Saratha062015

Page 1

photo :https://www.etsy.com/listing/153239137/antique-nautical-brass-pocket-string/

http://frommoon2moon.tumblr.com/image/22327005407

¨´ËÁÒ¢‹ÒÇ

มิถุนายน 2558

สารัตถะ

www.thaiyogainstitute.com


สารัตถะ ÊÒÃºÑ Þ ¤Ø  ¡Ñ ¹ ¡‹ Í ¹

2

»¯Ô · Ô ¹ ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁ

2

º·¡Å͹

6

ÇÔ ¶ Õ â ¤Рเริ ่ ม ที ่ ต ั ว เรา

7

àÅ‹ Ò ÊÙ ‹ ¡ Ñ ¹ ¿˜ § คำถามที ่ เ ปลี ่ ย นไป

9

àÃ× ่ Í §¨Ò¡à¾× ่ Í ¹ เห็ น ความตาย

10

¾Ñ ² ¹Ò¨Ô µ โรคความบกพร อ งในการสอน

12

áÅË¹Ñ § only you can hear me

14

µÓÃÒâÂ¤Ð´Ñ ้ § à´Ô Á ปราณายามะ : ปราณายามะ:การควบคุ ม ลมหายใจของโยคะ ตอนที ่ ๖

15

·Õ ่ » ÃÖ ¡ ÉÒ

กวี คงภั ก ดี พ งษ แก ว วิ ฑ ู ร ย เ ธี ย ร ธี ร เดช อุ ท ั ย วิ ท ยารั ต น นพ.ยงยุ ท ธ วงศ ภ ิ ร มย ศ านติ ์ นพ.สมศั ก ดิ ์ ชุ ณ หรั ศ มิ ์

¡ÃÃÁ¡ÒÃ

กฤษณ ฟ ก น อ ย ชนาพร เหลื อ งระฆั ง ชุ ต ิ ม า อรุ ณ มาศ วรพจน คงผาสุ ข วรรณวิ ภ า มาลั ย นวล วิ ล ิ น ทร วิ ภ าสพั น ธ สมดุ ล ย หมั ่ น เพี ย รการ

ÊÓ¹Ñ ¡ §Ò¹

พรทิ พ ย อึ ง คเดชา วั ล ลภา ณะนวล สุ จ ิ ต ฏา วิ เ ชี ย ร

¡Í§ºÃÃ³Ò¸Ô ¡ ÒÃ

จิ ร วรรณ ตั ้ ง จิ ต เมธี ณั ต ฐิ ย า ป ย มหั น ต ณั ฏ ฐ ว รดี ศิ ร ิ ก ุ ล ภั ท รศรี ธนวั ช ร เกตน ว ิ ม ุ ต ธี ร ิ น ทร อุ ช ชิ น พรจั น ทร จั น ทนไพรวั น วิ ส าขา ไผ ง าม วี ร ะพงษ ไกรวิ ท ย ศั น สนี ย  นิ ร ามิ ษ สุ จ ิ ต ฏา วิ เ ชี ย ร

ÈÔ Å »¡ÃÃÁ

กาญจนา กาญจนากร


สารัตถะ ¤Ø  ¡Ñ ¹ ¡‹ Í ¹ สวัสดีเดือนสุดทายของครึ่งปแรก สำหรับคนที่มีความสุข อาจบอกวาเวลาผานไปเร็วเหลือเกิน ในขณะคนที่กำลังจมอยูในหวงทุกข ก็อาจบอกวาวันเวลาชางแสนเชื่องชา เหมือนการเดินทางของหอยทาก สักตัวหนึ่ง แตสำหรับผูที่มองทุกสิ่งที่ผานเขามาวาเปนเรื่องธรรมดา ไมวาจะสุขหรือทุกขก็ลวนเกิดขึ้นตั้งอยู และดับไป วันเวลาสำหรับคนเหลานี้ก็เพียงผานไปอยางธรรมดาเชนที่มันเปน สวัสดีมิถุนายน

»¯Ô · Ô ¹ ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁ â¤ÐÍÒÊ¹Ð¢Ñ ้ ¹ ¾× ้ ¹ °Ò¹à¾× ่ Í ¤ÇÒÁÊØ ¢ ÊÓËÃÑ º ¼Ù Œ à ÃÔ ่ Á µŒ ¹ ¨Ñ ´ ÇÑ ¹ ÍÒ·Ô µ  · Õ ่ 28 ÁÔ ¶ Ø ¹ Ò¹ 2557 àÇÅÒ 9.00 – 15.00 ¹.

ที่ชั้น 6 หอง 262 คณะมนุษยศาสตร มศว ประสานมิตรคาลงทะเบียน 650 บาท สนใจโทร.สอบถามรายละเอียดไดที่สถาบันโยคะวิชาการ â¤Ðã¹Êǹ¸ÃÃÁ ³ Ëͨ´ËÁÒÂà赯 ¾ Ø · ¸·ÒÊ ¿ÃÕ ·Ø ¡ àÂ็ ¹ ÇÑ ¹ ¾Ø ¸ áÅÐ ¾ÄËÑ Ê àÇÅÒ 17.00 – 18.30 ¹. ÇÑ ¹ àÊÒà · Õ ่ Ê Õ ่ ¢ ͧ·Ø ¡ à´× Í ¹

ลงทะเบียนรวมกิจกรรมไดหนางาน ไมมีคาใชจาย รวมสมทบคากิจกรรมไดดวยการบริจาค â¤ÐÈÙ ¹  » ¯Ô º Ñ µ Ô ¸ ÃÃÁ ¾Õ ਠ´Õ ä «¹ ³ ÈÙ ¹  » ¯Ô º Ñ µ Ô ¸ ÃÃÁ ¾Õ ਠ´Õ ä «¹ (ºÒ§áÇ¡/¨ÃÑ Þ Ê¹Ô Ç §È 13) ·Ø ¡ ÇÑ ¹ ÍÑ § ¤Òà 10.30-12.00 ¹.

คาใชจาย : รวมสมทบคาใชจายดวยการบริจาค

2


3




º·¡Å͹

ÊÒÃÑ µ ¶Ð

¿‡ Ò ÂÔ ่ § Ê Ç Â á ´ ´ ÂÔ ่ § ÃŒ Í ¹ ªÍºÍ‹ Ò §Ë¹Ö ่ § º¹¤ÇÒÁäÁ‹ ª ͺÍÕ ¡ Í‹ Ò §Ë¹Ö ่ § ÍÂÒ¡ä´Œ º ҧ͋ Ò § ¡็ µ Œ Í §áÅ¡´Œ Ç ÂÍÕ ¡ Í‹ Ò § ÂÔ ¹ àÊÕ Â §¡ÃÐ«Ô º ¨Ò¡ÅÁÃŒ Í ¹·Õ ่ à ¾Ô ่ § ¾Ñ ´ ¼‹ Ò ¹ä» Ç‹ Ò âÅ¡¹Õ ้ ä Á‹ Á Õ · Õ ่ Ê ÓËÃÑ º ¤¹àÍÒᵋ ã ¨ ᵋ Á Õ · Õ ่ Ç ‹ Ò §àÊÁÍ ÊÓËÃÑ º ¤¹·Õ ่ Ê ÒÁÒö¨Ñ ´ »ÃÑ º ËÑ Ç ã¨ãËŒ Â × ´ ËÂØ ‹ ¹ ä´Œ Í‹ Ò §¹Œ Í Â¡็ Â Ñ § ÂÔ ้ Á ä´Œ ã ¹ ÊÔ ่ § ·Õ ่ ÁÑ ¹ à ¡Ô ´ ¢Ö ้ ¹ á ÅŒ Ç

อนัตตา

6


ÊÒÃѵ¶Ð

ÇÔ ¶ Õ â ¤Ð

photo : https://jeiijahttp://www.thetrippacker.com/th/reviewys.wordpress.com/author/jeiijays/page/2/

àÃÔ ่ Á ·Õ ่ µ Ñ Ç àÃÒ ชนาพร เหลืองระฆัง

เมื่อเดือนเมษายน ชวงสงกรานต ไดไปเที่ยว ที่ประเทศไตหวัน ฉันเคยไปไตหวันครั้งแรกเมื่อเกือบ สิบปที่แลว เปนความประทับใจอยางมาก เพราะเปน ประเทศที่สวย อยูในเมือง ก็เห็นตนไมเขียว เมืองที่ติด ทะเลก็จะเห็นทะเลใส มีทัศนียภาพที่สวยงาม ประชาชน มีระเบียบ เดินทางไปไหนมาไหนเองไดสะดวก คาเงินก็ ใกลเคียงกับเงินบาท ตั้งแตคราวนั้นก็คิดมาตลอดวา จะตองมาที่นี่อีกครั้ง จนเมื่อปลายปที่แลวพี่หมีดำ V Air สายการบิน low cost เชื้อชาติไตหวัน เปดให บริการพรอมตั๋วโปรโมชั่นแสนถูก ฉันจึงไดมาเยือน ที่นี่อีกครั้ง ผานไปเกือบสิบป สายรถไฟใตดินขยาย ไปถึงนอกเมืองเดินทางไดสะดวกขึ้นอีก รานขายหมาก ที่มีนองๆ แตงตัวสวยเกินปรกติมาขายหมาก (เปนที่ เขาใจกันวาเปนการแอบแฝงขายบริการอยางอื่น) ในไทเป หมดไป รถติดนอยลง ทั้งที่คนเยอะขึ้น แตดูไมวุนวายเลย ไตหวันเปนประเทศที่ไมคอยมีใครนึกถึงนัก ไมเหมือนญี่ปุน หรือ เกาหลี หลายคนเขาใจวาไตหวันคือสวน

7


หนึ่งของประเทศจีน ถาใครเคยไปทั้งจีน และ ไตหวัน มากอน จะรูไดถึงความแตกตาง ที่เมืองจีนนัก ทองเที่ยวตองมีทักษะการเอาตัวรอด ประสาทซิมพาเททิค ทำงานสูซิ้มอยางเต็มสตรีม สวนไตหวันเที่ยว ชิลๆ เถิด จะเกิดผล ไตหวันเปนประเทศที่มีระเบียบ และ คนไตหวันใจดีมาก เผลอๆ จะนึกวาอยูญี่ปุน ไมวาจะกลิ่นอายของสถาปตยกรรมญี่ปุนที่คงอยูตาม บางเมือง ถนนหนทาง และ หองน้ำสะอาด คนเขาแถวรอใชบริการกับทุกที่ ไมวาจะรถใตดิน,ราน อาหาร, หองน้ำ บนรถใตดิน มีที่นั่งสำหรับคนชรา หญิงมีครรภ และ คนพิการ ซึ่งจะไมมีใครไปนั่งบน ที่นั้น แมรถจะแนนก็ตาม และหากคุณหลงทาง ไมตองกลัวที่จะถาม ไมตองกลัวจะโดนหลอก เพราะ ถึงเคาฟงไมรูเรื่อง อยางนอยจะพยายามทำความ เขาใจ อยางมากก็จะจูงมือเราไปหาสถานที่นั้นๆ เลย หรือถาเคาไมรู ก็จะโทรศัพทถามใครซักคนให หากไป ตามรานอาหาร สั่งไมเปนไมใชปญหา ชี้เอาได เราพูด ภาษาใบ เจพูดภาษาจีน พรอมชี้ถามไปดวยวาจะเอา นั่นมั๊ย เอานี่มั๊ย ก็กินไดอิ่มอรอย เห็นการเรี่ยไรเงิน หรือวิธีการหาเงินเขาวัดอยางบานเรา มีแตผูสูงอายุ มานั่งสวดมนตในวัดกันอยางสงบ มีปายบอกใหเห็น ชัดเจน ถึงวิธีการเขามาไหวพระเปนพระอังกฤษ ใหนักทองเที่ยวพรอมคนแปลเซียมซีที่ให ถามได 1 คำถามไมคิดคาใชจาย คุณตานารัก ที่คอยชวยอำนวยความสะดวกใหนักทองเที่ยวอยาง ไมรูเหน็ดเหนื่อย คนเคาหรือก็ชางมีระเบียบ ดูตาม เรือกสวนไรนาสิ มีพืชพรรณผสมผสาน ปลูกกัน เขียวชอุม ไมเห็นจะเปนเขาหัวโลนมีแตขาวโพด อยางบานเราเลย จากนั้นก็ยอนมาดูที่ตัวเอง บนไปแลวจะได อะไรเลา การที่มีโอกาสไดเห็นสิ่งที่ดี ก็คือไดเห็น ตัวอยางวาคนอื่นเขาทำกันอยางไรเตือนใหเราบอก ตัวเองวาการเปลี่ยนแปลงใดๆ จะเกิดขึ้น ตอเมื่อไดมี การลงมือทำ ฉันจึงเริ่มตั้งใจยืนชิดขวา บนบันไดเลื่อนของทุกที่ มองซายขวาหนาหลัง วาขวางทางใครอยูหรือไม ใสใจถึงความเปนไปรอบขาง มากกวาจะกมหนาดูโทรศัพท ไมนั่งที่นั่งที่สำรอง ไวสำหรับพระ หญิงมีครรภ และ คนชรา โดยไมตอง ไปสนใจ หรือ ขัดใจ วาคนอื่นจะทำหรือไม แตฉันทำ เปนการเริ่มตนที่เล็กอยางมาก แตฉันเชื่อวาหากแต ละคน ตั้งใจทำสิ่งเล็กๆ ก็จะรวมกันเปนกระแสหลัก ไดในวันหนึ่ง

