ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เสนอ อาจารย์สุจติ รา จัดทาโดย นางสาวสุกญั ญา ชูศรีวาส นายธีรวัฒน์ คาสุข นายธวัช ทองหล่อ
ระบบและวิธีการเชิงระบบ
ระบบ (System) หมายถึ ง การท างานของ องค์ป ระกอบย่อ ย ๆแต่ มี ป ฏิ สัม พัน ธ์ ซ่ ึ ง กัน และกัน จน กลายเป็ นโครงสร้ างที่ สมบรู ณ์ของแต่ ละงาน สามารถ ปรับปรุ งและตรวจสอบแก้ไขได้ทุกขั้นตอนระบบจึงเป็ น หัวใจสาคัญของงานหรื อการดาเนินงานทุกประเภท
วิธีการเชิงระบบ (System Approach) วิธีเชิงระบบหรื อ ระบบคือคาๆคาเดี ยวกันเป็ นกระบวนการคิดหรื อการ ทางานอย่างมีแบบแผนชัดเจนในการนาเนื้ อหาความรู ้ ด้ า นต่ า งๆ ซึ่ งอาจจะเป็ นวิ ธี การหรื อผลผลิ ต มา ประยุก ต์ใ ช้อ ย่า งเป็ นขั้น ตอน เพื่ อ ให้ก ารด าเนิ น งาน บรรลุวตั ถุประสงค์อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพนอกจากนี้ วิธี ระบบยังเป็ นการช่ วยป้ องกันและแก้ไขข้อบกพร่ องที่ เกิดขึ้นด้วย
องค์ ประกอบของวิธีระบบ วิธีระบบมีองค์ประกอบสาคัญ 3 ประการ
1.ปัจจัยนาเข้า (Input) หมายถึง วัตถุสิ่งของต่างๆ รวมถึงเหตุการณ์ สถานการณ์ วัตถุประสงค์ ปั ญหา ความต้องการ ข้อกาหนด กฎเกณฑ์ อันเป็ นต้นเหตุ ของประเด็นปัญหา
2.กระบวนการ( Process) หมายถึง วิธีการ ขั้นตอน ในการปฏิบตั ิงาน การสร้างสรรค์ การแก้ไขปั ญหา เกี่ ย วกับ เนื้ อ หาและปั จ จัย และเนื้ อ หาน าเข้า ให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์หรื อความต้องการ
3.ผลลั พ ธ์ (Output) หมายถึ ง ผลงานที่ ไ ด้ จ าก กระบวนการจัดการวัตถุดิบหรื อปั จจัยนาเข้าผลงานที่ ได้รั บ อาจจะเป็ นวิ ธี ก ารหรื อ ชิ้ น งานก็ไ ด้ ซึ่ ง สามารถ ประเมินผลและตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับ (feedback)ได้
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ (Information System) คือการประมวลผลข้อมูลข่าวอย่างเป็ นขั้นตอนและ เป็ นกระบวนการเพื่อให้ขอ้ มูลในรู ปของข่าวสารที่ เป็ นประโยชน์ สู ง สุ ด และเป็ นข้อ สรุ ป ที่ ส ามารถ นาไปใช้สนับสนุนการบริ หาร และการตัดสิ นใจ ทั้ง ในระดับปฏิบตั ิการ ระดับกลาง และระดับสูง
ระบบสารสนเทศจึงเป็ นระบบที่จดั ตั้งขึ้น เพื่อปฏิบตั ิการ เกี่ยวกับข้อมูล ดังต่อไปนี้ •รวบรวมข้อมูลทั้งภายใน ภายนอก ที่จาเป็ นต่อหน่วยงาน •จัดกระทาเกี่ยวกับข้อมูลเพื่อให้เป็ นสารสนเทศที่พร้อมจะใช้ประโยชน์ได้ •จัดให้มีระบบเก็บเป็ นหมวดหมู่ เพื่อสะดวกต่อการค้นหาและนาไปใช้ •มีการปรับปรุ งข้อมูลเสมอเพื่อให้อยูใ่ นสภาพที่ถูกต้องและเป็ นปั จจุบนั ตลอดเวลา
องค์ ประกอบของระบบสารสนเทศ
1.องค์ประกอบหลักของระบบสารสนเทศ ระบบการคิ ด หมายถึ ง กระบวนการและขั้น ตอนในการ จัด ล าดับ จ าแนก แจกแจง และจัด หมวดหมู่ ข ้อ มู ล ต่ า งๆเพื่ อ ความ สะดวกในการจัดเก็บและเผยแพร่ ระบบเครื่ องมือ หมายถึง วัสดุอุปกรณ์หรื อเครื่ องมือที่นามาใช้ในการ รวบรวม จั ด เก็ บ และเผยแพร่ สารสนเทศให้ ด าเนิ น ไปอย่ า งมี ประสิ ทธิ ภาพ ปั จจุบนั คอมพิวเตอร์ และเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตกลายเป็ น สัญลักษณ์ของสารสนเทศ
2.องค์ ประกอบด้ านต่ างๆของระบบสารสนเทศ 1 2 3 4
