่พิสยั ของคลื่นวิทยุจากคลื่นความถี่ต่าำ พิสยั ของความถี่เหล่านี้เรี ยกว่า แถบความถี่ หรื อเรี ยกทัพศัพท์วา่ แบนด์วิดท์ แบนด์วิดท์ในการส่ งสัญญาณอนาล็อกจะเรี ยกเป็ น เฮิตซ์ หรื อรอบต่อวินาที หากเป็ นการส่งสัญญาณแบบดิจิทอัลเรี ยกเป็ น บิทต่อวินาที ำ แบนด์วิดท์ จะมีความแตกต่างกันระหว่างความถี่สูงกับความถี่ต่าในการส่ ง
ยิง่ แบนด์วิดท์มากเท่าไหร่ จะช่วยส่งข้อมูลได้รวดเร็ วมากขึ้ นเท่านั้น และหากใช้แบนด์วิดท์แคบจะทำาให้สูญ เสี ยพลังในการส่งมากขึ้นเช่นกัน จึงต้องชดเชิญการสูญเสี ยพลังด้วยการใช้การหน่วงหรื อการทวนสัญญาณ ำ ญญาณเดิม แบนด์วิดท์จะระบุกนั ด้วยความเร็ วหรื อการส่ งข้อมูลขนาดใหญ่ยอ่ มต้องใช้แบนด์วิด เพื่อทำาซ้าสั ท์กว้างที่เรี ยกว่า บรอดแบนด์ ที่ส่งผ่านข้อมูลได้ต้ งั แต่ 1.544-55 เมกกะบิตต่อวินาที ตัวกลางสื่ อสัญญาณ ในการส่งผ่านซึ่งเป็ นวัสดุเทคนิควิธีการที่ทาำ ให้สามารถส่ งสัญญาณไปได้ ตัวกลางสื่ อ สัญญาณมี 2 ลักษณะ คือ ตัวกลางที่เป็ นสื่ อทางกายภาพ และสื่ อไร้สาย
ตัวกลางสื่ อสัญญาณทางกายภาพ … เป็ นการใช้สายเคเบิลและวัสดุอื่นๆ ในการส่งสัญญาณ ตัวกลางสื่ อสัญญาณที่ใช้กนั ทัว่ ไปได้แก่ สาย โทรศัพท์ซ่ ึงทำาด้วยรวดทองแดง แต่ในปัจจุบนั มีการใช้วสั ดุอื่นที่ส่งสัญญาณผ่านได้เร็ วขึ้ น ได้แก่ สายเคเบิลคู่ไขว้ สายเคเบิลคู่ไขว้ เป็ นสายที่ใช้กนั ทัว่ ไปในเครื อค่ายและระบบโทรศัพท์ สายรวดพวกนี้ ประกอบด้วยทองแดง 2 เส้น ไขว้พนั กันเหมือนหางเปี ยแต่ละคู่อาจมีคู่เดียวหรื อหลายคู่กไ็ ด้ สายนี้ มีความเร็ วในการส่ ง 1-128 เมกะบิตต่อวินาที สายเคเบิลร่ วมแกน มักเรี ยกกันย่อๆว่า สายแอ็กซ์ ประกอบด้วยลวดทองแดงเดี่ยวเป็ นแกนเดี่ยวเป็ นแกน ตัวนำาและพันรอบด้วยวัสดุ3 ชั้น คือ วัสดุกนั ฉนวน ลวดทองแดงมัดพันเกลียวกันตั้งแต่2 ชั้น และปลอก พลาสติกหุ ม้ ลวด มีความเร็ วในการส่งสัญญาณได้สูงถึง 200 เมกะบิทต่อวินาที สายเคเบิ้ลเส้นใยแก้วนำาแสง สายเคเบิ้ลเส้นใยแก้วนำาแสง มีความเร็วในการส่ งตั้งแต่ 100 เมกะบิตถึง 204 จิกะบิตต่อวินาที มีขอ้ ได้เปรี ยบกว่าสายเคเบิล คือ • มีความสูญเสี ยของสัญญาณน้อยมาก และส่ งได้มากกว่า รวดเร็ ว และไกลกว่า • ป้ องกันการลบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า • มีขนาดเล็กและเบากว่า • ไม่เป็ นสนิม • ติดตั้งง่ายเข้าได้ทุกที่ • วัตถุดิบในการผลิตมีอยูม่ ากในธรรมชาติ มีขอ้ จำากัดคือ • มีความเปราะ แตกหักง่ายกว่าสายโลหะธรรมดา • ต้องมีการเชื่อมที่มีความถูกต้องแน่นอน
• ยากต่อการแยกสัญญาณ • ใช้ส่งกำาลังงานไฟฟ้ าสำาหรับเลี้ยงระบบต่างๆไม่ได้ ISDN Lines ย่อมาจาก Integrated Services Digital Network แปลว่า โครงข่ายบริ การสื่ อสารร่ วม ระบบดิจิทลั สามารถส่ งสัญญาณจากการสื่ อสารระบบต่างๆ เช่น การส่ งสัญญาณผ่านดาวเทียว สายเคเบิลใต้ น้าำ ไมโครเวฟ มีความเร็ วในการส่ ง 128 กิโลบิตต่อวินาที ด้วยสมรรถนพของ ISDN 1 สามารถพ่วงได้ ครั้งละ 8 สัญญาณ Digital Subscriber Line DSL เป็ นสายในการส่ งผ่านสัญญาณดิจิทลั ที่นิยมใช้ในธุรกิจขนาดเล็ก สามารถส่ งข้อมูลได้มากกว่าการ ใช้สายเคเบิลทองแดงธรรมดา DSL ได้รับความนิยมมากในการให้บริ การอินเตอเน็ตความเร็ วสูง ได้แก่ • Digital Subscriber Line (ADSL) มีการรับสัญญาณได้เร็ วกว่าการส่ ง ความเร็ วในการรับ ตั้งแต่ 1.54-8.45 เมกะบิต/วินาที และควาเร็ วในการส่ ง 128 กิโลบิตถึง 1 เมกะบิต/วินาที • Very Hight Speed Digital Subscriber Line มีความไวในการส่ ง 13-55 เมกะบิต/ วินาที ในระยะทางสั้นๆ ระหว่าง 300-1500 เมตร โดยต่อโฒเด็ม VDSL เข้ากับคู่สายทองแดงที่ใช้ บริ การสายโทรศัพท์ปรกติเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการส่ งสัญญาณภาพเคลื่อนไหวและเสี ยงได้ดว้ ยอัตรา ความเร็ วสูงมาก รวมทั้งการให้การบริ การหลายรู ปแบบ เช่น video on demand ได้พร้อมกันหลาย ช่อง T-Carrier Lines T-Carrier Lines เป็ นสายดิจิทลั ที่นาำ พาสัญญาณหลายๆ สัญญาณได้โดยการใช้สายสื่ อสานเพียงเส้น เดียว T-Carrier Lines จะใช้เทคนิคการรวมสัญญาณร่ วมสื่ อเพื่อให้หลายๆสัญญาณนั้นสามารถใช้ สายโทรศัพท์สายเดียวร่ วมกันได้ ที่นิยมใช้กนั มากคือ T-1 Lines สามารถนำาพา 24 สัญญาณแยกกัน ด้วยอัตราความเร็ ว 64 กิโลบิต/วินาที และ T-3 มีสมรรถนะเป็ น 28 เท่าของ T-1 Lines โดย สามารถนำาพา 674 สัญญาณแยกกันด้วยอัตราความเร็ ว 64 กิลโลบิต/วินาที ตัวกลางสื่ อสัญญาณไร้สาย Wireless (ไร้สาย) เป็ นคำาที่ใช้เพื่อกล่าวถึงการสื่ อสารโทรคมนาคมที่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ านำาพาสัญญาณ ไปในช่องทางสื่ อสาร เครื่ องส่งสัญญาณในยุคแรกเริ่ มต้นตั้งแต่ตน้ ศตวรรษที่ 20 เพื่อใช้ในการส่ งสัญญาณเสี ยง ภาพ และข้อความไปยังเครื่ องรับต่างๆ ในปั จจุบนั การส่ งสัญญาณไร้สายไป ยังอุปกรณ์เครื่ องใช้ไร้สายนานาประเภท ที่พบทัว่ ได้แก่ โทรศัพท์เซลลูล์ โ?รศัพท์พ้ืนฐานในบ้าน เคื่อง ติดตามตัว เมาส์ คียบ์ อร์ด แลนไร้สาย เทคโนโลยีที่ใช้ในการสื่ อสารไร้สายมีอยูม่ ากมายเช่นกัน เช่น GSM GPRS UMTS IR เหล่านี้เป็ นต้น ตัวกลางสื่ อสัญญาณไร้สายที่ใช้กนั ในปัจจุบนั มีดงั นี้ คลื่นวิทยุแบบแพร่ สญ ั ญาณ
เป็ นสื่ อที่ใช้ในการส่ งสัญญาณไร้สายที่ใช้สญ ั ญาณวิทยุแพร่ ไปในอากาศในระยะไกลระหว่างเมืองและ ประเทศต่างๆ ปกติแล้วการแพร่ สญ ั ญาณลักษณะนี้ จะเป็ นการส่ งสัญญาณจากสถานีส่งไปยังเครื่ องรับวิทยุ ในระบบ AM และ FM แต่ระบบองค์กรหรื อบริ ษทั บางแห่ งจะใช้คลื่นวิทยุในการสื่ อสารเคลื่อนที่ใช้ใน เครื อข่ายของตน โดยใช้อุปกรณ์ไร้สาย เช่น คอมพิวเตอร์ กระเป๋ าหิ้ ว และ PDA ซึ่งจะมีเสาอากาศในตัวที่ สามารถสื่ อสารกับเครื อข่ายนั้นได้ คลื่นวิทยุจะมีความเร็ วในการส่ งถึง 2 เมกะบิตต่อวินาที การสื่ อสารไร้ สายจะใช้เกณฑ์วิธีการสื่ อสารเรี ยกว่า WAP อันเป็ นข้อกำาหนดคุณลักษณะเพื่อให้ผใู ้ ช้สามารถเข้าถึง สารสนเทศได้ทนั ทีผา่ นทางอุปกรณ์ไร้สายขนาดเล็กไม่วา่ จะเป็ นโทรศัพท์เซลลูลาร์ เครื่ องติดตามตัว วิทยุ สื่ อสารสองทาง และคอมพิวเตอร์มือถือขนาดเล็กประเภท PDA และ Tablet Pc มาตรฐานหนึ่งที่นิยม ใช้กนั ขณะนี้ ได้แก่ Bluetooth ซึ่งประกาศใช้เป็ นครั้งแรกโดยบริ ษทั อีริกสันในปี พ.ศ. 2541 โดยใช้ คลื่นวิทยุในการควบคุมการทำางานระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ ในการสื่ อสารในระยะ 10 เมตร นอกจาก Bluetooth แล้วในปัจจุบนั มีมาตรฐาน Wi-fi ซึ่ งเป็ นเครื่ องหมายการค้าของชุดมาตรฐาน เครื อข่ายไร้สาย IEEE 802.11 ที่กาำ หนดเทคโนโลยีที่ใช้สร้างเครื อข่ายเฉพาะที่ไร้สาย (WLAN) โดยใช้วิทยุความถี่ UHF Wi-fi เป็ นเครื อข่ายเปิ ดที่ ใช้งานได้ฟรี และมีหลายมาตรฐาน เหมาะกับการใช้งานลักษะต่างๆ และในปี พ.ศ.2548 ได้มีมาตรฐาน Wimax เพิม่ ขึ้นอีกมาตรฐานหนึ่ง ด้วยความสามารถส่งสัญญาณด้วยความเร็ วสูงสุ ด 75 เมกกะบิต/วินาทีในช่วงความถี่ 2-66 จิกะเฮิรตซ์ พื้นที่ในเขตบริ การ Wi-fi เรี ยกว่า hot spot ผูใ้ ช้คอมพิวเตอโน๊ตบุ๊ก PDA เชื่ออมต่อด้วยโมเด็มกว่า 100 เท่า การใช้ “Wi-fi จะมีควาเร็วมากน้อยขึ้นอยูก่ บั สมรรถนะความเร็ วของอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อ อินเตอร์ เน็ต ไมโครเวฟ ไมโครเวฟ เป็ นคลื่นวิทยุที่สามารถส่งผ่านสัญญาณความเร็ วสู ง โดยการส่ งสัญญาณจากสถานีภาคพื ้นดิน จากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่ง การใช้คลื่นไมโครเวฟมีขอ้ จำากัดอย่างหนึ่งเนื่องจากคลื่นความถี่จาำ กัดอยู่ เพียงในระยะเส้นสายตา คือ คลื่นจะเดินทางเป็ นแนวเส้นตรงโดยไม่สามารถไปตามความโค้งของโลกได้ และไม่สารถทะลุสิ่งกีดขวางอย่างเช่นตึกหรื อภูเขาได้ จึงต้องมีเสารับสัญญาณเป็ นทอดๆในระยะ 530 ไมล์ มีความเร็ วในการส่ง 45 เมกะบิต/วินาที ดาวเทียมสื่ อสาร ดาวเทียมสื่ อสาร เป็ นการสื่ อสารด้วยคลื่นไมโครเวฟเช่นกันแต่สถานีรับ -ส่ งสัญญาณจะอยูใ่ นอวกาศโดยใช้ ดาวเทียม 3 ดวงเป็ นสื่ อรับ-ส่ งครอบคลุมพื้นที่ทวั่ โลก อินฟราเรด อินฟาเรด คลื่นแสงอินฟาเรดเป็ นสื่ อประเภทหนึ่งในการส่ งสัญญาณไร้สายแต่จะต้องไม่มีสิ่ งกีดขวางระหว่ง ผูส้ ่ งและผูร้ ับ อุปกรณ์สื่อสาร
วิทยุ วิทยุกระจายเสี ยง เป็ นอุปกรณ์โทรคมนาคมสื่ อสารทางเดียวที่รับส่ งคลื่นเสี ยงได้ในระยะไกลๆโดยไม่ตอ้ ง ใช้สายในการสื่ อสาร โดยมีเครื่ องส่ งสำาหรับใช้ในการสร้างคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า เรี ยกว่า คลื่นวิทยุ หรื อ คลื่น ำ ญญาณ จากนั้นส่ งคลื่นไปยัง พาห์ และรวมกับคลื่นเสี ยงเป็ นคลื่น ความถี่เสี ยงรวมกันเรี ยกว่า การกล้าสั อากาศเพื่อเข้ายังเครื่ องรับวิทยุต่อไป โทรสาร โทรสาร หรื อ แฟกซ์ เป็ นอุปกรณ์ที่มีระบบการทำางานโดยต้นทางเครื่ องส่ งจะกราดแสงไปบนเอกสารซึ่ ง เป็ นข้อความตัวอักษรขระและภาพแล้วเปลี่ยนเป็ นสัญญาณไฟฟ้ าเพื่อส่ งไปตามช่องทางโทรคมนาคต่างๆ โทรทัศน์ โทรทัศน์เป็ นอุปกรณ์ส่งข้อมูลประเภทภาพเคลื่อนไหวและเสี ยงไปพร้อมกันยังบุคคลทัว่ ไป โดยมีสถานีส่ง เพื่อถ่ายทอดสัญญาณไปยังเครื่ องรับโทรทัศน์ในที่ต่างๆ ถ้าอยูห่ ่างไกลมากอาจจะใช้การส่ งคลื่นไมโครเวฟ หรื อการส่ งสัญญาณผ่านดาวเทียมไปยังสถานียอ่ ยเพื่อส่ งต่อไปยังเครื่ องรับอีกทอดหนึ่ง โทรศัพท์พ้ืนฐาน โทรศัพท์พ้ืนฐาน เป็ นระบบโทรศัพท์ที่ใช้ตามบ้านและในสถานีต่างๆซึ่งประกอบด้วยเครื่ องโทรศัพท์ สายตัวนำาหรื อช่องสัญญาณที่นาำ เสี ยงพูด และชุมสายโทรศัพท์ทาำ หน้าที่เป็ นจุดสำาหรับเชื่อมต่อลูกข่าย โดยมี อุปกรณ์รวมสัญญาทำาให้ส่งข่าวสารติดต่อกันได้พร้อมกันหลายๆเลขหมายโดยมีสวิตช์ช่วยในการติดต่อ โทรศัพท์เซลลูลาร์ โทรศัพท์เซลลูลาร์ เป็ นโทรศัพท์ไร้สายพกติดตัวไปได้ทุกที่ มีการสื่ อสารผ่านข่ายวิทยุคมนาคม โทรศัพท์ ชนิดนี้อาจแปลตรงตามชื่อว่า โทรศัพท์แบบรวงผึ้ง แบ่งเขตการับสัญญาณออกเป็ นพื้นที่เล็กๆ เรี ยกว่า เซลล์ แต่ล่ะเซลล์จะมีเสาอากาศรับ-สงสัญญาหลายๆสัญญาณได้พร้อมๆกัน แต่ละเซลล์อาจอยูห่ ่ างกันหลาย 10 กิโลเมตร คอมพิวเตอร์ การสื่ อสารผ่านคอมพิวเตอร์โดยรับส่งข้อมูลมัลติมีเดียได้ท้ งั ตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสี ยง การส่ งผ่านข้อมูลทางคอมพิวเตอร์เป็ นการใช้สายโทรศัพท์เพื่อส่ งข้อมูลดิจิทลั ผ่านอินเทอร์ เน็ตหรื อเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคลล หรื ออาจจะเป็ รการส่ งผ่านแบบไร้สายโดยใช้เทคโนโลยี Bluetooth หรื อ Wifi การใช้คอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้กนั มาในการสื่ อสารได้แก่ การสื่ อสารบนอินเทอร์ เน็ตซึ่งมีหลากหลายรู ป แบบ เช่น การรับส่ งไปรษณีอิเล็กทรอนิกส์ Email การสนทนาสด MSN Messenger เพื่อพิมพ์ขอ้ ความโต้ตอบกันทันที หรื อการรับฝากข้อความ Voice mail หรื อการศึกษาทางไกลได้หลายรู ปแบบ E-learning ที่นิยมในปั จจุบนั เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ...
