Saratha Oct 2013

Page 1

photo from: http://neutralnotes.tumblr.com/post/13854792255/ dailyfotojournal-a-bit-of-this-and-a-bit-of

¨´ËÁÒ¢‹ Ò Ç

µØ Å Ò¤Á 2556

ÊÒÃѵ¶Ð

www.thaiyogainstitute.com


ÊÒÃѵ¶Ð ÊÒÃºÑ Þ

·Õ ่ » ÃÖ ¡ ÉÒ

»¯Ô · Ô ¹ ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁ

2 2

¡ÃÃÁ¡ÒÃ

¡Ô ¨ ¡ÃÃÁà¤Ã× Í ¢‹ Ò Â

4

¤Ø  ¡Ñ ¹ ¡‹ Í ¹

§Ò¹ÇÔ ª Ò¡ÒÃÈÖ ¡ ÉÒÇÔ ¨ Ñ Â ทิ ศ ทางการสร า งมาตรฐานครู โ ยคะวิ ช าการ

5

6

µÓÃÒâÂ¤Ð´Ñ ้ § à´Ô Á ผลของความตั ้ ง มั ่ น ในการปฏิ บ ั ต ิ ส ั ต ยะ

9

àÃ× ่ Í §àÅ‹ Ò ¨Ò¡ÍÔ ¹ à´Õ  ชี ว ิ ต ที ่ อ าศรมนิ ศ าร โ กปจาร ( จบ)

กฤษณ ฟ ก น อ ย ชนาพร เหลื อ งระฆั ง ชุ ต ิ ม า อรุ ณ มาศ วรพจน คงผาสุ ข วรรณวิ ภ า มาลั ย นวล วิ ล ิ น ทร วิ ภ าสพั น ธ สมดุ ล ย หมั ่ น เพี ย รการ

ÊÓ¹Ñ ¡ §Ò¹

พรทิ พ ย อึ ง คเดชา วั ล ลภา ณะนวล สุ จ ิ ต ฏา วิ เ ชี ย ร

¾ÃÐäµÃ» ® ¡á¡‹ ¹ ¸ÃÃÁ พระไตรป ฎ ก เล ม ที ่ ๑๔ (พระสุ ต ตั น ตป ฎ ก เล ม ที ่ ๖) มั ช ฌิ ม นิ ก าย อุ ป ริ ป  ณ ณาสก . อานาปานสติ ส ู ต ร

กวี คงภั ก ดี พ งษ แก ว วิ ฑ ู ร ย เ ธี ย ร ธี ร เดช อุ ท ั ย วิ ท ยารั ต น นพ.ยงยุ ท ธ วงศ ภ ิ ร มย ศ านติ ์ นพ.สมศั ก ดิ ์ ชุ ณ หรั ศ มิ ์

11

¡Í§ºÃÃ³Ò¸Ô ¡ ÒÃ

จิ ร วรรณ ตั ้ ง จิ ต เมธี ณั ต ฐิ ย า ป ย มหั น ต ณั ฏ ฐ ว รดี ศิ ร ิ ก ุ ล ภั ท รศรี ธนวั ช ร เกตน ว ิ ม ุ ต ธี ร ิ น ทร อุ ช ชิ น พรจั น ทร จั น ทนไพรวั น วิ ส าขา ไผ ง าม วี ร ะพงษ ไกรวิ ท ย ศั น สนี ย  นิ ร ามิ ษ สุ จ ิ ต ฏา วิ เ ชี ย ร

ÈÔ Å »¡ÃÃÁ

กาญจนา กาญจนากร photo from; http://wishflowers.tumblr.com/page/6


ÊÒÃѵ¶Ð ¤Ø  ¡Ñ ¹ ¡‹ Í ¹ สังคมเคลื่อนตัวไปอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะในเรื่องของการสื่อสาร ทั้งการสื่อสารแบบมวลชน การสื่อสารระหวางบุคคล ฯลฯ แมวาสถาบันโยคะวิชาการจะเนนความสำคัญของตำราโยคะดั้งเดิมแตเรา ก็เปนสวนหนึ่งของสังคมใหญ การปรับตัวจึงเปนเรื่องที่ตองทำอยางไมอาจหลีกเลี่ยงได นอกจากการสื่อสารระหวางเรากับเครือขายครูผานแผนกระดาษแลว เรากำลังปรับปรุงเวบไซท ซึ่งจะเปดดำเนินการใหมในตนเดือนตุลาคม เรายังตองอาศัยเฟซบุค ทวิตเตอร บลอก ฯลฯ เปนแรงหนุน คือ เขาทุกชองทางที่จะนำพาเราไปพบกับกลุมเปาหมาย คือ คนรักโยคะเพื่อการพัฒนาจิต

»¯Ô · Ô ¹ ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁ Ê¶ÒºÑ ¹ â¤ÐÇÔ ª Ò¡Òà Ë Ç Á¡Ñ º ÀÒ¤ÇÔ ª Ò»ÃÑ ª ÞÒáÅÐÈÒÊ¹Ò ¤³ÐÁ¹Ø É ÂÈÒʵà ÁËÒÇÔ · ÂÒÅÑ Â ÈÃÕ ¹ ¤ÃÔ ¹ ·ÃÇÔ â ò ¨Ñ ´ ͺÃÁ¤ÃÙ â ¤РËÅÑ ¡ ÊÙ µ õ‹ Í à¹× ่ Í § »‚ 2556 ÊÓËÃÑ º ¼Ù Œ ¼ ‹ Ò ¹¡ÒÃͺÃÁËÅÑ ¡ ÊÙ µ äÃÙ â ¤Р¢Í§Ê¶ÒºÑ ¹ ÏÁÒáÅŒ Ç (ÃÐÂÐÊÑ ้ ¹ ËÃ× Í ÃÐÂÐÂÒÇ¡็ ä ´Œ )

โดยครูฮิโรชิ ครูฮิเดโกะ ไอคาตะ (บรรยายเปนภาษาอังกฤษ พรอมลามแปลเปนไทย) วันที่ 4 – 23 พฤศจิกายน 2556 ณ คณะมนุษยศาสตร มศว และ มีการเขาคาย 1 ครั้ง การอบรมนี้เพื่อพัฒนาครูใหลึกซึ้งในโยคะ เพื่อใหครูมีความเชื่อมั่น ในกาวเดินของโยคะตำราดั้งเดิม เพื่อนำมาประยุกต ใชฝกโยคะนอกเสื่อของตน ไมใชการอบรมเพื่อเพิ่มทา หรือเพิ่มเทคนิคใหครูนำไปใชสอน µÒÃÒ§àÃÕ Â ¹

ทุกวันจันทร อังคาร พุธ พฤหัสบดี เรียนที่ มศว เวลา 17.30 – 20.00 น. วันศุกรที่ 15 – วันอาทิตยที่ 17 พ.ย. คายโยคะ บานกานนิสา นนทบุรี วันเสารที่ 9, 23 พ.ย. เรียนที่ มศว เวลา 8.00 – 12.00 น. รับจำนวนจำกัด 20 ทาน เทานั้น สนใจสมัครไดที่ สำนักงานสถาบันโยคะวิชาการ 02 732 2016 – 7 มือถือ 081 401 7744 เลขที่บัญชี ในการโอนเงินคาลงทะเบียน 12,000 บาท ธ.ไทยพาณิชย สาขาเดอะมอลล 3 รามคำแหง ชื่อบัญชี มูลนิธิหมอชาวบาน สถาบันโยคะวิชาการ เลขที่ 173 -241-685-8 ออมทรัพย

