โยคะสารัตถะ เดือนพฤษภาคม 2556

Page 1

www.thaiyogainstitute.com

เดือนพฤษภาคม 2556

เปิดรับสมัครแล้ว หลักสูตรครูโยคะ เพื่อการพัฒนาจิต อบรม 230 ชัว่ โมง รนุ่ ที่ 13 พลิกด ูรายละเอียดได้ในเล่ม 1


สารบัญ คุยกันก่อน

3

จากเพือ่ นครู

21

ปฏิทนิ กิจกรรม

4

พระไตรปิฎกแก่นธรรม

24

กิจกรรมเครือข่าย

11

ตาราโยคะดัง้ เดิม

26

เรือ่ งเล่าจากอินเดีย

14

บทกลอน

32

ที่ปรึกษา กวี คงภักดีพงษ์ แก้ว วิฑรู ย์เธียร ธีรเดช อุทยั วิทยารัตน์ นพ.ยงยุทธ วงศ์ภริ มย์ศานติ ์ นพ.สมศักดิ ์ ชุณหรัศมิ ์

สานักงาน พรทิพย์ อึงคเดชา วัลลภา ณะนวล สุจติ ฏา วิเชียร กองบรรณาธิการ จิรวรรณ ตัง้ จิตเมธี ณัตฐิยา ปิยมหันต์ ณัฏฐ์วรดี ศิรกิ ุลภัทรศรี ธนวัชร์ เกตน์วมิ ุต ธีรนิ ทร์ อุชชิน พรจันทร์ จันทนไพรวัน วิสาขา ไผ่งาม วีระพงษ์ ไกรวิทย์ ศันสนีย์ นิรามิษ

กรรมการ กฤษณ์ ฟกั น้อย ชนาพร เหลืองระฆัง ชุตมิ า อรุณมาศ วรพจน์ คงผาสุข วรรณวิภา มาลัยนวล วิลนิ ทร วิภาสพันธ์ สมดุลย์ หมันเพี ่ ยรการ 2


คุยก ันก่อน เริม่ ซึง้ ถึงคาว่า “โลกร้อน” อุณหภูมสิ ดุ ขัว้ ทีเ่ กินกว่าอุณหภูมภิ ายในของ ร่างกาย ด้วยเหตุปจั จัยหลายหลากประการทีส่ ะสมหมักหมมกันมาอย่างไม่เคย รูส้ กึ ตัว วันนี้เริม่ แสดงออกให้เห็นถึงผลนัน้ แล้ว หากทุกคนยังคงไม่ใส่ใจ เห็น เป็ นเรือ่ งไกลตัว หรือแก้ปญั หาทีป่ ลายเหตุ หรือคิดเองว่าปญั หาเกินกว่าจะแก้ ได้ แล้วเราจะยอมรับผลของชะตากรรมนัน้ กันหรืออย่างไร พบกับหลากหลายสาระจากบทความ ทัง้ เรือ่ งเล่าจากอินเดีย แก่น พระไตรปิฎก ตาราโยคะดัง้ เดิม และอีกหลากหลายกิจกรรม ติดตามอ่านได้ใน ฉบับ

3


ปฏิทินกิจกรรม โยคะอาสนะขัน้ พื้นฐานเพื่อความสุขสาหรับผูเ้ ริ่มต้น วันอาทิตย์ท่ี 26 พฤษภาคม เวลา 9.00 – 15.00 น. ชัน้ 6ห้อง 262 คณะมนุ ษยศาสตร์ มศว ประสานมิตร ค่าลงทะเบียน 650 บาทสนใจโทร.สอบถามรายละเอียดได้ทส่ี ถาบันโยคะวิชาการ โยคะในสวนธรรม เดือนพฤษภาคม ณ หอจดหมายเหตุพุทธทาส ฟรี ทุกเย็นวันพุธ และ พฤหัส เวลา 17.00 – 18.30 น. พุธที่ 1 ครูหนึ่ง จิรภา เหลืองเรณู 8 ครูเตย วิลนิ ทร วิภาสพันธ์ 15 ครูนาย สุรยี พ์ ร ประยงค์พนั ธ์ 22 ครูวรรณ วรรณี สืบพงษ์ศริ ิ 29 ครูเบนซ์ วรพจน์ คงผาสุข พฤหัสบดีที่ 2 ครูนุช รัชดาพร อมรศิลป์ 9 ครูณฐั ณัฐหทัย ริว้ รุจา 16 ครูจง้ิ เนาวรัตน์ อิม่ ลิม้ ธาร 23 ครูขนมปงั ธนา จินดาโชตินนั ท์ 30 ครูไนท์ วิไล กรศักยา เสาร์ที่ 25 14.00 – 16.00 น. ครูเหมียว รุง่ ศศิธร เอกปญั ญาชัย 4


5


6


13 ปีสาหรับการสร้างสรรค์หลักสูตรครูโยคะเพือ่ การพัฒนาจิต ของ สถาบันโยคะวิชาการ ผ สานความ ร่วมมือกับสถาบันการศึกษาชัน้ นา ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุ ษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพือ่ ตอบโจทย์แห่งสังคมไทยในยุคปจั จุบนั ว่า จะนาโยคะมาเกือ้ กูลผูค้ นในโลก แห่งเทคโนโลยี เพือ่ ให้การศึกษาภายในควบคูไ่ ปกับการศึกษาภายนอกได้ อย่างไร “โยคะมีสาส์นอันสมบูรณ์ สาหรับมนุษยชาติ โยคะเติมเต็มทัง้ สาหรับร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาน เราขอให้ยวุ ชนทีเ่ ต็มเปี ่ ยมไปด้วยศักยภาพ และความใฝ่ ฝนั ช่วยนาพาสาส์นนี้ ไปยังทุกผูค้ น ไม่เพียงเฉพาะประเทศอินเดีย แต่แผ่ขยายไปยังทัวทุ ่ กมุมโลก” ข้อความทีฝ่ ากไว้กบั ศิษย์โยคะทุกรุน่ ของสวามีกุวลั ยนันท์ ศิษย์แห่ง Shri Paramahamsa Madhavdasaji คุรุทางจิตวิญญานแห่งแผ่นดินอินเดีย

7


ช่วงเวลาอบรม: เรียน : สถานที่เรียน : ตารางเรียน วัน 10 ก.ค. 12-13-14 กค. 15 กค – 2 พย จ.พ.พฤ ส. ที่ มศว. 23-24-25 สค. 7-25 ตค. จันทร์ พุธ พฤ เสาร์ 26 ต.ค.-2 พย จันทร์ พุธ พฤ เสาร์

10 กรกฎาคม ถึง 2 พฤศจิกายน 2556 เย็นวันจันทร์ พุธ และ พฤหัส / วันเสาร์เต็มวัน คณะมนุ ษยศาสตร์ มศว สุขมุ วิท 23 เวลา 17.30-19.30 น. ค่าย 3 วัน 2 คืน

รายละเอียด ปฐมนิเทศ ที่ มศว. ค่ายวิถโี ยคะ สวนธรรมฯ ปทุมธานี

17.30-19.30 น. 8.00-11.00 น. 12.00-15.30 ค่าย 3 วัน 2 คืน

ฝึกปฏิบตั อิ าสนะ ปราณา มุทรา พันธะ เรียนทฤษฎี ค่ายกิรยิ า บ้านกานนิสา บางบัว ทอง

17.30-20.00 8.00-11.00

ฝึกสอนปฏิบตั ิ นาเสนองานวิจยั สอบทฤษฎี ข้อเขียน

17.30-20.00 8.00-12.00

หมายเหตุ ตารางอาจมีการเปลีย่ นแปลงตามความเหมาะสม

รับจานวนจากัด : 24 ท่าน ค่าลงทะเบียน : 39,900 บาท / คน ตลอดหลักสูตร สนใจสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ท่ี สถาบันโยคะวิชาการ โทร. 02 732 2016 -7 หรือ คลิกดูรายละเอียดได้ในเวปไซด์ www.thaiyogainstitute.com 8


ครูผสู้ อน

วิทยากรหลักของหลักสูตรคือ ครูฮโิ รชิ และ ครูฮเิ ดโกะ ไอคาตะ สามีภรรยาชาวญีป่ นุ่ ผูร้ กั อิสระและใฝเ่ รียนรู้ ซึง่ ท่านได้พานักอยูท่ ป่ี ระเทศอินเดียกว่า 20 ปี และ ทีมวิทยากรร่วม จากสถาบันโยคะวิชาการ