ในการสื่ อสารย่อมต้องใช้เครื อข่ายเชื่อมโยงระหว่างการส่ งและการรับ เช่นเครื อข่ายโทรศัพท์ เครื อข่ายวิทยุ และเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ที่ทวีความสำาคัญยิง่ ขึ้นในการเรี ยนการสอนปั จจุบนั ซึ่งประกอบด้วยอุปกรณ์พื้น ฐานและช่องทางการสื่ อสารได้แก่ - อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ตน้ ทางเพื่อเป็ นอุปกรณ์เครื่ องส่ งในการส่ งข้อมูล คำาสัง และสารสนเทศ - อุปกรณ์สื่อสารเพื่อแปลงข้อมูล - ช่องทางสื่ อสารเพื่อการส่ งผ่านสัญญาณ - อุปกรณ์สื่อสารเพื่อรับสัญญาณจากช่องทางการสื่ อสารและแปลงกลัยให้เป็ นรู ปแบบ - คอมพิงเตอร์ปลายทางเพื่อเป็ นอุปกรณ์เครื่ องรับข้อมูล คำาสัง่ และสารสนเทศ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์จะเป็ นการเชื่อมต่อกันระหว่างคอมพิวเตอร์ ต้ งั แต่ 2 เครื่ องขึ้นไปโดยมีท้ งั แบบใช้ ตัวกลางสื่ อสัญญาณทางกายภาพโดยใช้สายโทรศัพท์ โมเด็ม หรื ออุปกรณ์อื่นๆ เมื่อคอมพิวเตอร์ มีการเชื่อม ต่อกันบนเครื อข่ายจะเรี ยกว่าเป็ นการใช่แบบออนไลน์ (online) เพื่อสามารถสื่ อสารกันได้แบบทันที เครื อข่ายจะแบ่งกันได้ท้ งั ขนาดเล็กและขนาดใหญ่แบ่งออกได้ดงั นี้ เครื อข่ายขนาดกว้าง เป็ นเครื อข่ายครอบคลุมพื้นที่กว้างขวางโดยอาจเป็ นทั้งรัฐหรื อทั้งประเทศ เครื อข่ายนครหลวง เป็ นเครื อข่ายสื่ อสารครอบคลุมพื้นที่ในเขตเมืองและเขตชานเมือง เครื อข่ายเฉพาะที่ เป็ นเครื อข่ายขนาดเล็กใช่เฉพาะพื้นที่ที่กาำ หนดไว้โดยอาจเป็ นเพียงสำานักงานชั้นเดียว อินเทอร์ เน็ต เป็ นเครื อข่ายที่ขนาดใหญ่ที่สุดในโลกที่เชื่อมโยงเครื อข่ายทัว่ โลกเข้าด้วยกัน อินทราเน็ต เป็ นเครื อข่ายภายในที่ใช้โครงสร้างพื้นฐานและมาตระฐานของอินเตอร์ เน็ตและเวิลด์ไวเว็บ เพื่อ ใช้งานเฉาพะภาในองค์กรแต่ละแห่ ง เอกซ์ทราเน็ต เป็ นเครื อข่ายที่ใช้เทคโนโลยีของอินทราเน็ต ต่าเพิ ม่ การรักษาความปลอดภัยและควบคุมการ เข้าถึง สิ่ งสำาคัญอย่างหนึ่งที่เครื อข่ายควรมีเพื่อปกป้ องข้อมูล คือ ไฟร์วอลล์ (firewalls) ซึ่งเป็ นการรักษาความ ปลอดภัยข้อมูลในเครื อข่าย อุปกรณ์สื่อสารในเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ - โมเด็ม ซึ่งเป็ นการเปลี่ยนแปลงสัญญาณอนาล็อก เป็ นการแปลงสัญญาณอนาล็อกให้เป็ นดิจิทลั อุปกรณ์ ต้นทางและอุปกรณ์ปลายทาง - เคเบิลโมเด็ม เป็ นโมเด็มใช้รับส่งข้อมูล เป็ นเครื อข่ายโทรทัศน์ โดยมีความเร็ วในการส่ งผ่านข้อมูล ตั้งแต่ 500 กิโลบิทต่อวินาที ซึ่งเร็ วกว่าการใช้โมเด็มธรรมดา ISDN - อุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ เป็ นอุปกรณ์ใช้รวมส่ งสัญญาณเพื่อให้เป็ นสายข้อมูลเดียวกันและส่ งผ่าน ไปได้ บนสายส่ งเส้นเดียว - แผ่นวงจรต่อประสานเครื อข่าย เป็ นแผ่นวงจร ต่อขยายที่เสี ยบในช่องเสี ยบของคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ อื่น แผ่นวงจรนี้ อาจเรี ยกอีกชื่อหนึ่งว่า Lan Adapter เนื่องจากใช้ในการรับข้อมูลคำาสัง่ และสารสนเทศ ต่างๆ
ความเอื้อประโยชน์ของเครื อข่าย - การใช้โปรแกรมและข้อมูลรวมกัน ผูท้ ี่อยูใ่ นเครื อข่ายสามารถใช้ซอฟแวร์ โปรแกรมและได้รับข้อมูล เดียวกันได้โดยสะดวกรวดเร็ ว - การใช้บริ ภณั ฑ์ร่วมกัน สถาบันและองค์กรในเครื อข่าย จนสามารถประหยัดงบประมาณในการซื้ อปริ มาณ รอบข้างต่างๆ - สะดวกในการสื่ อสาร ด้วยการใช้อีเมลช่วยในการสื่ อสารทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานเป็ นไปได้ดว้ ย ำ นในการเดินทาง ไม่ตอ้ งเสี ยค่าไปรษณี ยากร และช่วยประหยัด ความสะดวกรวดเร็ ว ไม่เสี ยเวลาและค่าน้ามั พลังงานและทรัพยากรโลก - การเข้าถึงฐานข้อมูล สถาบันและหน่วยงานต่างๆจะมีฐานข้อมูลของแต่ละแหล่งเก็บบันทึกไว้เพื่อสามารถ เรี ยกค้น และใช้งานด้วยความรวดเร็ว เครื อข่ายเฉพาะที่ …ด้วยความเอื้อประโยชน์หลายประการในการทำางานของเครื อข่ายโดยเฉพาะอย่างยิง่ เครื อข่ายเฉพาะที่ ซึ่งเรี ยกสั้นๆว่า “แลน” (Lan) โดยเครื อข่ายระบบแลน จะมีการเชื่อมต่อกันเป็ นรู ปทรง เลขาคณิ ต 3 ลักษณะได้แก่ เครื อข่ายแบบดาว แบบลัด และแบบวงแหวน เครื อข่ายแบบดาว เครื อข่ายแบบดาว เป็ นเครื อข่ายที่คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สื่อสารต่างๆเชื่อต่อกับเครื่ องบริ การกางและมีการ จัดลักษณะทางกายภาพคล้ายดาว โดยข้อมูลในเครื อข่ายจะส่ งผ่านฮับศูนย์กลางไปยังจุดหมายปลายทาง เครื อข่ายแบบลัด คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ท้ งั หมดในเครื อข่ายจะเชื่อต่อทั้งหมดกับสายบัส ซึ่ งเป็ นสายเคเบิลเดี่ยวส่ วนกลาง เพียงเส้นเดียว อุปกณ์สื่อสารแต่ละเครื่ องจะสื่ อสารถึงอุปกณ์อื่นได้โดยตรงผ่านอุปกรณ์สื่อสารเคเบิลนี้ ซ่ ึง ทำาการส่ งผ่านข้อมูลคำาสั่งเครื่ องและส่งผ่านข้อมูลต่างๆโดยไม่มีเครื่ องบริ การกลาง เครื อข่ายแบบวงแหวน เครื อข่ายแบบวงแหวน เป็ นเครื อข่ายแบบกระจายออกจากจุดศูนย์กลาง โดยที่คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สท่อ สารทั้งหมด จะเชื่อต่อกันโดยสายเคเบิล วงจรปิ ดโดยอาจจะมีหรื อไม่มีในเครื่ องบริ การกลางก็ได้ การเชื่อมต่อเครื อข่ายเฉพาะที่ - ระบบเชื่อมต่อหรื อเคเบิล การเชื่อต่อเครื อข่ายไม่วา่ จะเป็ นในระบบแบบแลน หรื อ ระบบใดก็ตาม สามรถ ใช้ได้ในระบบเชื่อมต่อ แบบใช้ตวั การสื่ อสัญญาณทางกายภาพหรื อแบบ ตัวกลางสื่ อสัญญาณ์ไร้สาย - ไมโครคอมพิวเตอร์ พร้อมแผนวงจรต่อประสาทเครื อข่าย การใช้เครื อข่ายจะต้องประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ อย่างน้อย 2 เครื่ องเชื่มต่อกันโดยแต่ละเครื่ องจะมีวงจรต่อประสาทเครื อข่ายอยูด่ ว้ ย (Network interface cards)อยูด่ ว้ ย - ระบบปฏิบตั ิการเครื อข่าย เป็ นซอฟแวร์ระบบเพื่อช่วยจัดการกิจการต่างๆบนเครื อข่ายระบบนี้ ระบบนี้จะ ระบุตวั ตนผุใ้ ช้ดว้ ยรหัสผ่าน และให้ผใู้ ช้หลายคนสามารถเข้าถึงเครื อข่ายได้พร้อมกัน
- เครื่ องบริ การแบบไฟล์ เป็ นแม่ข่ายหรื อคอมพิวเตอร์หลักในระบบเครื อข่ายสื่ อสาร หรื อในระบบที่มีผใู ้ ช้ หลายคน ทำาหน้าที่ควบคุมการสื่ อสารและเป็ นศูนย์กลางเก็บข้อมูล - สถานีงาน เป็ นสถานีลูกข่ายในแต่ละหน่วยงานที่รวบรวมส่ งข้อมูลในระบบแลน โดยมีไมโคร คอมพิวเตอร์ ใช้อยูใ่ นหน่วยงานอย่างน้อย 1 เครื่ อง ตัวเชื่อต่อเครื อข่าย โดยทัว่ ไปในแต่ละหน่วยงานอาจจะมีเครื อข่าย เช่น ระบบ แลนใช้อยูเ่ พียงระบบเดียวแต่ เพื่อความคล่องตัวในการทำางานในปัจจุบนั มีการเชื่อต่อแบบแลนกับเครื อข่ายอื่น ทั้งภายในสถาบันเดียวกัน และกับเครื อข่ายอื่นรอบโลกในลักษณะอินเตอร์เน็ต เราเทอร์ หรื ออุปกรณ์จดั เส้นทางเป็ นอุปกรณ์ที่นาำ ทางข้อมูลสื่ อสารเมื่อมีการเชื่อมต่อเครื อข่ายหลายแหล่ง เข้าด้วยกัน ถึงแม้จะเป็ นเครื อข่ายที่ใช้เกณฑ์ วิธี(Protocol)ส่ งผ่านที่แตกต่างกันก็ตาม บริ ดจ์ เป็ นอุปกรณ์ที่เชื่อต่อเครื อข่ายแลน 2 แหล่งที่ใช้กเกณฑวิธีส่งผ่านดียวกันเข้าด้วยกัน เกตเวย์ เป็ นการรวมฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ที่เชื่อต่อเครื อข่ายใช้เกณฑ์วธิ ี ส่งผ่านแตกต่างกัน ให้สามารถ ทำางานร่ วมกันได้ ฮับ หรื อเรี ยกอีก 2 ชื่อว่าตัวรวมช่องสัญญาณและหน่วยเข้าถึงหลายสถานี เป็ นอุปกรณ์ในลักษณะจุดศูนย์ รวมสำาหรับสายเคเบิลในเครื อข่าย เครื่ องทวนสัญญาณ เป็ นอุปกรณ์ในการรับสัญญาณจากสื่ อที่ส่งผ่านข้อมูลเพทื่อนำามาขยายและกำาลังและส่ ง ต่อไป บริ ภณั ฑ์รอบข้าง ได้แก่ อุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกับคอมพิวเตอร์ เช่น เครื่ องพิมพ์ เครื่ องกราดภาพ อุปกรณ์เก็บ บันทึกสำารองซึ่งมีไว้ให้ผใู้ ช้งานร่ วมกันในเครื อข่าย เทคโนโลยีการสื่ อสารและการสื่ อสารโทรคมนาคม … ด้วยการพัฒนาการอย่างรวดเร็ วของเทคโนโลยีและการสื่ อสารโทรคมนาคมทำาให้ปัจจุบนั ก้าวไปสู่ยคุ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารหรื อเรี ยกอย่างย่อว่า “ยุคไอซีที” จึงทำาให้การสื่ อสารโทรคมนาคมมี บทบาทสำาคัญยิง่ ในเทคโนโลยีการศึกษาเนื่องจากความเอื้อประโยชน์หลายประการ ตัวอย่างเช่น 1. การเปลี่ยนการสอนของครุ ผสู้ อน 2. การเปลี่ยนวิธีการเรี ยนของผูเ้ รี ยน 3. การเรี ยนอย่างกระตือรึ อร้น 4. วิธีการส่ งบทเรี ยน 5. เปลี่ยนแปลงวิธีการเรี ยน 6. เป็ นแหล่งข้อมูลอันกวางขวาง 7. สะดวกในการบริ หารจัดการ ดังนั้น การสื่ อสารโทรคมนาคมจึงมีบทบาทสำาคัญในเทคโนโลยีการศึกษาในปั จจุบนั ทำาให้มีการเรี ยนในรู ป แบบต่างๆ โดยการใช้เทคโนโลยีสื่อสารทั้งวัสดุและอุปกรณ์ดงั กล่าวมาแล้ว ดังเช่นการใช้โทรทัศน์เพื่อการ
ศึกษา คอมพิวเตอร์ศึกษา และการเรี ยนเชิงเสมือน จึงทำาให้การศึกษาในปัจจุบนั หลีกหนีไม่พน้ การใช้ เทคโนโลยีและการสื่ อสารเพื่อเอื้อการเรี ยนรู ้ http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=mhajoy&month=012008&date=10&group=2&gblog=5
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารเพื่อการศึกษา จากการเปลี่ยนแปลงของสภาวการณ์โลกที่กา้ วสู่โลกแห่ งการเรี ยนรู ้เทคโนโลยีนานาประเทศต่าง พยายามปรับกลยุทธ์ เพื่อยกระดับศักยภาพของสังคมด้วยการนำาเทคโนโลยีร่วมสมัยถึงผลกระทบในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในสังคม 4 ด้าน คือ ด้านความรู ้เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยอำานวยความสะดวกใน การขยายขอบเขตของความรู้ท้ งั ในแนวลึกและแนวกว้างให้แก่ผศู ้ ึกษา ค้นคว้า ผลกระทบประการที่สองคือ ทำาให้เกิดอาชีพใหม่และทุกคนจำาเป็ นต้องมีความรู ้และทักษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ผลกระทบ ประการต่อไปคือสังคม ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านความสัมพันธ์ของผูค้ นในสังคม รวมทั้งความไม่ เท่าเทียมกัน ในสังคม ผลกระทบประการ สุดท้ายคือการอำานวยความสะดวกทั้งในด้านการศึกษา การดำารง ชีวิต ช่วยในการคิด การตัดสิ นใจ และประหยัดเวลา เมื่อนักการศึกษานำาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารมาใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษาให้สามารถ แข่งขันในโลกสากล ก่อให้เกิดภูมิปัญญาและการเรี ยนรู ้อนั จะนำาไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีข้ึ นนั้นถือได้วา่ เป็ น เรื่ องสำาคัญในระดับประเทศ สำาหรับประเทศไทยได้กาำ หนดยุทธศาสตร์ การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสารมาใช้ในวงการศึกษาเช่นเดียวกัน เช่น การใช้ดาวเทียมสื่ อสาร ใยแก้วนำาแสง ซีดีรอม มัลติมีเดีย อินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรี ยนการสอนผ่านเว็บ เป็ นต้น 2.1 บทบาทและคุณค่าของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารเพื่อการศึกษา การนำาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารมาใช้เพื่อการศึกษา มีหลายลักษณะคือ (ปทีป เมธา คุณวุฒิ, 2544 ; ถนอมพร เลาหจรัสแสง, 2542) ำ 1) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารลดความเหลื่อมล้าของโอกาสทางการศึ กษา สิ่ งนี้เป็ น เงื่อนไขสำาคัญในการตอบสนองนโยบายการศึกษาที่เป็ น "การศึกษาเพื่อประชาชนทุกคน" ที่จะเป็ นการ สร้างความเท่าเทียมทางสังคม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ความเท่าเทียมทางด้านการศึกษา ตัวอย่างที่สาำ คัญคือ การ เรี ยนการสอนทางไกลที่ทาำ ให้ผเู้ รี ยนในที่ห่างไกลในชนบทที่ดอ้ ยโอกาส ให้มีโอกาสเท่าเทียมกับผูเ้ รี ยนที่อยูใ่ นสถานที่ในเมือง รวมทั้งการที่ผเู ้ รี ยนมีโอกาสเข้าถึงแหล่ง ข้อมูลของโลก ผ่านทางเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต หรื อการที่เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นเครื่ องมือที่ช่วยให้คน พิการสามารถมีโอกาสรับการศึกษาในสิ่ งแวดล้อมของคนปกติ และยังเปิ ดโอกาสให้คนพิการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการเรี ยนรู้และเพื่อการประกอบอาชีพอีกด้วย 2) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารเป็ นเครื่ องมือในการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา เทคโนโลยีสามารถทำาได้ในรู ปแบบต่าง ๆ เช่น การที่ผเู ้ รี ยนที่เรี ยนรู ้โดยสามารถใช้เวลาเพิ ่มเติมกับบทเรี ยน ด้วยสื่ อซีดีรอมเพื่อตามให้ทนั เพื่อน ผูเ้ รี ยนที่รับข้อมูลได้ปกติสามารถเพิ ่ม ศักยภาพในการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง
ได้มากขึ้น จากความหลากหลายของเนื้ อหาในสื่ อสารอิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนี้ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ท้ งั ในระดับท้องถิ่นหรื อระดับโลกอย่างระบบเวิลด์ไวด์เว็บในอินเทอร์ เน็ต ยังเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนสามารถ พัฒนาคุณภาพของการเรี ยนรู้จากฐานข้อมูลที่หลากหลายและกว้างขวาง อย่างที่ระบบฐานข้อมูลหรื อห้อง สมุดเดิมไม่สามารถรองรับได้ วิวฒั นาการของเทคโนโลยีสารสนเทศยังทำาให้สื่อทางเสี ยง สื่ อข้อความ สื่ อ ทางภาพ สามารถผนวกเข้าหากัน และนำาเสนอได้อย่างน่าสนใจและไม่น่าเบื่อ ไม่วา่ จะดึงข้อมูลจากสื่ อที่เก็บ ข้อมูล เช่น ฮาร์ ดดิสก์ ซีดีรอม หรื อจากเครื อข่าย ซึ่งปั จจุบนั มีเทคโนโลยีดิจิทลั และการบีบอัดสัญญาณที่กา้ วหน้าที่ ได้อย่างรวดเร็ วและสมบูรณ์ ในขณะเดียวกันข้อมูลที่มีประโยชน์ยงั สามารถเก็บบันทึกและเรี ยกใช้ร่วมกัน ได้จากคลังดิจิทลั (Digital Archive) ในรู ปแบบต่าง ๆ นอกจากนี้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ประเภท ความจริ งเสมือน (Virtual Reality) ยังสามารถประยุกต์ใช้เป็ นประโยชน์ทางการศึกษาและการฝึ ก อบรม 3) การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู ้ทางด้านเทคโนโลยี ในประเด็นนี้ ได้คาำ นึงถึงระดับ การสร้างทักษะพื้นฐาน (Literacy) การสร้างผูส้ อนที่มีความรู ้ที่จะใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการ สื่ อสารประกอบการเรี ยนการสอน การสร้างผูม้ ีความรู ้ ความชำานาญ เฉพาะศาสตร์ ทางคอมพิวเตอร์ ในระดับ ต่าง ๆ เพื่อที่จะนำาไปสู่การคิดค้นสร้างสรรค์เทคโนโลยี สารสนเทศ และที่จาำ เป็ นมากสำาหรับประชาชน ทัว่ ไป คือการสร้างทักษะพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ 4) บทบาทของอินเทอร์เน็ตกับการศึกษา อินเทอร์ เน็ตเป็ น "เครื อข่ายแห่ งเครื อข่าย" (Network of Networks) ทำาให้เกิดการเชื่อมโยงกันอย่างเสรี โดยไม่มีการปิ ดกั้น การเผยแพร่ และสื บค้นข้อมูล ผ่านระบบเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) ทำาให้บุคคลสามารถเผยแพร่ ขอ้ มูลของ ตนเองต่อโลกได้ง่าย พอกับการสื บค้นข้อมูลโดยใช้ระบบทะเบียนที่อยู่ (Uniform Resource Locator-URL) และผ่านตัวสื บค้น (Search Engines) ต่าง ๆ นอกจากนั้นการสื่ อสารผ่าน ระบบไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail หรื อ E-mail) เป็ นการปฏิวตั ิระบบการสื่ อสาร ทัว่ โลกด้วยสะดวก ความเร็ว และถูกต้องสมบูรณ์ รวมทั้งการแลกเปลี่ยนสาระความรู ้ผา่ นระบบแผนกระ ดานข่าว (Bulletin Board) และกลุ่มอภิปราย (Discussion Groups) ต่าง ๆ ทำาให้เกิดการ แลกเปลี่ยนความรู้กนั อย่างกว้างขวางและทัว่ ถึงกันมากขึ้น รู ปแบบของการสื บค้นข้อมูลของภาษา HTML (Hyper Text Markup Language) นอกจากความสะดวกและง่ายต่อการใช้แล้วยัง เป็ นสภาพแวดล้อมที่อาจมีผลทางจิตวิทยาให้ผใู ้ ช้คน้ หาข้อมูลลึกลงไป โดยสรุ ปเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร มีส่วนสัมพันธ์หรื อเอื้อต่อการศึกษาทั้งในด้านการ เรี ยนการสอน การวิจยั การบริ หาร และการบริ การสังคม 2.2 ความล้มเหลวในการนำาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารมาใช้เพื่อการศึกษา (http://www.uni.net.th ค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2546)
