Word Word

Page 1

รายงาน เรื่ อง ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร เสนอ อาจารย์สุจิตตรา

จันทร์ลอย

จัดทาโดย นางสาวสุ กญั ญา

ชูศรี วาส รหัส 544148054

นายธวัช

ทองหล่อ รหัส 544148055

นายธีรวัฒน์

คาสุ ข

รหัส 544148078

รายงานเล่มนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่ อสารสาหรับครู ปี การศึกษา 2556 มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึง


คานา รายงานเล่มนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารสาหรับครู (รหัสวิชา 54504) มีเนื้อหาเกี่ยวกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร เพื่อให้ผทู ้ ี่สนใจได้ศึกษาและใช้ เป็ นแนวทางปฏิบตั ิ หรื อนาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการเรี ยน หวังเป็ นอย่างยิง่ ว่ารายงานเล่มนี้คงเป็ นประโยชน์ต่อผูใ้ ช้ยงิ่ ขึ้นต่อไป

คณะผูจ้ ดั ทา


สารบัญ

เรื่ อง

หน้า

ระบบและวิธีการเชิงระบบ

1

ระบบสารสนเทศ

1

องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ

3

ขั้นตอนการจัดระบบสารสนเทศ

5

ประเภทของระบบสารสนเทศ

6

ข้อมูลและสารสนเทศ

8


1 หน่ วยที2่ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร 1.ระบบและวิธีการเชิงระบบ การทางานใดๆให้ประสบผลสาเร็ จบรรลุเป้ าหมายได้อย่างมีประสิ ทธิภาพนั้นย่อมเกิดจากพื้นฐาน วิธีการที่มี ลาดับและขั้นตอนชัดเจนสามารถปฏิบตั ิซ้ าๆ ได้หลายครั้งอย่างถูกต้องและสมเหตุสมผลทุกครั้งไป เราเรี ยกกระ บวบการ และขั้นตอนนั้นว่า “ระบบ” ระบบ (System) หมายถึงการทางานขององค์ประกอบย่อย ๆแต่มีปฏิสัมพันธ์ซ่ ึ งกันและกันจนกลายเป็ น โครงสร้างที่สมบรู ณ์ของแต่ละงาน สามารถปรับปรุ งและตรวจสอบแก้ไขได้ทุกขั้นตอนระบบจึงเป็ นหัวใจสาคัญ ของงานหรื อการดาเนินงานทุกประเภท วิธีการเชิงระบบ (System Approach) วิธีเชิงระบบหรื อระบบคือคาๆคาเดียวกันเป็ นกระบวนการคิดหรื อการทางาน อย่างมีแบบแผนชัดเจนในการนาเนื้อหาความรู ้ดา้ นต่างๆ ซึ่งอาจจะเป็ นวิธีการหรื อผลผลิตมาประยุกต์ใช้อย่างเป็ น ขั้นตอน เพื่อให้การดาเนิ นงานบรรลุวตั ถุประสงค์อย่างมีประสิ ทธิ ภาพนอกจากนี้ วิธีระบบยังเป็ นการช่วยป้ องกัน และแก้ไขข้อบกพร่ องที่เกิดขึ้นด้วย องค์ ประกอบของวิธีระบบ วิธีระบบมีองค์ประกอบสาคัญ 3 ประการได้แก่ 1) ปั จจัยนาเข้า (Input) หมายถึง วัตถุสิ่งของต่างๆ รวมถึงเหตุการณ์ สถานการณ์ วัตถุประสงค์ ปั ญหา ความ ต้องการ ข้อกาหนด กฎเกณฑ์ อันเป็ นต้นเหตุของประเด็นปัญหา 2) กระบวนการ( Process) หมายถึง วิธีการ ขั้นตอนในการปฏิบตั ิงาน การสร้างสรรค์ การแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ เนื้อหาและปัจจัยและเนื้อหานาเข้าให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์หรื อความต้องการ 3) ผลลัพธ์ (Output) หมายถึง ผลงานที่ได้จากกระบวนการจัดการวัตถุดิบหรื อปั จจัยนาเข้าผลงานที่ได้รับ อาจจะเป็ นวิธีการหรื อชิ้นงานก็ได้ ซึ่งสามารถประเมินผลและตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับ (feedback)ได้

2.ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ (Information System) คือการประมวลผลข้อมูลข่าวอย่างเป็ นขั้นตอนและเป็ นกระบวนการ เพื่อให้ขอ้ มูลในรู ปของข่าวสารที่เป็ นประโยชน์สูงสุ ด และเป็ นข้อสรุ ปที่สามารถนาไปใช้


2 สนับสนุนการบริ หาร และการตัดสิ นใจ ทั้งในระดับปฏิบตั ิการ ระดับกลาง และระดับสู ง ระบบสารสนเทศจึงเป็ น ระบบที่จดั ตั้งขึ้น เพื่อปฏิบตั ิการเกี่ยวกับข้อมูล ดังต่อไปนี้ 1) รวบรวมข้อมูลทั้งภายใน ภายนอก ที่จาเป็ นต่อหน่วยงาน 2) จัดกระทาเกี่ยวกับข้อมูลเพื่อให้เป็ นสารสนเทศที่พร้อมจะใช้ประโยชน์ได้ 3) จัดให้มีระบบเก็บเป็ นหมวดหมู่ เพื่อสะดวกต่อการค้นหาและนาไปใช้ 4) มีการปรับปรุ งข้อมูลเสมอเพื่อให้อยูใ่ นสภาพที่ถูกต้องและเป็ นปัจจุบนั ตลอดเวลา ในการทางานใดๆให้ลุล่วงตามวัตถุประสงค์และภารกิ จที่ ได้รับมอบหมาย จะต้องมี การวางแผนและ ออกแบบระบบการทางานให้ดีที่สุด เพื่อลดปั ญหาความผิดพลาดและความล่าช้าของปฏิบตั ิงาน ระบบสารสนเทศ เป็ นกระบวนการจัดการข้อมูลข่าวสารในการดาเนิ นงานทั้งส่ วนบุคคลและองค์กร ทางานสารสนเทศทัว่ ไปเป็ น กระบวนการทางานที่ ประกอบด้วย คน ข้อมูล และเครื่ องจักร สิ่ งที่จาเป็ นในการดาเนิ นงานระหว่างองค์ประกอบ สามประการแค่ได้แก่ การสื่ อสารข้อมูลระหว่างกัน เพื่อให้การทางานสอดคล้องประสานกันไปในทางทิศทางที่ ต้องการ การสื่ อสารเป็ นการถ่ายทอดความรู ้สึกนึกคิดจากแหล่งกาเนิดเนื้อหาสาระไปสู่ปลายทาง เพื่อความเข้าใจซึ่ง กันและกัน การสื่ อสารระหว่างบุคคลใช้ช่องทางผ่านอวัยวะรับสัมผัสทั้ง 5 ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น ผิวกาย โดยใช้สื่อ ที่เหมาะสม เช่น เสี ยงพูด รู ปภาพ กลิ่น รสชาติ ผิวสัมผัส ส่ วนการสื่ อสารระหว่างคนกับเครื่ องจักรต้องใช้โปรแกรม หรื อคาสั่งที่เหมาะสมกับเครื่ องจักรแต่ละชนิด ตัวอย่างเช่น การสื่ อสารกับรถยนต์ดว้ ยพวงมาลัยเพื่อสั่งการให้ไป ตามทิศทางที่ตอ้ งการ การเหยียบครัช เข้าเกี ยร์ และคันเร่ งเพื่อให้รถเคลื่อนตัว การเหยียบเบรกเพื่อให้รถหยุด ข้อมูลที่ถูกป้ อนเพื่อให้รถยนต์ตอบสนองคือแรงที่กระทาต่อพวงมาลัย และคันบังคับของเกียร์ ครัช หรื อเบรก ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการตัดสิ นใจที่จะสั่งรถยนต์ให้เป็ นไปตามความต้องการคือสิ่ งแวดล้อมที่เรามองเห็น ได้ยิน ได้กลิ่น ผิวกลายสัมผัส หรื อลิ้มรส เช่น ถนน ทุ่งนา ท้องฟ้ า ต้นไม้ คน บ้าน รวมทั้งความต้องการภายในบุคคล และสัง คม ข้อ มู ล ต่ า งๆดัง กล่ า วจะถู ก เคราะห์ สัง เคราะห์ แ ละจ าแนกแยกแยะและสรุ ป เป็ นหมวดหมู่ ห รื อ สารสนเทศอย่างรวดเร็ วเพื่อเป็ นความรู ้ ที่ตดั สิ นใจในการเดิ นทางด้วยรถยนต์ไปสู่ จดหมายปลายทางที่ตอ้ งการ ระดับการตัดสิ นใจในการเดินทางขึ้นอยู่กบั ความถูกต้องชัดเจนของข้อมูลสารสนเทศผสมผสานกับกระบวบการ รับรู ้และเรี ยนรู ้ของบุคคล ประสบการณ์ที่สลับซับซ้อนลักษณะนี้ เรี ยกว่า ระบบงานสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเป็ นงานที่ เ กี่ ยวกับข้อมูลประเภทตัว อักษรและตัวเลขจานวนมากมายมหาศาล หาก ดาเนิ นการด้วยมนุ ษย์หรื อเครื่ องมือพื้นฐานจะทาให้เวลามากในการปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงข้อมูล การคิดคานวณ เพื่อประมวลผลจนกลายเป็ นสานสนเทศ ทาให้เกิดความล่าช้าและมีโอกาสผิดพลาดได้ง่าย ปัจจุบนั


