หลัก การ แนวคิด ทฤษฎีเ กีย ่ วกับ นวัต กรรม เทคโนโลยี และ สารสนเทศ
กระบวนการของนวัต กรรม
ขั้น ความคิด
ขั้น พัฒ นา
ขั้น เสาะแสวงหาโอกาส ขั้น แพร่ กระจาย
1. ขั้นความคิด คือ การนึก คิด แนวทางหรือ กระบวนการแห่งนวัตกรรมนั้นๆขึ้นมา เพือ ่ ตอบสนอง ความต้องการบางอย่างของมนุษย์ทงั้ ในทิศทางบวก และ ทิศทางลบ 2.ขั้นเสาะแสวงหาโอกาส คือ การใช้โอกาสในวาระ ต่างๆ นำาเอานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ หรือแนวคิดนั้นๆไป ทดลองใช้ 3.ขั้นพัฒนา คือ การนำานวัตกรรมทีส ่ ร้างขึ้นไปปรับใช้ เปลี่ยนแปลง ให้เกิดภาวการณ์ก้าวข้ามผ่านสิง่ เก่า 4. ขั้นแพร่กระจาย คือ นวัตกรรมนัน ้ ๆได้รับการนำาไปใช้ ในวงกว้าง อย่างแพร่หลาย จนกลายเป็นเทคโนโลยีใน อนาคต
ปัจจัยสำ ำคัญทีม่ ีอทิ ธิพลอันมีผลทำำให้ เกิดนวัตกรรม 1. แนวความคิดพื้นฐานในเรื่ องความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อสนองแนวความคิดพื้นฐานนี้ เช่น
- การเรี ยนแบบไม่แบ่งชั้น (Non-Graded School) - แบบเรี ยนสำาเร็ จรู ป (Programmed Text Book) - เครื่ องสอน (Teaching Machine) - การสอนเป็ นคณะ (Team Teaching) - การจัดโรงเรี ยนในโรงเรี ยน (School within School) - เครื่ องคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction)
2. แนวความคิดพื้นฐานในเรื่ องความพร้อม (Readiness) นวัตกรรมที่สนองแนว ความคิดพื้นฐานด้านนี้ เช่น - ศูนย์การเรียน (Learning Center) - การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School) -การปรับปรุ งการสอนสามชั้น (Instructional Development in 3 Phases)
3. แนวความคิดพื้นฐานในเรื่ องการใช้เวลาเพื่อการศึกษา นวัตกรรมที่สนองแนว ความคิด เช่น - การจัดตารางสอนแบบยืดหยุ่น (Flexible Scheduling) - มหาวิทยาลัยเปิด (Open University) - แบบเรียนสำาเร็จรูป (Programmed Text Book) - การเรียนทางไปรษณีย์
4. แนวความคิดพื้นฐานในเรื่ องการขยายตัวทางวิชาการและอัตราการเพิม่ ประชากรนวัตกรรม ในด้านนี้ที่เกิดขึ้น เช่น - มหาวิทยาลัย เปิด - การเรียนทางวิทยุ การเรียนทางโทรทัศน์ - การเรียนทางไปรษณีย์ แบบ เรียนสำาเร็จรูป - ชุดการ เรียน
เกณฑ์การพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมมี 4 ประการ คือ 1. นวัตกรรมจะต้องเป็นสิ่งใหม่ทงั้ หมด หรือบาง ส่วนอาจเป็นของเก่าใช้ไม่ได้ผลในอดีต แต่นำามา ปรับปรุงใหม่ หรือเป็นของปัจจุบันทีเ่ รานำามา ปรับปรุงให้ดีขึ้น 2. มีการนำาวิธีการจัดระบบมาใช้ โดยพิจารณาองค์ ประกอบทั้งส่วนข้อมูลที่นำาเข้าไปในกระบวนการ และผลลัพธ์ โดยกำาหนดขั้นตอนการดำาเนินการ ให้เหมาะสมก่อนทีจ ่ ะทำาการเปลี่ยนแปลง
3. มีการพิสูจน์ด้วยการวิจัยหรืออยูร่ ะหว่างการวิจัยว่า "สิง่ ใหม่" นัน ้ จะช่วยแก้ปัญหาและการดำาเนินงานบาง อย่างได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงขึ้นกว่าเดิม 4. ยังไม่เป็นส่วนหนึง่ ของระบบงานในปัจจุบันหาก "สิง่ ใหม่" นัน ้ ได้รับการเผยแพร่และยอมรับจนกลาย เป็นส่วนหนึ่งของระบบงานที่ดำาเนินอยูใ ่ นขณะนั้น ไม่ถือว่าสิง่ ใหม่นน ั้ เป็น นวัตกรรมแต่จะเปลี่ยน สภาพเป็นเทคโนโลยีอย่างเต็มที่