ความล้มเหลวในการนำาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารมาใช้ในการศึกษา มีปัจจัยหลายประการ คือ 1) ขาดความเข้าใจและความสมเหตุสมผลในการใช้ เช่น หน่วยงานจัดซื้ อคอมพิวเตอร์ ที่มี ประสิ ทธิ ภาพสูงเกินกว่างานที่จาำ เป็ นมาใช้หรื อซื้ อเครื่ องใหม่มาแทนเครื่ องเดิม แม้วา่ เครื่ องเดิมยังใช้งานได้ แต่ซ้ือด้วยเหตุผลคือต้องการเครื่ องที่ทนั สมัย ดังนั้นการมีคอมพิวเตอร์ ใช้ควรพิจารณาให้เหมาะสมกับการใช้ งานทั้งจำานวนและประสิ ทธิภาพ 2) ขาดความรู้ในการใช้งาน เช่น บุคลากรในสถานศึกษาขาดความรู ้ในการใช้งาน ไม่กล้าใช้ สถาน ศึกษาควรพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ในการใช้งานให้สอดคล้องกับความต้องการและความจำาเป็ นเพื่อ ประโยชน์ต่อการศึกษา 3) ขาดการบำารุ งรักษา เช่น ไม่บาำ รุ งรักษาให้อยูใ่ นสภาพที่ใช้งานได้ หรื อไม่ได้ต้ งั งบประมาณบำารุ ง รักษา จึงควรตรวจสภาพเครื่ องให้พร้อมใช้งานตลอดเวลาเพื่อความคุม้ ทุน 4) ขาดการพัฒนารู ปแบบการใช้งานให้ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลง เช่น การพัฒนาฐานข้อมูล การทำา ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ได้เหมาะสมกับสภาพการเปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตามต้องพิจารณาถึงความคุม้ ทุนต่อ การพัฒนา 5) ขาดการยอมรับจากผูบ้ ริ หารหรื อผูร้ ่ วมงาน เช่น เมื่อหน่วยงานนำาเทคโนโลยีสารสนเทศและ สื่ อสารมาใช้ทาำ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง และไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงนั้นเพราะกลัวตกงาน 2.3 คุณธรรมและจริ ยธรรมการใช้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (http://www.ku.ac.th/magazine_online/law_rule.html ค้นเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2545) สังคมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร เพื่อประโยชน์การศึกษาโดยเฉพาะ เครื อข่าย คอมพิวเตอร์ เป็ นสังคมใหม่ (New Society) ภายใต้สงั คมที่มีการติดต่อสื่ อสาร ดำาเนิน กิจกรรมต่าง ๆ ร่ วมกันบนพื้นฐานของคำาว่าเสมือนจริ ง (Virtual) และออนไลน์หลายอย่าง จินตนาการการดำาเนินร่ วม กันก่อให้เกิดองค์กรเสมือนจริ ง (Virtual Corporate) การสร้าง กิจกรรมการทำางานหลายอย่างที่ ต้องใช้วิธีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร เช่น Virtual Classroom, Virtual Campus, Virtual Mall ฯลฯ เมื่อมีสงั คมใหม่ ปัญหาหลายอย่างทางด้านสังคมก็ตามมา โดยเฉพาะมีผแู้ ปลกปลอม ผูม้ องผลประโยชน์ของตัวเองเป็ นหลัก ตลอดจนผูป้ ระพฤติมิชอบหลายรู ปแบบ เกิดขึ้นบนเครื อข่าย ตั้งแต่การเป็ นแฮกเกอร์ การเป็ นผูล้ กั ลอบใช้ทรัพยากรของผูอ้ ื่น หรื อก่อความวุน่ วาย ความไม่สงบสุขต่าง ๆ เมื่อเป็ นเช่นนี้ ทางรัฐบาลจำาเป็ นต้องเข้ามาดูแลความสงบสุ ขด้วยการออกกฎหมาย เพื่อบังคับใช้และมีบทลงโทษผูก้ ระทำาผิด ทั้งนี้เพราะกฎหมายเดิมอาจจะไม่ครอบคลุมกิจกรรมบางอย่างที่ กระทำาแบบเสมือนจริ งบนเครื อข่าย เช่น กฎหมายว่าด้วยเรื่ องการทำาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายว่าด้วย
เรื่ องลายเซ็นต์อิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายว่าด้วยเรื่ องอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ กฎหมายว่าด้วยเรื่ องข้อมูล ข่าวสาร ความเป็ นส่วนตัว เป็ นต้น ความจริ งแล้วกฎหมายอาจไม่จาำ เป็ นต้องมีเลยก็ได้ การสร้างกฎระเบียบรวมถึงกฎหมายก็เพื่อที่จะ ควบคุมให้เกิดความสงบสุขและรักษาความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยต่าง ๆ ให้กบั สังคม โดยเน้นให้เกิด ประโยชน์กบั ส่วนรวมเป็ นหลัก การที่ผใู้ ช้งานเครื อข่ายและคอมพิวเตอร์ ปฏิบตั ิตามที่ดี เคารพสิ ทธิ ซ่ ึงกัน และกัน เอื้ออาทรต่อกัน ไม่เอาเปรี ยบหรื อคำานึงถึงผลประโยชน์ตนเองอย่างเดียวโดยไม่ดูคนรอบข้าง การ ปฏิบตั ิตนที่ดีของนิสิตในฐานะผูใ้ ช้ประโยชน์จากเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ จึงต้องเน้นที่คุณธรรมและจริ ยธรรม เป็ นหลัก นิสิตจะช่วยให้สงั คมเครื อข่ายเป็ นสังคมที่ดี ต้องใช้หลักการพื้นฐานของสังคมและความเป็ นอยู่ ทุก คนต้องการความสงบสุข หลักปฏิบตั ิที่ดีอย่างหนึ่งคือ "หากตนเองไม่ตอ้ งการหรื อไม่พึงประสงค์เช่นไร ก็ อย่าปฏิบตั ิเยีย่ งนั้นกับผูอ้ ื่น" การดำาเนินการบนเครื อข่ายจะต้องคำานึงถึงผูท้ ี่ใช้งานร่ วมอยูด่ ว้ ย และต้องแบ่ง ปั นทรัพยากรบางอย่างที่จาำ กัดระหว่างกัน หลักคุณธรรมและจริ ยธรรมที่ควรพิจารณา ประกอบด้วย 1) พึงยึดถือและปฏิบตั ิตนตาม กฎระเบียบของหน่วยงาน ผูด้ ูแลเครื อข่าย เนื่องจากทรัพยากรเครื อข่าย เป็ นของที่ให้บริ การร่ วมกัน ทุกเครื อข่ายมีกฎระเบียบและข้อบังคับบางอย่าง ดังนั้นพึงศึกษาและทำาความ เข้าใจกับกฎระเบียบและจะต้องปฏิบตั ิตามอย่างเคร่ งครัด 2) อย่าดำาเนินการละเมิดสิ ทธิ์ผอู้ ื่น การอยูร่ ่ วมกันต้องเคารพสิ ทธิ์ ซ่ ึ งกันและกัน โดยปกติแล้วผูใ้ ช้งาน เครื อข่ายจะมีสิทธิ์ของตนเองอยู่ เช่น การใช้บญั ชีชื่อ การใช้โควต้า การดำาเนินงานต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ของ ตนเองภายใต้สิทธิ์ที่ตนเองมีอยูเ่ ป็ นการชอบธรรม สิ ทธิ เหล่านี้ มีการ จัดสรรและแบ่งปั นตามความเหมาะสม และเพื่อประโยชน์ร่วมกัน 3) ไม่พึงละเมิดหรื อกระทำาการใช้ทรัพยากรของส่ วนรวมโดยถือสิ ทธิ์ คิดว่าเป็ นของตน ทรัพยากร หลายอย่างเป็ นของหน่วยงานหรื อของส่วนรวม การดำาเนินการจึงมีลกั ษณะใช้ร่วมกัน ทรัพยากรบางอย่าง เป็ นของหน่วยงานอย่างชัดเจนทั้งทางด้านกฎหมายและหลักปฏิบตั ิ ผูใ้ ช้เป็ นเพียงผูข้ อใช้เท่านั้น เช่น หมายเลขไอพีที่ใช้เป็ นของหน่วยงาน การนำาหมายเลขไอพีไปจดทะเบียนชื่อเป็ นอย่างอื่นโดยมิได้ขอ อนุญาตหน่วยงานถือว่าเป็ นการขโมยทรัพย์สินหน่วยงานไปใช้ประโยชน์เพื่อส่ วนตน 4) หลักปฏิบตั ิต่อผูอ้ ื่น ในการดำาเนินการรร่ วมกัน การส่ งข้อความระหว่างกันตั้งแต่เรื่ องอีเมล์ Chat ICQ ตลอดจนเว็บบอร์ด พึงระลึกเสมอว่าได้ปฏิบตั ิต่อผูอ้ ื่น ดังนั้นจึงต้องปฏิบตั ิโดยสุ ภาพและเคารพซึ่ ง กันและกัน ข้อความบางอย่าง เช่น ในเว็บบอร์ ดอาจะกระทบสร้างความเสี ยหายให้กบั ผูอ้ ื่นได้ โดยข้อความที่ เขียนอาจจะเป็ นการกล่าวหาหรื อทำาให้ผอู้ ื่นเสี ยหาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเขียนโดยไม่ลงชื่อจริ ง แต่วา่ กล่าว ทำาให้ผอู ้ ื่นเสี ยหายเป็ นสิ่ งที่ไม่ควรกระทำาอย่างยิง่ 5) หลีกเลี่ยงการปฏิบตั ิที่อาจสร้างปัญหาให้กบั ส่ วนรวม การดำาเนินงานบนเครื อข่ายมีปัญหาได้หลาย อย่างที่จะกระทบต่อส่วนรวม การส่ งสแปมเมล์ การส่ งอีเมล์ลูกโซ่ การส่ งอีเมล์ขนาดใหญ่เป็ นจำานวนมากที่ อาจจะทำาให้ระบบโดยส่วนรวมทำางานช้าลง การเอฟทีพีหรื อ ดาวน์โหลดข้อมูลมากเกินความจำาเป็ น เป็ นต้น
6) ช่วยดูแลและลดปัญหาให้กบั ส่วนรวม ในปัจจุบนั ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับไวรัสและเวิร์มบนเครื อข่าย มีสูงมาก ดังนั้นผูใ้ ช้พึงต้องระมัดระวังตนเองและติดตามเรื่ องราวเกี่ยวกับปั ญหาไวรัส หมัน่ ตรวจสอบและ สแกนหาไวรัส เพราะหากตนเองติดไวรัสจะมีการส่ งข้อมูลออกไปในเครื อข่ายอีกเป็ นจำานวนมาก และสร้าง ปั ญหาให้กบั ผูอ้ ื่นได้อีกด้วย 7) ช่วยเป็ นหูเป็ นตาให้กบั ผูด้ ูแลระบบ ผูใ้ ช้งานในระบบมีเป็ นจำานวนมาก จึงยากที่จะดูแลได้ท ัว่ ถึง ขณะเดียวกันผูใ้ ช้สามารถช่วยเป็ นหูเป็ นตาหากพบเห็นสิ่ งผิดปกติใด ควรจะแจ้งให้กบั ผูด้ ูแลระบบทราบ การดำาเนินการในปัจจุบนั มีปัญหาเกี่ยวกับมิจฉาชีพ ผูแ้ อบอ้างใช้ระบบตลอดจน ปั ญหาแฮกเกอร์ ผูก้ ่อกวนระบบ หากผูใ้ ช้งานช่วยเป็ นหูเป็ นตาสังเกตสิ่ งผิดปกติกจ็ ะช่วยได้อีกทางหนึ่ง เช่น สังเกตดูวา่ มีใครแอบอ้างใช้บญั ชีรายชื่อของเราหรื อไม่ ซึ่งสามารถตรวจสอบดูจากสถิติการใช้ของตนเองได้ สังคมชาวเครื อข่ายอาจเป็ นสังคมใหม่ แต่สงั คมใหม่น้ี เติบโตรวดเร็ วมาก มีผใู ้ ช้รวมกันหลายร้อยล้าน คนและหากดูเฉพาะหน่วยงาน เช่น ภายในมหาวิทยาลัย ปัจจุบนั มีผใู ้ ช้กว่าสามหมื่น บัญชีชื่อในกลุ่มคน จำานวนมากย่อมมีปัญหาเกิดขึ้นได้ แต่หากพวกเราช่วยกันก็จะทำาให้การใช้ทรัพยากรที่จาำ กัดร่ วมกันอย่างมี ความสุ ขได้ สำาหรับเครื อข่าย NU Net (เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วงของมหาวิทยาลัย นเรศวร) จัดเตรี ยมเพื่อการแลกเปลี่ยนและใช้งานทรัพยากรข้อมูลร่ วมกันเพื่อการบริ หารและบริ การการ ศึกษา สนับสนุนกิจกรรมเชิงวิชาการ การเรี ยนการสอน การค้นคว้าวิจยั รวมทั้งการบริ การสังคมตาม นโยบายมหาวิทยาลัย ทรัพยากรข้อมูลในระบบ NU Net มิได้จดั เตรี ยมไว้เพื่อการใช้งานในเชิงพาณิ ชย์ ใด ๆ ทั้งสิ้ น ดังนั้นนิสิตในฐานะสมาชิกของมหาวิทยาลัยนเรศวรจะต้องใช้งานอย่างมีจริ ยธรรม ควรใช้ ทรัพยากรข้อมูลของระบบเครื อข่าย NU Net อย่างสอดคล้องเหมาะสมกับ "ศักดิ์" และ "สิ ทธิ์ " ของ นิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร ตัวอย่างของการใช้งานผิด จริ ยธรรม ได้แก่ 1) การใช้งานที่ละเมิดต่อระบบความปลอดภัยของระบบ 2) การใช้งานโดยไม่ได้รับ Account หรื อ Username และ Password ซึ่งเป็ นการแสดง สิ ทธิ ในการใช้งานไม่ถูกต้อง 3) การลักลอบใช้ Account หรื อ Username และ Password ของบุคคลอื่น ๆ 4) การใช้งานข้อมูล Multimedia หรื อการสื่ อสารข้อมูลซึ่ งต้องอาศัย Bandwidth หรื อกิน พื้นที่เส้นทางเดินข้อมูลสูง ๆ อย่างมาก (Overuse) หรื อตลอดเวลาแต่เพียงผูเ้ ดียว ขาดความเคารพใน สิ ทธิ การใช้งานของผูอ้ ื่น 5) การใช้งานทรัพยากรข้อมูลเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะตนหรื อเชิงพาณิ ชย์หรื อเชิงใด ๆ ที่ขดั ต่อ นโยบายหรื อแนวทางของมหาวิทยาลัย 6) การใช้งานทรัพยากรข้อมูลโดยขาดความซื่อสัตย์ต่อแวดวงวิชาการ 7) การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา 8) การละเมิดกฎหรื อข้อปฏิบตั ิในการใช้งานระบบเครื อข่าย
9) การละเมิดสิ ทธิของผูใ้ ช้อื่น ๆ หากนิสิตไม่ปฏิบตั ิตามข้อกำาหนดและข้อบังคับของมหาวิทยาลัย (ดูคู่มือการใช้งานฯ ที่นิสิตได้รับ แจก) ก่อให้เกิดความเสี ยหายต่อบุคคลอื่นหรื อต่อสมบัติของทางมหาวิทยาลัยจะต้องรับโทษตามบทลงโทษ ต่อไปนี้ 1) โทษขั้นต้น ระงับสิ ทธิการใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ และระบบเครื อข่ายเป็ นเวลา 14 วัน 2) โทษขั้นกลาง ระงับสิ ทธิการใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ และระบบเครื อข่ายเป็ นเวลา 1 เดือน 3) โทษขั้นสูง ระงับสิ ทธิการใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ และระบบเครื อข่ายเป็ นเวลา 1 ภาคการศึกษา 4) โทษขั้นร้ายแรง ระงับสิ ทธิการใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ และระบบเครื อข่ายตลอดไป และหากการ ละเมิดฝ่ าฝื น ก่อให้เกิดความเสี ยหายต่อผูอ้ ื่นหรื อต่อทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยอย่าง ร้ายแรง จะต้องรับโทษ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยหรื อรับโทษตามกฎหมายโดยลำาดับต่อไป ซึ่ งมีผลให้นิสิตพ้นสภาพการเป็ นนิสิต หมายเหตุ โทษขั้นที่ 1-3 นั้น หน่วยงานผูร้ ับผิดชอบเครื อข่ายส่ วนกลางจะเป็ นผูว้ นิ ิจฉัยความผิดใน เบื้องต้นตามลำาดับความเหมาะสม ส่วนโทษขั้นที่ 4 เป็ นบทลงโทษที่คณะกรรมการบริ หารระบบเครื อข่าย นำาเสนอมหาวิทยาลัยพิจารณาความผิดนั้น ๆ ต่อไป http://www.edu.nu.ac.th/supanees/lesson/366515/unit2_p01.html
ความหมายของการสื่ อสาร ความรู้พ้ืนฐานเรื่ องการสื่ อสาร การสื่ อสารเป็ นปัจจัยสำาคัญในการดำารงชีวิต มนุษย์จาำ เป็ นต้องติดต่อสื่ อสารกันอยูต่ ลอดเวลา การสื่ อสารจึง เป็ นปั จจัยสำาคัญอย่างหนึ่งนอกเหนือจากปัจจัยพื้นฐานในการดำารงชีวิตของมนุษย์ การสื่ อสารมีบทบาท สำาคัญต่อการดำาเนินชีวิตของมนุษย์มาก การสื่ อสารมีความสำาคัญอย่างยิ ่งในปัจจุบนั ซึ่ งได้ชื่อว่าเป็ นยุค โลกาภิวตั น์ เป็ นยุคของข้อมูลข่าวสาร การสื่ อสารมีประโยชน์ท้ งั ในแง่บุคคลและสังคม การสื่ อสารทำาให้ คนมีความรู ้และโลกทัศน์ที่กว้างขวางขึ้น การสื่ อสารเป็ นกระบวนการที่ทาำ ให้สังคม เจริ ญก้าวหน้าอย่างไม่ หยุดยั้ง ทำาให้มนุษย์สามารถสื บทอดพัฒนา เรี ยนรู ้ และรับรู ้วฒั นธรรมของตนเองและสังคมได้ การสื่ อสาร เป็ นปั จจัยสำาคัญในการพัฒนาประเทศ สร้างสรรค์ความเจริ ญก้าวหน้าแก่ชุมชน และสังคมในทุกด้าน ความหมายของการสื่ อสาร คำาว่า การสื่ อสาร (communications) มีที่มาจากรากศัพท์ภาษาลาตินว่า communis หมายถึง ความเหมือนกันหรื อร่ วมกัน การสื่ อสาร (communication) หมายถึง กระบวนการถ่ายทอดข่าวสาร ข้อมูล ความรู ้ ประสบการณ์ ความรู ้สึก ความคิดเห็น ความต้องการจากผูส้ ่ ง สารโดยผ่านสื่ อต่าง ๆ ที่อาจเป็ นการพูด การเขียน สัญลักษณ์อื่นใด การแสดงหรื อการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ไป ยังผูร้ ับสาร ซึ่งอาจจะใช้กระบวนการสื่ อสารที่แตกต่างกันไปตามความเหมาะสม หรื อความจำาเป็ นของ ตนเองและคู่สื่อสาร โดยมีวตั ถุประสงค์ให้เกิดการรับรู ้ร่วมกันและมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อกัน บริ บท ทางการสื่ อสารที่เหมาะสมเป็ น ปัจจัยสำาคัญที่จะช่วยให้การสื่ อสารสัมฤทธิ์ ผล บริ บททางการสื่ อสาร
