Saratha Dec 2013

Page 1

photo from: http://appleday.tumblr.com/post/178480444/mensconsciarecti-kudryavka1957

¨´ËÁÒ¢‹ Ò Ç

¸Ñ ¹ ÇÒ¤Á 2556

ÊÒÃѵ¶Ð

www.thaiyogainstitute.com


ÊÒÃѵ¶Ð ¤Ø  ¡Ñ ¹ ¡‹ Í ¹ »¯Ô · Ô ¹ ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁ

ÊÒÃºÑ Þ

2 2

¡Ô ¨ ¡ÃÃÁà¤Ã× Í ¢‹ Ò Â เลี ้ ย งลู ก อย า งไรให ใ จไม เ ครี ย ด

4

á¹Ð¹ÓÈÙ ¹  â ¤Рอั น จาลี โ ยคะ

5

¨Ò¡à¾× ่ Í ¹¤ÃÙ ชี ว ิ ต นั ก เรี ย นโยคะที ่ ไ กวั ล ยธรรม

§Ò¹ÇÔ ª Ò¡ÒÃÈÖ ¡ ÉÒÇÔ ¨ Ñ Â ปทุ ม อาสนะ

º·¡Å͹ การเติ บ โต

¡ÒÃ¾Ñ ² ¹Ò¨Ô µ โยคะ 8 สาขา

ẋ § »˜ ¹ ¡ÒÃÊ͹

เมื ่ อ หมอเลื อ กเรี ย นโยคะ

6 8 10 11 13

ÇÔ ¶ Õ â ¤Ð

ความเหมื อ นในความต า ง

µÓÃÒâÂ¤Ð´Ñ ้ § à´Ô Á

ผลของความตั ้ ง มั ่ น ในการปฏิ บ ั ต ิ อปริ ค รหะ

17

·Õ ่ » ÃÖ ¡ ÉÒ

กวี คงภั ก ดี พ งษ แก ว วิ ฑ ู ร ย เ ธี ย ร ธี ร เดช อุ ท ั ย วิ ท ยารั ต น นพ.ยงยุ ท ธ วงศ ภ ิ ร มย ศ านติ ์ นพ.สมศั ก ดิ ์ ชุ ณ หรั ศ มิ ์

¡ÃÃÁ¡ÒÃ

กฤษณ ฟ ก น อ ย ชนาพร เหลื อ งระฆั ง ชุ ต ิ ม า อรุ ณ มาศ วรพจน คงผาสุ ข วรรณวิ ภ า มาลั ย นวล วิ ล ิ น ทร วิ ภ าสพั น ธ สมดุ ล ย หมั ่ น เพี ย รการ

ÊÓ¹Ñ ¡ §Ò¹

พรทิ พ ย อึ ง คเดชา วั ล ลภา ณะนวล สุ จ ิ ต ฏา วิ เ ชี ย ร

¡Í§ºÃÃ³Ò¸Ô ¡ ÒÃ

จิ ร วรรณ ตั ้ ง จิ ต เมธี ณั ต ฐิ ย า ป ย มหั น ต ณั ฏ ฐ ว รดี ศิ ร ิ ก ุ ล ภั ท รศรี ธนวั ช ร เกตน ว ิ ม ุ ต ธี ร ิ น ทร อุ ช ชิ น พรจั น ทร จั น ทนไพรวั น วิ ส าขา ไผ ง าม วี ร ะพงษ ไกรวิ ท ย 15ศั น สนี ย  นิ ร ามิ ษ สุ จ ิ ต ฏา วิ เ ชี ย ร

ÈÔ Å »¡ÃÃÁ

กาญจนา กาญจนากร


ÊÒÃѵ¶Ð ¤Ø  ¡Ñ ¹ ¡‹ Í ¹ สวัสดีธันวาคม...เดือนสุดทายของป และก็คงเหมือนเชนเคยที่เมื่อถึงชวงนี้เราก็มักจะมีคำถาม ตอชีวิตที่ผานมาตลอดทั้งปถึงสิ่งที่ไดทำไปแลวและสิ่งที่ยังไมไดทำ นั่นถือเปนสิ่งที่ดีทีเดียวนะเพราะถือเปน การทบทวนกับตัวเองอีกวิธีหนึ่ง แตอยาลืมเสียละวาที่สุดแลวทั้งสิ่งที่ทำไปแลวและสิ่งที่ยังไมไดกระทำ นั่นยังไมสำคัญเทากับสิ่งที่กำลังทำอยู “เรากำลังทำสิ่งใดอยู” คำถามนี้คงไมตองรอใหถึงสิ้นปหรือ ปใหมหรอก เพราะเราสามารถถามตัวเองไดทุกวัน และที่สำคัญ...พึงระลึกไวเสมอวา “ทุกๆ วินาทีที่ลวงผานไปนั้น คือของขวัญแหงปจจุบันที่ลวงผานไปแลว”

»¯Ô · Ô ¹ ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁ â¤ÐÍÒÊ¹Ð¢Ñ ้ ¹ ¾× ้ ¹ °Ò¹à¾× ่ Í ¤ÇÒÁÊØ ¢ ÊÓËÃÑ º ¼Ù Œ à ÃÔ ่ Á µŒ ¹ ÇÑ ¹ ÍÒ·Ô µ  · Õ ่ 22 ¸Ñ ¹ ÇÒ¤Á àÇÅÒ 9.00 – 15.00 ¹

ที่ชั้น 6 หอง 262 คณะมนุษยศาสตร มศว ประสานมิตร คาลงทะเบียน 650 บาท สนใจโทร.สอบถามรายละเอียดไดที่ สถาบันโยคะวิชาการ â¤Ðã¹Êǹ¸ÃÃÁ ³ Ëͨ´ËÁÒÂà赯 ¾ Ø · ¸·ÒÊ ¿ÃÕ ·Ø ¡ àÂ็ ¹ ÇÑ ¹ ¾Ø ¸ áÅÐ ¾ÄËÑ Ê àÇÅÒ 17.00 – 18.30 ¹. áÅÐ ÇÑ ¹ àÊÒà · Õ ่ 28 ¸Ñ ¹ ÇÒ¤Á àÇÅÒº‹ Ò Â 2 – 4 âÁ§àÂ็ ¹

ลงทะเบียนรวมกิจกรรมไดหนางาน ไมมีคาใชจาย รวมสมทบคากิจกรรมไดดวยการบริจาค â¤ÐÊÃŒ Ò §ÊØ ¢ ³ ËŒ Í §ÍÒÈÃÁÊØ ¢ ÀÒÇÐ ÊÊÊ ·Ø ¡ ÇÑ ¹ ¾ÄËÑ Ê àÇÅÒ 17.00 – 18.30 ¹. áÅÐ ÇÑ ¹ àÊÒà àÇÅÒ 10.30 – 12.00 ¹.

สำรองที่เขารวมกิจกรรมไดที่ activity.thc@thaihealth.or.th หรือ โทร.02 343 1500 ตอ 2 และ 081 731 8270 photo from; http://i.imgur.com/lZPLXxm.jpg

2


ÊÒÃÑ µ ¶Ð

BODY

MIND

ʶҺѹâ¤ÐÇÔªÒ¡Òà ÁÙŹԸÔËÁͪÒǺŒÒ¹ ËÇÁ¡Ñº ÀÒ¤ÇÔªÒ»ÃѪÞÒáÅÐÈÒÊ¹Ò ¤³ÐÁ¹ØÉÂÈÒʵà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÈÃÕ¹¤ÃÔ¹·ÃÇÔâò¨Ñ´ÍºÃÁ ¤ÃÙâ¤Ðà¾×่Í¡ÒþѲ¹Ò¨Ôµ »‚ 2557 ໇ÒËÁÒÂ

ศึกษาองคความรูโยคะตามตำราดั้งเดิม ซึ่งเปนไปเพื่อ การพัฒนาจิต ปฏิบัติเทคนิคโยคะเพื่อเขาถึงประสบการณ ตามที่ระบุไวในตำราดั้งเดิม นำไปประกอบการดำเนินชีวิต บนวิถีโยคะ และเผยแพรใหผูอื่นไดรูไดเขาใจโยคะ ตามตำราดั้งเดิม à¹×้ÍËÒÀÒ¤»®ÔºÑµÔ

อาสนะ ตามหลักการที่ระบุไวในตำราดั้งเดิม ปราณายามะ + มุทรา พันธะ กิริยา สมาธิ วิถีและทัศนคติตอชีวิต ÀÒ¤·ÄɯÕ

