หน่วยที่ 1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับนวัตกรรม(knowledge)

Page 1

ความรู้ พนื้ ฐานเกีย่ วกับนวัตกรรม เทคโนโลยี และสารสนเทศ ความสำ าคัญของนวัตกรรม นวัตกรรมมีความสำาคัญต่อการศึกษาหลายประการ ทั้งนี้เนื่องจากในโลกยุคโลกาภิวตั ต์โลกมีการ เปลี่ยนแปลงในทุกด้านอย่างรวดเร็ ว โดยเฉพาะอย่างยิง่ ความก้าวหน้าทั้งด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ การศึกษาจึงจำาเป็ นต้องมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงจากระบบการศึกษาที่มีอยูเ่ ดิม เพื่อให้ทนั สมัยต่อการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งเพื่อแก้ไขปั ญหาทางด้านศึกษาบาง อย่างที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิ ทธิภาพเช่นเดียวกัน การเปลี่ยนแปลงทางด้านการศึกษาจึงจำาเป็ นต้องมีการศึกษา เกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษาที่จะนำามาใช้เพ่อแก้ไขปัญหาทางการศึกษาในบางเร่ อง เช่น ปั ญหาที่เกี่ยวเนื่อง กัน จำานวนผูเ้ รี ยนที่มากขึ้น การพัฒนาหลักสูตรให้ทนั สมัย การผลิตและพัฒนาสื่ อใหม่ ๆ ขึ้นมาเพื่อตอบ สนองการเรี ยนรู้ของมนุษย์ให้เพิ่มมากขึ้นด้วยระยะเวลาที่ส้ ันลง การใช้นวัตกรรมมาประยุกต์ในระบบการ บริ หารจัดการด้านการศึกษาก็มีส่วนช่วยให้การใช้ทรัพยากรการเรี ยนรู ้เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เช่น เกิด การเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง ขั้นตอนการเกิดหรือกำาเนิดนวัตกรรม สารสนเทศเป็ นปัจจัยสำาคัญของโลกปั จจุบนั ในการกำาหนดแนวทางการพัฒนาการเมืองเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มีความสำาคัญยิง่ ต่อการพัฒนามนุษย์แลสังคมในทุกระดับทำาให้บุคคลสามารถเสริ ม สร้างความรู ้ ที่จะนำาไปใช้ประโยชน์ในการดำารงชีวิตประจำาวัน ทั้งด้านการงานและชีวิตส่ วนตัว ตลอดจน แนวทางแก้ไข การวางแผนและการตัดสิ นได้อย่างเด่นชัดผูใ้ ดที่ใฝ่ รู ้และได้รับ สารสนเทศที่มีคุณค่า ทันสมัย อย่างต่อเนื่อง ผูน้ ้ นั ย่อมได้รับชัยชนะเหนือผูอ้ ื่นและจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอิทธิ พล ำ ต่อการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและการทำางานของมนุษย์ ช่วยลดช่องวางความเหลื่อมล้าในการเข้ าถึง สารสนเทศและความรู้ ทำาให้เกิดสังคมยุคสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ โทรคมนาคมในการทำางานการใช้ชีวิตประจำาวัน และการเรี ยนรู ้ดงั จะเห็นได้ดงั จากบริ บทของคำาต่างๆที่ใช้ เช่น สำานักงานอัตโนมัติ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การศึกษาทางไกลผ่านเครื อข่าย การติดต่อสื่ อสารทาง ไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์และการแพร่ กระจ่ายข้อมูลข่าวสารบนอินเทอร์ เน็ตและเว็บสิ ่ งต่างๆเหล่านี้เป็ นส่ วน หนึ่ง ของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคมสารสนเทศ ซึ่งเป็ นสังคมที่มุ่งเน้นคุณค่าของข้อมูลข่าวสาร มี การจัดเก็บและใช้ประโยชน์ มีการวิจยั และพัฒนาเพื่อค้นคว้าหาข้อมูลข่าวสารใหม่ ๆ กันตลอดเวลาและเกิด ข้อมูลข่าวสารใหม่ที่มีความสำาคัญต่อการวิจยั และพัฒนาต่อไป ในทางกลับกัน เทคโนโลยีสารสนเทศทำาให้ ำ นของโอกาสและความสามารถในการ เกิดช่องว่างทางเศรษฐกิจและสังคมเพิ่มมากขึ้น เกิดความเหลื่อมล้ากั เข้าถึงข้อมูลข่าวสาร จากการที่เทคโนโลยีสารสนเทศแพร่ กระจายไปยังประชาชนของโลกได้ไม่ท ัว่ ถึงและ เท่าเทียมกัน จึงเกิดช่องว่างระหว่างผูม้ ีข่าวสารและผูไ้ ร้ข่าวสารซึ่ งเป็ นสาระที่จาำ เป็ นต้องเร่ งแก้ไข ยิ ง่ กว่านั้น ในสังคมปั จจุบนั ความรู้ใหม่มีมากมายเกินกว่าจะทำาการถ่ายทอดหรื อจดจำาข้อหาสาระได้หมด อีกทั้ง วิทยาการและความรู้ใหม่เกิดขึ้นทุกวัน การเรี ยนรู ้ทกั ษะสารสนเทศในสังคมยุคสารสนเทศจึงจำาเป็ น และ