ÊÒÃѵ¶Ð

8


ÊÒÃѵ¶Ð

àÅ‹ Ò ÊÙ ‹ ¡ Ñ ¹ ¿˜ §

¤Ó¶ÒÁ·Õ ่ à »ÅÕ ่  ¹ä» ยล (ธรรม) ชาติ

9

photo : http://xn--42c3dybyd.net/

ชวงหลังนี้มีผูมาสนใจดูแลสุขภาพของ ตนเองมากขึ้น โดยเฉพาะผูที่สนใจมาฝกโยคะและ สอบถามแนวทางการฝกกับผูเขียน และนี้เองที่ดีใจ อยางมากเนื่องจากคำถามเริ่มเปลี่ยนไป แตเดิมมัก ไดยินคำถามไมนอยเลยวา โยคะทำใหผอมไดหรือไม? อยากฝกเพราะตองการผอม หากเราอธิบายเรื่องราว ของโยคะคนถามคงไดหลับ จึงตองใหลองมาฝกกอน แลวคอยๆ แบงปนสอดแทรกวิถีและแนวคิดของโยคะ ที่เปนอยูใหผูสนใจฟง สำหรับวัตถุประสงค ของผูที่ตองการ นำโยคะมาดูแลรางกายและใจของตนเอง ไดมาแลก เปลี่ยนใหฟงวา ขณะนี้มาหาโยคะเพื่อผอนคลายกาย ใจ.. เพื่อลดความเครียดที่สะสมมาตลอด ทั้งวัน หรือสัปดาห.. เพื่อการนอนหลับที่ลึกขึ้น เพื่อการ หายใจไดลึกขึ้น ฯลฯ ซึ่งเหลานี้ทำใหมองไดเห็นวา แมกระแสการตลาดหลักและสื่อที่เราไดรับรูมากมายจะ มุงเนนโยคะออกจากแนวทางดั้งเดิมไป หากอยางนอย ยังมีผูที่พอไดทราบและเขาใจ รวมถึงสนใจกลับมา สูวิถีของโยคะดั้งเดิม ผูเขียนเองก็ตองยอมรับวาเราไมสามารถนำ ความเปนเราหรือวิถีดั้งเดิมใสใหผูอื่นไดตั้งแตแรก เพราะการเรียนรูของแตละบุคคลยอมแตกตางกันออก ไป บางคนเราจำเปนที่ตองประนีประนอมในการ สอนหรือแบงปนคอยๆ ชวนใหเห็นถึงวิถี..แนวทางของ โยคะที่เปน ที่มิไดมีแคอาสนะที่ตองฝกทาสวยงาม ดังที่คนมาฝกเขาใจ มันมีหลายแงมุม หลายองค ประกอบของโยคะที่ตองนำมาฝกหากตองการดูแล สุขภาวะอยางเปนองครวม ผูเขียนจะเนนย้ำกับ ผูเรียนเสมอวา หากคุณฝกเพียงบริหารรางกาย ผานอาสนะวันละ 1-2 ชั่วโมงตอวัน เหงื่อออกทวมตัว นั่นคือ อาจไดแคบริหารรางกาย ทวาจิตใจที่เรายังไม ดูแล ในชั่วโมงที่เหลือละ อารมณทางลบตางๆ ของเรา ที่เกิดขึ้นละ หากไมบริหารจัดการที่ดี ไมรูจักแนวทาง การควบคุม คำวาสุขภาวะคงไมสามารถเกิดขึ้น ไดอยางแทจริง

ทั้งนี้ ผูเขียนไมไดมีวัตถุประสงคจะเนนวา เสนทางฝกโยคะหรืออาสนะสายใดจะดีกวากัน เพียงรูสึกดีใจที่มีผูหันมาดูแลกาย ใจ ตนเองมากขึ้น อยางนอยเรียนรูที่จะพึ่งพาตนเอง เพราะโยคะไมได ตีความหมายเพียงองครวมเฉพาะในรางกายของผูฝกเอง หากยังหมายถึงการเชื่อมตอประสานกับผูอื่น ครอบครัว สังคมซึ่งเราไมไดมองแยกสวน เพราะเราก็เปนสวนหนึ่ง ของผูคนและสิ่งแวดลอม หากเรามีสุขภาพใจ และกาย ที่ดี และคนรอบๆ ตัวเรามีสุขภาวะที่ดี ยอมหมายถึง สังคมที่เราอยูยอมมีความสุขกาย ใจแข็งแรง ซึ่งเปน สังคมในมิติที่เราทุกคนตางปรารถนาในยุคเรงรัดใน ปจจุบันมิใชหรือ


ÊÒÃѵ¶Ð

photo : http://www.thetrippacker.com/th/reviewys.wordpress.com/author/jeiijays/page/2/

àË็ ¹ ¤ÇÒÁµÒ ศิวรัตน หวังจิรนิรันดร ( นิวลี่ TS-21 )

ปลายเดือนเมษายน 2557 ประมาณ 3 ทุมรับสายโทรศัพทจาก ปาพร ( นามสมมุติ ) แมบานที่แมแสนประเสริฐของตัวเองหามาใหอยูดวย ตั้งแตแตงงานเขาบานสามีมา 10 กวาป ซึ่งพักอยู บานเดียวกันในชั้นลาง “ชวยดวย พาปาไปหาหมอ ดวยปวดทองมากๆ ปวดมากๆ” ดวยเสียงที่แหบ สั่น และเบา แสดงถึงความเจ็บปวดเกินบรรยาย ตัวเองรีบ ควากุญแจรถ ฝากลูกกับสามี แลวไปตามแมบาน อีกคน มาชวยกันพยุงปาพรขึ้นรถดวยความทุลักทุเล ดวยความที่ตัวปาพรคอนขางอวนใหญ น้ำหนักตัว นาจะมากกวา 80 กิโลกรัม เมื่อถึงแผนกฉุกเฉินของโรงพยาบาล คุณหมอสั่งเอกซเรยทันที ขณะคอยฟงผลใจก็ จินตนาการ ไปเรื่อยตามประสาวาปาพรจะเปนไสติ่ง อักเสบ หรือจะเปนความดันสูงโรคประจำตัวปาพร ใจคอนไปทางโรคไสติ่งมากกวา แลวก็คิดตอถึงอนาคต ที่ยังมาไมถึง ถาปาพรตองนอนรักษาตัวหลายวัน เราตองตุนซื้ออาหารแชแข็งไวใหลูกเปนมื้อเชากอนไป โรงเรียน และตองเหน็ดเหนื่อยกับการทำอาหาร ทุกเชาเย็น

สำหรับครอบครัว และญาติของสามีกวา 14 ชีวิต ความที่ปาพรเปนแมครัวฝมือเลิศ ทุกคนจึงฝากทอง ไวที่บานนี้ ถาปาพรไมอยู ภาระดังกลาวก็จะตกมา ถึงเรา ขณะที่ความคิดฟุงไปเลยเถิด ความวิตกกังวล ก็ยิ่งเพิ่มทวีคูณ ทั้งที่ยังไมรูอะไรเลย แลวคุณหมอ ก็เรียกไปคุย แจงวาปาพรกระเพาะอาหารทะลุ ตองผาตัดคืนนี้ หลังจากซักประวัติโรคประจำตัว การกินอยู และการเจ็บปวด คุณหมอสันนิษฐานวา เกิดจาก การกินยาชุดที่มีกลุมยาสเตอรอยด ติดตอ กันเปนเวลานาน โดยปาพรซื้อจากรานขายยาปากซอย เพื่อบรรเทาอาการปวดขาปวดเขาจากการรับน้ำหนัก ตัวที่มากและไมเคยออกกำลังกายใดๆ คุณหมอแนะนำ ใหสังเกตไดจากรางกายภายนอกที่มีลักษณะบวมน้ำ ปลายมือ ปลายเทาบวมตึง ใบหนาผิวตึง คุณหมอแจง ใหทราบถึงการรักษาหลังผาตัดอาจไมงายนัก ตอง รักษาอีกระยะยาวจากผลของยาสเตอรอยดที่มีผลตอ อวัยวะภายในอื่นๆ

