2 minute read

เลี้ยงกุ้งอย่างไรให้ปลอดภัยจากโรคตัวแดงดวงขาว

คาดปี 63

ก�ำลังผลิตสุกร

Advertisement

ขยับตัวสูงขึ้น

นายสุรชัย สุทธิธรรม นายกสมาคมผู้เลี้ยง สุกรแห่งชาติ เปิดเผยถึงแนวโน้มการเลี้ยงสุกร ปี 2563 ว่า ถือเป็นอีกปีแห่งความท้าทายของ อุตสาหกรรมสุกรของไทย โดยเฉพาะปัญหา ภัยแล้งที่คาดว่าจะรุนแรงกว่าทุกปีที่ผ่านมา ทั้งแล้ง เร็ว และแล้งนาน ซึ่งสภาพอากาศเช่นนี้ มีผลต่อ ประสิทธิภาพการเลี้ยง ท�ำให้สุกรกินอาหารน้อย ลง ส่งผลให้การเติบโตช้า ต้องใช้อาหารมากขึ้น ในการเปลี่ยนเป็นน�้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม จึงต้อง ใช้เวลาเลี้ยงนานขึ้นกว่าเดิม จากปกติที่สุกรขนาด น�้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป จะใช้เวลาเลี้ยงตั้งแต่ แรกคลอดถึงจับขายประมาณ 6 เดือน แต่อากาศ ร้อน ท�ำให้เกษตรกรต้องขยายเวลาเลี้ยงออกไป อีก 2 สัปดาห์ ท�ำให้มีต้นทุนสูงขึ้น ทั้งค่าอาหาร ค่าน�้ำ ค่าไฟฟ้า ค่าแรงงาน รวมถึงมีความเสี่ยง จากราคาที่อาจผันผวนในช่วงที่เลี้ยงนานขึ้นด้วย ขณะที่การผลิตสุกรของไทย ปี 2563 คาดว่า จะมีก�ำลังการผลิตสุกรปริมาณ 20.53 ล้านตัว หรือเพิ่มขึ้น 0.49% เนื่องจากปริมาณการผลิต ขยายตัวตามจ�ำนวนประชากร และราคาสุกร มีชีวิตจูงใจให้เกษตรกรขยายการผลิต ตลอดจน เกษตรกรมีการบริหารจัดการฟาร์ม และป้องกัน โรคระบาดได้เป็นอย่างดี ท�ำให้ประสิทธิภาพใน การเลี้ยงสุกรเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ปริมาณการผลิต เพิ่มขึ้น