สำาคัญ ผูเ้ รี ยนต้องมีทกั ษะการสื บค้น ทักษะการติดต่อสื่ อสาร และทักษะการจัดเก็บข้อมูล ควบคู่ไปกับทักษะ ทางด้านภาษา เพื่อใช้ในการศึกษาและการติดต่อสื่ อสาร ทักษะการเรี ยนดังกล่าวเป็ นสิ ่ งที่ตอ้ งเน้นปลูกฝังให้ กับเยาวชน เพื่อให้สามารถเรี ยนรู้ดว้ ยตนเองได้ตลอดชีวิต ขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรมที่มีคุณภาพและประสบความสำาเร็ จในการดำาเนินการทำาโดยการบูรณา การความรู ้ของระเบียบวิจยั ทางคลินิกร่ วมกับการดำาเนินการวิจยั ขณะปฏิบตั ิงานประจำาหรื อที่รู้จกั กันว่า Routine to Research (R to R) มีขอ้ แนะนำาดังนี้ 1. ประเมินความต้องการนวัตกรรม (need analysis) โดยประเมิน สภาพปั ญหาเพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างชัดเจนเพื่อค้นหาความบกพร่ อง ความไม่สมบรู ณ์ของสิ ่ งที่มีอยู่ และ ก่อให้เกิดปั ญหาในการปฏิบตั ิ/ การบริ หารงานการพยาบาล รวมทั้งปั จจัยอุปสรรคที่อาจมีผลขัดขวางการ พัฒนาคุณภาพบริ การจากการใช้นวัตกรรม 2. กำาหนดประเด็นหรื อหัวข้อ ที่ตอ้ งการพัฒนานวัตกรรม ให้มีความเฉพาะเจาะจง ไม่ศึกษาหลายเรื่ องใน เวลาเดียวกัน โดยนวัตกรรมที่จะพัฒนาอาจเป็ น กลวิธี เทคนิค โปรแกรม วัสดุ /อุปกรณ์ การปรับเปลี่ยน สภาพแวดล้อม 3. ทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็ นระบบโดยตรวจสอบว่ามีกี่วิธีที่สามารถช่วยแก้ไขปั ญหาให้ดีข้ึ น การ ประเมินคุณภาพข้อมูลเชิงประจักษ์ทาำ โดย 3.1 สื บค้นวรรณกรรมที่สนับสนุนความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบนวัตกรรม 3.2 ประเมินระดับความน่าเชื่อถือของข้อมูลเชิงประจักษ์ (level of evidence )หากมีประเด็นที่ยงั ไม่มีการทำา วิจยั หรื อพบความขัดแย้งในผลงานวิจยั จึงใช้ความเห็นสอดคล้องของผูเ้ ชี่ยวชาญการวิจยั หรื อการเทียบเคียง ผลของการปฏิบตั ิงานต่างหน่วยงาน 4. สังเคราะห์ขอ้ ความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่มีคุณภาพเมื่อนำามาบูรณาการวางแผนและการออกแบนวัต กรรม 5. ออกแบบนวัตกรรมเพื่อเปลี่ยนแปลงการปฏิบตั ิพยาบาลหรื อการบริ หารจัดการให้ดีข้ึ น 6. กำาหนดวิธีวดั ประสิ ทธิภาพของนวัตกรรมซึ่งอาจมาจากตัวชี้ วดั สุ ขภาพผูป้ ่ วยหรื อตัวชี้วดั คุณภาพของหอผู ้ ป่ วยและองค์กรวิธีวดั ส่วนใหญ่เป็ นการวัดผลโดยใช้ขอ้ มูลเชิงปริ มาณ 7. กำาหนดรายละเอียดของวิธีการใช้นวัตกรรมในคลินิกหรื อในการทดลอง 8.ดำาเนินการศึกษานวัตกรรมในหน่วยงานหรื อองค์กรเป้ าหมาย ตามแผนที่วางไว้ในข้อ 5 ข้อ 6 และข้อ 7


9. ประเมินประสิ ทธิภาพของนวัตกรรม ทั้งในด้านกระบวนการ รู ปแบบและผลลัพธ์ทางสุ ขภาพของผูป้ ่ วย 10.บันทึกโดยสรุ ปผลพร้อมแหล่งอ้างอิงที่ใช้ในการสร้างนวัตกรรมทางคลินิกและการอภิปรายผลลัพธ์ของ นวัตกรรม ความหมายของนวัตกรรม “นวัตกรรม” หมายถึงความคิด การปฏิบตั ิ หรื อสิ่ งประดิ ษฐ์ใหม่ ๆ ที่ ยงั ไม่เคยมีใช้มาก่ อน หรื อเป็ นการ พัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยูแ่ ล้ว ให้ทนั สมัยและใช้ได้ผลดียิง่ ขึ้น เมื่อนำา นวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้ การทำางานนั้นได้ผลดีมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลสู งกว่าเดิ ม ทั้งยังช่วย ประหยัดเวลาและแรงงานได้ ด้วย “นวัตกรรม” (Innovation) มีรากศัพท์มาจาก innovare ในภาษาลาติน แปลว่า ทำาสิ่ งใหม่ข้ ึนมา ความหมาย ของนวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์คือ การนำาแนวความคิดใหม่หรื อการใช้ประโยชน์จากสิ ่ งที่มีอยูแ่ ล้วมาใช้ ในรู ปแบบใหม่ เพื่อทำา ให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิ จ หรื อก็คือ ”การทำา ในสิ่ งที่ แตกต่างจากคนอื่น โดย อาศัย การเปลี่ ย นแปลงต่ า ง ๆ (Change) ที่ เ กิ ด ขึ้ น รอบตัว เราให้ ก ลายมาเป็ นโอกาส (Opportunity) และ ถ่ายทอดไปสู่แนวความคิดใหม่ที่ทาำ ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม” แนวความคิดนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นมา ในช่ วงต้นศตวรรษที่ 20 โดยจะเห็นได้จากแนวคิ ดของนักเศรษฐอุต สาหกรรม เช่ น ผลงานของ Joseph Schumpeter ใน The Theory of Economic Development,1934 โดยจะเน้นไปที่การสร้างสรรค์ การวิจยั และ พัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อันจะนำาไปสู่ การได้มาซึ่ ง นวัตกรรมทางเทคโนโลยี (Technological Innovation) เพื่อประโยชน์ในเชิงพาณิ ชย์เป็ นหลัก นวัตกรรมยังหมายถึงความสามารถในการเรี ยนรู ้และนำา ไปปฎิบตั ิให้เกิดผลได้จริ งอีกด้วย (พันธุ์อาจ ชัยรัตน์ , Xaap.com) คำา ว่ า “นวัต กรรม” เป็ นคำา ที่ ค่ อนข้า งจะใหม่ ใ นวงการศึ ก ษาของไทย คำา นี้ เป็ นศัพ ท์บ ัญ ญัติ ข องคณะ กรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิ การ มาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation มาจากคำากริ ยา ว่า innovate แปลว่า ทำาใหม่ เปลี่ยนแปลงให้เกิดสิ่ งใหม่ ในภาษาไทยเดิมใช้คาำ ว่า “นวกรรม” ต่อมาพบว่าคำา นี้มีความหมายคลาดเคลื่อน จึงเปลี่ยนมาใช้คาำ ว่า นวัตกรรม (อ่านว่า นะ วัด ตะ กำา ) หมายถึงการนำาสิ่ งใหม่ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมจากวิธีการที่ทาำ อยูเ่ ดิม เพื่อให้ใช้ได้ผลดียิง่ ขึ้น ดังนั้นไม่วา่ วงการหรื อกิจการใด ๆ ก็ตาม เมื่อมีการนำาเอาความเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ เข้ามาใช้เพื่อปรั บปรุ งงานให้ดีขึ้ นกว่าเดิมก็เรี ยกได้ว่าเป็ น นวัตกรรม ของวงการนั้น ๆ เช่นในวงการศึกษานำาเอามาใช้ ก็เรี ยกว่า “นวัตกรรมการศึกษา” (Educational Innovation) สำา หรั บ ผู้ที่ ก ระทำา หรื อนำา ความเปลี่ ย นแปลงใหม่ ๆ มาใช้ น้ี เรี ยกว่ า เป็ น “นวัต กร” (Innovator) (boonpan edt01.htm) ทอมัส ฮิวช์ (Thomas Hughes) ได้ให้ความหมายของ “นวัตกรรม” ว่า เป็ นการนำาวิธีการใหม่ ๆ มาปฏิบตั ิ หลังจากได้ผ่านการทดลองหรื อได้รับการพัฒนามาเป็ นขั้น ๆ แล้ว เริ่ มตั้งแต่ การคิ ดค้น (Invention) การ พัฒนา (Development) ซึ่งอาจจะเป็ นไปในรู ปของ โครงการทดลองปฏิบตั ิก่อน (Pilot Project) แล้วจึงนำาไป ปฏิบตั ิจริ ง ซึ่งมีความแตกต่างไปจากการปฏิบตั ิเดิมที่เคยปฏิบตั ิมา (boonpan edt01.htm)


มอร์ ตัน (Morton,J.A.) ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ว่าเป็ นการทำาให้ใหม่ข้ ึนอีกครั้ง(Renewal) ซึ่ งหมายถึง การปรับปรุ งสิ่ งเก่าและพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนหน่วยงาน หรื อองค์การนั้น ๆ นวัตกรรมไม่ใช่ การขจัดหรื อล้มล้างสิ่ งเก่าให้หมดไป แต่เป็ นการ ปรับปรุ งเสริ มแต่งและพัฒนา (boonpan edt01.htm) ไชยยศ เรื องสุ วรรณ (2521 : 14) ได้ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ไว้วา่ หมายถึง วิธีการปฎิบตั ิใหม่ๆ ที่แปลก ไปจากเดิมโดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้ นมาหรื อมีการปรับปรุ งของเก่าให้เหมาะสม และสิ่ งทั้งหลายเหล่านี้ ได้รับการทดลอง พัฒนาจนเป็ นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฎิบตั ิ ทำาให้ระบบ ก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพขึ้ น จรู ญ วงศ์ สายัณห์ (2520 : 37) ได้กล่าวถึงความหมายของ “นวัตกรรม” ไว้วา่ “แม้ในภาษาอังกฤษเอง ความ หมายก็ต่างกันเป็ น 2 ระดับ โดยทัว่ ไป นวัตกรรม หมายถึง ความพยายามใด ๆ จะเป็ นผลสำาเร็ จหรื อไม่ มาก น้อยเพียงใดก็ตามที่เป็ นไปเพื่อจะนำาสิ่ งใหม่ ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงวิธีการที่ทาำ อยูเ่ ดิมแล้ว กับอีกระดับหนึ่ ง ซึ่ งวงการวิทยาศาสตร์ แห่ งพฤติกรรม ได้พยายามศึกษาถึงที่มา ลักษณะ กรรมวิธี และผลกระทบที่มีอยู่ต่อ กลุ่มคนที่เกี่ยวข้อง