3 มนุ ษ ย์ไ ด้น าระบบคอมพิ ว เตอร์ ม าใช้ใ นการด าเนิ น งานสารสนเทศแทบทุ ก สาขาอาชี พ เนื่ อ งจาก คอมพิวเตอร์ เป็ นเครื่ องใช้ไฟฟ้ าระบบดิ จิตอลที่มีศกั ยภาพสู งในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้จานวนมาก สามารถ จาแนก จัดหมวดหมู่เป็ นสารสนเทศ และนาเสนอได้อย่างรวดเร็ ว คอมพิวเตอร์ทางานได้ดว้ ยคาสั่งหรื อชุดคาสั่งที่เรี ยกว่า โปรแกรม ซึ่งโปรแกรมมีลกั ษณะเป็ นนามธรรมไม่ สามารถจับต้องได้ เป็ นสื่ อประเภท ซอฟต์ แวร์ (Software) ในการดาเนิ นงานที่มีระบบงานใหญ่อาจจะต้องใช้ โปรแกรมหลายโปรแกรมร่ วมกันเป็ นคาสั่งให้ครอบคลุมกิจกรรมหรื อภาระงาน โปรแกรมอาจจะถูกป้ อนเข้าทาง แป้ นอักขระหรื อแผ่นดิสก์หรื อแผ่นซี ดี โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่คานวณประมวลผลข้อมูลด้วยกรรมวิธีที่ กาหนดขึ้นตามจุดประสงค์ของงาน เพื่อกลัน่ กรองข้อมูลออกมาเป็ นสารสนเทศ เพื่อช่วยในการตัดสิ นใจกระทา หรื อไม่กระทาอย่างใดอย่างหนึ่งได้เหมาะสม 3.องค์ ประกอบของระบบสารสนเทศ การจาแนกองค์ประกอบระบบสารสนเทศมี หลายวิธีข้ ึนอยู่กับเกณฑ์หรื อวัตถุประสงค์ของแต่ละงานในที่ น้ ี จาแนกเป็ น 2 ประเภท ได้แก่องค์ประกอบหลัก และองค์ประกอบด้านต่างๆ 3.1 องค์ ประกอบหลักของระบบสารสนเทศ องค์ประกอบหลักของระบบสารสนเทศ มีองค์ประกอบหลัก 2 ส่ วน ได้แก่ ระบบการคิด และ ระบบ ของเครื่ องมือ ระบบการคิด หมายถึง กระบวนการและขั้นตอนในการจัดลาดับ จาแนก แจกแจง และจัดหมวดหมู่ขอ้ มูล ต่ างๆเพื่อความสะดวกในการจัด เก็บและเผยแพร่ ระบบการคิ ด จึ งเป็ นจุ ด เริ่ มต้น ที่ สาคัญของงานสารสนเทศ ระดับพื้นฐานและระดับสู งที่มีความสลับซับซ้อนจนต้องใช้ทกั ษะการจัดการและเครื่ องมือที่มีประสิ ทธิภาพสู งเข้า มาใช้ในการดาเนินงาน ระบบเครื่องมือ หมายถึง วัสดุอุปกรณ์หรื อเครื่ องมือที่นามาใช้ในการรวบรวม จัดเก็บ และเผยแพร่ สารสนเทศให้ดาเนินไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ ปัจจุบนั คอมพิวเตอร์และเครื อข่ายอินเตอร์เน็ตกลายเป็ นสัญลักษณ์ ของสารสนเทศ 3.2องค์ ประกอบด้ านต่ างๆของระบบสารสนเทศ เนื่องจากสารสนเทศ เป็ นวิธีการหรื อกระบวนการในการจัดการข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานต่างๆดังนั้น องค์ประกอบสารสนเทศของงานแต่ละด้านจึงแตกต่างกัน ดังนี้ 3.2.1 องค์ ประกอบด้ านสารสนเทศด้ านจุดมุ่งหมาย ในการแก้ปัญหามี 4 ประการ ได้แก่ ข้อมูล (Data สารสนเทศ (Information ) ความรู ้( Knowledge) ปัญญา(Wisdom) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดาเนินงาน

)


4

Wisdom Knowledge Information Data

แผนภาพที่ 2.1 องค์ประกอบด้านจุดมุ่งหมายในการแก้ปัญหา

3.2.2องค์ ประกอบด้ านสารสนเทศด้ านขั้นตอน ในการดาเนิ นงานมี 3 ประการ คือข้อมูลนาเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และ ผลลัพธ์ (Output) การทางานจะเริ่ มตั้งแต่การเปลี่ยนข้อมูลดิบที่เข้ามาสู่ การคานวณ ประมวลผลหรื อการกลัน่ กรองจนได้ชิ้นงานหรื อผลลัพธ์ (Output) และจัดเก็บเพื่อนาออกมาเผยแพร่ ในลักษณะของ สารสนเทศต่อไป Input

Process

Output

แผนภาพที่ 2.2 องค์ประกอบด้านกระบวนการในการดาเนินงาน

3.2.3องค์ ประกอบด้ านสารสนเทศในหน่ วยงาน ได้แก่บุคคลหรื อองค์กร เทคโนโลยี ข้อมูล และระบบสารสนเทศ เทคโนโลยี

สารสนเทศ ข้ อมูล

บุคคล/องค์กร แผนภาพที่ 2.3 องค์ประกอบด้านสารสนเทศในหน่วยงาน


5 3.2.4 องค์ ประกอบด้ านสารสนเทศด้ านทั่วไป( Information Process Systems) ประกอบด้วย 5องค์ประกอบดังนี้ คือ เครื่ องคอมพิวเตอร์ และเครื อข่ายสื่ อสารข้อมูล (Hardware) ข้อมูล (Data) สารสนเทศ (Information) โปรแกรม หรื อซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ (People ware)

Hardware

Data

Information

Peopleware

Softwar

แผนภาพที่ 2.4 องค์ประกอบระบบสารสนเทศทัว่ ไป

4.ขั้นตอนการจัดระบบสารสนเทศ การจัดระบบสารสนเทศเป็ นการกาหนดขั้นตอนการดาเนิ นงานและการแก้ปัญหาเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพ ของงานสารสนเทศ โดยการรวบรวมและวิเคราะห์ ปัญหา ข้อมูล วิธีการ ทรัพยากร เพื่อแก้ปัญหาและประเมินผล ลัพธ์ที่ได้ให้มีประสิ ทธิภาพสูงขึ้น ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 การวิเคราะห์ ระบบ วิธีการวิเคราะห์ระบบสารสนเทศ แบ่งออกเป็ น 4 หน่วยย่อยคือ 1.วิ ธีวิ เคราะห์ แ นวทางการปฏิ บตั ิ (Mission

Analysis) คื อการพิจารณาในทางการดาเนิ นการและ

จุดมุ่งหมายของระบบสารสนเทศ เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายที่ต้ งั ไว้ ผูว้ ิเคราะห์ตอ้ งรู ้ถึงองค์ประกอบของกระบวนการ แก้ไขด้วยสารสนเทศ โดยกาหนดจุดมุ่งหมายของการปฏิบตั ิงานอย่างกว้างๆให้ครอบคลุมสภาพปั ญหาไปสู่ สภาพ ที่พ่ งึ ประสงค์ เพื่อเป็ นเกณฑ์วา่ งานนั้นสาเร็ จดีหรื อไม่ มีปัญหาอุปสรรค ข้อบกพร่ องหรื อไม่อย่างไร 2.วิเคราะห์หน้าที่(Functional Analysis) เป็ นการกาหนดหน้าที่โดยละเอียดตามที่กาหนดไว้ในแนวทาง ปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับสารสนเทศ 3.วิเคราะห์งาน(Task Analysis) เป็ นการกาหนดสิ่ งที่ตอ้ งการกระทาตามหน้าที่ที่ได้กาหนดไว้ในขั้นการ วิเคราะห์หน้าที่และงานเป็ นสิ่ งขยายขั้นการวิเคราะห์แนวทางปฏิบตั ิงาน


6 4.วิเคราะห์วิธีการและสื่ อ (Method – Means Analysis) เป็ นการกาหนดหลักปฏิบตั ิกลวิธี และสื่ อที่จะ นาไปสู่จุดมุ่งหมาย หรื อสิ่ งที่ตอ้ งการ ขั้นที่ 2 การสั งเคราะห์ ระบบ(System Synthesis) วิธีการสังเคราะห์ระบบช่วยเกลี่ยน้ าหนักเนื้ อหาหรื อภาระงานของขั้นตอนต่างๆในมีความสมดุลในการ แก้ปัญหาซึ่งมีข้นั ตอนย่อย ดังต่อไปนี้ 1.การเลือกวิธีการหรื อกลวิธี เพื่อหาช่องทางไปสู่ จุดมุ่งหมายแล้วทดสอบทดลองกลวิธีเพื่อปรับปรุ งให้ เหมาะสมกับสารสนเทศที่วิเคราะห์และสังเคราะห์ไว้ 2.ด าเนิ น การแก้ไ ขปั ญหาด้ว ยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร โดยเลื อกกลวิธีที่เ หมาะสมที่ วางแผนไว้ก่อนใช้กลวิธีน้ นั ในการแก้ไขปัญหา 3.ประเมินผลประสิ ทธิภาพการดาเนินงาน โดยการแก้ปัญหาแล้วประเมินผลเพื่อหาประสิ ทธิภาพของ ผลลัพธ์ได้ ขั้นที3่ การสร้ างแบบจาลอง(Construct a Model)

แบบจาลองเป็ นการถ่ายทอดความรู ้ สึกนึ กคิดออกมาเป็ นภาพที่มาเห็ นได้อย่างชัดเจน ซึ่ งอาจเป็ นภาพ ลายเส้นหรื อรู ปสามมิติ แบบจาลองระบบทาให้เข้าใจโครงสร้ าง องค์ประกอบ และขั้นตอนในการดาเนิ นงาน สามารถตรวจสอบหรื อทานายผลที่จะเกิดขึ้นก่อนที่จะนาระบบไปใช้จริ ง ระบบการทางานแม้จะมีจุดมุ่งหมายอย่าง เดียวกัน แต่อาจจะมีแบบจาลองระบบไม่เหมือนกัน


7 5.ประเภทของระบบสารสนเทศ การจาแนกสารสนเทศตามจานวนคนที่เกี่ ยวข้องในองค์กร แบ่งได้ 3 ระดับ ระบบสารสนเทศ ระบบบุคคล ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม และระบบสารสนเทศระดับองค์กร 1.ระบบสารสนเทศระบบบุคคล คือระบบที่เสริ มประสิ ทธิ ภาพและเพิ่มผลงานให้แต่ละบุคคลในหน้าที่ รับผิดชอบ ปัจจุบนั คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมีขนาดเล็กลง ราคาถูก แต่มีความสามารถประมวลผลด้วยความเร็ วสู ง ประกอบกับมีโปรแกรมสาเร็ จที่ทาให้ใช้งานได้ง่าย กว้างขวางและคุม้ ค่า มากขึ้น เช่ น พนักงานค้าควรมีขอ้ มูล เกี่ยวกับลูกค้าเป็ นอย่างดี มีการจัดเก็บข้อมูลของลูกค้า เช่น ชื่อ ที่อยู่ ความสนใจในตัวสิ นค้า หรื อข้อมูลอื่นๆ ที่ สนับสนุนงานขาย จัดการและควบคุมการทางานของตนเองได้ เช่น ระบบวิเคราะห์ขอ้ มูลการขาย

2.ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม ระบบสารสนเทศที่ช่วยเสริ มการทางานของกลุ่มบุคคลที่มีเป้ าหมายการ ทางานร่ วมกันให้มีประสิ ทธิภาพมากขึ้น เตรี ยมสภาวะแวดล้อมที่จะเอื้ออานวยประโยชน์ในการทางานร่ วมกันเป็ น กลุ่ม โดยเป้ าหมายของธุ รกิ จดาเนิ นไปอย่างมี ประสิ ทธิ ผล มี การใช้ทรั พยากรร่ วมกัน โดยเฉพาะข้อมูลและ อุปกรณ์เทคโนโลยีพ้ืนฐาน เชื่ อมต่อกันด้วยเครื อข่ายแลน การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ ในลักษณะทางานกลุ่ม สามารถใช้กบั งานต่างๆ เช่น ระบบบริ การลูกค้า การประชุมผ่านเครื อข่าย ระบบไหลเวียนอัตโนมัติของเอกสาร ระบบการจัดเวลาตารางของกลุ่ม ระบบการบริ การของกลุ่ม 3. ระบบสารสนเทศระดับองค์ กร คือ ระบบสารสนเทศที่สนับสนุ นการดาเนิ นงานขององค์กรในภาพรวม เพื่อ อานวยความสะดวกในการปฏิบตั ิงานร่ วมหลายแผนก โดยการใช้ขอ้ มูลที่เกี่ยวข้องร่ วมกันด้วยวิธีการส่ งผ่าถึงกัน จากแผนกหนึ่งข้ามไปอีกแผนกหนึ่งระบบนี้สามารถสนับสนุนงานในระดับปฏิบตั ิการและการตัดสิ นใจโดยอาจนา ข้อมูลมาแสดงสรุ ปในแบบฟอร์มที่ตอ้ งการหัวใจสาคัญของระบบสารสนเทศระดับองค์กร คือ ระบบเครื อข่าย


8 คอมพิวเตอร์ ภายในองค์กรที่จะต้องเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ของแต่ละแผนกเข้าด้วยกันเพื่อให้เกิดการใช้ขอ้ มูล และทรัพยากรร่ วมกัน 6.ข้ อมูลและสารสนเทศ ดัง ที่ ก ล่ า วมาแล้ว ว่า การท างานใดๆที่ ไ ด้ผ ลดี จ าเป็ นต้อ งมี ข อ้ มู ล ที่ ถู ก ต้อ งครอบคลุ ม และตรงประเด็น ประกอบการตัดสิ นใจในการเลือกวัตถุดิบ เนื้ อหาสาระ บุคลากร และวิธีการปฏิบตั ิ ได้อย่างเหมาะสม โดย จาแนกแจกแจง จัดหมวดหมู่และการประมวลผลข้อมูลที่เกี่ยวข้องทุกด้านอย่างเป็ นระบบที่เรี ยกว่า สารสนเทศ จึง นับได้วา่ ข้อมูลและสารสนเทศมีประโยชน์ต่อการดาเนินงานของบุคคลและหน่วยงาน 6.1 ข้ อมูล (Data) ข้อมูล หมายถึงข้อเท็จจริ งที่ปรากฏให้เห็นเป็ นประจักษ์สามารถรับรู ้ได้ดว้ ยประสาทสัมผัสทั้งห้าที่สามารถ นับได้และนับไม่ได้ มีคุณเป็ นลักษณะสิ่ งของ เหตุการณ์หรื อสถานการณ์ ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและเป็ นสิ่ ง ที่มนุ ษย์สร้ างขึ้น และต้องเป็ นสิ่ งที่ มีความหมายในตัวมันเองซึ่ งอาจจะอยู่ในรู ปของ รู ปภาพ เสี ยง สี แสง รส นอกจากนี้ขอ้ เท็จจริ งอาจจะอยูใ่ นรู ปของคุณสมบัติเป็ นน้ าหนัง แรง อุณหภูมิ จานวน ซึ่งสามารถแทนค่าด้วยตัวเลข ตัวอักษรข้อความก็ได้ อย่างไรก็ตามข้อมูลที่นามาใช้ ให้เกิดประโยชน์มีหลายระดับตั้งแต่ขอ้ มูลเบื้องต้นหรื อข้อมูล ดิบจนถึงข้อมูลสารสนเทศ ซึ่งแต่ละอย่างมีความหมายดังนี้ ข้ อมูลดิบ (Raw Data) หมายถึง วัตถุสิ่งของ เหตุการณ์ สถานการณ์ ที่มีคุณลักษณะหรื อคุณสมบัติอยูใ่ น สภาพเดิม มีความอิสระเป็ นเอกเทศในตัวมันเองยังไม่ผา่ นการกลัน่ กรอง ไม่ได้ถูกนาไปแปรรู ปหรื อประยุกต์ใช้กบั งานใดๆ การตีความข้อมูลดิบเกิดจากพฤติกรรมการรับรู ้การเรี ยนรู ้หรื อประสบการณ์ในการสังเกต การวัด การนับ การสัมผัสจับต้อง หรื อกรรมวิธีอื่น ๆ จนสามารถระบุ ได้ชัด เจนว่าข้อมูลนั้นมี คุณลักษณะหรื อคุ ณสมบัติเป็ น อย่างไร มีชื่อเรี ยกว่าอะไร ข้อมูลดิบทุกชนิ ดที่อยูล่ อ้ มรอบตัวเรามีจานวนมากมายมหาศาลแต่ละชนิ ดล้วนมีศกั ยภาพและความสาคัญ ในตัวมันเองทั้งสิ้ น แต่ขอ้ มูลดิบบางชนิ ดอาจจะไม่จาเป็ นไม่มีประโยชน์สาหรับบุคคลบางคน บางกลุ่ม บางงาน หรื อบางสถานการณ์ ดังนั้นการนาข้อมูลดิบไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดจึงขึ้นอยูก่ บั การใช้วิจารณญาณ ในการวิ เ คราะห์ อ งค์ป ระกอบต่ า งๆที่ เ กี่ ย วข้อ งอย่ า งรอบด้า นผสมผสานอย่ า งสอดคล้อ งกับ เนื้ อ หาสาระ วัตถุประสงค์ และธรรมชาติของบุคลากร ข้อมูลดิบที่ดีจะต้องมีคุณสมบัติถูกต้อง ( Accurate) ต้องปรากฏให้เห็นอย่างถูกต้องตามความเป็ นจริ ง ไม่ ผิดพลาดเคลื่อนจากความเป็ นจริ ง ไม่ใช่ลวงตาหรื อความคิดเพ้อฝันตามจินตนาการ มีคุณลักษณะที่แน่นอนสามารถ ระบุได้วา่ สิ่ งนั้นคืออะไร เช่น ก้อนหิ น ต้นไม้ ท่อนฟื น ต้นข้าว ฟาง น้ า น้ าร้อน น้ าเย็น ทราย จาน ชาม ถ้วย บ้าน วัด