10


ÊÒÃѵ¶Ð หลังผาตัดไมงายจริงๆตามที่คุณหมอ เคยแจงไว โดยทั่วไปคนไขที่กระเพาะอาหารทะลุจาก สาเหตุอื่น เชน โรคกระเพาะ หลังผาตัดประมาณ 1 สัปดาหก็ออกจากโรงพยาบาลได ยิ่งถาสุขภาพดี อายุไมมาก ตัวเล็ก แตอาการของปาพร ตองเปด หนาทองลา งกระเพาะอาหารจากการติดเชื้อเกือบ ทุกวัน มีอาการของโรคตางๆ ทั้งหอบหืด หายใจเอง ไมได ความดันสูงจากโรคประจำเดิม และตองงดน้ำ งดอาหาร ปาพรมีไขจากการติดเชื้อ และกระหายน้ำ ตลอด เห็นแลวสงสารจับใจ กระตุกตอมความคิดถึง ความ ไมแนนอนในชีวิต วันหนึ่งสุข อีกวันทุกข วันหนึ่งรางกายปกติสุข อีกวันก็เจ็บปวยปางตาย ที่บานมีสุข หางไปไมกี่เมตรเปนโรงพยาบาล ก็มีคน เจ็บปวยเปนรอย 39 วันหลังผาตัด ปาพรก็เสียชีวิตจาก อาการติดเชื้อ ดวยความที่ปาพรคอนขางสันโดษ โลกสวนตัวสูง มีลูกสาว 2 คนก็ยกใหพี่สาวเลี้ยง พี่สาว และลูกๆ มาเยี่ยมไดครั้งสองครั้ง และอยูตาง จังหวัด อีกทั้งไมมีญาติที่ไหนอีก คืนนั้นตัวเองจึง ไดรับประสบการณชีวิตที่สำคัญ หลังรับโทรศัพทจากโรงพยาบาล ตัวเองนั่ง ที่บันไดบานอยูพักใหญ ทั้งที่พอทำใจบางจากการ พูดคุย ซักถามกับคุณหมอมาเปนระยะ ก็ยังตกใจ รองไหไรสติ จนสามีชวนใหรีบจัดของไปโรงพยาบาล นางพยาบาลรองขอเสื้อผาไปเปลี่ยนใหปาพรโดยขอให เลือกชุดที่ใหญกวาปกติ เมื่อไปถึงก็รอเจาหนาที่ เปลี่ยนเสื้อผาใหปาพรที่มีลักษณะบวม หนาทองโต ผิวคล้ำคอนขางมาก ใบหนาเปลี่ยนรูปไปเยอะ เทาโต จนใสรองเทาที่เตรียมไวไมได รางกายไมเหมือนเดิม แมพึ่งเสียชีวิตไดไมนาน แลวเดินตามเจาหนาที่พา ปาพร ไปเก็บศพที่หองเย็น ขณะเดินไปตามทางที่ โรงพยาบาลจัดใหเปนการเฉพาะเพื่อไมใหผานผูคน ทั่ว ไป ไมรูสึกกลัวใดๆ แตเศราใจ สลด ความถือ ดีใดๆ ที่เคยมีกลายเปนไมมีอะไรเลย เมื่อสำนึกไดวา สักวัน ตัวเราเองก็ตองนอนบนเตียงถูกเข็น เขาหอง เก็บศพเชนกัน หลังฝากศพปาพร จัดซื้อโลงศพ จัดการธุระที่ตองทำจนเสร็จเกือบเที่ยงคืน จบวันที่ แสนสาหัสแตมีคุณคายิ่งในชีวิต คืนนั้นนอน ไมคอย หลับ เพราะคิดไดวาชีวิตเขาใกลความตายเขาอีกวัน

11


¾Ñ ² ¹Ò¨Ô µ

ÊÒÃѵ¶Ð

âä¤ÇÒÁº¡¾Ã‹ Í §ã¹¡ÒÃÊ͹ (teaching disability) กวี คงภักดีพงษ

งานสอนชิ้นหนึ่งของผมคือ บรรยายวิชา ประวัติศาสตร ปรัชญา และตำราดั้งเดิมของโยคะ จากประสบการณ แคฟงชื่อวิชานักเรียนก็หาวแลว ไมตองรอใหบรรยายจบหรอก ดังนั้นทุกครั้งที่บรรยาย สิ่งที่ผมพยายามทำควบคูไปกับการสอนเนื้อหาคือ พูดใหสนุก หาภาพประกอบมากๆ สอดแทรกเรื่องเลา นิทาน เกร็ดตางๆ เพื่อใหผูเรียนจดจออยูกับเนื้อหา ไดตลอดคาบ แมกระนั้น ก็ไมประสบความสำเร็จ เพราะ เมื่อประเมินผลหลังการสอน โดยใหนักเรียนสรุป สิ่งที่ตน เรียนรู ผมพบวามีนักเรียนไมถึงรอยละ 20 ที่สรุปเนื้อหาบรรยายออกมาเปนคำพูดของตนเองได และในจำนวนนี้มีเพียงรอยละ 5 ที่จำรายละเอียด ของเนื้อหาไดประมาณครึ่งหนึ่ง จนกลางเดือนพฤษภาคมนี้ เปดเจอโพสท เกี่ยวกับการศึกษาในเฟซบุคภาพหนึ่งพูดถึงเรื่องความ บกพรองในการสอน (teaching disability) อานแลว เหมือนเดินชนกระจกเขาอยางจัง จากที่เคยมองวา ความลมเหลวในการสอนของผมเปนปญหาที่ตัว นักเรียน (learning disability)ใหหันกลับมามองวา ผมตางหากที่เปนโรค ปลายเดือนเดียวกัน ไดมีโอกาสไปบรรยาย หัวขอเดิมนี้ เปนหลักสูตรอบรมผูสนใจโยคะจริงจัง ผูเรียนครึ่งหนึ่งเปนครูสอนโยคะอยูแลว ที่เหลือ เปนผูสนใจจะเปนครู หรือแมยังไมไดคิดจะเปนครู แตก็สนใจโยคะอยางจริงจังมาก