การสอนสิ้นสุด การเรียนรู้เริ่มต้น ดังนัน้ ไม่วา่ คุณจะสนใจโยคะด้วย เหตุผลใด ไม่วา่ สภาพร่างกายและจิตใจ ของคุณจะเป็ นอย่างไร สถาบันโยคะ วิชาการเปิดพืน้ ทีก่ ารเรียนรูท้ จ่ี ะช่วยให้ โอกาสคุณ ได้ใช้ศกั ยภาพในการสืบค้นถึง ปญั ญาภายในตน ภายใต้บรรยากาศการ เรียนรูท้ อ่ี มิ่ เอมแวดล้อมไปด้วย กัลยาณมิตรทางธรรม ด้วยจิตกรุณาเปิด กว้าง บนความเท่าเทียมและไม่แบ่งแยก และเมือ่ การสอนสิน้ สุดลง การเรียนรูข้ อง คุณจะเดินทางต่อไปได้ดว้ ยตัวของคุณเอง และกลับมาช่วยกันเป็นกาลังสาคัญ ในการ นาสาส์นแห่งโยคะนี้สบื ทอดสูย่ วุ ชนรุน่ ต่อไปได้อย่างสมบูรณ์

เคล็ดลับสู่ความสาเร็จ เคล็ดลับความสาเร็จ ทีบ่ รรดาครู ทางจิตวิญญานแนะนาไว้ เพียงสอง ประการหลักๆ คือ การฝึกอย่างต่อเนื่อง และให้เป็ นไปด้วยความละวาง ด้วย หลักสูตรทีถ่ ูกออกแบบ ปรับปรุง และจัด วางให้ผเู้ รียนมีโอกาสฝึกอย่างสม่าเสมอ สัปดาห์ละ 4 วัน ตลอดระยะเวลา 3 เดือน เพือ่ เอือ้ ให้ผเู้ รียนสามารถผนวกโยคะเข้า เป็ นส่วนหนึ่งของวิถชี วี ติ ได้ในเบือ้ งต้น ซึง่ เป็ นหนทางทีผ่ ฝู้ ึกจะหยังรู ่ ถ้ งึ คุณค่าแห่ง โยคะได้อย่างกลมกลืนกับสภาพสังคมใน ปจั จุบนั อย่างลงตัว 9


การอบรมเชิงปฏิบตั ิ การ ร่วมสืบค้น เรียนรู้ โลกภายในด้วยตัวคุณเอง จาก กิจกรรม โยคะนักสืบ :“Yoga Detective Workshop” วันที่ 24 – 26 พฤษภาคม 2556 (ค่าย 3 วัน 2 คืน) ณ บ้านกานนิสา บางบัวทอง นนทบุร ี โดย วิทยากร สมศักดิ ์ วสุวทิ ติ กุล (หมอศักดิ ์) และ กฤษณ์ ฟกั น้อย (หนึ่ง) ค่าอบรม 4,700 บาท/ท่าน (รวมอาหาร และ ทีพ่ กั แต่ไม่รวมค่าเดินทาง) รับจานวนจากัด 20 ท่าน สนใจสอบถามข้อมูลเพิม่ เติมได้ท่ี สถาบันโยคะวิชาการ โทร 02 732 2016, 081 401 7744 หรือ คลิกดูรายละเอียดเพิม่ เติมได้ท่ี www.thaiyogainstitute.com

10


กิจกรรมเครือข่าย เครือข่ายชีวิตสิกขา ขอเชิญชวนเพื่อนครูโยคะ ร่วมกิจกรรมจิตอาสา ศิลปะภาวนา : พัดธรรม คลายใจ เพือ่ ผูป้ ว่ ย ณ หอจดหมายเหตุพุทธทาส (ข้างสวนรถไฟ) วันเสาร์ท่ี 18 พค. 2556 เวลา10.00-13.00 น. เพือ่ ร่วมกัน เขียนรูปภาพด้วยสีอะครีลคิ และ ข้อความธรรมะดีๆ ลงบนพัดสปริง นาไปเป็ น ของทีร่ ะลึกสาหรับผูบ้ ริจาคร่วมกองทุน ช่วยเหลือผูป้ ว่ ย ของ เครือข่ายชีวติ สิกขา และนาไปเป็ นของแจกให้กบั ญาติผปู้ ว่ ย ในงานอาสาข้างเตียงและ กิจกรรมคลินิคธรรมะ ตามโรงพยาบาล สนใจส่งชือ่ นามสกุล ไปที่ ครูอ๊อด 084 6439245 หรือ wunwipa.s.malainual@gmail.com หิมาลายันโยคะสมาธิ (ประเทศไทย) มีความยินดีขอเรียนเชิญท่าน  อนัตตา (ความไม่ใช่ตวั ตน) / อาตมัน (ความ สมบูรณ์แบบ) - นิพพาน (สภาวะแห่งการรู้ แจ้ง) / พรหมัน (สภาวะแห่งสัจธรรมสูงสุด) – การรวมเป็ นหนึ่งกับพระเจ้า ในราคาเพียง 2,000 บาทเท่านัน้ (ไม่รวมค่า เดินทาง)

“ค้นพบความสมบูรณ์เพียบพร้อมแห่งชีวติ ภายใน”

เชิญร่วมปฎิบตั คิ อร์สโยคะสมาธิกบั ท่าน สวามี ริธาวัน ภารตี และ อาชูโทช ชาร์มา ที่ บ้านผูห้ ว่าน สามพราน นครปฐม เสาร์ท่ี 18 ถึง อาทิตย์ท่ี 19 พฤษภาคม 2556  มิตลิ ้าลึกของศาสตร์แห่งโยคะนิทรา

ผูส้ นใจกรุณาติดต่อ svbretreat2012@gmail.com 086-755-3869, 081-700-3011 and 089-212-6296 หมายเหตุ: มีผแู้ ปลเป็ นภาษาไทยตลอดงาน

 หฐโยคะ; หนทางแห่งการนาสูส่ มาธิ และ ปรัชญาแห่งการดารงชีวติ

11


โยคะ ธรรมะ หรรษา...วิสาขบูชา วันศุกร์ท่ี 24 ถึง อาทิตย์ท่ี 26 พฤษภาคม 2556 ณ อาศรมมาตา อ.ปกั ธงชัย จ.นครราชสีมา สถาบันโยคะวิชาการ ร่วมกับ มูลนิธอิ าศรมมาตา ขอเชิญมาร่วมกัน ปฏิบตั ธิ รรมเป็ นพุทธบูชาเนื่องในวันวิสาขบูชา ท่ามกลางบรรยากาศสบาย ๆ เคร่งแต่ไม่เครียดและเป็ นกันเอง ในแบบวิถธี รรมชาติ และสามารถนาความรู้ เกีย่ วกับการดูแลร่างกายและจิตใจกลับไปฝึกฝนทีบ่ า้ นด้วยตนเองแบบง่าย ๆ โดยทีมวิทยากรจากสถาบันโยคะวิชาการนาทีมโดย ครูกม๊ิ และ แม่ชี ถนอม จิตติมณี วิปสั สนาจารย์ในการเจริญสติปฎั ฐานเป็ นผูใ้ ห้คาปรึกษาใน การปฏิบตั ธิ รรม ไม่วา่ ผูเ้ ข้าร่วมงานจะเป็ นผูใ้ หม่หรือผูเ้ ก่า จะปฏิบตั ใิ นแบบใด อยูก่ ต็ าม หรือต้องการมาเรียนรูว้ ธิ กี ารปฏิบตั ใิ นแบบหลวงพ่อเทียน ก็สามารถ เข้ามาร่วมปฎิบตั กิ นั ได้ทุกท่าน (ในช่วงเวลาของโยคะผูท้ ต่ี อ้ งการจะปฎิบตั ธิ รรมอย่างต่อเนื่องเราก็จะแยกกลุม่ ให้ไปปฎิบตั ธิ รรมร่วมกัน) (อาหารทุกมือ้ เป็ นอาหารมังสวิรตั เิ พือ่ สุขภาพ ) การแต่งกาย เนื่องจากอาศรมมาตาเป็ นทีพ่ กั ปฏิบตั ธิ รรม จึงขอให้แต่งกาย ตามระเบียบของอาศรมคือ สีเสือ้ ขอให้เป็ นพืน้ สีขาว หรือครีม กางเกงขายาวสี พืน้ เข้ม ดา น้ าตาล น้ าเงิน จะเป็ นผ้ายืดหรือผ้าธรรมดาก็ได้ ให้สะดวกต่อฝึก โยคะและเหมาะสมในสถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรม

12


ค่าใช้จา่ ย ไปกับรถตูท้ เ่ี ราเหมาวินไว้ 1700 บาทต่อท่าน ขับรถไปเอง 1400 บาทต่อท่าน ราคานี้รวมค่าทีพ่ กั อาหาร ค่าเดินทางไปกลับ ค่าใช้จา่ ยในการ เดินทางของวิปสั สนาจารย์ รายได้หลังหักค่าใช้จา่ ยถ้ามีเหลือจะบริจาคเข้า มูลนิธอิ าศรมมาตาเพือ่ ส่งเสริมการปฎิบตั ธิ รรม มูลนิธริ .พ. ศิรริ าชเพือ่ ผูป้ ว่ ย อนาถา มูลนิธริ .พ. รามาฯเพือ่ จัดซือ้ เครือ่ งมือแพทย์ และ สถาบันโยคะ วิชาการเพือ่ ร่วมสร้างสุขภาวะอย่างสมดุลและพอเพียง การเดินทาง ระยะทางจากกรุงเทพฯไปอาศรมมาตาประมาณ 300 กิโลเมตร ไปกับรถตูท้ จ่ี ดั ให้ หรือ จะขับรถไปเองดูรายละเอียดสถานทีจ่ ดั งานและการ เดินทางได้ท่ี www.ashrammata.krubpom.com การสมัคร โอนเงินเข้าบัญชี นางสาวประนอม เตโชภาส ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาวงแหวนเซ็นเตอร์ เลขที่ 027-240674-9 แจ้งการโอนเงิน สอบถามการ เดินทาง และ รายละเอียดเพิม่ เติมได้ท่ี ครูกม๊ิ 089-512-8997 krukim@gmail.com www.facebook.com/YDH555 * มีแผ่นรองฝึกโยคะ (อาสนะ) เตรียมไว้ให้แล้ว เพือ่ ความสะอาดโปรด เตรียมผ้า(อะไรก็ได้)มาปูบนแผ่นฝึกโยคะด้วย และมีเบาะมาจาหน่ายถ้า ต้องการซือ้ ไว้ใช้เอง * *กาหนดการอาจเปลีย่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม *

13


เรื่องเล่าจากอินเดีย

ครูเตย

สวัสดีคะ่ อย่างทีไ่ ด้แจ้งให้ทราบไปก่อน หน้านี้วา่ เตยไปเข้าเวิรค์ ช็อปกริยา โยคะต่อจากงานประชุมโยคะ สาหรับเยาวชนทีไ่ กวัลยธรรม เลย จะขอมาเล่าให้ฟงั กัน ทีจ่ ริงหลังจาก เสร็จงานประชุมแล้วเรายังมีเวลา ว่างหนึ่งวันคือวันที่ 31 ธันวาคม ครูฮโิ รชิจะพาเทีย่ วปูเน่คะ่ ตอนเช้า เตยเลยถือโอกาสปี นเขาไปชมพระ อาทิตย์ยามเช้าเพือ่ รับพลังจาก ธรรมชาติและจะได้ทดสอบ สมรรถภาพตัวเองด้วย เนื่องจากปีท่ี

แล้วตอนครูพานักเรียน CCY ขึน้ ภูเขา เตยเหนื่อยหอบแฮ่กลิน้ ห้อย เลย แต่ผลปรากฏว่าเดินขึน้ เขารอบ นี้เตยใช้เวลาสัน้ มากค่ะ แต่ชว่ งทีช่ นั มากๆ ก็ยงั หอบแฮ่กๆ เหมือนกัน แต่คนทีไ่ ปด้วยกันไม่มอี าการ เหนื่อยเลยซักกะติด๊ เดินสบายๆ เหมือนเดินบนพืน้ ราบ เตยเลยคิด ว่าจะต้องฟิตร่างกายให้มากกว่านี้ คราวหน้าจะได้เดินทาหน้านิ่งๆ ดู ชิลๆ มัง่ พอขึน้ ถึงยอดเขามองลงไป ลิบๆ เห็นทะเลสาบเลยตกลงกันว่า เราจะเดินลงข้างล่างไปสัมผัสน้ าใน 14


ทะเลสาปกัน ทางเดินชันมากแบบ พร้อมทีจ่ ะลืน่ แพร่ดได้ตลอดเวลา โชคดีทม่ี ไี ม้คอยยันไว้กบั มือวิเศษ ช่วยพยุง ไม่งนั ้ ได้กลิง้ หลุนๆ ลงตีน ดอยแน่นอน พอเดินลงมาได้พกั ใหญ่แล้วเงยหน้าขึน้ มาก็เห็นวิว ทะเลสาปทีส่ วยแบบแทบลืมหายใจ เลย พระอาทิตย์เริม่ จะส่องแสงราไร เราแยกกันไปดืม่ ด่าธรรมชาติ อีก คนก็ถอดรองเท้าเดินลงน้ าไปสวด มนต์ไหว้พระอาทิตย์ ส่วนเตยยืนอยูแ่ ถวๆ นัน้ ลืม ตามองภาพทีอ่ ยูต่ รงหน้า รับรูถ้ งึ ไอ เย็นจากลมทีพ่ ดั มาแผ่วเบา ได้กลิน่ ดินแห้งๆ แต่มคี วามชืน้ หน่อยๆ จากทะเลสาปตรงหน้า แว่วเสียงนก ร้องจิบ๊ ๆ แล้วหลับตาลงซึมซับเอา ความรูส้ กึ ทีแ่ สนงดงามจาก ธรรมชาติ เป็ นความเรียบง่ายที่ งดงาม จนอดคิดไปไม่ได้วา่ สมัยก่อนทีโ่ ยคีมาอาศัยอยูใ่ นปา่ ก็ คงพบเจอความงดงามของ ธรรมชาติอย่างตาเนื้อเราเห็น ตาใน

เรารูส้ กึ ถึงให้ความเคารพและ ความสาคัญต่อแม่น้ า สายลม แสงแดด ภูเขามากมายขนาดนี้ ธรรมชาติทอ่ี ยูต่ รงหน้ามอบความ สวยงามและมอบพลังใจเป็ น ของขวัญส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ ให้จริงๆ เตยเดินไปบนหินทรายก้อน เล็กๆ เพือ่ ไปสัมผัสสายน้ าทีเ่ ย็นฉ่ า ทีใ่ ห้ความรูส้ กึ สดชืน่ อย่างบอกไม่ ถูก แต่เวลาเรามีจากัดค่ะ มีคนส่ง สัญญาณเรียกกลับแล้ว เลยต้องปีน ขึน้ เขาอีกรอบเพือ่ กลับไกวัล เหลือ ไว้เพียงความทรงจาทีแ่ สนงดงาม พร้อมกับคาสัญญาในใจว่า แล้วจะ กลับมาอีก...แล้วเราจะพบกันใหม่ ตอนเช้าเรามีนดั ไปเจอครูฮโิ ร ชิทป่ี เู น่กนั ค่ะ เราใช้บริการรถของคุ คู ทีค่ รูใช้บริการมากว่ายีส่ บิ ปีแล้ว ค่ะ ก่อนไปปูเน่เราแวะเจอคุคทู ่ี ออฟฟิศใกล้ๆ ไกวัล แล้วแวะไป ทานแซนด์วชิ ผัก น้ าชา กาแฟกับคุ คูก่อนค่ะ ทีจ่ ริงแซนด์วชิ ผักมีเพียง 15


แตงกวา มะเขือเทศกับชีส แต่ รสชาติดมี ากค่ะ ผักสดใหม่ กรุบ กรอบ และหวานตามธรรมชาติ สร้างความสดชืน่ ให้พวกเราก่อน เดินทางเป็ นอย่างมาก จากนัน้ เรา นังรถไปไม่ ่ ถงึ เทีย่ งดีกถ็ งึ แฟลตทีค่ รู พักแล้วค่ะ ครูฮโิ รชิพาเราไปดู ห้างสรรพสินค้าอารมณ์เหมือนบิก๊ ซี บ้านเรา ตามประสาเด็กไทยนะคะ ก็ ได้ชอ็ ปปิ้งได้ขา้ วของติดมือกันไป คนละเล็กคนละน้อย ของทีเ่ ตย จาเป็ นต้องซือ้ คือแก้วน้ า และมีด เอาไว้ปอกผลไม้สาหรับใช้ทอ่ี าศรม นิศาร์โกปจาร์ เราแวะทานอาหาร มังสวิรตั ทิ ฟ่ี ้ ูดคอร์ทก่อน จากนัน้ แวะไปบ้านคุณราทด ไกด์ทค่ี รูฮโิ รชิ บอกว่าเขาจะช่วยแก้ปญั หาใน อินเดียให้เราได้ อยู่ทอ่ี นิ เดียไม่ เหมือนทีเ่ มืองไทย จาเป็ นต้องมีคน พืน้ ทีม่ าดูแลเรา อันนี้ครูย้านักย้า หนาค่ะ พอได้จบิ ชาเราก็ออกไปซื้อ เสือ้ ผ้าแบบอินเดียทีห่ า้ งเซ็นทรัลค่ะ