9 เสี ยงนก เสี ยงคน พายุ ลม ฝน หนักเบา ฯลฯ ดังนั้นข้อมูลที่ดีตอ้ งมีคุณสมบัติชัดเจนปราศจากข้อสงสัยในการ ตีความ 6.2 สารสนเทศ (Informational) สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการกลัน่ กรองโดยการจาแนกแจกแจง จัดหมวดหมู่ การคานวณและ ประมวลผลแล้ว สามารถนาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดาเนินงานอย่างมีประสิ ทธิภาพต่อไปได้ อย่างไร ก็ตามสารสนเทศที่ประกอบไปด้วยเนื้อหาสาระพื้นฐานทัว่ ไปอาจกลายเป็ นข้อมูลสาหรับงานสารสนเทศขนาดใหญ่ ที่มีความสลับซับซ้อนก็ได้ ข้อมูลดังกล่าวจึงเรี ยกว่า ข้อมูลสารสนเทศ (Informational Data) ดังนั้นการตีความใน ความหมายของสารสนเทศจึงมี หลายระดับ ขึ้นอยู่กบั คุณลักษณะเฉพาะของแต่งานว่ามีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กบั องค์ประกอบต่างๆ อย่างกว้างขวางหรื อซับซ้อนมากน้อยเพียงใด หากมีความซับซ้อนมากสารสนเทศเบื้องต้นก็จะ กลายเป็ นข้อมูลสารสนเทศของงานสารสนเทศขนาดใหญ่ หรื อสารสนเทศขั้นสูงต่อไปตามลาดับ 6.2.1 คุณสมบัติของข้ อมูลสารสนเทศทีด่ ี ข้อมูลสารสนเทศที่ดีจะต้องมีคุณสมบัติดงั นี้ 1) ความถู ก ต้อ ง (Accurate) ข้อ มู ล สารสนเทศที่ ดี ต ้อ งแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความเชื่ อ มโยงสั ม พัน ธ์ ข อง องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องอย่างถูกต้องตามความเป็ นจริ ง ไม่ผิดพลาดคลาดเคลื่อนจากความเป็ นจริ ง สามารถอ้างอิง ได้จากแหล่งอื่นโดยเฉพาะข้อมูลดิ บ สามารถแสดงขั้นตอนหรื อกระบวนการด้วยสื่ อที่เหมาะสม เช่ น ตัวอักษร ข้อ ความ รู ป ภาพ แผนภาพ แผนภู มิ การเคลื่ อ นไหว แสง สี เสี ย ง เป็ นต้น ดัง นั้น ข้อมู ล สารสนเทศที่ ดี ต ้อ งมี คุณสมบัติถูกต้องชัดเจนปราศจากข้อสงสัยในการตีความ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการตัดสิ นใจ ได้อย่างสะดวก รวดเร็ ว 2) ทันเวลา (Timeliness) ข้อมูลสารสนเทศต้องมีลกั ษณะเป็ นปั จจุบนั เสมอ สามารถปรับปรุ งเปลี่ยนแปลง ให้ทว้ งทันเวลาและเหตุการณ์อยู่ตลอดเวลา นอกจากนี้ ยงั มีการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลในอดีตที่ผ่านมาอย่างเป็ น ระบบให้เป็ นหมวดหมู่ สามารถสื บค้นได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ ว 3) สอดคล้องกับงาน (Relevance) ข้อมูลสารสนเทศต้องสอดคล้องและครอบคลุมกับงานที่กาลังดาเนินการ อยู่ ไม่ใช่ขอ้ มูลที่ไม่เกี่ยวข้อง 4) สามารถตรวจสอบได้ (Verifiable) ข้อมูลสารสนเทศที่ดีตอ้ งสามารถตรวจสอบได้ว่าถูกต้อง น่ าเชื่อถือ หรื อไม่ สามารถอ้างอิงและตรวจสอบได้ 5) มี ความสมบูรณ์ ครบถ้วน (Integrity) ข้อมูลสารสนเทศที่ ดีจะต้องมี เนื้ อหาสาระรวมถึ งขั้นตอนและ กระบวนการหรื อวิธีการครอบคลุมการดาเนินงานโดยรวม 6.2.2 ชนิดของข้ อมูล


10 ข้อ มู ล มี ห ลายชนิ ด ขึ้ น อยู่กับ เกณฑ์ใ นการจ าแนกในที่ นี่ จ าแนกข้อ มู ล ตามลัก ษณะการจัด เก็บ ซึ่ ง แบ่ ง ออกเป็ น 4 ชนิด คือ 1) ข้อมูลที่เป็ นตัวเลข (Numeric type) ใช้ระบุความหมายของสิ่ งต่างๆในเชิ งปริ มาณ เช่น ราคาสิ นค้า จานวนสิ่ งของ ความสูง โดยระบุเป็ นตัวเลขเท่านั้น เช่น 15.75 (บาท) 1,750 (กล่อง) 175.3 (ซ.ม.) 10111000 (เลขฐานสอง เท่ากับ 148 ของเลขฐานสิ บ) 2) ข้อมูลที่เป็ นตัวอักขระ (Character type) ใช้บรรยายความหมายหรื อแทนข้อมูลบางอย่าง เช่น รถยนต์ เกวียน น.ส. ศรี สมร เป็ นต้น 3) ข้อมูลที่เป็ นตัวอักษรเลข (Alphanumeric type) หมายถึงมีท้ งั ตัวอักษร ตัวเลข และตัวสัญลักษณ์พิเศษ (เช่น !,.?%$#@-+) ปนกัน ใช้บรรยายหรื อสื่ อความหมายต่างๆ ได้ตามแต่จะกาหนด เช่น A4 $500.00 4) ข้อมูลมัลติมิเดีย (Multimedia) หรื อสื่ อประสม เช่น ภาพ เสี ยง ข้อความ ปนกัน เป็ นต้น เป็ นข้อมูลอีก ประเภทหนึ่งที่กล่าวถึงกันมาก แต่ความจริ งแล้วข้อมูลชนิดนี้ถูกจัดเก็บในคอมพิวเตอร์ในรู ปของข้อมูลประเภทใด ประเภทหนึ่งในสามประเภทแรก สรุ ปได้ว่า สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่กลั้นกรองด้วยวิธีการต่างๆ เพื่อให้มีคุณค่าและมีความหมายต่อการ ประยุกต์ใช้งานสาหรั บบุคลหรื อองค์กร สารสนเทศอาจอยู่ในรู ปของภาพ แสง สี เสี ยง รู ปร่ าง รู ปทรง ตัวเลข ตัวอักษรข้อความ ฯลฯ ผูใ้ ช้สามารถนาไปใช้ได้อย่างสะดวกสบายและรวดเร็ ว ประโยชน์และคุณค่าของสารสนเทศ จะนาไปสู่ “ความรู ้” ที่มีประโยชน์ต่อไป 6.3 ความรู้ (Knowledge) ความรู ้ เป็ นสภาวะทางสติปัญญาของมนุษย์ในการตีความสิ่ งเร้าทั้งที่อยูภ่ ายในและภายนอกด้วยความเข้าใจ สาระของเนื้อหา กระบวนการ และขั้นตอน อาจอยูใ่ นรู ปของข้อมูลดิบหรื อสารสนเทศระดับต่างๆหรื ออาจอยูใ่ นรู ป ของอารมณ์ ความรู ้ สึก และเหตุ ผล คุ ณ สมบัติ ของความรู ้ อ าจให้ท้ งั ประโยชน์ แ ละโทษต่ อ ตนเอง สังคม และ สิ่ งแวดล้อม ดังนั้นการใช้ความรู ้ ให้เป็ นประโยชน์ จาเป็ นต้องกากับด้วยสติปัญญา ทุกยุคทุกสมัยทั้งในอดี ตปั จจุบนั และอนาคต “ความรู ้ ” มีความสาคัญต่อมนุ ษย์ สังคม และสิ่ งแวดล้อม เสมอ มนุษย์ใช้ความรู ้ในการแก้ปัญหา การสร้างสรรค์ผลงาน และการจัดการเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมแบบยัง่ ยืน เพื่อให้ มนุษย์และประชาคมโลกได้อยูร่ ่ วมกันอย่างมีความสุ ขโดยทัว่ หน้า อย่างไรก็ตามกระแสโลกาภิวตั น์ที่แผ่ไปทัว่ ทุก มุมโลก นาพาความรู ้และเทคนิ คต่างๆ ทาให้สังคมยุคใหม่น้ ี ได้ชื่อว่า สังคมแห่ งความรู ้ (Knowledge Society) โดย แสดงความส าพัน ธ์ ร ะหว่ า งข้อ มู ล สารสนเทศ ความรู ้ แ ละกิ จ กรรมต่ า งๆ ทั้ง ฝ่ ายผูผ้ ลิ ต ข้อ มู ล และผูบ้ ริ โ ภค สารสนเทศจึงเป็ นสิ่ งที่น่าศึกษา เพื่อให้ทราบว่าเราจะสร้างองค์ความรู ้จากข้อมูลและสารสนเทศอย่างไร