ความสำาคัญของการสื่ อสาร การสื่ อสารมีความสำาคัญดังนี้ 1. การสื่ อสารเป็ นปัจจัยสำาคัญในการดำารงชีวิตของมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัย ไม่มีใครที่จะดำารงชีวิตได้ โดย ปราศจากการสื่ อสาร ทุกสาขาอาชีพก็ตอ้ งใช้การสื่ อสารในการปฏิบตั ิงาน การทำาธุรกิจต่าง ๆ โดยเฉพาะ สังคมมนุษย์ที่มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาตลอดเวลา พัฒนาการทางสังคม จึงดำาเนินไปพร้อม ๆ กับ พัฒนาการทางการสื่ อสาร 2. การสื่ อสารก่อให้เกิดการประสานสัมพันธ์กนั ระหว่างบุคคลและสังคม ช่วยเสริ มสร้างความเข้าใจอัน ดีระหว่างคนในสังคม ช่วยสื บทอดวัฒนธรรมประเพณี สะท้อนให้เห็นภาพความเจริ ญรุ่ งเรื อง วิถีชีวิตของ ผูค้ น ช่วยธำารงสังคมให้อยูร่ ่ วมกันเป็ นปกติสุขและอยูร่ ่ วมกันอย่างสันติ 3. การสื่ อสารเป็ นปัจจัยสำาคัญในการพัฒนาความเจริ ญก้าวหน้าทั้งตัวบุคคลและสังคม การพัฒนาทาง สังคมในด้านคุณธรรม จริ ยธรรม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ฯลฯ รวมทั้งศาสตร์ ในการสื่ อสาร จำาเป็ นต้อง พัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง การสื่ อสารเป็ นเครื่ องมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์และพัฒนาความเจริ ญ ก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ ประเภทของสื่ อการศึกษา(การเรี ยนรู้) สื่ อการศึกษาแบ่งเป็ นประเภทหลักๆ ได้ 4 ลักษณะ ดังนี้ (1) ตามช่องทางการส่งและรับสาร (2) ตามโครงสร้างความคิด (3) ตามโครงสร้างของสื่ อ (4) ตามชนิดของสื่ อ ประเภทตามช่องทางการส่ งและรับสาร สื่ อการศึกษาที่แบ่งประเภทตามช่องทางการส่ งและรับสาร มี 3 ประเภท ได้แก่ สื่ อโสตทัศน์ ได้แก่ สื่ อกราฟฟิ ก วัสดุลายเส้น และ แผ่นป้ ายต่างๆ สื่ อสามมิติประเภทหุ่ นจำาลอง และสื่ อเสี ยง เช่น เทป เสี ยง เป็ นต้น สื่ อมวลชน ได้แก่ สื่ อสิ่ งพิมพ์ วิทยุกระจายเสี ยง และวิทยุโทรทัศน์ สื่ ออิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม ได้แก่ โทรศัพท์ โทรสาร วิทยุสื่อสาร โทรทัศน์ ปฏิสมั พันธ์ ระบบประชุมทางไกล เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ และ อินเตอร์ เนต เป็ นต้น ประเภทสื่ อการศึกษาตามโครงสร้างความคิด การแบ่งประเภทของสื่ อการศึกษาตามโครงสร้างความคิด มี 2 ลักษณะ คือ
1. แบ่งตามลักษณะของประสบการณ์ 2. แบ่งตามลักษณะการคิดของคน 1. การแบ่งประเภทสื่ อการศึกษาตามลักษณะประสบการณ์ เอ็ดการ์ เดล เป็ นคนแบ่งไว้มี 10 ประเภท (Dale, 1949) เริ่ มแรกทีเดียวเขาแบ่งออกเป็ น 11 ประเภท แต่ตอนหลังได้ปรับปรุ งโดยรวมภาพยนตร์กบั โทรทัศน์เป็ นประเภทเดียวกัน จึงเหลือเป็ น 10 ประเภท เรี ยกว่า “กรวยแห่งประสบการณ์” (Cone of Experiences) ตามลำาดับจากรู ปธรรมไปหา นามธรรม ดังต่อไปนี้ ประสบการณ์ตรงที่ผเู้ รี ยนเจตนารับเป็ นสื่ อของจริ ง ได้แก่ วัตถุ สถานการณ์ หรื อปรากฏการณ์จริ งที่ผเู ้ รี ยนสามารถรับรู ้ได้ดว้ ยประสาทสัมผัสทั้ง 5 เป็ นสื่ อที่มี ความจำาเป็ นต่อการเรี ยนการสอนวิทยาศาสตร์ ในขั้นนำาเข้าสู่บทเรี ยน เสนอปัญหา ขั้นการทดลอง และ รวบรวมข้อมูล เพื่อพิสูจน์สมมติฐานที่ต้ งั ขึ้นจากสถานการณ์การเรี ยนการสอน ประสบการณ์จากสถานการณ์จาำ ลองและหุ่นจำาลอง สื่ อประเภทสถานการณ์จาำ ลองหรื อหุ่นจำาลองนี้ สามารถเน้นประเด็นที่ตอ้ งการหรื อกำาจัดส่ วนเกินที่ไม่ ต้องการจากของจริ งได้ มีประโยชน์ต่อการเรี ยนการสอนวิทยาศาสตร์ ในกรณี ที่ของจริ งหายากมีราคาแพง มี อันตรายมาก ใหญ่โตเกินไป เล็กเกินไป สลับซับซ้อนเกินไป ฯลฯ ประสบการณ์นาฏการที่ผเู้ รี ยนได้รับรู้การแสดงด้วยตนเองหรื อการชมการแสดง เป็ นสถานการณ์จาำ ลองที่ทาำ ให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรากฏการณ์และกระบวนการบางอย่างได้ดี ประสบการณ์จากการทดลองสาธิต เป็ นประสบการณ์ที่ได้จากสื่ อ ซึ่งอาจจะเป็ นสถานการณ์จาำ ลองหรื อสถานการณ์จริ ง แต่เป็ นสื่ อที่มีจาำ นวน น้อย จึงสาธิ ตให้ดูเป็ นกลุ่ม เป็ นประสบการณ์ที่จะต้องรับรู ้พร้อม ๆ กัน เหมาะสำาหรับการทดลองสาธิ ตให้ผู ้ เรี ยนสังเกตและรวบรวมข้อมูลพร้อมกันหลายคน ประสบการณ์ทศั นศึกษา เป็ นประสบการณ์ที่ได้รับจากสื่ อการเรี ยนการสอนที่เป็ นวัตถุ สถานการณ์ หรื อปรากฏการณ์จริ ง แต่แทนที่ จะเป็ นการนำาสื่ อเข้ามาหาผูเ้ รี ยน ก็เป็ นการนำาผูเ้ รี ยนไปยังแหล่งของสื่ อ เหมาะสำาหรับการนำาเข้าสู่ปัญหา หรื อการสรุ ปบทเรี ยน เป็ นการยืนยันข้อสรุ ปที่ได้จากการเรี ยนในห้องเรี ยน ประสบการณ์ที่ได้จากนิทรรศการ สื่ อที่ให้ประสบการณ์ในลักษณะนี้ อาจจะเป็ นทั้งของจริ งและสิ่ งจำาลองต่างๆ แต่จดั เรี ยงไว้ในรู ปที่จะใช้ ข้อมูลหรื อเนื้อหาตามวัตถุประสงค์ของผูจ้ ดั เหมาะสำาหรับการสอนวิทยาศาสตร์ ข้ นั นำาเข้าสู่บทเรี ยนหรื อขั้น การสรุ ปบทเรี ยน ประสบการณ์จากภาพยนตร์หรื อโทรทัศน์ เป็ นประสบการณ์ที่ได้จากภาพและเสี ยงที่พยายามทำาให้เหมือนกับประสบการณ์ตรงโดยเทคนิคการถ่ายทำา เหมาะสำาหรับการเสนอเนื้ อหา เสนอข้อมูลหรื อการสรุ ปบทเรี ยน
ประสบการณ์จากภาพนิ่ง วิทยุและการบันทึกเสี ยง สื่ อประเภทนี้ ให้ประสบการณ์ที่เป็ นรายละเอียดในประเด็นที่ตอ้ งการเน้นได้ โดยเทคนิคการถ่ายภาพ การอัด ขยายและการบันทึกตัดต่อในกรณีที่เป็ นเทปเสี ยง ประสบการณ์จากสื่ อทัศนสัญลักษณ์ ได้แก่ ภาพเขียนภาพลายเส้น วัสดุกราฟฟิ กต่างๆ ที่สามารถเน้นโดยใช้รูปลักษณะและสี ทาำ ให้เกิดความ สนใจในประเด็นที่ตอ้ งการจะเน้น ประสบการณ์พจนสัญลักษณ์ ได้แก่ สัญลักษณ์ สูตร ภาษา ตำาราต่างๆ เป็ นสื่ อที่มีประสิ ทธิ ภาพในการนำาเสนอเนื้ อหา มโนมติ หลักการ ทฤษฎีหรื อกฎบางอย่างได้ดี 2. การแบ่งประเภทสื่ อการศึกษาตามลักษณะสื่ อในกระแสความคิดของคน(ผูเ้ รี ยน) การแบ่งประเภทของสื่ อการศึกษาตามลักษณะสื่ อในกระแสความคิดของผูเ้ รี ยนนี้ แบ่งตามทฤษฎีโครงสร้าง ของความคิด (Cognitive Structure) ของบรู เนอร์ (Bruner, 1966) ซึ่งอธิ บายไว้วา่ คนเรา จะเกิดความรู ้ความเข้าใจสิ่ งแวดล้อมได้โดยสิ่ งแวดล้อมที่เป็ นวัตถุ ปรากฏการณ์หรื อสถานการณ์ เร้าให้เกิด สื่ อหรื อสิ่ งแทนในการะแสความคิดด้านใดด้านหนึ่งหรื อทั้งสามด้าน ได้แก่ ด้านกระทำา ด้านภาพ หรื อด้าน สัญลักษณ์ ดังนั้น สื่ อในที่น้ ีจึงหมายถึงสื่ อที่เป็ นวัตถุหรื อสถานการณ์กบั สื่ อที่เป็ นลักษณะของความคิด ซึ่ง อาจเทียบกับสื่ อที่แบ่งประเภทตามแบบของ เอ็ดการ์ เดล ได้ดงั นี้ สื่ อประเภทที่ก่อให้เกิดการกระทำา การเคลื่อนที่หรื อเคลื่อนไหวกล้ามเนื้ อ ทำาให้เกิดความรู ้ความเข้าใจได้ ได้แก่ สื่ อของจริ ง สถานการณ์จาำ ลอง หุ่ นจำาลอง นาฏการ การทดลองสาธิต และการศึกษานอกสถานที่ สื่ อประเภทที่ก่อให้เกิดภาพนึก ได้แก่ สื่ อนิทรรศการ ภาพยนตร์ โทรทัศน์ ภาพนิ่ง วิทยุ และแผ่นเสี ยง สื่ อประเภทที่ก่อให้เกิดการคิดนึกเป็ นสัญลักษณ์ ได้แก่ สื่ อทัศนสัญลักษณ์และภาษา นอกจากนี้ บรู เนอร์เชื่อว่า การเรี ยนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผูเ้ รี ยนได้มีปฏิสมั พันธ์กบั สิ่ งแวดล้อมซึ่งนำาไปสู่การค้น พบและการแก้ปัญหา เรี ยกว่า การเรี ยนรู้โดยการค้นพบ (Discovery approach) ผูเ้ รี ยนจะประมวล ข้อมูลข่าวสารจากการมีปฏิสมั พันธ์กบั สิ่ งแวดล้อม และจะรับรู ้สิ่งที่ตนเองเลือก หรื อสิ่ งที่ใส่ ใจ การเรี ยนรู ้ แบบนี้จะช่วยให้เกิดการค้นพบเนื่องจากผูเ้ รี ยนมีความอยากรู ้อยากเห็น ซึ่งจะเป็ นแรงผลักดันที่ทาำ ให้สาำ รวจ สิ่ งแวดล้อม และทำาให้เกิดการเรี ยนรู้โดยการค้นพบ โดยมีแนวคิดที่เป็ นพื้นฐาน ดังนี้ 1. การเรี ยนรู้เป็ นกระบวนการที่ผเู้ รี ยนมีปฏิสัมพันธ์กบั สิ ่ งแวดล้อมด้วยตนเอง 2. ผูเ้ รี ยนแต่ละคนจะมีประสบการณ์และพื้นฐานความรู ้ที่แตกต่างกัน การเรี ยนรู ้จะเกิดจากการที่ผเู ้ รี ยน สร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งที่พบใหม่ กับความรู ้เดิมแล้วนำามาสร้างเป็ นความหมายใหม่
สรุ ปได้วา่ บรู เนอร์ กล่าวว่า คนทุกคนมีพฒั นาการทางความรู ้ความเข้าใจ หรื อการรู ้คิด โดยผ่านกระบวนการ ที่เรี ยกว่า Acting, Imagine และ Symbolizing ซึ่งอยูใ่ นขั้นพัฒนาการทางปั ญญาคือ Enactive, Iconic และ Symbolic representation ซึ่ งเป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอด ชีวิต มิใช่เกิดขึ้นช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิตเท่านั้น บรู เนอร์ เห็นด้วยกับ Piaget ที่วา่ มนุษย์เรามีโครงสร้าง ทางสติปัญญา(Cognitive structure) มาตั้งแต่เกิด ในวัยเด็กจะมีโครงสร้างทางสติปัญญาที่ไม่ซบั ซ้อน เมื่อมีปฏิสมั พันธ์กบั สิ่ งแวดล้อมจะทำาให้โครงสร้างทางสติปัญญาขยายและซับซ้อนเพิ่มขึ้น หน้าที่ของ ครู คือ การจัดสภาพสิ่ งแวดล้อมที่ช่วยเอื้อต่อการขยายโครงสร้างทางสติปัญญาของผูเ้ รี ยน ประเภทของสื่ อการศึกษาตามลักษณะโครงสร้างของสื่ อ ประเภทของสื่ อการศึกษาตามลักษณะโครงสร้างของสื่ อ แบ่งออกได้เป็ น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ กลุ่มเครื่ องมืออุปกรณ์(hardware) และ กลุ่มโปรแกรม (software) กลุ่มเครื่ องมือ-อุปกรณ์(hardware) ความหมายของฮาร์ดแวร์ตามพจนานุกรม หมายถึง เครื่ องมือ อุปกรณ์ที่เป็ นโลหะและวัตถุเนื้ อแข็ง อาวุธ ยุทโธปกรณ์ ตลอดทั้งชิ้นส่วนประกอบต่าง ๆ ของเครื่ องมือและอุปกรณ์เหล่านี้ ความหมายของฮาร์ ดแวร์ ใน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่ องกลไกและวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็ นตัวเครื่ องคอมพิวเตอร์ จะเห็น ได้วา่ ฮาร์ ดแวร์เป็ นผลิตผลจากการประยุกต์ทางด้านวิทยาศาสตร์ กายภาพทั้งหมด ซึ่ งประกอบด้วยวัสดุสิ้น เปลือง เครื่ องมือและอุปกรณ์ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ วัสดุ หมายถึง สิ่ งที่ใช้งานร่ วมกับเครื่ องมือหรื ออุปกรณ์ต่างๆ ที่นาำ มาดำาเนินกิจกรรมทางการศึกษา ซึ่งมีท้ัง วัสดุพ้ืนฐาน ( กระดาษ หมึก สี แผ่นใส เป็ นต้น) และวัสดุอิเล็กทรอนิกส์ ( CD-Rom DVD ฟี ล์ม เทปเสี ยง/ภาพ) เครื่ องมือ หมายถึง สิ่ งของที่ใช้สร้างงานประกอบในกิจกรรมทางการศึกษา ทั้งที่ใช้ร่วมกับวัสดุ หรื ออุปกรณ์ ถ้าเป็ นด้านเทคโนโลยีจะหมายถึง ชุดเชื่อมต่อเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตและคอมพิวเตอร์ , Flash memory, ไมโครโฟน, ลำาโพง, จอภาพสัมผัส (Touch screen) เป็ นต้น ถ้าเป็ นเครื่ องมือพื้นฐานจะหมายถึง ปากกา ดินสอ มีด คัตเตอร์ เป็ นต้น อุปกรณ์ ได้แก่ เครื่ องมือที่ใช้สนับสนุนการจัดกิจกรรมทางการศึกษา อาทิ เครื่ องคอมพิวเตอร์ แบบต่างๆ, เครื่ องพิมพ์, เครื่ อง scanner, กล้องถ่ายภาพยนตร์ หรื อวิดีโอ, กล้องถ่ายภาพ analog/digital, เครื่ องฉายภาพ video projector, visualizer, เครื่ องบันทึกเสี ยงทั้งแบบ analog/digital, เครื่ องฉายภาพข้ามศีรษะ เครื่ องฉายภาพทึบแสง เครื่ องฉายสไลด์ เครื่ องฉายภาพยนตร์ ....... เป็ นต้น (ซึ่ง ปั จจุบนั อุปกรณ์ในหลายรายการ ของกลุ่มนี้ ได้มาถึงจุดสุ ดท้าย โดยได้มีพฒั นาการเปลี่ยนรู ปแบบไป อาทิ เครื่ องฉายสไลด์ ถูกแทนด้วยระบบคอมพิวเตอร์ผนวกรวมกับเครื่ องฉายภาพ video projector หรื อ เครื่ องฉายภาพทึบแสงถูกแทนที่ดว้ ย เทคโนโลยีของ visualizer เป็ นต้น) แต่ในความหมายหลักของคำาว่า hardware ส่ วนใหญ่จะหมายถึง ประเภทของอุปกรณ์ (3)
กลุ่มโปรแกรม (software) ซอฟต์แวร์ เป็ นคำาศัพท์ที่ใช้ในกลุ่มเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ จากการที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ น้ันประกอบจาก ชิ้นส่ วน อุปกรณ์ และวงจรอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ การที่จะสั่งให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ทาำ งานหรื อประมวลผลอ ย่างใดอย่างหนึ่งตามความต้องการนั้น จะต้องมีคาำ สัง่ หรื อภาษาสำาเร็ จรู ปของเครื่ องกำาหนด ระบุหน้าที่จึงจะ สั่งเครื่ องคอมพิเตอร์ให้ทาำ งานหรื อประมวลผลตามต้องการได้ วิธีการที่สร้างชุดคำาสั ่งหรื อโปรแกรมภาษา คอมพิวเตอร์ ในรู ปแบบต่างๆ และผลผลิตที่ได้เป็ นโปรแกรมต่างๆ นี้ เรี ยกว่าซอฟต์แวร์ นอกจากนี้ นักการ ศึกษา ยังได้ให้ความหมายของคำาว่าซอฟต์แวร์ หมายถึง ลำาดับขั้นตอน ระบบกระบวนการ โปรแกรมและวิธี การเก็บรวบรวม จัดแจง และการเสนอสารสนเทศทางการศึกษา ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็ น วัสดุสาำ เร็ จรู ป กิจกรรมและเกม และวิธีการ ประเภทของสื่ อการเรี ยนรู้ตามชนิดของสื่ อ สื่ อการศึกษาที่แบ่งประเภทตามช่องทางการส่ งและรับสาร มี 4 ประเภท ได้แก่ สื่ อสิ่ งพิมพ์ หมายถึงสื่ อการเรี ยนรู้ที่จดั ทำาขึ้นเพื่อสนองการเรี ยนรู ้ตามหลักสูตร หรื อสื่ อสิ่ งพิมพ์ทวั่ ไป ได้แก่ หนังสื อ- แบบเรี ยน คู่มือครู ชุดวิชา หนังสื อประกอบการสอน หนังสื ออ้างอิง หนังสื ออ่านเพิ ่มเติม แผนการ สอน ใบงาน แบบฝึ กหัดกิจกรรม หนังสื อพิมพ์ วารสาร แผ่นพับ โปสเตอร์ เป็ นต้น สื่ อบุคคล หมายถึง บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอดความรู ้ และทักษะต่างๆ ให้กบั ผูเ้ รี ยน เช่น ครู ผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะด้าน(แพทย์ พยาบาล นักกฎหมาย) ภูมิปัญญาท้องถิ่นหรื อปราชญ์ชาวบ้านที่มีความรู ้ ความสามารถ ประสบการณ์เฉพาะเรื่ องหรื อผูท้ ี่ประสบความสำาเร็ จในการประกอบอาชีพ เป็ นต้น สื่ ออิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม หมายถึงสื่ อที่ผลิตหรื อพัฒนาขึ้ นเพื่อใช้ควบคู่กบั เครื่ องมืออุปกรณ์ทาง เทคโนโลยี เช่น ภาพยนตร์ โทรทัศน์ วิทยุ แผ่นรายการเสี ยงหรื อวิดีทศั น์รูปแบบ VCD/DVD แถบบันทึกเสี ยงหรื อวิดีทศั น์ สื่ อคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ระบบการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมหรื อผ่านเครื อ ข่ายคอมพิวเตอร์ e-learning และ อินเทอรื เน็ต นอกจากนี้ ยงั รวมไปถึงโทรศัพท์ที่กาำ ลังพัฒนาไปสู่การ ศึกษาผ่านโทรศัพท์ที่เรี ยกว่า M-learning เป็ นต้น สื่ อกิจกรรม หมายถึงสื่ อประเภทวิธีการที่ใช้ในการฝึ กทักษะ ฝึ กปฎิบตั ิ ซึ่ งต้องใช้กระบวนการคิด การปฎิบตั ิ และการประยุกต์ความรู้ของผูเ้ รี ยน เช่น สถานการณ์จาำ ลอง บทบาทสมมุติ ทัศนศึกษา เกม การทำาโครงงาน การจัดนิทรรศการ การสาธิต เป็ นต้น 8.1 ความหมายของสื่ อเพื่อ(การศึกษา) การเรี ยนรู ้ 14:16 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศฯ 1 COMMENT ความหมายของสื่ อ เมื่อพิจารณาคำาว่า "สื่ อ" ในภาษาไทยกับคำาในภาษาอังกฤษ พบว่ามีความหมายตรงกับคำาว่า "media" (ในกรณี ที่มีความหมายเป็ นเอกพจน์จะใช้คาำ ว่า "medium") "สื่ อ" (Media) เป็ นคำาที่มาจากภาษา
