photo: https://s-media-cache-ak0.pinimg.com/originals/9a/51/21/9a5121429d984738d4f12543dc9683b7.jpg
จดหมายข่าว
มีนาคม 2558
สารัตถะ
www.thaiyogainstitute.com
สารัตถะ ·Õ ่ » ÃÖ ¡ ÉÒ ÊÒÃºÑ Þ
กวี คงภั ก ดี พ งษ แก ว วิ ฑ ู ร ย เ ธี ย ร ธี ร เดช อุ ท ั ย วิ ท ยารั ต น นพ.ยงยุ ท ธ วงศ ภ ิ ร มย ศ านติ ์ นพ.สมศั ก ดิ ์ ชุ ณ หรั ศ มิ ์
¡ÃÃÁ¡Òà ¤Ø  ¡Ñ ¹ ¡‹ Í ¹
2
»¯Ô · Ô ¹ ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁ
2
º·¡Å͹
6
ÇÔ ¶ Õ â ¤Рlife itself
7
àÅ‹ Ò ÊÙ ‹ ¡ Ñ ¹ ¿˜ §
9
àÃ× ่ Í §¨Ò¡à¾× ่ Í ¹
11
¾Ñ ² ¹Ò¨Ô µ บั น ทึ ก โยคะ
14
กฤษณ ฟ ก น อ ย ชนาพร เหลื อ งระฆั ง ชุ ต ิ ม า อรุ ณ มาศ วรพจน คงผาสุ ข วรรณวิ ภ า มาลั ย นวล วิ ล ิ น ทร วิ ภ าสพั น ธ สมดุ ล ย หมั ่ น เพี ย รการ
ÊÓ¹Ñ ¡ §Ò¹
พรทิ พ ย อึ ง คเดชา วั ล ลภา ณะนวล สุ จ ิ ต ฏา วิ เ ชี ย ร
¡Í§ºÃÃ³Ò¸Ô ¡ ÒÃ
จิ ร วรรณ ตั ้ ง จิ ต เมธี ณั ต ฐิ ย า ป ย มหั น ต ณั ฏ ฐ ว รดี ศิ ร ิ ก ุ ล ภั ท รศรี ธนวั ช ร เกตน ว ิ ม ุ ต ธี ร ิ น ทร อุ ช ชิ น พรจั น ทร จั น ทนไพรวั น วิ ส าขา ไผ ง าม วี ร ะพงษ ไกรวิ ท ย ศั น สนี ย นิ ร ามิ ษ สุ จ ิ ต ฏา วิ เ ชี ย ร
ÈÔ Å »¡ÃÃÁ
กาญจนา กาญจนากร
สารัตถะ ¤Ø  ¡Ñ ¹ ¡‹ Í ¹ สวัสดีมีนาคม วันคืนผานไป สถาบันโยคะวิชาการยังคงทำหนาที่อยางแข็งขันในการเผยแพรโยคะ ตามตำราดั้งเดิม เพื่อการพัฒนาจิตใหแกผูคน และนับวันแนวทางในการเผยแพรและกลุมคนที่ใหการตอบรับ ยิ่งชัดขึ้นวาผูที่สนใจการเดินทางสูภายในเปนตนทุนเดิมอยูแลว ยอมพรอมที่จะเดินเขามาสูเสนทางนี้ แตในขณะเดียวกันผูที่สนใจโยคะเฉพาะในแงมุมอาสนะนั่นก็ไมไดหมายความวาผิดแตอยางใดเพราะจิตที่ดี ยอมอยูในรางกายที่สมบูรณแข็งแรง หากแตเมื่อวันคืนลวงไปเวลาในชีวิตเราเหลือนอยลงๆ และศักยภาพของกายที่นอยลงๆ เมื่อนั้นเราอาจมองหาหนทางเพื่อพัฒนาศักยภาพของใจ เพื่อยกระดับจิตใหสูงขึ้นๆก็เปนไดแลวคุณละ สนใจที่จะเดินทางเขาสูภายในบางไหม
»¯Ô · Ô ¹ ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁ â¤ÐÍÒÊ¹Ð¢Ñ ้ ¹ ¾× ้ ¹ °Ò¹à¾× ่ Í ¤ÇÒÁÊØ ¢ ÊÓËÃÑ º ¼Ù Œ à ÃÔ ่ Á µŒ ¹ ¨Ñ ´ ÇÑ ¹ ÍÒ·Ô µ  · Õ ่ 22 ÁÕ ¹ Ò¤Á 2558 àÇÅÒ 9.00 – 15.00 ¹.
ที่ชั้น 6 หอง 262 คณะมนุษยศาสตร มศว ประสานมิตรคาลงทะเบียน 650 บาท สนใจโทร.สอบถามรายละเอียดไดที่สถาบันโยคะวิชาการ â¤Ðã¹Êǹ¸ÃÃÁ ³ Ëͨ´ËÁÒÂà赯 ¾ Ø · ¸·ÒÊ ·Ø ¡ àÂ็ ¹ ÇÑ ¹ ¾Ø ¸ áÅÐ ¾ÄËÑ Ê àÇÅÒ 17.00 – 18.30 ¹. áÅÐÇÑ ¹ àÊÒÃ Ê Ñ » ´ÒË · Õ ่ Ê Õ ่ ¢ ͧ·Ø ¡ à´× Í ¹ àÇÅÒ 10.00 – 12.00 ¹.
ไมมีคาใชจาย รวมสมทบคากิจกรรมได ดวยการบริจาค ลงทะเบียนรวมกิจกรรมไดหนางาน â¤ÐÈÙ ¹  » ¯Ô º Ñ µ Ô ¸ ÃÃÁ ¾Õ ਠ´Õ ä «¹ ³ ÈÙ ¹  » ¯Ô º Ñ µ Ô ¸ ÃÃÁ ¾Õ ਠ´Õ ä «¹ (ºÒ§áÇ¡/¨ÃÑ Þ Ê¹Ô Ç §È 13) ·Ø ¡ ÇÑ ¹ ÍÑ § ¤Òà 10.30-12.00 ¹.
คาใชจาย : รวมสมทบคาใชจายดวยการบริจาค
2
ÊÒÃÑ µ ¶Ð
à» ´ÍºÃÁâ¤Рâ´Â Dr. R.S. Bhogal ¤ÃÙãËÞ‹ áË‹§Ê¶ÒºÑ¹ä¡ÇÑŸÃÃÁ ໚¹¡ÒúÃÃÂÒ áÅÐ ½ƒ¡ÊÁÒ¸Ô ã¹ËÑÇ¢ŒÍ From Yoga to Meditation ¨Ò¡â¤ÐÊÙ‹¨ÔµµÀÒÇ¹Ò â´Â¡Ó˹´¡Òà ÁÕ 2 Ãͺ ´Ñ§¹Õ้ Çѹ·Õ่ 12 ÁԶعÒ¹ 2558
บรรยายเวลา 17.00-20.00 น. ที่ มศว ประสานมิตร คาใชจาย : 500 บาท Çѹ·Õ่ 13-14 ÁԶعÒ¹ 2558
คาย 2 วัน 1 คืน บานผูหวาน สามพราน จ.นครปฐม คาใชจาย : 3,800 บาท ÃÒÂÅÐàÍÕ´à¾Ô่ÁàµÔÁ
http://www.thaiyogainstitute.com/ content/คอรส-จากโยคะสูจิตตภาวนา
3
“ครูกวีเลาวา Dr. R.S. Bhogal เปนครูสอนวิชา จิตวิทยาโยคะที่สถาบันไกวัลยธรรม ซึ่งเปนวิชาที่ สถาบันฯไมไดนำมาสอนที่เมืองไทย วิชานี้กลาวถึง จุดแข็งและจุดออนของแนวคิดทั้งจิตวิทยาตะวันตก และตะวันออก ไมไดโนมไปทางฮินดู ครู Bhogal สนใจในสมาธิมากการอธิบายเรื่องราวรวมถึง การนำสมาธิทำใหเราไดมุมมองที่เรียบงายของสมาธิ และงายตอความเขาใจถึงแมจะเปนสิ่งที่เรารูอยูแลว ก็ตาม ที่อินเดียครู Bhogal ไดนำสมาธิหรือสอน ใหนักศึกษาไกวัลยธรรมแมในวันหยุดหรือนอกเวลา เรียนนับเปนครูในอุดมคติของครูกวีเลยทีเดียว” (อางอิงจากรายงานการประชุมสถาบันโยคะวิชาการ ประจำเดือนกุมภาพันธ)
¡Ô ¨ ¡ÃÃÁà¤Ã× Í ¢‹ Ò Â â¤Ã§¡ÒÃͺÃÁ ªÇ¹¤Ô ´ ¶Ö § ªÕ Ç Ô µ ·Õ ่ à ËÅ× Í ¨Ñ ´ â´Âà¤Ã× Í ¢‹ Ò ÂªÕ Ç Ô µ ÊÔ ¡ ¢Ò áÅЪÁÃÁÇÔ ¶ Õ ¾ Íà¾Õ  § 21 -22 ÁÕ ¹ Ò¤Á 2558 ความเปนมา โครงการอบรมชวนคิดถึง ชีวิตที่เหลือ นำเสนอการยอมรับความตาย วาเปนสิ่งที่ปฏิเสธไมได การเจริญสติ เพื่อเตรียมพรอมกับความเจ็บปวย เผชิญกับความตายเปนสวนสำคัญที่สุดของชีวิต จึงนาจะไดนำมาเปนบทฝกควบคูไปกับเสนทางพัฒนา จิตสำหรับเตรียมพรอมเพื่อการใชชีวิตอยางไม ประมาท มีจิตใจมั่นคงในการศึกษาและฝกฝนตนเอง เพื่อการเจริญสติ เตรียมพรอมที่จะเผชิญกับชวงเวลา เปลี่ยนผานสำคัญที่สุดของชีวิต ตลอดจนการยอมรับ การพลัดพรากจากคนใกลชิดอยางสงบ ฝกโยคะ ฝกสติ สูมรณานุสติพัฒนากายและจิต ดวยวิถีโยคะ ที่เนนการมีสติรูสึกตัวขณะเคลื่อนไหว มีความ สอดคลอง กับแนวทางพัฒนาจิตวิถีพุทธและเอื้อ ประโยชนในการใชชีวิตประจำวัน อยางมีความสุข ทั้งทางดานกายภาพและจิตวิญญาณ “ถาคิดจะหัดวายน้ำเมื่อตกน้ำ อาจจะสายเกินไป” คุณจะไดอะไร 1.ฝกธรรมะและการเจริญสติงาย ๆ ที่ใชไดจริงใน ชีวิตประจำวัน แบบสบาย ๆ ไมเครียด 2.ทัศนคติตอการเผชิญความตายอยางเบิกบานและ ไมประมาท 3.โยคะอาสนะพื้นฐานที่สามารถนำไปฝกไดดวย ตนเอง 4.เติมกระปุกบุญ กลับบานดวยจิตแจมใส รางกาย สดชื่น โปรแกรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ชวนคิดถึงชีวิตที่เหลือ” วันเสารที่ 21 มีนาคม 2558 08.30-09.00 ลงทะเบียน/อาหารวางและเครื่องดื่ม /เขาที่พัก 09.00-10.00 ปฐมนิเทศ “แลววันนี้…ก็มาถึง ของคุณธนวไล เจริญจันทรแดง” และกิจกรรมกลุมสัมพันธ
ÊÒÃÑ µ ¶Ð 10.00-11.30 ความสำคัญการเจริญสติภาวนา – เพื่อปูพื้น ความสำคัญของการเจริญสติ แนะนำการเจริญสติ ตามแนวทางหลวงพอเทียน โดย พระอาจารยครรชิต อกิญจโน เจาอาวาสวัดปาสันติธรรม ชัยภูมิ 11.30-13.00 ถวายเพล และอาหารกลางวัน 13.00- 15.00 กิจกรรม “แนหรือไมแน” โดยทีมงานเครือขาย ชีวิตสิกขา และ ชมรมวิถีพอเพียง 15.00-16.30 “ขยับกาย-สบายจิต” กับโยคะอาสนะ 16.30-18.00 น้ำปานะ และพักผอนตามอัธยาศัย 18.00-21.00 สวดมนตทำวัตรเย็นรวมกัน กิจกรรม “มรณกรรมที่งดงาม” โดย ครูดล ธนวัชร เกตนวิมุต ประธานเครือขายชีวิตสิกขา วันที่อาทิตยที่ 22 มีนาคม 2558 05.30-06.30 สวดมนตทำวัตรเชา - สมาธิภาวนารวมกัน 06.30-07.30 “โยคะรับอรุณ” 07.30-09.00 ถวายภัตตาหารเชา และ อาหารเชา 09.00-11.30 บทเรียนการเจริญสติยามเผชิญความเจ็บปวย สรุปการเรียนรู การใหกำลังใจผูปวย โดย พระอาจารยครรชิต อกิญจโน 11.30-13.00 ถวายภัตตาหารเพล และอาหารกลางวัน 13.00-15.30 กิจกรรม“การชวยเหลือใหกำลังใจผูปวย ระยะสุดทาย รักษาจิตในสภาวะใกลตาย และการเยียวยาชวยเหลือญาติ” โดย พระอาจารยครรชิต อกิญจโน และ คุณธนวัชร เกตนวิมุต 15.30-16.00 สรุป แนะนำการเจริญสติ / มรณานุสสติ
4
ÊÒÃÑ µ ¶Ð ในชีวิตประจำวัน รับพรจากพระอาจารย และอุทิศบุญรวมกัน 16.00 รับน้ำปานะ พกทักษะ ใสกระเปา พาจิตแจมใส อิ่มบุญกลับบาน หมายเหตุ : กำหนดการอาจจะมีการเปลี่ยนแปลง บางตามความเหมาะสม สถานที่ ศูนยปฏิบัติธรรม พี.เจ.ดีไซน ซ.บางแวก61 แขวงบางแวก เขตภาษีเจิรญ กรุงเทพมหานคร 10160 รับสมัคร เฉพาะผูสนใจทั่วไปอายุระหวาง 20-60 ป ที่ยินดีใชเวลาเต็ม 2 วัน 1 คืน ในการเขารวม โครงการ รับสมัครจำนวนจำกัด 60 ทาน การแตงกาย เสื้อผาสีสุภาพ หลวมสบาย เหมาะสำหรับการนั่งพื้น และ ฝกโยคะ เนื่องจากการอบรมนี้จัดเปนธรรมทานไมมีคาใชจาย โดยยินดีรับบริจาคตามศรัทธารวมกับทานเจาภาพ ดังนั้นขอความกรุณาทานที่ลงทะเบียนแลวกรุณามา เขารวมจริงและแนะนำวาไมลงทะเบียนจองที่ไวเผื่อผู ที่ไมสนใจเขารวมจริง ทั้งนี้เพื่อเปนการใหโอกาส สำหรับ ผูอื่นที่ประสงคจะเขารวมกิจกรร อยาง จริงจังมากกวา การเดินทาง เดินทางดวยตนเองตามแผนที่ (จะสงใหพรอมกับ อีเมลที่ตอบรับ) สนใจ สงใบสมัครดวน ที่ E-mail address : jivitasikkha2@gmail.com การสมัครขอใหสมัครทางอีเมลนี้เทานั้น ไมสะดวกรับสมัครทาง Facebookหรือทางโทรศัพท ขอตกลงรวมกันในการเขารับอบรม ผูเขาอบรมอยูรวมกิจกรรมตลอดทุกชวงของการ อบรม ยกเวนผูมีปญหาสุขภาพอาจจะไมรวมในชวง ฝกโยคะ 1) ผูเขาอบรมพักคางรวมกันและไมเดินทางออกนอก สถานที่ หากมีกรณีฉุกเฉินเรงดวนกรุณาติดตอ ทีมงาน 2) ชวงเวลาหลัง 21.00 น. ถึง เวลาประมาณ 6.30 น. (หลังการทำวัตรเชาเสร็จสิ้น) เปนชวง ระยะเวลาของการ “ปดวาจา” เพื่อใหทุกทาน ไดพักผอนเพียงพอ
5
3) กรุณาจัดเตรียมของใช ขวดน้ำดื่ม ไฟฉายและ ยาประจำตัวใหพรอม และใชถุงผาใสของแทนถุง พลาสติกเพื่อกันเสียงรบกวนผูอื่น 4) หองอบรมและหองนอนเปนหองปรับอากาศ กรุณาเตรียมเสื้อผาที่สุภาพและอบอุนเพียงพอสำหรับ ตนเอง และสามารถลุกนั่งกับพื้นไดสะดวกสบาย (มีเกาอี้สำหรับผูสูงอายุ) สถานที่พักมีที่นอน ผาปู ผาหมและหมอนพรอมบริการ เตียงนอนเปนเตียง สองชั้นเปดโอกาสใหผูสูงอายุและผูมีปญหาสุขภาพ นอนเตียงดานลาง หองน้ำเปนหองน้ำรวมอยูบน อาคารชั้นเดียวกัน แตแยกหางจากหองนอน กรุณา แตงกายสุภาพระหวางเดินทางจากหองนอนไป หองน้ำ เนื่องจากพื้นที่สวนกลางทางเดินใชงาน รวมกัน และการอบรมนี้มีพระวิทยากรที่รวมใชพื้นที่ สวนกลาง 5) อาหารเปนมังสวิรัติ 2 มื้อ มื้อเย็นเปนน้ำปานะ ชา กาแฟ ที่สามารถชงดื่มไดเอง สำหรับทานที่ มีปญหา สุขภาพจริงๆ กรุณาเตรียมอาหารวาง มื้อเย็นไปสำรองไดเอง โดยสามารถนำฝากเก็บไวที่หองเตรียมอาหาร * ไมอนุญาตใหเก็บและรับประทานอาหารในหองนอนที่ พัก * 6) เตรียมเสื้อผาใหเพียงพอ ทำการการซักลางเทาที่จำเปน 7) เตรียมเสื่อโยคะหรือผาขนหนูสำหรับรองนอนพื้น เพื่อการฝกบริหารกาย-จิต 8) กรุณารักษาความสะอาดในทุกพื้นที่ของศูนยฯ 9) ขอความกรุณาปดเสียงอุปกรณสื่อสารขณะเขารับ การอบรม ขอตกลงและความรวมมือนี้เปนไปเพื่อใหการอบรม เกิดประโยชนสูงสุดตอกลุมผูเขารวมทุกคน และขอให ตระหนักวาการเขากลุมของทานมีคุณคากับเพื่อน รวมกลุมเปนอยางยิ่งเชนกัน ทางคณะผูจัดจึงขอ ความรวมมือและขอขอบคุณทุกทานมา ณ โอกาสนี้ รับรายชื่อลงทะเบียนถึงวันที่ 13 มีค. 58 สอบถามขมูลเพิ่มเติมไดที่ คุณวรรณวิภา มาลัยนวล (คุณออด) (084-643-9245) คุณสมศรี จตุรพิธพรชัย(คุณโตง) (081-689-9075) คุณสุภาพร ธนาพันธรักษ (คุณพร) 081-842-4391
ÊÒÃѵ¶Ð
º·¡Å͹
โลกมันก็เปนอยางนี้ มีทั้งนารักและนารังเกียจในคราวเดียวกัน อยาหนักใจไปเลย มันไมใชหนาที่ของเราหรอก ที่จะตองไปเปลี่ยนโลก กระทั่งไมใชหนาที่ของเรา ที่จะตองไปกาวกายชีวิตใคร เพราะหนาที่ของเรามีเพียงอยางเดียวเทานั้น คือเฝาดูทุกสิ่งที่มันเกิดขึ้น ภายในโลกใบเล็กของเรา ขัดเกลา ละวาง ใหมันบางเบา ในบางวันที่มันนารังเกียจมากกวานารัก แลวเมื่อเราตางทำหนาที่ของตนเองอยางเครงครัด เ มื่ อ นั้ น โ ล ก อ า จ ค อ ย ๆ เ ป ลี่ ย น ไ ป อนัตตา
6
ÊÒÃѵ¶Ð
photo: www.indiegogo.com
7
ÇÔ ¶ Õ â ¤Ð
Life Itself
ชนาพร เหลืองระฆัง
เสารหนึ่ง เมื่อปลายเดือนมกราคม วันนั้นเปนวันเงียบ ๆ ไมมีธุระจะตองออกไปไหน อยูบานทำขนมปง ขณะที่รอ พักแปงใหขนมปงขึ้นฟู เพื่อนก็สงขอความมาชวนไป ดูหนัง เรื่อง Life Itself บอกวา "ผูคนสรรเสริญมากมาย ไปดูกันมะ" เปนหนังสารคดีชีวิตของ Roger Ebert ซึ่งเขาเปนใคร ฉันไมรูจัก หนังมีรอบเดียวคือหาโมงเย็น อะ ไปก็ไป ถึงโรงหนังตอนหาโมงเย็นพอดี เพื่อนมาถึง กอนซื้อตั๋วรอไวแลว และ ฉันก็ไดรูจักกับ Roger Ebert นักวิจารณภาพยนตร นักขาวรางวัลพูลิตเซอร ที่จัดวา เปนตำนาน ในหนังเลาถึงชีวิตของโรเจอร ที่สนใจ การเขียนมาตั้งแตยังเปนเด็ก และ ทำงานเขียนตั้งแตอายุ 15 เปนคนอวน, ปากราย ออกจะกวน ๆ โดยเฉพาะกับ คูกัด Gene Siskelที่ทำรายการโทรทัศนดวยกัน ทั้งคู แตกตาง แตในความแตกตางนั้นเติมเต็มซึ่งกันและกัน จากที่กัดกันไมยอมปลอยกลับพัฒนามาจนถึงจุดที่เคารพ ซึ่งกันและกัน จีนเสียชีวิตไปกอนดวยโรคมะเร็งสมอง ในป 1999 จากการสัมภาษณเพื่อน ๆ และผูรวมงาน แสดงใหเห็นวาเขาเปนคนที่มีคนรักมากมาย และ รักเขา อยางจริงใจ บทวิจารณของเขาที่แมจะผาตรงจุด และ พาใหจุกได แตก็สรางสรรค เปนตัวจุดประกายให ผูกำกับหนาใหมไดแจงเกิดวงการ
มาถึงชวงทายของชีวิตโรเจอรพบวาตัวเองเปนมะเร็ง แตเขาไมเคยหยุดทำงาน โดยมีภรรยาคอยอยูเคียงขาง จนวาระสุดทาย โรเจอรไมไดปดบังอาการปวย เขาประกาศใหทุกคนไดรับรู ไมใชเพราะตองการใหคน มาเห็นใจ แตเพราะการจากไปของจีน ซึ่งเมื่อตอนที่พบ วาเปนมะเร็งจีนปดบังไวไมไดบอกใคร มีเพียงคนใน ครอบครัวเทานั้นที่รู แมแตโรเจอรที่ตอนนั้นเหมือน เปนพี่นองกันไปแลว ก็ไมทราบมากอนเลย มาทราบเอา ตอนที่จีนเขาโรงพยาบาล และ เสียชีวิตโดยที่โรเจอรไป เยี่ยมไมทัน จุดนาจะทำใหโรเจอรรูสึกวาควรเปดโอกาส ใหคนที่รักไดใชเวลาที่เหลือรวมกับเขา ไมใชมารูเมื่อ สายหรือเมื่อจากกันไปแลวโดยไมไดร่ำลา ฉันนั่งดูดวยความรูสึกหลายอยางผสมปนเป หนังแสดงถึงนิสัยที่กวนประสาท เอาแตใจของโรเจอร และ บทสนทนาโตตอบอยางไมยอมกันกับจีน จนเรียก เสียงหัวเราะออกมาดัง ๆ ไปจนถึงน้ำตาที่รื้นคลออยู ในดวงตา ไหลลงมาอาบแกมบางในบางชวงอยางเงียบ ๆ กับหลายแงมุมในการมีชีวิตอยูของโรเจอร สภาพของ เขาในชวงทายของชีวิตคือคนที่ตองนั่งรถเข็น เดินแตละ กาวเปนไปไดลำบาก ริมฝปากลางมีรูโหวใหญ เพราะไมมีขากรรไกรลาง ตองใหอาหารทางสายยาง แตนั่นไมใชสิ่งที่เรียกน้ำตาจากฉัน ไมไดเปนความรูสึก ที่สงสาร เพราะโรเจอรแสดงใหเห็นถึงมุมมอง ของการ มอบความเปนมิตร มองคนอื่นอยางใหเกียรติ และ เทาเทียม เขาเคารพตัวเอง ในขณะเดียวกันก็เคารพ คนอื่น ใชชีวิตอยางซื่อสัตยตอสิ่งที่ตนเองทำ เขาพยายามที่จะมีชีวิต และ ทำในสิ่งที่รัก แมการมีชีวิต อยูนั้นจะตองอยูกับความเจ็บปวดทางกายอยางมาก แตเขายิ้มอยูเสมอ จนถึงวันสุดทาย ที่เขาบอกออกมา ตรงๆ วา เขาไมไหวแลว และ ภรรยาที่พยายามจะ ยื้อชีวิตไวยอมปลอยเขาไป เปนชีวิตที่สวยงามตั้งแต เริ่มตน จนถึงบั้นปลาย ซึ่งโรเจอรบอกวามันเปนการ จากไปแคชั่วคราวเทานั้น นั่นตางหากที่จับใจ ในฉากนั้น ฉันรับรูถึงความรูสึกของเพื่อน ที่นั่งอยูขาง ๆ ฉันคิดวาฉากนั้นไดปลอบประโลม ใจใหกับเธอ เราไมไดหันมามองหนากัน ตางปลอยให ตัวเองอยูกับความรูสึกที่เกิดขึ้นที่แมจะเหมือน หรือ อาจจะตางกัน แตที่มีที่มาจากที่เดียวกันคือจอ ภาพยนตรที่อยูขางหนา ฉันไมมีบทสรุปใด ๆ ในบทความนี้ เพราะชีวิตยังตองดำเนินของมันตอไป เหมือนกับชื่อของหนังเรื่องนี้ Life Itself
photo: http://eeryelegance.blogspot.com/2011/01/ mandala-circular-symbol-of-wholeness.html
ÊÒÃѵ¶Ð
8
ÊÒÃѵ¶Ð àÅ‹ Ò ÊÙ ‹ ¡ Ñ ¹ ¿˜ § (2)
àÅ‹ Ò ÊÙ ‹ ¡ Ñ ¹ ¿˜ § ศิษยเกาหนาใหม
อยางที่รูๆกันวาที่หอจดหมายเหตุทานพุทธทาส (สวนโมกขกรุงเทพฯ) มีสอนโยคะเพื่อเกื้อกูลการปฏิบัติธรรม ทุกพุธกับพฤหัส วันนี้ก็เปนอีกวัน ที่เรามาทำหนาที่สัมภาษณผูเรียน วันนี้เปนผูเรียนวันพฤหัส ที่ตองบอกวาเปนพฤหัสเพราะวา พุธกับพฤหัสเคาสอนตางกัน อาจมีบางคนรูแลว แตที่ยังไมรูก็จะไดรูก็ตอนนี้ละ พุธสอนเฉพาะ “อาสนะ” พฤหัสสอน “อาสนะ” ครึ่งแรกของเวลาทั้งหมด สวนครึ่งหลังสอน “ปราณายามะ” มันก็ประมาณเรื่องลมหายใจอะนะ เขาเรื่องละกัน ผูเรียนคนนี้ เคาคือ “คุณตู” มาดูกันวา คุณตูวาไง เรา : มาฝกโยคะนานยังคะ เคา : ตั้งแตเดือนกุมภาคะ เรา : ของปนี้เหรอคะ เคา : ของปนี้คะ เรา : ทำไมมาฝกละคะ เริ่มจากอะไร เคา : สนใจ อยากดูแลสุขภาพตัวเอง เรา : แลวทำไมถึงเลือกโยคะละคะ เคา : ก็มันเหมาะกะวัยเราอะคะ เรา : ภาพที่รูจักโยคะกอนหนาที่จะมาฝกเมื่อเดือน กุมภาคือเปนยังไง เคา : ไมไดคาดหวังวาภาพจะเปนยังไง แตรูวาโยคะมันอาจจะเปนแบบสตูฯ หรืออาจจะเปนแบบนี้ เรา : แลวไมมีภาพเนี่ย หมายถึงไมรูจักโยคะดวยซ้ำเหรอคะ เคา : รูจักวามันยืดเสนยืดสายกลามเนื้อ แตไมรูวาจะเปนหนักเปนเบา อะไรอยางเงี้ย เรา : แลวก็ ทำไมถึงรูวาที่นี่มีโยคะ เคา : เพราะวามาสวนโมกขเขาปที่ 5 แลว มาทำกิจกรรมอยางอื่นทุกเดือน เรา : แลวในวันที่รูวาสวนโมกขมีโยคะ รูจากอะไรคะ เคา : รูจักแผนโฆษณาของสวนโมกขอะคะ
9
เรา : หมายถึงวาเคาติดอยูแลวเดินไปอาน เคา : ใช แลวก็ที่เคาแจกมีวางอยู อานๆดูก็ เออ มีโยคะดวย เราก็สนใจลองมาดู เรา : จากเดือนกุมภามาถึงตอนนี้เนี่ย ตอเนื่องมั้ยคะ เคา : ตอเนื่องนะ นอกจากมีธุระ แตนอยมากที่ไมไดมา มาแทบทุกครั้ง เรา : แลวมาเฉพาะวันไหนมั้ยคะ เคา : มาทั้งพุธ พฤหัส เรา : เห็นความตางระหวาง 2 วันนี้มั้ยคะ เคา : ก็เห็นนะ เพราะวันพฤหัสก็คือจะชวยในเรื่องของลมหายใจ ซึ่งมันสามารถตอยอดในการที่เราจะไปปฏิบัติธรรมเพิ่ม มากขึ้นได สวนวันพุธเนี่ยเราไดแนๆ ก็คือกลามเนื้อชั้นในไดออกกำลังกาย แลวก็ทำใหเรานอนหลับดีขึ้น กลามเนื้อยืดหยุนดีขึ้น เรา : ออ ปฏิบัติธรรมอยูแลว เคา : ใช จะเห็นความตาง แลวเราก็สามารถเอาไปใชประโยชนในชีวิตประจำวันได “เลยทีเดียว” ตองพูดอยางเงี้ย เรา : โดยฉพาะของวันพฤหัสเหรอคะ เคา : ใช คือคนอื่นไมทราบนะคะ แตตัวเองเนี่ยรูเลยวา อันนี้ของโยคะนะ อันนี้ของพุทธนะ เราสามารถแยกความแตกตางไดจากการที่ฝก เรา : จากการที่เรามาตั้งแตเดือนกุมภาเนี่ยนะคะ
ÊÒÃѵ¶Ð รายละเอียดในความเปนวิถีโยคะเนี่ย ราเห็นอะไรเพิ่มขึ้นจากที่ไมรูเลย เคา : แงไหนละคะ แงรางกายหรือจิตใจ เรา : เอาทั้งสองละคะ ถาคิดวามันไดทั้งสอง เคา : ถาแงรางกายก็คือ เราไดออกกำลังกายเหมาะสมกับวัย (อันนี้เรานึกในใจวา อาว โยคะไมใชการออกกำลังกายนี่นา แตก็แอบคิดตอวา เคาคงไมไดนึกถึงคำอื่น) แลวก็ดานจิตใจก็คือ เรานิ่งขึ้น สงบขึ้น แลวก็มันทำใหเวลาที่เราไปทำอะไรหรือคิดอะไรที่คอนขา งเร็ว มันจะ Down ลง มันเปนไปเองโดยอัตโนมัติถาเราไดฝกบอยๆ นี่ความคิดเห็นสวนตัวนะคะ และอีกอยางถาเราหมั่นสังเกตเราจะรูวามันได เรา : แลวเปนคนชางสังเกตอยูแลวปะคะ เคา : ดวย เรา : แลวรูสึกวาระหวางกายกับใจ ไดอะไรมากกวากัน เคา : ใจเนี่ยมันไดความสงบ และมันตั้งมั่นมากขึ้น ไมขี้หงุดหงิด ไมขี้โมโห มองโลกอยางวางเฉย ไมไดเตนไปตามอารมณของใครและของตัวเองดวย เรา : ความเปลี่ยนแปลงนี้เกิดขึ้นหลังจากที่เราฝก โยคะเหรอคะ
เคา : ดวยสวนนึง โดยพื้นฐานเนี่ยเรามีอยูกอน แลวดวย แตเราไมไดฝกดูลมหายใจ เราฝกดวยวิธีการอื่น แตนี่มาดูลมเพิ่มขึ้น เราก็จะไดอีก Step นึง มันก็จะตอยอดของเราไปดวย เรา : แลวหมายความวา อัตราสวนระหวางกายกับใจ เห็นใจชัดกวารึเปลา เคา : ก็ จริงๆแลวเนี่ย มันแลวแตเหตุการณที่เรา เจอนะ บางทีถาเราเดินอยูก็ดูกายเราไป แตถาเราทำสมาธิ เราก็มาดูใจ ดูลมหายใจ แตวาเวลา อะไรมากระทบเนี่ย มันจะตองดูใจกอน เพราะมัน กระทบที่ใจกอน เราจะรูทันทีเลยอะไรเงี้ย เรา : อยูบานไดฝกเองบางมั้ยคะ หรือเฉพาะที่นี่ เคา : ก็บาง เพราะวาบางทีเราไมไดฝกเปนรูปแบบ บางทีทำงานบาน เราก็ฝกของเราไปดวย เรา : แลวก็ยังคงคิดวา จะยังฝกที่นี่ตอไป เคา : ถาที่นี่จัด ก็จะมาเรื่อยๆ เรา : หลายเดือนที่ผานมา เห็นขอเสียอะไรของ โยคะมั้ยคะ เคา : ขอเสียเหรอ แทบจะไมมีเลยนะ นอกจาก คนที่เคารูสึกวา “ชั้นอยากทำใหได” ถาคิดอยางงั้น ก็ผิดแลวอะ เพราะวา เราไมไดดูตัวเราเลย “ชั้นอยาก ทำได เอ ทำไมคนอื่นทำได ชั้นทำไมไดทานี้” ซึ่งถาคิดแบบนั้นมันก็ไมถูกตองตั้งแตคิดแลว เรา : แลวมีคำแนะนำอะไรที่จะฝากใหเรามั้ยคะ เคา : ก็ดีอยูแลวนะ เพราะครูแตละคนมีเทคนิค ที่ไมเหมือนกัน คนที่ไดประโยชนสูงสุดก็คือผูเรียน ผูเรียนนี่จะไดเทคนิคหลากหลายมาก ซึ่งตรงนี้เปน ขอดีนะ เรา : บางทีนักเรียนอาจจะรูสึกวา เปลี่ยนครูอีกและ เมื่อไหรชั้นจะกาวหนา เคา : ไมใชนะ สำหรับคนอื่นไมรู แตสำหรับตัวเอง นะ ไมใช เพราะความหลายหลายจากประสบการณ ของครูเอง เทคนิคตางๆ ตรงเนี้ยผูเรียนไดประโยชน เยอะ แลวเราก็เอามาปรับสิ ใหเขากับเรา เรา : แปลวา มัน Click กะชีวิตเรา เคา : ใช เรา : มันเอื้อตอการปฏิบัติธรรมจริงๆ เคา : ใช แลวก็จบบทสัมภาษณตรงนี้ แยกยายกันไปปฏิบัติภารกิจ คราวหนา สัมภาษณใครไดอีก มาเจอกันใหมนะ บาย บาย
10
àÃ× ่ Í §¨Ò¡à¾× ่ Í ¹
ÊÒÃѵ¶Ð ¤ÇÒÁµŒ Í §¡ÒÃ·Õ ่ µ ‹ Ò §¡Ñ ¹ (µÍ¹¨º)
ยล(ธรรม)ชาติ
ที่ผูเขียนไดเลาประสบการณในการสอน/ นำฝกที่มีอุปสรรคบาง ที่ผูบริหารในองคกรนึง ตองการ ฝกแนวทางของตนเทานั้น ทั้งที่สมาชิก สวนใหญตองการฝกในอีกแนวทางหนึ่งและยังรวมถึง ขอจำกัดในดานสุขภาพ แตไมมีทานใดกลาแยง ผูเขียนจึงไดปรึกษาหารือกับผูประสานงานที่ไดติดตอ แตแรกวา เราคงตองฟงเสียงของคนสวนใหญ เพราะ การนำโยคะเขาไปปนกิจกรรมเพื่อสุขภาพทางกายและ ใจก็เพื่อมวลสมาชิกพนักงานไมใชหรือ แลวเราจะไม ฟง เสียงสะทอนมาจากพนักงานบางหรืออยางไร ดังนั้น ในคลาสที่เราไดตกลงกันก็คือ ไดแจงกับพนักงานทุกคนวาวันนี้จะนำฝกในอีกรูปแบบ นึง ซึ่งหากทานใดรูสึกวา ไมเหมาะกับรางกาย ของตนก็สามารถพักอยูในอิริยาบถตางๆ ได หากอาสนะทาใดที่คิดวาสามารถทำได ไมกระทบ ตอขอจำกัดของรางกายตนเองก็ลองทำดู ซึ่ง พนักงานทุกทานก็ใหความรวมมือเปนอยางดีโดยฟง เสียงรางกายตนเปนหลัก บางทานก็นอนผอนคลาย บางทานก็ทำอาสนะที่ตนเองชอบ พัก เพราะในการ ทำงานที่เหนื่อยลาตอรางกาย จิตใจและสมอง มาแลวทั้งวันนั้น คราวนี้ในสวนของผูบริหารทานนั้น พอไดฝกตามที่ตนตองการแลว คือ ไดฝกทาที่ยากขึ้น คางนานกวาเดิมและฝกทาเคลื่อนไหวอยางตอเนื่องไม หยุด ซึ่งตางกับคลาสเดิมๆ ที่ฝกแบบมีสลับ ชวง 20 นาทีแรกยังเปนไปไดดวยดี ดูมีพลัง สดชื่น แตหลังจากนั้นแลวเริ่มแสดงออกถึงความเหนื่อยลา เริ่มเคลื่อนไหวไมทัน และคางไดไมนานเพียง 2-3 ลมหายใจก็คลายทาทันที จึงไดเขาไปสอบถาม วาเปนอยางไรบาง ผูบริหารทานนั้นก็แจงวา คงลาไปสำหรับเขา และไดรับรูวาอาสนะ ที่ตนเอง ตองการนั้น อาจไมเหมาะสมกับตนตามที่ปรารถนา เมื่อไดผานประสบการณตรงนี้แลวจึงสามารถยอมรับ ศักยภาพของรางกายตนเองได อีกประการนึงคือ ผูบริหารคงไดเห็นวาชวงขณะที่ฝกนั้น มีเพียงตนเอง ที่ฝกอาสนะแบบนี้ จึงไมสะดวกใจที่มีตนเองไดฝก อยูเพียงคนเดียว และเริ่มฟงผูอื่นมากขึ้น
11
สรุปแลว นคลาสโยคะนี้จึงไดกลับมาฝกและ ดูตาม เสียงสวนใหญเชนเดิม และเรียนรูไปพรอมๆ กัน หากเรายังตองเจอการเรียนการสอนที่ ความตองการที่หลากหลายเชนนี้ หนทางที่จะรวมฝก กันดวยดีมีสุข ก็ตองทำใหมีดุลยภาพเกิดขึ้น ในชั้น เรียนนั้น เปาหมายที่ตองการในการฝกโยคะจึง เปนไปตามวัตถุประสงคที่องคกรนั้นๆ ตองการ
â¤Ðã¹âçàÃÕ Â ¹ÍÁÒµÂ¡Ø Å
แมตัวดี
รวมกลุมฝกโยคะบรรยากาศสบาย บนพื้นที่ ของอาคารอนุบาล รายลอมดวยตนไมใหญหลากหลาย บนสนามทราย วันนี้คุณครูชาวอินเดีย (Teacher Sunil) เปนผูสอนพวกเรา คุณครูผูมีรอยยิ้มแทบตลอด เวลาใหกับทุกคน เริ่มตนดวยการกลาวสวัสดี และ เปดเพลงบรรเลง ตลอดชวงเวลาที่ฝกอาสนะ เพลง บรรเลงหรือเสียงมันตรานี้ เพื่อปรับคลื่นสมอง ใหต่ำลง หรือผอนคลายความตึงรั้งในจิตใจคนเรา เพลงมีหลายทำนองแตทุกทำนองมีเพียงคำ 6 พยางค คือ “บาบา นัม เควาลัม” BABA NAM KEVALAM แปลวา ความรักมีอยูทุกหนแหง (Love is everywhere) เรามีความรักใหกับตัวเองและทุกสรรพสิ่ง ทุกสิ่งที่ฉันเห็น ทุกสิ่งที่ฉันสัมผัส ทุกสิ่งที่ฉันรูสึก ทุกสิ่งที่ฉันไดยินลวนแลวแตเปนสวนหนึ่งของความรัก ความเมตตาที่ยิ่งใหญ คุณครูนำฝกอาสนะหลากหลาย ตั้งแตบริหารขอตอทุกสวนของรางกาย อบอุนรางกาย แลวจึงเขาสูอาสนะตางๆ มีทาตนไม ตนตาล ภูเขา ทานักรบ ทาผีเสื้อ ทาชิงชา โทรศัพท ทาอุมเด็ก ทาคันไถครึ่งตัว ทาตั๊กแตน ทางู ฯลฯ โดยคั่นอาสนะและจบลงดวยทาศพ (ทานอนตาย) เมื่อคุณครูปดเครื่องเลนเทปแลวก็นำ พวกเราลุกยืนขึ้นเพื่อบริหารรางกายตอ คราวนี้พวก เราเปลงเสียงรอง “บาบานัม เควาลัม” พรอมกัน ในขณะที่เคาะปลายฝาเทา บนพื้นซึ่งก็คือบนเสื่อผืน นอยๆ สบายผิวสัมผัสที่ใชเปนอาสนะสำหรับที่นี่ เราสลับปลายเทาซายขวาขณะชูมือขึ้นเหนือศีรษะหรือ พนมมือไวระดับอก เปนการทำสมาธิดวยเสียงเพลง ตาม แนวนีโอฮิวแมนิส ทำให เกิดความสงบในใจ อยางลึกไดโดยงาย เมื่อจบรอบของทำนองเพลงแลว คุณครู นำนั่งฝกสมาธิดวยมันตราดวยเสียงเพลง Celestial Kiirtanหรือเรียกวาการทำคีรตาน (Kiirtan) การฝกเปนกลุมเชนนี้ทำใหเกิดพลังความรักความ เมตตาที่ยิ่งใหญมหาศาล เปนคลื่นสมองต่ำที่รวมกัน แผออกมาเกื้อกูลสรรพสิ่งรอบๆ อาณาบริเวณ แลวจากนั้นเราจะไดรับแจกชุดคำกลาว Supreme Command ของทาน ศรี ศรี อานันดามูรติ (ShriiShriiA’nandamu’rti) เปนคำอธิบาย การทำ สมาธิ แนวคีรตาน หรือการทำสมาธิดวย เสียงเพลง มันตรา
photo: http://www.doujindorm.plaster-studio.com/viewtopic.php?f=14&t=437
ÊÒÃѵ¶Ð
และเพลงภาษาสันสกฤตที่ทางโรงเรียนไดจัดพิมพคำ อานเปนภาษาอังกฤษแปลความหมายเปนภาษาไทยไว อยางประณีต สุดทายคุณครูนำฝกการเตนเกาชิกิ (Kaoshikii) หรือการฝกสติแบบนีโอฮิวแมนนิส เปนการเตนเพื่อพัฒนาทุกระดับจิต ไลตั้งแตจิตสำนึก จิตใตสำนึกและจิตเหนือสำนึกของมนุษย เกาชิกิมา จากคำภาษาสันสกฤตวา kosaแปลวาระดับจิตของ มนุษย เด็กๆ อนุบาลถึงมัธยม เตนกันทุกวัน ผูใหญ อยางเราก็ตองเตนไดเชนกัน...(ลูกวัยอนุบาลของฉัน เรียกอยางมั่นใจในตนเองวา วันนี้หนูเตนเกาสะกิด นำใหเพื่อนดูคะ!...) ถึงบรรทัดนี้ ขอเชิญผูสนใจโยคะ มาลอง สัมผัสโยคะแบบชาวอมาตยกุลไดทุกวันเสาร เวลา 08.00-10.00 น. ฉันเองอยากเรียกวาเปนโยคะ มิตรภาพ ไดสัมผัสบรรยากาศธรรมชาติ การฝกปฏิบัติ โยคะที่ใหคุณคากับรางกายและจิตใจ เพราะเจาของ โรงเรียน ซึ่งก็คืออาจารยเกียรติวรรณ และคุณครูกบ อมาตยกุล เปดใหเขามาเรียนรูมาฝกกัน โดยไมมีคา ใชจาย ดวยเจตนารมณในการพัฒนาและเห็น คุณคา ในตัวมนุษยอาจารยทั้งสองผูมีจิตใจกวางใหญ ใจดียังคงมุงมั่นที่จะสรางเด็ก สรางคนใหดีและเกง สรางสังคมที่งดงามและอบอุนอยางมั่นคงอยูในรั้ว โรงเรียนอมาตยกุลกลางเมืองหลวงนี่เอง
12
ÊÒÃѵ¶Ð âÂ¤Ð¡Ñ º ¡ÒÃàÃÕ Â ¹ÃÙ Œ µ Ñ Ç àͧ
อโณทัย โสมา รับรูไดดวยตัวเอง จิตใจเบาสบาย ทำใหเรา
ชีวิตตั้งแตวัยเด็กจนถึงวัยปจจุบัน รูสึกวา ชีวิตเรานี่หนอชางเปนอยูแบบกลางๆเสียจริง เกิดเปน ลูกคนกลาง เรียนหนังสือก็ปานกลาง ทำงานและเลี้ยง ตัวเองไดก็แบบกลางๆ สบายๆ ไมเคยประสบปญหา หรือ มีความทุกขอยางแสนสาหัสไมวาจะทางกาย หรือทางใจคิดๆ แลวก็นาพอใจแลวแตในความรูสึกลึกๆ เหมือนขาดอะไรบางอยางเคยถามตัวเองวา“เมื่อเราไม ไดมีปญหาหรือความทุกขอะไรแลวความสุขของเราอยู ไหน”ความคิดนี้ก็ผุดขึ้นมาเปนครั้งคราวจึงเริ่มหา คำตอบใหตัวเองแตยังไมจริงจังนัก (หาแบบกลางๆ อีกนั่นแหละ) ชวงชีวิตหนึ่งดวยหนาที่การงานทำใหตัวเอง มีโอกาสไดเดินทางไปหลายประเทศซึ่งหลายแหงขาด แคลนไปเสียทุกอยาง เห็นผูคนมากมายที่ประสบความ ทุกขยาก ถูกทำรายรางกาย ถูกทอดทิ้ง ไมมีอาหาร จะกิน ไมมีแผนดินที่จะอยู สารพัดของความไมสะดวก ทั้งทางกายและทางใจก็จะเกิดความรูสึกวาเราเกิดมา สบายอยางนี้ยังจะคิดวาขาดอะไรอีก ทั้งสองความ รูสึก ก็ยังผุดขึ้นมาเปนเปนระยะๆ จึงไดเริ่มใสใจที่ จะหาทาง ออกใหตัวเองมากขึ้น ดวยการฝกสมาธิ กรรมฐานภาวนา เดินเทา อานหนังสือ เสาะหาขอมูล หลากหลายพอสมคว ซึ่งก็เหมือนๆจะใชแตก็ยังไมใชทั้งหมด จนกระทั่งไดมีโอกาส เขาเรียนหลักสูตรครู โยคะ กับสถาบันโยคะ วิชาการ ซึ่งเรียนตามตำรา โบราณของปตัญชลีโยคะ เนื้อหา ประกอบดวยการฝก อาสนะฝกปราณ กริยา มุทธาและ พันธะ รวมทั้ง เรียนประวัติความเปนมาของโยคะเสริม ดวยการเรียน กายวิภาคที่ทำใหเห็นวาอวัยวะตางๆ ในรางกายวา ทำงานสัมพันธกันอยางไร พอเรียนไปก็รูสึก เลยวา นี่แหละคือสิ่งที่ทำใหไดคำตอบกับตัวเองเรื่อง ความสุขบรรยากาศหองเรียนที่นี่สนุกมีชีวิตชีวา เปดกวาง อิสระ เต็มไปดวยมิตรไมตรี เปนการเปดโลกทัศนใหม ในเรื่องโยคะไปเลย ที่นี่ทำใหไดรูความหมายแทจริง ของโยคะ และเปาหมายสูงสุดของการฝกโยคะ คือการเขาสู สมาธิเพื่อการหลุดพนในที่สุด การฝก อาสนะเปนการ ประสาน กายและใจไปพรอมๆ กันจิตใจ จดจออยูแตภายใน รางกาย รับรูและยอมรับความจริง ที่เกิดขึ้นกับรางกาย ไมวา จะเปนอาการหนัก ทึบ ตึง โลง เบา สงบ ไมมีการ ฝนหรือบังคับ ไดเทาไหร ก็เทานั้นเมื่อเราฝกอยางตอเนื่อง และสม่ำเสมอ จะเกิดความเปลี่ยนแปลงบางอยางที่เราจะ
13
สามารถจัดการกับอารมณและสถานการณไดดี ความคิดยุงยากซับซอนลดลง เขาใจและยอมรับผูอื่น ไดงายขึ้น รูจักชื่นชมสิ่งเล็กนอยรอบตัว และไมตัดสิน ผูคนรอบขางวาผิดหรือถูกจากมุมมองและความคิดของเรา ตัวดิฉันเองเลนโยคะมานานพอสมควร กับสอง- สามสตูดิโอ รวมทั้งเลนตามซีดี หรือหนังสือ เลนๆ หยุดๆ อยางตอเนื่อง ทุกครั้งที่เลนก็จะรูสึกสบาย เนื้อสบายตัว สดชื่น แลวก็จบเปนครั้งๆ ไป เมื่อตัดสินใจมาเรียนหลักสูตรครูโยคะกับสถาบันโยคะ วิชาการ ผานการฝกอาสนะทาพื้นฐาน 14 ทา ปราณ กริยา พันธะ ของสถาบันโยคะวิชาการ หลังจากจบคายที่ 1 และครูบอกวาใหฝกอาสนะเปน ประจำและตอเนื่อง แลวใหสงบันทึกสั้นๆ วารางกาย และจิตใจเปนอยางไร ดิฉันมีขอดีอยูอยางหนึ่งคือ ถาเรียนหรือฝกอะไรดิฉันจะ ทำตามทุกอยาง หลังจาก การฝกอาสนะ และปราณ อยางตอเนื่องตามแบบ ของสถาบัน ชวงแรกๆ ดิฉันก็จะสังเกตและใหความ สำคัญกับรางกายวาอาสนะ แตละ ทามันเกร็งหรือคลายอยางไร บางครั้งก็หงุดหงิดวา วันนี้ทำอาสนะ ทานี้ แลว ทำไดไมดี หงุดหงิดแบบไมรูวา ตัวเองหงุดหงิด เปนอยางนี้จนถึงสัปดาหที่สี่กอน จะไปคายที่สอง ดิฉันและเพื่อนรวมงานถกเถียงกัน เรื่อง สถานการณ ทางการเมืองและเพื่อนรวมงานก็ปรี้ดแตก ใสดิฉันแบบ ไมยั้ง ชั่วขณะที่ดิฉันไดยินสิ่งที่เธอ พรางพรูออกมา แบบยั้งไมทันนั้นเอง ดิฉันก็รูสึกตัวเหมือน กับมีอีก คนหนึ่ง ซึ่งมองเห็นดูตัวเองอยูวาเธอจะโตตอบ ยังไง แลวก็ตัวดิฉันก็ตอบวาเธอจะตอบโตไปทำไม ก็แค อธิบายสิ่งที่เราตองการบอกเทานั้นเองแลวดิฉันก็ตอบขอโต แยงไปแบบธรรมดามากพูดจบเพื่อนคนนั้นก็นิ่ง และไมพน อะไรตออีก สวนดิฉันก็นิ่งฟงเสียงตัวเอง แตมันไมมีความ โกรธหรือโมโหอยูเลย ซึ่งถาเปน เมื่อกอนดิฉันไมปลอย ใหเธอลอยนวลเด็ดขาด จากวัน นั้นดิฉันก็เริ่มสังเกต ตัวเองมากขึ้น ขอบคุณสถาบันโยคะวิชาการ ที่จัดใหมี โครงการนี้ ถึงแมวาโยคะจะแตกแขนงผิดเพี้ย ไปขอ เดิม มากมายแคไหน ตัวเองยังเชื่อวายังมีผูคนจำนวน ไมนอยที่ ยังแสวงหาหนทางของชีวิต และโยคะสูตร ดั้งเดิมนี้ก็พรอม ที่จะใหผูคนจำนวนนอยเหลานี้คนพบ เพื่อจะนำพาพวกเขา ไปสูเสนทางที่จะสุข สงบและ หลุดพนจากความทุกขรวม ทั้งตนเองที่ไดนอมรับเอา โยคะมาไวเปนสวนหนึ่งของชีวิต แมวาหนทางจะยังหางไกลกับจุดมุงหมายสูงสุดของโยคะก ตาม
ÊÒÃѵ¶Ð
¾Ñ ² ¹Ò¨Ô µ âÂ¤ÐºÑ ¹ ·Ö ¡
กวี คงภักดีพงษ
ปนี้ สถาบันโยคะวิชาการเปดอบรมครูโยคะ เพื่อการพัฒนาจิตหลักสูตร 110 ชั่วโมงตั้งแตปลาย เดือนมกราคมไปถึงกลางเดือนมีนาคม นักเรียนมีทั้ง จากกรุงเทพ และตางจังหวัด มีทั้งนักเรียนที่สนใจเรื่อง สมาธิจริงจังรวมถึงผูที่เปนครูสอนทาโยคะเพื่อสุขภาพที่ สนใจเรื่องโยคะตามตำราดั้งเดิม เราเขาคายกันสี่ครั้ง เปนคาย 3 วันบาง 4 วันบาง ในคายเนนการฝกปฏิบัติ ทาอาสนะพื้นฐาน ฝกควบคุมลมหายใจแบบโยคะ ฝกเทคนิคการกดลอค ที่ชื่อวามุทรา-พันธะ ฝกทำการชำระลางกาย (ใจ) ที่ชื่อวากิริยา ฯลฯ พอจบคาย นักเรียนแยกยาย กันกลับภูมิลำเนา เราฝากการบานใหผูเรียนเขียนบันทึก ประจำวัน โดยกำหนดสงทุกวัน ซึ่งทุกคนมีเฟซบุค มีไลนอยูแลว ทำใหการสงการบานเปนไปอยางสะดวก และทำใหครูคอยดูแลนักเรียนไดตลอดเวลาแมไมไดอยู ใกลกัน ในการบาน เราใหนักเรียนฝกทาโยคะทุกวัน และกำหนดใหนักเรียนบันทึกประสบการณ ความรูสึก ตางๆ ที่เกิดขึ้นจากการทำทาโยคะตามแนวทาง ตำรา ดั้งเดิม ใหนักเรียนรูจักที่จะสังเกตตัวเองวาขณะกำลัง ทำทาเกิดอะไรขึ้นกับรางกายบาง กลามเนื้อสวนไหนตึง สวนไหนเจ็บ สวนไหนผอน สวนไหนสบาย ใหคอย สังเกตจนมีทักษะ จนเปนนิสัยไดยิ่งดีเพื่อจะไดเปนคนที่ มีความรูสึกตัวไดตลอดเวลา ทั้งขณะทำทาโยคะและแม ขณะที่ไมไดทำทาดวย เพราะพื้นฐานของการมีสุขภาพ ดีก็คือการรูจักความรูสึกของรางกายนี่เอง ขณะเดียวกัน นักเรียนคนไหนจะบันทึกสภาวะ อารมณในชีวิตประจำวันดวยครูก็ยินดี เพราะโยคะ ไมไดเนนที่กายหากแตเนนที่อารมณ เนนที่จิต การเฝาดู ความเปนไปของอารมณ ของจิตใจในวิถีชีวิต ชวยใหนักเรียนรูจักอารมณของตนเองดีขึ้นกลายเปนวา ยิ่ง ทำการบาน นักเรียนยิ่งบันทึกภาวะอารมณ ยิ่งสนใจเรื่องจิตใจของตนเอง เพราะสวนใหญไมคอย ไดใสใจอารมณ จิตใจของตนเองอยางจริงจังมากอนเลย สิ้นเดือนกุมภาพันธ การอบรมผานไป 1 เดือนเต็มแลว เมื่อดูจากการบาน ผมพบวานักเรียนหลายคนมีความ เปลี่ยนแปลง ไมเพียงรางกายที่สมดุลขึ้นจากการ ทำทาอาสนะ แตรวมถึงภาวะอารมณที่มีความมั่นคง มากขึ้น
บางคนสารภาพตอนแรกไมเขาใจวาฝกโยคะทำไมตอง เขียนบันทึก ครั้นเวลาผานไป จึงพบวาการทบทวน ความรูสึกจาการทำทาอาสนะอยางสม่ำเสมอเพื่อจดลง ในไดอารี่ชวยใหเขาทำทาโยคะไดกาวหนาขึ้นอยางเห็น ไดชัด เพราะไมใชแคสักแตทำแตตองคอยสังเกตความ รูสึก ตางๆ ที่เกิดขึ้นเพื่อเอามาบันทึก ทำใหเกิดความ รับรูที่ชัดขึ้นเมื่อทำทาเดิมในวันถัดไป รวมไปถึงเรื่อง ของอารมณ ที่การจดบันทึกชวยใหนักเรียนใสใจ กับอารมณตนเองไดดีขึ้น บางคนเขียนวา “หนูไมรูเลย วาหนูมีอารมณแบบนี้ในตัวเองดวย! ซึ่งพอหนูรูแลว หนูก็รูวาตองทำอยางไรกับอารมณนั้น”
14
ÊÒÃѵ¶Ð ʶҺѹâ¤ÐÇÔªÒ¡ÒôÓà¹Ô¹¡ÒÃâ´ÂÁÕÃÒÂä´Œ¨Ò¡¤‹Òŧ·ÐàºÕ¹¡Ô¨¡ÃÃÁ ¨Ò¡¡ÒèÓ˹‹Ò¼ÅÔµÀѳ± µ‹Ò§æ Ê¶ÒºÑ¹Ï ÂÔ¹´ÕÃѺ¡ÒÃʹѺʹع¨Ò¡¼ÙŒÃ‹ÇÁʹã¨à¼Âá¾Ã‹ à¾×่͹Óà§Ô¹ÁÒ㪌´Óà¹Ô¹¡ÒÃãËŒºÃÃÅØÇѵ¶Ø»ÃÐʧ¤ µÒÁ·Õ่µÑ้§äÇŒ àªÔÞºÃԨҤࢌҺÑÞªÕÍÍÁ·ÃѾ ¸¹Ò¤ÒÃä·Â¾Ò³ÔªÂ ÊÒ¢Òà´ÍÐÁÍÅÅ 3 ÃÒÁ¤Óá˧ ª×่ͺÑÞªÕ ÁÙŹԸÔËÁͪÒǺŒÒ¹ ʶҺѹâ¤ÐÇÔªÒ¡ÒÃàÅ¢ºÑÞªÕ 173-241-6858 ÊÓËÃѺà´×͹ ¡ØÁÀҾѹ¸ 2558 ÁÕ¼ÙŒºÃԨҤʹѺʹع¡Ò÷ӧҹ¢Í§Ê¶ÒºÑ¹Ï ´Ñ§¹Õ้ ºÃÔ¨Ò¤ ¤ÃÙá´§ ³Ñ°ÔÂÒ â¡ÊÔ¹·ÃÒ¹¹· ¤Ãٵٹ ÈÈÔÇÔÁÅ Ç§É ÊÇÑÊ´Ô์ ¤ÃÙູ« Çþ¨¹ ¤§¼ÒÊØ¢ ¤ÃÙᵧ ÇÔªØ´Ò à¡ÕÂõԶ¹ÍÁ ¤Ãٹѹ Ãѵ¹ ¨Ñ¹·Ã à¾็§ ¤ÃÙàºÔà ´ ¸§ªÑ ¨ÑÃѰԵԾѹ¸ ºÃÔ¨Ò¤¤ÅÒÊÊǹâÁ¡¢ ¤ÃÙËÅÔ¹ ¡ÁÅÃѵ¹ ¹ÃàÈÃÉ°¡ÁÅ ¤ÃÙá´§ ¾Ã¨Ñ¹·Ã ¨Ñ¹·¹ä¾ÃÇѹ µÙŒºÃÔ¨Ò¤Êӹѡ§Ò¹
1,750 1,150 391 1,200 730 700 2,070 750 590 412 230 ÃÇÁ
9,973 ºÒ·
µÔ´µ‹ÍʶҺѹâ¤ÐÇÔªÒ¡Òà â·Ã. 02-732 2016-7 ËÃ×Í 081-401 7744 àǺ䫵 www.thaiyogainstitute.com à¿ÊºØ ¤ www.facebook.com/thaiyogainstitute ** ÊÓËÃѺ·‹Ò¹·Õ่ÃѺ¨ØÅÊÒ÷ҧä»ÃɳÕ ÊÒÁÒö·Ó¡Òõ‹ÍÍÒÂØÊÁÒªÔ¡ä´Œâ´Â¡ÒÃâ͹à§Ô¹à¢ŒÒàÅ¢·Õ่ºÑÞªÕ¢ŒÒ§µŒ¹ (»‚ÅÐ 250 ºÒ·) áÅÐâ»Ã´á¨Œ§¡ÅѺÁÒÂѧʶҺѹâ¤ÐÇÔªÒ¡ÒÃà¾×่Í·ÃÒº
15
สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบาน 201 ซอยรามคำแหง 36/1 บางกะป กทม.10240 โทรศัพท 02 732 2016-7, 081 401 7744 โทรสาร 02 732 2811 อีเมล yoga.thaiyga@gmail.com เว็บไซท www.thaiyogainstitute.com