11 แหล่งผลิต

การนาเสนอ ความรู้

สารสนเทศ

ผู้บริโภค ข้ อมูล

การสร้าง

การนาเสนอ

การแปรตาม

การค้นพบ

การจัดการ

การประเมินผล

การรวบรวม

การจัดการ

การบูรณาการ

การจัดเก็บ

แผนภาพที่ 2.5 ความสาพันธ์ระหว่างข้อมูล สารสนเทศ และความรู ้

จากแผนภาพที่ 2.5 แสดงถึงแหล่งผลิตข้อมูล ซึ่ งอาจเกิดจากธรรมชาติหรื อกระบวนการที่มนุษย์สร้างขึ้น ข้อมูลอาจได้มาโดยการสร้ าง การค้นพบ การรวบรวม และการจัดเก็บ เมื่อผ่านการประเมินแล้วก็จะกลายเป็ น สารสนเทศ ซึ่งต้องมีการจัดการสารสนเทศ (Informational Management) เช่นการจัดระบบสารสนเทศ การสื่ อสาร การนาเสนอสารสนเทศ เพื่อสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ เมื่อนาสารสนเทศไปใช้งานก็จะเกิดองค์ความรู ้ ซึ่งเป็ น สุ ดยอดของประโยชน์ที่ได้จากระบบจัดการสารสนเทศ การสร้างความรู ้จากสารสนเทศจะต้องมีการแปลความ ประเมินผล จัดเก็บ และการนาสารสนเทศหลายรู ปแบบมาผสมผสานกับความรู ้ที่มีอยู่เดิม ทาให้เกิดองค์ความรู ้ ใหม่ๆ ได้อีกมากมาย ในรู ปที่มีลูกศรเส้นทึบ แสดงว่าเมื่อมีการจัดการที่ดี ข้อมูลจะถูกแปรไปเป็ นสารสนเทศและความรู ้ ส่ วน ลูกศรเส้นประ แสดงว่าเราอาจใช้ความรู ้ยอ้ นไปสร้างสารสนเทศและข้อมูลใหม่ๆ ได้เช่นกับ วงรี สองวงที่ลอ้ มอยู่ และทาบทับกันตรงข้าม แสดงว่ามีขอบเขตงานที่ทบั ซ้อนกัน คือ มีงานของฝ่ ายผลิตข้อมูลและสารสนเทศ และกลุ่ม ผูบ้ ริ โภคข้อมูลและสารสนเทศ กลุ่มกลุ่มผูบ้ ริ โภคสารสนเทศไปใช้ให้เกิดความรู ้จึงเห็นได้ว่า สารสนเทศเป็ นสิ่ งที่ เกี่ยวข้องทั้งกลุ่มผูผ้ ลิตและผูบ้ ริ โภค ทั้งสองฝ่ ายจึงต้องทางานให้สอดคล้องและประสานกัน จึงจะเกิดคุณประโยชน์ สูดสุ ด 6.4 การประมวลผลข้ อมูลให้ เป็ นสารสนเทศ การสร้างสารสนเทศได้ตอ้ งอาศัยกระบวนการรวบรวมและการประเมินผลโดยมีวิธีการจัดการดังนี้ 6.4.1 ขั้นตอนการประมวลผลข้ อมูล (Data processing steps) เนื่ องจากข้อมูลในโลกนี้มีมากมาย หลายชนิดดังกล่าวแล้ว การจะหาข้อมูลที่ดีได้จะต้องมีการประมวลผลตามขั้นตอนต่าง ๆ ที่เหมาะสม ดังนี้ 1) การรวบรวมข้อ มู ล (Data

collection) หมายถึ ง การเก็บ ข้อ มูล จ านวนมากจาก

แหล่ ง ก าเนิ ด (Capturing) มาท าการเข้า รหัส (Coding) ในรู ป แบบที่ เ หมาะสมต่ อ การจัด เก็ บ และการบัน ทึ ก (Recording) ในสื่ อที่สามารถเก็บข้อมูลไว้นานๆ เช่น จดบันทึกในกระดาษ รวบรวมแฟ้ ม เก็บเข้าตูห้ รื อบันทึกลง


12 จานแม่เหล็กโดยระบบคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ตอ้ งทาการตรวจสอบแก้ไข (Validating and Editing) ข้อมูลที่ได้ ก่อนนาไปเก็บ เพื่อให้ขอ้ มูลที่ครบถ้วนและถูกต้องแม่นยาอย่างแท้จริ ง 2) การบารุ งรักษาและประมวลผลข้อมูล (Data Maintenance) เป็ นกระบวนการเก็บเก็บ รักษาข้อมูลไว้ให้ใช้ได้ตลอดไป ซึ่งอาจประกอบด้วยปรับปรุ งข้อมูลให้ทนั สมัยตลอดเวลา (Updating) ทาการแยก ประเภท (Classifying) จัดเรี ยงข้อมูล (Sorting) และคานวณหาข้อมูลใหม่จากข้อมูลที่มีอยูแ่ ล้ว (Calculating) เพื่อให้ ใช่งานได้หลากหลายมากขึ้น 3) การจัดการข้อมูล (Data Management) คือการสร้างระบบจัดการข้อมูลจานวนมาก ให้ สามารถนามาใช้งานได้อย่างรวดเร็ วทันเวลา ซึ่ งประกอบด้วยการจัดเก็บไว้ในแฟ้ มข้อมูลอย่างเป็ นระบบ ทั้งแบบ แฟ้ มกระดาษหรื อแฟ้ มในคอมพิวเตอร์ การสร้างฐานข้อมูล คือ ระบบเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ ที่ มีก ารจัด ระบบบารุ งรั ก ษาไม่ ใ ห้ผิด เพี้ย นหรื อสู ญหาย และการสร้ างระบบค้น หาข้อมู ล (Retrieving) อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ สามารถสื บค้นได้เร็ วและมีขอ้ มูลสะสมให้เลือกใช้มากมาย การจัดการข้อมูลอย่างเป็ นระบบ เริ่ มต้น ด้วยการสร้างฐานข้อมูล (Database) ซึ่ งจะต้องออกแบบให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ปั จจุบนั นี้ มีซอฟต์แวร์ หรื อ โปรแกรมส าเร็ จ รู ป ที่ ส ามารถจัด การข้อ มู ล ที่ อ ยู่ใ นฐานข้อ มู ล ได้อ ย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เรี ย กว่า ระบบจั ด การ ฐานข้ อมูล (Database Management system) ซึ่งมีท้ งั ชนิดสาหรับฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่ใช่ร่วมกันทั้งองค์กร เช่น Oracle และชนิดสาหรับฐานข้อมูลขนาดเล็ก เช่น Microsoft Access เป็ นต้น 4) การควบคุมข้อมูล (Data