ละตินว่า "medium" แปลว่า "ระหว่าง" หมายถึง สิ่ งใดก็ตามที่บรรจุ ข้อมูลเพื่อให้ผสู ้ ่ งและผูร้ ับ สามารถสื่ อสารกันได้ตรงตามวัตถุประสงค์ คำาว่า "สื่ อ" ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ ความหมายของคำานี้ ไว้ดงั นี้ "สื่ อ (กริ ยา) หมายถึง ติดต่อให้ถึงกัน เช่น สื่ อความหมาย, ชักนำาให้รู้จกั กัน สื่ อ (นาม) หมายถึง ผูห้ รื อสิ่ งที่ ติดต่อให้ถึงกันหรื อชักนำาให้รู้จกั กัน เช่น เขาใช้จดหมายเป็ นสื่ อติดต่อกัน , เรี ยกผูท้ ี่ทาำ หน้าที่ชกั นำาใหชาย หญิงได้แต่งงานกันว่า พ่อสื่ อ หรื อ แม่สื่อ; (ศิลปะ) วัสดุต่างๆ ที่นาำ มาสร้างสรรค์งานศิลปกรรม ให้มีความ หมายตามแนวคิด ซึ่งศิลปิ นประสงค์แสดงออกเช่นนั้น เช่น สื่ อผสม" นักเทคโนโลยีการศึกษาได้มีการนิยามความหมายของคำาว่า "สื่ อ" ไว้ดงั ต่อไปนี้ Heinich และคณะ (1996) Heinich เป็ นศาสตราจารย์ภาควิชาเทคโนโลยีระบบการเรี ยนการ สอน ของมหาวิทยาลัยอินเดียน่า (Indiana University) ให้คาำ จำากัดความคำาว่า "media" ไว้ดงั นี้ "Media is a channel of communication." ซึ่ งสรุ ปความเป็ นภาษาไทยได้ดงั นี้ "สื่ อ คือ ช่องทางในการติดต่อสื่ อสาร" Heinich และคณะยังได้ขยายความเพิ่มเติมอีกว่า "media มีรากศัพท์ มาจากภาษาลาติน มีความหมายว่า ระหว่าง (between) หมายถึง อะไรก็ตามซึ่งทำาการบรรทุกหรื อนำาพา ข้อมูลหรื อสารสนเทศ สื่ อเป็ นสิ่ งที่อยูร่ ะหว่างแหล่งกำาเนิดสารกับผูร้ ับสาร " A. J. Romiszowski (1992) ศาสตราจารย์ทางด้านการออกแบบ การพัฒนา และการประเมิน ผลสื่ อการเรี ยนการสอน ของมหาวิทยาลัยซีราคิวส์ (Syracuse University) ให้คาำ จำากัดความคำาว่า "media" ไว้ดงั นี้ "the carriers of messages, from some transmitting source (which may be a human being or an inanimate object) to the receiver of the message (which in our case is the learner)" ซึ่งสรุ ปความเป็ น ภาษาไทยได้ดงั นี้ "ตัวนำาสารจากแหล่งกำาเนิดของการสื่ อสาร (ซึ่งอาจจะเป็ นมนุษย์ หรื อวัตถุที่ไม่มีชีวิต ) ไปยังผูร้ ับสาร (ซึ่งในกรณีของการเรี ยนการสอนก็คือ ผูเ้ รี ยน)" ดังนั้นจึงสรุ ปได้วา่ สื่ อ หมายถึง สิ่ งใดๆ ก็ตามที่เป็ นตัวกลางระหว่างแหล่งกำาเนิดของสารกับผูร้ ับสาร เป็ น สิ่ งที่นาำ พาสารจากแหล่งกำาเนินไปยังผูร้ ับสาร เพื่อให้เกิดผลใดๆ ตามวัตถุประสงค์ของการสื่ อสาร ความหมายของสื่ อการสอนและสื่ อการเรี ยนรู ้ ความหมายของสื่ อการสอน ได้มีนกั วิชาการ และนักเทคโนโลยีการศึกษา ทั้งในประเทศและต่างประเทศได้ ให้ความหมายของ “ สื่ อการสอน” ไว้หลายท่าน พอสรุ ปได้ ดังนี้ เชอร์ ส (Shores. 1960 : 1) กล่าวว่า สื่ อการสอนเป็ นเครื่ องมือช่วยสื่ อความหมายใด ๆ ก็ตามที่จดั โดยครู และนักเรี ยน เพื่อเสริ มการเรี ยนรู้ เครื่ องมือการสอนทุกชนิดเป็ นสื่ อการสอน เช่น หนังสื อในห้อง สมุด โสตทัศนวัสดุต่าง ๆ ทรัพยากรจากชุมชน เป็ นต้น ฮาส และแพคเกอร์ (Hass and PacKer. 1964 : 11) กล่าวว่า สื่ อการสอน คือ เครื่ องมือที่ช่วย ในการถ่ายทอดสิ่ งต่าง ๆ ที่เป็ นจริ งได้แก่ ทักษะ ทัศนะคติ ความรู ้ ความเข้าใจ และความซาบซึ้ งไปยังผูเ้ รี ยน หรื อเป็ นเครื่ องมือประกอบการสอน ที่เราสามารถได้ยนิ และมองเห็นได้เท่า ๆ กัน
บราวน์ และคนอื่น ๆ (Brown and other. 1964 : 584) กล่าวว่า สื่ อการสอนหมายถึง จำาพวก อุปกรณ์ท้ งั หลายที่สามารถเสนอความรู้ให้แก่ผเู ้ รี ยน จนเกิดผลการเรี ยนที่ดีท้ งั นี้รวมถึงกิจกรรมต่าง ๆ ไม่ เฉพาะที่เป็ นวัสดุหรื อเครื่ องมือเท่านั้น เช่น การศึกษานอกสถานที่ การสาธิ ต การทดลอง ตลอดจนการ สัมภาษณ์ เป็ นต้น เกอร์ ลชั และอีลี (ไชยยศ เรื องสุวรรณ. 2526 :141 : อ้างอิงมาจาก Gerlach and Ely.) ได้ให้ คำาจำากัดความของสื่ อการสอนไว้วา่ สื่ อการสอน คือ บุคคล วัสดุหรื อเหตุการณ์ต่าง ๆ ซึ่ งทำาให้นกั เรี ยนได้รับ ความรู ้ ทักษะ ทัศนคติ ครู หนังสื อ และสิ่ งแวดล้อมของโรงเรี ยนจัดเป็ นสื่ อการสอนทั้งสิ้ น ไฮนิคส์ โมเลนดาและรัสเซล (Heinich, Molenda and Russel. 1985 : 5) ให้ทศั นะเกี่ยว กับสื่ อการสอนไว้วา่ สื่ อการสอน หมายถึง สื่ อชนิดใดก็ตามไม่วา่ จะเป็ นสไลด์โทรทัศน์วิทยุเทปบันทึกเสี ยง ภาพถ่ายวัสดุฉาย และวัตถุสิ่งตีพิมพ์ซ่ ึงเป็ นพาหนะในการนำาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลไปยังผูร้ ับ เมื่อนำามาใช้ กับการเรี ยนการสอน หรื อส่ งเนื้ อหาความรู้ไปยังผูเ้ รี ยนในกระบวนการเรี ยนการสอน เรี ยกว่า สื่ อการสอน เปรื่ อง กุมุท (2519 : 1) กล่าวว่า สื่ อการสอน หมายถึง สิ่ งต่าง ๆ ที่เป็ นเครื่ องมือ หรื อช่องทางสำาหรับ ทำาให้การสอนของครู ถึงผูเ้ รี ยน และทำาให้ผเู้ รี ยนเรี ยนรู ้ตามวัตถุประสงค์หรื อจุดมุ่งหมายที่วางไว้อย่างดี วาสนา ชาวหา(2522:59)กล่าวว่าสื่ อการสอนหมายถึงสิ่ งใดๆก็ตามที่เป็ นตัวกลางนำาความรู ้ไปสู่ผเู ้ รี ยน และทำาให้การเรี ยนการสอนเป็ นไป ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ไชยยศ เรื องสุวรรณ (2526 : 4) กล่าวว่า สื่ อการสอน หมายถึง สิ่ งที่ช่วยให้การเรี ยนรู ้ ซึ่งครู และ นักเรี ยนเป็ นผูใ้ ช้เพื่อให้การเรี ยนการสอนมีประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้น ชม ภูมิภาค (2526 : 5) กล่าวว่า สื่ อการสอนนั้นเป็ นส่ วนหนึ่งของเทคโนโลยีการสอน เป็ นพาหนะที่จะ นำาสารหรื อความรู้ไปยังผูเ้ รี ยน เพื่อให้ผเู้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2529 : 112) ให้ความหมายของสื่ อการสอนว่า คือวัสดุ (สิ้ นเปลือง) อุปกรณ์ (เครื่ องมือที่ใช้ไม่ผพุ งั ง่าย) วิธีการ (กิจกรรม เกม การทดลอง ฯลฯ) ที่ใช้สื่อกลางให้ผสู ้ อนสามารถส่ ง หรื อถ่ายทอดความรู้ เจตคติ (อารมณ์ ความรู ้สึก ความสนใจ ทัศนคติ และค่านิยม) และทักษะไปยังผูเ้ รี ยน ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ พิมพ์พรรณ เทพสุมาธานนท์ (2531 : 29) กล่าวว่าสื่ อการสอนหมายถึงสิ่ งต่างๆที่ใช้เป็ นเครื่ องมือหรื อ ช่องทางสำาหรับให้การสอนของครู กบั ผูเ้ รี ยน และทำาให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ได้ตามวัตถุประสงค์ หรื อจุดมุ่งหมายที่ ผูส้ อนวางไว้เป็ นอย่างดี สรุ ปได้วา่ สื่ อการสอน หมายถึงวัสดุ เครื่ องมือและเทคนิควิธีการที่ผสู ้ อนนำามาใช้ประกอบการเรี ยนการ สอน เพื่อให้ผเู้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู้ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ "สื่ อการเรี ยนการสอน" (Instruction Media) หมายถึง สื่ อชนิดใดก็ตามที่บรรจุเนื้ อหา หรื อสาระ การเรี ยนรู ้ซ่ ึงผูส้ อนและผูเ้ รี ยนใช้เป็ นเครื่ องมือสำาหรับการเรี ยนรู ้เนื้ อหา หรื อ สาระนั้น ๆ http://teacher80std.blogspot.com/2012/05/81.html
การสื่ อสารและการเรี ยนรู้
วิธีการการสื่ อสาร แบ่งออกได้ 3 วิธี คือ 1.1 การสื่ อสารด้วยวาจา หรื อ "วจภาษา" (Oral Communication) เช่น การพูด การ ร้องเพลง เป็ นต้น 1.2 การสื่ อสารที่มิใช่วาจา หรื อ "อวจนภาษา" (Nonverbal Communication) และ การสื่ อสารด้วยภาษาเขียน (Written Communication) เช่น การสื่ อสารด้วยท่าทาง ภาษามือและตัวหนังสื อ เป็ นต้น โปสเตอร์ สไลด์ เป็ นต้น (Eyre 1979:31) หรื อโดยการใช้สญ ั ลักษณ์และเครื่ องหมายต่าง ๆ เช่น ลูกศรชี้ทางเดิน เป็ นต้น 2. รู ปแบบของการสื่ อสาร แบ่งได้เป็ น 2 รู ปแบบ คือ 2.1 การสื่ อสารทางเดียว (One - Way Communication) เป็ นการส่ งข่าวสารหรื อ การสื่ อความหมายไปยังผูร้ ับแต่เพียงฝ่ ายเดียว โดยที่ผรู ้ ับไม่สามารถมีการตอบสนองในทันที (immediate response) ให้ผสู ้ ่ งทราบได้ แต่อาจจะมีปฏิกิริยาสนองกลับ (feedback) ไปยังผูส้ ่ งภายหลังได้ การสื่ อสารในรู ปแบบนี้ จึงเป็ นการที่ผรู ้ ับไม่สามารถมีปฏิสมั พันธ์ต่อกันได้ ทันที จึงมักเป็ นการสื่ อสารโดยอาศัยสื่ อมวลชน เช่น การฟังวิทยุ หรื อการชมโทรทัศน์ เหล่านี้ เป็ น 2.2 การสื่ อสารสองทาง (Two-Way Communication) เป็ นการสื่ อสารหรื อการสื่ อ ความหมายที่ผรู้ ับมีโอกาสตอบสนองมายังผูส้ ่ งได้ในทันที โดยที่ผสู ้ ่ งและผูร้ ับอาจจะอยูต่ ่อหน้ากัน หรื ออาจอยูค่ นละสถานที่กไ็ ด้ แต่ท้ งั สองฝ่ ายจะสามารถมีการเจรจาหรื อการโต้ตอบกันไปมา โดยที่ ต่างฝ่ ายต่างผลัดกันทำาหน้าที่เป็ นทั้งผูส้ ่ งและผูร้ ับในเวลาเดียวกัน เช่น การพูดโทรศัพท์ การประชุม เป็ น 3 ประเภทของการสื่ อสาร แบ่งได้เป็ น 4 ประเภท ดังนี้ 3.1 การสื่ อสารในตนเอง (Intapersonal or Self-Communication) เป็ นการ สื่ อสารภายในตัวเอง หมายถึง บุคคลผูน้ ้ นั เป็ นทั้งผูส้ ่ งและผูร้ ับในขณะเดียวกัน เช่น การเขียนและ อ่านหนังสื อ เป็ นต้น 3.2 การสื่ อสารระหว่างบุคคล (Interpersonal Communication) เป็ นการสื่ อสาร ระหว่างคน 2 คน เช่น การสนทนา หรื อการโต้ตอบจดหมายระหว่างกัน เป็ นต้น 3.3 การสื่ อสารแบบกลุ่มชน (Group Communication) เป็ นการสื่ อสารระหว่างบุคคล กับกลุ่มชนซึ่งประกอบด้วยคนจำานวนมาก เช่น การสอนในห้องเรี ยนระหว่างครู เพียงคนเดียวกับ นักเรี ยนทั้งห้อง หรื อระหว่างกลุ่มชนกับบุคคล เช่น กลุ่มชนมาร่ วมกันฟังคำาปราศรัยหาเสี ยงของผู ้ สมัครรับเลือกตั้ง เป็ นต้น
3.4 การสื่ อสารมวลชน (Mass Communication) เป็ นการสื่ อสารโดยการอาศัย สื่ อมวลชนประเภทวิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ และสื่ อสิ่ งพิมพ์ต่าง ๆ เช่น นิตรสาร หนังสื อพิมพ์ แผ่นพับ แผ่นโปสเตอร์ ฯลฯ เพื่อการติดต่อไปยังผูร้ ับสารจำานวนมากซึ่งเป็ นมวลชนให้ได้รับข้อมูล ข่าวสารเดียวกันในเวลาพร้อม ๆ หรื อ 1. ผูส้ ่ง ผูส้ ื่ อสาร หรื อต้นแหล่งของการส่ ง (Sender, Communicatior or Source) เป็ นแหลหรื อผูท้ ี่นาำ ข่าวสารเรื่ องราว แนวความคิด ความรู ้ ตลอดจนเหตุการณ์ต่าง ๆ เพื่อส่ งไปยัง ผูร้ ับซึ่งอาจเป็ นบุคคลหรื อกลุ่มชนก็ได้ ผูส้ ่ งนี้ จะเป็ นบุคคลเพียงคนเดียว กลุ่มบุคคลหรื อสถาบัน โดยอยูใ่ นลักษณะต่าง ๆ ได้หลายอย่าง 2. เนื้อหาเรื่ องราว (Message) ได้แก่ เนื้อหาของสารหรื อเรื่ องราวที่ส่งออกมา เช่น ความรู ้ ความคิด ข่าวสาร บทเพลง ข้อเขียน ภาพ ฯลฯ เพื่อให้ผรู ้ ับรับข้อมูลเหล่านี้ 3. สื่ อหรื อช่องทางในการนำาสาร (Media or Channel) หมายถึง ตัวกลางที่ช่วยถ่ายทอด แนวความคิด เหตุการณ์ เรื่ อราวต่าง ๆ ที่ผสู ้ ่ งต้องการให้ไปถึงผูร้ ับ 4. ผูร้ ับหรื อกลุ่มเป้ าหมาย (Receiver or Target Audience) ได้แก่ ผูร้ ับเนื้ อหาเรื่ อง ราวจากแหล่งหรื อที่ผสู้ ่งส่งมา ผูร้ ับนี้ อาจเป็ นบุคคล กลุ่มชน หรื อสถาบันก็ได้ 5. ผล (Effect) หมายถึง สิ่ งที่เกิดขึ้นจากการที่ผสู ้ ่ งส่ งเรื่ องราวไปยังผูร้ ับ ผลที่เกิดขึ้ นคือ การที่ ผูร้ ับอาจมีความเข้าใจหรื อไม่รู้เรื่ อง ยอมรับหรื อปฏิเสธ พอใจหรื อโกรธ ฯลฯ สิ ่ งเหล่านี้เป็ นผลของ การสื่ อสาร และจะเป็ นผลสื บเนื่องต่อไปว่าการสื่ อสารนั้นจะสามารถบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายหรื อ ไม่ ทั้งนี้ยอ่ มขึ้นอยูก่ บั ทัศนคติของผูร้ ับ สื่ อที่ใช้ และสถานการณ์ในการสื่ อสารเป็ นสำาคัญด้วย 6. ปฏิกริ ยาสนองกลับ (Feedback) เป็ นสิ่ งที่เกี่ยวเนื่องจากผลซึ่ งผูร้ ับส่ งกลับมายังผูส้ ่ งโดยผูร้ ับ อาจแสดงอาการให้เห็น เช่น ง่วงนอน ปรบมือ ยิม้ พยักหน้า การพูดโต้ตอบ หรื อการแสดงความคิด เห็น เพื่อเป็ นข้อมูลที่ทาำ ให้ผสู้ ่งทราบว่า ผูร้ ับมีความพอใจหรื อมีความเข้าใจในความหมายที่ส่งไป หรื อไม่ปฏิกริ ยาสนองกลับนี้ คือข้อมูลย้อนกลับอันเกิดจากการตอบสนองของผูร้ ับที่ส่งกลับไปยัง องค์ประกอบของการสื่ อสารในการเรี ยนการสอน 1. ผูส้ ่ งสารในการเรี ยนการสอน คือ ผูส้ อน ครู วิทยากร หรื อผูบ้ รรยาย 2. เนื้อหาความรู ้ ที่ส่งให้แก่ผเู ้ รี ยน ได้แก่ เนื้อหาของวิชาตามหลักสูตรที่ กำาหนดไว้โดยจะแบ่งไว้เป็ นบทเรี ยน มีการเรี ยงลำาดับความยากง่ายเพื่อความสะดวกในการนำามา สอน 3. สื่ อหรื อช่องทางที่ใช้ส่งเนื้ อหาความรู ้ให้แก่ผเู ้ รี ยน 4. ผูร้ ับสารในการเรี ยนการสอน ได้แก่ ผูเ้ รี ยน ซึ่งมีระดับอายุ สติปัญญา และความรู ้พื้นฐานที่แตกต่างกันในแต่ละระดับชั้น จึงทำาให้มีความ สามารถในการถอดรหัสแตกต่างกันไปด้วย 5. ผลที่เกิดขึ้นในการเรี ยนการสอน หมายถึง ผลของ การเรี ยนรู้เพื่อแสดงว่าผูเ้ รี ยนสามารถเข้าใจสารหรื อความรู ้ที่รับมาหรื อไม่ 6. ปฏิกริ ยาสนองกลับ ของผูเ้ รี ยน หมายถึง การที่ผเู้ รี ยนตอบคำาถามได้หรื ออาจจะถามคำาถามกลับไปยังผูส้ อน หรื อการที่ผู ้ เรี ยนแสดงอาการง่วงนอน ยิม้ หรื อแสดงกริ ยาใด ๆ ส่ งกลับ