2


ÊÒÃÑ µ ¶Ð â¤ÐÍÒÊ¹Ð¢Ñ ้ ¹ ¾× ้ ¹ °Ò¹à¾× ่ Í ¤ÇÒÁÊØ ¢ ÊÓËÃÑ º ¼Ù Œ à ÃÔ ่ Á µŒ ¹ ÇÑ ¹ ÍÒ·Ô µ  · Õ ่ 27 µØ Å Ò¤Á àÇÅÒ 9.00 – 15.00 ¹

ที่ชั้น 6 หอง 262 คณะมนุษยศาสตร มศว ประสานมิตร คาลงทะเบียน 650 บาท สนใจโทร.สอบถามรายละเอียดไดที่ สถาบันโยคะวิชาการ

â¤Ðã¹Êǹ¸ÃÃÁ ³ Ëͨ´ËÁÒÂà赯 ¾ Ø · ¸·ÒÊ ¿ÃÕ ·Ø ¡ àÂ็ ¹ ÇÑ ¹ ¾Ø ¸ áÅÐ ¾ÄËÑ Ê àÇÅÒ 17.00 – 18.30 ¹. áÅÐ ÇÑ ¹ àÊÒà · Õ ่ 26 µØ Å Ò¤Á àÇÅÒº‹ Ò Â 2 – 4 âÁ§àÂ็ ¹

รายชื่อครูโยคะที่สวนโมกข เดือน ต.ค. มีดังนี้ พุธที่ 2 ต.ค. 56 งดสอนสวนโมกขขอใชสถานที่ พุธที่ 9 ต.ค. 56 วรพจน คงผาสุข (เบนซ ) พุธที่ 16 ต.ค. 56 สุจิตฏา วิเชียร(เจี๊ยบ) พุธที่ 23 ต.ค. 56 สุวัณนา จันทิมา(นา) พุธที่ 30 ต.ค. 56 วิลินทร วิภาสพันธ(เตย ) พฤหัสบดีที่ 3 ต.ค. 56 งดสอน สวนโมกข ขอใชสถานที่ พฤหัสบดีที่ 10 ต.ค. 56 นีลชา เฟองฟูเกียรติ(เบิรด) โยคะเรียบงายรูกายรูใจ พฤหัสบดีที่ 17 ต.ค. 56 อัมพร สิทธิพันธ โรเบิรดส (จูน) พฤหัสบดีที่ 24 ต.ค. 56 พิมลพันธ ศุขไพบูลย(ปอก ) พฤหัสบดีที่ 31 ต.ค. 56 วัลลภา ณะนวล(กลอย) เสารที่ 26 ต.ค. 56 ชุติมา อรุณมาศ(กลวย) ลงทะเบียนรวมกิจกรรมไดที่ www.bia.or.th

â¤ÐÊÃŒ Ò §ÊØ ¢ ³ ËŒ Í §ÍÒÈÃÁÊØ ¢ ÀÒÇÐ ÊÊÊ ·Ø ¡ ÇÑ ¹ ¾ÄËÑ Ê àÇÅÒ 17.00 – 18.30 ¹. áÅÐ ÇÑ ¹ àÊÒà àÇÅÒ 10.30 – 12.00 ¹.

สำรองที่เขารวมกิจกรรมไดที่ activity.thc@thaihealth.or.th หรือ โทร.02 343 1500 ตอ 2 และ 081 731 8270

3


ÊÒÃѵ¶Ð

¡Ô ¨ ¡ÃÃÁà¤Ã× Í ¢‹ Ò Â

โดย ครูดล ชีวิตสิกขา,อาจารยแพทยหญิงรุจิรา มังคละศิริ, และคณะ จำนวน 30 ชั่วโมง วันที่ 8-10 พ.ย. 56 ทามกลางบรรยากาศเงียบสงบ อากาศดี อาหารอรอยเพื่อสุขภาพ ภายในศูนยสุขภาพ มิชชั่น มวกเหล็ก สระบุรี ผูที่ตองการสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม กรุณาสอบถามไดที่อีเมล tanawatk@gmail.com โทร. 087-678-1669 ปดรับสมัครภายในวันที่ 15 ตุลาคม 56 หรือเมื่อเต็มกอน (รับจำนวนจำกัดเพียง 30 คน) คาลงทะเบียน 4,500 บาท / คน รวมคาที่พักปรับอากาศ นอนหองละ 2 คน) และอาหารสุขภาพปลอดเนื้อสัตวและสารพิษตลอดการอ บรม ไมรวมคาเดินทาง (มีรถตูจากอนุสาวรียชัยฯ ไปยังศูนยสงเสริมสุขภาพมิชชั่น ราคา 130.-) วิธีการสมัคร 1.กรอกใบสมัครในแบบฟอรมลงทะเบียนออนไลนที่ https://docs.google.com/forms/d/1cq1iGPikXobDS 3XpjX56cGdunh5UlHYpvVyxtObF0KI/edit# 2. ทานจะไดรับใบตอบรับการลงทะเบียน ภายใน7วัน พรอมกับวิธีการชำระคาลงทะเบียน 3. การลงทะเบียนจะสมบูรณเมื่อทานโอนเงินคา ลงทะเบียน และแจงยืนยันการชำระเงิน หมายเหตุ ËÔ Á ÒÅÒÂÑ ¹ â¤ÐÊÁÒ¸Ô ( »ÃÐà·Èä·Â) ÁÕ ¤ ÇÒÁÂÔ ¹ ´Õ ¢ ÍàªÔ Þ ·‹ Ò ¹à¢Œ Ò Ã‹ Ç Á¿˜ § ºÃÃÂÒÂã¹ËÑ Ç ¢Œ Í “ÈÔ Å »Š á Ë‹ § ªÕ Ç Ô µ - The Art of Joyful Living” (ÍÔ Ê ÃШҡ¤ÇÒÁà¤ÃÕ Â ´áÅФÇÒÁ¡ÅÑ Ç )

ซึ่งอิงพื้นฐานคำสอนจาก“ปตัญชลีโยคะสูตร”ที่ ถอดความ โดยทานสวามี รามา โดย ดร.สตีเฟน พารคเกอร ผูเชี่ยวชาญเรื่องจิตวิทยาและโยคะสมาธิบำบัด มีผูแปล เปนภาษาไทยตลอดงาน ในวันเสารที่ 7 ธันวาคม 2556 เวลา 8.00-17.00 น. ณ หองประชุมใหญ ชั้น 11 อาคารรวมจิตเพียรธรรม

photo from; http://whatchathinkaboutthat.tumblr.com/post/53359663361/sweet-angel-1

à¤Ã× Í ¢‹ Ò ÂªÕ Ç Ô µ ÊÔ ¡ ¢Ò www.lifebhavana.net ¢ÍàªÔ Þ ªÇ¹·Ø ¡ ·‹ Ò ¹à¢Œ Ò ÍºÃÁÀÒÇ¹Ò ÇÔ ª ÒªÕ Ç Ô µ áÅФÇÒÁµÒ 1

โรงพยาบาลเซ็นตหลุยส ถนนสาธรใต คาลงทะเบียน 600 บาทตอทาน (รวมอาหารกลางวัน และอาหารวาง 2 มื้อ) ผูสนใจกรุณาตอบกลับที่ ahymsinthailand@gmail.com หรือโทร 08-6755-3869, 08-9212-6296, 081700-3011โดยกรุณาแจงรายละเอียดชื่อ-สกุล อีเมล และเบอรติดตอกลับ (สำหรับผูลงทะเบียนทุกทาน) การลงทะเบียนจะสมบูรณหลังจากเจาหนาที่ไดรับเงินคา ลงทะเบียนและมีการยืนยันกลับแลวเทานั้น รายละเอียด การชำระเงินคาลงทะเบียน ชื่อบัญชี นายธนิยะ เกวลี ธนาคารกรุงเทพ เลขที่บัญชี 031-0-23586-6 ผูคนสวนใหญมุงมั่นที่จะสรางทรัพยสมบัติภายนอกจนเกิน พอดี หรือไมก็คิดกังวลหมกมุนอยูกับความตายจนลืมไปวา การอยูกับปจจุบันขณะ ดวยความสัมพันธที่ราบรื่นกับ ตัวเองและผูอื่น คือกุญแจสาคัญที่จะไขไปสูความสาเร็จ ทั้งในโลกแหงวัตถุและจิตวิญญาณ ดร. สตีเฟน พารคเกอรปนทั้งนักจิตวิทยาและนัก ปฏิบัติ สมาธิที่มีประสบการณมาอยางยาวนาน มีความ ยินดีเปนอยางยิ่งที่จะรวมแบงปนหลักสาคัญในการพัฒนา ชีวิตใหมีความสุขและเบิกบานอยางแทจริง โดยอิงพื้นฐาน จากปตัญชลีโยคะสูตรฉบับที่ทานสวามี รามา เปนผู ถอดความ ดวยประสบการณกวา 27 ป ในการเปน อาจารยและนักจิตวิทยาบาบัดจากเมือง มินเนสโซตา (Minnesota) ประเทศสหรัฐอเมริกา ในป ค.ศ. 1970 ดร.สตีเฟน ไดพบกับทานสวามี เวทะ ภารตี ผูซึ่งเปนแรง บันดาลใจใหทานแสวงหาความรูทางดานจิตวิญญาณอยาง ลึกซึ้งมากยิ่งขึ้นโดยการฝกปฎิบัติสมาธิทุกวัน ดร.สตีเฟน เปนครูโยคะที่ขึ้นทะเบียนและไดรับการ รับรองจาก Yoga Alliance หลังจากผานคอรสการฝกถึง 500 ชม ทานได เดินทางไปทั่วทวีปอเมริกาเหนือและหลาย ประเทศในแถบ ทวีปยุโรปและเอเชีย เพื่อจัดสัมมนาทางดาน โยคะสมาธิ และการปฏิบัติทางดานจิตวิญญาณตามแนว ทางของ หิมาลายันโยคะสมาธิ “มนุษยทุกคนคือประชากร ของโลกแหงวัตถุและ โลกแหงจิตวิญญาณในเวลาเดียวกันเราตองจึงใชชีวิตอยาง มีทักษะและปญญา ศิลปแหงการใชชีวิตดวยความสุข คือการเตรียมตัวที่ดีที่สุดสาหรับลมหายใจสุดทาย” สวามี รามา 4


ÊÒÃѵ¶Ð

§Ò¹ÇÔ ª Ò¡ÒÃÈÖ ¡ ÉÒÇÔ ¨ Ñ Â

photo from; http://stoppingoffplace.blogspot.com/2011_11_01_archive.html

·Ô È ·Ò§¡ÒÃÊÃŒ Ò §Áҵðҹ¤ÃÙ â ¤ÐÇÔ ª Ò¡ÒÃ

5

สภารับรองคุณภาพโยคะนานาชาติ (Council for Yoga Accreditation International) หรือ CYAI จัดตั้งขึ้นดวยโครงสรางระบบเดียวกันการรับรองคุณภาพ ของโรงเรียนเฉพาะสาขาวิชาชีพตางๆ ในมหาวิทยาลัยในประเทศสหรัฐอเมริกา เชน โรงเรียน กฏหมาย โรงเรียนธุรกิจ โรงเรียนแพทย ฯลฯ CYAI จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2555 ดวยความหวงใยของสถาบันโยคะ ชั้นนำของโลก เพื่อรักษาบรรทัดฐานของโยคะซึ่งถูกบิดเบือนจากศูนยโยคะที่จัดตั้ง กันเองแบบไมมีคุณภาพ ที่ไดเผยแพรโยคะที่ปราศจากแกนและมี แตจะสรางความ สับสนใหกับสังคม โยคะที่แทเปนการฝกทางดานจิตวิญญาณ ในอินเดียดินแดนที่ใหกำเนิด โยคะไมใชอาชีพหากแตเปนเรื่องของครูที่อบรมศิษยอยางเปนวิทยาทาน ทุกวันนี้ หลายคนมองโยคะเปนเรื่องของวิชาชีพ เปนเรื่องของธุรกิจ การที่โลกตะวันตก ใหความสำคัญในการทำวิจัย สงผลใหโยคะเปนที่นิยมแพรหลายแตในขณะเดียวกัน ก็เปนการทำใหสาระสำคัญของโยคะเจือจางลงดวย CYAI หวังจะฟนฟูความ บริสุทธิ์ของโยคะโดยใหผูที่จะทำหนาที่อธิบายเรื่องโยคะตองเปนผูมีความเหมาะสม เปนที่ยอมรับ เปนที่รับรองโดย CYAI ไมใชดวยการแตงตั้งตนเองขึ้นมา สมาชิกของ CYAI คือสถาบันโยคะตางๆ ครูโยคะที่ไดรับประกาศนียบัตรจากสถาบันโยคะเหลานี้ สามารถใหสถาบันฯ ที่ตนสังกัดสงรายชื่อมายัง CYAI ชื่อเหลานี้จะไดรับการประกาศในฐานขอมูลของ CYAI เปนเวลา 3 ป โดยครูโยคะจะตองทำการศึกษาตอเนื่องเพื่อทำการตออายุ ในทุกๆ 3 ป ตัวอยางสถาบันโยคะใน CYAI AHYMSIN - Association of Himalayan Yoga Meditation Societies International Kaivalyadhama Yoga Institute Krishnamacharya Healing and Yoga Foundation Swami Vivekananda Yoga Anusandhana Samsthana (S-VYASA) The Yoga Institute, Santacruz The Yoga Portuguese Confederation ฯลฯ ตัวอยางกรรมการใน CYAI Mahamandaleshwara Dr. Swami Veda Bharati, head of the Swami Rama's Ashram, Sadhana Mandir Om Prakash Tiwari, Secretary General of the Kaivalyadhama Institute Dr HR Nagendra, Vice Chancellor of SVYASA Yoga University Smt. Hansaji Jayadeva Yogendra, Director of The Yoga Institute ฯลฯ ศีกษาเพิ่มเติมไดที่ เวบไซทของ CYAI ( http://www.cyai.org/ )


¾ÃÐäµÃ» ® ¡á¡‹ ¹ ¸ÃÃÁ

ÊÒÃѵ¶Ð

photo from; http://www.tumblr.com/

¾ÃÐäµÃ» ® ¡ àÅ‹ Á ·Õ ่ ñô (¾ÃÐÊØ µ µÑ ¹ µ» ® ¡ àÅ‹ Á ·Õ ่ ö) ÁÑ ª ¬Ô Á ¹Ô ¡ Ò ÍØ » ÃÔ » ˜ ³ ³ÒÊ¡ ๘. อานาปานสติสูตร (ตอจากตอนที่แลว)

จากเวบไซทhttp://www.84000.org /tipitaka/ pitaka2/v.php?B=14&A=3924&Z=4181 [๒๙๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุที่เจริญสติปฏฐาน ๔ แลวอยางไรทำใหมากแลวอยางไร จึงบำเพ็ญโพชฌงค ๗ ใหบริบูรณได ดูกรภิกษุทั้งหลายสมัยใด ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกาย มีความเพียร รูสึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียไดอยู ในสมัยนั้น สติยอมเปนอันเธอผูเขาไปตั้งไวแลวไมเผลอเรอ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด สติเปนอันภิกษุเขาไปตั้งไวแลวไมเผลอเรอ ในสมัยนั้น สติสัมโพชฌงคยอมเปนอันภิกษุปรารภแลว สมัยนั้น ภิกษุชื่อวายอมเจริญสติสัมโพชฌงค สมัยนั้น สติสัมโพชฌงคยอมถึงความเจริญและความบริบูรณแก ภิกษุ เธอเมื่อเปนผูมีสติอยางนั้นอยู ยอมคนควา ไตรตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนั้นไดดวยปญญา ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุเปนผูมีสติอยางนั้นอยู ยอมคนควาไตรตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนั้นดวยปญญา ในสมัยนั้น ธรรมวิจยสัมโพชฌงคยอมเปนอันภิกษุปรารภแลวสมัย นั้น ภิกษุชื่อวายอมเจริญธรรมวิจยสัมโพชฌงค สมัยนั้น ธรรมวิจยสัมโพชฌงคยอมถึงความเจริญ และความบริบูรณแกภิกษุ เธอเมื่อคนควา ไตรตรอง ถึงความพิจารณาธรรมดวยปญญาอยู

6


ÊÒÃѵ¶Ð ยอมเปนอันปรารภความเพียรไมยอหยอน ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุคนควา ไตรตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนั้นดวยปญญา ปรารภ ความเพียรไมยอหยอน ในสมัยนั้น วิริยสัมโพชฌงค ยอมเปนอันภิกษุปรารภแลว สมัยนั้น ภิกษุชื่อวายอม เจริญวิริยสัมโพชฌงค สมัยนั้นวิริยสัมโพชฌงคยอมถึง ความเจริญและความบริบูรณแกภิกษุปติปราศจาก อามิส ยอมเกิดขึ้นแกภิกษุผูปรารภความเพียรแลว ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ปติปราศจากอามิสเกิดขึ้นแกภิกษุผูปรารภความเพียร แลว ในสมัยนั้น ปติสัมโพชฌงคยอมเปนอันภิกษุปรารภแลว สมัยนั้นภิกษุชื่อวายอมเจริญปติสัมโพชฌงค สมัยนั้น ปติสัมโพชฌงคยอมถึงความเจริญและความบริบูรณแก ภิกษุ ภิกษุผูมีใจเกิดปติ ยอมมีทั้งกายทั้งจิตระงับได ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ทั้งกายทั้งจิตของภิกษุผูมีใจเกิดปติ ระงับได ในสมัยนั้น ปสสัทธิสัมโพชฌงคยอมเปนอันภิกษุ ปรารภแลว สมัยนั้น ภิกษุชื่อวายอมเจริญปสสัทธิ สัมโพชฌงค สมัยนั้น ปสสัทธิสัมโพชฌงคยอมถึงความ เจริญและความบริบูรณแกภิกษุ ภิกษุผูมีกายระงับแลว มีความสุข ยอมมีจิตตั้งมั่น ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด จิตของภิกษุผูมีกาย ระงับแลว มีความสุขยอมตั้งมั่น ในสมัยนั้น สมาธิสัมโพชฌงคยอมเปนอันภิกษุ ปรารภแลว สมัยนั้นภิกษุชื่อวายอมเจริญสมาธิ สัมโพชฌงค สมัยนั้น สมาธิสัมโพชฌงคยอมถึงความ เจริญและความบริบูรณ แกภิกษุ ภิกษุนั้นยอมเปนผู วางเฉยจิตที่ตั้งมั่นแลว เชนนั้นไดเปนอยางดี ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใดภิกษุเปนผูวางเฉย จิตที่ตั้งมั่นแลวเชนนั้นไดเปนอยางดี ในสมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงคยอมเปนอันภิกษุปรารภแลว สมัยนั้นภิกษุชื่อวายอมเจริญอุเบกขาสัมโพชฌงค สมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงคยอมถึงความเจริญ และความบริบูรณแกภิกษุ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุพิจารณา เห็นเวทนาในเวทนา มีความเพียร รูสึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียไดอยู ในสมัยนั้น สติยอมเปนอันเธอผูเขาไปตั้งไวแลวไมเผลอเรอ...

7

ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุพิจารณาเห็นธรรม ในธรรม มีความเพียร รูสึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียไดอยู ในสมัยนั้น สติยอมเปนอันเธอผูเขาไปตั้งไวแลวไมเผลอเรอ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด สติเปนอันภิกษุ เขาไปตั้งไวแลว ไมเผลอเรอ ในสมัยนั้น สติสัมโพชฌงคยอมเปนอันภิกษุปรารภแลว สมัยนั้น ภิกษุชื่อวา ยอมเจริญสติสัมโพชฌงค สมัยนั้น สติสัมโพชฌงคยอมถึงความเจริญและความบริบูรณแก ภิกษุ เธอเมื่อเปนผูมีสติอยางนั้นอยู ยอมคนควา ไตรตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนั้นดวยปญญา ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุเปนผู มีสติอยางนั้นอยู ยอมคนควาไตรตรอง ถึงความ พิจารณาธรรมนั้นดวยปญญา ในสมัยนั้น ธรรมวิจยสัมโพชฌงค ยอมเปนอันภิกษุปรารภแลว สมัยนั้น ภิกษุชื่อวายอมเจริญธรรมวิจยสัมโพชฌงค สมัยนั้น ธรรมวิจยสัมโพชฌงคยอมถึงความเจริญ และความ บริบูรณแกภิกษุ เมื่อเธอคนควา ไตรตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนั้นดวยปญญาอยู ยอมเปนอันปรารภความเพียรไมยอหยอน ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุคนควา ไตรตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนั้นดวยปญญา ปรารภความเพียรไมยอหยอน ในสมัยนั้น วิริยสัมโพชฌงคยอมเปนอันภิกษุปรารภแลว สมัยนั้น ภิกษุชื่อวายอมเจริญวิริยสัมโพชฌงค สมัยนั้นวิริยสัมโพชฌงคยอมถึงความเจริญและความ บริบูรณแกภิกษุ ปติปราศจากอามิสยอมเกิดขึ้นแกภิกษุ ผูปรารภความเพียรแลว ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลายสมัยใดปติปราศจากอามิส เกิดขึ้นแกภิกษุผูปรารภความเพียรแลว ในสมัยนั้น ปติสัมโพชฌงคยอมเปนอันภิกษุปรารภแลว สมัยนั้นภิกษุชื่อวายอมเจริญปติสัมโพชฌงค สมัยนั้น ปติสัมโพชฌงคยอมถึงความเจริญและความบริบูรณแก ภิกษุ ภิกษุผูมีใจเกิดปติ ยอมมีทั้งกายทั้งจิตระงับได ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ทั้งกายทั้งจิตของ ภิกษุผูมีใจเกิดปติ ระงับได ในสมัยนั้น ปสสัทธิสัมโพชฌงคยอมเปนอันภิกษุปรารภแลว สมัยนั้น ภิกษุชื่อวายอมเจริญปสสัทธิสัมโพชฌงค สมัยนั้น ปสสัทธิสัมโพชฌงค ยอมถึงความเจริญ


ÊÒÃѵ¶Ð และความบริบูรณแกภิกษุ ภิกษุผูมีกายระงับแลว มีความสุข ยอมมีจิตตั้งมั่น ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลายสมัยใดจิตของภิกษุผูมีกาย ระงับแลว มีความสุข ยอมตั้งมั่น ในสมัยนั้น สมาธิสัมโพชฌงคยอมเปนอันภิกษุปรารภแลว สมัยนั้นภิกษุชื่อวายอมเจริญสมาธิสัมโพชฌงค สมัยนั้น สมาธิสัมโพชฌงคยอมถึงความเจริญและความบริบูรณ แกภิกษุ ภิกษุนั้นยอมเปนผูวางเฉยจิตที่ตั้งมั่น แลวเชนนั้นไดเปนอยางดี ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุเปนผูวางเฉยจิตที่ตั้งมั่นแลวเชนนั้นไดเปนอยางดี ในสมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงคยอมเปนอันภิกษุ ปรารภแลว สมัยนั้นภิกษุชื่อวายอมเจริญอุเบกขา สัมโพชฌงค สมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงคยอมถึง ความเจริญ และความบริบูรณแกภิกษุ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่เจริญสติปฏฐาน ๔ แลวอยางนี้ ทำใหมากแลวอยางนี้แล ชื่อวาบำเพ็ญโพชฌงค ๗ ใหบริบูรณได ฯ [๒๙๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่เจริญโพชฌงค ๗ แลวอยางไร ทำใหมากแลวอยางไร จึงบำเพ็ญวิชชาและวิมุตติใหบริบูรณได ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ยอมเจริญสติสัมโพชฌงคอันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ อันนอมไปเพื่อความปลดปลอย ยอมเจริญธรรมวิจยสัมโพชฌงค ... ยอมเจริญวิริยสัมโพชฌงค ... ยอมเจริญปติสัมโพชฌงค ... ยอมเจริญปสสัทธิสัมโพชฌงค ... ยอมเจริญสมาธิสัมโพชฌงค ... ยอมเจริญอุเบกขาสัมโพชฌงคอันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ อันนอมไปเพื่อความปลดปลอย ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่เจริญโพชฌงค ๗ แลวอยางนี้ ทำใหมากแลวอยางนี้แล ชื่อวาบำเพ็ญวิชชาและวิมุตติใหบริบูรณได ฯ พระผูมีพระภาคไดตรัสพระภาษิตนี้แลว ภิกษุเหลานั้นตางชื่นชมยินดีพระภาษิตของพระผูมีพระ ภาคแล ฯ จบ อานาปานสติสูตร ที่ ๘

8


ÊÒÃѵ¶Ð

µÓÃÒâÂ¤Ð´Ñ ้ § à´Ô Á

photo from; http://olgabennett.blogspot.com/

¼Å¢Í§¤ÇÒÁµÑ ้ § ÁÑ ่ ¹ 㹡Òû¯Ô º Ñ µ Ô Ê Ñ µ ÂÐ วีระพงษ ไกรวิทย และจิรวรรณ ตั้งจิตเมธี

9

ความตอนที่แลวของโยคสูตรประโยคที่ ๒:๓๕ สรุปไดวา ผลของการตั้งมั่นในการปฏิบัติอหิงสา (การไมเบียดเบียนทำราย ไมใชความรุนแรง) คือ การขจัดความเกลียดชังและความเปนศัตรูไมเพียงแตใน โยคีผูปฏิบัติโยคะเทานั้น แมแตผูคนที่อยูรอบๆ ตัวเขาก็จะคลายจากความรูสึกเกลียดชังหรือความเปน ศัตรูไปดวย ในประโยค ๒:๓๖ กลาววา “สัตยะ-ประติษฐายาง กริยา-ผลาศรยัตวัม” แปลวา ผลของการตั้งมั่นในการปฏิบัติสัตยะ (ตั้งมั่นอยูบนความจริง) คือ การเชื่อมโยงสัมพันธกัน อยางเปนเหตุเปนผลระหวาง การกระทำและผลแหง การกระทำ ประโยคนี้หากพิจารณาจากความ หมายของคำอยาง ตรงไปตรงมาธรรมดา ดูเหมือนจะไมไดบงบอกถึงผลอันพิเศษใดๆ จากการปฏิบัติยมะในเรื่อง ความจริง ไดอยางตั้งมั่น เพราะวาผลนั้นยอมขึ้นอยูกับเหตุหรือการกระทำอยาง แนนอนตาม “กรรมะ-สิทธานตะ” แตตาม “กฎแหงกรรม” นี้ ก็เกือบจะเปนไปไมไดเลยที่จะ ทำนายได ๑๐๐ เปอรเซ็นตเต็มวา ผลอะไรจะเกิดขึ้นจากการกระทำใดๆก็ตาม เพราะผล ที่เกิดขึ้นจริง ณ เวลาใดเวลาหนึ่งไมไดขึ้นอยูกับ การกระทำเพียงอยางเดียว แตมันเปนผลรวมของผล ทั้งหลาย จากการกระทำอันมากมายหลายอยาง


อยาง สมบูรณ ณ ปจจุบัน และอาจจะเปนเรื่องที่ เหนือความสามารถของใครๆ ที่จะคำนวณไดอยาง ถูกตอง หรือกำหนดอยางชัดเจนในผล ที่เกิดจาก กฎธรรมชาตินี้ ดังนั้นแมวาตามกฎแหงกรรม ผลของทุกการกระทำยอมเกิดตามมาอยางไมอาจหลีก เลี่ยงได แตก็ไมมีใครสามารถทำนายธรรมชาติ ที่แนนอนหรือระยะเวลาที่สุกงอมของผลแหงการ กระทำนั้นได อยางไรก็ตามสิ่งที่ประโยคนี้หมายถึงก็คือ ผูที่ปฏิบัติยมะในขอสัตยะอยางสมบูรณแลวจะสามารถ ทำนายธรรมชาติที่แนนอนของผลแหงการกระทำใดๆ ก็ตามที่ตัวเขาเปนผูกระทำหรือแมแตคนอื่นๆ กระทำ อาจจะรูสึกไดวาผูที่ปฏิบัติตามยมะขอสัตยะ ไดอยางสมบูรณนั้นสามารถที่จะลมลางกฎของการไม สามารถทำนายผลกรรมที่กลาวไวขางตนได แตนั่นไมใชประเด็น การพยายามอยางจริงใจและ เขมงวด มากของการฝกตั้งมั่นอยูบนความจริง(สัตยะ) ในทุกๆ แงมุมของมัน จะปรับเปลี่ยนจิตของผูปฏิบัติ ไปในทางที่วาจะไมมีความคิดหรือจินตนาการใดเลยที่ไ มสอด คลองกับความเปนจริง แมแตเรื่องที่เกี่ยวของ กับอนาคต อาจกลาวไดวาจิตของผูปฏิบัติที่ตั้ง มั่นอยูกับสัตยะเชนนี้มีสภาพที่เปนธรรมชาติ และอะไรก็ตามที่เกิดขึ้นในจิตของเขาตอเหตุการณใดก็ ตามที่จะเกิดขึ้นแมแตในอนาคต ก็จะมีความสอดคลองกันอยางแนนอนระหวางสิ่งที่เขา คิดในใจกับความเปนจริงที่เกิดตามมาในอนาคต ดังนั้นเมื่อไรก็ตามที่เขาคาดเดาสิ่งใด มันจึงเปนจริงราวกับปาฏิหาริย ตัวอยางตางๆ ของผูที่มีความสามารถที่จะทำนายสิ่งที่เกิดขึ้นในอนาค ตนี้ดูเหมือนจะมีอยูมากมายหลายคนแมแตในคนปกติ ธรรมดา และในบรรดาตัวอยางเหลานี้โดยสวนใหญ พบวาเปนบุคคลที่ประพฤติตนอยูบนความซื่อสัตยและ ตั้งอยูบนความจริงอยางมาก เอกสารอางอิง : ๑. Karambelkar, P. V. (1986). PATANJALA YOGA SUTRAS Sanskrta Sutras with Transliteration, Translation & Commentary. Lonavla : Kaivalyadhama, p. 266-268. ๒. Karma Siddhantha [online], ๑๕ กันยายน ๒๕๕๖. แหลงที่มา http://karmasiddhantha.blogspot.com/2010/11/karmasidhantha.html

ÊÒÃѵ¶Ð

10


ÊÒÃѵ¶Ð

àÃ× ่ Í §àÅ‹ Ò ¨Ò¡ÍÔ ¹ à´Õ  (µ‹ Í ¨Ò¡©ºÑ º ·Õ ่ á ÅŒ Ç ) ภาคสุดทายของภารกิจที่อาศรมนิศาโกปจาร วันที่ยี่สิบสองมกราคมเปนวันที่สิบสอง ของการอยูที่นี่ เอาละ พอไมกินยาฝรั่ง หนาก็เยิน เลยคิดวาจะตองรอพบดร.ไนซาล ผูอำนวยการที่นี่ใหได หลังจากรอคิวอยูสองชั่วโมงกวา ก็ไดพบหมอ หมอบอกวา “เธอไมนากินยาแกแพเลย มันอยูในขั้นตอนการบำบัดนะ” อาว หมอชรูติใหกินนี่นา แลวยังไงละเนี่ย วันนี้ลิมบิกซิสเต็มทำงานมาก อีโมชันนอลมากคะแนนความแข็งแรงทางกายเต็มสิบได หา คะแนนความแข็งแรงทางใจเต็มสิบไดหนึ่ง จิตตกสุดๆ หมอบอกวา”คนที่เขามารักษากัน เรื่องโรคภูมิแพ ผิวหนังนะ เขาอยูกันเปนเดือนๆ ดูรูปนี่ ผูชายคนนี้เห็นผิวเขาไหม แทบมองไมเห็นผิวเนื้อเลย มีแตแผลพุพอง กับรอยดาง เขารักษาอยูเปนปๆ ถึงหาย ตองอดทน เขาใจไหม” ดวยความจิตตก และผื่นขึ้นคันคะเยอตะพึดตะพือ เลยงอแงใสหมอวา “กอนหนานี้หนูไมเปนไรเลยนะหมอ มานี่ พอกโคลนหนาก็เยิน นวดตัวขาก็เละ

11

àÃ× ่ Í §àÅ‹ Ò ¨Ò¡ÍÔ ¹ à´Õ Â

หมอเอามือหรือหนังสืออะไรสักอยางนี่แหละตีหัวหนึ่งที “อดทนหนอย” ไอตอนตีนะไมเจ็บ แตตกใจ แถมอายดวย เพราะอีตาโรเบิรตก็นั่งฟงอยูขางๆ แตตอนนี้คิดวาไมมีอะไรจะเสียแลว ชางหัวโรเบิรตปะไร หมอก็ไดแตบอกวา “ทำธรรมชาติบำบัดตองใชเวลา ตองอดทน ถาไมดีขึ้นเดี๋ยวจะจัดยาอายุรเวทใหนะ” มามาขอดูขาหนอยสิ หมอบอกวาใหเอาน้ำมันมะพราวทาแกคันไปพลางๆ แตขอโทษทีเถอะ ยิ่งทายิ่งคันอะหมอ จากนั้นหมอใหรายชื่อหนังสือเกี่ยวกับธรรมชาติบำบัด เพื่อใหไปหาอาน จะไดเขาใจการรักษาแบบธรรมชาติบำบัดมากขึ้น หลังจากรองไหโฮกใหญก็รูสึกวา ไดระบายอะไรหนักๆ ออกไป แตแบบจิตใจย่ำแยมากเหอะจุดนี้ กลับมาที่หอง เตรียบเก็บของพรอมกลับไกวัลเลย ไมไหวแลววอย วันนี้เปนวันที่อารมณขึ้นๆ ลงๆ เปนอยางมาก สวิงสุดๆ พยายามสวดมนตก็แลวอะไรก็แลว ก็ยังไมหาย เลยไดแตเฝาดูอาการกระเพื่อม ของจิตไปเรื่อยๆ วันรุงขึ้นยี่สิบสี่มกรา วันที่สิบสามของการ อยูที่นี่ วันนี้ไมไดไปนวดน้ำมัน หมอบอกวาน้ำมัน อาจทำใหผื่นแยกวาเดิม เลยไดแตทำดีท็อกซ


ÊÒÃѵ¶Ð ดื่มน้ำแครอท แชสะโพกดวยความรูสึกเซ็งๆ แลวก็ออกไปเช็คเมล เห็นเมลจากครูฮิโรชิแจงวันนัดพบเพื่อกลับไกวัลก็ดีใจ แทบแย รีบจดใสโทรศัพทไวเลย อยากจะถามครูฮิโรชิชะมัดเลย ไมเห็นครูบอกเลยวามาทำธรรมชาติบำบัดจะทรมาน ทรกรรมขนาดนี้ คราวที่แลวที่พี่ไขนุนมาเห็น บอกวาชิลๆ ไอเราก็ลืมไปวาพี่เคามาแคไมกี่วัน คงจะสบายๆ แตจะวาไป การมีประสบการณตรงแบบนี้ อยูคนเดียวกับสถานที่ที่ไมคุนเคย คนใหมๆ อารมณแปลกใหม ทำตามตารางกิจกรรมเปนเวลาครึ่งเดือนก็ทำใหไดรูจัก ตัวเองเพิ่มขึ้นอีกเยอะเลย นี่ตางหากที่สำคัญ ครูฮิโรชิคงมองเห็นตรงนี้เลยอยากใหมาอยูทำ ธรรมชาติบำบัดมากกวาไปชอปปงตออีกหนึ่งอาทิตย ที่เหลือ จากนั้นก็แวะไปเอาเสื้อที่ตัดไว และเออ เนื่องจากสื่อสารกันไดนอยมาก เสื้อก็เลยทำออกมาอยางมีเอกลักษณมาก ประหนึ่งชุดแขกผสมชุดลิเก ผาแวววาวสองประกายระยิบระยับ เลยแอบคิดไปวา วันหนึ่งจะตองหาโอกาสใสไปงานปารตี้อะไรสักอยางให ได คริคริ วันนี้เริ่มกินผลไมตามที่หมอบอก โดยเลือกกินมะละกอ ซึ่งหอมหวาน เอร็ดอรอยมาก ตอนสองทุมก็ไปเขาฟงโยคะนิทราเปนภาษามาราตี ฟงไมรูเรื่อง ฟงออกแตชื่อของจักราตางๆ รูแตวาระหวางนอนโยคะนิทรา มีอาการคันคะเยอ และรางกายกระตุกตลอดเวลา พอกลับมาที่หอง หนาเริ่มบวม ขาเริ่มแดง เหงื่อเริ่มออก แถมวันนี้ไดยินเสียงระฆังดังทั้งคืน นอนก็นอนไมหลับ ตื่นมาถอดกางเกงกลางดึกเพราะเหงืออกที่ขาเยอะมาก ผื่นขึ้นเยอะมาก แทบอยากจะรองไห แตหมดอารมณจะรอง ไดแตบอกตัวเองวาใหอดทน เดี๋ยวก็ไดกลับบานแลว วันตอมายี่สิบหามกรา วันที่สิบสี่ของการ อยูที่นี่ ตอนเชาเจอหมอเลยเลาใหฟงเรื่องผื่นขึ้น หมอบอกวาไปกินอะไรมา เลยบอกวากินมะละกอ หมอบอกวา กินมะละกอไมไดนะ รางกายจะรอน จะคันคะเยอมากขึ้นกวาเดิม โถ ผลไมมีให เลือกตั้งเยอะตั้งแยะ ทำไมชั้นถึงไดไปเลือกอะไร ที่รางกายไมรับเนี่ย

เนื่องจากวันรุงขึ้นจะไดกลับแลว เลยไปทำเรื่องออกจากอาศรม จัดการเรื่องเงินๆทองๆ ใหเรียบรอย เหลือบมองแขนตัวเองแลวน้ำตาแทบรวง นอกจากผื่นแลวยังดูพุพองมีน้ำใสๆ ดวย เลยตัดสินใจ ไปหองเจาหนาที่เพื่อใหโทรหาดร.ไนซาล ปรึกษาวา จะเอาอยางไรดี ตอนแรกเจาหนาที่ก็ไมยอมโทรให เพราะเปนวันหยุดของหมอไนซาล และเขาใจวาดวย ความที่เปนหมออาวุโส เจาหนาที่เลยไมอยากโทรไป รบกวน เราเลยโชวแขนใหดูสองขาง พูดแควา “ดูแขนฉัน แลวเธอจะเขาใจวาทำไมฉันถึงตองการ ความชวยเหลือ” พอเจาหนาที่เห็นแขนเลยตอโทรศัพท ใหทันที ไดความวาใหไปหาหมออารยา ซึ่งเปนหมอ อาวุโสของที่นี่ หมออารยาใจดี และใจเย็นมาก หมออธิบายใหฟงวาอาการที่เกิดขึ้นถือวาเปนอาการที่ ดี แสดงวาสิ่งตางๆ ที่รางกายเก็บเอาไวคอยๆ ทยอยออกมาจากยาตางๆ ที่เคยกินเคยฉีดตั้งแตเด็ก อาจเปนเสตียรอยดเปนตน ชวงอดอาหารจะมีอาการ ออกมาแบบนี้ ถือเปน ฮีลลิ่งไครซิส ฟงหมอไปเราก็ รองไหไป แบบเราไมสามารถควบคุมรางกายเราไดเลย ไดแตเห็นรางกายเปนไปอยางนั้นเอง เห็นเลยวา กายนี้เนาเปอยผุพังไปตอหนาตอตา ดังนั้นเราตอง ฝกใจไว จะไดรับมือกับชีวิตได หลังจากโชวขาสุดเยินใหหมอดู หมอใหยาอายุรเวท และเขียนใบสั่งยาใหไปซื้อมากิน และบอกวา ยาฝรั่ง หรืออะโลพาติกนานๆ กินทีได หมอจบบทสนทนาวา แตงงานหรือยัง หาคูตแตงงานซะนะ เออ..แลวมันจะชวยใหผื่นหนูหายไหมคะหมอ สุดทายรูสึกวาถาตองกลับเมืองไทย ดวยสภาพแบบนี้ตายแน เลยออกไปอีเมล หาดร.จารกาดิช ซึ่งเปนหมอที่ดูแลแผนกอายุรเวท ที่ไกวัลยธรรม บอกหมอวาใหชวยดวย อาการโคมามาก หมอเมลกลับมาบอกวา ไมตองหวง กลับมาจะเตรียมยาไวให อานเมลแลวรูสึกใจชื้น คิดวา ยังไงก็รอดแน เพียงแตสภาพกี่เปอรเซ็นตก็คอยวา กันอีกที วันนี้เปนวันสุดทายที่จะไดทานขาวเย็นที่นี่ เราคอยๆ เคี้ยวอาหารในปาก เคี้ยวจนแทบละลาย เปนน้ำ เลยใชเวลาทานขาวอยูนาน กวาจะไปเดินออกกำลังยามเย็น ตอนเดินก็คอยๆ เดิน เพราะถาขาสีกัน หรือแขนสีกับเสื้อผาจะเจ็บมาก