องค์ประกอบด้านสารสนเทศด้านจุดมุ่งหมาย องค์ประกอบด้านสารสนเทศด้านขั้นตอน องค์ประกอบด้านสารสนเทศในหน่วยงาน องค์ประกอบด้านสารสนเทศด้านทัว่ ไป
องค์ ประกอบด้ านสารสนเทศด้ านจุดมุ่งหมาย
Wisdom
Knowledge Information Data
องค์ ประกอบด้ านสารสนเทศด้ านขั้นตอน
Input
Process
Output
องค์ ประกอบด้ านสารสนเทศในหน่ วยงาน เทคโนโลยี
สารสนเทศ ข้อมูล
บุคคล/องค์กร
องค์ประกอบด้านสารสนเทศด้านทัว่ ไป Hardware
Data
Peopleware
Information
Software
ขั้นตอนการจัดระบบสารสนเทศ
ขั้นที่ 1 การวิเคราะห์ ระบบ 1.วิธีวิเคราะห์แนวทางการปฏิบตั ิ (Mission Analysis) คือการพิจารณาใน ทางการดาเนินการและจุดมุ่งหมายของระบบสารสนเทศ เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมาย ที่ต้ งั ไว้ 2.วิเคราะห์หน้าที่ (Functional Analysis) เป็ นการกาหนดหน้าที่โดย ละเอียดตามที่กาหนดไว้ในแนวทางปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับสารสนเทศ 3.วิเคราะห์งาน(Task Analysis) เป็ นการกาหนดสิ่ งที่ตอ้ งการกระทาตาม หน้าที่ ที่ได้กาหนดไว้ในขั้นการวิเคราะห์หน้าที่ และงานเป็ นสิ่ งขยายขั้นการ วิเคราะห์แนวทางปฏิบตั ิงาน 4.วิเคราะห์วิธีการและสื่ อ (Method – Means Analysis) เป็ นการกาหนด หลักปฏิบตั ิกลวิธี และสื่ อที่จะนาไปสู่จุดมุ่งหมาย หรื อสิ่ งที่ตอ้ งการ
ขั้นที่ 2 การสั งเคราะห์ ระบบ 1.การเลือกวิธีการหรื อกลวิธี เพื่อหาช่องทางไปสู่ จุดมุ่งหมายแล้วทดสอบ ทดลองกลวิธีเพื่อปรับปรุ งให้เหมาะสมกับสารสนเทศที่วเิ คราะห์และ สังเคราะห์ไว้ 2.ดาเนินการแก้ไขปั ญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร โดย เลือกกลวิธีที่เหมาะสมที่วางแผนไว้ก่อนใช้กลวิธีน้ นั ในการแก้ไขปั ญหา 3.ประเมินผลประสิ ทธิภาพการดาเนินงาน โดยการแก้ปัญหาแล้วประเมินผล เพื่อหาประสิ ทธิภาพของผลลัพธ์ได้
ขั้นที3่ การสร้ างแบบจาลอง แบบจาลองเป็ นการถ่ายทอดความรู้นึกคิดออกมาเป็ นภาพที่มาเห็น ได้อย่างชัดเจน ซึ่ งอาจเป็ นภาพลายเส้นหรื อรู ปสามมิติ แบบจาลองระบบ ท าให้ เ ข้า ใจโครงสร้ า ง องค์ป ระกอบ และขั้น ตอนในการด าเนิ น งาน สามารถตรวจสอบหรื อทานายผลที่จะเกิดขึ้นก่อนที่จะนาระบบไปใช้จริ ง ระบบการทางานแม้จะมีจุดมุ่งหมายอย่างเดียวกัน แต่อาจจะมีแบบจาลอง ระบบไม่เหมือนกัน
ประเภทของระบบสารสนเทศ
1.ระบบสารสนเทศระบบบุคคล คือระบบที่เสริ มประสิ ทธิภาพและเพิ่ม ผลงานให้แต่ละบุคคลในหน้าที่รับผิดชอบ 2.ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม ระบบสารสนเทศที่ช่วยเสริ มการทางาน ของกลุ่มบุคคลที่มีเป้ าหมายการทางานร่ วมกันให้มีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น 3. ระบบสารสนเทศระดับองค์กร คือ ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการ ดาเนินงานขององค์กรในภาพรวม เพื่ออานวยความสะดวกในการ ปฏิบตั ิงานร่ วมหลายแผนก
ข้ อมูลและสารสนเทศ
ข้ อมูล (Data) ข้อมูล หมายถึงข้อเท็จจริ งที่ปรากฏให้เห็นเป็ นประจักษ์สามารถ รับรู ้ได้ดว้ ยประสาทสัมผัสทั้งห้าที่สามารถนับได้และนับไม่ได้ มีคุณเป็ น ลักษณะสิ่ งของ เหตุการณ์หรื อสถานการณ์ ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และเป็ นสิ่ งที่มนุษย์สร้างขึ้น และต้องเป็ นสิ่ งที่มีความหมายในตัวมันเอง ซึ่ งอาจจะอยูใ่ นรู ปของ รู ปภาพ เสี ยง สี แสง รส
