M
Market Leader
เปิดตัวลูกกุ้งกุลาด�ำสายพันธุ์ CP ที่พัฒนาพ่อแม่พันธุข ์ ึ้นมาเอง
ด้วยการพัฒนาอย่างต่อเนื่องของสายพันธุ์ กุ้งกุลาด�ำ ซีพีเอฟ ได้ลงทุนด้านการพัฒนาการ เลีย้ งกุง้ กุลาด�ำปลอดโรคทีไ่ ด้จากการเลีย้ ง ท�ำให้ได้ ลูกกุ้งที่แข็งแรง ปลอดเชื้อไวรัส มีความต้านทาน โรค อัตรารอดสูง อัตราการเจริญเติบโตดี โดยมี ศูนย์กลางการผสมสายพันธุต์ งั้ อยูท่ ี่ ศูนย์ไบโอเทค จังหวัดจันทบุรี และมีโรงเพาะฟักพ่อแม่พันธุ์กุ้ง อยูท่ จี่ งั หวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดสมุทรสาคร ลูกกุ้งซีพีเอฟ พัฒนาสายพันธุ์กุ้งกุลาด�ำ ของบริษัทเอง จากพ่อแม่พันธุ์ที่แข็งแรง ส�ำหรับ “ลูกกุ้งสะอาด” คือปลอดจากเชื้อต่างๆ เริ่มจาก พ่อแม่พันธุ์ ซึ่งเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญ ที่มีผลต่อความ ส�ำเร็จของการเลีย้ งกุง้ เกษตรกรควรพิจารณาเลือก ใช้ลูกกุ้งที่มาจากโรงเพาะฟักที่ได้มาตรฐาน พ่อ แม่พันธุ์ต้องปลอดเชื้อ กระบวนการผลิตในโรง เพาะฟักนั้นจะต้องให้ความส�ำคัญกับระบบไบโอ - ซี เ คี ย วเพื่ อ ป้ อ งกั น การปนเปื ้ อ นของเชื้ อ ในทุ ก ขั้นตอนของการผลิต อย่างไรก็ตาม ถึงวันนี้ ซีพีเอฟยังปรับปรุง สายพันธุ์กุ้งกุลาด�ำอย่างต่อเนื่องด้วยการผสม เทียม เพื่อพัฒนาปรับปรุงให้โตเร็ว ต้านทานโรค ขึ้น ยังต้องใช้เวลาพัฒนาไปเรื่อยๆ โดยปัจจุบัน กุ้งกุลาด�ำขนาด 20 - 30 ตัวต่อกิโลกรัม ใช้เวลา เลีย้ งประมาณ 120 วัน และตัง้ เป้าหมายสายพันธุ์ ที่สามารถเลี้ยงได้ขนาด 30 ตัวต่อกิโลกรัม ใน เวลาไม่เกิน 90 วัน โอกาสการเลีย ้ งกุ้งกุลาด�ำ ทศวรรษใหม่
สืบเนื่องจากการพัฒนาสายพันธุ์กุ้งกุลาด�ำ ของซีพีเอฟที่เกษตรกรสามารถมั่นใจในคุณภาพ
ของลู ก กุ ้ ง ที่ ส ะอาด ปลอดเชื้ อ มี อั ต ราการ เจริญเติบโตที่ดี และให้อัตรารอดที่สูง ภายใต้ กระบวนการผลิตจากโรงเพาะฟักที่ได้มาตรฐาน ตอนนี้ทางซีพีเอฟ อยู่ระหว่างพัฒนาและทดลอง เลีย้ งกุง้ กุลาด�ำในบ่อพีอี โดยได้ทดลองเลีย้ งในพืน้ ที่ ภาคกลาง และภาคตะวันออก (จ.สมุทรสงคราม จ.ฉะเชิงเทรา จ.จันทบุรี จ.ระยอง และ จ.ตราด) ดังนั้น การเลี้ยงกุ้งกุลาด�ำให้ประสบความส�ำเร็จ จึงไม่ใช่สงิ่ ทีย่ ากอีกต่อไป โดยเกษตรกรควรมีการ จัดการที่ดีในการเลี้ยงกุลาด�ำเบื้องต้น ดังนี้ 1. ใช้ลูกกุ้งที่มีคุณภาพ โดยเลือกลูกพันธุ์ ที่มาจากโรงเพาะฟักที่มีกระบวนการผลิตที่ได้ มาตรฐาน เพือ่ ให้ได้ลกู กุง้ ทีป่ ลอดโรค มีอตั ราการ เจริญเติบโตที่ดี เท่าที่ผ่านมา ผู้เลี้ยงกุ้งมักจะ นิยมปล่อยลูกกุ้งอัตราความหนาแน่นที่สูงมาก ที่ 150,000 - 250,000 ตัว/ไร่ การเลี้ยงจากการ ไต่ถามผู้เลี้ยงกุ้ง ที่ปล่อยอย่างนี้ก็เพราะเผื่อลูก กุ้งตาย จ�ำนวนการติดของลูกกุ้งน้อย ซึ่งสาเหตุ อันนี้ เนื่องจากคุณภาพลูกกุ้งที่ผ่านมาไม่ดีเท่าที่ ควร การปล่อยลูกกุง้ หนาแน่นเกินไปมักพบอาการ กุ้งแตกไซส์ และมักจะพบว่าอัตรารอดของลูกกุ้ง ต�ำ่ ดังนัน้ การปล่อยลูกกุง้ ทีเ่ หมาะสม ที่ 50,000 70,000 ตัวต่อไร่ ซึง่ หากผูเ้ ลีย้ งเลือกพันธุท์ ดี่ ี และ ปล่อยลูกกุ้งตามที่กล่าวมา จะไม่พบการแตกไซส์ ของกุ้ง มีอัตราการเจริญเติบโตที่ดี และมีอัตรา รอดสูง 2. ใช้อาหารที่มีคุณภาพ การใช้อาหารที่ มีคุณภาพดี หมายถึง ใช้อาหารปริมาณน้อยแต่ ได้ “ค่าอัตราการแลกเนื้อดี” อาหารที่มีคุณภาพ ต�่ำจะมีผลท�ำให้กุ้งโตช้ากว่าปกติ และยังต้องเสีย เวลาเลี้ยงนานมากกว่า แล้วยังจะท�ำให้ของเสีย ที่พื้นบ่อเกิดสะสมขึ้นในบ่อเป็นจ�ำนวนมาก มีผล ต่อคุณภาพน�้ำและสิ่งแวดล้อมภายในบ่อ โดย
55
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 37 เล่มที่ 190 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563