นวัตกรรมมีควำมสำ ำคัญต่ อกำรศึกษำหลำยประกำร การใช้นวัตกรรมมาประยุกต์ในระบบการบริ หารจัดการด้านการศึกษาก็มีส่วนช่วย ให้การใช้ทรัพยากรการเรี ยนรู ้เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เพือ ่ ให้ทน ั สมัยต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และ สภาพสังคมทีเ่ ปลี่ยนแปลงไป เพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านการศึกษาบางอย่างทีเ่ กิดขึ้น อย่างมีประสิทธิภาพ เพือ ่ ตอบสนองการเรียนรู้ของมนุษย์ให้เพิม ่ มาก ขึ้นด้วยระยะเวลาทีส ่ ั้นลง เพือ ่ แก้ไขปัญหาทางด้านการ ศึกษาในบางเรื่อง
สาเหตุก ารเกิด ขึน ้ ของนวัต กรรมการศึก ษา 1. การเพิ่มปริมาณของผู้เรียน 2. การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเป็นไปอย่าง รวดเร็ว 3. การเรียนรู้ของผู้เรียนมีแนวโน้มในการเรียนรู้ด้วย ตนเองมากขึ้น 4. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและ เทคโนโลยีโทรคมนาคม
ประเภทของนวัต กรรมการศึก ษา 1. นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เช่น หลักสูตร บูรณาการ หลักสูตรรายบุคคล หลักสูตรกิจกรรม และประสบการณ์ หลักสูตรท้องถิ่น 2. นวัตกรรมการเรียนการสอน เช่น การสอนแบบ ศูนย์การเรียน การใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ การสอนแบบเรียนรู้ร่วมกัน และการเรียนผ่านเครือ ข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
3. นวัตกรรมสื่อการสอน เช่น CAI WBI WBT VC Web Quest Weblog 4. นวัตกรรมการประเมินผล เช่น การพัฒนาคลัง ข้อสอบ การลงทะเบียนผ่านทางเครือข่าย คอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต การใช้บัตรสมาร์ ตการ์ด เพื่อการใช้บริการของสถาบันศึกษา การใช้คอมพิวเตอร์ในการตัดเกรด 5. นวัตกรรมการบริหารจัดการ เช่น ฐานข้อมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์และ บุคลากร
การนำา นวัต กรรม มาใช้ใ นการศึก ษาและ ใช้ใ นการเรีย นการสอน ต้อ งคำา นึง ถึง ความสำา คัญ 3 ประการ คือ
1. ประสิทธิภาพ (Efficiency)
2. ประสิทธิผล (Productivity)
3. ประหยัด (Economy)
1. ประสิ ทธิ ภาพ (Efficiency) ในการเรี ยนการสอนต้องให้ผเู ้ รี ยนผูส้ อน ได้เรี ยนและได้สอนเต็มความสามารถเต็มหลักสูตรเต็มเวลาด้วยความ พึงพอใจ เกิดการเรี ยนรู ้ตามจุดประสงค์เต็มความสามารถ (Full Energy) และเกิดความพอใจ (Satisfaction) เป็ นที่ได้ใช้สื่อนั้น
2. ประสิ ทธิ ผล (Productivity) ในการจัดการเรี ยนการสอนให้บรรลุจุดประสงค์ตาม ที่กาำ หนดจุดประสงค์ไว้ซ่ ึงนักเรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้บรรลุจุดประสงค์ได้ดีกว่า สู งกว่า ไม่ใช้สื่อนั้น
3. ประหยัด (Economy) ในการใช้นวัตกรรมมาช่วยในการจัดการเรี ยนการสอน ต้องคำานึงถึงสภาพความเหมาะสมตามฐานะแล้ว จะต้องประหยัด นัน่ คือ ประหยัดทั้งเงินประหยัดเวลา และประหยัดแรงงาน