12


ÊÒÃѵ¶Ð เลยเดินอยางชาๆ สงบสุข รูสึกวาใจเบาสบายขึ้น อาจเปนเพราะวาจะไดกลับแลวเลยสบายใจ เดินจนเมื่อยเทา พอกลับมาก็อาบนน้ำ แชเทาในน้ำอุน นอนหลับสบาย ตื่นมาก็เอาของออกจากหอง เจอครูฮิเดโกะมารับไปไกวัลยธรรม ตอนเจอครูฮิเดโกะมารับ ดีใจเหมือนไดเจอญาติ หลังจากที่มาอยูที่นี่ตั้งครึ่งเดือน รูสึกเหมือนมารบเลย สวนตัวคิดวามาทำธรรมชาติ บำบัดที่นี่ตองใจแข็งพอสมควรแหละ เพราะเราไมรูเลยวาจะเจออะไรบาง อยาทอ จำไดวาตอนแรกครูฮิโรชิบอกวาอยูที่นี่ยุงนะ กิจกรรมเยอะเลย ตองทำตามตาราง แตจะดีกับเธอ เธอเหมาะกับธรรมชาติบำบัดมากกวาปญจกามา หลายคนคงอยากรูวาสุดทายแลวผื่นที่ขึ้นตามหนา ตามตัว แขนขา หลังขานั้นหายไหม คำตอบคือ หายคะ แตใชเวลาพอสมควรเลย กลับมาเมืองไทยก็กินยาอายุรเวทที่ดร.จารกาดิชใหมา กับยาที่ไปซื้อตามที่หมออารยาสั่ง อาการก็ดีขึ้นเรื่อยๆ จากที่หลังขาดำ เปนปนหนาและแข็ง ผิวก็คอยๆ ออนนุมลง สีจางลงไป ผื่นคอยๆ ยุบตัวทีละนิด แตก็ใชเวลาเปนเดือนกวาจะหายดี ครูฮิโรชิบอกวา ถาเธออยูที่อาศรมนิศาโกปจาร ไดครึ่งเดือน กลับมาเมืองไทยเธอจะรูวาอาหารปกติ ที่เราทานนั้นรสจัดกวาที่เราคิด ลิ้นเราจะสะอาดมาก เพราะทานแตอาหารที่ปรุงแตงนอยมาก คงความเปนธรรมชาติของวัตถุดิบไวมาก ตั้งแตกลับมาก็แทบจะไมใสเครื่องปรุงเพิ่มเติมเลย เคยบอกแมวา แกงจืดวันนี้รสจัดจัง แมยังงงเลยวา แกงจืดเนี่ยนะรสจัด เขาใจวาคงเปนน้ำสต็อก ผักมากกวาที่สรางรส หลังจากนั้นเวลาจะทานอะไร ก็จะคิดมากขึ้น จะวาไปไมใชแคอาหารอยางเดียว แตรวมไปถึงสิ่งตางๆ ที่รับเขามาในชีวิตดวย ยาฝรั่งนี่แทบบอกศาลาไปเลย หนังสือหรือขาวบาง ประเภทก็งด เว็บไซตบางเว็บที่ไมเกิดประโยชนก็ ตัดใจเลิกอานไป คอยๆ เปนคอยๆ ไปอยางเปนธรรมชาติ ไมไดรูสึกวาตองกดดันตัวเอง แกงไวนตอนแรกก็ยังไปแบบดื่มน้ำผลไม ตอนหลังๆ ก็งดไปตามธรรมชาติ อยูกับตัวเองไดสบายๆ

13

ก็อยากแนะนำสำหรับคนที่อยากลองทำธรรมชาติบำบัด ที่อินเดีย ถาสนใจก็ลองเขาไปดูรายละเอียดที่เว็บ หรือถาสนใจปญจกามาที่ไกวัลยธรรมก็ลองเขาไปดูที่ www.kdham.com ถามาภายในเมษายนปหนา รับรองวาไดเจอเตยแนนอน เพราะตอนนี้เตยมาเรียนคอรสดิพโพลมาเกาเดือนคะ สวนคนที่อยากสอบถามเพิ่มเติมเปนการสวนตัว ปลายเดือนตุลาเตยจะกลับเมืองไทยสองอาทิตย มีสอนโยคะที่สวนโมกขนะตอนเย็นวันพุธที่ 30 ตุลาคม เวลา 17.00-18.30 ถาสนใจมาเจอกันไดนะคะ สำหรับเรื่องเลาจากอินเดียยังคงมีตอไปเนื่องจากมาเต ยเรียนคอรสเกาเดือน ซึ่งตอนนี้ใกลจะผานพนชวงที่หฤโหดที่สุดคือชวงมรสุม ของที่นี่ แงมๆ ใหฟงสักนิดวา เรียนหนักไมบนเลย แตฝนตก ชื้นแฉะจนราขึ้นทุกสิ่งทุกอยาง ตั้งแตประตู หนังสือ กระเปาสตางค นาิกา รองเทา นี่เลนเอาแทบแยเหมือนกัน สนุกดีคะ หัวเราะทั้งน้ำตา แข็งแรงสลับปวย ผื่นขึ้นสลับหาย ทองผูกยันทองเสีย น้ำหนักลงมาเกือบสี่โลแลวคะภายในสองเดือน ชีวิตนักเรียนโยคะจะเปนอยางไร รอติดตามอานกันนะคะ นมัสเต เตยคะ


ÊÒÃѵ¶Ð

สถาบันโยคะวิชาการดำเนินการโดยมีรายไดจาก คาลงทะเบียนกิจกรรม จากการจำหนายผลิตภัณฑตางๆ สถาบัน ฯ ยินดีรับการสนับสนุนจากผูสนใจรวมเผยแพร เพื่อนำเงินมาใชดำเนินการใหบรรลุวัตถุประสงคตามที่ตั้งไว เชิญบริจาคเขาบัญชีออมทรัพย ธนาคารไทยพาณิชย สาขา The Mall 3 รามคำแหง ชื่อบัญชี มูลนิธิหมอชาวบาน (สถาบันโยคะวิชาการ) เลขบัญชี 173-232-9491 à´×͹ ¡Ñ¹ÂÒ¹ 2556 ÁÕ¼ÙŒºÃԨҤʹѺʹع¡Ò÷ӧҹ¢Í§Ê¶ÒºÑ¹Ï ´Ñ§¹Õ้

กิจกรรมจิตสิกขา เดือน ก.ย. ตูบริจาคสำนักงาน เดือนกันยายน นักเรียนโยคะนมัสเต ที่เขารวมกิจกรรมโยคะเด็ก งานมหกรรมสมุนไพรแหงชาติครั้งที่ 10 ครูบุญศิริ ทะวงษา (เต) T11, ครูวิไลวรรณ สุพรม (เป) T11 ครูธงชัย จิรัฐติพันธุ (เบิรด) T12, ครูอัมพร สิทธิพันธ (จูน) T12

100 1,823 400

ทพญ.ศุภลัคน เลิศมโนรัตน ครูวีระชัย เล็กตระกูล

4,500 2,800

ÃÇÁ

3,100

12,723

14


Ê¶ÒºÑ ¹ â¤ÐÇÔ ª Ò¡Òà ÁÙ Å ¹Ô ¸ Ô Ë ÁͪÒǺŒ Ò ¹ 201 «ÍÂÃÒÁ¤Óá˧ 36/1 ºÒ§¡Ð» ¡·Á.10240 â·ÃÈÑ ¾ · 02 732 2016-7, 081 401 7744 â·ÃÊÒà 02 732 2811 ÍÕ à ÁÅ yoga.thaiyga@gmail.com àÇ็ º ä«· www.thaiyogainstitute.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.