ขณะเดียวกัน ภัยแล้งยังส่งผลให้ปริมาณน�้ำที่เกษตรกรกักเก็บส�ำรองไว้ ขาดแคลน ขณะนี้เกษตรกรในหลายพื้นที่จ�ำเป็นต้องซื้อน�้ำจากภาคเอกชน ที่ขายน�้ำเป็นคันรถ เพื่อมาใช้ส�ำหรับสุกร ทั้งน�้ำกิน และน�้ำใช้ภายในฟาร์ม เพื่อบรรเทาความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการขาดน�้ำสะอาด และอากาศ ร้อนจัด นอกจากนี้ยังต้องลงทุนเพิ่มในส่วนของการปรับคุณภาพน�้ำส�ำหรับ น�้ำที่ซื้อมาส�ำรองใช้ โดยฟาร์มหลายแห่งต้องเลือกซื้อน�้ำจากแหล่งที่มีคุณภาพ และสะอาดเพียงพอสามารถน�ำมาใช้ให้สุกรกินได้ อาทิ น�้ำบาดาล ซึ่งมีราคา ค่อนข้างสูงอยู่ที่ 150 - 300 บาทต่อลูกบาศก์เมตร ส�ำหรับน�้ำที่ใช้ท�ำ ความสะอาดโรงเรือน อาจจะใช้น�้ำคุณภาพต�่ำลงมา เป็นน�้ำผิวดิน หรือ น�้ำคลอง ราคาอยู่ที่ประมาณ 100 - 150 บาทต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่งยัง ไม่รวมค่าขนส่ง หากฟาร์มอยู่ไกลจากแหล่งน�้ำ ต้นทุนก็จะเพิ่มขึ้นตาม ระยะทาง เช่น เกษตรกรจังหวัดชลบุรี ที่ปกติมีต้นทุนค่าน�้ำ 30 บาท ต่อสุกรขุน 1 ตัว จะมีต้นทุนเพิ่มขึ้นเป็น 300 - 600 บาทต่อตัว หรือ ต้นทุนเพิ่มขึ้นถึง 3 - 6 บาทต่อเนื้อสุกร 1 กิโลกรัม ส่วนสถานการณ์ในปี 2562 ที่ผ่านมา ส�ำนักงานเศรษฐกิจ การเกษตรระบุว่า ประเทศไทยมีปริมาณการผลิตสุกรรวม 20.43 ล้านตัว ลดลง จากปี 2561 ที่ผลิตได้ 20.85 ล้านตัว หรือลดลง 2.01% ซึ่งเป็นผลจากราคาสุกร มีชีวิตตกต�่ำตั้งแต่ปลายปี 2560 ต่อเนื่องถึงปี 2561 เกษตรกรประสบภาวะขาดทุน ท�ำให้เกษตรกรบางรายเลิกเลี้ยง บางรายตัดสินใจลดปริมาณการเลี้ยงสุกรลง และ ผู้เลี้ยงแม่พันธุ์ต้องปลดแม่พันธุ์สุกรทิ้งถึง 20 -30% จากปริมาณทั้งประเทศ รวมทั้ง ภาครัฐมีมาตรการลดปริมาณสุกรเพื่อปรับสมดุลราคาสุกรมีชีวิต ท�ำให้ผลผลิต ในภาพรวมลดลง ต่อมาในช่วงกลางปี 2562 ราคาสุกรตกต�่ำเป็นอย่างมาก และ มีปัจจัยเสริมจากความวิตกกังวลเกี่ยวกับ ASF ที่เกิดในจีน และประเทศเพื่อนบ้าน ของไทย ท�ำให้เกษตรกรทั้งรายย่อย รายกลาง และรายใหญ่ ต่างระมัดระวังในการ เข้าเลี้ยงสุกรมากขึ้น โดยเฉพาะเกษตรกรรายย่อยที่ขาดทุนสะสมมานานกว่า 3 ปี ไม่มีเงินทุนส�ำหรับการเลี้ยงรอบใหม่ จ�ำเป็นต้องเลิกเลี้ยงสุกร ขณะที่ผู้เลี้ยง รายกลาง และรายใหญ่ ต่างจ�ำกัดความเสี่ยง ด้วยการชะลอการน�ำลูกสุกรเข้าเลี้ยง หรือเข้าในปริมาณที่น้อยกว่าปกติ แต่ก็ยังเป็นปริมาณที่เพียงพอต่อการรองรับ การบริโภคในประเทศ

เลียงกุ้งอย่างไร ให้ปลอดภัยจาก โรคตัวแดงดวงขาว

ปัจจุบันนี้แม้ว่ามีอุบัติการณ์ของโรคใหม่ๆ ในอุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้งเกิดขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งโรค เหล่านี้ได้สร้างความเสียหายกับเกษตรกรผู้เลี้ยง กุ้งเป็นอย่างมาก เช่น โรคอีเอ็มเอส และโรค ติดเชื้ออีเอชพี เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตาม โรคเดิม ที่ยังคงวนเวียนและสร้างความเสียหายกับการ เลี้ยงกุ้งเป็นอย่างมากก็คือ โรคตัวแดงดวงขาว หรือโรคจุดขาว (White Spot Disease, WSD) โดยความเสียหายของกุ้งที่เกิดจากโรคนี้สามารถ เกิดขึ้นได้ตลอดทั้งปี แต่ถึงอย่างไรก็ตาม ยังคง พบว่าช่วงปลายปีจนถึงต้นปี ตั้งแต่เดือนตุลาคม ถึงเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งเป็นช่วงที่มีอุณหภูมิต�่ำ จะเป็นช่วงที่มีอุบัติการณ์ของโรคนี้สูงสุดในรอบ ปี ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยที่พบว่า อุณหภูมิ ของน�้ำที่ลดต�่ำลง จะท�ำให้กุ้งมีความเสี่ยงต่อการ ติดเชื้อได้มากขึ้น จึงขอน�ำเสนอข้อมูลลักษณะ ของเชื้อและกุ้งที่ป่วย รวมไปถึงแนวทางป้องกัน และลดความเสี่ยงจากโรคตัวแดงดวงขาว เพื่อ ย�้ำเตือนเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งให้ตระหนักถึงการ ป้องกันปัญหานี้ ซึ่งได้สร้างความเสียหายต่อ ผลผลิตกุ้งเป็นประจ�ำในทุกๆ ปลายปี

รูปที่ 1 กุ้งป่วยที่ติดเชื้อไวรัวตัวแดงดวงขาว จะเห็นจุดขาวที่เปลือกอย่างชัดเจน

■ ลักษณะของเช ื ้ อรา และอาการของกุ้งที่ป่วย

โรคตัวแดงดวงขาวในกุ้ง เกิดจากการติดเชื้อ ไวรัสตัวแดงดวงขาว (White Spot Syndrome Virus, WSSV) ซึ่งมีสารพันธุกรรมเป็นดีเอ็นเอ สายคู่ ไวรัสตัวแดงดวงขาวจะมีรูปร่างลักษณะ เป็นแท่งไปจนถึงเป็นรูปไข่ มีขนาดรูปร่างประมาณ 120x275 นาโนเมตร และมีผนังหุ้ม (Envelope) โดยการติดเชื้อสามารถพบได้ในกุ้งพีเนียสหลาย ชนิด เช่น กุ้งกุลาด�ำ กุ้งขาว กุ้งขาวจีน กุ้งขาว

อินเดีย กุ้งฟ้า กุ้งลายเสือ และกุ้งแชบ๊วย เป็นต้น การตรวจพบโรคสามารถตรวจพบได้ในทุกช่วง อายุของกุ้ง และยังตรวจพบได้ในสัตว์พาหะหลาย ชนิด เช่น ปู เคย กุ้งธรรมชาติ และโคพีพอด เป็นต้น ส่วนการติดต่อของเชื้อในกุ้ง สามารถ ถ่ายทอดเชื้อไวรัสผ่านทางพ่อแม่พันธุ์สู่ลูกกุ้งได้ (Vertical Transmission) และจากการกินกุ้งป่วย ที่มีเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวเข้าไป สัตว์พาหะน�ำโรค รวมทั้งน�้ำที่ปนเปื้อนเชื้อจากบ่อที่มีกุ้งป่วย หรือ จากแหล่งน�้ำธรรมชาติที่มีเชื้อ และไม่ได้ผ่านการ บ�ำบัด (Horizontal Transmission)

เมื่อกุ้งติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาว กุ้งที่ป่วย จะแสดงรอยโรคจุดขาว หรือดวงขาวด้านใต้เปลือก สังเกตได้ชัดโดยเฉพาะเปลือกส่วนหัว (Carapace) ล�ำตัวกุ้งจะมีสีชมพูถึงแดง กุ้งที่ป่วยอาจไม่พบรอย จุดขาวได้ แต่จะแสดงอาการที่ผิดปกติ เช่น ว่ายน�้ำ ช้า เกาะอยู่ตามขอบบ่อ และไม่กินอาหาร หลังกุ้ง ติดเชื้อจะเริ่มพบกุ้งป่วยและทยอยตายเป็นจ�ำนวน มาก อาจเสียหายมากถึงร้อยเปอร์เซ็นต์ภายใน 3    -    10 วัน ความรุนแรงของโรคเกิดขึ้นได้หลาย ปัจจัย เช่น ความหนาแน่นของการเลี้ยง คุณภาพ น�้ำ หรือสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ จะโน้มน�ำท�ำให้กุ้งเกิดความเครียด อ่อนแอ ง่ายต่อการเกิดโรคมากขึ้น โดยได้มีงานวิจัยของ Kathyayani S.A. และคณะในปี 2562 พบว่า ค่าแอมโมเนียรวมและพีเอชของน�้ำที่สูงเกินกว่า ระดับที่เหมาะสม จะท�ำให้กุ้งขาวมีภูมิต้านทานลด ลง และท�ำให้มีความไวในการติดเชื้อไวรัสตัวแดง ดวงขาวเพิ่มมากขึ้น ส�ำหรับการตรวจวินิจฉัยกุ้ง ที่ติดเชื้อนั้น ในเบื้องต้นอาจสันนิษฐานได้จาก ลักษณะของกุ้งป่วย และอาการดังกล่าวข้างต้น แต่เพื่อยืนยันผลการติดเชื้อที่แน่ชัด จะต้องส่ง ตัวอย่างกุ้งป่วยตรวจทางห้องปฏิบัติการด้วยวิธี ย้อมสีเหงือก หรือเนื้อเยื่อใต้เปลือก วิธีทาง จุลพยาธิวิทยา หรือการตรวจด้วยเทคนิคพีซีอาร์

■ แนวทางป้องกันเพื ่ อลด ความเส ี่ ยงจากโรคตัวแดง ดวงขาว

• เน้นการป้องกันโรคด้วยระบบไบโอ - ซีเคียวอย่างเคร่งครัด

การที่จะเลี้ยงกุ้งให้ประสบความส�ำเร็จ นั้น เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งจ�ำเป็นต้องมีการเตรียม ความพร้อมในทุกๆ ด้าน และต้องมีความพิถีพิถัน ในทุกขั้นตอน ตั้งแต่การเตรียมบ่อ การคัดเลือกกุ้ง และการจัดการระหว่างการเลี้ยง นอกจากนี้ สิ่งที่ เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งต้องให้ความส�ำคัญในระดับ สูงสุดเพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดโรค โดยเฉพาะ โรคตัวแดงดวงขาวคือ การป้องกันโรคด้วยระบบ ไบโอซีเคียวอย่างเคร่งครัด ซึ่งจะต้องค�ำนึงถึง ปัจจัยต่างๆ ดังนี้ 1. เลือกใช้ลูกกุ้งที่ปลอดเชื้อ (SPF) ลูกกุ้งที่ปลอดเชื้อจะต้องได้มาจากพ่อแม่พันธุ์ที่ ปลอดเชื้อ และระบบการเลี้ยงที่ปลอดเชื้อเท่านั้น ลูกกุ้งที่ได้จากระบบการเลี้ยงที่ยังไม่ได้มาตรฐาน เพียงพอ จะมีความเสี่ยงในการปนเปื้อนของเชื้อสูง แม้ว่าลูกกุ้งจะผ่านการตรวจด้วยวิธีพีซีอาร์มาแล้ว ก็ตาม เนื่องจากการตรวจสอบเพียงไม่กี่ครั้งอาจ เกิดความผิดพลาดได้จากวิธีการสุ่มตัวอย่าง หรือ เกิดจากการให้ผลลบเทียมในกรณีที่เชื้อมีปริมาณ น้อยกว่าระดับที่ตรวจได้ ดังนั้นจึงควรเลือกใช้ลูกกุ้ง ที่ปลอดเชื้อจริงๆ จากโรงเพาะฟักที่มีมาตรฐานสูง และลูกกุ้งมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง

ซึ่งจะต้องมีระบบการเลี้ยงที่ปลอดจากเชื้อก่อโรค ที่รุนแรง และมีการตรวจติดตามเชื้อก่อโรคเป็น โปรแกรมตลอดระยะเวลาการเลี้ยง จึงท�ำให้แน่ใจ ได้ว่า นอกจากลูกกุ้งจะปลอดจากเชื้อไวรัสตัวแดง ดวงขาวอย่างแน่นอนแล้ว ยังปลอดจากเชื้อก่อโรค ที่ส�ำคัญอื่นๆ อีกด้วย 2. วิเคราะห์จุดที่เป็นความเสี่ยงหลักๆ ของฟาร์ม ซึ่งเป็นช่องทางที่อาจเกิดการปนเปื้อน ของเชื้อไวรัสจากภายนอกเข้าสู่ระบบการเลี้ยง ในฟาร์ม เพื่อให้สามารถท�ำการป้องกัน และ ระมัดระวังได้อย่างตรงจุด ทุกครั้งที่เกิดความเสีย หายของกุ้งจากโรคนี้ เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งจะต้อง ท�ำการวิเคราะห์ถึงข้อผิดพลาดในครั้งนั้นๆ เพื่อให้ ทราบถึงจุดบกพร่องที่ท�ำให้เชื้อสามารถเข้าสู่ระบบ การเลี้ยงได้ ในกรณีซึ่งเป็นปัญหาที่แก้ไขได้ยาก หรือไม่สามารถแก้ไขได้ เช่น การที่ฟาร์มมีบ่อเลี้ยง บางส่วนอยู่ใกล้กับทะเล ในช่วงมรสุมที่มีลมแรง อาจมีการพัดพาละอองน�้ำจ�ำนวนมากที่มีเชื้อปน   -    เปื้อนเข้ามาสู่บ่อเลี้ยงได้โดยตรง การป้องกัน ท�ำได้ ยาก และมีค่าใช้จ่ายสูง ในกรณีเช่นนี้เกษตรกร ผู้เลี้ยงกุ้งอาจจ�ำเป็นต้องหยุดเลี้ยงในบ่อที่ได้รับ ผลกระทบจากปัญหานี้ ซึ่งไม่เพียงแต่จะลดความ เสียหายของกุ้งที่จะเกิดในบ่อดังกล่าวแล้ว ยังลด โอกาสการแพร่กระจายของเชื้อไปยังบ่ออื่นๆ ที่ อยู่ถัดๆ ไปอีกด้วย 3. ตรวจสอบความพร้อมของระบบ ไบโอซีเคียว ผู้เลี้ยงกุ้งจะต้องท�ำการตรวจสอบ ความสมบูรณ์ของระบบไบโอซีเคียวในส่วนที่เป็น โครงสร้าง ไม่ว่าจะเป็นรั้วกันปู เชือก หรือตาข่าย กันนก อุปกรณ์ฆ่าเชื้อก่อนเข้าสู่บ่อเลี้ยงและอื่นๆ ว่ามีครบถ้วน และพร้อมใช้งานมากน้อยเพียงใด จุดไหนที่ยังขาด หรือมีข้อบกพร่อง ก็ต้องท�ำการ เสริม หรือซ่อมแซมปรับปรุงเพื่อให้สามารถใช้งาน

รูปที่ 2 รั ้ วกันปู และตาข่ายกันนกในบ่อเลี้ยงกุ้ง

ได้อย่างสมบูรณ์ นอกจากนี้ ยังต้องมีการทบทวน แนวทางปฏิบัติงานว่ามีความเหมาะสม ถูกต้อง และรัดกุมเพียงพอหรือไม่ เพื่อให้ระบบไบโอซีเคียว สามารถท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 4. ค�ำนึงถึงความพร้อมและศักยภาพ ของฟาร์ม การเลี้ยงกุ้งให้ประสบความส�ำเร็จในช่วง เวลาที่มีโอกาสของการเกิดโรคสูงนั้น เกษตรกร ผู้เลี้ยงกุ้งจ�ำเป็นต้องมีการเตรียมความพร้อมใน ทุกๆ ด้านเป็นอย่างดี รวมทั้งต้องมีความพิถีพิถัน ในทุกๆ ขั้นตอนของการเลี้ยง อย่างที่ทราบกัน ดีว่า ระบบการเลี้ยงกุ้งในปัจจุบันต้องใช้น�้ำในการ เปลี่ยนถ่ายระหว่างการเลี้ยงมากขึ้น เพื่อลด ความเสี่ยงของการเกิดโรคต่างๆ เกษตรกรผู้เลี้ยง กุ้งจะต้องให้ความส�ำคัญและใส่ใจมากเป็นพิเศษ เพื่อให้มีน�้ำที่ปลอดเชื้อส�ำหรับใช้ในการเลี้ยงอย่าง เพียงพอ เพื่อก�ำหนดจ�ำนวนบ่อที่จะเลี้ยง อัตรา ความหนาแน่นของการลงกุ้ง และขนาดกุ้งที่จะจับ ที่เหมาะสม ถ้าไม่สอดคล้องกันอาจท�ำให้ต้อง เตรียมน�้ำอย่างรีบเร่งเพื่อให้มีน�้ำอย่างเพียงพอ ส�ำหรับใช้งาน ก็จะท�ำให้มีโอกาสที่จะเกิดความ ผิดพลาดสูงขึ้น นอกจากนี้ ในบางพื้นที่ที่มีปัญหา เรื่องการขาดแคลนแรงงาน ก็ต้องพิจารณาว่าอัตรา ก�ำลังคนที่มีอยู่ ควรจะเลี้ยงกุ้งกี่บ่อถึงจะท�ำให้ สามารถดูแลจัดการได้อย่างทั่วถึง เพื่อลดโอกาส ที่จะเกิดความผิดพลาดในการเลี้ยงลง

This article is from: