2 minute read
กรมการค้ากลับล�ำไม่คุมส่งออกหมู ภัยแล้ง โรคระบาดซ้ำเติมราคาแพง
ส�ำหรับแหล่งที่มาของความเสี่ยง อาจมา จากสภาพแวดล้อม มาจากช่วงของการเก็บรักษา เช่น สารพิษจากเชื้อรามาจากการขนส่ง ซึ่งเรื่องนี้ ส�ำคัญไม่น้อย เพราะเป็นความเสี่ยงทางชีวภาพ ที่เกิดจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ส่วนความเสี่ยง ในเชิงเคมี ที่ส�ำคัญคือ DDT หรือสารเคมีก�ำจัด แมลง กับไดออกซิน (Dioxins) โดยเฉพาะได - ออกซิน สามารถเกิดได้ทั้งวัตถุดิบกลุ่มแร่ธาตุ และผลพลอยได้จากการผลิตวัตถุดิบอาหาร เช่น ปลาป่น น�้ำมันปลา ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องระมัดระวัง เพราะมันสะสมอยู่ในเนื้อไขมัน ถึงแม้จะพบใน อัตราที่ต�่ำ ก็ไม่ได้หมายความว่ามันจะไม่ก่อให้เกิด ปัญหา หากการสะสมนั้นเกิดขึ้นเป็นระยะเวลา ที่ยาวนาน ดังนั้น เราจึงไม่ควรที่จะมองข้าม
กรณีของ 3 สารเคมีที่ทางรัฐบาลก�ำลัง ด�ำเนินการแบนนั้น ตามค่า MRLs ที่ก�ำหนด อาจ ไม่มีปัญหาในการใช้ แต่การที่รัฐบาลก�ำหนดให้ เป็นศูนย์ ก็จะกลายเป็นว่า ทั้งในวัตถุดิบอาหารสัตว์ รวมทั้งผลิตภัณฑ์ที่เราบริโภค เราจะมีทางออก อย่างไร ซึ่งอาจเป็นเรื่องที่ค่อนข้างใหญ่ ดังนั้น จึง เป็นเรื่องที่เราจะต้องคิดกันต่อไปว่าจะท�ำอย่างไร อย่างไรก็ดี การปลอมปนของสารที่มีความเสี่ยงนั้น อาจเกิดจากสาเหตุอื่น ไม่เฉพาะว่าเกิดจากการ ปนเปื้อนมากับวัตถุดิบ แต่อาจเกิดขึ้นในระหว่าง กระบวนการผลิตในโรงงานด้วย เพราะฉะนั้น สิ่งหนึ่งที่คนท�ำอาหาร หรือโรงงานผลิตอาหาร สัตว์ จ�ำเป็นที่จะต้องท�ำ คือ คอยดูแลตรวจสอบ เครื่องไม้เครื่องมือ อุปกรณ์เครื่องจักรด้วย ใบรับรอง คุณภาพวัตถุดิบบางครั้งอาจจะไม่ได้การันตีความ ปลอดภัย หากแหล่งวัตถุดิบนั้นไม่ได้ถูกตรวจสอบ อย่างต่อเนื่อง เพราะฉะนั้นความแตกต่างของการ จัดการส่วนนี้ ก็มีโอกาสเกิดความเสี่ยงในระดับ ที่แตกต่างกันออกไปได้เช่นเดียวกัน ขณะที่ความเสี่ยงในเชิงชีวภาพ ที่ส�ำคัญ คือ การปนเปื้อนมัยโคทอกซิน หรือสารพิษจาก เชื้อรา การปนเปื้อนจุลินทรีย์ที่เป็นกลุ่มก่อโรค และ สุดท้ายคือ การปนเปื้อนที่เรามองว่า เราสามารถ จัดการมันได้ เป็นการปนเปื้อนที่เรารู้ว่ามันมากับ วัตถุดิบที่แน่นอน และเราเรียนรู้ที่จะจัดการมัน มาโดยตลอด แต่อย่าลืมว่า มันยังมีอีกบางแง่มุม ที่ท�ำให้สิ่งเหล่านี้อาจจะท�ำให้การใช้สารอาหารใน ส่วนของวัตถุดิบ หรือในอาหารที่เราผลิตมันเกิดได้ ไม่เต็มศักยภาพ และมีโอกาสที่จะส่งผลต่อสุขภาพ ในทางเดินอาหารของสัตว์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในปัจจุบันที่เราอาจจะงดใช้ยาปฏิชีวนะ จากการส�ำรวจของ บริษัท ไบโอมิน ใน วัตถุดิบอาหารสัตว์ของไทย ประเทศที่มีความเสี่ยง ในเรื่องของการปนเปื้อน จากการส�ำรวจในข้าวโพด พบว่า มีการปนเปื้อนสารพิษจากเชื้อรา หรือ มัยโคทอกซิน ค่อนข้างสูง รวมถึง DDGS ที่มี ความเสี่ยงสูงเช่นกัน และที่น่าคิดก็คือว่า ปัจจุบัน วัตถุดิบทั้งสองตัว ไม่ได้มีการปนเปื้อนแค่อะฟลา ทอกซิน (aflatoxin) เท่านั้น แต่ยังมีการปนเปื้อน ตัวอื่นในระดับสูงเช่นกัน นอกจากนี้ ความเสี่ยง ในการปนเปื้อนสารพิษจากเชื้อรา ไม่ได้ขึ้นอยู่กับ ปัจจัยใดปัจจัยหนึ่ง หรือไม่ได้หายไปไหน แต่มัน ยังคงอยู่ และสามารถเกิดขึ้นได้ในทุกขั้นตอนการ ผลิต โดยเฉพาะประเทศไทยที่มีขนาดฟาร์ม และ โรงงานผลิตที่มีความหลากหลาย ดังนั้น โอกาส ที่จะเกิดความเสี่ยงจึงมีสูง มาตรการการจัดการ บางครั้งอาจท�ำให้ไม่สามารถท�ำได้อย่างทั่วถึง นอกเหนือจากการที่เรามีโอกาสทราบว่า สารพิษจากเชื้อรามันสร้างปัญหาให้กับผลผลิต ที่อยู่ในฟาร์มแล้ว อีกสิ่งหนึ่งที่เราต้องตระหนักเลย ก็คือ สารพิษจากเชื้อรา มีโอกาสที่จะถูกส่งต่อไป ยังผลิตภัณฑ์ที่เราบริโภคได้ ไม่ว่าจะเป็น ตัวไข่
Advertisement
เนื้อ และอื่นๆ ที่บริโภค ดังนั้น เราจึงมีความจ�ำเป็น ที่จะต้องตรวจสอบ และรู้ให้เท่าทัน เพราะบางครั้ง สารพิษเหล่านี้อาจจะยังไม่พบเห็น หรือแสดงออก ในตัวสัตว์ จึงท�ำให้เราคิดว่ามันไม่มี แต่จริงๆ แล้ว มันยังคงมีอยู่ หรือแฝงตัวอยู่ในนั้นแล้วก็เป็นได้ อย่างไรก็ดี หากเราจะมองปัญหาเรื่องของ สารพิษจากเชื้อราให้สัมพันธ์กับสุขภาพทางเดิน อาหาร จะพบว่าตัวสารพิษจากเชื้อรา เช่น อะฟลา ทอกซิน นอกเหนือจากที่มันจะเกิดอุบัติการณ์ที่ ความผิดปกติในส่วนของร่างกายของสัตว์ สิ่งหนึ่ง ที่สารพิษอาจก่อปัญหาได้คือ การรั่วของทางเดิน อาหาร ซึ่งมีผลท�ำให้เกิดภาวะการอักเสบ สิ่งที่ ตามมาคือ ความสามารถในการย่อยของสัตว์ ส่ง ผลให้การใช้ประโยชน์จากอาหารไม่เต็มที่ โดย เฉพาะแหล่งอาหารที่เป็นโปรตีน ที่ถือเป็นส่วนที่ ส�ำคัญในตัวสัตว์ เพราะฉะนั้นความชัดเจนของ โปรตีนที่อยู่ในอาหาร กับความสามารถในการใช้ ประโยชน์ของโปรตีนของตัวสัตว์ที่มาจากวัตถุดิบ อาหาร จึงเป็นสิ่งที่เราควรให้ความส�ำคัญ
แต่อย่างไรก็ตาม หากพูดถึงความเสี่ยง ในเชิงชีวภาพ อีกเรื่องที่ส�ำคัญนอกเหนือจาก สารพิษจากเชื้อรา นั่นคือ จุลินทรีย์ก่อโรค ซึ่ง มี 2 กลุ่ม คือ กลุ่มแบคทีเรีย กับ ไวรัส โดย กลุ่มแบคทีเรีย ตัวเชื้อที่เราคุ้นเคยกันดี คือ ซัลโมเนลลา (Salmonella spp.) กับ อีโคไล (E.Coli) ซึ่งมาจากทั้งสภาพแวดล้อม และการ สัมผัสโดยตรงของสัตว์ และการติดมากับยาน - พาหนะในฟาร์ม ดังนั้น ในการควบคุมป้องกันที่ ผ่านมา เรามักจะใช้วิธีการผ่านความร้อน แต่ก็ไม่ได้ ผลเต็มร้อย เพราะอย่างที่กล่าวมาว่า สิ่งเหล่านี้ มีโอกาสเกิดขึ้นได้ทุกขั้นตอนการผลิต ดังนั้น การ ควบคุมป้องกัน จึงจ�ำเป็นที่จะต้องท�ำอย่างต่อเนื่อง ปัญหาที่ส�ำคัญของเชื้อแบคทีเรียก่อโรค เมื่อปนเปื้อนเข้าไปในอาหารสัตว์ จะส่งผลต่อตัว สัตว์โดยตรง ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เช่น ท้องเสีย ขี้ไหล ถ่ายเหลว รวมถึงการใช้ประโยชน์จากสาร อาหารที่อยู่ในอาหารที่สัตว์กินเข้าไปลดน้อยลง เพราะระบบทางเดินอาหาร หรือสุขภาพของล�ำไส้
มีปัญหา ท�ำให้สัตว์เจริญเติบโตช้า กินได้ไม่เต็มที่ แต่สิ่งที่ส�ำคัญไปกว่านั้นคือ อาหารที่สัตว์กินเข้าไป เมื่อระบบการย่อยมีปัญหา เศษอาหารที่ถูกส่งต่อ ไปยังล�ำไส้ส่วนปลาย จะก่อให้เกิดปัญหาตามมา อีกหลายๆ ปัญหา
ไวรัส เป็นอีกตัวที่สร้างปัญหา โดยสามารถ ปนเปื้อนในอาหารได้เช่นกัน ที่ชัดเจนคือ การ ระบาดของโรค PED ในสหรัฐอเมริกา ซึ่งสาเหตุ ก็มาจากมีวัตถุดิบปนเปื้อนเชื้อไวรัส จนน�ำไปสู่การ ระบาดของโรค PED นอกจากนี้ ยังมีรายงานที่ ชี้ให้เห็นอย่างชัดเจนว่า ในส่วนของวัตถุดิบ ไม่ว่า จะเป็นข้าวโพด หรือถั่วเหลือง และวัตถุดิบตัว อื่นๆ ไวรัสสามารถปนเปื้อนลงไปได้ในวัตถุดิบ หรือ ในอาหารนั้นๆ ในอัตราที่สูงพอสมควร โดยเฉพาะ ถั่วเหลือง ที่มีโอกาสคงอยู่ของเชื้อไวรัสค่อนข้างสูง กว่าวัตถุดิบตัวอื่นๆ
ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น ไม่เพียงแค่ว่าเกิดกับ วัตถุดิบแล้วอยู่แค่ตรงนั้น แต่มันสามารถเคลื่อน ย้ายไปกับวัตถุดิบเหล่านั้นไปยังปลายทาง ที่ชัดเจน คือ วัตถุดิบที่มีการปนเปื้อนเชื้อในประเทศจีน ได้ ถูกส่งต่อไปยังอเมริกา และที่อื่นๆ ดังนั้น ความ เสี่ยงดังกล่าว จึงไม่เลือกเฉพาะเจาะจงที่ใดที่หนึ่ง ตราบใดที่วัตถุดิบเหล่านั้นมีการปนเปื้อนเชื้อ มันก็ มีโอกาสที่จะเคลื่อนย้ายไปยังปลายทางได้เสมอ ในกรณีของ PED มีที่มีสาเหตุจากวัตถุดิบจาก ประเทศจีน จนเกิดอุบัติการณ์ขึ้นในอเมริกา มีการ ยืนยันชัดเจนแน่นอน เพราะฉะนั้น ในบ้านเรา ก็มีโอกาสที่จะพบเช่นกันหากมีการน�ำเข้ามาใช้ ในส่วนของโรค ASF มีการพิสูจน์ออกมา แล้วว่า มีโอกาสที่เชื้อจะส่งผ่านไปยังปลายทางโดย วัตถุดิบ ดังนั้นทั้ง PED และ ASF มันมีโอกาส ที่จะเจอ เพราะฉะนั้น สิ่งเหล่านี้จึงชี้ให้เห็นว่า พวก
Photo: pnmralex_pixabay
เราอยู่ในสภาวะความเสี่ยง นอกจากนี้ ยังมีโอกาส ติดผ่านทางน�้ำ และอากาศ แต่การติดต่ออาจขึ้น อยู่กับจ�ำนวนครั้ง หรือความถี่ที่สัตว์สัมผัส หรือ ดื่มกิน ถึงแม้ปริมาณเชื้อจะมากแต่ถ้าความถี่ ในการรับเชื้อมีน้อยครั้ง ก็อาจไม่ส่งผลกระทบ อะไร ในทางตรงกันข้าม แม้ปริมาณเชื้อจะมีน้อย แต่ถ้าความถี่ในการรับเชื้อมีมากครั้ง ก็อาจท�ำให้ สัตว์ติดเชื้อได้มากเช่นกัน
ประเด็นสุดท้ายที่จะกล่าวถึงคือ สารพิษ ที่มีอยู่ในตัววัตถุดิบอยู่แล้ว เช่น ไซยาไนด์ (Cya nides) ในมันส�ำปะหลัง ซึ่งปัญหาเหล่านี้จะส่งผล กระทบในส่วนของสารอาหารกลุ่มแร่ธาตุ และ โปรตีน การจัดการที่ผ่านมามีการจะใช้วิธีการผ่าน ความร้อน แต่ก็ไม่ใช่วิธีที่สามารถก�ำจัดออกได้