1. การเรี ยนรู้ในรู ปแบบการสื่ อสารทางเดียว การให้สิ่งเร้าแก่ผเู ้ รี ยนในรู ปแบบการสื่ อสารทางเดียว หรื อในการสื่ อสารระบบวงเปิ ด (Open-Loop System) นี้ สามารถให้ได้โดยใช้การฉาย ภาพยนตร์ วีดิทศั น์ การใช้โทรทัศน์วงจรปิ ดในการสอนแก่ผเู ้ รี ยนจำานวนมากในห้องเรี ยนขนาด ใหญ่ หรื อการสอนโดยใช้วิทยุและโทรทัศน์การศึกษาแก่ผเู ้ รี ยนที่เรี ยนอยูท่ ี่บา้ น การแปลความ หมายของผูเ้ รี ยนต่อสิ่ งเร้าก่อนจะมีการตอบสนองที่เหมาะสมนั้นนับว่าเป็ นสิ่ งสำาคัญยิง่ เพราะถ้า ขอบข่ายประสบการณ์ของผูเ้ รี ยนมีนอ้ ยหรื อแตกต่างไปจากผูส้ อนมากจะทำาให้การเรี ยนนั้นไม่ ประสบผลสำาเร็ จเท่าที่ควร รู ปแบบของสิ่ งเร้า การแปลความหมาย และการตอบสนอง ในการสื่ อสารทางเดียว โดยไม่มีปฏิกริ ยาสนองกลับส่ งไปยังผูส้ อนหรื อสิ ่ งเร้า ดังนั้น การเรี ยนการ สอนโดยใช้ผสู้ อนหรื อใช้สื่อการสอนในรู ปแบบการสื่ อสารทางเดียวหรื อการสื่ อสารในระบบวง เปิ ดนี้ จึงควรจะมีการอธิบายความหมายของเนื้ อหาบทเรี ยนให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจก่อนการเรี ยนหรื ออาจ จะมีการอภิปรายภายหลังจากการเรี ยนหรื อดูเรื่ องราวนั้นแล้วก็ได้ เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีความเข้าใจและ แปลความหมายในสิ่ งเร้านั้นอย่างถูกต้องตรงกันจะได้มีการตอบสนองและเกิดการเรี ยนรู ้ได้ใน ทำานองเดียว 2. การเรี ยนรู้ในรู ปแบบการสื่ อสารสองทาง การให้สิ่งเร้าแก่ผเู ้ รี ยนในรู ปแบบการสื่ อสารสองทงหรื อการ สื่ อสารระบบวงปิ ด (Closed Loop System) นี้ สามารถให้ได้โดยการใช้อุปกรณ์ประเภทเครื่ อง ช่วยสอน (Teaching Machine) หรื อการอภิปรายกันในระหว่างผูส้ อนกับผูเ้ รี ยน ทั้งนี้เพราะใน สถานการณ์ของการสื่ อสารแบบนี้ เนื้อหาข้อมูลต่างจะผ่านอยูแ่ ต่เฉพาะในระหว่างกลุ่มบุคคลที่อยูใ่ นที่น้ นั โดยถ้าเป็ นการเรี ยนโดยการใช้บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนหรื อการใช้เครื่ องช่วยสอน เนื้ อหาความรู ้จะถูก ส่ งจากเครื่ องไปยังผูเ้ รี ยนเพื่อให้ผเู้ รี ยนทำาการตอบสนองโดยส่ งคำาตอบหรื อข้อมูลกลับไปยังเครื่ องอีกครั้ ง หนึ่ง หรื อถ้าเป็ นการอภิปรายในห้องเรี ยนผูส้ อนและผูเ้ รี ยนจะมีการโต้ตอบเนื้ อหาความรู ้กนั เป็ นการมี ปฏิสมั พันธ์ระหว่างกันเช่นเดียวกันการใช้อุปกรณ์การสอนดังกล่าวมาแล้วการใช้การสื่ อสารรู ปแบบนี้ ใน การเรี ยนการสอนมีขอ้ ดีที่สาำ คัญหลายประการโดยเมื่อผูร้ ับมีการตอบสนองแล้ว จะเปลี่ยนบทบาทเป็ นผูส้ ่ ง และมีปฏิกริ ยาสนองกลับส่งไปยังผูส้ ่ งเดิมซึ่งจะกลายเป็ นผูร้ ับ http://thanapat131313.blogspot.com/2009/07/blog-post.html
ความหมาย สื่อนับเป็นสิ่งที่มีบทบาทสำาคัญอย่างมากในการสอนตั้งแต่ใน อดีตจนถึงปัจจุบันเนื่องจากเป็นตัวกลางที่ช่วยให้การสื่อสารระหว่างผู้ สอนและผู้เรียนดำาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจ
ความหมายของเนื้อหาบทเรียนให้ตรงกับผู้สอนต้องการ ไม่ว่าสื่อนั้นจะ อยู่ในรูปแบบใดก็ตามล้วนแต่เป็นทรัพยากรที่สามารถอำานวยความ สะดวกในการเรียนรู้ได้ทั้งสิ้น กิดานันท์ มลิทอง (2549: 100) ได้ให้ความหมายคำาว่า สือ ่ (medium,pl.media) เป็นคำามาจากภาษาลาตินว่า “ระหว่าง” (betaween) สิ่งใดข้อตามที่บรรจุข้อมูลสารสนเทศหรือเป็นตัวกลางข้อมูลส่งผ่านจาก ผู้ส่งหรือแหล่งส่งไปยังผู้รับเพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับสามารถสื่อสารกันได้ ตรงตามวัตถุประสงค์ ในการเล่าเรียน เมื่อผู้สอนนำาสื่อมาใช้ประกอบการสอนเรียก ว่า “สื่อสอนการสอน” และเมื่อนำามาให้ผู้เรียนใช้เรียกว่า “สือ ่ การเรียน” โดยเรียกรวมกันว่า “สื่อการเรียนการสอน” หรืออาจจะเรียกสั้นๆ ว่า “สื่อการสอน” หมายถึงสิ่งใดก็ตามไม่ว่าจะเป็นเทปบันทึกเสียง สไลด์ วิทยุ โทรทัศน์ วีดิทศ ั น์ แผนภูมิ รูปภาพ ฯลฯ ซึ่งเป็นวัสดุบรรจุ เนื้อหาเกี่ยวกับการเรียนการสอน หรือเป็นอุปกรณ์เพื่อถ่ายทอดเนื้อหา สิ่งเหล่านี้เป็นวัสดุอุปกรณ์ทางกายภาพที่นำามาใช้เทคโนโลยีการศึกษา เป็นสิ่งที่ใช้เป็นเครื่องมือหรือช่องทางทำาให้การสอนส่งไปถึงผู้เรียน สือ ่ การสอนถือว่ามีบทบาทมากในการเรียนการสอนตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน เนื่องจากเป็นตัวกลางที่ช่วยให้การสื่อระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ดำาเนินการไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำาให้ผู้เรียนมีความหมายของ เนื้อหาบทเรียนได้ตรงกับที่ผู้สอนต้องการเรียนรู้ได้ทั้งสิ้น ในการใช้สื่อ การสอนนั้นผู้สอนจำาเป็นต้องศึกษาถึงลักษณะคุณสมบัติของสื่อแต่ละ ชนิดเพื่อเลือกสื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์การสอนและสามารถจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน โดยต้องการวางแผนอย่างเป็น ระบบในการใช้สื่อด้วย ทั้งนี้เพื่อให้กระบวนการเรียนการสอนดำาเนินไป อย่างมีประสิทธิภาพ
ประเภทของสื่อการเรียนการสอน สื่อต่างๆ ที่เป็นตัวกลางในการส่งผ่านข้อมูลสารสนเทศจากผู้สอนไปยัง ผู้เรียน หรือเป็นสิ่งที่ผู้เรียนใช้ศึกษาความรู้ด้วยตนเอง นักวิชาการได้ จำาแนกสื่อการสอนตามประเภท ลักษณะและวิธีการใช้ดังนี้ สื่อโสตทัศน์ เป็นสื่อที่นับได้ว่าเป็นจุดเริ่มของสื่อการเรียนการสอน โดยเป็นสื่อที่ บรรจุหรือถ่ายทอดข้อมูลเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วยการได้ยินเสียงและ เห็นภาพ สื่อที่ใช้กันมาแต่ดั้งเดิม เช่น หนังสือตำาราเรียน ภาพ ของ จริง ของจำาลอง จะเป็นสื่อที่บรรจุเนื้อหาในตัวเอง ต่อมามีการใช้ เทคโนโลยีในการประดิษฐ์อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการถ่ายทอด เนื้อหาและเนื้อหาและวัสดุที่ใช้กับอุปกรณ์เหล่านี้
โร
เบิร์ต อี. เดอ คีฟเฟอร์ (Robert E. de Kieffer) ได้แบ่งสื่อการสอน ออกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะที่ใช้สื่อความหมายทางเสียงและภาพ รวมเรียกว่า “สือ ่ โสตทัศน์” (audiovisual materials)
ในปัจจุบันมีสื่อ
โสตเพิ่มขึ้นมากจากที่เดอ คีฟเฟอร์ ได้กล่าวไว้ทั้ง 3 ประเภท ในที่นี้ จึงขอยกตัวอย่างสื่อใหม่รวมไปในแต่ละประเภทดังนี้ 1. สื่อไม่ใช้เครื่องฉาย (nonprojected materials) เป็นสื่อที่ใช้การทาง ทัศนะโดยไม่ต้อง
ใช้เครื่องฉายร่วมด้วย แบ่งออกเป็น 3
ประเภท ได้แก่สื่อภาพ (illustrative materials) เป็นสื่อ
ที่
สามารถถ่ายทอดเนื้อหา เช่น ภาพกราฟิก กราฟ แผนที่ ของจริง ของจำาลอง กระดานสาธิต (demonstration boards) ใช้ในการนำาเสนอ เนื้อหา เช่นกระดานชอล์ก กระดานนิเทศ กระดานแม่เหล็ก กระดาน ผ้าสำาลี ฯลฯ และกิจกรรม(activites) 2. สื่อเครื่องฉาย (projected and equipment) เป็นวัสดุและอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสื่อสารด้วยภาพหรือทั้งภาพทั้งเสียง อุปกรณ์มีทั้ง
แบบฉายตรงและฉายอ้อมเพื่อถ่ายทอดเนื้อหาจากวัสดุแต่ละประเภทที่ ใช้เฉพาะอุปกรณ์นั้นเพื่อให้เป็นภาพปรากฏขึ้นบนจอเช่นเครื่องฉาย ข้ามศีรษะใช้กับแผ่นโปร่งใส เครื่องฉายสไลด์ ใช้กับแผ่นฟิล์มสไลด์ หรือให้ทั้งภาพและเสียง เช่น เครื่องฉายภาพยนตร์ฟิล์ม เครื่องเล่น ดีวีดีใช้กับวีซีดีและดีวีดี เหล่านี้เป็นต้น นอกจากนี้ยังอาจรวมเครื่อง ถ่ายทอดสัญญาณ คือ เครื่องแอลซีดีที่ใช้ถ่ายทอดสัญญาณจาก คอมพิวเตอร์หรือเครื่องเล่นวีซีดี เข้าไว้ในเครื่องด้วย
เพื่อนำา
สัญญาณภาพจากอุปกรณ์เหล่านั้นขึ้นจอภาพ 3. สื่อเสียง (audio materials and equipment) เป็นวัสดุและอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์
เพื่อการสื่อสารด้วยเสียง อุปกรณ์เครื่องเสียงจะ
ใช้ถ่ายทอดเนื้อหาจากวัสดุแต่ละประเภทที่ใช้เฉพาะกับอุปกรณ์นั้นเพื่อ เป็นเสียงให้ได้ยิน เช่น เครื่องเล่นซีดีใช้กับแผ่นซีดี เครื่องเล่น/บันทึก เทปใช้กับเทปเสียง หรืออาจเป็นอุปกรณ์ในการถ่ายทอดสัญญาณเสียง ดังเช่นวิทยุที่รับสัญญาณเสียงจากแหล่งส่งโดยไม่ต้องใช้วัสดุใดๆใน การนำาเสนอเสียง สื่อแบ่งตามประสบการณ์การเรียนรู้ การแบ่งประเภทของสื่อการสอน ถ้าแบ่งตามระดับประสบการณ์ของผู้ เรียน ซึ่ง เดล
(Dale 1969:107) ได้แบ่งสื่อการสอนออกเป็น
10 ประเภท โดยพิจารณาจากลักษณะของประสบการณ์ที่ได้รับจากสื่อ การสอนประเภทนั้น โดยยึดเอาความเป็นรูปธรรมและนามธรรมเป็น หลักในการแบ่งประเภท และได้เรียงลำาดับจากประสบการณ์ที่เป็นรูป ธรรมที่สุดประสบการณ์ ที่เป็นนามธรรมที่สุด (Abstract Concrete Continuum) เรียกว่า “กรวยประสบการณ์” (Cone of Experience) ดังภาพที่ 1
ภาพที่ 1 แสดงกรวยประสบการณ์ของ เอ็ดการ์ เดล แหล่งที่มา : Dale, Edgar. (1969 : 107). Audio – Visual Materials of Instruction. Chicago : University of Chicago Press ขั้นที่1 ประสบการณ์ตรงและมีความมุ่งหมาย (Direct Purposeful Experience) เป็นประสบการณ์ที่เป็นรากฐานของประสบการณ์ทั้งปวง เพราะได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
ได้เห็น ได้ยินเสียง
ได้สัมผัสด้วยตนเอง เช่น การเรียนจากของจริง (Real object) ได้ ร่วม กิจกรรมการเรียนด้วยการลงมือกระทำา เป็นต้น ขั้นที่ 2 ประสบการณ์จำาลอง (Contrived Simulation Experience) จาก ข้อจำากัดที่ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนจากประสบการณ์จริงให้แก่ผู้ เรียนได้ เช่น ของจริงมีขนาดใหญ่หรือเล็กเกินไป มีความซับซ้อน มี อันตราย จึงใช้ประสบการณ์จำาลองแทน เช่น การใช้หุ่นจำาลอง (Model) ของตัวอย่าง (Specimen) เป็นต้น ขั้นที่ 3 ประสบการณ์นาฏการ (Dramatized Experience) เป็น ประสบการณ์ที่จัดขึ้นแทนประสบการณ์จริงที่เป็นอดีตไปแล้ว หรือเป็น นามธรรมที่ยากเกินกว่าจะเข้าใจและไม่สามารถ
ใช้
ประสบการณ์จำาลองได้ เช่น การละเล่นพื้นเมือง ประเพณีต่างๆ เป็นต้น ขั้นที่ 4 การสาธิต (Demonstration) คือ การอธิบายข้อเท็จจริง ความ จริง และกระบวนการที่สำาคัญด้วยการแสดงให้เห็นเป็นลำาดับขั้น การ สาธิตอาจทำาได้โดยครูเป็นผู้สาธิต นอกจากนี้อาจใช้ภาพยนตร์ สไลด์ และฟิล์มสตริป แสดงการสาธิตในเนื้อหาที่ตอ ้ งการสาธิตได้ ขั้นที่ 5 การศึกษานอกสถานที่ (Field Trip) การพานักเรียน ไปศึกษายังแหล่งความรู้นอกห้องเรียน เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนรู้
หลายๆด้าน ได้แก่ การศึกษาความรู้จากสถานที่สำาคัญ เช่น โบราณ สถาน โรงงาน อุตสาหกรรม เป็นต้น ขั้นที่ 6 นิทรรศการ (Exhibition) คือ การจัดแสดงสิ่งต่างๆ รวมทั้งมีการสาธิตและการฉายภาพยนตร์ประกอบเพื่อให้ประสบการณ์ ในการเรียนรู้แก่ผู้เรียนหลายด้าน ได้แก่ การจัดป้ายนิทรรศการ การ จัดแสดงผลงานนักเรียน ขั้นที่ 7 ภาพยนตร์ และโทรทัศน์ (Motion Picture and Television) ผู้เรียนได้เรียนด้วยการเห็นและได้ยินเสียงเหตุการณ์ และ เรื่องราวต่างๆ ได้มองเห็นภาพในลักษณะการเคลื่อนไหวเหมือนจริง ไปพร้อมๆกัน ขั้นที่ 8 การบันทึกเสียง วิทยุ และภาพนิ่ง (Recording, Radio and Picture) ได้แก่ เทปบันทึกเสียง แผ่นเสียง วิทยุ ซึ่งต้องอาศัย เรื่องการขยายเสียง ส่วนภาพนิ่ง ได้แก่ รูปภาพทั้งชนิดโปร่งแสงที่ใช้ กับเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ(Overhead projector) สไลด์ (Slide) ภาพ นิ่งจากคอมพิวเตอร์ และ
ภาพบันทึกเสียงที่ใช้กับเครื่องฉาย
ภาพทึบแสง(Overhead projector) ขั้นที่ 9 ทัศนสัญลักษณ์ (Visual Symbol) มีความเป็นนามธรรมมากขึ้น จำาเป็นที่จะต้องคำานึงถึงประสบการณ์ของผู้เรียนเป็นพื้นฐาน ในการ เลือกนำาไปใช้ สื่อที่จด ั อยู่ในประเภทนี้ คือ แผนภูมิ แผนสถิติ -ภาพ โฆษณา การ์ตูน แผนที่ และสัญลักษณ์ต่างเป็นต้น ขั้นที่ 10 วจนสัญลักษณ์ (Verbal Symbol) เป็นประสบการณ์ขั้นสุดท้าย ซึ่งเป็นนามธรรมที่สุด ไม่มีความคล้ายคลึงกันระหว่างวจนสัญลักษณ์กับ ของจริง ได้แก่ การใช้ตัวหนังสือแทนคำาพูด สื่อแบ่งตามทรัพยากรการเรียนรู้
ทรัพยากร หมายถึง สิ่งทั้งปวงที่มีค่า ทรัพยากรการเรียนรู้ (learning resources) จึงหมายถึงทุกสิ่งที่มีอยู่ในโลกไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเอง โดยธรรมชาติหรือสิ่งที่คนประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อใช้ในการเรียนรู้ โดนัลด์ พี. อีลี (Donald P. Ely) (Ely, 1972:36:42) ได้จำาแนกสื่อการเรียน การสอนตามทรัพยากรการเรียนรู้ 5 รูปแบบ โดยแบ่งได้เป็นสื่อที่ ออกแบบขึ้นเพื่อ จุดมุ่งหมายทางการศึกษา
(by design) และ
สื่อที่มอ ี ยู่ทั่วไปแล้วนำามาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน (by utiliegation) ได้แก่ 1. คน (people) “คน” ในทางการศึกษาโดยตรงนั้น หมายถึง บุคคล ที่อยู่ในระบบของโรงเรียน ได้แก่ ครู ผู้บริหาร ผู้แนะนำาการศึกษา ผู้ ช่วยสอน หรือผู้ที่อำานวยความสะดวกด้านต่างๆเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ ส่วน “คน” ตามความหมายของการประยุกต์ใช้ ได้แก่คนที่ ทำางานหรือมีความชำานาญงานในแต่ละสาขาซึ่งมีอยู่ในวงสังคมทั่วไป คนเหล่านี้เป็น “ผู้เชี่ยวชาญ” ซึ่งถึงแม้มิใช่นักศึกษาแต่สามารถจะช่วย ความสะดวกหรือเชิญมาเป็นวิทยาการเพื่อเสริมการเรียนรู้ได้ในการให้ ความรู้แต่ละด้าน อาทิเช่น ศิลปิน นักการเมือง นักธุรกิจ ช่างซ่อม เครื่อง 2. วัสดุ(materials) ในการศึกษาโดยตรงเป็นประเภทที่บรรจุเนื้อหาบท เรียนโดยรูปแบบของวัสดุมิใช่สิ่งสำาคัญที่ต้องคำานึงถึง เช่น หนังสือ สไลด์ แผนที่ แผ่นซีดี หรือสือ ่ ต่างๆที่เป็นทรัพยากรในการเรียนการ สอนนั้นจะมีลักษณะเช่นเดียวกับวัสดุที่ใช้ในการศึกษาดังกล่าวเพียงแต่ ว่าเนื้อหาที่บรรจุในวัสดุส่วนมากจะอยู่ในรูปของการให้ความบันเทิง เช่น คอมพิวเตอร์ หรือภาพยนตร์สารคดีชีวิตสัตว์สิ่งเหล่านี้ถูกมองไป ในรูปแบบของความบันเทิงแต่สามารถให้ความรู้ในเวลาเดียวกัน
3. อาคารสถานที่ (settings) หมายถึง ตัวตึก ที่ว่าง สิ่งแวดล้อม ซึ่งมี ผลเกี่ยวกับทรัพยากรรูปแบบอื่นๆที่กล่าวมาแล้วและมีผลกับผู้เรียนด้วย สถานที่สำาคัญในการศึกษา ได้แก่ตึกเรียนและสถานที่ที่ออกแบบมาเพื่อ การเรียนการสอนโดยรวม เช่นห้องสมุด หอประชุม ส่วนสถานที่ต่างๆ ในชุมชนก็สามารถประยุกต์ให้เป็นทรัพยากรสื่อสารเรียนการสอน ได้ เช่น โรงงาน ตลาด สถานที่ ทาง ประวัติศาสตร์เช่น พิพิธภัณฑ์ เป็นต้น 4. เครื่องมือและอุปกรณ์ (tools and equipment) เป็นทรัพยากร ทางการเรียนรู้เพื่อช่วยในการผลิตหรือใช้ร่วมกับทรัพยากรอื่นๆ ส่วน มากมักเป็น โสตทัศนูปกรณ์หรือเครื่องมือต่างๆ ที่นำามา
ใช้
ประกอบหรืออำานวยความสะอาดในการเรียนการสอน เช่นเครื่องฉาย ข้ามศีรษะ คอมพิวเตอร์ เครื่องถ่ายเอกสาร หรือแม้แต่ตะปู ไขควง เหล่านี้เป็นต้น 5. กิจกรรม (activities) โดยทั่วไปแล้วกิจกรรมที่ใช้ในการเรียนการ สอนมักจัดขึ้นเพื่อร่วมกระทำาทรัพยากรอื่นๆ หรือเป็นเทคนิควิธีการ พิเศษเพื่อการเรียนการสอน เช่น เกม การสัมมนา การจัดทัศนศึกษา กิจกรรมเหล่านี้มักมีวัตถุประสงค์เฉพาะที่ตั้งขึ้น โดยมีการใช้วัสดุการ เรียนเฉพาะแต่ละวิชา หรือวิธีการพิเศษในการเรียนการสอน คุณค่าของสื่ี่อการสอน สื่อการสอนนับว่าเป็นสื่อสำาคัญในการเรียนรู้เนื่องจากเป็น ตัวกลางในการถ่ายทอดเนื้อหาจากผู้สอนไปยังผู้เรียน หรือเป็นให้ผู้ เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ดังนั้น สือ ่ การสอนจึงนำามาใช้ประโยชน์ได้ ทั้งกับผู้เรียนและผู้สอน ดังนี้ สื่อกับผู้เรียน สื่อการเรียนการสอนมีความสำาคัญและคุณค่าต่อผู้เรียนดังนี้
- เป็นสิ่งช่วยให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะ ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจเนื้อหาบทเรียนที่ยุ่งยากซับซ้อนได้ง่ายขึ้น ในระยะเวลาอันสั้น และช่วยให้เกิดความคิดรวบยอดในเรื่องนั้นได้ อย่างถูกต้องและรวดเร็ว - สือ ่ จะช่วยกระตุ้นและสร้างความเข้าใจให้กับผู้เรียนทำาให้ เกิดความรู้สนุกสนานและไม่รู้สึกเบื่อหน่ายการเรียน - การใช้สื่อจะทำาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจตรงกันหากเป็นเรื่อง ของนามธรรมและยากต่อความเข้าใจ และช่วยให้เกิดประสบการณ์ร่วม กันในวิชาที่เรียน - สือ ่ ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน ทำาให้เกิด มนุษยสัมพันธ์อันดีในระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองและกับผู้สอนด้วย - สร้างเสริมลักษณะที่ดีในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ช่วย ให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์จากการใช้สื่อเหล่านี้ - ช่วยแก้ปัญหาเรื่องของความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยการ จัดให้มีการใช้สื่อในการศึกษารายบุคคล
สื่อกับผู้สอน สื่อการเรียนการสอนมีความสำาคัญและคุณค่าต่อผู้สอนดังนี้
- การใช้วัสดุอุปกรณ์ต่างๆประกอบการเรียนการสอน เป็นการช่วยให้บรรยากาศในการสอนน่าสนใจยิ่งขึ้น ทำาให้ผู้สอนมี ความกระตือรือร้นในการสอนมากกว่าวิธีการที่เคยใช้การบรรยายแต่ เพียงอย่างเดียว และเป็นการสร้างความเชื่อมั่นในตัวเองให้เพิ่มขึ้นด้วย - ช่วยแบ่งเบาภาระของผู้สอนในด้านการเตรียมเนื้อหาเพราะ สามารถนำาสื่อมาใช้ซำ้าได้ และบางอาจให้นักศึกษาเนื้อหาจากสื่อได้เอง - เป็นการกระตุ้นให้ผู้สอนตื่นตัวอยู่เสมอในการเตรียมและ ผลผลิตวัสดุและเรื่องราวใหม่ๆเพื่อใช้เป็นสื่อการสอน ตลอดจนคิดค้น เทคนิควิธีการต่างๆ เพื่อให้การเรียนรู้น่าสนใจยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม สือ ่ การสอนจะมีคุณค่าต่อเมื่อผู้สอนได้นำาไป ใช้อย่างเหมาะสมและถูกวิธด ี ังนั้น ก่อนที่จะนำาสื่อแต่ละอย่างไปใช้ ผู้ สอนควรจะศึกษาถึงลักษณะและคุณสมบัติของสือ ่ การสอนข้อดีและข้อ จำากัดอันเกี่ยวเนื่องกับตัวสื่อและการใช้สื่อแต่ละอย่าง ตลอดจนการ ผลิตและการใช้สื่อให้เหมาะสมกับสภาพการเรียนการสอนด้วย ทั้งนี้ เพื่อให้การจัดการการเรียนการสอนบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายและ วัตถุประสงค์ที่วางไว้
หลักการเลือกสื่อการสอน
การเลือกสื่อการสอนเพื่อนำามาใช้ประกอบการสอนเพื่อให้ผู้ เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพนั้นเป็นสิ่งสำาคัญยิ่ง โดยผู้สอน
จะต้องตั้งวัตถุประสงค์นั้นเป็นตัวชี้นำาในการเลือกสื่อการสอนที่เหมาะสม ต่อการเรียนรู้ นอกจากนี้ยังมีหลักการอื่นๆ เพื่อประกอบการพิจารณา คือ - สือ ่ นั้นต้องสัมพันธ์กับเนื้อหาบทเรียนและจุดมุ่งหมายที่จะ สอน - เลือกสือ ่ ที่มีเนื้อหาถูกต้อง ทันสมัย น่าสนใจ และเป็น สื่อที่ให้ผลต่อการเรียนการสอนมากที่สุด ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหา นั้นได้ดีเป็นลำาดับขั้นตอน - เป็นสื่อที่เหมาะสมกับวัย ระดับชั้น ความรู้ และ ประสบการณ์ของผู้เรียน - สือ ่ นั้นควรสะดวกในการใช้ มีวธ ิ ีใช้ไม่ซับซ้อนยุ่งยากจน เกินไป - ต้องเป็นสื่อที่มีคุณภาพ มีเทคนิคการผลิตที่ดี มีความ ชัดเจนและเป็นจริง - มีราคาไม่แพงจนเกินไป หรือถ้าจะผลิตเองควรคุ้มกับเวลา และการลงทุน
หลักการใช้สื่อการสอน
ภายหลังจากที่ผู้สอนได้เลือกและตัดสินใจแล้วว่าจะใช้สื่อ ประเภทใดบ้างในการสอนเพื่อให้เรียนสามารถเรียนรู้จากการถ่ายทอด เนื้อหาของสื่อนั้นได้ดีที่สุด ผู้สอนจำาเป็นต้องมีหลักในการใช้สื่อการ สอนตามลำาดับดังนี้ - เตรียมตัวผู้สอน เป็นการเตรียมตัวในการอ่าน ฟังหรือดู เนื้อหาที่อยู่ในสื่อที่จะใช้ว่ามีเนื้อหาถูกต้อง ครบถ้วน และตรงกับที่ ต้องการหรือไม่ ถ้าสื่อนั้นมีเนื้อหาไม่ควร ผู้สอนจะเพิ่มโดยวิธีใดในจุด ไหนบ้าง จะมีวิธีใช้สื่ออย่างไร เช่น ใช้ภาพนิ่งเพื่อเป็นการนำาบทเรียน ที่จะสอน แล้วอธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับบทเรียนนั้น ต่อจากนั้นเป็นการให้ ชมวีดิทัศน์เพื่อเสริมความรู้ และจบลงโดยการสรุปด้วยแผ่นโปร่งใสหรือ สไลด์ในโปรแกรม PowerPoint อีกครั้งหนึ่งดังนี้ เป็นต้น ขั้นตอนเหล่า นี้ผู้สอนต้องเตรียมตัวโดยเขียนลงในแผนการสอนเพื่อการใช้สื่อได้ถูก ต้อง - เตรียมจัดสภาพแวดล้อม โดยการจัดเตรียมวัสดุ เครื่องมือ และอุปกรณ์ที่จำาเป็นต้องใช้ให้พร้อม ตลอดจนต้องเตรียมสถานที่หรือ
ห้องเรียนให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสมด้วย เช่น มีปากกาเขียนแผ่น โปร่งใสพร้อมแผ่นโปร่งใส แถบวีดิทัศน์ที่นำามาฉายมีการกรอกกลับ ตั้งแต่ต้นเรื่องโทรทัศน์ต่อเข้ากับเครื่องเล่นวีดิทัศน์เรียบร้อย ที่นั่งของผู้ เรียนอยู่ในระยะที่เหมาะสม ฯลฯ สภาพแวดล้อมและ
ความ
พร้อมต่างๆเหล่านี้จะเป็นสิ่งที่ช่วยในการเรียนการสอนเป็นไปด้วยความ สะดวกราบรื่นไม่เสียเวลา - เตรียมพร้อมผู้เรียน เป็นการเตรียมผู้เรียนโดยมีการแนะนำา หรือให้ความคิดรวบยอดว่าเนื้อหาในสื่อเป็นอย่างไร เพื่อให้ผู้เรียน เตรียมในการฟังดู หรืออ่านเนื้อหาจากสื่อนั้นให้เข้าใจได้ดีและสามารถ จับประเด็นสำาคัญของเนื้อหาได้ หรือหากผู้เรียนมีการใช้สื่อด้วยตนเอง ผู้สอนต้องบอกวิธีการใช้ในกรณีที่เป็นอุปกรณ์ที่ผู้เรียนจะต้องมีกิจกรรม อะไรบ้าง เช่น มีการทดสอบ การอภิปราย การแสดง หรือการปฏิบัติ ฯลฯ เพื่อผู้เรียนจะเตรียมตัวได้ถูกต้อง - การใช้สื่อ ผูส ้ อนต้องใช้สื่อให้เหมาะกับขั้นตอนที่ เตรียมไว้แล้วเพื่อดำาเนินการสอนได้อย่างราบรื่น และต้องควบคุมการ เสนอสื่อให้ถูกต้อง ตัวอย่างเช่น ในการฉายวีดิทัศน์ ผู้สอนต้องปรับ ภาพที่ออกทางเครื่องรับโทรทัศน์ให้ชัดเจน ปรับเสียงอย่าให้ดังจน รบกวนห้องเรียนอื่นหรือค่อยเกินไปจนผู้เรียนที่นั่งอยูห ่ ลังห้องไม่ได้ยิน ดูว่ามีแสงตกลงบนพื้นจอหรือไม่ หากใช้เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะต้อง ปรับระยะเครื่องฉายไม่ให้ภาพเบี้ยว (keystone effect) ดังนี้เป็นต้น - การประเมินติดตามผล หลังจากมีการเสนอสือ ่ แล้ว ควรมี การประเมินและติดตามผลโดยการให้ผู้เรียนตอบคำาถาม อภิปราย หรือเขียนรายงาน เพื่อเป็นการทดสอบว่าผู้เรียนเข้าใจบทเรียนและ
เรียนรู้จากสื่อที่เสนอไปนั้นอย่างถูกต้องหรือไม่ เพื่อผู้สอนจะได้สามารถ ทราบจุดบกพร่องและแก้ไขปรับปรุงการสอนของตนได้
ขั้นตอนการใช้สื่อการสอน
การใช้สื่อการสอนนั้นอาจใช้เฉพาะขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง ของการสอน หรือจะใช้ในทุกขั้นตอนก็ได้ ดังนี้ - ขัน ้ นำาสู่บทเรียน เพื่อกระตุ้นให้เรียนเกิดความสนใจใน เนื้อหาที่กำาลังจะเรียนสื่อที่ใช้ในขั้นนี้จึงเป็นสื่อที่แสดงเนื้อหากว้างๆ หรือเนื้อหาที่เกี่ยวกับการเรียนในครั้งก่อนยังมิใช่สื่อที่เน้นเนื้อหาเจาะ ลึกจริง อาจเป็นสื่อที่เป็นแนวปัญหาหรือเพื่อให้ผู้เรียนคิด และควรเป็น สื่อที่ง่ายต่อการนำาเสนอในระยะเวลาอันสั้น เช่น ภาพ บัตรคำา หรือ เสียง เป็นต้น - ขัน ้ ดำาเนินการสอนหรือประกอบกิจกรรมการเรียน เป็นขั้นตอนที่ สำาคัญเพราะจะให้ความรู้เนื้อหาอย่างละเอียดเพื่อสนองวัตถุประสงค์ที่ ตั้งไว้ ผู้สอนจึงต้องเลือกสื่อให้ตรงกับเนื้อหาและวิธีการสอนหรืออาจจะ ใช้สื่อประสมก็ได้ ต้องมีการจัดลำาดับขั้นตอนการใช้สื่อให้เหมาะสมและ สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียน การใช้สื่อในขั้นนี้จะต้องเป็นสื่อที่เสนอ ความรู้อย่างละเอียดถูกต้องและชัดเจนแก่ผู้เรียน เช่น ของจริง แผ่น โปร่งใส กราฟ วีดิทัศน์ แผ่นวีซีดี หรือการทัศนศึกษานอกสถานที่ เป็นต้น
- ขัน ้ วิเคราะห์และฝึกปฏิบัติ เป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์ตรงแก่ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียน
ได้ทดลองนำาความรู้ด้านทฤษฏีหรือหลักการที่
เรียนมาแล้วไปใช้แก้ปัญหาในขั้นฝึกหัดโดยการลงมือ
ฝึกปฏิบัติ
เอง สื่อในขั้นนี้จึงเป็นสื่อที่เป็นประเด็นปัญหา เทปเสียง สมุดแบบ ฝึกหัด ชุดการเรียน หรือบทเรียนซีเอไอ เป็นต้น - ขัน ้ สรุปบทเรียน เป็นการเน้นยำ้าเนื้อหาให้มีความเข้าใจที่ตรงตาม วัตถุประสงค์ที่วางไว้
ขัน ้ สรุปนี้ควรใช้เพียงระยะเวลาน้อย เช่น
แผนภูมิ โปร่งใส กราฟ เป็นต้น - ขัน ้ ประเมินผู้เรียน เป็นการทดสอบว่าผู้เรียนสามารถเรียนรู้หรือ เข้าใจสิ่งที่เรียนไปถูกต้องมากน้อยเพียงใด และบรรลุตามวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรมที่ตั้งไว้หรือไม่ สื่อในขั้นประเมินนี้มักจะเป็นคำาถามจาก เนื้อหาบทเรียนโดยอาจมีภาพประกอบด้วยก็ได้ อาจนำาบัตรคำาหรือสื่อที่ ใช้ขั้นกิจกรรมการเรียนมาถามอีกครั้งหนึ่ง และอาจเป็นการทดสอบ โดยการปฏิบัติจากสื่อหรือการกระทำาของผู้เรียนเพื่อทดสอบดูว่าผู้เรียน สามารถมีทักษะจากการฝึกปฏิบัติอย่างถูกต้องครบถ้วนตามวัตถุประสงค์ ที่ตั้งไว้หรือไม่
ประเภทและคุณสมบัติของสื่อการสอน
สื่อการสอนประเภทไม่ใช้เครื่องฉาย วัสดุ อุปกรณ์ เทคนิควิธีการ
วัสดุ / อุปกรณ์ / วิธีการ
ข้อดี ข้อจำากัด สิ่งพิมพ์ต่างๆเช่นหนังสือ ตำาราเรียน คู่มือ วารสาร ฯลฯ
-
เป็นสื่อการเรียนรู้ที่ดีที่สุดวิธห ี นึ่ง
- สามารถอ่านได้ตามอัตราความสามารถแต่ละบุคคล - เหมาะสำาหรับการอ้างอิง - สะดวกในการพกพา - ทำาสำาเนาจำานวนมากได้ง่าย - ถ้าจะให้ได้สิ่งพิมพ์ที่คุณภาพดีต้องใช้ต้นทุนในการผลิตสูง - บางครั้งต้องพิมพ์ใหม่เพื่อปรับปรุงข้อมูลที่ล้าสมัย
- ผู้ที่ไม่รู้หนังสือไม่สามารถอ่านหรือทบทวนให้เข้าใจได้ - ไม่สะดวกในการแก้ไขปรับปรุง ของจริง ของตัวอย่าง -
แสดงภาพได้ตามความเป็นจริง
- สัมผัสได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า - สามารถจับต้องและพิจารณารายละเอียดได้ - บางครั้งอาจจะลำาบากในการจัดหา - ของบางสิ่งอาจมีขนาดใหญ่เกินกว่าจะนำามาแสดงได้ - บางครั้งของนั้นอาจมีราคาสูงเกินไป - ปกติเหมาะสำาหรับ - การเสนอต่อกลุ่มย่อย - เก็บรักษาลำาบาก ของจำาลอง หุ่นจำาลอง ขนาดเท่า ย่อส่วน หรือ ขยายของจริง - อยู่ในลักษณะ 3 มิติ - สามารถจับต้องพิจารณารายละเอียดได้
- เหมาะในการนำาเสนอที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า (เช่น ลักษณะของอวัยวะภายในร่างกาย) - สามารถใช้แสดงหน้าที่และลักษณะส่วนประกอบ - ช่วยในการเรียนรู้และการปฏิบัติทักษะชนิดต่างๆ - หุน ่ บางอย่างสามารถผลิตได้ด้วยวัสดุทอ ้ งถิ่นที่หาได้ง่าย - ต้องอาศัยความชำานาญในการผลิตส่วนมากจะราคาแพง - ปกติเหมาะสำาหรับการแสดงต่อกลุ่มย่อย - ถ้าทำาได้ไม่เหมือนของจริงทุกประการ บางครั้งอาจทำาให้เกิดความ เข้าใจผิดได้ วัสดุกราฟิก เช่น แผนภูมิ แผนภาพ
กราฟ การ์ตูน ภาพถ่าย ภาพ
วาด ฯลฯ -
ช่วยในการชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหา
- ช่วยแสดงลำาดับขั้นตอนของเนื้อหา - สามารถจัดหาได้ง่ายจากสิ่งพิมพ์ต่างๆ - ผลิตได้ง่ายและสามารถผลิตได้จำานวนมาก - เก็บรักษาได้ง่ายด้วยวิธีผนึกภาพ
- เหมาะสำาหรับการเรียนในกลุ่มเล็ก - งานกราฟิกที่มีคุณภาพดี จำาเป็นต้องใช้ช่างเทคนิคที่มีความชำานาญ ในการผลิต - การใช้ภาพบางประเภท เช่นภาพตัดส่วน (sectional drawings) หรือภาพการ์ตูนอาจไม่ช่วยให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความเข้าใจดีขึ้นเพราะ ไม่สามารถสัมพันธ์กับของจริงได้ กระดานชอล์ก กระดานขาว
- ต้นทุนในการผลิตตำ่า
- สามารถเขียนงานกราฟิกได้หลายชนิด - ช่วยในการสร้างความเข้าใจตามลำาดับเรื่องราวเนื้อหา - ผูส ้ อนต้องหันหลังให้กลุ่มผู้เรียนเมื่อเขียนกระดานทำาให้ไม่สามารถ ควบคุมชั้นเรียนได้ดี - สามารถอ่านข้อความบนกระดานได้ไม่ไกลมากนัก ทำาให้กลุ่มผู้เรียน มีจำานวนจำากัด - ภาพ หัวข้อ หรือประเด็น คำาบรรยายต้องถูกลบไม่สามารถนำามา ใช้ได้อีก - ผูส ้ อนต้องมีความสามารถในการเขียนกระดานพอสมควร
กระดานผ้าสำาลีและกระดานแม่เหล็ก - สามารถนำากลับมาใช้ได้อีก - วัสดุในการผลิตหาง่ายและสามารถผลิตได้เอง - เหมาะสำาหรับแสดงความเกี่ยวกันของลำาดับขั้นตอนเนื้อหา
- ช่วยดึงดูดความสนใจ - สามารถให้กลุ่มผู้เรียนร่วมใช้เพื่อสร้างความสนใจ - ไม่เหมาะสำาหรับผู้เรียนกลุ่มใหญ่ การจัดทัศนศึกษานอกสถานที่
-
ผู้เรียนสามารถสังเกตการณ์และมีส่วนร่วมได้ด้วยตนเอง
- เปิดโอกาสให้ผู้เรียนร่วมทำางานเป็นกลุ่มและสร้างสรรค์ความรับผิด ชอบร่วมกัน - สามารถจูงใจเป็นรายบุคคลได้ดี - ต้องใช้เวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง - จัดเฉพาะผู้เรียนกลุ่มย่อย - ต้องเตรียมการและวางแผนโดยละเอียดรอบคอบ เกม - ดึงดูดความสนใจให้สนุกในกิจกรรมการเรียน - มีความแปลกใหม่แตกต่างไปจากการเรียนปกติ - สร้างบรรยากาศให้รู้สึกพอใจและผ่อนคลายแก่ผู้เรียน
- ดึงความสนใจในงานที่ต้องทำาซำ้าๆกันได้ดีกว่าการเรียนด้วยการ ฝึกฝนธรรมดา - กิจกรรมที่มีการแข่งขันจะใช้ไม่ได้ผลกับผู้เรียนที่ไม่มีความชำานาญ หรือไม่ชอบการแข่งขัน - เกิดความไขว้เขวได้ง่าย จึงต้องอธิบายกฎเกณฑ์และวิธีการเล่น อย่างถูกต้อง - ต้องระวังในการเลือกเกมที่มีการออกแบบให้ตรงกับทักษะในการ เรียน การจำาลอง(simulation) เช่น บทบาทสมมุติเครื่องจำาลอง - มีการฝึกปฏิบัติทักษะในโลกของจริงภายใต้สภาวะที่คล้ายคลึงกับ ชีวิตจริง - สามารถฝึกปฏิบัติกิจกรรมที่เสี่ยงอันตรายได้โดยไม่เสี่ยงอันตรายได้ โดยไม่เสี่ยงกับการบาดเจ็บหรือเสียชีวิต - การจำาลองมีแต่เฉพาะลักษณะสำาคัญของสถานการณ์โดยละทิ้งราย ละเอียดต่างๆเพื่อใช้ได้อย่างสะดวกไม่ยุ่งยากแก่ความเข้าใจ - ผู้เรียนต้องใช้เวลามากในสถานการณ์ของปัญหาและทดลองด้วยวิธี การต่างๆ
- การให้เรียนในสภาวะจำาลองที่ง่ายกว่าความเป็นจริงอาจทำาให้เกิด ความเข้าใจผิดได้ถ้าต้องเผชิญกับสถานการณ์ในชีวิตจริงที่ไม่ง่ายดาย เหมือนที่เคยปฏิบัติมา การจัดนิทรรศการ - เป็นการให้การศึกษาเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องมีครู บรรยาย - เร้าให้เกิดความสนใจใฝ่รู้ ในเรื่องราวที่เสนอ - ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ในการจัดสื่อประกอบเนื้อหาบท เรียนที่จะนำาเสนอ - เสริมสร้างความรับผิดชอบของแต่ละบุคคลและสร้างความสามัคคีใน กลุ่ม
- สถานที่จัดอาจไม่เหมาะสมทำาให้ไม่มีผู้ชมมากเท่าที่ควร - อาจมีงบประมาณไม่เพียงพอทำาให้ไม่สามารถจัดหาสื่อได้ตาม ต้องการ
- หากขาดการประชาสัมพันธ์ที่จูงใจจะทำาให้มผ ี ู้ชมน้อยส่งผลให้การ จัดไม่ประสบผลตามที่ตั้งจุดมุ่งหมายไว้
การสาธิต - การนำาเสนอการปฏิบัติและกรรมวิธีให้เห็นอย่างเป็นขั้นตอนได้ ชัดเจน - ใช้สอนทักษะได้เป็นอย่างดี - สร้างประสบการณ์ให้ผู้เรียนมีการรับรู้ร่วมกัน - กระตุ้นให้มีการซักถามและปฏิบัติตามขั้นตอนได้ - ผูส ้ อนต้องมีทักษะความชำานาญในวิธีการสาธิตเป็นอย่างดีจึงจะ สามารถดำาเนินการได้อย่างราบรื่น - อาจเสียค่าใช้จ่ายสูง - อาจไม่สามารถหาสถานที่ที่เหมาะสมในการสาธิตได้ การสอนแบบโปรแกรม - ผู้เรียนสามารถเรียนตามความสามารถของตน
- ผู้เรียนจะต้องมีส่วนร่วมอย่างกระฉับกระเฉงในการเรียนและได้รับผล ป้อนกลับทันที - ให้รูปแบบการเรียนรู้ที่เชื่อถือได้ - ให้ประสิทธิผลสูงกว่าการสอนแบบธรรมดา - ต้องการออกแบบการเรียนที่ดีโดยผู้เชี่ยวชาญจึงจะทำาให้การเรียนมี ประสิทธิภาพสูงสุดได้ -
การเรียนในบทเรียนเดียวซำ้าๆกันอาจทำาให้เกิดความเบื่อหน่ายใน
การเรียนได้ - เป็นลักษณะการสอนรายบุคคลจึงอาจทำาให้ผู้เรียนขาดปฏิสัมพันธ์ ทางสังคม
สื่อการเรียนการสอนประเภทใช้เครื่องฉาย
วัสดุและอุปกรณ์ประเภทเสนอภาพนิ่ง
วัสดุ
อุปกรณ์ ข้อดี ข้อจำากัด แผ่นโปร่งใสและเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ - สามารถใช้ได้ในที่มีแสงสว่าง - เหมาะสำาหรับผู้เรียนกลุ่มใหญ่ - ผูส ้ อนหันหน้าเข้าหาผู้เรียนได้ - ผูส ้ อนสามารถเตรียมแผ่นโปร่งใสไว้ใช้ล่วงหน้า หรือสามารถเขียน ลงไปพร้อมทำาการบรรยายเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ - แผ่นโปร่งใสบางประเภทสามารถแสดงให้การเคลื่อนไหวได้บ้าง - ถ้าจะผลิตแผ่นโปร่งใสมีลักษณะพิเศษจะต้องลงทุนสูง - ผู้เรียนไม่มีบทบาทร่วมในการใช้อุปกรณ์ สไลด์และเครื่องฉายสไลด์ - เหมาะสำาหรับผู้เรียนกลุ่มใหญ่และกลุ่มเล็ก - ผลิตง่ายและทำาสำาเนาได้ง่ายเช่นกัน
- สามารถเปลี่ยนรูปในการสอนได้ตามความต้องการ - สามารถปรับเปลี่ยนรูปได้ตามความต้องการของเนื้อเรื่อง - ใช้สะดวก เก็บรักษาง่าย - ใช้ประกอบกับเครื่องบันทึกเสียงในการผสมสัญญาณเสียงและภาพ - สามารถใช้ได้กับเครื่องฉายที่ใช้ไฟฟ้าหรือแบตเตอรี่
ต้องฉายในห้องมืดพอสมควรยกเว้นจะมีจอ Daylight Screen - การถ่ายทำาชุดสไลด์ทด ี่ ีต้องมีการวางแผนทำาบทสคริปต์ การถ่ายทำา และการจัดภาพเป็นชุด วัสดุทึบแสงและเครื่องฉายภาพทึบแสง - สามารถขยายภาพถ่าย ภาพเขียนหรือวัสดุทึบแสงให้เป็นภาพที่มองดู มีขนาดใหญ่ได้
- ใช้เป็นกล้องโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อเสนอภาพเคลื่อนไหวของวัตถุและ การสาธิตภายในห้องเรียนได้ - ให้ภาพที่ชัดเจน สามารถขยายภาพและข้อความจากสิ่งพิมพ์ให้อ่าน ได้อย่างทั่วถึง - สามารถใช้กล้องตัวรองที่ฐานเครื่องเป็นกล้องวีดิทศ ั น์ที่ได้ - ต้องใช้เครื่องในห้องที่มืดสนิทจึงจะเห็นภาพขยายได้ชัดเจน - เครื่องฉายภาพทึบแสงรุ่นเก่ามีขนาดใหญ่ทำาให้ขนย้ายลำาบาก - ต้องมีความระวังในการติดตั้งและการเก็บเครื่องอย่างดี เครื่องวีดีโอโปรเจกเตอร์ (video projector) หรือเครื่องแอลซีดี (crystal display) - ใช้กับอุปกรณ์ได้หลายประเภท - สามารถเสนอภาพขนาดใหญ่จากอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อให้เห็นภาพได้ อย่างทั่วถึง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเรียนการสอนด้วยคอมพิวเตอร์ - ถ้าต้องการเสนอภาพคมชัดมากๆจะต้องใช้เครื่องที่มีราคาสูง - ต้องมีความรู้ในการต่อสายเข้ากับเครื่องให้ถูกต้อง - ต้องระวังในการใช้งานและการปิด/เปิดเพื่อถนอมหลอดฉาย
สื่อการสอนประเภทใช้เครื่องฉาย
วัสดุและอุปกรณ์ประเภทเสนอภาพเคลื่อนไหว
วัสดุ อุปกรณ์ ข้อดี ข้อจำากัด โทรทัศน์วงจรปิด - เหมาะสำาหรับผู้เรียนกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ - ใช้ถ่ายทอดเหตุการณ์หรือการสอนที่ผู้เรียน/ผู้ชมไม่สามารถรวมกัน อยู่ในบริเวณที่เรียน/ที่ชมพร้อมกันได้ - สามรถใช้ร่วมกับวีดีทศ ั น์ในการส่งภาพได้
- รับภาพได้เฉพาะในบริเวณที่กำาหนดไว้เท่านั้น - ถ้าต้องการถ่ายทอดภาพหลายจุดต้องเสียค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง จอภาพในบริเวณต่างๆ โทรทัศน์วงจรเปิด - สามารถใช้ได้กับผู้เรียนหรือผู้ชมไม่จำากัดจำานวน และสามารถแพร่ สัญญาณไปได้ในระยะไกลๆ - ช่วยดึงดูดความสนใจของผู้เรียน - เหมาะสำาหรับการใช้จูงใจ สร้างทัศนคติและเสนอปัญหาให้ผู้เรียน คิดหรือเสริมสร้างการอภิปรายร่วมกัน - ช่วยลดภาระของผู้สอนคือ แทนที่จะต้องบรรยายหลายครั้งหรือหลาย แห่งในหัวข้อเดียวกันต่อผู้เรียนหลายกลุ่ม ก็ใช้การแพร่สัญญาณไปยัง ที่ต่างๆได้ในเวลาเดียวกัน
- การจัดรายการที่ดีต้องใช้ต้นทุนสูงมากและต้องใช้ช่างเทคนิคในการ ผลิตรายการ - เป็นสื่อสารทางเดียว ทำาให้ผู้เรียนไม่สามารถถามข้อสงสัยได้ในทันที และผู้สอนไม่สามารถทราบการตอบสนองของผู้เรียนได้
- รายการที่เสนออาจไม่ตรงกับตารางสอนหรือบทเรียน วิดีทัศน์ - สามารถใช้ได้กับผู้เรียนกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ - สามารถซำ้าเมื่อผู้เรียนไม่เข้าใจหรือทบทวน - แสดงการเคลื่อนไหวของภาพประกอบเสียงที่ให้ความรู้สึกใกล้เคียง ของจริงมาก - ต้นทุนอุปกรณ์และการผลิตที่มีคุณภาพดีมีราคาสูง และต้องใช้ช่าง เทคนิคในการผลิต/จัดรายการ - ตัวอักษรที่ปรากฏบนจอโทรทัศน์มีขนาดเล็กอ่านยาก - แถบเทปเสื่อมสภาพได้ง่าย แผ่นดีวีดี (DVD: digital versatile disc)
- แผ่นมีความจุตั้งแต่4-17 จิกะไบต์ ทำาให้สามารถบันทึกภาพยนตร์ได้ ทั้งเรื่องโดยไม่ต้องเสียเวลาเปลี่ยนแผ่นใหม่ขณะเล่น - คุณภาพของภาพบนแผ่นดีวีดีให้ความคมชัดมาก โดยเฉพาะเมื่อ เปรียบเทียบกับแถบวีดีทัศน์ - ให้เสียงดอลบีเซอร์ราวด์ช่วยให้การชมภาพยนตร์มีชีวิตชีวามากยิ่ง ขึ้น - สามารถเลือกชมตอนใดของภาพยนตร์โดยไม่ต้องเรียงตามเนื้อเรื่อง
- เลือกเสียงได้หลายภาษา - ไม่ยึดหรือเสียหายง่ายเหมือนแถบเทป - สามารถทำาความสะอาดได้ง่ายหากเกิดความสกปรกบนแผ่น - เครื่องเล่นสามารถเล่นได้ทั้งแผ่นซีดีแผ่นวีซีดี และแผ่นดีวีดี
- แผ่นดีวีดีคุณภาพดียังมีราคาสูงพอควร - การบันทึกภาพยนตร์ลงแผ่นต้องใช้อุปกรณ์ราคาสูงพอควร - ผู้ใช้อาจไม่สะดวกในการบันทึก ภาพยนตร์ลงแผ่นได้เอง
แผ่นวีซีดี (vcd:video-compact disc) - คุณภาพของภาพบนแผ่นวีซีดีให้ความคมชัดมากกว่าแถบวีดีทัศน์ - ไม่มีการยึดเหมือนแถบวีดีทัศน์ - เครื่องเล่นแผ่นวีซีดีสามารถเล่นแผ่นซีดีได้ด้วย - ทำาความสะอาดได้ง่ายหากเกิดความสกปรกบนแผ่น - ผู้ใช้อาจไม่สะดวกในการบันทึกภาพยนตร์ลงแผ่นได้เองเหมือนการ ใช้แถบวีดีทัศน์ - แผ่นมาตรฐานสูงไม่สามารถใช้เล่นเครื่องเล่นมาตรฐานธรรมดาได้
สื่อการสอนประเภทเครื่องเสียง
วัสดุ / อุปกรณ์
ข้อดี ข้อจำากัด วิทยุ - สามารถใช้กับผู้เรียนกลุ่มเล็กกลุ่มใหญ่ หรือรายบุคคล - ระยะกระจายเสียงกว้างและถ่ายทอดได้ในระยะไกลๆ - ลดภาระของผู้สอนหรือผู้บรรยายในการเดินทางไปสอนในที่ต่างๆ - สามารถให้ความรู้แก่ผู้ที่ไม่สามารถอ่านเขียนจากใช้ทักษะในการฟัง เพียงอย่างเดียว - ดึงดูดความสนใจได้ดี - เครื่องรับวิทยุราคาถูกและสามารถใช้กับแบตเตอรี่ได้ - สามารถใช้กับสื่ออื่น เช่น สิ่งพิมพ์
- ต้องใช้หอ ้ งที่ทำาขึ้นเฉพาะเพื่อการกระจายเสียง - ผู้ฟังหรือเรียนต้องปรับตัวเข้าหารายการ เนื่องจากผู้บรรยายไม่ สามารถปรับตัวเข้าหาผู้ฟังได้ - เป็นการสื่อสารทางเดียวทำาให้ผู้บรรยายไม่สามารถทราบปฏิกิริยา สนองกลับของผู้ฟัง เทปบันทึกเสียง - ใช้ได้โดยไม่จำากัดจำานวนผู้เรียน - เหมาะสำาหรับการเรียนรู้ด้วยตนเองหรือกับกลุ่มย่อย - การเปิด/ปิด/เดินหน้า ย้อนกลับสามารถทำาได้สะดวก - ต้นทุนการผลิตตำ่า - อุปกรณ์ราคาถูกและสามารถใช้กับแบตเตอรี่ได้ - ใช้ได้หลายสภาวการณ์ เช่น ใช้ประกอบสไลด์ ใช้บันทึกเสียงที่ไม่ สามารถฟังได้ทั่วถึง เช่น ฟังการเต้นของหัวใจ เป็นต้น - การบันทึกเสียงที่คุณภาพดีจำาเป็นต้องใช้ห้องและอุปกรณ์ที่ดีมี คุณภาพสูง - ต้องมีความชำานาญพอสมควรในการตัดต่อเทป
- ต้องระมัดระวังในการเก็บรักษา แผ่นซีดี (CD:compact disc)
- บันทึกเสียงประเภทต่างๆในระบบดิจิทัลที่ให้ความคมชัดมาก - เรียกค้นข้อมูลเสียงได้รวดเร็ว - มีความทนทานใช้งานได้นาน - ขนาดเล็กกะทัดรัดเหมาะแก่การพกพา - ไม่สามารถบันทึกได้ถ้าใช้แผ่น CD-R - เครื่องเล่นมีราคาสูงกว่าเครื่องเล่นเทปเสียง
สื่อประสมเชิงโต้ตอบ (Interactive Multimedia)
วัสดุ / อุปกรณ์
ข้อดี ข้อจำากัด คอมพิวเตอร์ - ใช้งานได้หลายประเภท เช่นคำานวณ จัดเก็บฐานข้อมูล งานกราฟิก จัดหน้าสิ่งพิมพ์ ฯลฯ - ใช้แก้ปัญหาต่างๆที่ซับซ้อน - เสนอข้อมูลได้หลายประเภท - มีการโต้ตอบกับผู้เรียน - สามารถบันทึกข้อมูลเก็บไว้ในหน่วยความจำาอื่น เช่น แผ่นซีดี - ใช้ร่วมกับโมเด็มหรือแบบไร้สายเพื่อใช้บนอินเตอร์เน็ตเพื่อการ สื่อสารข้อมูลกับฐานข้อมูลอื่นๆได้ทั่วโลก - ใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารได้ เช่น การรับส่งเมล การประชุมทางไกล ฯลฯ - เครื่องกระเป๋าหิ้วและแบบมือถือมีขนาดเล็กเหมาะแก่การพกพาไปใช้ ในที่ต่างๆได้ - เครื่องที่มีสมรรถนะการใช้งานสูงจะมีราคาสูงพอสมควร - ต้องมีการบำารุงรักษาตามระยะเวลา
- ต้องใช้กับโปรแกรมซอฟต์แวร์ประเภทต่างๆ จึงจะใช้งานได้ - มีการเปลี่ยนแปลงด้านอุปกรณ์ เช่น ความเร็วต่างๆจนทำาให้เครื่องที่ มีอยู่ล้าสมัยได้เร็ว
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (ซีเอไอ) (computer-assisted instruction : CAI)
- ผู้เรียนสามารถมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกับบทเรียนได้ - สามารถให้ผลป้อนกลับได้ในทันที
- มีรูปแบบบทเรียนให้เลือกใช้มากมาย เช่น การสอน ทบทวน เกม การจำาลอง - เสนอบทเรียนได้ทั้งลักษณะตัวอักษรภาพ และเสียง - ผู้เรียนสามารถทบทวนเนื้อหา บทเรียนและทำากิจกรรมได้ตามความสามารถของตนในลักษณะการ ศึกษารายบุคคล
- ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญในการเขียนโปรแกรมบทเรียน - โปรแกรมซอฟต์แวร์บางประเภทมีราคาสูงพอควร
แผ่นซีดี ซีดอ ี าร์ และ ซีดีอาร์ดับเบิลยู (CR-Rom,CD-R,CD-RW)
- สามารถบันทึกข้อมูลได้มากถึง 700
เมกะไบต์
- บันทึกข้อมูลได้ทั้งตัวอักษร ภาพนิ่ง กราฟิก แอนิเมชั่น เคลื่อนไหว แบบวีดีทัศน์ และเสียง - ไม่มีการเผลอลบข้อมูลที่บันทึกไว้ แล้ว - ค้นข้อมูลได้เร็วและถูกต้อง - มีอายุการใช้งานนานและยากแก่การบุบสลาย - ขนาดเล็กกะทัดรัดเหมาะแก่การพกพา - แผ่นซีดีรอมและแผ่นซีดีอาร์จะไม่สามารถบันทึกทับข้อมูลเดิมได้ - ต้องใช้เล่นร่วมกับคอมพิวเตอร์
รูปแบบและวิธีการการใช้เทคโนโลยี
ในการเรียนการสอน
รูปแบบ/วิธีการ ข้อดี ข้อจำากัด สื่อหลายมิติ(hypermedia) - สามารถอ่านเนื้อหาในตอนใดที่ตอ ้ งการได้โดยไม่ต้องเรียงตามลำาดับ เชื่อมโยงข้อมูลได้สะดวก - เนื้อหาบทเรียนมีทั้งภาพกราฟิก
ภาพวีดีทัศน์ เสียงพูด เสียง
ดนตรี - ผู้เรียนสามารถโต้ตอบกับบทเรียนและได้รับผลป้อนกลับทันที
- ต้องใช้โปรแกรมซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพสูงในการผลิตบทเรียน - ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญในการสร้างบทเรียน - ต้องใช้ร่วมกับคอมพิวเตอร์ คุณภาพสูง - การผลิตบทเรียนที่ดีตอ ้ งใช้อุปกรณ์ร่วมหลายอย่าง เช่น เครื่อง เสียง กล้องดิจิทัล อินเทอร์เน็ต (Internet) - ค้นคว้าข้อมูลได้ทั่วโลก - ติดตามข่าวสารความรู้ได้อย่างรวดเร็ว - สนทนากับผู้ที่อยูห ่ ่างไกล - รับส่งไปรษณีย์ รูปแบบข้อความ ภาพ และเสียงได้ - ใช้ในการเรียนการสอนได้มากมายหลายรูปแบบ เช่นการสอนบน เว็บทางไกล - ข้อมูลที่ได้อาจไม่ถูกต้องเพราะไม่มีใครรับรอง
- ต้องมีการศึกษาใช้งานเพื่อสืบค้นข้อมูล - ประชาชนไม่มีความรู้ด้านไอที เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) - ผู้เรียนใช้ได้ทุกคน - เป็นเทคโนโลยีราคาถูก - ผู้เรียนด้วยเว็บสามารถเรียน ณ ที่ใดที่หนึ่งได้สะดวก - สามารถสื่อสารระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนได้ - การสื่อสารยังใช้แบนด์วิดท์แคบทำาให้สื่อสารการสอนที่ส่งบนเว็บ จำากัดอยู่เพียงข้อความและภาพนิ่งเป็นส่วนมาก - ไม่เหมาะกับวัฒนธรรมบางประเทศที่เคร่งต่อประเพณีเก่า - ผู้เรียนอาจได้ดูเว็บไม่ปกติ
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ - ช่วยในเรื่องของเวลา
(e-mail)
- เปิดโอกาสให้สอบถามเป็นการส่วนตัว - สามารถแบ่งปันข้อมูลกันได้ - ไม่สามารถแสดงความรู้สึกที่เป็นธรรมชาติได้ - อาจเกิดความผิดพลาดในเวลาที่ไม่ต่อเนื่อง การสอนบนเว็บ WBI : (web-based instruction) - ขยายโอกาสให้ผู้เรียนรอบโลก - เรียนด้วยการสื่อสารหลายแบบ - มีการเรียนทั้งแบบประสานเวลาและแบบไม่ประสานเวลา - ผูส ้ อนและเรียนอาจไม่พบหน้ากันเลย อาจทำาให้ผู้เรียนบางคนอึดอัด และไม่สะดวกในการเรียน - ผูส ้ อนต้องใช้เวลาเตรียมการสอนมากกว่าปกติ - ผู้เรียนต้องรู้จักควบคุมการเรียนของตนเองจึงจะประสบผลสำาเร็จใน การเรียนได้ การส่งสัญญาณผ่านดาวเทียม - ถึงแม้จะมีการลงทุนค่อนข้างสูงในเบื้องต้นในเรื่องของห้องสตูดิโอ และอุปกรณ์รับสัญญาณแต่สิ่งเหล่านี้ไม่เป็นสิ่งเปลืองเหมือนวัสดุอื่น
-
เป็นการลงทุนอย่างคุ้มค่าเมื่อเทียบกับความสามารถในการรับบท
เรียนและการสอนเพื่อผู้เรียนกลุ่มใหญ่ - การบรรยายบทเรียนเป็นมาตรฐานเดียวกันสำาหรับผู้เรียนทุกแห่ง - สามารถใช้รูปแบบการสื่อสารสองทางเมื่อใช้ร่วมกับโทรศัพท์ - ต้องใช้ทุนสูงในการเริ่มต้น รวมถึงต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคใน การดำาเนินในการดำาเนินงาน - หากเป็นการรับสัญญาณผ่านโทรทัศน์จะไม่มีลักษณะการยืดหยุ่นใน เรื่องของเวลาและสถานที่เรียนเหมือนการเรียนบนเว็บ - ความจำาเป็นในการอำานวยความสะดวกในการเรียนการสอน การ รักษาความปลอดภัย ต้องเพิ่มงบประมาณมากขึ้นกว่าปกติ
การประชุมทางไกลด้วยวีดีทัศน์ - ประหยัดเวลาในการเดินทางของผู้สอน - ผูส ้ อนไม่จำาเป็นต้องปรับวิธีการสอนมากนักจากวิธีการเรียนในชั้น เรียน
- สามารถส่งภาพและเสียงไปพร้อมกันได้ - หากเป็นการรับภาพทางโทรทัศน์ต้องใช้ต้นทุนสูง ต้องปรับปรุง ห้องเรียนเช่น
มีแสงเพียงพอ ระบบเสียงดี
- หากรับภาพทางอินเทอร์เน็ตต้องใช้กล้องที่มีคุณภาพสูงเพื่อส่งภาพที่ มีคุณภาพซึ่งย่อมมีราคาสูงตามไปด้วย เทคโนโลยีไร้สาย
- ระบบเคลื่อนที่ทำาให้คล่องตัวในการใช้งาน ผู้สอนเป็นอิสระในการ เดินดูผู้เรียนทั่วห้อง และผู้เรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ทุกสถานที่ ไม่จำาเป็นต้องนั่งเฉพาะในห้องเรียน - เกิดความยืดหยุ่นในการเรียนการสอนทั้งรูปแบบและวิธีการ - เชื่อมต่อเว็บได้ทันทีเพื่อการสื่อสารและความร่วมมือในการทำางาน - เพิ่มความสามารถ เพิ่มความสามารถในการทำางานด้วยความเร็วที่ เพิ่มขึ้นกว่าแบบเดิม - ใช้การสื่อสารด้วยเสียงบนอินเทอร์เน็ตได้ในห้องเรียนที่ไม่สามารถ ใช้โทรศัพท์ได้ - ประหยัดค่าใช้จ่ายทำาให้ไม่ต้องเสียค่าเดินสายเคเบิลในอาคารและ บริเวณโดยรอบ
- อุปกรณ์ไร้สายจะมีราคาสูงกว่า อุปกรณ์ใช้สาย - ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มในเรื่องของการ์ดเพื่อการสื่อสารหากใช้ คอมพิวเตอร์รุ่นเก่าที่ไม่มีเสาอากาศไร้สาย