2 minute read

ความเสี่ยงที่ไม่ควรมองข้ามในอาหารและวัตถุดิบอาหารสัตว์

เปิดตัวลูกกุ้งกุลาด�ำสายพันธุ์ CP ที ่ พัฒนาพ่อแม่พันธุ์ขึ ้ นมาเอง ด้วยการพัฒนาอย่างต่อเนื่องของสายพันธุ์ กุ้งกุลาด�ำ ซีพีเอฟ ได้ลงทุนด้านการพัฒนาการ เลี้ยงกุ้งกุลาด�ำปลอดโรคที่ได้จากการเลี้ยง ท�ำให้ได้ ลูกกุ้งที่แข็งแรง ปลอดเชื้อไวรัส มีความต้านทาน โรค อัตรารอดสูง อัตราการเจริญเติบโตดี โดยมี ศูนย์กลางการผสมสายพันธุ์ตั้งอยู่ที่ ศูนย์ไบโอเทค จังหวัดจันทบุรี และมีโรงเพาะฟักพ่อแม่พันธุ์กุ้ง อยู่ที่จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดสมุทรสาคร ลูกกุ้งซีพีเอฟ พัฒนาสายพันธุ์กุ้งกุลาด�ำ ของบริษัทเอง จากพ่อแม่พันธุ์ที่แข็งแรง ส�ำหรับ “ลูกกุ้งสะอาด” คือปลอดจากเชื้อต่างๆ เริ่มจาก พ่อแม่พันธุ์ ซึ่งเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญ ที่มีผลต่อความ ส�ำเร็จของการเลี้ยงกุ้ง เกษตรกรควรพิจารณาเลือก ใช้ลูกกุ้งที่มาจากโรงเพาะฟักที่ได้มาตรฐาน พ่อ แม่พันธุ์ต้องปลอดเชื้อ กระบวนการผลิตในโรง เพาะฟักนั้นจะต้องให้ความส�ำคัญกับระบบไบโอ ซีเคียวเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของเชื้อในทุก ขั้นตอนของการผลิต อย่างไรก็ตาม ถึงวันนี้ ซีพีเอฟยังปรับปรุง สายพันธุ์กุ้งกุลาด�ำอย่างต่อเนื่องด้วยการผสม เทียม เพื่อพัฒนาปรับปรุงให้โตเร็ว ต้านทานโรค ขึ้น ยังต้องใช้เวลาพัฒนาไปเรื่อยๆ โดยปัจจุบัน กุ้งกุลาด�ำขนาด 20 - 30 ตัวต่อกิโลกรัม ใช้เวลา เลี้ยงประมาณ 120 วัน และตั้งเป้าหมายสายพันธุ์ ที่สามารถเลี้ยงได้ขนาด 30 ตัวต่อกิโลกรัม ใน เวลาไม่เกิน 90 วัน

โอกาสการเลี ้ ยงกุ้งกุลาด�ำ ทศวรรษใหม่

Advertisement

สืบเนื่องจากการพัฒนาสายพันธุ์กุ้งกุลาด�ำ ของซีพีเอฟที่เกษตรกรสามารถมั่นใจในคุณภาพ

ของลูกกุ้งที่สะอาด ปลอดเชื้อ มีอัตราการ เจริญเติบโตที่ดี และให้อัตรารอดที่สูง ภายใต้ กระบวนการผลิตจากโรงเพาะฟักที่ได้มาตรฐาน ตอนนี้ทางซีพีเอฟ อยู่ระหว่างพัฒนาและทดลอง เลี้ยงกุ้งกุลาด�ำในบ่อพีอี โดยได้ทดลองเลี้ยงในพื้นที่ ภาคกลาง และภาคตะวันออก (จ.สมุทรสงคราม จ.ฉะเชิงเทรา จ.จันทบุรี จ.ระยอง และ จ.ตราด) ดังนั้น การเลี้ยงกุ้งกุลาด�ำให้ประสบความส�ำเร็จ จึงไม่ใช่สิ่งที่ยากอีกต่อไป โดยเกษตรกรควรมีการ จัดการที่ดีในการเลี้ยงกุลาด�ำเบื้องต้น ดังนี้