สรีระวิทยา กายวิภาค ประวัติและพัฒนาการของโยคะ ตำราโยคะดั้งเดิม – ปรัชญาอินเดีย ÇÔ·ÂÒ¡Ã คณะครู จ ากสถาบั น โยคะวิ ช าการ ¼ÙŒàÃÕ¹ จำนวนรุ  น ละไม เ กิ น 24 คน หลักสูตรระยะสั้น(106ชั่วโมง) รุนที่21 ระหวางวันที่ 26 เมษายน–26 มิถุนายน 2557 อบรมเปนคายโยคะ 4 ครั้ง ที่ศูนยอบรมในปริมณฑล เชน ปทุมธานี นครปฐม คายที่ 1 โยคะเพื่ออิริยาบถในชีวิตประจำวัน 26-29 เม.ย. คายที่ 2 โยคะเพื่อความสมดุลของอารมณ 19–21 พ.ค. คายที่ 3 โยคะเพื่อการพัฒนาจิต 6-8 มิ.ย. คายที่ 4 สอบ, ฝกสอน, นำเสนองานวิจัย 24-26 มิ.ย. คาลงทะเบียน 23,000 บาท

3

SOUL

ยิ่งเรียนรูเรื่องราวของโยคะมากขึ้น ก็ยิ่งตื่นตะลึง กับองคความรูที่มันเกี่ยวพันกันและตอยอดแตกแขน ง ออกไปเรื่อยๆ อยางที่ไมเคยนึกคิดมากอน เลยวามันจะเปดโลกของเราออกไปไดกวางไกลขนาด นี้ ทุกสิ่งทุกอยางที่ไดเรียนรูจากตำรา จากครู จากการ สังเกตตัวเอง ฯลฯ มันจุดประกายไฟแหงความอยาก เรียนรูใหเพิ่มมากขึ้นทุกขณะ และอยางที่ไมเคยเปน มากอนตลอดชวงชีวิตที่ผานมา ราวกับวาเราเพิ่งจะ เริ่มตนชีวิตนักศึกษาอีกครั้ง เคยนึกเสียดายอยูบอย ครั้งในชวงเวลาที่มาเรียนโยคะ วาถาหากเราคนพบ สิ่งนี้ไดเร็วกวานี้ บางทีมันอาจจะพลิกเปลี่ยนชีวิต ของเราไปกอนหนานี้นานมากแลว แตมาคิดอีกที... ความรูสึกที่วาสิ่งใดใช หรือไมใชสำหรับเรา มันก็อาจ จะขึ้นอยูกับชวงเวลาและเหตุปจจัยตางๆที่มาพบเจอ กัน ในเวลานั้น อาจเปนไดวาแมจะไดมาเรียนโยคะ ตั้งแตสิบปกอน แตเราอาจจะไมรูสึกกับมันเทากับ ที่เปนอยูตอนนี้ก็ได เพ็ญศิริ จันทรประทีปฉาย

หลักสูตรระยะยาว (230ชั่วโมง) รุนที่14 ระหวางวันที่16 กรกฏาคม–8 พฤศจิกายน 2557 อบรมประจำที่ มศว ประสานมิตร เขาคาย 2 ครั้ง คายที่ 1 วิถีโยคะ เรียนทุกเย็นวันจันทร พุธ พฤหัส เวลา 17.30-20.00 น. เรียนทุกวันเสาร เวลา 8.00-15.30 น. คายที่ 2 กิริยาโยคะ เดือนสุดทาย ฝกสอน, นำเสนองานวิจัย และสอบ คาลงทะเบียน 45,000 บาท


ÊÒÃÑ µ ¶Ð

¡Ô ¨ ¡ÃÃÁà¤Ã× Í ¢‹ Ò Â

photo from; http://flickrcc.bluemountains.net/flickrCC/index.php?terms=joy&page=2&edit=yes&com=no

"àÅÕ ้  §ÅÙ ¡ Í‹ Ò §äÃ....ãËŒ ã ¨äÁ‹ à ¤ÃÕ Â ´" ÇÑ ¹ ÈØ ¡ à · Õ ่ 29 ¾.Â. ¶Ö § ÇÑ ¹ ÍÒ·Ô µ  · Õ ่ 1 ¸.¤. photo from; http://whatchathinkaboutthat.tumblr.com/post/53359663361/sweet-angel-1

ครูเล็ก เอกชัยและ ครูเก รสสุคนธ สองครูโยคะรุนใหมไดทุมเทกายใจในชวงหลายปที่ผานมา เพื่อสรางสรรคงานดานการพัฒนาเด็กและครอบครัว ในวันศุกรที่ 29 พ.ย. ถึงวันอาทิตยที่ 1 ธ.ค. นี้ ทั้งสองไดรวมจัดคอรส "เลี้ยงลูกอยางไร....ใหใจไมเครียด" สำหรับทุกทาน ๆ ที่รักและหวงใยในตัวลูก พบกับสองวิทยากร อ. ธีรยุทธ เวชเจริญยิ่ง และ พระอาจารยประสงค ปริปุณโณ ณ สวนธรรมศรีปทุม อ.สามโคก จ.ปทุมธานี รับสมัครคุณพอคุณแมผูปกครองทุกชวงอายุ สำหรับทานที่นำบุตรหลานมาดวยทางผูจัดไดเตรียมทีมงานอาสา นำกิจกรรมสงเสริม EQ สำหรับเด็กอายุ 5-12 ป ไวดวย(รับจำนวนจำกัด) รวมเปนเจาภาพตนเองทานละ 700 บาทตอคน (สำหรับคาที่พักและคาอาหาร) สอบถามรายละเอียดและสมัครไดที่ ครูเล็ก 08-1819-1816, คุณธัญญา 08-1616-4135 parentcamp@hotmail.com, www.budharas.com

4


ÊÒÃѵ¶Ð

á¹Ð¹ÓÈÙ ¹  â ¤Рphoto from; http://www.fotopedia.com/items/bjlhsj2drko3q-dxbHtUOlM8I

ÍÑ ¹ ¨ÒÅÕ â¤Рวีระชัย เล็กตระกูล เปนสถานที่สอนโยคะในจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งผูกอตั้งไดฝกโยคะและไดรับรูถึงประโยชนมากมาย ของโยคะ จึงมีความปรารถนาที่จะสงเสริมใหคน ในจังหวัดอุบลราชธานีและพื้นที่ใกลเคียงไดฝกโยคะ ในแบบที่ควรจะเปนและไดมาตรฐาน ในราคาที่ เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจของตางจังหวัด เอื้อใหบุคคลทุกอาชีพทุกสถานะ มีโอกาสไดเรียนรู และสัมผัสกับโยคะ เริ่มกอตั้ง เมื่อเดือน พฤศจิกายน 2551 มีผูรวมกอตั้งสองคนคือครูเชียง วีระชัย เล็กตระกูล และ ครูตาย อัญชลี ปญญาโจง อันจาลี หรือ อัญชลี มีความหมายถึง การประนมมือพนมมือ สอดคลองกับชื่อของผูรวม กอตั้ง ครูตาย อัญชลี สถานที่ตั้งอยูยานธุรกิจ ใจกลางเมืองอุบลราชธานี สังเกตไดงายอาคารสีสม ติดกับธนาคาร กสิกรไทยสาขาพรมเทพ ใกลตลาดใหญ การเดินทางสัญจรงาย ที่จอดรถสะดวกสบาย เรามีโยคะใหเลือกฝกมากกวา 20 ชั้นเรียนตอสัปดาห หลากหลายไสตล เชนอาสนะและปราณายามะพื้นฐาน. อัษฎางโยคะ (ashtanga), ศิวะนันทะ, วินยาสะ, หยาง-หยิน, gentle ฯลฯ เพื่อใหสมาชิกไดพัฒนา ทั้งความแข็งแรง ความยืดหยุน ลมหายใจ และสมาธิ มีหองเรียนที่กวางขวางได มาตรฐาน ถึง 3 หอง

5

และมีสิ่งอำนวยความสะดวก หองน้ำ หองอาบน้ำ ล็อคเกอร มีเสื่อโยคะใหยืม และมีอุปกรณโยคะที่ จำเปน จำหนายสำหรับสมาชิกในราคากันเอง ครูผูสอน อัญชลี ปญญาโจง(ตาย) - จบหลักสูตรวิชาชีพครูโยคะสากล - จากสถาบัน Fit (Fitness innovation Thailand) International Yoga Teacher Training 200 hours Certification Course หลักสูตรที่ไดรับการรับรองจาก International Yoga Federation (I.Y.F.) และYoga Alliance (Y.A.) - หลักสูตร Yoga advance and anatomy 80 hours. จาก Sivalee Yoga House วีระชัย เล็กตระกูล(เชียง) - จบหลักสูตรอบรมครูโยคะ สถาบันโยคะวิชาการ - หลักสูตรวิชาชีพครูโยคะสากล จาก Sivalee Yoga House International Yoga Teacher Training 200 hours Certification Course (หลักสูตรครูสอนโยคะระดับนานาชาติ 200 ชั่วโมง หลักสูตรที่ไดรับการรับรองจาก Yoga Alliance (Y.A.) - หลักสูตรครูศิวะนันทะจากครูหนู ชมชื่น สิทธิเวช ติดตอสอบถามรายละเอียด ที่อันจาลีโยคะ 0897179551, 085-3114047