12


ÊÒÃѵ¶Ð

13

ผมเริ่มตนชั้นเรียน โดยการเลาเรื่องที่อาน เจอจากเฟซบุคใหฟง คือบอกนักเรียนเลยวาครูเปน โรคนะ จากนั้นก็แจกแบบประเมินความรูกอนเริ่ม เรียนของผูเขารับการอบรมใหกรอก เสร็จก็ใหจับกลุม กลุมละ 4 คน แบงใหแตละกลุมอภิปรายเพียงหนึ่ง หัวขอ แลวจึงชวนทั้งหมดนั่งลอมวง นำเสนอวาแตละ กลุมมีพื้นฐานความรูในหัวขอตางๆ แคไหน วิธีนี้เปด ชองใหผูเรียนกลาพูด ไมวาจะเปนการกลาพูดถึง ขอมูลที่เขารู รวมถึงการกลาถามในสิ่งเขาสงสัย บางประเด็นที่เขาไมกลาพูดออกมาตรงๆ ก็ใหเพื่อน ในกลุมพูดแทน และที่สรางความประหลาดใจ อยาง ยิ่งคือ นักเรียนอยากใหผมอธิบาย เปรียบเทียบ เรื่อง โยคะกับธรรมะ ซึ่งพวกเขาสนใจมาก และไดยิน มาวาผมพอจะมีความรูในหัวขอนี้ โดยที่ผมไมคิดเลยวา พวกเขาซึ่งฝกโยคะโดยเนนการฝกทาอาสนะ เนนการ ออกกำลังกายจะสนใจเรื่องนี้ กระบวนการทั้งหมดขางตน กินเวลาไปครึ่ง คาบ โดยผมเหลือเวลาอีกครึ่งคาบที่จะบรรยายเรื่อง ประวัติ ปรัชญา ตำราโยคะและ เปรียบเทียบโยคะ กับธรรมะ แตปรากฏวา ผมสามารถบรรยายหัวขอ ที่มากขึ้นในเวลาที่นอยลงไดอยางนาพอใจ เพราะแต ละหัวขอ ผมเพียงพูดเฉพาะประเด็นที่เขาสนใจ ซึ่งได หารือกันตั้งแตตอนเริ่มตน นอกจากนั้น บรรยากาศ การบรรยายก็ตางไปจากที่ผานมา นักเรียนมีคำถาม ตลอด และถามเปนระยะๆ เหมือนกำลังนั่งคุยกัน มากกวา การบรรยายเหตุผลสวนหนึ่งที่เขา สามารถ ถามไดเพราะเรากำลังพูดถึงประเด็นที่เขามีความรูพื้น ฐานพอที่จะเกิดคำถาม และที่สำคัญที่สุดคือ ผมไดบรรยาย เปรียบเทียบ เรื่องโยคะกับธรรมะอันเปนหัวขอ ที่ผม เห็นวาเปนหัวใจของการศึกษาโยคะในบริบทของสังคม ไทยไดอยางเต็มที่ จากปกติที่ผมจะไมคอยกลาพูด เพราะกลัวนักเรียนจะหาวาพูดนอกประเด็นผมไมพูด เพราะคิดวาเขาไมสนใจแลวจะเบื่อ หรือผมจะเก็บไว หลังสุดซึ่งหากเวลาไมพอผมก็จะขามหัวขอนี้ไป ซึ่งผม จะไมมีทางรูเลย หากผมไมไดสรางบรรยากาศที่เอื้อ ใหเขากลาบอกความตองการกอนจะเริ่มเรียน จบการบรรยาย พวกเราลากัน นักเรียน ไหวผมที่ชวยใหเขาเขาใจโยคะมากขึ้น ผมไหวนักเรียน ที่พวกเขาชวยใหผมเริ่มคลี่คลายจากโรคความบกพรอง ในการสอน


ÊÒÃѵ¶Ð

áÅË¹Ñ §

photo : https://rizzamaruja.wordpress.com/2013/02/12/only-you-can-hear-me-kimi-ni-shika-kikoenai/

only you can hear me ชนาพร เหลืองระฆัง

ดูไดที่นี่จา https://www.youtube.com/watch?v=u8TmIH4YW38

หนังญี่ปุนที่ดำเนินเรื่องแบบเรื่อยๆ เกี่ยวกับไอฮาระเด็กผูหญิงที่ไมมั่นใจในตัวเอง และไมคอยมีเพื่อน อยูมาวันนึงก็ไดยินเสียงผูชาย ที่ชื่อชินยะโทรศัพทเขามาในหัว และ พูดคุยกันไดโดย ไมตองอาศัยโทรศัพท ซึ่งทั้งคูตางก็มีตัวตนอยูจริง แตชวงเวลาจะตางกันหนึ่งชั่วโมง นอกจากชินยะ แลวยังมีผูหญิงอีกคนนึงที่ไอฮาระสื่อสารทางโทรจิตได การคุยกันทางโทรจิตนี้ เปลี่ยนบางสิ่งบางอยาง ในตัวไอฮาระ ทั้งไอฮาระ และ ชินยะ คุยกันผาน โทรจิต อยูพักนึงแลวก็ตัดสินใจวาจะมาเจอกัน และ ในวันที่มาเจอกันนั้นก็มีบางสิ่งเกิดขึ้น แนนอนวามันดูเหนือจริง ที่คนเราจะมา คุยกัน ผานโทรจิต แตในคำสนทนานั้น กลับไดพบ อะไรหลายๆ อยาง บางครั้งคนเราก็ตองการแคมีคน "ไดยิน" เพียงแครูวาเราไมไดอยูเพียงลำพัง และกับ คำถามที่ผุดขึ้นมากระแทกใจวาหากเรารูอนาคตแมแค ซักชั่วโมงเดียวลวงหนาเราจะยังเลือกตัดสินใจทำ เหมือนเดิมมั๊ย หรือกับบางสิ่งที่คิดวาโลกนี้ ชางโหด รายเกินไป แตมันกลับซอนความสวยงาม ไวอยาง คาดไมถึง

14


µÓÃÒâÂ¤Ð´Ñ ้ § à´Ô Á

»ÃÒ³ÒÂÒÁÐ : ¡ÒäǺ¤Ø Á ÅÁËÒÂ㨢ͧâ¤РµÍ¹·Õ ่ ö วีระพงษ ไกรวิทย และจิรวรรณ ตั้งจิตเมธี

หัวขอปราณายามะตอนที่ผานมา (ตอนที่ ๕) สรุปเนื้อหาสาระไดวา หากยอมรับวาปราณายามะของ ปตัญชลีเปนการเปลี่ยนจังหวะการหายใจปกติในขณะ พัก รูปแบบของปราณายามะทั้ง ๔ จะเปนดังนี้คือ ๑) พาหยะ วฤตติ ปราณายามะ ซึ่งการหายใจออก อยางเดียวที่ตองทำใหละเอียดเบาและยาว สวนการ หายใจเขายังคงปกติ และไมมีความพยายามที่จะหยุด การหายใจ ๒) อาภยันตระ วฤตติ ปราณายามะ ซึ่ง การหายใจเขาอยางเดียวที่ตองทำใหละเอียดเบาและ ยาว สวนการหายใจออกยังคงปกติ และไมมีความ พยายามหยุดหายใจ ๓) สตัมภะ วฤตติ ปราณายามะ ซึ่งการหายใจจะหยุดนิ่ง หลังจากหายใจเขาหรือ หลัง จากหายใจออก หรือหลังจากหายใจเขาและหายใจออก ทั้งคูในหนึ่งรอบของการฝกปราณายามะ และการ หายใจเขาและหายใจออกนี้ตองละเอียดเบาและยาว ดวย สวนจตุรถะ ปราณายามะ ก็คือการหยุดหายใจ โดยปราศจากการหายใจออกและการหายใจเขา ตอไปเปนเนื้อหาในตอนนี้ ถาหากยอมรับความหมายของคติวิจเฉทะ (ในอีกความหมายหนึ่ง) วา เปนการหยุดหายใจหรือ การหยุดหายใจอยางสมบูรณเปนเวลาขณะหนึ่ง