คำาว่า นวัตกรรม มักจะหมายถึง สิ ่ งที่ได้นาำ ความเปลี่ยนแปลงใหม่เข้ามาใช้ได้ผลสำาเร็ จ และแผ่กว้างออกไป จนกลายเป็ นการปฏิบตั ิอย่างธรรมดาสามัญ (บุญเกื้อ ควรหาเวช , 2543) ความหมายของ “นวัตกรรม” ว่า การกระทำาที่ใหม่ของตนเอง หรื อการกระทำาของตนเองใหม่ สิ่ งใหม่ที่ เกิดจากการใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์ที่มีประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม หลังจากได้ผา่ นการ ทดลองหรื อได้รับการพัฒนามาเป็ นขั้น ๆ แล้ว โดยเริ่ มมาตั้งแต่การคิดค้น (Invention) พัฒนาการ(Development) ซึ่งอาจจะเป็ นไปในรู ปของโครงการทดลองปฏิบตั ิก่อน (Pilot Project) แล้วจึงนำาไปปฏิบตั ิจริ ง ให้ความหมายของนวัตกรรมไว้วา่ นวัตกรรม เป็ นการผสมผสานระหว่าง เครื่ องมือกล และเทคนิคต่างๆ ที่มี3 ลักษณะประกอบกันได้แก่ 1. จะต้องเป็ นการสร้างสรรค์ข้ ึนใหม่ (creative) และเป็ นความคิดที่สามารถปฏิบตั ิได้ (feasible idea) 2. จะต้องสามารถนาไปใช้ได้ผลจริ ง (practical application) 3. มีการเผยแพร่ ออกสู่ชุมชน (Distribution) ให้ความหมายของนวัตกรรม (innovation) ไว้วา่ เป็ นการนาวิธีการใหม่ๆมาปฏิบตั ิ หลังจากได้ผา่ นการ ทดลองหรื อได้รับการพัฒนามาเป็ นขั้นๆแล้ว โดยเริ่ มมาตั้งแต่การ 1. คิดค้น(invention) 2. การพัฒนา(development) หรื อ โครงการทดลองปฏิบตั ิก่อน (pilot project) 3. นาไปปฏิบตั ิจริ ง (implement) ลักษณะของนวัตกรรม 1. นวัตกรรมใหม่อย่างสิ้ นเชิง(Radical Innovation) หมายถึง ขบวนการเสนอสิ่ งใหม่ที่ใหม่อย่างแท้จริ ง สู่สังคม โดยการเปลี่ยนแปลงค่านิยม (value), ความเชื่อ (belief )


2. นวัตกรรม ที่มีลกั ษณะค่อยเป็ นค่อยไป เป็ น ขบวนการการค้นพบ (discover) หรื อ คิดค้นสิ่ ง ใหม่(invent)โดยการประยุกต์ ใช้แนวคิดใหม่ (new idea) หรื อ ความรู ้ใหม่ (new knowledge) ที่มีลกั ษณะต่อ เนื่องไม่สิ้นสุ ด โดยการประยุกต์ใช้ แนวคิดใหม่ หรื อความรู ้ใหม่ ของมนุษย์ และการค้นค้นประเภทขอ นวัตกรรม 1. นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ (Product Innovation) คือ การปรับปรุ งผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นในเชิงพาณิ ชย์ที่ได้ให้ดี ขึ้นหรื อเป็ นสิ่ ง ใหม่ในตลาด นวัตกรรมนี้ อาจจะเป็ นของใหม่ต่อโลก, ต่อประเทศหรื อแม้แต่ต่อองค์กร 2. นวัตกรรมกระบวนการ (Process Innovation) เป็ นการ เปลี่ยนแนวทาง หรื อ วิธีการผลิตสิ นค้า หรื อบริ การ ให้การให้บริ การในรู ปแบบที่แตกต่างออกไปจากเดิม เช่น การผลิตแบบทันเวลาพอดี เทคโนโลยี ความหมายของคำาว่ า “เทคโนโลยี” มีผ้ใู ห้ ความหมายไว้ ดังนี้ พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน (2539 : 406) ได้ให้ความหมายของเทคโนโลยี คือ "วิทยาการที่เกี่ยวกับ ศิลปะในการนำาเอาวิทยาศาสตร์ประยุกต์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบตั ิและอุตสาหกรรม" สิ ปปนนท์ เกตุทัต (ม.ป.ป. 81) อธิบายว่า เทคโนโลยี คือ การนำาความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ และศาสตร์ อื่น ๆ มา ผสมผสานประยุกต์ เพื่อสนองเป้ าหมายเฉพาะตามความต้องการของมนุษย์ดว้ ยการนำาทรัพยากรต่าง ๆ มาใช้ ในการผลิตและจำาหน่ายให้ต่อเนื่องตลอดทั้งกระบวนการ เทคโนโลยีจึงมักจะมีคุณประโยชน์และเหมาะสม เฉพาะเวลาและสถานที่ และหากเทคโนโลยีน้ ันสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อมเทคโนโลยีน้ ันจะเกื้ อกูลเป็ นประโยชน์ท้ ังต่ อบุ คคลและส่ วนรวมหากไม่ สอดคล้อ ง เทคโนโลยี นั้น ๆ จะก่อให้เกิดปัญหาตามมามหาศาล ธรรมนู ญ โรจนะบุรานนท์ (2531 : 170) กล่าวว่า เทคโนโลยี คือ ความรู ้วิชาการรวมกับความรู ้วิธีการ และ ความชำา นาญที่ ส ามารถนำา ไปปฏิ บ ัติ ภ ารกิ จ ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง โดยปกติ เ ทคโนโลยี น้ั น มี ค วามรู ้ วิทยาศาสตร์ รวมอยูด่ ว้ ย นั้นคือวิทยาศาสตร์เป็ นความรู ้ เทคโนโลยีเป็ นการนำาความรู ้ไปใช้ในทางปฏิบตั ิ จึง มักนิ ยมใช้สองคำาด้วยกัน คือ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพื่อเน้นให้เข้าใจว่า ทั้ งสองอย่างนี้ ตอ้ งควบคู่กนั ไปจึงจะมีประสิ ทธิภาพสูง จากการที่ มีผูใ้ ห้ความหมายไว้หลากหลาย สรุ ปได้ว่า “เทคโนโลยี” หมายถึ ง วิชาที่ นาำ เอาวิทยาการทาง วิทยาศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ มาประยุกต์ใช้ในทางปฎิบตั ิ กอปรกับการนำาเอาความชำานาญในเรื่ องนั้นๆ เข้า มาใช้เพื่อให้ภารกิจนั้นมีประสิ ทธิภาพสูงขึ้น บีแฮนและโฮลัมส์ ให้ความหมายไว้ว่า "เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง เทคโนโลยีที่ทาำ ให้มนุ ษย์สามารถ สร้างระบบสารสนเทศได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ จนทำาให้เกิดประสิ ทธิ ผลและประโยชน์อย่างมหาศาล ได้แก่ การใช้ทาำ เบียนข้อมูล การจัดเก็บ การประมวลผลการค้นคืน การส่ งและรับสารสานเทศต่าง ๆ


มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช ให้ความหมายว่า "เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีทุกอย่างที่ เกี่ ย วข้อ งกับ สารสนเทศ เมจากเทคโนโลยีเ ดิ ม ที่ ใ ช้ใ นการจัด เก็บ ประมวลผล แสดงผล และเผยแพร่ สารสนเทศในรู ปของข้อมูล ข้อความและเรื่ อง โดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีโทรคมนา คมลูคัส จูเนียร์ (Lucas,JR 1997 : 7 ) กล่าวว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง รู ปแบบของเทคโนโลยีทุก ประเภท ที่นาำ มา ประยุกต์ใช้ เพื่อการประมวลผล การจัดเก็บ สรุ ป "เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ทาำ ให้เกิดวิธีการใหม่ ๆ ในการจัดเก็บข้อมูล ข่ า วสาร ความรู้ การประมวลผล แสดงผล การเข้า ถึ ง สารสนเทศ การรั บ สารสนเทศ และการจัด การ สารสนเทศให้มีประสิ ทธิภาพ เทคโนโลยี หมายถึง ทุกสิ่ งทุกอย่า งที่ เ กี่ ย วกับการผลิ ต การสร้ างและการใช้สิ่ งของ กระบวนการ หรื อ อุปกรณ์ที่ไม่ได้มีในธรรมชาตินนั่ เองเทคโนโลยีเป็ นการใช้อย่างเป็ นระบบของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ หรื อ ความรู ้ต่างๆที่รวบรวมไว้มาใช้อย่างเป็ นระบบเพื่อนาไปสู่ผลในทางปฏิบตั ิ เทคโนโลยี หมายถึง สิ่ งที่มนุ ษย์พฒั นาขึ้น เพื่อช่วยในการทำางานหรื อแก้ปัญหาต่าง ๆ เข่น อุปกรณ์ , เครื่ อง มือ, เครื่ องจักร, วัสดุ หรื อ แม้กระทัง่ ที่ไม่ได้เป็ นสิ่ งของที่ จบั ต้องได้ เช่ น กระบวนการต่างๆ เทคโนโลยี เป็ นการประยุกต์ นำาเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มาใช้ และก่อให้เกิดประโยชน์ ในทางปฏิบตั ิแก่มวลมนุ ษย์ กล่ า วคื อ เทคโนโลยีเ ป็ นการนำา เอาความรู้ ทางวิ ท ยาศาสตร์ ม าใช้ในการประดิ ษ ฐ์สิ่ งของต่ า ง ๆให้เ กิ ด ประโยชน์สูงสุด ส่วนที่เป็ นข้อแตกต่างอย่างหนึ่งของเทคโนโลยี กับวิทยาศาสตร์ คือเทคโนโลยีจะขึ้ นอยูก่ บั ปั จจัย ทางเศรษฐกิจเป็ นสิ นค้ามีการซื้ อขาย ส่ วนความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ เป็ นสมบัติส่วนรวมของ ชาวโลกมี การเผยแพร่ โดยไม่มีการซื้ อขายแต่อย่างใดกล่าวโดยสรุ ปคือ เทคโนโลยีสมัยใหม่เกิดขึ้ นโดยมีความรู ้ทาง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ ป็ น ฐ า น ร อ ง รั บ นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation ) “นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation )” หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้การศึกษา และการ เรี ยนการสอนมีประสิ ทธิภาพดียิง่ ขึ้น ผูเ้ รี ยนสามารถเกิดการเรี ยนรู ้อย่างรวดเร็ วมีประสิ ทธิ ผลสูงกว่าเดิม เกิด แรงจูงใจในการเรี ยนด้วยนวัตกรรมการศึกษา และประหยัดเวลาในการเรี ยนได้อีกด้วย ในปั จจุบนั มีการใช้ นวัตกรรมการศึกษามากมายหลายอย่าง ซึ่ งมีท้ังนวัตกรรมที่ใช้กนั อย่างแพร่ หลายแล้ว และประเภทที่กาำ ลัง เผยแพร่ เช่น การเรี ยนการสอนที่ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer Aids Instruction) การใช้แผ่นวิดีทศั น์ เชิ งโต้ต อบ (Interactive Video) สื่ อหลายมิ ติ ( Hypermedia ) และอิ น เทอร์ เน็ ต [Internet] เหล่ านี้ เป็ นต้น (วารสารออนไลน์ บรรณปั ญญา.htm)“นวัตกรรมทางการศึกษา” (Educational Innovation) หมายถึง การนำา เอาสิ่ งใหม่ซ่ ึ งอาจจะอยูใ่ นรู ปของความคิดหรื อการกระทำา รวมทั้งสิ่ งประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบการ ศึกษา เพื่อมุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่ งที่มีอยูเ่ ดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้น ทำาให้ผเู ้ รี ยน สามารถเกิดการเรี ยนรู้ได้อย่างรวดเร็ วเกิดแรงจูงใจในการเรี ยน และช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรี ยน เช่น


การสอนโดยใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอน การใช้ วี ดิ ท ั ศ น์ เ ชิ ง โต้ ต อบ (Interactive Video) สื่ อ หลายมิ ติ (Hypermedia) และอินเตอร์เน็ต เหล่านี้ เป็ นต้น ซึ่งมีองค์ประกอบ 5 ส่วนคือ 1. ข้อมูล เป็ นตัวเลข ข้อความ เสี ยงและภาพ เป็ นข้อมูล ป้ อนเข้า 2. การประมวลผล เป็ นการกำาหนดความสัมพันธ์ของข้อมูล จัดกระทำาข้อมูล เพื่อ ให้เหมาะสมต่อการนำาไป ใช้ 3. การจัดเก็บ เป็ นวิธีการที่จะเก็บข้อมูลให้เป็ นระบบที่สะดวกต่อการใช้ และ สามารถแก้ไขปรับปรุ งให้เป็ น ปั จจุบนั 4. เทคโนโลยีเป็ นเครื่ องมือที่ช่วยในการเก็บข้อมูล การประมวลผลทำา ให้เกิดผล ผลิต ได้แก่ คอมพิวเตอร์ โปรแกรมสำาเร็ จรู ป อุปกรณ์การสื่ อสาร เป็ นต้น 5. สารสนเทศ ผลผลิตของระบบสารสนเทศจะต้องถูกต้อง ตรงกับความต้อง การใช้ และทันต่อเหตุการณ์ใช้ งาน การผลิตสารสนเทศจากข้อมูล การผลิตสารสนเทศ จะมีข้ นั ตอนหรื อวิธีการต่างๆ ในการปฏิบตั ิ 9 วิธี ดังนี้ การผลิตสารสนเทศจากข้อมูล 1. การรวบรวม (Capturing) เป็ นการดำาเนินการเพื่อรวบรวมและบันทึกข้อมูลให้ อยูใ่ นรู ปแบบใดรู ปแบบ หนึ่ง เพื่อการประมวลผล เช่น การบันทึกไว้ในแฟ้ มเอกสาร หรื อด้วย เครื่ องคอมพิวเตอร์ การรวบรวมทำาได้ โดยการสังเกตการสัมพันธ์ การทำาแบบสอบถาม การ ทดสอบและการใช้แบบสำารวจ ข้อมูลที่ได้จะต้องมี คุณลักษณะ สำาคัญ 2 ประการ คือ ความ ตรงตามความต้องการที่กาำ หนดไว้ และมีความเชื่อถือได้ 2. การตรวจสอบ (Verifying) เป็ นขั้นตอนสำาคัญในระบบการผลิตสารสนเทศ ทำาขึ้นเพื่อให้มนั่ ใจว่า ข้อมุล ได้รับการรวบรวม และบันทึกเอาไว้อย่างถูกต้อง การตรวจสอบ ข้อมูลเป็ นการค้นหา รวบรวมข้อมุลที่ยงั มี ความผิดพลาดโดยทัว่ ไป จะกระทำาได้ 3 ลักษณะคือ 2.1 การตรวจสอบความเป็ นไปได้ หรื อความสมเหตุ สมผลของข้อมูล 2.2 การตรวจสอบความสอดคล้องกัน 2.3 ตรวจสอบความสัมพันธ์ของข้อมูล เป็ นการตรวจสอบความถูกต้องของ ข้อมูล โดยอาศัยความสัมพันธ์ ของข้อมูลเป็ นเกณฑ์ 3. การจำาแนก (Classifying) เป็ นการกำาหนดหลักการแบ่งประเภทข้อมูล เป็ น หมวดหมู่หรื อเป็ นกลุ่ม ตาม คุณสมบัติของข้อมูลในลักษณ์ ที่หมาะสมมีความหมายและเป็ น ประโยชน์แก่ผใู ้ ช้ โดยการกำาหนดสิ่ งที่ เหมือนกันไว้ดว้ ยกัน 4. การจัดเรี ยงลำาดับ (Arranging) ภายหลังที่มีการจำาแนกข้อมูลและการกำาหนด รหัสข้อมูลแล้ว จำาเป็ นต้อง จัดวางโครงสร้างของแฟ้ มข้อมูล ว่าจะจัดเรี ยงลำาดับระเบียบ ข้อมูลในแฟ้ มข้อมูลอย่างไร


5. การสรุ ป (Summarizing) เป็ นการจัดรวบรวมข้อมูลเข้าด้วยกันหรื อแบ่ง กลุ่มข้อมูล และรวบยอดของ แต่ละกลุ่ม เพื่อเตรี ยมคำานวณหาค่าดัชนี หรื อสารสนเทศในขั้น ต่อไป การสรุ ปหรื อการรวบรวมยอดข้อมูลนี้ มีประโยชน์ในการตรวจสอบความแนบนัย ของ ข้อมูลอีกด้วย 6. การคำานวณ (Calculating) เป็ นขั้นตอนสำาคัญที่จะจัดการทำาข้อมูลให้เป็ น สารสนเทศ ที่อาศัยกระบวนการ ของคณิ ตศาสตร์ มาจัดกระทำากับข้อมูล ในรู ปความสัมพันธ์ กัน เช่น อัตราส่ วน สัดส่ วน และเลขดัชนี เพื่อ ให้ได้สารสนเทศที่มีความหมายตามความต้องการ ของผูใ้ ช้ที่ได้กาำ หนดไว้แล้ว 7. การจัดเก็บ (Storing) หลังจากที่ได้คาำ นวณได้ค่าสารสนเทศหรื อดัชนีต่างๆ แล้ว ขั้นตอนต่อมาคือ การจัด เก็บเพื่อการบริ การว่าจะต้องจัดเก็บทำาข้อมูลพื้นฐานและสารสนเทศที่ผา่ นการจัดกระทำาด้วยมือหรื อเครื่ อง คอมพิวเตอร์ 8. การเรี ยกใช้ (Retrieving) เป็ นกระบวนการค้นหา และดึงข้อมูลที่ตอ้ งการออก จากสื่ อ ที่ใช้เพื่อปรับปรุ ง ข้อมูลให้เป็ นปัจจุบนั หรื อเพื่อให้บริ การและคำาตอบแก่ผใู ้ ช้ 9. การเผยแพร่ (Disseminating and Reproducing) เป็ นเป้ าหมายสุ ดท้าย ของการดำาเนินการสารสนเทศ คือ การเผยแพร่ สารสนเทศให้กบั ผูใ้ ช้ในรู ปแบบต่างๆ ทำาให้แบบ เอกสาร รายงานหรื อการเสนอบนจอภาพ ประโยชน์ ของเทคโนโลยีทั่วไป 1 ลดแรงงานคนในการทำางานต่าง ๆ เช่น ควบคุมการผลิต และช่วยในการคำานวณ 2 เพิม่ ความสะดวกสบายตั้งแต่ส่วนบุคคล จนถึงการคมนาคมและสื่ อสารทัว่ โลก 3 เป็ นแหล่งความบันเทิง 4 ได้ผลผลิตที่มีมาตรฐาน เหมือนกันหมดทุดชิ้น 5 ลดต้นทุนการผลิต 6 ทำาให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีข้ ึน 7 ทำาให้เกิดความเท่าเทียมกันในสังคม และ เกิดการกระจายโอกาศ 8 ทำาให้เกิดสื่ อการเรี ยนการสอนต่างๆมากขึ้น 9 ทำาให้เกิดการจัดการทรัพยากรธรรมชาติได้ดียิง่ ขึ้น 10 ทำาให้เกิดระบบการป้ องกันประเทศที่มีประสิ ทธิ ภามมากยิง่ ขึ้น 11 ในกรณี ของอินเตอร์เน็ต ผูใ้ ช้สามารถเลือกการผ่อนคลายได้ตามอิสระ โทษของเทคโนโลยีทวั่ ไป ำ น แก็ส และถ่านหิ น จนกระทั้งน้าำ 1 สิ้ นเปลืองทรัพยากร เช่น น้ามั 2 เปลี่ยนสังคมชาวบ้าน ให้กลายเป็ นวัตถุนิยม 3 ทำาให้มนุษย์ขาดการออกกำาลังกาย 4 ทำาให้เกิดปัญหาการว่างงาน เพราะใช้แรงงานเครื่ องจักรแทนแรงงานคน 5 ทำาให้เสี ยเวลา ทั้งจากรายการไร้สาระในโทรทัศน์ จนกระทัง่ นัก chat


6 หากใช้เว็บไซด์จาำ พวก Social Network จะทำาให้ผใู ้ ช้มีโลกเป็ นของตนเอง ขาดการติดต่อกับผูอ้ ื่น สารสนเทศ หมายถึง เนื้ อหา ข้อมูล ข่าวสาร ที่นาำ ไปใช้ประโยชน์ต่อการดำาเนินชีวิตได้ ลักษณะสารสนเทศที่ดี เนื้อหาความสมบูรณ์ครอบคลุมความสัมพันธ์กบั เรื่ อง มีความถูกต้องความเชื่อถือได้การตรวจสอบได้ รู ป แบบชัดเจน ระดับรายละเอียด รู ปแบบการนำาเสนอ สื่ อการนำาเสนอ ความยืดหยุน่ ประหยัดเวลา ความ รวดเร็ วและทันใช้ การปรับปรุ งให้ทนั สมัย มีระยะเวลา กระบวนการ ความสามารถในการเข้าถึงการมีส่วน ร่ วม การเชื่อมโยง ความแตกต่ างระหว่ างนวัตกรรมและเทคโนโลยี นวัตกรรม เป็ นการผสมผสานระหว่างเครื่ องมือและเทคนิคต่างๆ ที่มีลกั ษณะประกอบกันได้แก่ 1. จะต้อง เป็ นการสร้างสรรค์ข้ ึนใหม่ และเป็ นความคิดที่สามารถปฏิบตั ิได้ 2. จะต้อง สามารถนำาไปใช้ได้ผล จริ ง 3. มีการเผย แพร่ ออกสู่ชุมชน ส่วนเทคโนโลยี หมายถึง การนำาความรู ้ทางวิทยาศษสตร์ มาเป็ นวิธีการ ปฏิบตั ิและประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทำางานหรื อแก้ปัญหาต่าง ๆ อันก่อให้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่ องมือ เครื่ องจักร แม้กระทัง่ องค์ความรู้เช่น ระบบหรื อกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้การดำารงชีวิตของมนุษย์ง่ายและ สะดวกยิ่งขึ้น ความแตกต่างของนวัตกรรมและเทคโนโลยี นวัตกรรมเป็ นการคิดค้นวัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ ใหม่ๆ หรื อทำาการปรับปรุ งของเก่าให้ได้สิ่งที่มีประสิ ทธิ ภาพมากกว่าเดิม ส่ วนเทคโนโลยี คือการนำาเอา วิทยาศาสตร์ มาใช้ให้เกิดประโยชนืในการดำาเนินงานต่างๆ อย่างมีระบบ หรื อจากการนำานวัตกรรมมาพิสูจน์ ตามขั้นตอนทางวิทยาศาสตร์ ผลผลิตจากผลการพิสูจน์ได้ถูกนำามาใช้อย่างมีระบบเพื่อแก้ปัญหาต่างๆให้เกิด ประสิ ทธิ ภาพ สารสนเทศ สารสนเทศหมายถึงคุณภาพของข้อความจากผูส้ ่ งไปหาผูร้ ับ สารสนเทศจะประกอบไปด้วย ขนาดและ เหตุการณ์ของสารสนเทศนั้น สารสนเทศสามารถแทนข้อมูลที่มีความถูกต้องและความแม่นยำาหรื อไม่มีกไ็ ด้ ซึ่งสามารถเป็ นได้ท้ งั ข้อเท็จจริ งหรื อข้อโกหกหรื อเป็ นเพียงเหตุการณ์หนึ่งที่เกิดขึ้ น สารสนเทศจะเกิดขึ้น เมื่อมีผสู ้ ่ งข้อความและผูร้ ับข้อความอย่างน้อยฝ่ ายละหนึ่งคนซึ่งทำาให้เกิดการสื่ อสารของข้อความและเข้าใจ ในข้อความเกิดขึ้น ซึ่งมีลกั ษณะใกล้เคียงกับ ความหมาย ความรู ้ คำาสัง่ การสื่ อสาร การแสดงออก และการก ระตุน้ ภายใน การส่ งข้อความที่มีลกั ษณะเป็ นสารสนเทศ ใน ความสำ าคัญของสารสนเทศ ประโยชน์ ที่ได้จากการจัดการทรัพยากรสารสนเทศคือ 1.รวบรวมข้อมูลจากภายในและภายนอกที่มีความจำาเป็ นต่อหน่วยงาน 2.ประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศที่มีประโยชน์นาำ ไปใช้งานได้ 3.มีระบบการจัดเก็บข้อมูลให้เป็ นหมวดหมู่ สะดวกต่อการค้นหาและนำาไปใช้ 4.ปรับปรุ งข้อมูลให้อยูใ่ นสภาพที่ถูกต้อง ทันสมัยอยูเ่ สมอ


ประโยชน์ ที่ได้จากระบบสารสนเทศทีม่ ีต่อการบริหารงานในองค์ กร คือ 1.เพื่อการวางแผน กำาหนดเป้ าหมายและนโยบายในการบริ หารองค์กร 2.สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ ว 3.ช่วยเพิ่มประสิ ทธิภาพในการทำางานของบุคลากรในองค์กร 4.ช่วยให้การทำางานรวดเร็ว ถูกต้อง การบริ หารงานในองค์กรมีประสิ ทธิ ภาพ 5.ใช้ควบคุมระบบการทำางานในองค์กรให้ดาำ เนินไปตามนโยบายที่กาำ หนดไว้ 6.องค์กรมีมาตรฐานและคุณภาพในการดำาเนินงาน ทำาให้ได้รับความเชื่อถือ 7.สร้างโอกาสในการลงทุน ทำาให้มีการขยายองค์กรให้เจริ ญเติบโตยิง่ ขึ้น 8.สามารถแข่งขันกับองค์กรอื่น ๆ ได้ สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการดำาเนินชีวิตของมนุษย์ มนุษย์แต่ละคนตั้งแต่เกิดมาได้เรี ยนรู ้สิ่ง ต่าง ๆ เป็ นจำานวนมาก เรี ยนรู้สภาพสังคมความเป็ นอยู่ กฎเกณฑ์และวิชาการ ลักษณะสารสนเทศที่ดี -เนื้อหา -ความสมบูรณ์ครอบคลุม -ความสัมพันธ์กบั เรื่ อง-ความถูกต้อง -ความเชื่อถือได้ -การตรวจสอบได้ -รู ปแบบ -ชัดเจน -ระดับรายละเอียด -รู ปแบบการนำาเสนอ -สื่ อการนำาเสนอ -ความยืดหยุน่ -ประหยัด -เวลา -ความรวดเร็ วและทันใช้ -การปรับปรุ งให้ทนั สมัย -มีระยะเวลา -กระบวนการ ความสามารถในการเข้าถึง -การมีส่วนร่ วม -การเชื่อมโยง ลักษณะสำ าคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยเพิม่ ผลผลิต ลดต้นทุน และเพิม่ ประสิ ทธิ ภาพในการทำางาน เทคโนโลยีสารสนเทศเปลี่ยนรู ปแบบการบริ การเป็ นแบบกระจาย เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นสิ่ งที่จาำ เป็ น สำาหรับการดำาเนินการในหน่วยงานต่าง ๆ เทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวข้องกับคนทุกระดับ ความสำ าคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ดงั นี้ 1. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำานวนมหาศาลของแต่ละวัน 2. ช่วยเพิ่มประสิ ทธิภาพการผลิตสารสนเทศ เช่น การคำานวณตัวเลขที่ยงุ่ ยากซับซ้อน การจัดเรี ยง ลำาดับสารสนเทศ เป็ นต้น 3. ช่วยให้เก็บสารสนเทศไว้ในรู ปที่สามารถเรี ยกใช้ได้ทุกครั้ งอย่างสะดวก 4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติเพื่อการจัดเก็บ ประมวลผล และเรี ยกใช้สารสนเทศ 5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ ว มีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้ น 6. ช่วยในการสื่ อสารระหว่างกันได้สะดวก ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลาและระยะทางโดยการใช้ระบบ โทรศัพท์และอื่น ๆ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.