¨Ò¡à¾× ่ Í ¹¤ÃÙ

ÊÒÃѵ¶Ð

photo from; http://media-cache-ec0.pinimg.com/originals/21/19/b0/2119b02b8ad15aee1a3977ef067bf680.jpg

ªÕ Ç Ô µ ¹Ñ ¡ àÃÕ Â ¹â¤Р·Õ ่ ä ¡ÇÑ Å Â¸ÃÃÁ âŹҿÅÒ ÍÔ ¹ à´Õ  เกิดมายังไมเคยเห็นราเติบโตเร็วขนาดนี้ มากอนเลย ทุกครั้งที่กลับมาที่หองตองคอยดมกลิ่น เสื้อผาวาไมมีรามาวอแว บางครั้งไมมีรอยดำๆใหเห็น มาแตกลิ่น แตแคกลิ่นก็เลนเอาแทบแย หลายคนตองทิ้งเสื้อผา ทิ้งกระเปา เพราะไมสามารถแกไขได หมดทางเยียวยาแลวจริงๆ สวนนาิกาหนังสุดที่รักซึ่งไดเปนที่พำนัก อยางดีของเชื้อรานั้น ไดลองหอผาแลวพันดวย พลาสติกก็แลวลองเช็ดออกก็แลวเปาดวยไดรเปาผม ก็แลว ผานไปสองวันราก็มาเยือนอีก จึงไดจัดการขั้นสุดทายสรุปสุดทายเอาน้ำยาลางมือ เดทตอลผสมน้ำขัดนาิกาสายนาิกาเหมือนกับที่ ซักผา โดยไมสนใจแลววานาิกาจะเสียไหม จากนั้นเอาไดรเปา ตากแดดซึ่งมีมาวันละไมกี่นาที ในที่สุดสามเดือนผานไป แดดมา สายนาิกาก็แหงสนิท...แตจุดนี้ ขอบอกวา ยังไมกลาใสนาิกาเรือนนี้อีกเลย เนื่องจากสมฤติ หรือความทรงจำที่เห็นความเชื้อราราเริงยังคงติดแนน อยู คงตองใชอัภยาสและวิราคธรรมในการผานพน การรบกวนของจิตนี้ไปใหได

6


ÊÒÃѵ¶Ð มัวแตเลาเรื่องอื่น หลายคนคงอยากถาม เรื่องเรียนมีคนบอกวาเคยเรียนคอรสหกอาทิตย มาเรียน มาเรียนคราวนี้ก็งายนะสิ ขอบอกวาไมเลย ไมเลยคะ เรียนคราวนี้ลงลึกและจริงจังในทุกแงมุมของ โยคะเทาที่มนุษยจะมีมุมมองกับสิ่งตางๆ ในโลกนี้ได และเนนตามตำราดั้งเดิมผสานมุมมองทางวิทยาศาสตร สวนครูที่สอนทำงานที่ไกวัลยธรรมมายาวนาน มีประสบการณสอนมายาวนาน บางทานสอนมากวา 30 ป 25 ป เรียกไดวารูลึก รูจริง ที่สำคัญครูทุกทานนารักมากๆ รูสึกไดถึงความเมตตา ครูใหความรูอยางเต็มที่แมเหลานักเรียนจะงอแงเปน ระยะๆ หลายคนปวย หลายคนคิดถึงบาน บางคนคิดถึงลูกคิดถึงสามี (มีนักเรียนที่แตงงานแลวมาเรียนหลายคนเหมือนกัน) ฟงดูเหมือนจะเปนไปไดดวยดี แตชากอน เนื่องจากความโหดรายของสภาพอากาศ เชื้อราจอมอึด ฝนจอมตื๊อ นอนในที่หนาวๆ ชื้นๆ อีกอยางที่ไมยิ่งหยอนไปกวากันอยางที่ทุกคนรูกันดี นั่นคือ ภาษาอังกฤษสำเนียงแขกที่ทำเอาตอม การแปลไมทำงานไปเหมือนกัน ฟงเขาหูซายทะลุ ออกหูขวา ฟงประโยคแรกกำลังแปลในหัวประโยคสอง สาม สี่ตามมาแบบไมใหหายใจหายคอเลนเอาเกือบแย สวนภาษาฮินดีก็มีมาใหไดยินเปนระยะๆ ตอนที่เรียนคอรสหกอาทิตยมีชาวตางชาติเยอะ นาจะเกินครึ่งหอง ดังนั้น แทบไมไดยินภาษาฮินดีจากครูในคลาสเรียนเลย มาในคลาสนี้ นอกจากภาษาอังกฤษสำเนียงแขกจา ยังตามมาดวยภาษาฮินดี เรื่องตลกฮินดี เรื่องดรามาฮินดี เพลงฮินดี บทสวดฮินดี... แตเรื่องเศราของชาวไทยที่ไมรูจะไปเก็ทมุกกับเขาตอน ไหน ถึงแมจะแบงเปนสองคลาสคือ คลาสที่สอนดวยภาษาฮินดีและคลาสที่สอนดวย ภาษาอังกฤษแลวก็ตาม เนื่องจากคลาสภาษาอังกฤษ มีนักเรียนตางชาติเพียงแคสี่คน หญิงสาม ชายหนึ่ง สวนผูชายก็หายไปชวงเดือนแรกของการเรียนเนื่องจาก ปวดทองอยางหนักอยูหลายวันจนมาพบวาสาเหตุที่แท จริงคือไสติ่งอักเสบ เลยตองไปผาตัดที่ปูเนและพัก รักษาตัวกันยาว ทำใหเหลือนักเรียนตางชาติในหอง สามคน คือคนไทย คนเกาหลี (เปนรูมเมท ชื่อโซฟ) และคนไตหวัน ชื่อไอลีน

7

การเรียนสองเดือนแรกเปนไปดวยความ มึนงง จากสิ่งแวดลอม ทั้งที่พยายามอยางเต็มที่ แตหลายๆ อยางก็ไมอำนวยสภาพรางกายออนแอ ติดหวัด ปวดหัว ไขขึ้น ทองผูก จนหมอสั่งให bed rest สามวัน เรียกไดวานอนเปนผัก ฟงเสียงฝนตกเชาจรดค่ำ เชา กลางวัน เย็น โซฟจะฝาฝนเอาอาหารมาให น้ำหนักลดวูบ สวนโซฟก็น้ำกัดเทา แพยุงผื่นขึ้นคันคะเยอ และไอลีนก็ไมคอยถนัดภาษาอังกฤษเลยทำการบาน หนัก ฟงคลิปที่อัดเสียงไวตลอดเวลา เรียกไดวาแตละคนก็เผชิญกับอุปสรรคในรูปแบบที่แตก ตางกัน ถาจะเรียกวาอุปสรรคอาจจะดูเหนื่อย เรียกวาเปนความทาทายในการใชชีวิตที่นี่ก็แลวกัน (ติดตามตอฉบับหนานะคะ) เตย


ÊÒÃѵ¶Ð

§Ò¹ÈÖ ¡ ÉÒÇÔ ¨ Ñ Â

photo from; http://www.zoo-m.com/flickr-storm/

»·Ø Á ÍÒʹР·‹ Ò ¹Ñ ่ § ´Í¡ºÑ Ç กวี คงภักดีพงษ เมื่อ 10 ปที่แลวไปแนะนำโยคะใหกับ บุคลากรของบริษัทธุรกิจแหงหนึ่ง ในระหวางที่สอน ไดถามผูเรียนทราบไหมวาอาสนะที่ไดรับการยกยอง วาเปนสุดยอดคือทาอะไร ผูเรียนหลายคนนึกไปถึง ทาที่โลดโผนบางนึกไปถึงทาพิสดาร ครั้นพอไดเฉลยตามตำราดั้งเดิมวาไดแก ทาปทมาสนะหรือทาดอกบัว สีหนาแววตาผูเรียน ตางผิดหวังไปตามๆ กัน ซึ่งทำเอาคนสอนเองก็จิตตก ไปดวย บอกกับตนเองวามุขนี้ไมไดผล คนยังมองโยคะ เปน เรื่องความพิสดารไกลตัวมากกวาเปนเรื่องจิตใจ ใกลตัว ป 2554 สถาบันโยคะวิชาการไดไปสอน โยคะเพื่อสมาธิที่สวนโมกขกรุงเทพ ครูที่ไปเลาใหฟง วาเมื่อ พอสอนเสร็จ นักเรียนเดินเขามาขอบคุณ และพูดวา “ดีใจที่มีการสอนโยคะแบบนี้ เพราะพี่ไปเรียนโยคะตามศูนยแลวรูสึกเหนื่อยมาก