control) เป็ นการป้ องกันรักษาข้อมูลที่จดั เก็บไว้แล้วให้

ปลอดภัย ไม่ให้ขอ้ มูลที่มีค่าถูกขโมยไปใช่ งานอย่างไม่ถูกต้อง รวมทั้งหามาตรการในการประกันข้อมูลความ ปลอดภัยของข้อมูล ให้ถูกต้องแม่นยา ไม่มีการดัดแปลงแก้ไขอย่างผิดๆ ทาความสมบูรณ์ถูกต้อง ของข้อมูลหึ คงอยู่ ตลอดไป 5) การสร้างสารสนเทศ (Information Generation) เป็ นการตีความหมายของข้อมูลที่ได้ มาแล้ว ค้นหาความหมายหรื อความสาคัญที่มีคุณค่าของข้อมูลที่ได้โดยการนาไปประมวลผลด้วยวิธีใดวิธีการหนึ่ ง เช่ น การค านวณ การเรี ย งข้อ มู ล (Sorting) การค้น หา (Searching) และการแยกประเภท จากนี้ คนน ามาสรุ ป ตีความหมาย อธิ บายความหมาย และรวบรวมเอาไว้ ซึ่ งจะได้สิ่งที่ เรี ยกว่า สารสนเทศ และจะต้องมีการจัดทา รายงานเกี่ยวกับสาสนเทศที่คน้ พบหรื อที่สร้างขึ้น รวมทั้งทาการเผยแพร่ สื่ อสารข้อมูลและสารสนเทศไปกับผูเ้ กี่ยว ข้อสนใจในคุณค่าของสารสนเทศนั้น เช่นนี้จึงจะเกิดประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติ 6.4.2 วิธีการเก็บข้ อมูล (Data Collection Methods) ข้อมูลอาจเกิดข้อมูลอาจเกิดขึ้นได้เองหรื อ เกิด จากการสร้าง การทดลอง และการประมวลผลก็ได้ เมื่อต้องการได้ความรู ้ หรื อต้องการทราบความหมายหรื อคุณค่า


13 สิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง เราต้องเก็บข้อมูลของสิ่ งนั้น เพื่อนามาประมวลผลให้เป็ นสารสนเทศ วิธีการเก็บข้อมูลสามารถทาได้ หลายวิธี ตัวอย่างเช่น การสารวจด้วยแบบสอบถาม การสัมภาษณ์ผทู ้ ี่เกี่ยวข้องหรื อเป็ นเจ้าของข้อมูล การนับจานวน หรื อวัดขนาดด้วยตัวเองหรื อโดยใช้อุปกรณ์อตั โนมัติ 1) การส ารวจด้ว ยแบบสอบถาม ในกาส ารวจข้อ มู ล ความคิ ด เห็ น อาจจ าเป็ นต้อ งท า แบบสอบถาม เพื่อให้ง่ายต่อการตอบและรวบรวมข้อมูลดังตัวอย่าง แบบสอบถามความนิ ยมของผูบ้ ริ การสานัก วิทยาการบริ การ 2) การสัมภาษณ์ ผูท้ ี่เกี่ ยวข้อง หรื อเป็ นเจ้าของข้อมูล อาจใช้วิธีเก็บข้อมูลด้วยการแจก แบบสอบถามให้กบั กลุ่มเป้ าหมายที่เราต้องการทราบข้อมูล ผูต้ อบจะเขียนตอบหรื อไม่ก็ได้ ในทางปฏิบตั ิพบว่า แบบสอบถามที่แจกไปจะได้รับกลับมาเพียงประมาณ 10 % เท่านั้น จึงเป็ นวิธีที่มีประสิ ทธิ ภาพค่อนข้างต่า นอกจากนี้ ในบางกรณี แบบสอบถามอาจไม่เหมาะสม เพราะคาถามบางคาถามไม่มีความชัดเจนเพียงพอ ผูต้ อบแต่ ละคนอาจมีความเข้าใจไม่ตรงกัน การเก็บข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์แหล่งข่าว หรื อแหล่ขอ้ มูลเอง หรื อถ้าต้องการ ข้อมูลจานวนมาก ก็จา้ งคนหลายๆคน ไปสัมภาษณ์ก็ได้ ซึ่ งจะต้องเตรี ยมหัวข้อที่จะสัมภาษณ์ให้ดี ตรงเป้ าหมายที่ ต้องการให้มากที่สุด ในบางกรณี ที่ผสู ้ มั ภาษณ์ไม่เข้าใจคาถาม ผูส้ มั ภาษณ์ตอ้ งอธิบายให้ชดั เจนได้ 3) การนับจานวนหรื อวัดขนาดของตนเอง หรื อโดยใช้อุปกรณ์อตั โนมัติ ข้อมูลบางอย่าง จาเป็ นต้องมีผทู ้ ี่เกี่ยวข้องไปนับหรื อวัดด้วยตัวเอง เช่น จานวนต้นไม้ในป่ า ความสู งของต้นไม้ ความสู งขอนักเรี ยน จานวนปลาในบ่อเลี้ยงปลา เป็ นต้น ในการเก็บข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ อาจต้องมีเครื่ องมือวัดพิเศษเข้าช่วย เช่น เครื่ องวัดความเข้มของ แสง เครื่ องวัดแรงดัน เครื่ องวัดความชื้น โดยเครื่ องมือเหล่านี้ มีอุปกรณ์พิเศษเป็ น ตัวรับรู ้ปริ มาณของสิ่ งที่ตอ้ งการ วัด เรี ยกว่า ตัวตรวจจับสัญญาณ หรื อเซนเซอร์ (Sensors) หรื อ ทรานซดิวเซอร์ (Transducers) อุปกรณ์เหล่านี้ จะ แปลงปริ ม าณความร้ อ น หรื อ ความเข้ม ของแสง ออกมาเป็ นพลัง งานไฟฟ้ า ซึ่ งจะใช้ค่ า การวัด ไฟฟ้ า เช่ น แรงดันไฟฟ้ า ความต้านทานไฟฟ้ า ที่สมั พันธ์กบั ค่าที่ตอ้ งการวัด จากนั้น ภายในเครื่ องมือวัด ก็จะมีสิ่งที่แปรผลที่ได้ จากตัวจับสัญญาณ ออกมาเป็ นตัวเลขหรื อสิ่ งอื่นที่มนุษย์เข้าใจ ความหมายได้ ตัวอย่างตัวตรวจจับสัญญาณ


14

LDR (Light Dependent Resistor) คือ ตัวต้านทานชนิด หนึ่งหรื อเรี ยกอีกอย่างว่าตัวต้านทานแปลค่าตามแสง

เทอร์มิสเตอร์คืออุปกรณ์ที ทาหน้าที่ตรวจจับ อุณหภูมิ (Temperature-sensing)

ฟอสเซนเซอร์ (Force Sensor) คือตัวตรวจจับแรงกด

ตัวตรวจจับความชื้น ( Humidity Sensor) มีวงจรรวม

หรื อความดันจากอากาศหรื อน้ า

ภายในตัว ใช้ตรวจความชื้นโดยใช้หลักการของตังเก็บ ประจุไฟฟ้ า

เครื่องคอมพิวเตอร์ และเครือข่ ายสื่ อสารข้ อมูล หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่เป็ นเครื่ องประมวลผลข้อมูล ซึ่งมีอยู่ 2 ประเภทด้วยกัน คือ 1.

สถานีงาน (Workstation) หมายถึงคอมพิวเตอร์ ที่ใช้งาน ณ จุดที่จดั ไว้ให้ผูใ้ ช้มาใช้

ร่ วมกันหรื อจัดไว้โต๊ะทางานของแต่ละคน บางทีเรี ยกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคล (Personal Computer หรื อเรี ยกย่อๆ ว่า PC) หมายถึงคอมพิวเตอร์ที่ผใู ้ ช้ ส่ วนตัว มีหลายแบบเช่น คอมพิวเตอร์ ตั้งโต๊ะ (Desktop computer) ที่มีจอแสง คล้า ยโทรทัศ น์ แ ละเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ข นาดใกล้เ คี ย งกับ หนัง สื อ สามารถน าติ ด ตัว ไปใช้ที่ ใ ดก็ ไ ด้ เรี ย กว่ า คอมพิวเตอร์โน๊ตบุค (Notebook Computer) 2.