ข้ อมู ลดิบ (Raw Data) หมายถึ ง วัตถุสิ่งของ เหตุการณ์ สถานการณ์ ที่มีคุณลักษณะหรื อคุณสมบัติอยูใ่ นสภาพเดิม มีความอิสระเป็ นเอกเทศในตัวมันเองยังไม่ผา่ นการกลัน่ กรอง
สารสนเทศ (Informational) สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการกลัน่ กรองโดยการจาแนก แจกแจง จัดหมวดหมู่ การคานวณและประมวลผลแล้ว สามารถนาไป ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดาเนินงานอย่างมีประสิ ทธิภาพ
สรุ ปได้วา่ ข้อมูลและสารสนเทศ คือ ข้อมูลที่กลั้นกรองด้วยวิธีการ ต่างๆ เพื่อให้มีคุณค่าและมีความหมายต่อการประยุกต์ใช้งานสาหรับบุคล หรื อองค์กร สารสนเทศอาจอยูใ่ นรู ปของภาพ แสง สี เสี ยง รู ปร่ าง รู ปทรง ตัวเลข ตัวอักษรข้อความ ฯลฯ ผูใ้ ช้สามารถนาไปใช้ได้อย่างสะดวกสบาย และรวดเร็ ว ประโยชน์และคุณค่าของสารสนเทศจะนาไปสู่ “ความรู้” ที่มี ประโยชน์ต่อไป
ความรู้ (Knowledge) ความรู ้ เป็ นสภาวะทางสติปัญญาของมนุษย์ในการตีความสิ่ งเร้าทั้ง ที่อยูภ่ ายในและภายนอกด้วยความเข้าใจสาระของเนื้อหา กระบวนการ และ ขั้นตอน อาจอยูใ่ นรู ปของข้อมูลดิบหรื อสารสนเทศระดับต่างๆหรื ออาจอยู่ ในรู ปของอารมณ์ ความรู ้สึกและเหตุผล คุณสมบัติของความรู ้อาจให้ท้ งั ประโยชน์และโทษต่อตนเอง สังคม และสิ่ งแวดล้อม ดังนั้นการใช้ความรู ้ ให้เป็ นประโยชน์ จาเป็ นต้องกากับด้วยสติปัญญา
การประมวลผลข้ อมูลให้ เป็ นสารสนเทศ - ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล การรวบรวมข้อมูล การบารุ งรักษาและประมวลผลข้อมูล การจัดการข้อมูล การควบคุมข้อมูล การสร้างสารสนเทศ
-วิธีการเก็บข้อมูล การสารวจด้วยแบบสอบถาม การสัมภาษณ์ผทู ้ ี่เกี่ยวข้อง การนับจานวนหรื อวัดขนาดของตนเอง
เครื่องคอมพิวเตอร์ และเครือข่ ายสื่ อสารข้ อมูล สถานีงาน (Workstation) หมายถึงคอมพิวเตอร์ที่ใช้งาน ณ จุดที่ จัดไว้ให้ผใู ้ ช้มาใช้ร่วมกันหรื อจัดไว้โต๊ะทางานของแต่ละคน เครื่องบริการ (Server) เป็ นเครื่ องขนาดใหญ่ที่ใช้ร่วมกันหลายคน เป็ นเครื่ องที่ที่ใช้เก็บฐานข้อมูลหรื อโปรแกรมสาเร็ จประยุกต์ (Application Package) จานวนมากที่สามารถใช้ร่วมกัน
เครือข่ ายสื่ อสารข้ อมูล คือ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ซ่ ึ งใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ที่ เกี่ยวข้องกันให้สามารถใช้ขอ้ มูลร่ วมกันหรื อแลกเปลี่ยนกันได้
1. แลน (LAN = Local Area Network) คือ เครื อข่ายบริ เวณ เฉพาะที่ จากัดเขตเฉพาะภายในบริ เวณอาคารหรื อกลุ่มอาคารที่อยูใ่ กล้ กัน เนื่องจากข้อจากัดของตัวกลางที่ใช้ส่งข้อมูล เช่น ภายในรั่ว โรงเรี ยนหรื อมหาวิทยาลัย เป็ นต้น
แวน (WAN=Wide Area Network) คือเครื อข่ายบริ เวณกว้าง ระยะทางมากกว่า10กิโลเมตรขึ้นไปจนมากกว่าหลายพันกิโลเมตร ปกติ เชื่อมดโยงด้วยระบบสื่ อสารสาธารณะ เช่น สายโทรศัพท์ เครื อข่ายเส้น ใยแก้วนาแสง หรื อเครื อข่ายสัญญาณดาวเทียม เป็ นต้น
อินเทอร์เน็ต (Internet) คือเครื อข่ายขนาดใหญ่ ประกอบด้วย เครื อข่ายแวนจานวนมากซึ่ งครอบคลุมพื้นที่กว้างไกลทัว่ โลก
สารสนเทศโดยรวม
เดรือข่ายคอมพิวเตอร์