8


ÊÒÃѵ¶Ð ทำตามไมไดเลย ทอแท” “แตการฝกที่นี่รูสึกสบายตัว ผอนคลาย และที่สำคัญ สงบ” ซึ่งทำใหสถาบันฯ พบความจริงวายังมี คนอีกสวน หนึ่งที่ไมไดมองโยคะเปนเรื่องของ การสรางสมอะไรๆ ภายนอก แตเขาใจตามตำราโบราณวาโยคะเปนเรื่องของการ ปลอยวางภายใน คนกลุมนี้จะชอบการฝกอาสนะ ของสถาบันฯ ในชวงทาย ที่ใหผูเรียนไดนั่งสงบ ในทาปทุมประมาณ 3 – 5 นาที บางคนมาเลาใหฟงวาเขาดีใจมากเลยที่วันนี้เขา สามารถนั่งสมาธิได ไมเมื่อยตัว ที่สำคัญเขารูสึกแปลกใจวาทำไมจิตตัวเองสงบจัง และดีใจที่การมาฝกโยคะที่สวนโมกขคอยๆ นำพาเขาเหลานี้ใหฝกทาดอกบัว-ทาที่มีความสำคัญสูง สุดนี้ไดดีขึ้นๆ ทาดอกบัวเปนทาที่ไดรับการยกยองสูงสุด จากตำราหฐประทีปกา (เขียนขึ้นราวป พ.ศ. 1990) กลาวถึงทานี้ไวดังนี้ วิธีฝกปทมาสนะ “นำเทามาวางไวที่ตนขาเทาทั้งสองขางหงายขึ้น และฝามือวางหงายอยูระหวางตนขาทั้งสองขาง” HP 1.45 หรือ “มือวางซอนกันบนขา ทำใหฝามือเปนแอง” HP 1.48 ตำรายังไดอธิบายเทคนิคยอยเพิ่มเติมไว “กดคางเขาหาอก เพงที่ปลายจมูก กดลิ้นไวที่เพดานปากสวนหนา” HP 1.46, 1.48 จะเห็นไดวานอกจากการจัดวางทาทางแลว ยังมีการทำเทคนิคยอยประกอบคือเพงสายตา ล็อคคอและล็อคบริเวณลิ้น ซึ่งเปนการเอื้อใหผูฝกมีความจดจอมากขึ้น นอกจากนั้น ยังเสริมไดแก “หายใจเขาผานทางรูจมูกแลวกลั้นไว” HP 1.49 “หายใจออกนำปราณะที่เขาไปออกมา” HP 1.48 และ “ใหปราณะเคลื่อนขึ้นอยางชาๆ” HP 1.46 อันเปนการแนะนำใหผูฝกลองรับรูความเปนไปภายใน ลองรับรูถึงภาวะอันละเอียดออน ไมวาจะเปนการไหลเคลื่อนของลมหายใจ กระแสประสาท หรือพลังชีวิตที่ดำเนินไปตลอดเวลา ที่เราอยูในทานี้ สวนผลที่ไดรับ ตำราระบุคือ

9

“ปทมาสนะทำลายโรคภัยทั้งหลาย” HP 1.47 “ทำสมาธิอยูในทานี้ ก็จะไดรูถึงสิ่งอันเปนสุดยอดไมมีอื่นใดเทียบเทียมได” HP 1.48 โยคีผูนั่งอยูในทาปทมาสนะ จะเปนอิสระ ไดอยางแนนอนที่สุด ไมตองสงสัยในขอนี้เลย HP 1.49 ทั้งยังบอกอีกดวยวา “ใชวาผูใดก็ทำได มีเพียงไมกี่คนในโลกนี้เทานั้นที่บรรลุถึง” HP 1.47 การฝกโยคะโดยอิงตำราดั้งเดิม จะทำใหเราเห็นสาระ สำคัญ รายละเอียด ความลุมลึกของหฐโยคะ เห็นเปาหมาย เห็นลำดับขั้นตอนการฝกไดดียิ่งขึ้น สำหรับผูสนใจเบื้องตน สามารถฝกทาทางเบื้องตน ตามตำรา สวนเทคนิคประกอบตางๆ จะมีการสอน ในชั้นเรียนสำหรับผูสนใจโยคะจริงจังที่ฝกโยคะมาได สักระยะหนึ่งแลว


º·¡Å͹

ÊÒÃѵ¶Ð

µŒ ¹ ä ÁŒ ä Á‹ Ê Ò Á Ò Ã ¶ à µÔ º â µ ä ´Œ ã ¹ ÇÑ ¹ à ´Õ Â Ç ¼ Å ¨ Ò ¡ ¡ Ò Ã ½ƒ ¡ â  ¤ Ð ¡็ à ª‹ ¹ ¡Ñ ¹ ¤ÇÒÁÊÁ่ Ó àÊÁÍ¤× Í ¡Ø Þ á¨ÊÓ¤Ñ Þ »ÃСͺ¡Ñ º ¤ÇÒÁÊØ ¢ ã¹·Ø ¡ æ ¡ÒÃà¤Å× ่ Í ¹äËÇ ÅÐÇÒ§¨Ò¡à»‡ Ò ËÁÒ ½ƒ ¡ â´Â·Õ ่ ¿ ˜ § àÊÕ Â §Ã‹ Ò §¡ÒÂµÑ Ç àͧ äÁ‹ ½ „ ¹ ¨¹ºÒ´à¨็ º àËÁ× Í ¹àª‹ ¹ ·Ø ¡ æ ÇÑ ¹ ·Õ ่ à ÃÒཇ Ò Ã´¹้ Ó Å§ä»º¹¼× ¹ ´Ô ¹ ·Õ ่ º ‹ Á à¾ÒÐàÁÅ็ ´ ¾Ñ ¹ ¸Ø ¢ÍãËŒ à ÃÒÁÕ ¤ ÇÒÁÊØ ¢ ã¹ËŒ Ç §¢³Ð·Õ ่ ¼ × ¹ ´Ô ¹ ä´Œ Ã Ñ º ¤ÇÒÁªØ ‹ Á ©่ Ó áµ‹ à ¾Õ Â §¾Í´Õ äÁ‹ Á Ò¡ä» äÁ‹ ¹ Œ Í Âä» à¾Õ  §à·‹ Ò ¹Õ ้ ¡ Òç͡§ÒÁ¢Í§àÁÅ็ ´ ¾Ñ ¹ ¸Ø á Ë‹ § â¤С็ ¤ §äÁ‹ Ë ¹Õ ä »ä˹àÊÕ Â ·Õ ่ Ê Ó¤Ñ Þ Ë ¹Œ Ò ·Õ ่ ¢ Í § à Ã Ò ¡็ à ¾Õ Â § à ´ ¹้ Ó Ê‹ Ç ¹¡ÒÃàµÔ º âµ¹Ñ ้ ¹ àÅ‹ Ò »Å‹ Í ÂãËŒ à »š ¹ ˹Œ Ò ·Õ ่ ¢ ͧµŒ ¹ äÁŒ à ¶Ô ´

Í¹Ñ µ µÒ

10


ÊÒÃѵ¶Ð

¾Ñ ² ¹Ò¨Ô µ

photo from; http://www.flickriver.com/groups/treepeople/pool/interesting/

â¤Р8 ÊÒ¢Ò

กวี คงภักดีพงษ

คำถาม มีคนกลาววาโยคะมี 8 สาขา บางคนก็บอกวาโยคะเหมือนมรรคองค 8 ที่บอกวา 8 นั้น หมายความวาอยางไร 8 ทา หรือ 8 อะไรครับ ตอบ เนื่องจากทาโยคะอาสนะเปนสิ่งที่โดดเดน สะดุดตามากที่สุด คนจำนวนหนึ่งถึงกับคิดวาทาโยคะ ก็คือทั้งหมด ของโยคะ จริงๆ แลว โยคะเปนเรื่องของวิถีชีวิตครับ คือนักปราชญอินเดียโบราณในกระแสหลักเมื่อ 2,300 ปที่แลว เขามีความคิดวาการดำเนินชีวิตที่ดีนั้นจะตองมีวิถีชีวิต ตามแบบโยคะ (ซึ่งก็มีคนกลุมอื่นๆ ที่ไมไดคิดแบบนั้น เชนพระพุทธเจา ฯลฯ) ครั้นเมื่อเวลาผานไป แนวคิดกระแสหลักนี้ก็เปลี่ยน มีแนวคิดใหมเกิดขึ้น คนก็หันไปสนใจวิถีใหม เวลาผานไปอีกระยะหนึ่ง เกิดความคิดใหมอีก คนก็เปลี่ยนอีก เปนเชนนี้ไปเรื่อยๆ ตามประสาของคนอินเดียที่ชางคิด ทุกวันนี้ คนอินเดียเขามีวิถีแบบฮินดู

11


ÊÒÃѵ¶Ð กลับมาที่คำถามของเรา หากไดอานตำราโยคะดั้งเดิมที่ชื่อวาโยคะสูตร เขียนโดยปตัญชลี ก็จะพบประโยคที่กลาวไวอยางชัดเจนวา วิถีโยคะนั้นมีอยู 8 ประการ เขาเรียกวา อัษฏางคโยคะ ดวยการดำเนินชีวิตไปตามอัษฎางคโยคะ คนผูนั้นก็จะบรรลุเปาหมายสูงสุดคือการเขาถึง สัจธรรมของชีวิต อัษฏางโยคะนี้ประกอบดวย 1) การมีศีล 2) การมีวินัย 3) การมีรางกายที่สมดุล ดวยการฝกทาอาสนะ 4) การมีอารมณที่มั่นคง ดวยการฝกลมหายใจ 5) การปดประสาทสัมผัสทั้งหา 6) การเพงจอง 7) การเขาฌาน และ สุดทาย 8) การยกระดับจิตสำนึกจากระดับโลกขึ้นไปสูระดับเหนือ โลก สิ่งสำคัญที่ตองพิจารณาก็คืออัษฏางคโยคะนี้เปน องคประกอบที่เชื่อมโยงไมสามารถแยกขาดออกจากกัน ครูโยคะทานหนึ่งเปรียบกับรถยนต ลองคิดดู ลำพังเพียงลอหรือเพียงเครื่องยนตโดดๆ

เราไมอาจกลาวไดวามันคือรถฉันใด จะแยกทาโยคะออกมาโดดๆ เราไมอาจกลาวไดวามันคือรถฉันใด จะแยกทาโยคะออกมาโดดๆ แลวเรียกวามันคือโยคะยอมทำไมไดฉันนั้น ครูโยคะอีกทานเปรียบอัษฏางคโยคะกับตนไมซึ่งให ความหมายที่ลึกซึ้งเชื่อมโยง ทานเปรียบศีลและวินัยเปนรากฐาน อาสนะคือลำตนที่เห็นชัดเปนรูปธรรม ลมหายใจเหมือนใบใหพลังชีวิต การสำรวมในอินทรีย การเพงจอง ฌาน เปรียบไดกับ กิ่ง กาน ยอดออน โดยจิดที่ยกระดับขึ้นไดเปรียบเสมือนผลของไมนั้น มีบางคนสงสัยระหวางอัษฏางคโยคะ กับมรรคมีองค 8 ของพุทธศาสนา จริงๆ แลว 2 ศาสตรนี้มีทั้งสวนที่คลายกับสวนที่ตางกัน อาจจะลองเปรียบเทียบไดบาง เพื่อทำใหเราเห็นภาพของอัษฏางคโยคะที่ชัดขึ้น ฝากพิจารณาครับ

มรรคมีองค 8 ของพุทธศาสนา

ระดับศีล

อัษฏางคโยคะ

พูดชอบ / ดำเนินชีวิตชอบ / อาชีพชอบ

ศีล / วินัย

ระดับสมาธิ

เพียรชอบ / สติชอบ / สมาธิชอบ

ทาโยคะใหรางกายสงบ ลมหายใจใหอารมณสงบ การสำรวมอินทรีย / การเพงจอง / ฌาน

ระดับปญญา

ความเห็นชอบ / คิดชอบ

จิตที่ยกระดับจากโลกขึ้นเหนือโลก

12


ÊÒÃѵ¶Ð

ẋ § »˜ ¹ ¡ÒÃÊ͹

photo from; http://media-cache-ec0.pinimg.com/originals/42/c8/e8/42c8e8616e65a7854d6567ea28bf46d7.jpg photo from; http://www.flickriver.com/groups/83078986@N00/pool/interesting/

àÁ× ่ Í ËÁÍàÅ× Í ¡àÃÕ Â ¹â¤Рจินตนา พงษถิ่นทองงาม (ครูจิน)

13

กอนที่หมอจะตัดสินใจทำอะไรซักอยาง คงตองคิดไตรตรองอยางดีเพราะหมอเปนวิชาชีพที่มี ความรูเยอะ รูระบบรางกายรูที่มาที่ไปของปญหา เรื่องสุขภาพก็เชนกัน หมอมองภาพใหญวาออกกำลังกายตองไดอะไรบาง เพิ่มอัตราการเตนของหัวใจ เพิ่มความยืดหยุนของกลามเนื้อและขอตอ ฯลฯ ดวยขอจำกัดตางๆ ของรางกายที่มาจากการทำงาน งานที่ทำตองนั่งสองกลองจุลทรรศนเกือบทั้งวัน ตรวจดูชิ้นเนื้อเพื่อวิเคราะหโรคซึ่งสวนใหญก็วิเคราะห เรื่องโรคมะเร็ง ทำใหเริ่มมีอาการปวดคอ ปวดหลัง แตออกกำลังกายอยางอื่นไมไหวแลว สุดทายตัดสินใจเรียนโยคะกัน กอนเรียนโยคะก็เชนกัน หมอก็ศึกษากันมาอยางดีวาเรียนโยคะแลวจะดีตอ สุขภาพรางกายอยางไร คุณหมอทานที่เปนหัวหนาทีมนำเพื่อนหมอเรียนโยคะ ก็เคยไปฝกโยคะที่สถานฟตเนสมาแลวแตทำตามไมทัน ครูและเพื่อนก็เลยคิดวาเราหาครูมาฝกกันเองภายใน ดีกวา ยังไงก็ตองทำตามไดแนๆ


ÊÒÃѵ¶Ð คนสอนไปสอนดวยความตื่นเตน ในครั้งแรกกลัววาหมอจะซักถามอะไรยากๆ มั้ยเกี่ยวกับระบบรางกาย แลวเราจะพูดอะไรผิดๆ ไปไหมเนี่ยทั้งเรื่องกระดูก กลามเนื้อ อวัยวะ ตอมไรทอ การหายใจ อื่นๆ อีกสารพัด ทั้งที่เตรียมตัวอยางดี อานหนังสือมากมายกายกอง ปกติไปสอนที่ไหนจะมั่นใจตลอด เปนตัวของตัวเองตลอด ไมเคยกลัวการสอนการพูดในที่สาธารณะใดๆ ทั้งสิ้น มีหนนี้แหละกลัววาเราจะรูไมจริงรูไมลึก จนอยากไดวิญญาณของครูมาสิง พยายามนึกภาพแนวการพูดแนวการสอนตอนที่เราไป เรียนหลักสูตรครูสั้น และหลักสูตรปราณายมะกับครู แตเมื่อไปสอนจริงๆ ปรากฏวาราบรื่น คุณหมอตั้งใจเรียนตั้งใจฝกมาก เปดใจกวางเรียนรูทุกอยางที่เกี่ยวกับศาสตรโยคะ หมอก็เหมือนนักเรียนทั่วๆ ไปที่มาเริ่มเรียนโยคะ เราสามารถถายทอดประสบการณการฝกโยคะของเรา ผานการสอนไดอยางสบายใจ แนวการสอนของสถาบันไปไดดีกับความตองการของ คุณหมอทุกคน เมื่อฝกไปไดหนึ่งเดือนประมาณ 10 ครั้ง คนสอนไดมีการชวนคุณหมอตั้งวงเล็กๆ พูดคุยเสวนากัน ถึงไดรูวาคุณหมอประทับใจกับโยคะมากโดยเฉพาะเรื่อง สุขภาพกาย คุณหมอทานนึงหายจากการปวดคอเนื่องจากกระดูก คอเสื่อม กอนมาฝกโยคะหันหนาซายขวาเพื่อขามถนนไมคอยได แตตอนนี้หันไดแลว อีกทานนึงปวดหลังมากอน ปกติมักไปนวดแกปวดเมื่อย แตหลังจากฝกโยคะแลวหายอาการปวดหลังดีขึ้นเอง โดยไมตองไปนวดและนั่งไดนานขึ้น คุณหมออีกทานบอกวาฝกโยคะแลวรูสึกตัวขึ้นเยอะ บางครั้งนั่งทำงานแลวรูสึกตัววานั่งเกร็งนานเกินไป ทำงานเพลินเกินไปแลวนะ คุณหมอก็จะลุกมายืดเหยียดดวยทาโยคะงายๆ ที่จำไดเชนทาภูเขาหรือไมก็ทาตนตาล คุณหมอบอกวาเหมือนมีเสียงครูจินมาหลอกหลอนให นั่งตัวตรง หนาตรง หลังตรงตลอดเวลาที่รูสึกตัววาอยูในทาที่รางกายไม สมดุลนานเกินไป