เครื่ องบริ การ (Server) เป็ นเครื่ องขนาดใหญ่ที่ใช้ร่วมกันหลายคนเป็ นเครื่ องที่ที่ใช้เก็บ

ฐานข้อมูลหรื อโปรแกรมสาเร็ จประยุกต์ (Application Package) จานวนมากที่สามารถใช้ร่วมกันโดยการสัง่ งาน


15 ด้วยคอมพิวเตอร์ เครื่ องบริ การจะมีโปรแกรมควบคุมการการทางานซึ่งเรี ยกว่า ระบบปฏิบตั ิการเครื อข่าย ที่มีระบบ การทางานและชื่อเครื่ องหมายการค้าแตกต่างกัน ที่นิยมกันมากในขณะนี้ ได้แก่ Linux Server, UNIX server, Windows NT server, Windows 2000 Server เครือข่ ายสื่ อสารข้ อมูล คือ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวข้องกันให้สามารถใช้ ข้อมูลร่ วมกันหรื อแลกเปลี่ยนกันได้ โดยใช้สายสื่ อสารข้อมูลที่ทาจากทองแดงหรื อเส้น ใยแก้วนาแสง นิ ยมแบ่ง เครื อข่ายตามขนาดพื้นที่และจานวนเครื่ องที่ใช้งาน ได้แก่ 1. แลน (LAN = Local Area Network) คือ เครื อข่ายบริ เวณเฉพาะที่ จากัดเขตเฉพาะภายในบริ เวณ อาคารหรื อกลุ่ มอาคารที่ อยู่ใ กล้กัน เนื่ องจากข้อจากัดของตัวกลางที่ ใ ช้ส่งข้อมูล เช่ น ภายในรั่ ว โรงเรี ยนหรื อ มหาวิทยาลัย เป็ นต้น

อุปกรณ์ ในระบบเครือข่ าย LAN 1. LAN Card คือ Card ที่จะติดตั้งภายในเครื่ อง PC ส่ วนใหญ่จะมีขนาดเล็ก เท่ากับ VGA Card หรื อ Sound Card สาหรับ LAN Card ยังแบ่งออกได้หลายประเภท ทั้งนี้ข้ ึนกับความเร็ วที่ตอ้ งการ เช่น 10 Mbps, 10/100 Mbps, 100 Mbps เป็ นต้น


16

2. LAN Cable คือสายสัญญาณที่มีลกั ษณะคล้ายสายโทรศัพท์ ที่นิยมใช้มีดงั นี้ UTP, STP ซึ่งการเลือกสาย แต่ละประเภทนี้จะขึ้นกับการนา ไปใช้ เช่น ติดตั้งภายใน ภายนอก หรื อระยะทางไกลแค่ไหน เป็ นต้น

3. HUB คือ อุปกรณ์ทีใช้เป็ นจุดศูนย์กลางในการกระจายสัญญาณ หรื อข้อมูล โดยปกติการเลือกHub จะดูที่ จานวน Port ที่ตอ้ งการ เช่น 8 ports, 12 ports, 24 ports

2. แวน (WAN=Wide Area Network) คือเครื อข่ายบริ เวณกว้าง ระยะทางมากกว่า10กิโลเมตรขึ้นไปจนมากกว่า หลายพันกิโลเมตร ปกติเชื่อมดโยงด้วยระบบสื่ อสารสาธารณะ เช่น สายโทรศัพท์ เครื อข่ายเส้นใยแก้วนาแสง หรื อ เครื อข่ายสัญญาณดาวเทียม เป็ นต้น


17

ประเภทของเครือข่ าย WAN เครื อข่าย WAN สามารถแบ่งเป็ นประเภทใหญ่ๆ คือ 1. เครื อข่ายส่ วนตัว (Private network) เป็ นการจัดตั้งระบบเครื อข่ายซึ่งมีการใช้งานเฉพาะองค์กร เช่น องค์กรที่มีสาขาอาจทาการสร้างระบบเครื อข่าย เพื่อเชื่อมต่อระหว่างสานักงานใหญ่กบั สาขาที่มีอยู่ เป็ นต้ น

การจัดตั้งระบบเครื อข่ายส่ วนตัวมีจุดเด่นในเรื่ องของการรักษาความลับของข้อมูล สามารถควบคุมดูแล เครื อข่ายและขยายเครื อข่ายไปยังจุดที่ตอ้ งการ ส่ วนข้อเสี ยคือในกรณี ที่ไม่ได้มีการส่ งข้อมูลต่อเนื่องตลอดเวลา จะ เสี ยค่าใช้จ่ายสูงมากเมื่อเทียบกับการส่ งข้อมูลผ่านเครื อข่ายสาธารณะ และหากมีการส่ งข้อมูลระหว่างสาขาต่างๆ จะต้องมีการจัดหาช่องทางสื่ อสารเชื่อมโยงระหว่างแต่ละสาขาด้วย ซึ่งอาจจะไม่สามารถจัดช่องทางการสื่ อสารไป ยังพื้นที่ที่ตอ้ งการได้ 2. เครื อข่ายสาธารณะ (PDN: public data network) หรื อบางครั้งเรี ยกว่าเครื อข่ายมูลค่าเพิ่ม (VAN: Value Added Network) เป็ นเครื อข่าย WAN ที่จะมีองค์กรหนึ่ง (third party) เป็ นผูท้ าหน้าที่ในการเดินระบบเครื อข่าย และ ให้เช่าช่องทางการสื่ อสารให้กบั บริ ษทั ต่างๆ ที่ตอ้ งการสร้างระบบเครื อข่าย ซึ่งบริ ษทั จะลดค่าใช้จ่ายของตนลงได้ เนื่องจากมีบุคคลอื่นมาช่วยแบ่งปันค่าใช้จ่ายไป ซึ่งจะนิยมใช้กนั มาก เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายต่ากว่าการจัดตั้งเครื อข่าย ส่ วนตัว สามารถใช้งานได้ทนั ทีโดยไม่ตอ้ งเสี ยเวลาในการจัดตั้งเครื อข่ายใหม่ รวมทั้งมีบริ การให้เลือกอย่าง หลากหลาย ซึ่งแตกต่างกันไปทั้งในส่ วนของราคา ความเร็ ว ขอบเขตพื้นที่บริ การ และความเหมาะสมกับงานแบบ ต่าง ๆ 3.อินเทอร์เน็ต (Internet) คือเครื อข่ายขนาดใหญ่ ประกอบด้วยเครื อข่ายแวนจานวนมากซึ่ง ครอบคลุมพื้นที่กว้างไกลทัว่ โลก


18

ประโยชน์ และตัวอย่ างของการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร มีส่วนทาให้ชีวิตความเป็ นอยูข่ องคนในปั จจุบนั มีความสะดวกสบาย มากขึ้น ทาให้คนในสังคมมีการติดต่อสื่ อสารถึงกันได้ง่ายและรวดเร็ ว มีการทากิจกรรมหลายสิ่ งหลายอย่าง ร่ วมกันง่ายขึ้น การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น 1.3.1 ด้ านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารถูกนามาใช้เพื่ออานวยความสะดวกในการบริ หาร ด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ ยงั ใช้เป็ นเครื่ องมือในการ เพิ่มโอกาสทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิ ทธิภาพการเรี ยนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่ อสารในด้านการศึกษา ดังรู ปที่ 1.14

1. การศึ ก ษาทางไกลผ่า นดาวเที ย ม ท าให้ผูท้ ี่ อ ยู่ห่ า งไกลหรื อ ไม่ ส ะดวกในการเดิ น ทางสามารถได้รั บ การศึกษาเช่นเดียวกับผูท้ ี่อยูใ่ นเมือง 2. บทเรี ยนอิเล็กทรอนิ กส์ยงั ช่ วยเสริ มประสิ ทธิ ภาพการเรี ยนการสอนในวิชาต่างๆ เช่ น ฟิ สิ กส์ เคมี ชี วะ ภาษาต่างประเทศ ทาให้บทเรี ย นมี ความน่ าสนใจมากขึ้น และเกิ ดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่ น การแสดง สถานการณ์จาลอง แบบจาลอง ภาพเคลื่อนไหว แสงสี และเสี ยงประกอบ นักเรี ยนสามารถเตรี ยมตัวก่อน


19 เรี ยน หรื อทบทวนบทเรี ยนด้วยตนเองเมื่อใดก็ได้ที่มีเวลาว่าง 3. บทเรี ยนอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มโอกาสในการเรี ยนรู ้ให้กบั ผูพ้ ิการทางสายตาหรื อหูเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่ อ สารมี บ ทบาทต่ อ การถ่ า ยทอดข้อ มู ล ข่ า วสารทางด้า นการศึ ก ษาได้เ ป็ นอย่า งดี ทั้ง ในและนอก สถานศึกษา หน่วยงานต่างๆ ใช้บทเรี ยนออนไลน์ในการฝึ กอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู ้เพิ่มเติม นอกจากนี้ อินเทอร์ เน็ตยังเป็ นแหล่งข้อมูลที่สาคัญที่ท้ งั ครู และนักเรี ยนหรื อบุคคลทัว่ ไป ใช้สาหรับค้นหาข้อมูลเรื่ อง ต่ า งๆ ในการท ารายงาน หรื อเพื่ อศึ ก ษาหาความรู ้ เว็บ ไซต์สาหรั บ ค้น หาข้อมู ลที่ ใ ช้กัน มากในปั จ จุ บ ัน เช่น google.com, ask.com, dogpile.com และ wikipedia.org ตัวอย่างการค้นหาข้อมูลจากหลักฐานข้อมูลบน อินเทอร์เน็ต ดังรู ปที่ 1.15

เกร็ดน่ ารู้ ระบบการลงทะเบียนเรียน การลงทะเบียนเรี ยนในมหาวิทยาลัยแห่ งหนึ่ ง นักศึกษาสามารถเลือกลงทะเบียนเรี ยนวิชาต่างๆที่กาหนดไว้ ในหลักสู ตรได้ โดยสามารถตรวจสอบได้ทนั ทีว่า มีวิชาอะไรเปิ ดสอนบ้าง และการเรี ยนการสอนเป็ นวัน อะไรเวลาอะไร วิ ช านั้น ๆมี ผูส้ มัค รเรี ย นกี่ ค น เต็ม จ านวนที่ ส ามารถรั บ แล้ว หรื อ ไม่ ซึ่ ง จะท าให้มี ก าร ปรับเปลี่ยนข้อมูลให้เป็ นปัจจุบนั อยูเ่ สมอ เพื่อให้นกั ศึกษาสามารถรับข้อมูลที่ถูกต้องและสามารถลงทะเบียน


20 เรี ยนได้อย่างถูกต้อง โดยระบบคอมพิวเตอร์ จะทาการตรวจสอบวิชาที่บนั ทึกแต่ละวิชาว่าติดขัดข้อกาหนด หรื อไม่ จากนั้นระบบคอมพิวเตอร์ก็จะทาการพิมพ์รายวิชาที่นกั ศึกษาลงทะเบียน พร้อมทั้งคานวณค่าใช้จ่าย ทั้ง หมดที่ นัก ศึ ก ษาต้อ งจ่ า ยเป็ นค่ า ลงทะเบี ย นเรี ย น เมื่ อ สิ้ น สุ ด ระยะเวลาการลงทะเบี ย นแล้ว ระบบ คอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งมีขอ้ มูลในฐานข้อมูลที่ปรับเปลี่ยนให้เป็ นปั จจุบนั อยู่เสมอจะทาการการพิมพ์รายงานการ ลงทะเบี ย นเรี ย นของนัก ศึ ก ษาในแต่ ละวิชา เพื่อแจ้งให้อาจารย์ผูส้ อนวิชานั้น ๆ ได้ทราบว่าแต่ ละวิชามี นักศึกษาผูใ้ ดลงทะเบียนเรี ยนบ้าง เป็ นจานวนรวมทั้งสิ้ นกี่ คน ข้อมูลต่างๆในฐานข้อมูลนี้ อาจถูกนาไปใช้ ประโยชน์อื่นๆ ได้อีก เช่น การจัดห้องสอบ การพิมพ์รายชื่อนัดศึกษาเพื่อการกรอกคะแนนและเกรด 1. นักศึกษาตรวจสอบวิชาที่เปิ ดสอน ตารางสอน 2. ตรวจสอบวิชาว่าติดขัดข้อกาหนดใดหรื อไม่ 3. พิมพ์รายวิชาที่นกั ศึกษาลงทะเบียนและคานวณค่าใช้จ่ายการลงทะเบียน 4. พิมพ์รายงานการลงทะเบียนของนักศึกษาในแต่ละวิชา 5. ข้อมูลต่างๆ ในฐานข้อมูลนี้อาจถูกนาไปใช้ประโยชน์อื่นๆ ได้อีก เช่น การจัดห้องสอบ การจัดพิมพ์ รายชื่อนักศึกษา เพื่อการกรอกคะแนนและเกรด 1.3.2 ด้ านการแพทย์ และสาธารณสุ ข เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารถูกนามาใช้เริ่ มต้นแต่การทา ทะเบียนคนไข้ การรักษาพยาบาลทัว่ ไป ตลอดจนการวินิจฉัยและรักษาโรคต่างๆ ได้อย่ารวดเร็ วและแม่นยา นอกจากนี้ยงั ใช้ในห้องทดลอง การศึกษาและการวิจยั ทางการแพทย์ รักษาคนไข้ดว้ ยระบบการรักษาทางไกล ตลอดเวลาผ่า นเครื อ ข่า ยการสื่ อ สาร เครื่ องเอ็ก ซเรย์ค อมพิ ว เตอร์ ที่ เ รี ย กว่า อี เ อ็ม ไอสแกนเนอร์ ( EMI scanner ) ถูกนามาใช้ถ่ายภาพสมองมนุษย์เพื่อตรวจหาความผิดปกติในสมอง เช่น ดูเนื้ องอกพยาธิ เลือดออก ในสมอง และต่อมาได้พฒั นาให้ถ่ายภาพหน้าตัดได้ทวั่ ร่ างกาย เรี ยกชื่อว่า ซีเอที ( CAT-Computerized Axial Tomography scanner: CAT scanner ) ใช้วิธีฉายแสงเป็ นจังหวะไปรอบๆ ร่ างกายของมนุษย์ ถ่ายเอ็กซเรย์ และเครื่ องรับแสงเอกซเรย์ที่อยูต่ รงข้ามจะเปลี่ยนแสงเอ็กซเรย์ให้เป็ นสัญญาณไฟฟ้ าเก็บไว้ในจานแม่เหล็ก จากนั้นจะนาสัญญาณไฟฟ้ าเหล่านี้ เข้าไปวิเคราะห์ในเครื่ องคอมพิวเตอร์ และแสดงผลลัพธ์เป็ นภาพทาง จอโทรทัศน์หรื อพิมพ์ภาพออกมาทางเครื่ องพิมพ์ ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารมนด้าน การแพทย์และสาธารณสุ ข


21

ดังรู ปที่ 1.16

1.3.3 ด้ านการเกษตรและอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารถูกนามาใช้ประโยชน์ในด้าน เกษตรกรรม เช่น การจัดทาระบบข้อมูลเพื่อการเกษตรและพยากรณ์ผลผลิตด้านการเกษตร นอกจากนี้ยงั ช่วย พัฒนาความก้าวหน้าทางด้านอุตสาหกรรม การประดิ ษฐ์หุ่นยนต์เพื่อใช้ทางานบ้าน และหุ่ นยนต์เพื่องาน อุตสาหกรรมที่ตอ้ งเสี่ ยงภัยและเป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพ เช่น โรงงาน สารเคมี โรงผลิตและควบคุมการจ่าย ไฟฟ้ า รวมถึงงานที่ตอ้ งทาซ้ าๆ เช่ น โรงงานประกอบรถยนต์ และโรงงานแบตเตอรี่ ปั จจุบนั เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสารเข้ามามีบทบาทอย่างมากในการผลิตและควบคุมคุณภาพสิ นค้า การส่ งสิ นค้าตาม ใบสางสิ นค้า การควบคุมวัสดุคงคลัง และการคิดราคาต้นทุนสิ นค้า ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่ อสารในด้านอุตสาหกรรมดังรู ปที่ 1.17


22

1.3.4 ด้ านการเงินการธนาคารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารถูกนามาใช้ในด้านการเงินและธนาคาร โดยใช้ช่วยงานด้นบัญชี การฝากถอนเงิน โอนเงิน บริ การสิ นเชื่ อ แลกเปลี่ยนเงินตรา บริ การข่าวสารการ ธนาคาร การใช้คอมพิวเตอร์ดา้ นการเงินการธนาคารที่รู้จกั และนิยมใช้กนั ทัว่ ไป เช่น บริ การฝากถอนเงิน การ โอนเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ ดังรู ปที่ 1.18

ทาให้เกิดความสะดวกรวดเร็ วต่อการดาเนินธุรกิจต่างๆ 1.3.5 ด้ านความมั่นคงมี การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารกันอย่างแพร่ หลาย เช่ น ใช้ในการ ควบคุมประสานงานวงจรสื่ อสารทหาร การแปลรหัสลับในงานจารกรรมระหว่างประเทศ การส่ งดาวทียม และการคานวณวิถีการโคจรของจรวดไปสู่ อวกาศ สานักงานตารวจแห่ งชาติของประเทศไทยมีศูนย์ประมวล ข่าวสาร มีระบบมีระบบจัดทาระเบียนปื น ทะเบียนประวัติอาชญากร ทาให้เกิดความสะดวกและรวดเร็ วใน การสื บค้นข้อมูลเพื่อการสื บสวนคดีต่างๆ ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารก้านความมัน่ คง


23 ดังรู ปที่ 1.19

1.3.6 ด้ านการคมนาคม มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารในส่ วนที่เกี่ยวกับการเดินทาง เช่ น การเดินทางโดยรถไฟ มีกรเชื่อมโยงข้อมูลการจองที่นงั่ ไปยังทุกสถานี ทาให้สะดวกต่อผูโ้ ดยสาร การเช็คอินของสายการบิน ได้จดั ทาเครื่ องมือที่สะดวกต่อลูกค้า ในรู ปแบบของการเช็คอินด้วยตนเอง


เอกสารอ้างอิง เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารสาหรับครู http://wiparat7135027-2.blogspot.com/2012/01/2.html http://www.com5dow.com/basic-computer/284-LAN%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3.html http://www3.ipst.ac.th/research/assets/web/mahidol/computer(10)/network/net_wan1.htm


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.