15

ÊÒÃѵ¶Ð

photo : https://www.gotoknow.org/posts/174496


ÊÒÃѵ¶Ð ทำใหปราณายามะทั้ง ๓ แบบในประโยค ๒:๕๐ แปลวา ๑) พาหยะ วฤตติ คือ การหยุดหายใจ หลังจาก ที่หายใจออกยาว หรืออาจเรียกวา พาหยกุมภกะ ๒) อาภยันตระ วฤตติ คือ การหยุด หายใจหลังจากหายใจเขายาว หรือที่ปกติเรียกวา อาภยันตรกุมภกะ ๓) สตัมภะ วฤตติ คือ แบบที่การ หยุดหายใจมีลักษณะโดดเดน ดังนั้นในหนึ่งรอบการ หายใจจะมีการหยุดหายใจอยูในนั้นดวยทั้งภายหลัง จากหายใจเขาและหายใจออก และนี่จะเปนการยืดลม หายใจใหยาวมากที่สุดเทาที่เปนไปได การอธิบาย ในลักษณะดังกลาวนี้เปนทางเดียวเทานั้นที่เปนไปได เมื่อคติวิจเฉทะมีความหมายเทากับการหยุดการหายใจ ในความเปนจริงเมื่อยอมรับคติวิจเฉทะวามีความหมายเ ชนนี้ จะมีความยุงยากมากที่จะแปลความประโยค ๒:๕๐(1) ไดอยางถูกตอง และแยกความแตกตางของ ปราณายามะแตละแบบออกจากแบบอื่นๆ ไดอยาง ชัดเจน เพราะทั้งแบบที่ ๑) และ ๒) ขางตนนั้นจริงๆ แลวก็เปนสตัมภะ วฤตติ ปราณายามะดวย ดังนั้น แบบ ที่สามซึ่งควรจะแตกตางไปจากสองแบบแรก โดยคงลักษณะเฉพาะนี้จึงไมไดมีความแตกตางจริงๆ นี้จึงเปนเหตุผลที่วาทำไมประโยคนี้จึงจำเปนตอง วิเคราะหตามแบบขางตน เมื่อคติวิจเฉทะมีความหมาย วาเปนการหยุดการหายใจ ความยุงยากในการแปลความประโยค ๒:๕๐ ตามขางตนนี้อาจหลีกเลี่ยงได แมวาจะคงความหมาย ของคติวิจเฉทะวาการหยุดหายใจ โดยวิธีการแยกสวน ประกอบของคำ พาหยาภยันตระ สตัมภะ วฤตติ เปน ๑) พาหยะ สตัมภะ วฤตติ และ ๒) อาภยันตระ สตัมภะ วฤตติ คือ อันแรกเปนแบบหยุดหายใจหลังจาก หายใจออก และอันหลังเปนแบบหยุดหายใจหลังจาก หายใจเขา ในกรณีเชนนี้จึงไมจำเปนตองอางถึง แบบที่ สามแยกออกมาตางหากของสตัมภะ วฤตติ หรือการ หยุดการหายใจ แตคำตอบและคำอธิบายงายๆ เชนนี้ใน ประโยค ๒:๕๐ ไดถูกคลี่คลายใหหายสงสัยดวยคำวา “จตุรถะ” ในประโยคถัดไปคือ ๒:๕๑(2) เมื่อเปนเชนนี้ จึง เปน ที่แนนอนวา ปตัญชลีปราณายามะ มีทั้งหมด สี่แบบ อยางที่ปรากฏในประโยค ๒:๕๑ คือคำวา “ลำดับที่สี่” (fourth) ที่เหลืออีกสามแบบมีการกลาวถึง ไวกอนหนา นี้ในประโยค ๒:๕๐ แตการแยกสวน ประกอบ ของคำ อยาง ที่แนะนำไวในที่นี้ ทำใหรูปแบบ ตางๆ ของ ปราณายามะในประโยค ๒:๕๐ มีเพียงสอง แบบ และรวม (ลำดับที่สี่)แลวมีเพียงสามแบบ

และ ดังนั้นการแปลความ โดย การแยกสวนประกอบ ของคำ ตามขางตน นี้จึงฟงไมขึ้น ปราณายามะสามแบบที่กลาวถึงในประโยค ๒:๕๐ นี้จะมีการควบคุมในสามทิศทางดวยกันคือ โดย อาศัย เทศะ กาละ และสังขยา เทศะหมายถึงขอบเขต หรือพื้นที่ หรือระยะทางการเคลื่อนของอากาศ (หรือปราณะ)ที่เรารูสึกไดขณะฝกหายใจ ในการหายใจ ออกระยะทางนี้สามารถวัดไดตรงๆ งายๆ ดวยการรูสึก ถึง สัมผัสของลมหายใจออกโดยการวาง นิ้วมือไวหนา จมูก หรือสามารถใชวัสดุเบาๆ บางอยางที่เหมาะสม แทนได เชน กอนสำลี หรือดาย หรือแถบกระดาษ วางไวหนาจมูกเชนเดียวกัน สวนการหายใจเขาจะวัด ดวยความรูสึก เริ่มตนจากสัมผัสความรูสึกเย็น และตอ มาดวยการฝกสังเกตนานเปนนาที อาจมีความรูสึก เนื้อเตน หรือความกดดัน สังเกตลึกลงไปจนถึงภายใน สวนตางๆ ของรางกาย ความรูสึกภายในเชนนี้เกิดขึ้น โดยการรับรูการเคลื่อนของปราณะผานทางจิตมากกวา ที่จะมาจากอากาศหายใจเขาไปสัมผัสจริงๆ นั่นคือเหตุ ที่วาทำไมบอยครั้งที่ผูฝกปราณายามะรายงานวา พวกเขารูสึกถึงอากาศ(ปราณะ) เคลื่อนไปถึงสะดือ(นาภี) หรือแมแตเล็บเทา ซึ่งในทางกายวิภาคนั้นเปนไปไมได ดวยวิธีนี้เทศะก็คือการวัดพลังของการหายใจยิ่งพลังของ การหายใจมีมาก เทศะก็จะยิ่งเพิ่มขึ้นนั่นคือ จะรูสึกไดถึงการแผขยายของการเคลื่อนของอากาศหรือ ปราณะที่หางออกไปจากจมูก กาละหมายถึงเวลา เปนเวลาที่ตองใชใน แตละขั้นและทุกๆ ขั้นของการหายใจ และใชสำหรับหนึ่ง รอบที่สมบูรณของการหายใจหรือปราณายามะ กาละนี้ จะมีการเพิ่มใหยาวขึ้นหรือการหายใจที่ชามากขึ้น ทั้ง การหายใจเขา หรือการหายใจออก และกรณีการหยุด หายใจดวยความตั้งใจพยายาม ดังนั้นสองตัวแปรที่ใช วัดของปราณายามะคือ เทศะ และ กาละ จึงเกี่ย ของ สัมพันธกันและแปรผกผันกันดวย ดังนั้นเราจึงพอที่จะ ควบคุมลมหายใจเขาและลมหายใจออกได หากเทศะ ลดลง กาละจะเพิ่มขึ้น หรือในทิศทางกลับกัน นอกจาก นี้ยังมีจุดมุงหมายอยางหนึ่งที่กลาวถึงกาละวาเปนตัว แปรแยกออกมาจากเทศะ เพราะในการหยุดหายใจ (1) “พาหยาภยันตระ-สตัมภะ-วฤตติร-เทศะ-กาละ-สังขยา-ภิห ปริทฤษโฏ ทีรฆะ-สูกษมะห” – ๒:๕๐ (2) “พาหยาภยันตระ-วิษยากเษป จตุรถะห – ๒:๕๑

16


จะไมมีการเคลื่อนของอากาศหรือปราณะ เทศะจึงไม สามารถนำมาใชได ดังนั้นในขั้นนี้กาละจึงเปนเครื่องวัด ที่เปนไปไดเพียงอยางเดียวโดยสามารถยืดเวลาของการ หยุดหายใจใหยาวขึ้นหรือสั้นลงได ดังนั้นแมวาปตัญชลีจะกลาวถึงเวลาวาเปน ตัวแปรสำคัญสำหรับการควบคุมการหายใจแบบ ปราณายามะ ซึ่งจะมีอิทธิพลตอระดับของผลที่เกิดขึ้น จากปราณายามะในทางรางกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ ของมนุษย แตทานก็ไมไดกลาวถึงหนวย หรือ การวัด ที่ชัดเจนหรือสัดสวนที่สัมพันธกันใดๆ ที่จะเปน ประโยชนในระหวางชวงเวลาแตละขั้นของการ ฝกปราณายามะ เหมือนอยางที่มีการทำกันในหฐโยคะ ตามแนวทางของหฐโยคะอัตราสวนเวลาที่ใชคือ ๑:๔:๒ สำหรับพูรกะ กุมภกะ และเรจกะ(3) ตามลำดับ เปนอัตรา สวนที่ดีที่สุดและเปนที่ปรารถนาอยางที่สุด ที่จะบรรลุถึง อยางไรก็ตามหากอัตราสวนนี้ผูฝกโยคะ ไมสามารถ ปฏิบัติได เขาควรใชอัตราสวนอื่นๆ เชน ๑:๒:๒ หรือ ๑:๒:๑ เปนตน โดยปกติแลวขั้นของการหยุดหายใจ (อาภยันตระ กุมภกะ) ควรจะตองรักษาใหยาวนานที่สุด และการหายใจออกควรจะยาวนานกวาการหายใจเขา(4) หรืออยางนอยก็เทากัน แตตองไมสั้นกวาการหายใจเขา สวนปตัญชลีไมไดใหขอกำหนดหรือแนวทางที่คลายคลึง กันแตอยางใด อีกทั้งไมสามารถสรุปไดโดยงายอยางที่ กลาวเปนนัยไวในตัวแปรกาละ ดังนั้นปราณายามะของปตัญชลีอาจเปนไปไดวาจะมีการ หายใจเขาที่ยาวนานกวาการหายใจออก ซึ่งเกิดขึ้นได เมื่อ มีการปรับเฉพาะลมหายใจเขาใหยาวขึ้นเพียง ดานเดียวตามการหายใจในแบบที่สอง อยางที่เนนย้ำ มากอน กุญแจสำคัญของปราณายามะ ทั้งจากจุดยืน ของปตัญชลีและหฐโยคะคือ การหายใจที่ชาลง ดังนั้น สำหรับจุดมุงหมายของปตัญชลีแลวปราณายามะแบบใด จะเหมาะสมก็ตอเมื่อมีขั้นตอนหนึ่งของการหายใจที่ถูก ทำใหชาลง เปนที่ชัดเจนวาหากทุกขั้นตอน ทั้งการ หายใจเขา การหยุดหายใจ การหายใจออก และการ หยุดหายใจ(หลังหายใจออก)(5) ถูกทำใหยืดยาวขึ้น จนถึง ระดับสูงสุด ไมตองสงสัยเลยวาตองทำอยาง เหมาะสม ระมัดระวัง และคอยเปนคอยไป และเมื่อมีความละเอียด ออนยิ่งขึ้น ก็จะเปนรูปแบบ ที่ดีที่สุดของปราณายามะ ถาผูปฏิบัติตองการรับคำ

17

photo : http://www.oknation.net/blog/hinjiw/2012/05/07/entry-1

ÊÒÃѵ¶Ð

แนะนำของหฐโยคะในเรื่อง อัตราสวนของเวลาใน ขั้นตางๆ ของปราณายาะมาใช ปตัญชลีโยคสูตรก็ ไมไดมีขอหามตอการทำเชนนั้นแต อยางใด มีสิ่งหนึ่งที่ตองบอกใหชัดเจนก็คือ กาละหรือ ชวงเวลาแบบใดก็ตามที่ผูปฏิบัติเลือกมาใชในขั้นตอน ตางๆ ของการฝกปราณายามะ จะตองรักษาไวใหคงที่ เชนนั้นสำหรับทุกๆ รอบและทุกๆ วัน จนกระทั่ง เขาคุนเคยกับชวงเวลาเหลานี้เปนอยางดี และกลายเปน เรื่องงายและเปนธรรมชาติสำหรับเขาไป เขาไมควรจะ เปลี่ยนชวงเวลาของขั้นตอนตางๆ ไปตามอำเภอใจใน รอบตางๆ ของปราณายามะที่ตอเนื่องกัน ทั้งใน ระหวาง ที่นั่งฝกครั้งเดียวหรือในการฝกแตละวันก็ตาม (3) พูรกะ กุมภกะ และเรจกะ คือ ๓ ขั้นตอนของการฝกปราณายามะประกอบดวย การหายใจเขา การหยุดหายใจ และการหายใจออก ตามลำดับ (ผูแปล) (4) อัตราสวนที่ดีที่สุดคือ ๑:๔:๒ ปกติแลวขั้นของการหยุดหายใจหลังหายใจเขาควรจะตองรักษาใหยาวนานที่สุดในที่นี้ คือ ๔ เทาของการหายใจเขา (อัตราสวนตัวกลาง) และการหายใจออกควรจะยาวนานกวาการหายใจเขาในที่นี้คือ ๒ เทาของการหายใจเขา (อัตราสวนตัวที่สาม) (ผูแปล) (5) ขั้นตอนปราณายามะแบบเต็มจะมีเพิ่มขึ้นมาอีกหนึ่งขั้นตอน (รวมทั้งหมดเปนสี่ขั้นตอน) คือ เพิ่มการหยุดหายใจหลังหายใจออกเขามา ซึ่งจะทำใหกระบวนการหายใจชามากขึ้นไปอีก (ผูแปล)


สังขยาหมายถึง จำนวน ซึ่งเกี่ยวของกับ ปราณายามะในที่นี้ มันสามารถหมายถึงจำนวนของ การฝกซ้ำในรอบตางๆ ของปราณายามะ ยิ่งฝกซ้ำ จำนวนมากเทาไร ความเขมขนและประสิทธิผลของ ปราณายามะก็ยิ่งมีมากเทานั้น มีขอสังเกตวาเมื่อ จำนวน รอบของการฝกปราณายามะไดรับ การปฏิบัติ อยางตอเนื่อง จะมีผลตอความชำนาญและการไดรับ ผลดีจากการปฏิบัติเพิ่มขึ้นพรอมๆกัน อยางที่กลาวไวแลว คำวา ทีรฆะ-สูกษมะ ซึ่งหมายถึง ทำใหยืดยาว และละเอียดเบา ทั้งสอง คุณลักษณะนี้ไมไดเปนอิสระแยกจากกัน อยางที่ อรรถกถาจารยบางทานอาจไดเคยทำไววาเปนสองประ เภทหรือสองแบบของปราณายามะ ๑) ทีรฆะ และอีกอัน หนึ่งที่แตกตางไปจากนี้คือ ๒) สูกษมะ คำในประโยค ๒:๕๐ ไดรับการพิจารณาวาเปนคุณลักษณะ อยางเดียว ของคำปราณายามะในประโยค ๒:๕๑ เมื่อสามแบบของ ปราณายามะที่กลาวถึงในประโยค ๒:๕๐ ถูกทำใหยืด ยาวขึ้น ในขั้นตอนหนึ่งหรือมากกวาของรอบการหายใจ สิ่งนี้จะสงผลโดยอัตโนมัติตอการทำใหขั้นตอนนั้นละเอีย ด(หรือเบา) ไมวาจะเปนขั้นตอนการหายใจเขา หรือการ หายใจออก หรือทั้งสอง ซึ่งสงผลใหกระบวนการ หายใจทั้งหมดละเอียดดวย เนื่องจากการหยุด หายใจ ไมไดเกี่ยวของกับเทศะ ทั้งในแงความเร็วหรือพลัง ของการเคลื่อน มันเปนสภาวะหยุดนิ่ง คุณลักษณะ ละเอียดจึงไมเกี่ยวของดวยในกรณีนี้ จึงมีแตเพียง คุณลักษณะทีรฆะโดยการยืดชวงเวลาใหนานขึ้น นั่นคือ เปนกาละของการหยุดหายใจ แตอยางที่ อธิบายแลว วา สตัมภะ วฤตติ ก็ตองมีการหายใจเขาและหายใจออก เกี่ยวของดวย ดังนั้นขั้นตอนตางๆ นี้จึงสามารถ ทำใหชาลงและละเอียดในปราณายามะแบบที่สามนี้ได โดยสรุปปตัญชลีดูเหมือนจะเนนในประโยค ๒:๕๐ วา ทั้งสามแบบของปราณายามะที่กลาวถึงในที่นี้เปนผลมา จากการควบคุมอยางประณีตในสามขั้นตอนของการ หายใจซึ่งมีอยูจริงแมแตในการหายใจขณะพักปกติ โดยอาศัยเทศะ (วัดดวยพลังของการหายใจ) กาละ (เวลา) และสังขยา (จำนวนรอบ) ซึ่งสามารถใหผล ที่ดีกวาหากทำดวยทีรฆะ-สูกษมะ (ทำใหยืดยาวและ ละเอียดขึ้น) ดวยวลีนี้การหายใจเร็วใดๆ จึงไมรวมอยูใน ปราณายามะของปตัญชลีนั่นเอง

photo : http://www.oknation.net/blog/hinjiw/2012/05/07/entry-1

ÊÒÃѵ¶Ð

เอกสารอางอิง : Karambelkar, P. V. (1986). PATANJALA YOGA SUTRAS Sanskrta Sutras with Transliteration, Translation & Commentary. Lonavla : Kaivalyadhama, p. 322-327.

18


ÊÒÃѵ¶Ð

ʶҺѹâ¤ÐÇÔªÒ¡ÒôÓà¹Ô¹¡ÒÃâ´ÂÁÕÃÒÂä´Œ¨Ò¡¤‹Òŧ·ÐàºÕ¹¡Ô¨¡ÃÃÁ ¨Ò¡¡ÒèÓ˹‹Ò¼ÅÔµÀѳ± µ‹Ò§æ Ê¶ÒºÑ¹Ï ÂÔ¹´ÕÃѺ¡ÒÃʹѺʹع¨Ò¡¼ÙŒÃ‹ÇÁʹã¨à¼Âá¾Ã‹ à¾×่͹Óà§Ô¹ÁÒ㪌´Óà¹Ô¹¡ÒÃãËŒºÃÃÅØÇѵ¶Ø»ÃÐʧ¤ µÒÁ·Õ่µÑ้§äÇŒ àªÔÞºÃԨҤࢌҺÑÞªÕÍÍÁ·ÃѾ ¸¹Ò¤ÒÃä·Â¾Ò³ÔªÂ ÊÒ¢Òà´ÍÐÁÍÅÅ 3 ÃÒÁ¤Óá˧ ª×่ͺÑÞªÕ ÁÙŹԸÔËÁͪÒǺŒÒ¹ ʶҺѹâ¤ÐÇÔªÒ¡ÒÃàÅ¢ºÑÞªÕ 173-241-6858

ÊÓËÃѺà´×͹ ¾ÄÉÀÒ¤Á 2558 ÁÕ¼ÙŒºÃԨҤʹѺʹع¡Ò÷ӧҹ¢Í§Ê¶ÒºÑ¹Ï ´Ñ§¹Õ้ ¤ÃÙ»ˆÍ¡ ¾ÔÁžѹ¸ Èآ侺ÙÅ ¤ÃÙ伋 ÊÁà¨É¯ ÍÔ¹·¡ÒÞ¨¹ ¤ÃÙá´§ ³Ñ°ÔÂÒ â¡ÊÔ¹·ÃÒ¹¹· ÈÔÉ ¤ÃÙâ¤ÐÃØ‹¹ ts21 »‚ 57 ¤ÃÙâ¹ µáÅзÕÁ¤ÃÙ ÁÒ ¾Õª â¤Ð

350 920 1,320 500 2,000

ÃÇÁ

5,090 ºÒ·

µÔ´µ‹ÍʶҺѹâ¤ÐÇÔªÒ¡Òà â·Ã. 02-732 2016-7 ËÃ×Í 081-401 7744 àǺ䫵 www.thaiyogainstitute.com à¿ÊºØ ¤ www.facebook.com/thaiyogainstitute ** ÊÓËÃѺ·‹Ò¹·Õ่ÃѺ¨ØÅÊÒ÷ҧä»ÃɳÕ ÊÒÁÒö·Ó¡Òõ‹ÍÍÒÂØÊÁÒªÔ¡ä´Œâ´Â¡ÒÃâ͹à§Ô¹à¢ŒÒàÅ¢·Õ่ºÑÞªÕ¢ŒÒ§µŒ¹ (»‚ÅÐ 250 ºÒ·) áÅÐâ»Ã´á¨Œ§¡ÅѺÁÒÂѧʶҺѹâ¤ÐÇÔªÒ¡ÒÃà¾×่Í·ÃÒº


สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบาน 201 ซอยรามคำแหง 36/1 บางกะป กทม.10240 โทร. 02-732 2016-7, 081-401 7744, 091-003 6063 wanlapa.tyi@gmail.com www.thaiyogainstitute.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.