เราใช้เวลาอย่างยาวนานทีน่ ่ีเพราะที่ เจ้าหน้าทีใ่ นห้างยังไม่เคยชินกับการ ใช้เครือ่ งคิดเงินและการรูดบัตร เครดิต ทาให้ตอ้ งคอยระวังปญั หา การคิดเงินผิดพลาด แต่ขนาดว่า ระวังแล้วก็ยงั มีปญั หาการคิดเงิน เกิน โชคดีทเ่ี รามีคุณราทด ผูช้ ว่ ย แก้ไขปญั หาเราเลยได้เงินคืนมา จากนัน้ เราต้องรีบเร่งกลับ ไกวัลเพราะคุคโู ทรมาแจ้งครูฮโิ รชิว่า ให้รบี กลับก่อนหนึ่งทุม่ เพราะ ทางการจะปิดถนนทีโ่ ลนาฟลา แต่ พวกเราก็ถงึ ไกวัลเกือบสองทุม่ ครึง่ เพราะต้องฝา่ การจราจรทีแ่ สนติดขัด ในวันสิน้ ปี แต่สรุปก็ไม่มอี ะไรนะคะ ข้ามเมืองได้ตามปกติ แต่เล่นเอาตก อกตกใจไปเลยเหมือนกัน พอถึง ไกวัลท้องก็รอ้ งจ๊อกๆ เลยเดินไป ห้องครัวไปขออาหารเย็น โชคดีม ี เจ้าหน้าทีใ่ จดีเอาอาหารเย็นทีเ่ ก็บ แล้วมาให้ ไม่อย่างนัน้ คงได้นอน ท้องกิว่ กันรับปีใหม่แน่ๆ พอ กิน เสร็จเตยมองเห็นป้ายว่าจะมีงาน 16


รอบกองไฟทีโ่ รงเรียนประถมของ ไกวัล ก็เลยชวนพีก่ ล้วยและพีจ่ นู ไป ร่วมงานกัน พอไปถึงก็เจอบรรดาครู และครอบครัว และเหล่านักเรียนดิ พโพลมาเต้นกันสุดเหวีย่ งรอบกอง ไฟ ทีจ่ ริงตอนแรกพวกเราได้ยนิ เสียงพลุพร้อมกับเสียงเพลงทีด่ งั มากๆ ก็แอบนึกว่าสงสัยเป็ นงาน ใหญ่แน่ๆ ทีไ่ หนได้มพี น้ื ทีง่ านอยู่ หน่อยเดียว แต่เปิดลาโพงเสียงดัง มากต่างหาก ก็เป็ นงานทีเ่ รียบง่าย มากนะคะ เขาสนุ กกันในแบบที่

เรียบง่าย เพลงก็เป็ นเพลงแขกบ้าง เพลงฝรังบ้ ่ าง เต้นกันพอเหงือ่ ท่วม งานมีถงึ สีท่ มุ่ กว่าๆ ก็เสร็จ แล้วจากนัน้ เราก็แยกย้ายกันกลับ ห้อง เพราะว่าวันรุง่ ขึน้ เขามีการ เรียนการสอนตามปกติคะ่ ใช่คะ่ อ่านไม่ผดิ หรอกค่ะ ทีน่ ่ีเขาไม่ได้ให้ ความสาคัญวันปีใหม่เหมือนบ้านเรา ทีใ่ ห้เป็ นวันหยุด ชีวติ ทีน่ ่ียงั คง ดาเนินไปเหมือนวันปกติ มีการ เรียนการสอนตามปกติ พอไปถาม เขาเลยรูว้ า่ เขาให้ความสาคัญกับ 17


เทศกาล Diwali มากกว่า เทศกาลนี้ เป็ น เทศกาลแห่งแสงไฟและความ รืน่ เริง เพือ่ ต้อนรับปีใหม่ของชาว ฮินดูคะ่ เวิรค์ ช็อปกริยาโยคะ ทางสถาบันไกวัลยธรรมที่ ก่อตัง้ มากว่า 88 ปีจากการสังสม ่ ประสบการณ์ในสายงานทาง วิทยาศาสตร์ควบคูก่ บั การทาวิจยั จากตาราโยคะดัง้ เดิมทาให้ตระหนัก ถึงแก่นแท้และความสาคัญของโยคะ

ในฐานะทีเ่ ป็ นทัง้ เครือ่ งมือและ เป้าหมายในการทีม่ สี ขุ สภาวะแบบ องค์รวม ทางไกวัลจึงจัดอบรมตลอด ห้าวันเพือ่ ให้ผทู้ ส่ี นใจได้เข้าใจถึงวิถี ชีวติ แบบโยคีอย่างลึกซึง้ ซึง่ ผูเ้ ข้าร่วมอบรมจะได้เข้าคลาส ปฏิบตั ิ ฝึกอาสนะและปราณายามะ ทัง้ เช้าและเย็น ฟงั บรรยายวันละ สองครัง้ ฝึกกริยาโยคะทีก่ ุฏโิ ดยร่วม พิธบี ชู า ฝึกปราณายามะ เปล่งเสียง โอม สวดโยคะสูตรและมันตรา วัน

เป้ าหมายของกริ ยาโยคะก็เพื่อ ช่ วยให้ เรารั กษาความสมดุลของกาย-ใจให้ ได้ มากที่สุด เท่ าที่ จะเป็ นได้ แม้ ในขณะที่ต้องเผชิ ญกับ สิ่ งเร้ าอันรุ นแรง ไม่ ว่าจะเป็ นสิ่ งเร้ าจากภายนอก หรื อจาก ภายในก็ตาม 18


ละสามครัง้ สรุปว่าเริม่ ตัง้ แต่เช้าหก โมงครึง่ ถึงหนึ่งทุม่ ของทุกวัน และ ถ้ายังมีแรงเหลือก็สามารถไปเข้า ฟงั เลคเชอร์ตอนสองทุม่ สิบห้าต่อได้ ทีห่ อ้ งสมุด บางคนอาจยังไม่ทราบว่า กริยาโยคะคืออะไร ขออธิบายสัก เล็กน้อยค่ะ กริยาโยคะหรือการ ชาระล้างและจัดปรับสภาวะเสียใหม่ เป้าหมายของกริยาโยคะก็เพือ่ ช่วย ให้เรารักษาความสมดุลของกาย-ใจ ให้ได้มากทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะเป็ นได้ แม้ ในขณะทีต่ อ้ งเผชิญกับสิง่ เร้าอัน

รุนแรง ไม่วา่ จะเป็ นสิง่ เร้าจาก ภายนอก หรือจากภายในก็ตาม กริยาโยคะ คือ ตปสั (มีวนิ ยั อดทน) สวาธยายะ(ศึกษาด้านใน) และอีศวรประณิธานะ (การอุทศิ , การยอมจานนอย่างถึงทีส่ ดุ หรือการ ละตัวตนอย่างสมบูรณ์) ทัง้ 3 อย่าง นี ้ช่วยขจัดกิเลสให้ เบาบาง และ เตรี ยมความพร้ อมให้ โยคีทาความ เพียรเพื่อเข้ าถึงเป้าหมายของโยคะ อย่างทีท่ ุกคนทราบคือตอนนี้ งานประชุมจบลงแล้ว คนหลายร้อย เดินทางกลับบ้าน บรรยากาศที่

19


ไกวัลเริม่ กลับมาเป็ นเหมือนเดิม คือ สงบเงียบ แล้วยิง่ ตอนนี้เป็ นอาทิตย์ ของการฝึกกริยาซึง่ มีแค่นกั เรียนดิ พโพลมากับพวกเราชาวต่างชาติ ไม่กค่ี น บรรยากาศก็ยงิ่ สงบเงียบ เข้าไปใหญ่ แต่จะว่าไปเตยคิดว่า บรรยากาศแบบนี้จะเอือ้ ให้เราเดิน ทางเข้าสูส่ ภาวะภายในได้ดขี น้ึ เช้าวันแรกตอนปฐมนิเทศ ท่านสวามีกบ็ อกทุกคนว่าลองทาดู ลองเรียนรูอ้ ย่างลึกซึ้งขึน้ ในวิถขี อง โยคะผ่านกริยาโยคะ แต่ถา้ รูส้ กึ ไม่ สบายใจทีจ่ ะต้องสวดมันตราก็ไม่ เป็ นไร ไม่ตอ้ งสวดก็ได้ แต่สว่ นตัว เตยสนใจนะคะ ปีทแ่ี ล้วเคยเห็น นักเรียนดิพโพลมาเขาสวดกันได้ เลยอยากลองบ้าง แล้วเตยเห็น เพือ่ นเตยดูเปลีย่ นไปหลังจาก อาทิตย์ทฝ่ี ึกกริยาจบลง ดูนิ่งขึน้ สงบขึน้ รวมถึงพูดน้อยลงด้วย ต้องขอสารภาพว่าบันทึกมา ไม่คอ่ ยเยอะ แต่จะเล่าเท่าทีจ่ าได้นะ คะ ส่วนใหญ่เวลาทีเ่ ราไปทีก่ ุฏเิ ราจะ

ทาพิธบี ชู าเช้าและเย็น สวดกันยาว เหยียดหนึ่งชัวโมง ่ แต่ถา้ เป็ นตอน กลางวันส่วนใหญ่จะฝึกปราณายา มะมากกว่าสวดมันตรา เราจะได้รบั สมุดเล่มเล็กๆ ทีบ่ รรจุโยคะสูตรไว้ ชาวต่างชาติจะได้เล่มทีเ่ ขียนด้วย ภาษาอังกฤษค่ะ แต่กไ็ ม่ได้ หมายความว่าเราจะอ่านออกได้ ง่ายดาย เพราะว่าสวดมันตราใน ภาษาสันษกฤตนัน้ มีลลี าและ ท่วงทานองทีห่ ลากหลายไม่แพ้การ สวดทานองสรภัญญะแบบบ้านเรา เลย เรียกได้วา่ เห็นเป็ น ภาษาอังกฤษทีน่ ึกว่าจะสวดตามได้ ไม่ยาก แต่ทไ่ี หนได้ผสมคาแทบไม่ ถูกเลย งงอยูพ่ กั ใหญ่ แต่กค็ ลาๆ เอาตามคนข้างๆ เอาอย่างนี้ เพือ่ จะได้เห็นภาพ เตยขอเล่าเป็ นส่วนของการฝึก ภาคปฏิบตั ขิ องแต่ละคลาสแล้วกัน นะคะ (อ่านต่อฉบับหน้า) 20


จากเพื่อนครู

ครูโจ๋

กริยา...กิริยา by โจ๋

เวลาก่อน 7 โมงเช้า ใน ไกวัลยธรรม โลนาฟลา อินเดีย อากาศเย็น ท้องฟ้ายังไม่คอ่ ยสว่างดี นัก นักเรียน CCY หลักสูตร 6 สัปดาห์ จะต้องทากริยา หรือ การ ชาระล้างในตอนเช้า สัปดาห์ละสอง ครัง้ ให้ลา้ งจมูกด้วยกาเนติ และ สู ตระเนติ ใช้สายยาง สอดเข้าจมูก ออกทางปาก เคยทาสูตระเนติตอนเรียน คอร์สครูทส่ี ถาบันฯ สองครัง้ ทา

ไม่ได้ทงั ้ สองครัง้ มาทีน่ ่ีบงั คับให้ทา ให้ได้ เพราะครูบอกว่าจะสอบ ถ้า ไม่ได้จะหักคะแนน ความรูส้ กึ ผสม ปนเป ไม่อยากทา ทาไม่ได้ ต่อต้าน ทาไมต้องทา เมือ่ ล้างจมูกด้วยกา เนติแล้ว ครูชนิ เดให้ยนื เป็ นวงกลมที่ กลางสนาม ให้ทาสูตระเนติ โดย บอกว่าให้คดิ ว่าเราทาเพือ่ ประโยชน์ ของร่างกายตัวเองนะ ความรูส้ กึ ของสายยางเส้น น้อย ทีค่ อ่ ย ๆ ผ่านเข้าไปในรูจมูก 21


ทาให้รสู้ กึ ระคายเคือง เข้าไปได้ เพียงนิดก็อยากจะจาม จนต้องดึง สายออก ร่างกายปฏิเสธทีจ่ ะยอมรับ สิง่ แปลกปลอมอันนี้ ค่อย ๆ สอด สายยางลงไปอีกช้า ๆ ให้รา่ งกาย คุน้ ชิน เมือ่ ทาซ้า ๆ ร่างกายก็ อนุ ญาตให้สายยางผ่านเข้าไป ได้มากขึน้ จนไปถึงระดับนึงทีร่ สู้ กึ ว่าดันสายยางลงไปไม่ได้อกี แล้ว และ ยังไม่พน้ ออกมาทีค่ อ รูส้ กึ ถึง สายยางทีช่ นอยูใ่ นคอ หากฝืนดันลง ไป ก็เจ็บ อีกครัง้ แล้วทีท่ าไม่สาเร็จ มองเพือ่ นทีอ่ ยูใ่ นวงกลม บ้างก็ทา ได้ บ้างก็ทาไม่ได้ หรือไม่ทาเลย แล้วยืนมองแบบสยอง ๆ ความรูส้ กึ ไม่อยากจะทา ไม่ อยากจะเข้าห้องกริยาอีก เกิดขึน้ และเป็ นมากขึน้ เมือ่ ถึงวันทีจ่ ะต้อง ฝึกสูตระเนติ เพือ่ นในห้องทยอยทา กันได้ คราวนี้ลองหามุมสงบไปยืน ทาห่างจากลุม่ เพือ่ น ความรูส้ กึ อยากจามลดลงแล้วแต่ปลายสาย ยางก็ยงั ไม่พน้ ออกมาทีค่ อ ครูชนิ เด

คงเห็นว่าเป็ นอย่างนี้อยูห่ ลายครัง้ แล้ว เลยเข้ามาจับหัวแล้วลงมือสอด สายยางให้ทข่ี า้ งขวา ปลายสายยาง กลับโผล่ลงมาทีค่ ออย่างง่ายดาย คราวนี้รคู้ วามรูส้ กึ ว่าทีค่ ดิ ว่าสายยาง มาชนทีค่ อแล้วนัน้ ยังต้องดันสาย ยางต่อไปอีกระยะนึง ถึงจะพ้นลาคอ ลงมาได้ ก่อนหน้านี้ฝึกด้วยความ กลัว เห็นเพือ่ นทีท่ าแล้วมีอาการ ขย้อน ก็เลยไม่กล้าไปต่ออีก ลองทา เองอีกข้างนึงก็ยงั ทาไม่ได้ ครัง้ ต่อมา ไปหามุมสงบอีก เหมือนเดิม คราวนี้ใส่ใจทีจ่ ะพูดคุย กับร่างกาย ความคิดขณะนัน้ คิดว่า เพียงแค่มาทาความรูจ้ กั กับร่างกาย ไม่ได้คดิ ว่าจะทาได้หรือไม่ได้ จะ อยากทาหรือไม่อยาก สอดสายยาง ผ่านขัน้ ตอนการจามอยูส่ องสามครัง้ จนถึงช่วงทีส่ ายยางชนคอแล้วออก ไม่ได้อย่างทีเ่ คย หลับตา ให้เวลา ไม่เร่ง ดันปลายสายยางช้า ๆ มือ ขยับสายยางไปในทิศทางต่าง ๆ ที่ คิดว่าจะมีทอ่ี อก คอก้มบ้าง เงยบ้าง 22


จนรูส้ กึ ถึงความรูส้ กึ ในลาคอที่ เหมือนดันจุกก๊อก ปลายสายยางก็ พ้นออกมา การฝึกทาสูตระเนติครัง้ นัน้ สิง่ ทีไ่ ด้ไม่ใช่ความภูมใิ จทีท่ าได้ทงั ้ สองข้าง แต่ได้เรียนรูถ้ งึ กิรยิ า ของ ตัวเองต่อสิง่ ทีอ่ ยูต่ รงหน้า ได้รวู้ า่ เรา ไม่ได้มอี านาจเหนือใคร หรืออะไร แม้แต่รา่ งกายของเราเอง ทีจ่ ะต้อง คอยจนเขาอนุ ญาต จนเมือ่ เขา พร้อม ด้วยใจทีล่ ะวาง สิง่ แปลกปลอมทีผ่ า่ นเข้าไป ร่างกาย ไม่ยอมรับในตอนแรก เกิดการ ต่อต้านคือจาม ถ้ายิง่ ฝืนดึงดัน ก็จะ เจ็บคอไปทัง้ วัน หรือแม้แต่ความตึง เครียดในใจแม้เพียงน้อยนิด ร่างกายก็รบั รูไ้ ด้ เมือ่ มีความเพียรที่ จะให้รา่ งกายกับสายยางทาความรู้ จักกัน ไม่เร่ง วันนี้ไม่ได้ วันนี้เขาไม่ พร้อม ไม่เป็ นไร พอคุน้ ชินกันแล้ว ก็สอบถามว่าตรงไหนนะ ทีอ่ ยากจะ ให้ไปตรงนี้ไม่ใช่ ตรงนี้ไปได้อกี จน เมือ่ ปลายสายยางพ้นลงมาทีคอ ก็

จะได้รบั ประสบการณ์ใหม่ ทีไ่ ด้รจู้ กั ใกล้ชดิ กับร่างกายของตัวเองมาก ขึน้ ตรงนี้ผเู้ ขียนคิดว่า การสือ่ สาร กับภายในช่องรูจมูกของเรา เหมือนกับการสือ่ สารกับคนทีอ่ ยู่ ตรงหน้า หากสือ่ สารกันด้วย ความรูส้ กึ ทีฉ่ นั เหนือกว่า ฉันรูด้ กี ว่า เธอ หรือทาไมฉันต้องคุยกับเธอ ก็ คงไม่สามารถทีจ่ ะเปิดใจให้อกี ฝา่ ยนึงรับฟงั ได้ สือ่ สารกันไม่เข้าใจ ถึงแม้สงิ่ ทีก่ าลังสนทนากันอยูน่ นั ้ จะ เป็ นสิง่ ทีด่ กี ต็ าม แต่การยัดเยียด เป็ นการใช้แรงมากเกิน โดยประสบ ผลน้อยเหลือเกิน การฝึกกริยา จึง ใช่เพียงแค่การชาระล้างภายใน ร่างกาย แต่เป็ นการฝึกกิรยิ าของใจ ทีจ่ ะมีมมุ มองต่อสิง่ ต่าง ๆ เมือ่ เรียนรูท้ จ่ี ะเคารพร่างกายของตนเอง แล้ว ก็เรียนรูท้ จ่ี ะเคารพความรูส้ กึ ของคนอืน่ เป็ นความสวยงามเป็ น ประสบการณ์ใหม่ทเ่ี กิดขึน้ จากการ ทากริยานี่เอง 23


พระไตรปิ ฎกแก่นธรรม

พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๘ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๐ สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค กุมมสูตร ดูกรภิกษุทงั ้ หลาย เรือ่ งเคยมีมาแล้ว มีเต่าตัวหนึ่ง เทีย่ วหากินอยูท่ ร่ี มิ ฝงั ่ แม่น้ าน้อยแห่งหนึ่งในเวลาเย็น สุนขั จิง้ จอกตัวหนึ่งก็ได้เทีย่ วหากินอยูท่ ร่ี มิ ฝงั ่ แม่น้ าน้อยแห่งหนึ่งในเวลาเย็น เต่าได้แลเห็นสุนขั จิง้ จอกซึง่ เทีย่ วหากินอยูแ่ ต่ ไกลแล้ว ก็หดอวัยวะ ๕ ทัง้ หัว (หดขาทัง้ ๔ มีคอเป็ นที่ ๕) เข้าอยูใ่ นกระดอง ของตนเสีย มีความขวนขวายน้อย นิ่งอยู่ 24


ดูกรภิกษุทงั ้ หลาย ฝา่ ยสุนขั จิง้ จอกก็ได้แลเห็นเต่าซึง่ เทีย่ วหากินอยูแ่ ต่ ไกลแล้ว เข้าไปหาเต่าถึงทีแ่ ล้ว ได้ยนื อยูใ่ กล้เต่าด้วยคิดว่า เวลาใดเต่าตัวนี้จกั เหยียดคอหรือขาข้างใดข้างหนึ่งออกมา เวลานัน้ เราจักงับมันฟาดแล้วกัดกิน เสีย เวลาใด เต่าไม่เหยียดคอหรือขาข้างใดข้างหนึ่งออกมา เวลานัน้ สุนขั จิง้ จอกก็หมดความอาลัย ไม่ได้โอกาส จึงหลีกไปจากเต่าฉันใด ดูกรภิกษุทงั ้ หลาย มารผูใ้ จบาปอันท่านทัง้ หลายเข้าใกล้อยูเ่ สมอๆ แล้วก็ คิดว่า บางทีเราจะพึงได้โอกาสทางจักษุ หู จมูก ลิน้ กายหรือใจ ของภิกษุ เหล่านี้บา้ ง เพราะฉันนัน้ แล ท่านทัง้ หลายจงเป็ นผูค้ ุม้ ครองทวารในอินทรีย์ ทัง้ หลายอยู่ เห็นรูปด้วยจักษุแล้ว อย่าถือนิมติ อย่าถืออนุ พยัญชนะ จงปฏิบตั ิ เพือ่ สารวมจักขุนทรีย์ ทีเ่ มือ่ ไม่สารวมแล้ว จะพึงเป็ นเหตุให้อกุศลธรรมอัน ลามก คือ อภิชฌาและโทมนัสครอบงานัน้ ชือ่ ว่ารักษาจักขุนทรีย์ ชือ่ ว่าถึง ความสารวมในจักขุนทรีย์ ฟงั เสียงด้วยหู... ดมกลิน่ ด้วยจมูก... ลิม้ รสด้วยลิน้ ... ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกาย... รูแ้ จ้งธรรมารมณ์ดว้ ยใจแล้ว อย่าถือนิมติ อย่าถือ อนุ พยัญชนะ จงปฏิบตั เิ พือ่ สารวมมนินทรีย์ ทีเ่ มือ่ ไม่สารวมแล้ว จะพึงเป็ นเหตุ ให้อกุศลธรรมอันลามก คืออภิชฌาและโทมนัสครอบงานัน้ ชือ่ ว่ารักษามนินท รีย์ ชือ่ ว่าถึงความสารวมในมนินทรีย์ ดูกรภิกษุทงั ้ หลาย เวลาใด ท่านทัง้ หลายจักเป็ นผูค้ ุม้ ครองทวารใน อินทรียท์ งั ้ หลายอยู่ เวลานัน้ มารผูใ้ จบาปก็จกั หมดความอาลัย ไม่ได้โอกาส หลีกจากท่านทัง้ หลายไป ดุจสุนขั จิง้ จอกหมดความอาลัยหลีกจากเต่า ก็ฉนั นัน้ เหมือนกัน ฯ ภิกษุผมู้ ใี จตัง้ มันในมโนวิ ่ ตก อันตัณหามานะและทิฐไิ ม่องิ อาศัย ไม่ เบียดเบียนผูอ้ น่ื ดับกิเลสได้แล้ว ไม่ตเิ ตียนผูใ้ ดผูห้ นึ่ง เหมือนเต่าหดคอและขา อยูใ่ นกระดองของตน ฉะนัน้ ฯ จบสูตรที่ ๓ 25


้ั ม ตาราโยคะดงเดิ

้ ตเมธี แปลและเรียบเรียง วีระพงษ ์ ไกรวิทย ์ และจิรวรรณ ตังจิ

ยมะ ๕ : การพัฒนาสภาวะจิตด้านใน (ตอนที่ ๓ จบ)

26


ใจความสาคัญตอนทีแ่ ล้วจาก โยคสูตรประโยคที่ ๒:๓๐ (ตอนที่ ๒) กล่าวถึงยมะข้อพรหมจรรยะว่า โดยพืน้ ฐานแล้วกิจกรรมทางเพศ ไม่ใช่เรือ่ งทีไ่ ม่ดหี รือควรถูกคัดค้าน ไปเสียทัง้ หมด ในความก้าวหน้า ทางจิตวิญญาณขัน้ สูงกิจกรรมทาง เพศอาจจะไม่ได้เป็ นอุปสรรคเสมอ ไป การละเว้นกิจกรรมทางเพศ อย่างสมบูรณ์อาจเป็ นสิง่ จาเป็ น สาหรับผูฝ้ ึกโยคะ ณ ระดับหนึ่งบน เส้นทางพัฒนาจิตวิญญาณของเขาก็ จริงแต่อาจจะไม่จาเป็ นต้องมี ตลอดเวลา เมือ่ ผูฝ้ ึกก้าวหน้าถึงขัน้ หนึ่งแล้วเป็ นไปได้ว่าแรงกระตุน้ ทาง เพศจากภายในจะลดน้อยลงหรือ หมดไปเอง ตรงกันข้ามหากแรง กระตุน้ ภายในยังมีอยูม่ ากแต่เขา พยายามบังคับตัวเองให้ละเว้นจาก กิจกรรมทางเพศ เพียงเพราะเห็นว่า กิจกรรมทางเพศเป็ นสิง่ ทีไ่ ม่ดแี ละ เป็ นอุปสรรคขวางกัน้ การพัฒนาทาง จิตวิญญาณ การควบคุมบังคับด้วย

ความตึงหรือความสุดโต่งเช่นนี้ อาจจะมีผลกระทบทีเ่ ป็ นอันตราย อย่างมากต่อความแปรปรวนทาง จิตใจและบุคลิกภาพของเขาได้ ถึงแม้แรงขับทางเพศนี้จะเป็ นพลัง ทีม่ าบันทอนและรบกวนอย่ ่ างมาก ทัง้ ต่อผูฝ้ ึกฝนทางจิตวิญญาณและผู้ ทีต่ อ้ งการบรรลุความสาเร็จทางโลก แต่หากผูป้ ฏิบตั เิ พียรพยายามอย่าง ตัง้ ใจจริงทีจ่ ะบรรลุถงึ การควบคุม พลังทางเพศแล้ว การควบคุมทาง เพศอันเหมาะสมซึง่ จาเป็ นต่อ ความก้าวหน้าทางจิตวิญญาณก็จะ ดาเนินไปด้วยความเต็มใจและเป็ น ธรรมชาติ การฝึกอาสนะและปราณายา มะรวมถึงมรรคลาดับอืน่ ๆ ได้แก่ ปรัตยาหาระ ธารณา ธยานะ และ สมาธิอย่างเข้มข้น จริงใจ และ สม่าเสมอก็มสี ว่ นช่วยลดแรงกระตุน้ ของกิเลสทีท่ าให้ผฝู้ ึ กละเมิดกฎ ของยมะ(รวมถึงพรหมจรรยะ)ได้ จะ ว่าไปแล้วการละเว้นจากกิจกรรม 27


ทางเพศทางการกระทาทางกายนัน้ ยังไม่ถอื เป็ นการประพฤติปฏิบตั ิ ตามหลักพรหมจรรยะทัง้ หมด ซึง่ นอกจากจะเป็ นอันตรายอย่างรุนแรง ตามทีก่ ล่าวมาแล้ว การทาเช่นนี้ก็ ยังไม่ใช่จุดมุง่ หมายทีแ่ ท้จริงของ โยคะอีกด้วย เพราะจิตยังคงมีการ นึกคิดไปกับเรือ่ งทางเพศซึง่ จะเป็ น สาเหตุทแ่ี ท้จริงทีร่ บกวนสภาวะด้าน ในและเป็ นการละเมิดยมะข้อพรหม จรรยะอย่างมากทีส่ ุด ยมะเป็ นการ ฝึกควบคุมตนเอง การควบคุม กิจกรรมของคนๆ หนึ่งเพียงทาง ร่างกายเป็ นเรือ่ งทีส่ าคัญเป็ นลาดับ รองเท่านัน้ สิง่ ทีส่ าคัญยิง่ กว่าและ ถือเป็ นการประพฤติปฏิบตั ยิ มะที่ แท้จริงคือ การควบคุมทางจิตใจ ดังนัน้ พรหมจรรยะต้องได้รบั การฝึก ทัง้ สามระดับคือ กาย วาจา และใจ โดยทางใจนัน้ เป็ นเรื่องทีส่ าคัญทีส่ ดุ สาหรับเนื้อหาตอนจบของ ประโยค ๒:๓๐ กล่าวถึงยมะข้อ สุดท้ายหรืออปริคระหะว่า คาว่า อป

ริคระหะ ประกอบด้วย อะ = ไม่ + ปะริ = ครอบคลุมทัง้ หมด + คระหะ = การรับและการเก็บ ดังนัน้ ปริคระ หะจึงหมายถึงการรับและการเก็บ สะสมทุกๆ สิง่ ทีห่ าได้ อปริคระหะจึง มีความหมายตรงกันข้ามคือการไม่ รับหรือเก็บสะสมสิง่ ใดๆ ตามกฎ ของยมะนี้ผฝู้ ึกโยคะจึงถูกคาดหวัง ว่าจะไม่รบั สิง่ ใดๆ ซึง่ ไม่ได้จาเป็ น ต่อการดารงชีพของเขาและต่อ หน้าทีอ่ นั จาเป็ นของเขา ยิง่ กว่านัน้ ยังไม่ทาการสะสมสิง่ ต่างๆ ด้วยเหตุ ว่าในอนาคตข้างหน้า ณ เวลาใด เวลาหนึ่งอาจจะมีโอกาสได้ใช้ ประโยชน์จากสิง่ เหล่านัน้ ยมะใน ความหมายทีเ่ ข้มงวดนี้เป็ นสิง่ ทีย่ าก มากต่อการปฏิบตั ติ าม หมายความ ว่าผูป้ ฏิบตั ไิ ม่เก็บสะสมสิง่ ใดเลย เป็ นของตนเอง อย่างไรก็ตามแม้วา่ โดยทัวไปแล้ ่ วการปฏิบตั ทิ เ่ี ข้มงวด จริงจังเช่นนัน้ ไม่อาจจะเป็ นไปได้ แต่ผปู้ ฏิบตั กิ ค็ วรพยายามทีจ่ ะลด ความจาเป็ นของเขาลงจนถึงขีด 28


ต่าสุดด้วยความจริงใจ และควร หลีกเลีย่ งนิสยั ทีจ่ ะเก็บและสะสมสิง่ ต่างๆ อย่างสมบูรณ์ ซึง่ สิง่ เหล่านัน้ อาจจะไม่ได้เป็ นสิง่ จาเป็ นสาหรับ เขาในอนาคตอันใกล้ ยิง่ ผูฝ้ ึ ก สามารถทาตามหลักการนี้ได้มาก เท่าไร เขาก็จะยิง่ ปฏิบตั ติ ามข้อห้าม ของอปริคระหะได้ดขี น้ึ เท่านัน้ ผูฝ้ ึกโยคะจานวนมากแปลอป ริคระหะว่าหมายถึง การไม่ยดึ ติดใน สิง่ ต่างๆ ดังนัน้ พวกเขาจึงรูส้ กึ และ อ้างว่าแม้พวกเขาจะเก็บสะสมสิง่ ต่างๆ แต่ในทางจิตใจนัน้ พวกเขาไม่ ยึดติดหรือไม่ได้ปรารถนาในสิง่ เหล่านัน้ พวกเขากาลังปฏิบตั ติ ามย มะในข้ออปริคระหะ แต่ความเข้าใจ เช่นนี้ไม่ถกู ต้อง การไม่ยดึ ติดหรือ การละความปรารถนาทางใจต่อสิง่ ต่างๆ ก็คอื สันยาสะ1 ซึง่ เป็ นการ

ปฏิบตั ใิ นขัน้ จิตใจ แต่อปริคระหะ ไม่ได้มคี วามหมายในทานองนี้มาก นัก ในยมะทัง้ หมดของปตัญชลีอปริ คระหะเป็ นเพียงข้อเดียวทีก่ าร ปฏิบตั ใิ นระดับทางกายมี ความสาคัญมากกว่าการปฏิบตั ใิ น ระดับจิตใจ จริงๆ แล้วอปริคระหะใน ระดับจิตใจคือ สันยาสะ และการ ปฏิบตั สิ นั ยาสะในชีวติ จริงก็คอื อปริ คระหะ บุคคลหนึ่งอาจจะเป็ นสันยา สีทแ่ี ท้จริง นันคื ่ อ เขาได้สญ ู สิน้ การ ยึดติดและความต้องการในสิง่ ต่างๆ หรือกล่าวได้วา่ เขามีไวราคยะอย่าง

(พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ๒๕๔๘: ๗๑๗๒) ได้แก่ ๑) พรหมจรรยะ คือขั้นการศึกษา เล่าเรี ยนเรี ยกผูอ้ ยูใ่ นขั้นนี้วา่ พรหมจารี ๒) คฤหัสถยะ คือขั้นตอนการครองเรื อนเรี ยกผู ้ อยูใ่ นขั้นนี้วา่ คฤหัสถ์ ๓) วานปรัสถยะ คือ ขั้นการแยกตัวออกไปปฏิบตั ิธรรมอยูใ่ นป่ า เรี ยกผูอ้ ยูใ่ นขั้นนี้วา่ วานปรัสถ์ ๔) สันนะยา สะ คือขั้นการออกบวช เรี ยกผูอ้ ยูใ่ นขั้นนี้วา่ สันยาสี (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจากวิกิพีเดีย)

1

สันยาสะหรื อสันนยาสะ คือ ขั้นตอนสุ ดท้าย ของการดาเนินชีวติ ของมนุษย์ตามหลักธรรม ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซึ่งมีท้ งั หมด ๔ ขั้นตามวัยของผูป้ ฏิบตั ิเรี ยกว่า อาศรม ๔ 29


บริบรู ณ์ (วศีการะ, ๑: ๑๕)2 ในกรณี เช่นนัน้ การใช้สงิ่ ต่างๆ ด้วยความ สันโดษและปราศจากความรูส้ กึ พึง พอใจและเพลิดเพลินอาจจะเป็ นไป ได้และปฏิบตั ไิ ด้ ในกรณีเช่นนี้แม้ บุคคลนัน้ อาจถูกเรียกว่า วิราคี และ สันยาสี แต่เขาก็ไม่ใช่อปริคระหี เพราะอปริคระหีทแ่ี ท้จริงนัน้ ไม่ตอ้ ง มีสงิ่ ต่างๆ ซึง่ ไม่จาเป็ น ความจริง แล้วสันยาสะและอปริคระหะเป็ น สองด้านของเหรียญเดียวกันและ ควรจะไปด้วยกัน อปริคระหะที่ ปราศจากสันยาสะ(การไม่ยดึ ติด และการไร้ความปรารถนาทางใจ) และไวราคยะ จึงไม่งา่ ยทีจ่ ะปฏิบตั ิ ได้ ดังนัน้ หากสันยาสะไม่ได้ไป ด้วยกันกับอปริคระหะ อันตรายที่ ซ่อนอยูก่ ค็ อื คนอาจจะคุน้ ชินทีจ่ ะใช้

สิง่ ทีใ่ ห้ความสุขและยึดติดกับความ ต้องการในสิง่ เหล่านัน้ ซึง่ อาจจะ ปรากฏขึน้ ในใจของสันยาสีได้ ปตัญชลีกล่าวถึงยมะ ๕ และ นิยมะ ๕ แต่ตาราโยคะรวมถึงตารา ทางศาสนาและจิตวิญญาณอืน่ ๆ กล่าวถึงยมะและนิยมะอย่างละ ๑๐ ข้อ และการจาแนกหัวข้อของทัง้ ย มะและนิยมะอย่างละสิบนัน้ ก็ แตกต่างกันไปตามตาราต่างๆ ด้วย ดังที ่ พ่ บว่าหัวข้อทีก่ ล่าวถึงในส่วน ของยมะในตาราเล่มหนึ่งกลับถูกจัด ให้อยูใ่ นส่วนของนิยมะในตาราอีก เล่มหนึ่ง (อ้างถึงประโยค ๒:๒๙, น. ๒๓๔)3 ดังนัน้ หากพิจารณาอย่าง เปิดกว้างการจาแนกเป็ นข้อต่างๆ ทัง้ หมดภายใต้ยมะและนิยมะใน ตาราต่างๆ ดูเหมือนจะเป็ นข้อห้าม

วศีการะ คือ การถอนจากความยึดติดใน วัตถุหรื อสิ่ งต่างๆ ในขั้นที่ ๔ ซึ่งเป็ นขั้นสู งสุ ด ของไวราคยะ เป็ นขั้นที่สามารถเอาชนะกิเลส ได้อย่างสมบูรณ์ (อ่านเพิ่มเติมได้ในสารัตถะ ฉบับเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๒)

3

ผูอ้ ่านสามารถย้อนดูรายละเอียดนี้ได้ใน จดหมายข่าวสารัตถะ ฉบับเดือนมกราคม ๒๕๕๖ หน้า ๒๕ ในบทความตาราโยคะ ดั้งเดิมชื่อ “มรรค ๘” ย่อหน้าที่ข้ ึนต้นด้วยคา ว่า หมายเหตุ...

2

30


หรือกฎแห่งการควบคุมตนเองและ เป็ นไปเพือ่ ควบคุมความประพฤติ ของผูป้ ฏิบตั ิ ซึง่ โดยทัวไปแล้ ่ วเรียก กันว่าเป็ นกฎทีด่ ขี องการควบคุม ตนเองและพฤติกรรมอันจะนาไปสู่ ความก้าวหน้าทางจิตวิญญาณได้ ส่วนทีป่ ตัญชลีได้กล่าวถึงยมะ-นิย มะเพียงอย่างละ ๕ ข้อนัน้ ท่าน อาจจะพิจารณาเฉพาะส่วนทีเ่ ป็ น หัวใจสาคัญทีส่ ดุ ก็เป็ นได้ และเป็ นที่ ชัดเจนว่าแม้ปตัญชลีจะไม่ได้ กล่าวถึงกฎแห่งการควบคุมตนเอง และพฤติกรรมทีด่ ใี นข้ออืน่ ๆ เหล่านัน้ (เหมือนตาราเล่มอืน่ ) แต่ ท่านก็ไม่ได้คดิ ว่าข้ออืน่ ๆ เหล่านัน้ เป็ นสิง่ ทีไ่ ม่จาเป็ น เพราะอย่างที่ กล่าวมาแล้วว่ายมะ-นิยมะข้ออืน่ ๆ เหล่านัน้ ได้รวมอยูใ่ นเรือ่ งพรหมจร

รยะ(ของปตัญชลี)เป็ นทีเ่ รียบร้อย แล้ว เอกสารอ้างอิง : ๑) Karambelkar, P. V. (1986). PATANJALA YOGA SUTRAS Sanskrta Sutras with Transliteration, Translation & Commentary. Lonavla : Kaivalyadhama, p. 246-248. ๒) http://th.wikipedia.org/wiki/%E0% B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8% A8%E0%B8%A3%E0%B8%A1_4 ……………………………………… ..

31


บทกลอน

อนัตตา

ถุงพลาสติกปลิวว่อนอยู่ในสายลม กระไอร้อนลอยวนอยูใ่ นอากาศ จนกลัวว่าหากเผลอหายใจเข้าลึกเกินไป เราอาจหายใจออกมาเป็ นไฟ เหงื่อไหลซึมถ้วนทัวทุ ่ กรูขมุ ขน หากผีเสือ้ สักตัวได้กลิน่ ความเค็ม คงมาเกาะเล็มอยูร่ อบๆ เสียดายทีแ่ ถวนี้ไม่มสี งิ่ มีชวี ติ ทีว่ า่ ตึกสูงแสร้งว่าช่วยบดบังแสงแดด แม้ไม่อาจให้รม่ เงา เท่าไม้ใหญ่ทถ่ี กู ตัดไปก่อนหน้า ทีน่ ่ีคอื กรุงเทพ ทีน่ ่ีคอื ประเทศไทย ทีน่ ่ีคอื โลก..ทีค่ อ่ ยๆ เก่าลงทุกวัน และสิ่งต่างๆ ที่เราทา อาจช่วยกันเร่งวันให้มนั เก่าเร็วขึ้น

32


...

... 33


เดือนเมษายน 2556 มีผบู้ ริจาคสนับสนุนการทางานของสถาบันฯ ดังนี้ ครูสจุ ติ ฏา วิเชียร (ครูเจีย๊ บT8) สอนทีส่ วนโมกข์ (28/3/56)

200

เงินสมทบกิจกรรมโยคะในสวนธรรม 28/3/56

450

จากตูบ้ ริจาค งานฟงั บรรยาย ดร.จากาดิช

500

บริจาคค่าระฆัง

600

ครูบุษกร แก้วมรกต (ครูบTี 12) สอนทีส่ วนโมกข์ (3/4/56)

100

เงินสมทบกิจกรรมโยคะในสวนธรรม 3/4/56

380

คุณพลอยจิตมณฑา อวัสดาฐิติ

1,260

คุณจิราพร และ คุณขวัญทิพย์ วิเชียร (บ้านโยคะสารัตถะ จ.นครศรีธรรมราช)

1,000

รวม

4,490

34


ยินดีรบ ั การสนับสนุ น : ผูส้ นใจร่วมสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ของสถาบันโยคะวิชาการ สถาบันโยคะ วิชาการดาเนินการโดยได้รบั การสนับสนุนบางส่วนจากมูลนิธหิ มอชาวบ้าน มี รายได้จากค่าลงทะเบียนกิจกรรม มีรายได้จากการจาหน่ ายผลิตภัณฑ์ต่างๆ นอกจากนัน้ สถาบัน ฯ ยังยินดีรบั การสนับสนุ นจากผูส้ นใจร่วมเผยแพร่ เพือ่ นาเงินมาใช้ดาเนินการให้บรรลุวตั ถุประสงค์ตามทีต่ งั ้ ไว้

 สนับสนุนด้ านการเงิน สนับสนุนผ่านบัญชี : ธนาคารไทยพาณิชย์ บัญชีออมทรัพย์ ชือ่ บัญชี มูลนิธหิ มอชาวบ้าน (สถาบันโยคะวิชาการ) เลขทีบ่ ญ ั ชี 173-232-9491 สาขา The Mall 3 รามคาแหง

 สนับสนุนด้ านทักษะ สถาบันโยคะวิชาการยินดีรบั การสนับสนุ น 1. ทักษะจากผูม้ คี วามสนใจ หรือถนัดในเรือ่ งของการออกแบบ เพือ่ ช่วยใน การจัดทาอาร์ตเวิรค์ ทัง้ ในส่วนของจดหมายข่าวสารัตถะ ออนไลน์ การ ทาโปสเตอร์เพือ่ ใช้เป็ นสือ่ ประชาสัมพันธ์หลักสูตร และ กิจกรรมอืน่ 2. ผูม้ คี วามถนัดในการติดต่อสือ่ ทีส่ ามารถเป็ นช่องทางในการเผยแพร่ และ ประชาสัมพันธ์หลักสูตร และ กิจกรรมสถาบันฯ 35


สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวล้าน เลขที่ 201 ซอยรามคาแหง 36/1 ถนนรามคาแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร. 02 732 2016, 081 401 7744 www.thaiyogainstitute.com 36


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.