คุณหมอทุกทานบอกวาชวงเวลาหนึ่งชั่วโมงครึ่งที่ฝก โยคะเหมือนไดพักผอนไปดวยกอนที่จะไปทำงานตอ ชวงบาย พวกเราฝกตอนกลางวันกัน คุณหมอบางทานชอบทาศพมากถึงกับเอาไปสอนลูก นอนสมาธิ คุณหมอเลาใหฟงวาสามีแอบมองคอนๆ จากเดิมแมลูกนั่งสมาธิกันแตเดี๋ยวนี้นอนสมาธิกันเลย เหรอ คุณหมอทุกทานมีความเห็นตรงกันวาโยคะ ไปไดดีกับ หลักการทางการแพทย ไมขัดแยงใดๆ ทั้งสิ้น โดยเฉพาะเรื่องมัสเซิลโทนจากอาสนะทุกทา ตลอดจนเกิดการไหลเวียนของเลือดดีขึ้นทั่วรางกาย ทาโยคะมุทรารับรูไดถึงการกดนวดอวัยวะภายในและ ตอมไรทอตางๆ มีประโยชนตอระบบการทำงานของรางกาย การฝกยืนทรงตัวขาเดียวในทาตนไมและพญาครุฑก็ พัฒนาระบบประสาทตางๆ คนสอนไดนำซีดีหนังสือและโปสเตอรการฝกโยคะของ สถาบันฯ ไปมอบให เพื่อใหคุณหมอไดนำไปฝกตอที่บาน และก็ชวนครูเตยไปเปนครูพิเศษเพื่อเปลี่ยนบรรยากาศ การฝก แมเราจะมาจากสถาบันเดียวกัน หลักการเดียว กันแต เทคนิคการสอนก็มีแตกตางกันไปบาง ครูเตยนำบทสวดมนตจากสถาบันไกวัลยธรรมไปเติม เต็มใหผูเรียนรับรูความสงบผานการสั่นสะเทือนของ เสียง เปนการเขาสูความสงบอีกมิตินึงที่ผูเรียน ไมเคยเรียนรูมากอน และเปนการเปดโลกทัศนของคุณหมอในเรื่อง ศาสตรโยคะวาสามารถเรียนไดถึงหลักสูตรอนุปริญญา ที่มีเนื้อหาครอบคลุมไปถึงวิทยาศาสตรและจิตศาสตร คุณหมอซักถามครูเตยกันใหญวาเรียนอะไรกันตั้ง 9 เดือน ถามีโอกาสคนสอนก็อยากชวนเพื่อนๆ ครูทานอื่นไปเปนแขกรับเชิญพิเศษ เพื่อเปดมิติใหมๆ สูความสงบและผอนคลายใหกับคุณหมอ ความรูสึกของคนสอนที่มีตอผูเรียนคือความรักและผูก พัน อยากนำสิ่งดีๆ จากโยคะไปมอบใหผูเรียนทุกครั้งที่ไปสอนใหสมกับควา มตั้งใจเรียนของคุณหมอและเจาหนาที่ทุกคน

14


ÊÒÃѵ¶Ð

ÇÔ ¶ Õ â ¤Ð

photo from; http://media-cache-ec0.pinimg.com/originals/42/c8/e8/42c8e8616e65a7854d6567ea28bf46d7.jpg

¤ÇÒÁàËÁ× Í ¹ã¹¤ÇÒÁµ‹ Ò § ชนาพร เหลืองระฆัง วันที่ 24 พฤศจิกายน วันที่ประชาชนนัดกันไปรวมตัวที่ราชดำเนิน ดวยเหตุผลทางการเมือง วันเดียวกับที่ฉันมีงานโยคะพื้นฐาน 1 วัน ที่ มศว. ระหวางทานอาหารกลางวันที่รานริมคลองแสนแสบ เห็นเรือดวนแลนผานไปหลายลำ แตละลำบรรจุผูโดยสารแนนไปจนถึงทายเรือ กลุมผูโดยสารดูจากเสื้อผา นกหวีดที่สวมคอ ธงชาติที่ผูกอยูที่ศีรษะ ฯลฯ ก็รูวาเปาหมายอยูที่ราชดำเนินแนนอน ทำใหใจของฉันพองโต อยากจะรวมเปนสวนหนึ่งของพลังมวลชนหลังจากเสร็จ งาน และ ทานอาหารเย็นแลว นองรุน 13 ชวนไปที่ราชดำเนิน แตนองขับรถไป และ นึกกันไมออกวาจะจอดรถไวไหนดีแตก็ไมลงตัว จึงตกลงกันวาแยกยายดีกวา เพราะดูจะไมสะดวกดวยประการทั้งปวง แตก็แยกกันไปดวยความคาใจที่ยังมีความอยากจะไปที่ ราชดำเนิน ฉันโบกแท็กซี่กลับบาน เปนคันที่ 3 จึงมีรถที่ยอมขามไปฝงธน พอเขาไปนั่งในรถ

15


ÊÒÃѵ¶Ð เราสองคน ไมใชคนที่ยืนอยูคนละฟาก แตเปนคนสองคน ที่ทำมาหากินเหมือน ๆ กัน ตางก็ทำหนาที่ของตน อยางดี

ก็มีเสียงวิทยุมากระทบโสตประสาท เปนเสียงวิทยุเสื้อแดง “เอาแลวไง” ฉันคิด “เซ็งจริง ๆ คนอยากไปชุมนุม ดันมาเจอแท็กซี่เสื้อแดง” ฉันนั่งอยูในรถอยางระแวดระวัง และ รูสึกอึดอัด เพราะจากประสบการณที่ผานมา คนขับแท็กซี่ที่เราเรียกวาแท็กซี่เสื้อแดงมักจะหัวรุนแรง และ หยาบคาย จึงนั่งอยูเงียบ ๆ และไมไดใสใจกับเนื้อหาที่ออกมาจากวิทยุนั้น ซักพักคุณลุงคนขับแท็กซี่ก็ปดเสียงวิทยุ และ เริ่มรูสึกถึงบรรยากาศที่ผอนคลายลง เพราะคุณลุงขับรถอยางสุภาพ และ ไมไดพูดอะไร ตอนลงถนนสาทร มุงหนาไปทางราชพฤกษ ก็เห็นวารถเยอะ คุณลุงเลยถามวาจะไปทางวงเวียนใหญมั๊ย ฉันตอบตกลง แตพอไปถึงทางที่จะแยกไปวงเวียนใหญ ก็พบวารถติดเปนแถวยาวอาจจะเนื่องจากเหตุชุมนุม จึงเปลี่ยนเปนตรงไปทางราชพฤกษเหมือนเดิม พอจะถึงบานเนื่องจากแถวบานกำลังมีทำถนน คุณลุงก็ชวนคุย “เออ ตรงนี้เมื่อไหรเคาจะทำเสร็จเนอะ” “นั่นสิคะ ติดมาตั้งนานแลวไมรูวาทำอะไรดวย” แลวคุณลุงก็ขับเลยที่กลับรถ “คุณลุงคาเลยแลวคา” “โอะๆๆ ขอโทษนะ มัวแตนึกถึงวามาจากวงเวียนใหญ จำผิดไป” ณ ตอนนั้น ฉันเกิดความรูสึกอยางหนึ่งขึ้นมา ฉันกลับรูสึกละอายตอคุณลุง

ที่มีอคติเกิดขึ้นในตอนแรกที่ขึ้นรถ เราสองคนไมใชคนที่ยืนอยูคนละฟาก แตเปนคนสองคน ที่ทำมาหากินเหมือน ๆ กัน ตางก็ทำหนาที่ของตนอยางดี เพียงแตทัศนคติ ความนิยมชมชอบทางการเมืองไมเหมือนกันเทานั้นเอง แตไมใชเหตุผลที่จะมาแบงเขา หรือ เรา, ถูก หรือ ผิด, ชอบ หรือ เกลียด ไดเลย ฉันเริ่มพิจารณาเนื้อหาที่มีคนโพสตลง facebook โลกยุคปจจุบันที่การ “แชร” ขอมูลเกิดขึ้นไดแคเสี้ยววินาที มีการปนกระแส สรางขาว ที่บางสวนก็ไมมีมูลความจริง คนอานแลวถูกใจ สะใจ แตเนื้อหานั้นแตงแตมขึ้นเพื่อใหความรูสึกเกลียดชัง และ ขัดแยงนั้นรุนแรงมากขึ้นเอนเอียงหางจากคำวาเหตุผล และ ขอเท็จจริงไปมากขึ้น (ซึ่งจริง ๆ แลวเราอาจจะไมรูดวยซ้ำวาขอเท็จจริงคืออะไร) หากเพียงแคเราจะเปดตามองโดยไมแบงแยกวาเปนพว กไหน สีอะไร เพราะแทที่จริงแลว เราทั้งหลายตางก็ไมไดแบงแยกจากกันเลย การไปชุมนุมหากไปเพื่อเปนการแสดงเจตนาของตนนั้น เปนสิ่งที่นาชื่นชม แตหากไปดวยใจที่เกลียดชัง ไมไดไปดวยสันติอยางแทจริงก็คงจะนำไปสูสันติใด ๆ ไมไดแมแตในใจของเราเอง

16


ÊÒÃѵ¶Ð

µÓÃÒâÂ¤Ð´Ñ ้ § à´Ô Á

photo from; http://laurenconrad.com/blog/post/friday-favorites-98 photo from; http://buddhist-meditation-techniques.com/meditation/walking-meditation/

ÊÔ ่ § ¼Å¢Í§¤ÇÒÁµÑ ้ § ÁÑ ่ ¹ 㹡Òû¯Ô º Ñ µ Ô Í »ÃÔ ¤ ÃËÐ วีระพงษ ไกรวิทย และจิรวรรณ ตั้งจิตเมธี ความตอนที่แลวพูดถึงโยคสูตร ๒ ประโยค คือ ๒:๓๗ มีใจความวา ผลของการตั้งมั่นในการ ปฏิบัติอสเตยะ(ไมลักขโมย) คือ การไดรับการไววางใจ แตงตั้งใหเปนผูดูแลรักษาทรัพยสินอันมีคาเพราะเปน บุคคลที่มีความซื่อสัตยสุจริต และ ๒:๓๘ มีสาระสำคัญวา ผลของการตั้งมั่นในการปฏิบัติ พรหมจรรยะ หรือการดำเนินชีวิตที่มีระเบียบวินัย เพื่อการพัฒนาทางจิตวิญญาณ รวมทั้งการควบคุม เรื่องทางเพศอยางเหมาะสม คือ การไดรับพละกำลัง เพราะสิ่งเหลานี้จะชวย ปองกันการสูญเสียพลังงานใน เรื่องที่ไมตองการหรือไมจำเปนได ตอไปเปนประโยคที่ ๒:๓๙ “อ-ปริครหะ-สไถรเย-ชันมะ-กถันตา สังโพธะห” แปลวา ผลของความตั้งมั่นในอปริครหะ (การไมครอบครองเปนเจาของ) คือ ความรูอัน สมบูรณของความหมายของชีวิต(ในหลายๆ ชาติ) ประโยคนี้ไมสามารถที่จะอธิบายดวยเหตุผลไดโดยงาย แมจะสมมุติวาผูปฏิบัติโยคะไดบรรลุ ถึงอปริครหะ ขั้นสูงสุดแลวก็ตาม กลาวคือเขาไมมีความรูสึกเปน เจาของแมแตสิ่งที่ไมมีความ สำคัญและไรความหมาย ที่สุดในโลกนี้และเขาไมเก็บสะสมสิ่งใดเลยที่อาจจะใช ประโยชนในอนาคต

17

ทำไมการทำเชนนี้จึงนำไปสูความรูความเขาใจอันส มบูรณของชีวิตนี้หรือแมแตชีวิตในชาติปางกอนไดนั้น ยังเปนเรื่องที่ไมมีความกระจางชัดนัก คำวา “ชันมะ” ไดรับการแปลความโดยอรรถกถาจารยสวนใหญวาอย ในรูปพหูพจนซึ่งหมายถึง ชีวิตในหลายๆ ชาติ ดังนั้น “ชันมะ-กถันตา-สังโพธะ” จึงหมายถึง ความรูอันสมบูรณของความหมายของชีวิตในหลาย ชาติ(ทั้งชาตินี้และชาติกอนๆ) อรรถกถาจารยรุนเกาสวนใหญ อธิบายเรื่องนี้ดวยทาทีดังตอไปนี้ความพยายามที่จะ ปฏิบัติยมะขออปริครหะอยางสมบูรณคอยๆ นำไปสูการลดนอยถอยลงของความเปนเจาของ หรือความรูสึกวา “เปนของฉัน” ตอมาก็จะนำไปสูการ ลดนอยลงของอีโกหรือ “ความเปนตัวฉัน” (อสมิตา) จนในที่สุดความเปนตัวฉันก็จะหมดไป สังสการะ(1) ที่นอนเนื่องอยูในชั้นที่ลึกลงไปๆ ของกรรมาศยะ(2) (ในสวนของจิตตะ) กลาวคือ สังสการะที่ไดสะสมไว ทั้งในชาตินี้และที่เคยสะสมไวในหลายภพหลายชาติใน อดีต จะไดรับอิสรภาพและจะผุดโผลขึ้นมา ในระดับ จิตสำนึกในปจจุบันทำใหสามารถรื้อฟนหรือจำไดถึง ชีวิตในอดีตชาติ ซึ่งจะชวยใหผูปฏิบัติเขาใจความหมาย ที่อยูเบื้องหลังชีวิตในอดีตชาติเหลานี้


ÊÒÃѵ¶Ð แตการอธิบายเชนนี้ก็ไมไดเปนที่นาพอใจเทาไรนัก เพราะ (๑) การปลดปลอยสังสการะในอดีตชาตินี้ ไมไดเปนผลมาจากการปฏิบัติอปริครหะอยางสมบูรณ เพียงอยางเดียว แตจำเปนตองขจัด “ความเปนของฉัน” (ความรูสึกเปนเจาของ) และความรูสึก “เปนตัวฉัน” อีโกหรืออสมิตาใหหมด ไปดวย ดังนั้นจึงไมสามารถอางไดวา การปลดปลอย สังสการะและการไดรับความรูของอดีตชาติ(เมื่อ สังสการะไดรับการปลดปลอยแลว)เปนผลมาจากความ ตั้งมั่นในอปริครหะเพียงลำพัง การลบลางความ มีตัวตน หรืออีโกไมอาจสำเร็จไดดวยการมีความตั้ง มั่นในอปริครหะ แตเปนผลมาจากมรรคของการปฏิบัติ สมาธิโดยเฉพาะ ธยานะ และสมาธิ (มรรคขั้นที่ ๗ และ ๘ ของปตัญชลีโยคสูตร-ผูแปล) แตประโยคนี้กลับกลาววา “ชันมะ-กถันตา-สังโพธะ” เปนผลมาจากความตั้งมั่นในอปริครหะเทานั้น (๒) แมวากลไกของกระบวนการดังกลาวที่อรรถ กถาจารยใหไวจะไดรับการยอมรับคือ การรำลึกไดของ สังสการะหรือความทรงจำในอดีตและปจจุบันชาติจะให ความรูเกี่ยวกับเรื่องราวของชีวิตในชาติตางๆ เหลานั้น แตทำไมมันจึงเปดเผยความหมายที่อยูเบื้องหลังชีวิตใน ชาติเหลานั้นได และเปดเผยอยางไรนั้นยังเปนเรื่อง ที่ไมอาจเขาใจได ตามที่กลาวมานั้นการปฏิบัติ ไมถือครอง เปนเจาของอยางเขมงวดและจริงใจจะคอยๆ ทำใหผู ปฏิบัติตระหนักวา เมื่อเขาปฏิบัติจนสามารถที่จะ ไมครอบครองเปนเจาของสิ่งตางๆ ซึ่งครั้งหนึ่งเขา เคยคิด วาสิ่งเหลานั้นเปนสิ่งจำเปนตอการดำรง ชีวิตอยางหลีกเลี่ยงไมได ในที่สุดเขาจะพบวาแทจริง แลวสิ่งเหลานั้นก็ไมไดจำเปนมากนัก การปฏิบัติ อปริครหะของยมะอยางสมบูรณจะนำไปสูการตระหนัก ถึงการหาประโยชนมิไดของการครอบครองสิ่งตางๆ ทางโลก และผูปฏิบัติจะเริ่มเขาใจวา การครอบครองเปนเจาของสินคาหรือสิ่งของตางๆ ทางโลกซึ่งมนุษยทุกคนมีความปรารถนาที่จะสะสมไว นั้น ไมใชจุดมุงหมายที่แทจริงของการดำรงอยูของ มนุษย แตจุดหมายแทจริงคือการเปนอิสระจากการ ยึดมั่นถือมั่นตอสิ่งเหลานั้นทั้งปวงที่นำเราไปสูการผูก มัดหรือพันธนาการ

ดังนั้นการตั้งมั่นในอปริครหะจนสมบูรณจะนำไปสูสภา วะขั้นสูงมากของไวราคยะ(3) ซึ่งเปนหนึ่งในสองสิ่งจำเปนที่สุดของการบรรลุถึง เปาหมาย “จิตตะ-วฤตติ-นิโรธะ” หรือการหยุดการปรุงแตงของจิต (ดูประโยค ๑:๑๒) และดวยเปาหมายในการหยุดการปรุงแตงของจิตนี้ก็จะ นำไปสูจุดมุงหมายของชีวิตในมุมมองของโยคะ นั่นคือ อปวรรคะ (การหลุดพน) และไกวัลยะ (ความสัมบูรณ) ไดเคยชี้ใหเห็นแลวในประโยค ๑:๑๒, ๑๕, ๑๖ วา การปฏิบัติไวราคยะแมจะเปนเรื่องทางจิต ก็จะไม สมบูรณถาไมไดมีการปฏิบัติอปริครหะ ควบคูกันไปดวย เพราะแมวาโยคีจะพัฒนา ไวราคยะ จนถึงระดับสูงมากแลวก็ตาม เชน ถึงขั้นวศีการะ(4) (๑:๑๕) แตยังคงมีความเปนไปไดมากวา โยคีผูนั้นอาจยึดติดทางโลกจากการลอลวงโดยวิษยะ (วัตถุสิ่งของตางๆ) ที่ใหความสุขความพอใจผานทาง ประสาทสัมผัสทั้ง ๖ (อินทริยะ – ประสาทสัมผัส ๕ และใจ) หากเขาละเลยที่จะปฏิบัติตาม อปริครหะ ของยมะ สไถรยะ และ ประติษฐา ทั้งสองคำนี้มี ความหมายเกือบเหมือนกันวา สภาวะที่ตั้งมั่นหรือ มั่นคง ในประโยค ๒:๓๕ ถึง ๓๘ กลาวถึงผลของ ความตั้งมั่นในยมะสี่ขอแรกซึ่งปตัญชลีไดใชคำวา “ประติษฐา”

(1) สังสการะ คือ กรรมตางๆ ที่ไดเคยปรุงแตงหรือกระทำไวในอดีตที่ผานมา แตยังคงประทับรองรอยกรรมเหลานั้นไวในจิต สำหรับผูที่ปฏิบัติวิปสสนาตามคำสอนของวิปสสนาจารยโกเอ็นกา สังสการะจะมีความหมายตรงกับคำวา “สังขาร” การสรางสังขารหรือสังสการะนี้เองที่ทำใหมนุษยยังคงมีความทุกข และตองเวียนวายตายเกิดอยางไมรูจบสิ้น (ผูแปล) (2) กรรมาศยะ คือ พื้นที่สวนหนึ่งของจิต เปนที่สำหรับเก็บสะสมสังสการะที่คนเราไดเคยสรางไว (ผูแปล) (3) ไวราคยะ คือ การถอนจากความยึดติดในวัตถุหรือสิ่งตางๆ สวนอีกสิ่งหนึ่งที่จำเปนตอการบรรลุเปาหมายโยคะคือ อภยาสะ หรือการมีความเพียรปฏิบัติอยางสม่ำเสมอตอเนื่อง (ผูแปล) (4) วศีการะ คือ การถอนจากความยึดติดในวัตถุหรือสิ่งตางๆ ในขั้นที่ ๔ ซึ่งเปนขั้นสูงสุดของไวราคยะ เปนขั้นที่สามารถเอาชนะกิเลสไดอยางสมบูรณ (๑:๑๕)

18


ÊÒÃѵ¶Ð ซึ่งเกือบจะเปนสิ่งเดียวกันกับที่ทานใชคำวา “สไถรยะ” ในประโยคนี้(๓๙) แมวาความหมายของคำทั้งสองที่เกือบจะเหมือนกันนั้น จะไมไดมีสาระที่สำคัญมากนัก แตกระนั้นก็ยังมีคำถามหนึ่งที่ตรงกับประเด็นนี้ก็คือ ทำไมปตัญชลีซึ่งเปนผูที่ระมัดระวังอยางมากเกี่ยวกับก ารใชคำที่เหมาะสม จึงใชคำแสดงสภาวะของยมะในประโยคนี้ดวยคำที่แตก ตางออกไปจากประโยคกอนๆ ตามปกติแลวแมวาคำสองคำจะมีความหมาย เหมือนกัน แตก็มีบางสวนที่แตกตางกันบาง คำวา ประติษฐา มีความหมายที่เกี่ยวของกับความเคารพ นับถือรวมอยูกับความตั้งมั่นดวย ขณะที่ สไถรยะ ไมไดมีความหมายเพิ่มเขามาอยางนั้น มันหมายถึง ความตั้งมั่นหรือความมั่นคงเฉยๆ คนที่เปนผูปฏิบัติ ตามยมะขอใดขอหนึ่งไมวาจะเปนขออหิงสา หรือสัตยะ หรืออสเตยะ หรือพรหมจรรยะจะไดรับการเคารพ นับถือวาเปนนักบุญหรือนักบวชในสังคม เพราะการปฏิบัติตามยมะเหลานี้เปนเรื่อง ที่สังเกตไดงายในสังคม เนื่องจากมันสงผลตอ พฤติกรรมการแสดง ออกของบุคคลผูปฏิบัติในสังคม และบุคคลเชนนี้ก็หาไดยากมาก ดังนั้นความตั้งมั่นใน ยมะ ทั้งสี่ขอแรกนี้ ยอมเปนเรื่องของประติษฐาดวย ในอีกดานหนึ่งคนที่พยายามจะพัฒนาอปริครหะในตัวเ อง โดยอาจจะตัดความจำเปนและสละสิ่งตางๆ ที่เขาครอบครองอยูออกไปอาจจะไมไดเปนที่สังเกตเลย แตถามีคนในสังคมสังเกตเห็นก็อาจจะถูกตราหนาอยาง ผิดๆ วาเปนคนลมเหลว(ในทางโลก) เปนคนยากจน และอาจถูกมองดวยสายตาที่ดูถูกเหยียดหยาม ดังนั้นเขาจึงไมไดรับ ประติษฐา (ความเคารพนับถือ) จากความตั้งมั่นในอปริครหะ คำวา สไถรยะ จึงคอนขางเหมาะสมในกรณีนี้

เอกสารอางอิง : Karambelkar, P. V. (1986). PATANJALA YOGA SUTRAS Sanskrta Sutras with Transliteration, Translation & Commentary. Lonavla : Kaivalyadhama, p. 271-275.

19


ÊÒÃѵ¶Ð

สถาบันโยคะวิชาการดำเนินการโดยมีรายไดจาก คาลงทะเบียนกิจกรรม จากการจำหนายผลิตภัณฑตางๆ สถาบัน ฯ ยินดีรับการสนับสนุนจากผูสนใจรวมเผยแพร เพื่อนำเงินมาใชดำเนินการใหบรรลุวัตถุประสงคตามที่ตั้งไว เชิญบริจาคเขาบัญชีออมทรัพย ธนาคารไทยพาณิชย สาขาเดอะมอลล 3 รามคำแหง ชื่อบัญชี มูลนิธิหมอชาวบาน สถาบันโยคะวิชาการ เลขบัญชี 173-241-6858 à´×͹ ¾ÄȨԡÒ¹ 2556 ÁÕ¼ÙŒºÃԨҤʹѺʹع¡Ò÷ӧҹ¢Í§Ê¶ÒºÑ¹Ï ´Ñ§¹Õ้ เงินสมทบกิจกรรมโยคะในสวนธรรม วันที่ 26 ต.ค. ตูบริจาคสำนักงาน เดือน พ.ย. เงินสมทบกิจกรรมจิตสิกขา เดือน ต.ค. ÃÇÁ

1,680 1,130 300 3,110 ºÒ·


สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบาน 201 ซอยรามคำแหง 36/1 บางกะป กทม.10240 โทรศัพท 02 732 2016-7, 081 401 7744 โทรสาร 02 732 2811 อีเมล yoga.thaiyga@gmail.com เว็บไซท www.thaiyogainstitute.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.