1. ใช้ลูกกุ้งที่มีคุณภาพ โดยเลือกลูกพันธุ์ ที่มาจากโรงเพาะฟักที่มีกระบวนการผลิตที่ได้ มาตรฐาน เพื่อให้ได้ลูกกุ้งที่ปลอดโรค มีอัตราการ เจริญเติบโตที่ดี เท่าที่ผ่านมา ผู้เลี้ยงกุ้งมักจะ นิยมปล่อยลูกกุ้งอัตราความหนาแน่นที่สูงมาก ที่ 150,000 - 250,000 ตัว/ไร่ การเลี้ยงจากการ ไต่ถามผู้เลี้ยงกุ้ง ที่ปล่อยอย่างนี้ก็เพราะเผื่อลูก กุ้งตาย จ�ำนวนการติดของลูกกุ้งน้อย ซึ่งสาเหตุ อันนี้ เนื่องจากคุณภาพลูกกุ้งที่ผ่านมาไม่ดีเท่าที่ ควร การปล่อยลูกกุ้งหนาแน่นเกินไปมักพบอาการ กุ้งแตกไซส์ และมักจะพบว่าอัตรารอดของลูกกุ้ง ต�่ำ ดังนั้น การปล่อยลูกกุ้งที่เหมาะสม ที่ 50,000 - 70,000 ตัวต่อไร่ ซึ่งหากผู้เลี้ยงเลือกพันธุ์ที่ดี และ ปล่อยลูกกุ้งตามที่กล่าวมา จะไม่พบการแตกไซส์ ของกุ้ง มีอัตราการเจริญเติบโตที่ดี และมีอัตรา รอดสูง

2. ใช้อาหารที่มีคุณภาพ การใช้อาหารที่ มีคุณภาพดี หมายถึง ใช้อาหารปริมาณน้อยแต่ ได้ “ค่าอัตราการแลกเนื้อดี” อาหารที่มีคุณภาพ ต�่ำจะมีผลท�ำให้กุ้งโตช้ากว่าปกติ และยังต้องเสีย เวลาเลี้ยงนานมากกว่า แล้วยังจะท�ำให้ของเสีย ที่พื้นบ่อเกิดสะสมขึ้นในบ่อเป็นจ�ำนวนมาก มีผล ต่อคุณภาพน�้ำและสิ่งแวดล้อมภายในบ่อ โดย

ซีพีเอฟเองได้มีการพัฒนาอาหารเฉพาะส�ำหรับ กุ้งกุลาด�ำ เป็นอาหารที่มีโภชนาการสูง มีสาร ดึงดูดให้กุ้งเข้ามากินอาหาร มีโปรตีนสูง เหมาะสม ส�ำหรับกุ้งในแต่ละช่วงอายุ เพื่อช่วยให้กุ้งแข็งแรง มีอัตราการเจริญเติบโตที่ดี ตั้งแต่ระยะลูกกุ้ง กุ้ง ขนาดเล็ก และกุ้งระยะเติบโตจนถึงระยะเก็บเกี่ยว ผลผลิต การให้อาหาร ปรับเพิ่มลดปริมาณอาหาร อย่างเหมาะสมตามขนาดและอายุของกุ้ง และ ตามพฤติกรรมการกินอาหารของกุ้ง จึงจะท�ำให้ ได้ผลดีเต็มที่

3. มีการจัดการที่เหมาะสม ในด้าน การเลี้ยงกุ้งกุลาด�ำต้องมีการจัดการที่ดี ตั้งแต่ กระบวนการเตรียมบ่อ และการเตรียมน�้ำที่ดี จะ ต้องท�ำความสะอาดพื้นบ่อเพื่อก�ำจัดที่อยู่ และ อาหารของเชื้อก่อโรค พื้นพีอีจะต้องไม่รั่ว ท�ำการ ส�ำรวจรอยรั่ว หรือรอยตามด และต้องท�ำการอุด รอยรั่วให้หมด น�้ำส�ำหรับการเลี้ยงกุ้งจะต้องผ่าน กระบวนการฆ่าเชื้อด้วยคลอรีน เป็นน�้ำที่สะอาด ปราศจากเชื้อก่อโรค สิ่งที่ส�ำคัญคือ ต้องมีการ เก็บตัวอย่างดิน และน�้ำไปตรวจเชื้อก่อโรคไมโคร -   สปอริเดีย และเชื้อแบคทีเรียที่ก่อโรคอีเอ็มเอส เพื่อรับรองคุณภาพการเตรียมบ่อ และการเตรียม น�้ำ การจัดการคุณภาพน�้ำ คุณภาพน�้ำ และ พื้นบ่อที่ไม่ดี จะส่งผลกระทบต่ออัตราการเจริญ เติบโต และสุขภาพของกุ้งกุลาด�ำได้ ท�ำให้กุ้ง อ่อนแอ ส่งผลต่ออัตรารอด และผลผลิตที่ได้ ดังนั้น เกษตรกรจะต้องเฝ้าติดตามและควบคุมคุณภาพ น�้ำให้เหมาะสมกับการเลี้ยงอย่างสม�่ำเสมอ การจัดการของเสียพื้นบ่อ การสะสมของ สารอินทรีย์ที่หมักหมมบริเวณพื้นบ่อที่เกิดจาก อาหารเหลือ ขี้กุ้ง ซากกุ้ง คราบเปลือกกุ้ง และ อื่นๆ อาจเป็นแหล่งสะสมของเชื้อก่อโรค ดังนั้น เกษตรกรจะต้องให้ความส�ำคัญกับการก�ำจัดของ เสียบริเวณพื้นบ่อ โดยมีหลุมรวมเลน การดูด ของเสียที่มีประสิทธิภาพจะต้องจัดวางเครื่องตีน�้ำ ให้สามารถรวมของเสียไว้ที่บริเวณหลุมรวมเลน ให้ได้ และท�ำการดูดทิ้งออกไปยังบ่อเก็บเลน โดย ต้องท�ำอย่างต่อเนื่องทุกวันตั้งแต่วันแรกที่ลงกุ้ง จนถึงวันที่จับกุ้ง

ตลาดของกุ้งกุลาด�ำ

เนื่องจากคุณลักษณะในด้านรสชาติ หวาน ต้มแล้วสีแดงเข้ม ขายได้ราคาดี และเนื้อสัมผัส ที่แตกต่างจากกุ้งขาว กุ้งกุลาด�ำจึงยังมีความ ต้องการบริโภคของตลาดทั้งภายในประเทศ และ ต่างประเทศ เช่น กลุ่มสหภาพยุโรป จีน ฮ่องกง และญี่ปุ่น เป็นต้น ท�ำให้ปัจจุบันประเทศไทย มีโอกาสในการก้าวสู่เจ้าตลาดกุ้งกุลาด�ำรอบใหม่ ด้วยการพัฒนาสายพันธุ์กุ้งกุลาด�ำที่มีคุณภาพ มี อาหารที่ดี มีเทคโนโลยีการบริหารจัดการฟาร์ม ที่ดี ย่อมจะส่งผลให้เกษตรกรที่หันกลับมาเลี้ยง กุ้งกุลาด�ำประสบความส�ำเร็จและได้ก�ำไรจากการ เลี้ยงกุ้งอย่างแน่นอน เพื่อจะช่วยกันสร้างโอกาส ให้กุ้งไทยกลับมาใหม่อีกครั้ง

ผลิตจำกเมล็ดถั่วเหลืองเกรดอำหำรสัตว์ 100%

อุดมด้วยกรดไขมันไม่อิ่มตัวซึ่งจ ำเป็นต่อกำรเจริญเติบโตของสัตว์

ควบคุมกำรผลิตด้วยเทคโนโลยี และเครื่ องจักรที่ทันสมัย

โปรตีน ไม่ต ่ำกว่ำ 36% ไขมัน ไม่ต ่ำกว่ำ 18%

เมทไธโอนีน มำกกว่ำ 5,000 ppm

ไลซีน มำกกว่ำ 6 กรัม/100 กรัมโปรตีน

สินค้ำ Premium Grade

รับรองมำตรฐำน GMP & HACCP

บริษัท ยูนีโกร อินเตอร์เนชั ่ นแนล จ ำกัด

ความเสี ่ ยงที ่ ไม่ควรมองข้าม ในอาหาร และ วัตถุดิบอาหารสัตว์

อีกหัวข้อสัมมนา “ทันโลกทันเหตุการณ์อาหารสัตว์และวัตถุดิบ 2563” ของ สมาคมนิสิตเก่าสัตวแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มูลนิธิศาสตราจารย์ ดร.จักร พิชัยรณรงค์สงคราม และคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ โรงแรม รามาการ์เด้นส์ กรุงเทพฯ ที่น่าสนใจก็คือเรื่อง “อาหารและวัตถุดิบอาหารสัตว์ กับความเสี่ยงที่ไม่ควรมองข้าม” โดยหัวข้อนี้ได้รับเกียรติจาก รศ.ดร.ยุวเรศ เรืองพานิช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ก�ำแพงแสน มาบรรยาย

รศ.ดร.ยุวเรศ กล่าวว่า ในฐานะที่เราอยู่ในวงจรปศุสัตว์ที่ผลิตอาหารเพื่อการบริโภคของ มนุษย์ จะเห็นได้ว่าขั้นตอนของการผลิตที่เริ่มตั้งแต่วัตถุดิบอาหารสัตว์ซึ่งเป็นต้นน�้ำที่จะใช้ผลิต อาหารสัตว์นั้น หากพูดถึงเรื่องโภชนาการส่วนใหญ่ที่เราพูดคุย เรามักจะคุยในเรื่องของ คุณค่าทางโภชนะ คือ คุยว่าวัตถุดิบตัวนี้ให้คุณค่าทางโภชนะอะไร และเป็นประโยชน์ ต่อสัตว์อย่างไร เพราะสิ่งนั้นเป็นสิ่งที่เราคาดหวัง และสัมพันธ์กับความคุ้มค่าในการที่เรา จะน�ำไปใช้เลี้ยงสัตว์ แต่อีกด้านหนึ่งที่ส�ำคัญไม่แพ้กันนอกเหนือจากคุณค่าทางโภชนะ นั่นคือเรื่องของสิ่งปลอมปนที่ติดมากับวัตถุดิบ ซึ่งอาจจะเป็นเรื่องเล็กๆ แต่มี อิทธิพลต่อการผลิตอาหารสัตว์เป็นอย่างมาก เนื่องจากจะส่งผลต่อตัวสัตว์

อย่างไรก็ตาม หากแบ่งกลุ่มวัตถุดิบอาหารที่มีการปลอมปน สารที่มีความเสี่ยงเหล่านี้จะแบ่งออก ได้เป็น 3 กลุ่มคือ ความเสี่ยงในเชิงกายภาพ ความเสี่ยงในเชิงเคมี และความเสี่ยงในเชิงชีวภาพ โดยเฉพาะความเสี่ยงในเชิงเคมี และความเสี่ยงในเชิงชีวภาพค่อนข้างมีความเสี่ยงสูง เพราะเป็นสิ่งที่ มองไม่เห็น ขณะที่ความเสี่ยงในเชิงกายภาพเป็นสิ่งที่มองเห็นด้วยตาเปล่า สามารถจัดการเอาออกได้ แต่ในเชิงเคมี และชีวภาพ ต้องอาศัยการตรวจสอบที่ลึกลงไปจึงจะทราบ

This article is from: