www.thaiyogainstitute.com
เดือนมีนาคม 2556
เปิดรับสมัครแล้ว หลักสูตรครูโยคะ เพื่อการพัฒนาจิต อบรม 90 ชัว่ โมง รนุ่ ที่ 19 พลิกด ูรายละเอียดได้ในเล่ม
สารบัญ คุยกันก่อน
3
ปฏิทนิ กิจกรรม
4
กิจกรรมเครือข่าย
7
จากเพือ่ นครู
9
โยคะพาเพลิน
16
พีเ่ ละชวนคุย
21
ชวนคิดนอกจอ
26
ระบบประสาททีค่ รูโยคะควรรู้ 6
28
พระไตรปิฎกแก่นธรรม
30
ตาราโยคะดัง้ เดิม
33
ที่ปรึกษา กวี คงภักดีพงษ์ แก้ว วิฑรู ย์เธียร ธีรเดช อุทยั วิทยารัตน์ นพ.ยงยุทธ วงศ์ภริ มย์ศานติ ์ นพ.สมศักดิ ์ ชุณหรัศมิ ์ กรรมการ กฤษณ์ ฟกั น้อย ชนาพร เหลืองระฆัง ชุตมิ า อรุณมาศ วรพจน์ คงผาสุข วรรณวิภา มาลัยนวล วิลนิ ทร วิภาสพันธ์ สมดุลย์ หมันเพี ่ ยรการ สานักงาน พรทิพย์ อึงคเดชา วัลลภา ณะนวล สุจติ ฏา วิเชียร กองบรรณาธิการ จิรวรรณ ตัง้ จิตเมธี ณัตฐิยา ปิยมหันต์ ณัฏฐ์วรดี ศิรกิ ุลภัทรศรี ธนวัชร์ เกตน์วมิ ุต ธีรนิ ทร์ อุชชิน พรจันทร์ จันทนไพรวัน วิสาขา ไผ่งาม วีระพงษ์ ไกรวิทย์ ศันสนีย์ นิรามิษ ศิลปะกรรม พรทิพย์ อึงคเดชา
2
ค ุยกันก่อน
เข้าสูป่ ลายฤดูหนาวทีเ่ กือบจะลืมไปแล้วว่า คาว่า “หนาว” สะกดอย่างไร ขณะเดียวกันอากาศเริม่ อบอ้าวกระไอร้อนสมชือ่ คาว่า “ฤดูรอ้ น” เขตการศึกษาส่วนใหญ่กาลังเข้าสูช่ ว่ งของการปิดภาคเรียน แต่สถาบันโยคะ วิชาการ กาลังจะเปิดภาคเรียนครูโยคะเพือ่ การพัฒนาจิต หลักสูตร 90 ชัวโมง ่ รุน่ ที่ 19 ปลายเดือนมีนาคมนี้ ใครสนใจอยากแนะนาใครยังพอจะทันท่วงทีอยู่ ฉบับนี้พบกับบทความประสบการณ์ในอินเดียจากการร่วมประชุมของครูเตย ต่อ ด้วยโยคะพาเพลินของครูอ๊อด กับการมองเห็นแง่มมุ ธรรมะผ่านการเดินทางในวัดพระ แก้ว รวมถึงตาราโยคะดัง้ เดิมจากครูโต้ ครูจิ และ พระไตรปิฎกแก่นธรรมโดยครูกวี มอง หาสาระและแง่มมุ เหมือนหรือต่างได้ในฉบับ 3
ปฏิทินกิจกรรม โยคะอาสนะขัน้ พื้นฐานเพื่อความส ุข สาหรับผูเ้ ริม ่ ต้น อาทิตย์ที่
24
มีนาคม เวลา 9.00 – 15.00 น. ทีช่ นั ้ 6 ห้อง 262 คณะมนุ ษยศาสตร์ มศว ประสานมิตร ค่าลงทะเบียน 650 บาท
โยคะในสวนธรรม เดือน มีนาคม ณ หอจดหมายเหตุพทุ ธทาส ฟรี ทุกเย็นวันพุธ และ พฤหัส เวลา 17.00 – 18.30 น.
พุธที่
6 13 20 27
ครูนาย สุรยี พ์ ร ประยงค์พนั ธุ์
หัวข้อ โยคะเพือ่ สมาธิ
ครูขนมปงั ธนา จินดาโชตินนั ท์
หัวข้อ โยคะกับความเข้าใจตนเอง
งด เนื่องจากสวนโมกข์ใช้สถานที่ ครูกุง้ วิมลรัตน์ พุทธาศรี
หัวข้อ โยคะในสวนธรรม
พฤหัสบดีที่
7 14 21 28
ครูนนั นันทกา เจริญธรรม
หัวข้อ โยคะในสวนธรรม
ครูเบนซ์ วรพจน์ คงผาสุข
หัวข้อ โยคะในสวนธรรม
ครูหนึ่ง กฤษณ์ ฟกั น้อย
หัวข้อ โยคะคลายเครียด
ครูเจีย๊ บ สุจติ ฏา วิเชียร
หัวข้อ โยคะในสวนธรรม
เสาร์ที่
23 4
เวลา 14.00 – 16.00 น. ครูเหมียว รุง่ ศศิธร เอกปญั ญาชัย โยคะเพือ่ การเรียนรูต้ วั เอง
หลักสูตรคร ูโยคะเพื่อการพัฒนาจิต อบรม 90 ชัว่ โมง รนุ่ ที่ 19
วัตถุประสงค์ 1. เรียนรูโ้ ยคะในเชิงวิชาการ อ้างอิงตาราดัง้ เดิม โดยเฉพาะ ๒ เล่มหลัก ได้แก่ ปตัญชลีโยคะสูตร และ หฐประทีปิกา 2. เข้าใจโยคะด้วยการฝึกปฏิบตั เิ ทคนิคต่างๆ ของโยคะ เข้าถึงแก่นของโยคะอันได้แก่ สมาธิ 3. ตระหนักถึงคุณค่าของโยคะผ่านประสบการณ์ตรงของตน 4. ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมตนเองมาอยูบ่ นวิถโี ยคะมากขึน้ 5. สามารถเผยแพร่ศาสตร์โยคะต่อไปยังผูอ้ ่นื 5
เนื้ อหา ภาคปฏิ บตั ิ ภาคทฤษฎี ท่าอาสนะพืน้ ฐาน 14 ท่า ตามตาราดัง้ เดิม สรีรวิทยา กายวิภาค สาหรับผูท้ จ่ี ะเป็ นครู (และเพิม่ ท่าตามความเหมาะสม) โยคะเพือ่ การพัฒนาจิต เทคนิคปราณายามะพืน้ ฐาน อนุ โลม อุชชายี ประวัตศิ าสตร์ พัฒนาการของโยคะ ภัสตริกา ปรัชญาอินเดีย เทคนิคมุทราพืน้ ฐาน วิปริตกรณี สิงหะ ตาราโยคะดัง้ เดิม ปตัญชลีโยคะสูตร, หฐประ เทคนิคพันธะพืน้ ฐาน อุฑฑียาน มูล ชาลันธร ทีปิกา เทคนิคกิรยิ าพืน้ ฐาน กปาลภาติ ชลเนติ จิตสิกขา ตราฏกะ กิจกรรมเพือ่ เรียนรูแ้ บบโยคี ทีมวิ ทยากร ครูกวี คงภักดีพงษ์ และ ทีมวิทยากร จากสถาบันโยคะวิชาการ
รับจานวนจากัด : 24 ท่าน
ค่าลงทะเบียน 19,900
บาท/คน ตลอดหลักสูตร
ลักษณะกิ จกรรม : แบ่งการอบรมออกเป็ น 3 ค่าย รวม 90 ชัวโมง ่ ค่ายที่ 1 วันเสาร์ท่ี 23 – วันอังคารที่ 26 มีนาคม 56 ( 4 วัน 3 คืน ) ค่ายเปิด : วิถโี ยคะ เน้นอาสนะ ยมะ นิยมะ ค่ายที่ 2 วันเสาร์ท่ี 27 – วันจันทร์ท่ี 29 เมษายน 56 ( 3 วัน 2 คืน ) เดินทางเข้าสูภ่ ายใน เน้นปราณายามะ มุทรา พันธะ กิรยิ า ค่ายที่ 3 วันเสาร์ท่ี 1 – วันจันทร์ท่ี 3 มิถุนายน 56 ( 3 วัน 2 คืน ) ค่ายปิด : การรูแ้ ละเข้าใจตนเอง ผูเ้ รียนนาเสนอโยคะตามความเข้าใจของตน สถานที่ ค่ายที่ 1 และ 2 บ้านกานนิสา อ.บางบัวทอง ค่ายที่ 3 สวนธรรมศรีปทุม จ.ปทุมธานี
6
รายละเอียดกาหนดการค่ายที่ 1 เสาร์ ๒๓ เดินทางมา 6:00-8:00 8:00-9:30 แนะนาตัว 9:30-10:30 ปฐมนิเทศ 10:45-12:00 12:00-13:30 ประวัตศิ าสตร์ 13:30-14:30 14:30-15:30 15:30-17:30 17:30-19:00 19:00-21:00
อา ๒๔ อาสนะ ปราณ
จันทร์ ๒๕
อาหารเช้า ถาม - ตอบ เทคนิคโยคะ ปรัชญาอินเดีย PYS ยมะ นิยมะ อาหารกลางวัน PYS จิตปรุง 5 HP GhS ประการ ถาม – ตอบ เทคนิคโยคะ
อังคาร ๒๖
PYS อันตราย 9 จิตสิกขา เทคนิคการสอน
อาสนะ ปราน ตราฏกะ
อาหารเย็น เรียนรูแ้ บบโยคี
เดินทางกลับ
หมายเหตุ : กาหนดการอาจมีการเปลีย่ นแปลงตามความเหมาะสม / รายละเอียดในค่ายที่ 2 และ 3 จะแจ้งให้ทราบอีกครัง้
สนใจสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สถาบันโยคะวิชาการ โทร 02 732 2016-7 มือถือ 081 401 7744
กิจกรรมเครือข่าย โครงการอบรม ชวนคิดถึงชีวิตที่เหลือ โดย เครือข่ายชีวิตสิกขาและชมรมวิถีพอเพียง วันเสาร์-อาทิตย์ที่ 23 -24 มีนาคม 2556 ความเป็ นมา โครงการอบรมชวนคิดถึง ชีวติ ทีเ่ หลือ นาเสนอการยอมรับความตายว่า เป็ นสิง่ ทีป่ ฏิเสธไม่ได้ การเจริญสติ เพือ่ เตรียมพร้อมกับความเจ็บปว่ ย เผชิญกับความ ตายเป็ นส่วนสาคัญทีส่ ุดของชีวติ จึงน่าจะได้ นามาเป็ นบทฝึกควบคูไ่ ปกับเส้นทางพัฒนาจิต สาหรับเตรียมพร้อมเพือ่ การใช้ชวี ติ อย่างไม่ ประมาท มีจติ ใจมันคงในการศึ ่ กษาและฝึกฝน ตนเองเพือ่ การเจริญสติเตรียมพร้อมทีจ่ ะเผชิญ
กับช่วงเวลาเปลีย่ นผ่านสาคัญทีส่ ุดของชีวติ ตลอดจนการยอมรับการพลัดพรากจากคน ใกล้ชดิ อย่างสงบ ฝึกโยคะ ฝึกสติ สูม่ รณานุ สติ พัฒนากายและจิตด้วยวิถโี ยคะทีเ่ น้นการมีสติ รูส้ กึ ตัวขณะเคลื่อนไหว มีความสอดคล้องกับ แนวทางพัฒนาจิตวิถพี ทุ ธและเอือ้ ประโยชน์ใน การใช้ชวี ติ ประจาวัน อย่างมีความสุขทัง้ ทางด้านกายภาพและจิตวิญญาณ
7
“ถ้าคิ ดจะหัดว่ายน้าเมื่อตกน้า อาจจะสายเกิ นไป” คุณจะได้อะไร 1.ฝึกธรรมะและการเจริญสติงา่ ย ๆ ทีใ่ ช้ได้จริงในชีวติ ประจาวัน แบบสบาย ๆ ไม่เครียด 2.ทัศนคติต่อการเผชิญความตายอย่างเบิกบาน และ ไม่ประมาท 3.โยคะอาสนะพืน้ ฐาน ทีส่ ามารถนาไปฝึกได้ดว้ ยตนเอง 4.เติมกระปุกบุญ กลับบ้านด้วยจิตแจ่มใส ร่างกายสดชื่น สถานที่ สวนธรรมศรีปทุม จ.ปทุมธานี รับสมัคร ผูส้ นใจทัวไป ่ ทีย่ นิ ดีใช้เวลาเต็ม 2 วัน 1 คืน ในการเข้าร่วมโครงการ รับจานวนจากัด การแต่งกาย เสือ้ ผ้าสีสภุ าพ หลวมสบาย เหมาะแก่การ นังพื ่ น้ และ ฝึกโยคะ ไม่มีค่าใช้จ่าย ยิ นดีรบั บริ จาคตามศรัทธาร่วมกับท่านเจ้าภาพ (รับประทานอาหาร 2 มือ้ มีน้ าปานะในช่วงเย็น ทีพ่ กั แบบเรียบง่ายเป็ นห้องนอนรวม สะอาด ปลอดภัย และ กรุณาเตรียมขวดน้ า และผ้าขนหนูปนู อนได้ หรือ เบาะรองสาหรับฝึกโยคะมาเอง) การเดิ นทาง เดินทางด้วยตนเองตามแผนที่ สนใจ ส่งใบสมัครด่วน ทาง web ตาม link ด้านล่างนี้ https://docs.google.com/spreadsheet/viewform?formkey=dEItS1dNcWhVZEdpRDh2UUdGUGlDRW c6MQ#gid=0 รับรายชื่อลงทะเบียนถึงวันที่ 13 มีค. 56 และรอแจ้งผลตอบรับการเข้าอบรมกลับทางอีเมล์ภายในวันที่ 15 มีค. 56 สอบถามข้อมูลเพิ่ มเติ มได้ที่ คุณวรรณวิ ภา มาลัยนวล (คุณอ๊อด) (084-643-9245) คุณสมศรี จตุรพิ ธพรชัย(คุณโต้ง) (081-689-9075)
"โยคะพาเพลิน ชวนเดินเที่ยววัด" 5 มีค. 56 "โยคะพาเพลิน ชวนเดินเทีย่ ววัด" ณ. วัดโพธิ ์ ท่าเตียน หาความรูจ้ ากภูมปิ ญั ญาดัง้ เดิม จากนัน้ ชวนไป ร่วมสวดมนต์ทว่ี ดั พระแก้ว ถวายเป็ นพระราชกุศลแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั สนใจ ลงชื่อผ่านเฟสบุ๊ค โยคะพาเพลิน 8
จากเพื่อนครู ครูเตย
สวัสดีคะ่ ตอนนี้เตยกลับมาเมืองไทยแล้ว แล้ว ก็ยงั ค้างเรือ่ งเล่าเกีย่ วกับงานประชุมครัง้ ที่ 7 หัวข้อโยคะสาหรับเยาวชนจากแง่มมุ ดัง้ เดิมและร่วมสมัย ทีส่ ถาบันโยคะไกวัลย ธรรม โลนาฟลา วันที่ 27-30 ธันวาคมที่ ผ่านมาค่ะ ตอนก่อนไปเตยถามครูกวีวา่ “ครูคะ งานประชุมทีไ่ กวัลนี่เป็นยังไงคะ” ครูตอบ ว่า “โอย คนเยอะครับ หลายร้อยคนเลย ส่วนใหญ่เป็นคนอินเดีย ตอนกลางวันเป็ น วิชาการ ตอนกลางคืนมีการแสดง เหมือน เป็ นงานเทศกาลของเขาเลยครับ สนุกดี ครับ ลองดู”
จริงๆ ก็ขอสารภาพว่าฟงั แล้วก็ยงั นึกภาพ ไม่ออกอยูด่ วี า่ ไกวัลทีป่ กติดเู งียบๆ มีแต่ครู และนักเรียนเดินสวนกันไปกันมาอยูไ่ ม่ เท่าไหร่ พอมีคนเกือบพันมาร่วมกันจะจัด สถานทีย่ งั ไง เราออกเดินทางจากสถาบันโยคะที่ ซานตาครูซ๊ ก็แวะทานอาหารกลางวันกัน ก่อน เป็ นอาหารมังสวิรตั คิ ะ่ คนรอคิวกัน เต็มเลยขนาดบ่ายต้นๆ แล้ว พอรอคิวจน หิวได้ทก่ี ไ็ ด้ทน่ี งพอดี ั่ ครูฮโิ รชิสงอาหารมา ั่ ให้พวกเราทุกคน เป็ นเมนูสาหรับหนึ่งคน ต่อหนึ่งชุดค่ะ แฮ่ม อร่อยค่ะ อ้อ ทีจ่ ริงมีบตั เตอร์มลิ ค์ดว้ ย แต่ไม่ได้ถ่ายรูปมา สีเหมือน น้ าล้างนม รสชาติออกเปรีย้ วๆ ปะแล่มๆ ครูบอกว่าดีกบั ระบบขับถ่ายค่ะ แต่เตยไม่ 9
ค่อยปลืม้ เท่าไหร่ เลยขอสังลาสซี ่ หวานมา ละเลียดหนึ่งแก้ว อันนี้เมนูโปรดค่ะ ชอบ มาก จากนัน้ พอเราเดินทางไปไม่กช่ี วโมง ั่ ก็ถงึ ทีพ่ กั แล้วค่ะ เราพักกันทีโ่ รงแรมมหา ราชาอินน์ ทีเ่ ราไม่ได้พกั ทีไ่ กวัลเพราะว่ามี ผูเ้ ข้าร่วมประชุมเยอะมาก ทางไกวัลเลยจัด โรงแรมใกล้เคียงให้ผเู้ ข้าร่วมประชุมได้พกั ตอนเช้าและตอนเย็นก็จะมีรถริกชอว์รบั -ส่ง พอเราเก็บข้าวของเสร็จก็ออกเดินทางไป ไกวัล ไม่เกินห้านาทีกถ็ งึ ค่ะ ตอนเห็นป้าย ทางเข้าสถาบันแล้วดีใจ๊ ดีใจ รูส้ กึ อบอุ่น เหมือนได้กลับบ้าน กลับมาคราวนี้เห็น ความเปลีย่ นแปลงมากมายเลยค่ะ อย่าง แรกคงเป็ นป้ายทางเข้าทีท่ าสวยงามพร้อม ต้อนรับผูเ้ ข้าร่วมประชุม พอคนเฝ้าประตู เห็นครูฮโิ รชิกท็ กั ทายและเปิดประตูให้ทนั ที พอรถแล่นเข้าไปก็เห็นบรรยากาศ ภายในทีก่ อ่ สร้างเต็นท์ขนาดใหญ่เพือ่ รองรับผูเ้ ข้าร่วมประชุม และมีป้ายติดคา ต้อนรับเป็นภาษาต่างๆ ไว้ดว้ ย อย่างญีป่ นุ่ จีน ฝรังเศส ่ เห็นครูและนักเรียนดิพโพลมา เดินกันขวักไขว่เพราะเขากาลังวุน่ อยูก่ บั การเตรียมงานค่ะ พอไปถึงครูฮโิ รชิกพ็ าพวกเราไป กราบสวัสดีสวามีมเหชนันดาทีอ่ าศรมค่ะ เราเดินผ่านหน้าออฟฟิศ ผ่านสวนไปทาง 10
แผนก ธรรมชาติบาบัดแล้วเดินทะลุออกไป มองไปทางขวามือก็จะเห็นกุฏสิ อี ฐิ ตัง้ อยูค่ ะ่ พอเดินผ่านคอกวัวไปหน่อยนึงก็เดินขึน้ บันไดไป พอดีวนั นี้ทา่ นสวามีมแี ขก เรา เลยยังไม่ได้พดู คุยอะไรมาก ครูฮโิ รชิเลย แจ้งเพียงแต่วา่ มีเด็กไทยมาทัง้ มาประชุม และมาเรียน CCY และจะเข้าร่วมค่ายกริยา โยคะต่อด้วย จากนัน้ ก็ลาท่านสวามี เพือ่ กลับเข้าทีพ่ กั และเตรียมตัวสาหรับงาน ประชุมวันรุง่ ขึน้ วันรุง่ ขึน้ วันที่ 27 ธันวาคม เป็ นวัน แรกของการประชุมเลยไปแต่เช้าค่ะ โชคดี ไปทันเจอพิธบี ูชาท่านปตัญชลีพอดี เลยได้ เข้าร่วมชมพิธดี ว้ ย ระหว่างทีอ่ ยูใ่ นพิธกี ็ เห็นครูหลายๆ ท่านทีส่ อนตอนเรียน CCY เมือ่ ปีทแ่ี ล้ว เห็นเพือ่ นทีเ่ รียน CCY ด้วยกัน ตอนนี้มาเรียนดิพโพลมาแล้ว ครูก็ ดีใจทีไ่ ด้เจอเรา เราก็ดใี จมากๆ ทีไ่ ด้เจอครู เจอเพือ่ นทีน่ ่ี หลังจากได้สนทนากับเหล่า คุณครูไปสัน้ ๆ ก็เข้าไปลงทะเบียนกับครู ชินเดทีเ่ คยสอนอาสนะ ครูชนิ เดเรียกเตย ด้วยนามสกุล ไม่ยอมเรียกชือ่ บอกว่าเรียก ง่ายดี “วิภาสพันธ์” คล้ายๆ “วิปสั สนา” ครู มองหาป้ายชือ่ เตยเจอจากป้ายกองเบ้อเริม่ พร้อมยิม้ หวานพลางบอกว่า “ยินดีตอ้ นรับ กลับไกวัลยธรรมนะ” ฟงั แล้วชืน่ ใจชะมัด ผูเ้ ข้าร่วมประชุมทุกคนจะได้รบั กระเป๋าผ้า สกรีนลายงานประชุมหนึ่งใบ
พร้อมหนังสือทีร่ ะลึก บทคัดย่อของผูเ้ สนอ บทความ วารสารโยคะมิมงั สา กระดาษ คาถามและกระดาษโน้ต เตยว่าเขาใส่ใจ รายละเอียดดีนะ ชอบๆ บางทีเรามีคาถาม แต่ไม่สะดวกถาม การจัดกระดาษคาถาม ให้เลยก็อานวยความสะดวกให้มากทีเดียว พอลงทะเบียนเรียบร้อยเราก็เดินไป ทานข้าวเช้ากันค่ะ ปีน้เี ขาตัง้ เต็นท์ขน้ึ มา ตรงแถวโรงอาหารของนักเรียนอินเดีย หน้าแผนกอายุรเวทค่ะ เต็นท์สงู ใหญ่ มี ยามเฝ้าข้างหน้าเพือ่ เช็คบัตรผูร้ ว่ มประชุม เอ อาจจะรูส้ กึ ว่า ทาไมพูดแต่เรือ่ งกิน ไม่ พูดเรือ่ งประชุมสักที ใจเย็นๆ นะคะ แบบ ว่ากองทัพต้องเดินด้วยท้องค่ะ เอ้ย ไม่ใช่ พิธเี ปิดเขาจัดตอนบ่ายค่ะ เราเลยมีเวลา แวะโรงอาหารทัง้ เช้าและกลางวัน เห็น ความน่าสนใจเลยอดเอามาเล่าให้ฟงั ไม่ได้ พอเดินเข้าไปเราก็เข้าไปต่อคิว หยิบถาด และช้อนมา จะมีเจ้าหน้าทีต่ กั อาหารให้เรา ค่ะ ส่วนใหญ่กจ็ ะมีขา้ ว จาปาตี ซุป ของ หวาน ขนมปงั ทาแยม กล้วย พอทานเสร็จ ก็นามาใส่กะละมังทีเ่ ขาเตรียมไว้ให้ ไม่ตอ้ ง ล้างเองค่ะ ส่วนน้ าดืม่ ก็มคี ลู เลอร์ตงั ้ ให้ อ้อ ทีน่ ่มี ไี จหรือว่าชาใส่นมผสมเครือ่ งเทศแบบ อินเดียด้วยนะคะ รสเลิศค่ะ พลาดไม่ได้ ดืม่ แล้วช่วยให้อุ่นดีทเี ดียว เพราะทีน่ ่ตี อน เช้าถึงสักสิบเอ็ดโมงอากาศยังเย็นๆ อยูค่ ะ่ พอตกเย็นแดดหมดก็เริม่ 11
เย็นอีกรอบ เพราะฉะนัน้ ต้องเตรียมเสือ้ ผ้า ไว้พร้อมรับมือกับอากาศด้วยค่ะ น้ าก็ตอ้ ง จิบบ่อยๆ เพราะทีน่ ่อี ากาศแห้งมาถึงมาก ทีส่ ดุ เราทุกคนจะมีกระติกใส่น้ าติดตัวไว้ จิบกันด้วยค่ะ ป้องกันการขาดน้ า อันนี้ สาคัญมาก อาหารในเทศกาล เอ้ย ในงานประชุมครัง้ นี้ มีรสชาติเหมือนอาหารอินเดียทัวไปค่ ่ ะ แต่ ปกติแล้วถ้าเป็นตอนเรียน CCY เตยจะได้ ทานอาหารแบบสัตวิกที่ Health Care Center ทีร่ สชาติไม่เค็มไม่หวานไม่เผ็ดไม่ เปรีย้ ว เรียกได้วา่ เป็ นอาหารสุขภาพเอือ้ ต่อการปฏิบตั โิ ยคะจริงๆ พอมาเจออาหาร แบบนี้กต็ น่ื ตาตืน่ ใจเหมือนกันค่ะ ทาน อย่างเอร็ดอร่อย ทีเ่ ห็นในมือทีท่ านกับครูฮ ิ โรชิคอื วาดาเปา ข้างในเป็ นไส้มนั ฝรัง่ หอม อร่อย ยิง่ ทานตอนร้อนๆ นี่เป็ นลมไปเลย อร่อยมาก ส่วนทีเ่ ห็นในรูปซ้ายมือเป็ นกองทัพ ทาอาหารค่ะ มาทีไรก็เห็นนุ่งสาหรีนงหั ั ่ น่ ผักกันตลอด ก็ตอ้ งขอบคุณพวกเขาที่ ทาอาหารอร่อยๆ ให้พวกเราได้ทานตลอด การประชุมนะคะ ตอนดึกๆ หลังเสร็จการ แสดงพอได้ทานอาหารร้อนๆ จิบชาอุน่ ๆ นี่ เหมือนขึน้ สวรรค์เลยค่ะ ตอนช่วงบ่ายมีพธิ เี ปิดอย่างเป็ น ทางการค่ะ ทางไกวัลจัดเต็นท์ขนาดใหญ่ มากขึน้ มารองรับผูเ้ ข้าร่วมประชุมเกือบพัน 12
คน พิธเี ปิดใช้เวลาอยูเ่ นิ่นนานหลายชัวโมง ่ ครูฮโิ รชิแอบกระซิบมาว่าคนอินเดียเขา ชอบการพูดค่ะ ลองได้เริม่ ล่ะก็...พูดกันยาว ค่ะ เพลินกันไป แต่สรุปใจความสาคัญ หลักๆ คือเขาต้องการให้เยาวชนนาเอาวิถี โยคะมาอยูใ่ นทุกมิตขิ องชีวติ เพือ่ คุณภาพ ชีวติ ทีด่ ขี น้ึ อย่างยังยื ่ น พอเสร็จพิธเี ปิดก็ได้เวลาเบรกค่ะ นึก ภาพคนหลายร้อยกรูกนั ไปเอาขนมและไจ (ชาร้อนๆ) ออกไหมคะ เป็ นความชุลมุนที่ สนุกไปแบบอีกแบบ พวกเรานังทานของ ่ ทอดร้อนๆ และขนมหวานๆ ตามแบบ อินเดีย จิบชาอุน่ ๆ ตาม มองดูคนเดินไปมา ขวักไขว่ สนุกดีคะ่ จากนัน้ ตอนเย็นมีบรรยายโดยดร. เชอร์ลยี ์ เทลลิส เป็ นนักประสาท วิทยาศาสตร์ ทัง้ ยังเป็นผูอ้ านวยการ สถาบันวิจยั ที่ Patanjali Yogpeeth ทีห่ ริ ทวาร์ รวมถึงเป็ นอาจารย์ทม่ี ลู นิธวิ จิ ยั โยคะ ของสวามีวเิ วกานันท์ทเ่ี บงกาลอร์ วันนี้เธอ มาเล่าเรือ่ งการก้าวย่างในสายงานวิจยั ด้าน โยคะ ดร.เทลลิส พูดชัดเจนเลยว่าการทา อัคนิสาระและเนาลินนั ้ ช่วยลดความเครียด ได้ โดยเฉพาะในเรือ่ งความเครียดนัน้ นักวิจยั ได้นาเอาวิธกี ารใหม่ๆ มาศึกษา เรือ่ งสารเคมีทห่ี ลังในสมองขณะฝึ ่ กโยคะ ในขณะเดียวกันก็ยงั ใช้เทคนิคดัง้ เดิม ปฏิบตั คิ วบคูไ่ ป เช่นการทาท่าศพ การ
สังเกตเฝ้าดูสภาวะภายใน ซึง่ สิง่ เหล่านี้ทา ให้เกิดสภาวะสงบได้ ดร.เทลลิส กล่าวเพิม่ เติมเกีย่ วกับผู้ ทีต่ อ้ งทางานกะกลางคืนว่างานในลักษณะ นี้จะส่งผลให้เกิดการรบกวนต่อจังหวะชีวติ
ในตัวเองจะส่งผลต่อเรือ่ งการเรียน ดังนัน้ การลดระดับความซึมเศร้าจาเป็ นจะต้องทา สองอย่างคือ หนึ่งเพิม่ สารเคมีทห่ี ลังขึ ่ น้ มาแล้วทาให้รสู้ กึ ดี สองเปลีย่ นรูปแบบ วิธกี ารคิด ดร.เทลลิส กล่าวอีกว่าเราจะ เรียนรูเ้ รือ่ งการยอมรับได้ผา่ นการมีสติ
(Biorhythms) และโยคะสามารถช่วยลด ความเครียด และความดันโลหิตสูง หากมี ภาวะผ่อนคลายก็จะไม่เป็ นกังวลกับเรือ่ ง การแข่งขัน อันเป็ นผลการวิจยั จากตัวอย่าง ผูท้ ฝ่ี ึกโยคะครัง้ ละ 45 นาที 5 วันต่อ สัปดาห์ต่อเนื่องเป็นเวลา 3 เดือน ดร. เทลลิส กล่าวต่อไปอีกว่าการฝึกโยคะช่วย ในเรือ่ งของการตระหนักรู้ ลมหายใจ การ ผ่อนคลาย และแง่มมุ ทางจิตวิญญาณ ในส่วนของเยาวชนนัน้ ดร.เทลลิสบ อกว่าการทีเ่ ยาวชนไม่คอ่ ยมีความเชือ่ มัน่
ตระหนักรู้ ต้องหาสมดุล ไม่เอาแต่ตาหนิ ตัวเอง มีการทาการทดลองสาหรับผูท้ เ่ี ป็ น โรคอ้วน โดยให้ฝึกโยคะครัง้ ละ 45 นาที 5 วันต่อสัปดาห์ต่อเนื่องเป็ นเวลา 3 เดือน ผล ปรากฎว่าน้ าหนักลดลง 2 กิโลกรัม ร่างกายเกิดการไม่อยากกินได้เอง เมือ่ น้ าหนักตัวลดลง ภาพลักษณ์ดขี น้ึ ก็สง่ ผล โดยตรงต่อความมันใจในตั ่ วเองทีเ่ พิม่ มาก ขึน้ ทัง้ นี้ การฝึกโยคะมีผลแตกต่างกับการ 13
เทคนิคของโยคะในการทาอาสนะ ปราณา เดินออกกาลัง โดยเฉพาะในเรือ่ ง Self ยามะ พันธะ มุทรา กริยานัน้ เป็ นคาตอบ Awareness ดังนัน้ จาเป็ นจะต้องมีอภยาสะ และครูตอ้ ง ในเรือ่ งของการแสดงออก โยคะจะ มีความรูเ้ ป็ นพืน้ ฐานสาคัญ ช่วยพัฒนาการเข้าใจต่อความรูส้ กึ จาก โยคะได้ให้เทคนิคและวิธกี ารต่างๆ ประสาทสัมผัส สาหรับทักษะกลไกการ ทีจ่ ะสร้างพฤติกรรมใหม่ ซึง่ ปฏิบตั เิ พือ่ เคลือ่ นไหว (motor skill) นัน้ โยคะช่วยได้ ลดทอนสัมสการทีไ่ ม่ดอี อกไป การ ในส่วนของความมันคงของมื ่ อ การหยิบจับ ปรับเปลีย่ นนิสยั เช่น การตื่นแต่เช้าตีสค่ี รึง่ ทีค่ ล่องแคล่วว่องไว การยึดจับทีแ่ ข็งแรง เป็ นต้น ดังนัน้ อภยาสะ ไวราคยะ จะขจัด ของกล้ามเนื้อมือ ในส่วนของทักษะทีส่ งู ขึน้ ความรุนแรง ลดทอนและทาจิตใจให้สงบ มี ไปนัน้ การฝึกโยคะทาให้สง่ ผลดีต่อ อหิงสา จนไปถึงทีส่ ดุ ทีว่ า่ โยคะคือการดับ ความจาจากการเรียนรูแ้ ละทาความเข้าใจ การปรุงแต่งของจิต (spatial memory) เห็นได้ชดั ว่าโยคะนัน้ ทาให้จติ ใจ ทีส่ าคัญโยคะจะช่วยสร้างความ แหลมคม ละเอียดอ่อนลึกซึง้ จิตใจสงบสุข สมดุลระหว่างสมองซีกซ้ายและซีกขวา และเงียบสงัด อีกทัง้ ช่วยลดการซึมเศร้า และโยคะยังช่วยในการรับมืออาการบอบ ตลอดจนความทรมานในชีวติ ได้ ช้าทางใจและช่วยให้กา้ วเดินต่อไปในชีวติ ดร.เทลลิสจบการบรรยายเพียงแต่ ั ได้ ในหลายๆ ครัง้ เยาวชนมีปญหาที่ เท่านี้พร้อมกับเสียงปรบมือทีผ่ เู้ ข้าร่วม อยากจะมีอยากจะเป็ นเหมือนคนอืน่ อยาก ประชุมมอบให้เธออย่างยาวนาน ต้องบอก ได้กระเป๋าแพงๆ เพือ่ ให้เข้ากลุม่ เพือ่ นได้ ว่าเป็ นการบรรยายทีน่ ่าสนใจ พูดอย่าง ซึง่ การฝึกโยคะนี้จะช่วยเปลีย่ นรูปแบบ กระชับสัน้ ใช้เวลาอย่างคุม้ ค่าจริงๆ ตลอด ความคิดของเยาวชนเหล่านัน้ ได้ หนึ่งชัวโมงที ่ ผ่ า่ นมา ดังนัน้ บทบาทของโยคะมีอยูห่ ลาย แน่นอน สาหรับทีอ่ นิ เดีย พอเสร็จ อย่าง ได้แก่ การจัดการกับความเครียด ประชุมก็จะมีเบรกให้เราทานของว่างก่อน การพัฒนาความมันคงทางอารมณ์ ่ การ ฟงั การบรรเลงซีตาร์ เครือ่ งดนตรีของ พัฒนาความละเอียดอ่อนทางอารมณ์ และ อินเดีย โดย Ustad Usman Khan มีผเู้ ล่น การมีสมาธิทด่ี ี สิง่ สาคัญก็คอื การทาจิตใจ เครือ่ งสายสองชิน้ และผูเ้ ล่นกลองอีกคน ให้สงบ และการปฏิบตั ซิ ้าแล้วซ้าเล่าเพือ่ ถ้าสนใจฟงั ลองพิมพ์ชอ่ื ลงในกูเกิลหรือยู สร้างพฤติกรรมใหม่ ใจจึงสงบสุข ซึง่ ทูปเพือ่ ลองฟงั เพลงได้เลยค่ะ 14
เตยเข้าใจแล้วว่าทาไมถึงต้องมีการแสดง ั การฟงเสียงดนตรีทบ่ี รรเลง ในช่วงค่าของทุกวัน เพราะมันทาให้สมอง ท่ามกลางอากาศเย็นๆ ร่วมกับครู เพือ่ นๆ ซีกซ้ายและซีกขวาสมดุลกันจากการใช้งาน และผูเ้ ข้าร่วมงานหลายร้อยคนทีไ่ กวัลช่าง อย่างยาวนานตัง้ แต่เช้าตรู่ พอได้ฟงั ดนตรี เป็ นความทรงจาทีง่ ดงามในความรูส้ กึ จริงๆ ดีๆ แล้วไปทานอะไรอุน่ ๆ ก่อนเข้านอนก็ นะคะ เหมือนเราได้ไหลล่องไปด้วยกันผ่าน รูส้ กึ สบายท้องและพร้อมเข้านอนเพือ่ ตืน่ ท่วงทานอง ขณะนังหลั ่ บตาฟงั รูส้ กึ ได้วา่ แต่เช้ารับวันใหม่แล้วค่ะ สมองทีม่ นึ ๆ งงๆ จากการฟงั ภาษาอังกฤษ และการเข้าฟงั บรรยายอย่างยาวนาน ( ติดตามต่อฉบับหน้า ) ค่อยๆ คลีค่ ลายและรูส้ กึ เบาสบาย ตอนนี้ ………………………………………………………
15
โยคะพาเพลิน
ครูอ๊อด วรรณวิภา มาลัยนวล
พาเดินเที่ยววัด
ตอน วัดพระแก้ว นานมากแล้วทีเ่ ราอาจจะได้เคยไป เทีย่ วทัศนศึกษาทีว่ ดั พระแก้ว บางครัง้ ก็ไป สมัยเรียนหนังสือ บางครัง้ ก็พาเพือ่ น ชาวต่างชาติไปเทีย่ วชม แต่น้อยครัง้ นักที่ จะไปวัดพระแก้วเพียง “ลาพัง” การถือ 16
สันโดษกลางเมือง จึงเปลีย่ นการไปไหว้ พระธรรมดาๆ ให้เป็ นการจาริกแสวงบุญไป ในดินแดนอันศักดิ ์สิทธิ ์ในใจ ช่วงวันธรรมดาวัดพระแก้วยังคงคึกคัก เหมือนเดิม ทีป่ ระตูทางเข้า
ชาวต่างชาติเต็มไปหมด บางคนแต่งกาย ไม่เรียบร้อยถูกจับให้พนั ผ้าถุง ห่มผ่าคลุม สีสนั สดใสท่ามกลางบรรยากาศอบอ้าว ปลายเดือนธันวาคม เมือ่ ผ่านเข้าประตูก็ ั ้ านฤาษีชวี กโกมารภัจจ์ แพทย์ พบรูปปนท่ ประจาพระองค์พระพุทธเจ้า บรรยากาศ รอบข้างยังคงฉวัดเฉวียนไปด้วยเสียงล่าม เสียงไกด์ หลากหลายภาษาอธิบาย เกีย่ วกับท่านฤาษี น้อมใจกลับมาสูต่ วั เอง ท่ามกลางความสับสนหาความสงบเงียบ ภายในขณะก้มลงกราบ ระลึกถึงคุณงาม ความดี ความรูท้ างการแพทย์ ทีช่ ว่ ยขจัด เยียวยาโรคทางกาย ในขณะเดียวกันโรค ทางใจก็บาบัดได้ดว้ ยคาสอนแห่งองค์พระ สัมมาสัมพุทธเจ้า ปริศนาทีซ่ ่อนอยู่ปาก ประตูทางเข้า บอกเล่าเรือ่ งกายที ่ เตรียมให้พร้อมก่อนจะเข้าไปภายในที ่ เป็ นเรือ่ งของใจ ก่อนเข้าพระอุโบสถทีป่ ระดิษฐาน องค์พระแก้วมรกต มีสถานทีส่ าหรับจุดธูป เทียนบูชาพระ ทัวบริ ่ เวณนัน้ อุดมไปด้วย ผูค้ นทัง้ ไทยและเทศ เมือ่ มองหน้าผูค้ นรอบ ด้าน ความแตกต่างทางเชือ้ ชาติและ เผ่าพันธ์ผสมกลมกลืนอยูภ่ ายในรอบ บริเวณ ส่วนสถานทีน่ นั ้ เล่ามีทงั ้ พาน ดอกไม้ กระถางธูป แท่นเทียน อ่างน้ ามนต์ ั ้ ว พระพุทธรูป เจ้าแม่กวนอิม รูป รูปปนวั ั ้ ตว์คล้ายหงส์ ฯลฯ บ่งบอกถึง ปนสั
หลากหลายความเชือ่ และศรัทธาทีก่ าลัง มารวมอยู่ในทีเ่ ดียวกัน ความแตกต่าง ทีไ่ ม่แตกแยกอยู่ตรงนี้ เอง
เงยหน้าขึน้ มองบนหน้าบรรณของ ั้ พระอุโบสถ รูปปนพระนารายณ์ ทรงครุฑที่ จับพญานาคไว้ในมือ ความละเอียดประณีต ของงานศิลป์ไม่ตอ้ งพูดถึง สิง่ ทีช่ วนคิดคือ ความเชือ่ มโยงกับดินแดนพุทธภูมทิ ม่ี าแห่ง เรือ่ งเล่าทีป่ รากฏออกมาในงานพุทธศิลป์ ปากประตูทางเข้าพระอุโบสถที่ ประดิษฐานองค์พระแก้วมรกต รูปสิงห์ทท่ี า ด้วยโลหะจัดวางไว้หน้าประตู ราวกับจะ คอยปกป้องพิทกั ษ์องค์พระศาสดาและ พุทธบริษทั ไม่ให้มสี ตั ว์รา้ ยใดๆ มากล้า กราย หรืออีกแง่หนึ่งเตือนว่า ก่อนเข้าไป ด้านในให้เอาความเป็ นนางมารร้ายใน ตัวเองถอดวางไว้ตรงนี้ ก่อนนะ องค์พระแก้วมรกตตัง้ อยูบ่ นบุษบกสูง ตระหง่านเป็ นทีน่ ่าเลือ่ มใสศรัทธา หวนนึก ถึงทีม่ าขององค์พระจิตของผูท้ ส่ี ร้าง พระพุทธรูปเพือ่ ปรารถนาให้เป็นองค์แทน 17
กายของพระพุทธองค์ เอือ้ ประโยชน์กบั ผูค้ นทีพ่ บเห็น ได้มเี วลา โอกาสระลึกและ น้อมนาคุณธรรมแห่งพระศาสดามาไว้ในใจ ตน เมือ่ มององค์พระด้วยจิตทีเ่ คารพ นอบน้ อม เบื้องหลังของพระปฏิมา ตรงหน้ าคือจิตแห่งพุทธะในใจผูค้ นนับ ไม่ถว้ นทีศ่ รัทธาในคาสอนและได้รบั ผลจาก การปฏิบตั ติ ามมาแล้วมากมายมหาศาล บรรยากาศภายในพระอุโบสถ แตกต่างจากภายนอก คนค่อยทะยอยเข้า มานังกั ่ นเงียบๆ ไม่มลี า่ ม ไม่มไี กด์ ไม่ตอ้ ง แปลหรืออธิบาย บ้างนังสมาธิ ่ บ้างก็สวด มนต์ เสียงข้างนอกค่อยจางหายไปจากโสต ประสาท เสียงภายในกลับเด่นชัด ขณะที ่ ข้างนอกวุ่นวาย ไม่ได้ทาให้ข้างในใต้ร่ม แห่งธรรมเกิดความกระทบกระเทือนได้ เลยแม้แต่น้อย ด้านข้างพระอุโบสถ คือปราสาท พระเทพบิดร เดินขึน้ ไปท่ามกลางรูปปนั ้ กินนรและกินนรี จาลองภาพนิมติ แห่งสรวง สวรรค์อนั เป็ นทีอ่ ยูแ่ ห่งเทพบิดร ความ วิจติ รอลังการปรากฏให้เห็นเฉพาะหน้า สวยงามมากเพียงใดก็แอบแฝงไว้ด้วย ความเป็ นอนิจจังรอบด้าน ดังเช่นกินนร กินรีทเ่ี รียงราย เมือ่ เข้าไปดูใกล้ๆ จึงเห็น ใบหน้าทีเ่ ริม่ จากอ่อนเยาว์ไปจนถึงกินนร ชรา และกินรีเฒ่า
18
ถัดไปเป็ นนครวัดจาลอง ทีม่ องแล้ว เห็นมายาแห่งสิง่ ก่อสร้างทีจ่ าลองมาจาก สถานทีจ่ ริง ไพล่ไปนึกถึงดินแดนมายาแห่ง เขตแดนประเทศทีเ่ ป็นต้นเหตุแห่งความ บาดหมางของผูค้ น ทัง้ ทีส่ งิ่ ก่อสร้างเป็ น เพียงมายาทีม่ นุษย์ในยุคสมัยหนึ่งสร้างขึน้ อยูร่ อดจากการทาลายของธรรมชาติมา จนถึงปจั จุบนั ได้บางส่วน คนสร้างก็ตาย ไปแล้วหลายชัวโคตร ่ แต่คนทีแ่ ย่งกัน กลับเป็ นใครมาจากไหนไม่รู้ ทัง้ คู่ที ่ ไม่ใช่ผ้สู ร้าง แล้วก็จะจากไปอย่างไม่มี ใครเป็ นเจ้าของทีแ่ ท้ นอกจากความคิด ว่าจะเก็บไว้ให้ “ลูกหลานของกู” ซึง่ ใน ความจริงแท้แล้วไม่มใี ครสักคนทีไ่ ม่ใช่ ลูกหลาน เพราะล้วนเกิดตายมาแล้วนับภพ ชาติไม่ถว้ น ไม่เคยมีใครไม่เคยเป็ นญาติ เพียงแค่มิติแห่งการมองทีแ่ คบ ความเห็นแก่ตวั จึงกว้างและเข้าไป แทนทีอ่ ย่างแนบเนี ยน ภาพวาดจิตรกรรมฝาผนังทางเดินรอบพระ อุโบสถ เรือ่ งราวแห่งมหากาพย์รามายณะ นึกถึงวิชาประวัตศิ าสตร์ ปรัชญาอินเดียที่ ครูโยคะหลายท่านเล่าให้ฟงั การเดินดูภาพ จึงมีรสชาดของความเป็ นเหตุผล อารมณ์ และปญั ญาอยูด่ ว้ ยกันอย่างลงตัว เพ่งดู ภาพไปทีละภาพอย่างไม่เร่งรีบ เวลาแห่ง การใคร่ครวญมีเหลือเฟื อ เมือ่ เราปลด เปลื้องพันธนาการแห่งชีวิตทีไ่ ม่จาเป็ น ออกไปเสียบ้าง ความงดงามของ
ฝีมอื ช่างยังน้อยกว่าความงามของปริศนา ธรรมทีซ่ ่อนอยูใ่ นเรือ่ งราว ภาพบางภาพเร้าอารมณ์ความรูส้ กึ ที่ ยากจะบรรยาย นางมณโฑนัน้ เคยวิงวอน ทศกัณฐ์วา่ “พระองค์กใ็ ช่จะไร้อนงค์มเหสี เสียทีเดียว จะมาพะวงด้วยนางสีดาให้เกิด
ความเดือดร้อนถึงลูกเต้าอย่างนี้ ผัวเขา ตามมาก็สง่ คืนให้เขาไป สงครามก็จะระงับ ลูกเราก็จะไม่ตาย” ตอนนัน้ ทศกัณฐ์กาลัง ไฟ (ราคะ) แรงสูง ได้ฟงั ก็โมโหราวกับเอา ไฟมาจี้ พาลโมโหหาว่านางมณโฑอิจฉา นางสีดา ทาให้อนิ ทรชิตลูกนางมณโฑต้อง จาใจรับอาสาพ่อออกไปรบแทน และ สุดท้ายก็ตอ้ งตาย ก่อนออกรบอินทรชิตเข้า ไปหามารดาคือนางมณโฑ เพือ่ ดืม่ นมจาก อกแม่แล้วร่าลาแม่วา่ ‘..อันตัวของลูกครัง้ นี้ ทีจ่ ะรอดชีวนี นั ้ หาไม่ แม้ได้ประมาทสิง่ ใด ให้เคืองใต้เบื้องพระบาทา ด้วยกายวาจา มโนกรรม ซึง่ จะนาให้ทุกข์ไปภายหน้า พระ แม่จงได้เมตตา อย่าให้มเี วราแก่ลกู รัก...’
ภาพแม่ลกู กอดและขออโหสิกรรมต่อกัน ก่อนจากไปตาย ทาให้เห็นว่า ‘ราคะ’ นัน้ เป็ นกิเลสตัวฉกาจทีพ่ าให้ครอบครัว พินาศได้ไม่ว่ายุคไหนก็ตาม ส่วนภาพทีท่ าให้รอยยิม้ เปิดกว้าง คือตอน ทีห่ นุมานไปทาลายพิธชี บุ กายของทศกัณฐ์ ซ่อนตัวอยูใ่ นอุโมงค์ปิดด้วยหินทีร่ า่ ยมนต์ ไว้ ถ้าทาพิธไี ด้ครบเจ็ดวันเมือ่ ไหร่กายจะ เป็ นเพชร ชีน้ ้วิ ไปทีใ่ ครก็จะตายกันหมด เสร็จงานนี้ทศกัณฐ์ชนะแน่ๆ หนุมานก็เลย ไปเอาน้ าล้างเท้าสตรี (นางเบญจกาย) มา ราดเพือ่ ทาลายประตูอุโมงค์ (ร้อยทัง้ ร้อย ผูห้ ญิงก็ทาลายพิธผี ชู้ ายได้งา่ ยๆ แค่น้ าล้าง เท้า) เข้าไปในอุโมงค์ได้แล้ว หนุมาน สุครีพ นินนน ลิงทัง้ สามก็ยวทศกั ั่ ณฐ์ แต่ ทาอย่างไรพญายักษ์กไ็ ม่โกรธ ตัง้ ใจอยูใ่ น อุเบกขา มีขนั ติอดทนได้แม้จะถูกทาร้าย อย่างไรก็ตาม หนุมานต้องหาวิธที าลาย ตบะ เลยนึกขึน้ ได้วา่ ‘อันโลกียย์ ่อมเป็ นที ่ หวงแหน’ รีบเหาะไปอุม้ นางมณโฑมาใน อุโมงค์ แล้วก็สามลิงก็ชว่ ยกันลวนลามปลุก ปล้าถอดเสือ้ ถอดผ้านางมณโฑกันต่อหน้า ต่อตา มีหรือทศกัณฐ์จะทนอยูใ่ นตบะได้ อัตตาบวมเบ่งแตกกระเจิงก็ตอนนี้แหละ จริงนะไม่ว่ายักษ์ ไม่ว่าคนหากยังมี ความเป็ นตัวเป็ นตนว่ามีเรา มีของเรา เรือ่ งของรักของหวงแล้วทาให้ตบะแตก ได้ทุกรายไป ขนาดทศกัณฐ์มีฤทธิม์ าก 19
ใช้เชื้อของอวิชชาเป็ นตัวพาไปกลับจบ ขนาดไหน มีตบะแก่กล้า ก็ยงั พ่ายแพ้ ยากกว่า เรือ่ งนี้ เหมือนกัน มองภาพจิตรกรรมแล้วย้อนมองภาพชีวติ ภาพทีห่ อ้ ง 112 เป็ นภาพเขียนแห่ นังลงพั ่ กเหนื่อยทีร่ มิ ทางเดินของระเบียง ทศกัณฐ์ไปสูเ่ มรุ บ่งบอกความจริงแห่งการ โบสถ์ แหงนขึน้ มองบนฟ้าใส หมูเ่ มฆกาลัง เคลือ่ นไปของชีวติ ว่า ต่อให้มพี ลานุภาพ ลอยผ่านเอื่อยๆ ไล่สายตามองทีพ่ ระ เพียงใด ยิง่ ใหญ่มอี านาจวาสนาอย่างไร ก็ อุโบสถระฆังกังสดานกาลังส่งเสียงหวาน หนีกฏธรรมชาติแห่งความตายไม่พน้ แว่วผสมเสียงสวดมนต์เย็นยะเยือกทีด่ งั มา ทศกัณฐ์เป็นเพียงตัวแทนของความโลภ จากด้านใน มองไปรอบๆ ก็เห็นผูค้ นหลาย ความโกรธ และความหลงในตัวเรา ที่ เผ่าพันธ์มากมายด้านนอกก็ยงั คงเดิน แผลงฤทธิ ์กับตัวเองและคนรอบข้างมา วนเวียนสวนกันไปมาอย่างชุลมุนเหมือน ตลอดชีวติ สุดท้ายก็ตอ้ งจบทีเ่ ชิงตะกอน ไม่รจู้ บ ภาพชีวติ ทีป่ รากฏ คงเหมือนกับ มหากาพย์รามายณะทีว่ ่ายาวแล้วยังมี สังสารวัฏและนิพพานทีอ่ ยู่ใกล้กนั จะ ตอนจบ แต่มหากาพย์แห่งสังสารวัฏที ่ เห็นได้กแ็ ค่พลิกมุมมอง. ………………………………………………………
20
พี่เละชวนค ุย
ธีรเดช อุทยั วิทยารัตน์
สถิรมั ส ุขัม อาสนัม สวัสดีครับ ขอแลกและเล่ามุมมองเกีย่ วกับท่าตักแตน ๊ หรือ “ศลภาสนะ” ต่อจากฉบับทีแ่ ล้วนะ ครับ
การจะพบหรือได้คาตอบสาหรับคาถาม ทีว่ า่ "ท่าตักแตนยกขาไม่ ๊ ขน้ึ
21
ทายังไงดีคะ? (ยกข้างเดียวได้ ยก สองข้างไม่ได้)" ผมคิดว่าแนวทางในการหาคาตอบที่ น่าจะตรงไปตรงมาทีส่ ดุ ก็คอื ต้องรูก้ อ่ นว่า การจะยกขา(ทัง้ สองข้าง)ขึน้ เพือ่ ไปสูท่ า่ ตักแตน ๊ ต้องอาศัยต้นทุนอะไรบ้าง และเรา มีตน้ ทุนเหล่านัน้ เพียงพอไหม หนึ่งในต้นทุนหลักๆ ในการฝึก อาสนะคงหนีไม่พน้ ต้นทุนในทางสรีระ หรือ พูดง่ายๆ ว่าความพร้อมของร่างกาย ซึง่ มี ทัง้ เหมือนและแตกต่างกันไปในแต่ละ ท่วงท่า ซึง่ ผมมักแลกกับเพือ่ นพ้องน้องพี่ บางคนทีไ่ ป “วิวาทะ” เรือ่ งการฝึกอาสนะ ว่า ศาสตร์แห่งโยคะเองก็มอี งค์ความรูแ้ ละ มุมมองในทางสรีระทีล่ มุ่ ลึกชวนให้ดงิ่ ด่า เรียนรูไ้ ด้อย่างน่าอัศจรรย์ สาหรับผม หนึ่งในองค์ความรูใ้ นทาง สรีระของโยคศาสตร์ ก็คอื โศลกทีว่ า่ “สถิรมั สุขมั อาสนัม” อย่างที(่ คนในแวดวงอาสนะ)รูๆ้ กันอยูว่ า่ ความหมายอย่างหนึ่งของอาสนะคือ “ท่วงท่า” ส่วนคาว่า สถิระ(หรือเสถียร)(มัก) แปลว่า “นิ่ง” “มันคง” ่ และ สุขะ แปลว่า สบายหรือพูดอีกอย่างว่าผ่อนคลาย โศลกบทนี้จงึ มักแปลสัน้ ๆ ว่า “อาสนะพึง มันคงและสบาย(หรื ่ อผ่อนคลาย)” 22
ผมมักแลกมุมมองในเรือ่ งนี้กบั มิตร ในแวดวงอาสนะว่า จากการตีความของผม ท่านปตัญชลีคล้ายจะให้เข็มทิศชีท้ างว่า ใน การฝึกอาสนะเราต้องหาสมดุลระหว่าง ความมันคง(สถิ ่ ระ)และความสบาย(หรือ ผ่อนคลาย – สุขะ) โดยทีใ่ นทางปฏิบตั นิ นั ้ แต่ละอาสนะจะมีสถิระและสุขะไม่ เหมือนกัน แถมยังไม่เหมือนกันใน หลากหลายลักษณะอีกด้วย เช่น หากพูดในทางเปรียบเทียบ ท่ายืน ด้วยศีรษะเป็ นท่าทีร่ า่ งกายสถิระหรืออาจ รวมทัง้ สุขะน้อยกว่าท่าทีเ่ รายืนโดยใช้เท้า หยัดเหยียบบนพืน้ ไม่วา่ จะมองจากแง่มมุ ขนาดของฐานทีร่ องรับร่างกายระหว่างเท้า สองข้างกับพืน้ ทีส่ ว่ นเล็กๆ ของศีรษะคือ กระหม่อม หรือโดยเฉพาะเมือ่ มองจาก ความคุน้ ชินของอิรยิ าบถทีห่ ากไม่ใช่นกั กายกรรมหรือคนฝึกอาสนะ ใครเล่าจะยืน เอาเท้าชีฟ้ ้ า เอาศีรษะวางบนดิน ในขณะทีท่ า่ นอน โดยเฉพาะนอน ศพ(ศวาสนะ)เป็ นท่าทีส่ ขุ ะหรือสบายและ ผ่อนคลายเพราะร่างกายแทบจะเป็นหนึ่ง เดียวกับพืน้ ทีร่ องรับตัวเรา ซึง่ พลอยทาให้ เกิดความ “สถิระ” ไปด้วย เพราะฐานทีอ่ ยู่ กับพืน้ ก็คอื ตัวเราทัง้ หมดตัง้ แต่ศรี ษะจรด เท้า แต่ถา้ เราขยายขอบเขตความหมายของ “สถิระ” ทีแ่ ปลว่า “มันคง” ่ ให้
ครอบคลุมมิตขิ องจิตใจด้วย ท่าทีท่ าให้เกิด “สุขะ” ในทางร่างกาย อาจมีแนวโน้มทาให้ จิตใจไม่ “สถิระ” เท่าทีค่ วร เพราะกายที่ สบาย(เกินไป)อาจส่งผลให้จติ ใจสูญเสีย “ความมันคง” ่ ในการคงความตื่นตัวเอาไว้ ผลก็คอื หลังจากผ่อนพักในท่าศพ อย่าง “สบายกาย” และจิตใจเผลอและละทิง้ ความตื่นตัว หลายคนก็ผลอยหลับไป หรือจะคิดจากอีกแง่มมุ หนึ่งก็ได้วา่ เวลา เราเหยียดยืดร่างกายไปในทิศทางหนึ่งๆ เพือ่ ไปสูอ่ าสนะ เช่น แอ่นตัวไปข้างหลัง เราจะเห็น “ทวิภาวะ” หรือสภาวะตรงกัน ข้ามระหว่าง “สถิระ” และ “สุขะ” ซึง่ เกิดขึน้ พร้อมกัน แต่กบั ร่างกายคนละด้าน กล่าวอย่างเป็นรูปธรรมก็คอื เวลา เราแอ่นตัวไปข้างหลัง โครงสร้างร่างกาย ด้านหลัง(ซึง่ เรียกด้วยศัพท์แสงในทางกาย วิภาคศาสตร์ตะวันตก ทีแ่ ปลเป็นไทยว่า “กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น กระดูก”) จะเกร็ง(และ หดสัน้ ลง) การเกร็งก็คอื การกระชับให้แน่นขึน้ หรือ พูดอีกอย่างว่า โครงสร้างร่างกายด้านหลัง มีความเป็ น “สถิระ” มากขึน้ ในขณะเดียวกัน ร่างกายด้านหน้า จะต้องผ่อนคลายหรือต้องมีความยืดหยุน่ ด้วย ไม่เช่นนัน้ ต่อให้รา่ งกายด้านหลัง เช่น กล้ามเนื้อหลังมีพลังทีจ่ ะเกร็ง ร่างกาย ย่อมไม่สามารถแอ่นโค้งได้
เพราะฉะนัน้ คงไม่ผดิ นัก หากจะ บอกว่า การทาท่าแอ่นหลัง ร่างกาย ด้านหลังจะต้องเพิม่ “สถิระ” ในขณะที่ ร่างกายด้านหน้าจะต้องเพิม่ “สุขะ” หรือ ผ่อนคลาย ให้มากกว่าขณะทีร่ า่ งกายอยูใ่ น ท่าปกติหรือไม่แอ่นไปข้างหลังหรือ ข้างหน้า หรือพูดอีกนัยหนึ่ง(ซึง่ อาจชวนให้งง เล็กๆ)ก็ได้วา่ เวลาเราแอ่นตัวไปข้างหลัง ร่างกายด้านหลังจะต้อง “สถิระ” ในขณะที่ หากเป็ นการก้มตัวไปข้างหน้า มันต้อง “สุขะ” เมือ่ เทียบกับท่าทีห่ ลังอยูใ่ นสภาพตัง้ ตรง (อย่างไรก็ตาม คงต้องพยายามทา ความเข้าใจด้วยว่า เวลาบอกว่า “ร่างกาย ด้านหลังต้องสถิระ” นัน้ ไม่ได้หมายถึงว่ามี เฉพาะสถิระล้วนๆ แต่พดู โดยเปรียบเทียบ ขณะทีร่ า่ งกายด้านหลังเกร็ง ตัวมันเองจะมี ความเป็ นสถิระมากขึน้ พร้อมกันนัน้ ก็ม ี “สุขะ” ด้วย เพราะหากเป็ น “สถิระ” แบบ สุดโต่งจน “สุขะ” หายไป สภาพทีเ่ กิดขึน้ คือ เราจะเกร็งกล้ามเนื้อจนเกิดความ เจ็บปวด หรือ “สถิระ ทุหข์ ะ”) พอจะเข้าใจได้ไหมครับว่า “สถิระ” และ “สุขะ” เป็ นคุณสมบัตทิ ส่ี มั พัทธ์ คือปรับและ เปลีย่ นไปตามท่วงท่า กระทังแปรไปตาม ่ ทิศทาง(ในการเหยียดยืด) และอิรยิ าบถ ของร่างกาย ซึง่ เป็ นความท้าทายอย่างยิง่ สาหรับผูส้ นใจ(และฝึก)อาสนะ ที่ 23
ควรค้นให้พบและเข้าให้ถงึ สมดุลแห่งสถิระ และสุขะในท่วงท่า ทิศทาง และอิรยิ าบถ ของเราในทุกๆ ขณะ หากใช้หลักคิดและมุมมองข้างต้น มาวิสชั นาโจทย์ทผ่ี มตัง้ ในตอนต้นว่า “การ จะยกขา(ทัง้ สองข้าง)ขึน้ เพือ่ ไปสูท่ า่ ตักแตน ๊ ต้องอาศัยต้นทุนอะไรบ้าง และเรามีตน้ ทุน เหล่านัน้ เพียงพอไหม” ต้นทุนในการยกขา(ทัง้ สองข้าง)ขึน้ (ได้) ก็ คือ เราต้องการสถิระของร่างกายด้านหลัง โดยเฉพาะหลังส่วนล่างตัง้ แต่เอวลงไป รวมถึงกระเบนเหน็บ และขาด้านหลัง ในขณะเดียวกัน เราก็ตอ้ งการสุขะ หรือความยืดหยุน่ หรือความสามารถในการ คลายของร่างกายด้านหน้า ซึง่ เป็นคูต่ รง ข้ามของร่างกายด้านหลัง ซึง่ เทียบเคียงได้ กับคาอธิบายการทางานของกล้ามเนื้อตาม หลักกายวิภาคศาสตร์ตะวันตกทีบ่ อกว่า ั ่ างานใน กล้ามเนื้อทีอ่ ยูค่ นละฟากฝงจะท ลักษณะตรงกันข้ามเรียกว่า ‘agonist’ และ ‘antagonist’ คือขณะทีก่ ล้ามเนื้อด้านหนึ่ง เกร็ง กล้ามเนื้อทีอ่ ยูต่ รงกันข้ามจะ(ต้อง) คลาย ผมคิดว่า นี่กค็ อื (คาอธิบายทีส่ ะท้อน ถึง)ความเป็ น “ทวิภาวะ” (duality) ในอีก แง่มมุ หนึ่ง อย่างไรก็ตาม ผมขอ(อนุญาต) ไม่ลงลึกในรายละเอียดเกีย่ วกับเทคนิคว่า จะทาอย่างไรจึงจะเพิม่ ต้นทุน คือความ แข็งแรงของร่างกายด้านหลัง และความ 24
ยืดหยุน่ ของร่างกายด้านหน้า เพราะ อยากจะแลกในเชิงวิธคี ดิ และมุมมองเป็ น หลัก ส่วนทีผ่ ถู้ ามระบุในวงเล็บว่า (ยกขา ได้ขา้ งเดียว) นัน้ ผมขออนุญาตสะกิดให้ตงั ้ ข้อสังเกตคนทีฝ่ ึกอาสนะหลายๆ คนดู คือ คิดเผินๆ เราอาจมองว่า ในการทาท่า ตักแตน ๊ การยกขาขึน้ ทัง้ สองข้าง(น่า)จะทา ได้ยากกว่าการยกขาข้างเดียว (แล้ว สลับกัน) แน่ละ หากมองจากต้นทุนว่าเวลายก ขาขึน้ สูท่ า่ ตักแตน ๊ หลังส่วนล่าง รวมทัง้ กระเบนเหน็บและสะโพกจะต้องเกร็ง ซึง่ แน่นอนว่าการยกขาทัง้ สองข้าง ร่างกาย ต้องใช้พลังมากกว่าข้างเดียว ทว่านอกจาก ความแข็งแรงของร่างกายส่วนทีก่ ล่าว มาแล้ว เราต้องคิดถึงความยืดหยุน่ ของ กล้ามเนื้อขาด้านในด้วย นันคื ่ อ เวลาทาท่า ตักแตนโดยยกขาขึ ๊ น้ ข้างเดียว กล้ามเนื้อ ด้านในของขาทัง้ สองข้างจะถูกรัง้ ให้แยก จากกัน ซึง่ สาหรับคนทีก่ ล้ามเนื้อต้นขา ด้านในตึงมาก การทาท่าทีข่ าทัง้ สองข้าง ต้องแยกห่างกัน จะทาได้ยาก พูดง่ายๆ ก็คอื การทาท่าตักแตน ๊ ไม่แน่ เสมอไปว่าการยกขาสองข้างขึน้ จะยากกว่า การยกขาข้างเดียวสาหรับบางคน หรืออาจ ระบุให้ชดั ขึน้ ว่า คนทีก่ ล้ามเนื้อหลัง ส่วนล่าง กระเบนเหน็บ และสะโพกแข็งแรง
การทาท่าตักแตนครึ ๊ ง่ ท่า ยังสามารถ และร่างกายด้านหน้ายืดหยุน่ พอสมควร จะ ใช้สารวจตรวจสอบความแข็งแรงและ ทาท่าตักแตนแบบเต็ ๊ มรูป(คือยกสองขา)ได้ ยืดหยุน่ ของร่างกายแต่ละข้างด้วยว่า ทัง้ ค่อนข้างง่าย แต่หากกล้ามเนื้อขาด้านในตึง สองข้างแข็งแรงและยืดหยุน่ ใกล้เคียงกัน อาจพบว่าทาตักแตนครึ ๊ ง่ ท่า(คือยกขาข้าง หรือไม่ เช่น หากร่างกายข้างซ้ายไม่ เดียว)ยากกว่าสองข้าง แข็งแรงเท่ากับข้างขวา เวลายกขาซ้ายจะ นอกจากนี้การยกขาข้างเดียว ยกได้สงู จากพืน้ น้อยกว่า หรือบางคนอาจ ร่างกายสองข้างจะอยูใ่ นลักษณะ เอียงตัว(หรือทิง้ น้ าหนัก)ไปทางขวา ซึง่ ดู asymmetry (อสมมาตร) ซึง่ คนทีม่ ปี ญั หา คล้ายกับว่ายกขาขึน้ แต่จริงๆ เป็ นการ เรือ่ งความสมดุลระหว่างร่างกายสองข้าง เอียงตัวมากกว่า อาจทาท่านี้ยากกว่าแบบยกขาสองข้างก็ ได้ ขอบคุณครับ (พี)่ เละ
25
ชวนคิดนอกจอ Les Miserables
อนัตตา
หนังบอกเล่าเรือ่ งราวของ ฌอง วาลฌอง (ฮิวจ์ แจ็คแมน) ชายหนุ่มทีต่ อ้ งโทษเพราะขโมย ขนมปงั หนึ่งก้อนเพือ่ นาไปให้หลานเนื่องจากความ แร้นแค้น และด้วยความทีพ่ ยายามหนีออกจากคุก หลายต่อหลายครัง้ เลยต้องถูกจาคุกนานถึง 19 ปี หลังจากหนีออกมาได้กถ็ ูกสารวัตรฌาแวรต์ (รัส เซล โครว์) ผูเ้ ถรตรง และไม่เชือ่ ว่าคนชัวจะกลั ่ บตัว ได้ ตามล่าเอาตัวไปขังคุกอีกครัง้ ซึง่ ในระหว่าง เดียวกันนัน้ ก็มเี รือ่ งราวการจลาจลครัง้ ใหญ่ในปารีส ปี 1832 เกิดขึน้ หนังค่อนข้างยาว.. แต่ฉนั เหมือนโดนมนต์สะกด ตัง้ แต่ 20 นาทีแรกทีด่ าเนินเรือ่ งถึงตอนที่ ฌอง วาลฌอง หนีออกมาจากการจองจา และหลังจาก ต้องระเหเร่รอ่ นของานทาในทีต่ า่ งๆ ซึง่ ไม่มใี ครรับ คนทีถ่ ูกแปะสติก๊ เกอร์วา่ คงไม่มวี นั เป็นคนดีไปได้อย่างเขา ในคืนทีห่ นาวเน็บเขาย่าไปบน ทางเดินทีห่ มิ ะโปรยปราย ไม่มที น่ี อน ไม่มอี าหาร แต่แล้วก็มบี าทหลวงหน้าตามีเมตตาถือ ตะเกียงเดินมาทีเ่ ขา และชวนเขาเข้าไปในบ้าน รับรองเขาด้วยอาหารและทีน่ อนอย่างแขกผูม้ ี เกียรติ ชัวนาที ่ ทค่ี วามแปลกใจระคนอยูใ่ นหัวใจของฌอง วาลฌอง แต่ดว้ ยร่องแห่งความคุน้ ชิน ทีม่ อี ยู่ กลางดึกคืนนัน้ เมือ่ เห็นว่าบาทหลวงหลับแล้วเขาจึงแอบหยิบเครือ่ งเงินราคาแพงหลาย ต่อหลายชิน้ แล้วรีบหนีไป นับเป็ นความโชคดีอย่างเหลือเกินทีเ่ ขาไม่สามารถหนีไปได้ เพราะถ้า เป็ นอย่างนัน้ เขาอาจไม่พบจุดเปลีย่ นครัง้ ยิง่ ใหญ่ในชีวติ จากการทีบ่ าทหลวงไม่เอาความเขาเลย แม้แต่น้อย หนาซ้ายังพูดอย่างเปี่ยมเมตตากับเจ้าหน้าทีท่ จ่ี บั ตัวเขาถึงเครือ่ งเงินเหล่านัน้ ว่า “เขา
26
ไม่ได้โกหก พ่อให้เขาเอง” และความเมตตากรุณาก็เป็ นพลังงานทีท่ รงพลังมากพอทีจ่ ะ เปลีย่ นแปลงหัวจิตหัวใจของชายผูห้ นึ่งทีส่ ญ ู สิน้ ศรัทธาในความดีงามของมนุษย์ให้กลับมามีหวั ใจ ทีบ่ ริสทุ ธิ ์อีกครัง้ หนึ่งได้ เขาจึงใช้ชวี ติ ทีเ่ หลืออยูท่ งั ้ หมดเพือ่ อุทศิ ให้กบั การส่งต่อพลังนี้แด่ผคู้ น รอบข้าง.. เหมือนทีเ่ ขาเคยได้รบั ฉันดูหนังเรือ่ งนี้จบด้วยความรูส้ กึ อิม่ เอมในหัวใจและเฝ้าถามตัวเองว่า.. ในชีวติ ของเราจะมีสกั กีค่ รัง้ ทีเ่ ราใช้พน้ื ฐานประสบการณ์และความเชือ่ ในการตัดสินใครสักคนหนึ่ง แปะสติก๊ เกอร์สดี าตลอดกาลให้เขา - - กับความผิดเพียงครัง้ ทีเ่ ขาก่อแม้ไม่ได้มเี จตนาร้าย โดยไม่ได้ทาความเข้าใจความจริงของโลกใบนี้วา่ ทุกสิง่ สามารถเปลีย่ นแปลงไปได้ และไม่ได้เข้าใจเลยว่า.. บางครัง้ ความคิดของเรานันเองที ่ เ่ ป็ นตัวการล่อหลอกให้เราเชือ่ และใช้ชวี ติ ตามความเชือ่ ทีผ่ ดิ ๆ นัน้ .. ตลอดมา
27
ระบบประสาทที่ครูโยคะควรรู้ เหยีย่ ว ตะวันตก-ตะวันออก
ตอน "กล้ามเนื้ อกระบังลมและการหายใจ"
จากตอนทีแ่ ล้ว ถ้าแบ่งกล้ามเนื้อตาม การทางานและทีอ่ ยู่ จะแบ่งได้เป็ น กล้ามเนื้อลาย(skeleton muscle) กล้ามเนื้อเรียบ(smooth muscle) กล้ามเนื้อหัวใจ(cardiac muscle) โดยกล้ามเนื้อลายแต่ละมัดจะหดตัวเมือ่ มีกระแสประสาทมากระตุน้ แต่ไม่สามารถ แพร่กระจายการหดตัวนัน้ ไปสูก่ ล้ามเนื้อ ใกล้เคียงได้ กล้ามเนื้อเรียบจะหดตัวเมือ่ มีกระแส ประสาทมากระตุน้ และสามารแพร่กระจายให้ เกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบทีอ่ ยูใ่ กล้เคียง ได้ เช่น กล้ามเนื้อเรียบในลาไส้ กล้ามเนื้อหัวใจสามารถหดตัวได้โดยมี แหล่งกาเนิดการเต้นหัวใจทีก่ อ่ ให้เกิดการหด ตัวของกล้ามเนื้อยูใ่ นหัวใจ
28
กระบังลม(diaphragm)ประกอบด้วย กล้ามเนื้อลายและเยือ่ พังผืด มีลกั ษณะเป็ นรูป โดม ยืน่ เข้าไปในช่องอก(ดังภาพ) โดยกล้ามเนื้อกระบังลมจะหดตัวเมือ่ มี กระแสประสาทมากระตุน้ โดยอาจมาจาก สมองส่วนสูง เมือ่ เป็ นการหายใจเข้า-ออก ภายใต้อานาจจิตใจ หรืออาจมาจากสมอง ส่วนล่างเมือ่ ระดับออกซิเจนในเลือดต่า หรือ ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูงขึน้ มาก ซึง่ ก็คอื การหายใจเข้า-ออก ทีน่ อกเหนือ อานาจจิตใจนันเอง ่ กระบังลมแบ่งช่องอกและช่องท้องออกจากกัน (ดังภาพ) โดยช่องอกประกอบขึน้ จากกระดูก ซีโ่ ครง กล้ามเนื้อระหว่างกระดูกซีโ่ ครง (intercostal muscle) กระดูกหน้าอก กระดูก สันหลัง และกระบังลมเป็ นฐานล่างมีอวัยวะ ภายในช่องอกทีส่ าคัญคือ ปอดและหัวใจ เมือ่
กล้ามเนื้อกระบังลมหดตัวส่วนทีเ่ ป็นรูปโดมจะ ราบลง ดันอวัยวะในช่องท้องลง ทาให้ปริมาตร ในช่องอกขยายขึน้ อากาศไหลเข้าปอด ปอด ขยายตัว เป็ นการหายใจเข้า เมือ่ กระบังลม คลายตัวกลับสูร่ ปู โดม ปริมาตรในช่องอกลดลง ดันอากาศในปอดไหลออกภายนอก เป็นการ หายใจออก การหายใจเข้าในภาวะผ่อนคลาย(at rest)เกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อกระบังลม ดังทีก่ ล่าวมาแล้ว แต่ในภาวะทีเ่ ราหายใจเข้า เต็มที(่ fully inhale) นอกจากกระบังลมหดตัว เต็มทีแ่ ล้ว กล้ามเนื้อระหว่างกระดูกซีโ่ ครงด้าน นอก(external intercostal muscles) และ กล้ามเนื้อsternocleidomastoidหดตัว เพือ่ ดึง กระดูกซีโ่ ครงขึน้ ทาให้ชอ่ งอกขยายตัวมากขึน้ ทัง้ ในแนวราบและในแนวตัง้ (ดังภาพ) ปอด ขยายตัวได้มากขึน้ อากาศไหลเข้าปอดได้มาก ขึน้ และนานขึน้ การหายใจออกในภาวะผ่อนคลาย(at rest)เป็ นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ เอง(passive movement) เมือ่ กระบังลมคลายตัว(หลังจากหดตัวทาให้ เกิดการหายใจเข้าก่อนหน้านัน้ ) แต่ถา้ เป็ น การหายใจออกเต็มที(่ fully exhale) นอกจาก
กระบังลมคลายตัวเต็มทีแ่ ล้ว กล้ามเนื้อระหว่าง กระดูกซีโ่ ครงด้านใน(internal intercostal muscles)หดตัว เพือ่ ดึงกระดูกชีโ่ ครงเข้าใน และลงต่ากล้ามเนื้อหน้าท้องหดตัว อวัยวะใน ช่องท้องดันกระบังลมขึน้ ทาให้ปริมาตรในช่อง อกลดลงมากขึน้ ดันอากาศในปอดให้ไหลออก มากขึน้ เกิดการหายใจออกเต็มที่ เราจะสามารถรับรูไ้ ด้ว่ากระบังลมอยูใ่ น สภาวะคลายตัว หดตัว หรือถูกดันขึน้ เข้าไปใน ช่องอก โดยรับรูจ้ ากตาแหน่งของผนังหน้าท้อง ผนังทรวงอกและการรับความรูส้ กึ จากปอดและ ลาไส้ เช่น เมือ่ กล้ามเนื้อกระบังลมหดตัว อวัยวะในช่องท้องจะถูกดันลงล่าง ผนังหน้า ท้องจะถูกดันออก(หายใจเข้า) หรือเมือ่ กล้ามเนื้อกระบังลมคลายตัวหรือถูกดันขึน้ เรา จะรับรูว้ า่ ผนังหน้าท้องหดตัวเข้าใน(อวัยวะในช่องท้อง ดันกระบังลมขึน้ ) และกระดูกซีโ่ ครงและกระดูก หน้าอกลดต่าลง ถึงตรงนี้ผอู้ ่านคงจะเข้าใจมากขึน้ ในการ ฝึกการหายใจแบบต่างๆ เช่น การหายใจด้วย หน้าท้อง การหายใจด้วยทรวงอก หรือการ หายใจเข้า-ออกอย่างเต็มที่ ว่าเกีย่ วข้องกับ อวัยวะ หรือส่วนใดของร่างกายบ้าง
29
พระไตรปิฎกแก่นธรรม
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๘ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๐ สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค รถสูตร 30
[๓๑๗] ดูกรภิกษุทงั ้ หลาย ภิกษุผปู้ ระกอบด้วยธรรม ๓ ประการ ย่อมมากด้วยความสุขโสมนัส อยูใ่ นปจั จุบนั และย่อมปรารภอุบายเพือ่ ความสิน้ อาสวะทัง้ หลาย ธรรม ๓ ประการเป็ นไฉน คือ ภิกษุเป็ นผูค้ มุ้ ครองทวารในอินทรียท์ งั ้ หลาย ๑ รูป้ ระมาณในโภชนะ ๑ ประกอบความเพียรเป็ น เครือ่ งตื่นอยู่ ๑ ดูกรภิกษุทงั ้ หลาย ก็ภกิ ษุเป็ นผูค้ มุ้ ครองทวารในอินทรียท์ งั ้ หลายอย่างไร ภิกษุในธรรม วินยั นี้ เห็นรูปด้วยจักษุแล้ว ไม่ถอื นิมติ ไม่ถอื อนุพยัญชนะ เธอย่อมปฏิบตั เิ พือ่ สารวมจักขุนทรีย์ ทีเ่ มือ่ ไม่สารวมแล้ว จะพึงเป็ นเหตุให้อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัสครอบงานัน้ ชือ่ ว่ารักษาจักขุนทรีย์ ชือ่ ว่าถึงความสารวมในจักขุนทรีย์ ภิกษุฟงั เสียงด้วยหู ... ดมกลิน่ ด้วยจมูก ... ลิม้ รสด้วยลิน้ ... ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกาย ... รูแ้ จ้งธรรมารมณ์ดว้ ยใจแล้ว ไม่ถอื นิมติ ไม่ถอื อนุพยัญชนะ เธอย่อมปฏิบตั เิ พือ่ ความสารวมมนินทรีย์ ทีเ่ มือ่ ไม่สารวมแล้ว จะพึงเป็นเหตุให้ อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัสครอบงานัน้ ชือ่ ว่ารักษามนินทรีย์ ชือ่ ว่าถึงความ สารวมในมนินทรีย์ ดูกรภิกษุทงั ้ หลาย นายสารถีฝึกม้าผูฉ้ ลาด เป็ นอาจารย์ฝึกฝนม้า ขึน้ สูร่ ถม้าอันเทียมแล้ว ซึง่ มีประตักอันวางไว้แล้ว ถือเชือกด้วยมือซ้าย ถือประตักด้วยมือขวา ขับไปทางหน้าก็ได้ ถอย กลับข้างหลังก็ได้ ในถนนใหญ่ ๔ แยก ซึง่ มีพน้ื เรียบดี ตามความประสงค์ ฉันใด ดูกรภิกษุ ทัง้ หลาย ภิกษุยอ่ มศึกษาเพือ่ จะรักษา ศึกษาเพือ่ จะสารวมศึกษาเพือ่ จะฝึกฝน ศึกษาเพือ่ จะระงับ อินทรียท์ งั ้ ๖ เหล่านี้ ก็ฉนั นัน้ เหมือนกัน ดูกรภิกษุทงั ้ หลาย ภิกษุชอ่ื ว่าเป็ นผูค้ มุ้ ครองทวารใน อินทรียท์ งั ้ หลายอย่างนี้แล ฯ [๓๑๘] ดูกรภิกษุทงั ้ หลาย ภิกษุเป็ นผูร้ ปู้ ระมาณในโภชนะอย่างไร ภิกษุในธรรมวินยั นี้ พิจารณาโดยแยบคาย บริโภคอาหารด้วยมนสิการว่า เราไม่บริโภคเพือ่ เล่น เพือ่ ความมัวเมา เพือ่ จะประดับ เพือ่ จะตกแต่ง บริโภคเพียงเพือ่ ดารงอยูแ่ ห่งร่างกายนี้ เพือ่ ยังอัตภาพให้เป็ นไป เพือ่ จะกาจัดความลาบาก เพือ่ อนุเคราะห์พรหมจรรย์ ด้วยประการดังกล่าวมานี้ เราจักกาจัด เวทนาเก่าเสีย จักไม่ให้เวทนาใหม่เกิดขึน้ การยังชีพให้เป็ นไป ความไม่มโี ทษและความอยูส่ บาย จักมีแก่เรา ดูกรภิกษุทงั ้ หลาย บุรษุ พึงฉาบทาผิวกาย ก็เพียงเพือ่ ต้องการเสพ หรือบุรษุ พึงหยอดน้ ามันเพลา รถก็เพียงเพือ่ ต้องการขนสิง่ ของไปได้ ฉันใด ดูกรภิกษุทงั ้ หลายภิกษุพจิ ารณาโดยแยบคาย บริโภคอาหารด้วยมนสิการว่า เราไม่บริโภคเพือ่ เล่นเพือ่ ความมัวเมา เพือ่ จะประดับ เพื่อจะ ตกแต่งผิว บริโภคเพียงเพือ่ ดารงอยูแ่ ห่งร่างกายนี้ เพือ่ ยังอัตภาพให้เป็ นไป เพือ่ จะกาจัดความ ลาบาก เพือ่ อนุเคราะห์พรหมจรรย์ ด้วยประการดังกล่าวมานี้ เราจักกาจัดเวทนาเก่าเสีย 31
จักไม่ให้เวทนาใหม่เกิดขึน้ การยังชีพให้เป็นไป ความไม่มโี ทษและความอยูส่ บายจักมีแก่เราฉัน นัน้ เหมือนกัน ดูกรภิกษุทงั ้ หลาย ภิกษุชอ่ื ว่าเป็ นผูร้ ปู้ ระมาณในโภชนะอย่างนี้แล ฯ [๓๑๙] ดูกรภิกษุทงั ้ หลาย ภิกษุเป็ นผูป้ ระกอบความเพียรเครือ่ งตื่นอยูอ่ ย่างไร ภิกษุใน ธรรมวินยั นี้ ย่อมชาระจิตให้บริสทุ ธิ ์จากธรรมเครือ่ งกัน้ ความดีดว้ ยการเดิน การนัง่ ในเวลา กลางวัน พอถึงกลางคืนตอนปฐมยาม ย่อมชาระจิตให้บริสทุ ธิ ์จากธรรมเครือ่ งกัน้ ความดี ด้วยการ เดิน การนัง่ ในตอนมัชฌิมยามแห่งราตรี ย่อมสาเร็จสีหไสยาโดยข้างเบือ้ งขวา ซ้อนเท้าเหลือ่ ม เท้า มีสติสมั ปชัญญะทาไว้ในใจซึง่ อุฏฐานสัญญา พอถึงปจั ฉิมยามแห่งราตรี ก็ลุกขึน้ ชาระจิตให้ บริสทุ ธิ ์จากธรรมเครือ่ งกัน้ ความดีดว้ ยการเดิน การนัง่ ดูกรภิกษุทงั ้ หลาย ภิกษุชอ่ื ว่าเป็ นผู้ ประกอบความเพียรเครือ่ งตื่นอยูอ่ ย่างนี้แล ดูกรภิกษุทงั ้ หลาย ภิกษุผปู้ ระกอบด้วยธรรม ๓ ประการนี้ ชือ่ ว่าย่อมมากด้วยความสุขโสมนัสอยูใ่ นปจั จุบนั และย่อมปรารภอุบายเพือ่ ความสิน้ อาสวะทัง้ หลาย ฯ
32
ตาราโยคะดัง้ เดิม วีระพงษ์ ไกรวิทย์ และจิรวรรณ ตัง้ จิตเมธี
แปลและเรียบเรียง
ยมะ ๕ : การพัฒนาสภาวะจิตด้านใน (ตอนที่ ๑) ใจความสาคัญของโยคสูตรประโยค ๒: ๒๙ ในสองตอนทีผ่ า่ นมาสรุปได้วา่ ปตัญชลี ได้เสนอการฝึกโยคะอย่างเป็ นระบบด้วย มรรค ๘ ของโยคะ ได้แก่ ยมะ นิยมะ อาสนะ ปราณายามะ ปรัตยาหาระ ธารณา ธยานะ และสมาธิ และมีผใู้ ห้ความเห็นว่ามรรคทัง้ ๘ นี้มกี ารเรียงลาดับขันที ้ แ่ น่นอน ดังนัน้ หากจะ ฝึกมรรคใดมรรคหนึ่งก็ควรมีการฝึกมรรค ก่อนหน้านัน้ มาจนชานาญเสียก่อน แต่กม็ ี เสียงคัดค้านแนวคิดนี้ เพราะหากต้องมาคอย ปฏิบตั ยิ มะ-นิยมะให้ดเี สียก่อนค่อยฝึกอาสนะ ปราณายามะ และเทคนิคกลุม่ สมาธิ ผูป้ ฏิบตั ิ ก็อาจจะพลาดโอกาสในการฝึกเทคนิคอื่นๆ และได้รบั ประโยชน์จากเทคนิคเหล่านัน้ ใน เบือ้ งต้น ตลอดจนพลาดโอกาสในการเริม่ เดินก้าวหน้าไปบนเส้นทางของโยคะ ดังนัน้ มรรค ๘ ของปตัญชลีตามลาดับข้างต้นนัน้ จึง ไม่จาเป็ นต้องฝึกเรียงตามแบบนี้เสมอ อาจ เริม่ ฝึกมรรคทัง้ ๘ ไปพร้อมๆ กันตามสภาพ ความพร้อมของผูฝ้ ึกก็ได้ แต่พงึ ตระหนักว่า หากผูป้ ฏิบตั ไิ ม่ได้ฝึกมรรคในลาดับก่อนหน้า มาก่อน การฝึกมรรคถัดมาก็ยอ่ มจะทาได้ไม่ ดีเท่า ในทานองกลับกันยิง่ ผูป้ ฏิบตั มิ คี วาม ชานาญในการฝึกมรรคก่อนหน้าได้ดเี พียงใด
33
เขาจะยิง่ เชีย่ วชาญในการฝึกมรรคถัดไปได้ มากขึน้ เพียงนัน้ ด้วย ประโยคที่ ๒:๓๐ กล่าวว่า “อหิงสาสัตยาสเตยะ-พรหมจรรยาปริคระหา ยมาห์” แปลว่าอหิงสา (ไม่ทาร้ายสิง่ ใด) สัต ยะ (ความจริงในทุกมิตขิ องชีวติ ) อสเตยะ (ไม่ลกั ขโมย คือ ไม่ครอบครองสิง่ ใดอันเรา มิได้เป็ นเจ้าของ) พรหมจรรยะ (ชีวติ ทีม่ กี าร ฝึกฝนให้ควบคุมตนเองโดยเฉพาะเรือ่ งทาง เพศ) และอปริครหะ (ไม่รบั หรือถือครองและ ไม่สะสมสิง่ ต่างๆ) ทัง้ หมดนี้คอื ยมะ คาว่า “ยมะ” มาจากรากศัพท์คากริยา “ยัม” ซึง่ หมายถึงควบคุมหรือบังคับ ดังนัน้ องค์ประกอบย่อยของยมะเหล่านี้จงึ เป็ นการ เตือนเพือ่ ให้เกิดการควบคุมตนเอง อรรถ กถาจารย์จานวนมากได้แยกความแตกต่าง ระหว่างยมะกับนิยมะด้วยการอธิบายว่า ยมะ คือกฎข้อบังคับของพฤติกรรมทางสังคม ขณะทีน่ ิยมะคือกฎข้อบังคับของพฤติกรรม บุคคล ตามความเห็นของอรรถกถาจารย์ของ หนังสือเล่มนี้ คากล่าวนี้ถูกต้องเพียงบางส่วน เท่านัน้ การปฏิบตั ยิ มะไม่ได้มวี ตั ถุประสงค์ หลักเพือ่ สร้างสังคมทีม่ รี ะเบียบวินยั อันดี แต่ โดยเปรียบเทียบแล้วยมะเหล่านี้ชว่ ยสร้าง สภาวะอันสงบสุขของจิตใจซึง่ เป็นพืน้ ฐานขัน้ แรกสาหรับการฝึกโยคะ การทาผิดยมะใดก็ ตามเป็ นสิง่ ทีค่ วรหลีกเลีย่ งโดยตรงเพราะมัน จะสร้างผลทางลบให้กบั จิตใจและนาไปสูก่ าร รบกวนจิตใจได้ ดังนัน้ จากมุมมองของโยคะ 34
การปฏิบตั อิ หิงสาไม่ใช่การฝึกเพือ่ ทีจ่ ะไม่ เบียดเบียนทาร้ายผูอ้ ่นื แต่เป็ นการหลีกเลีย่ ง ผลทางลบของการทาร้ายผูอ้ ่นื ซึง่ จะทาให้เกิด การรบกวนจิตใจตนเอง ไม่เพียงแต่การ เบียดเบียนผ่านการกระทาทางกายทีไ่ ปทา ร้ายผูอ้ ่นื ซึง่ เป็นสิง่ ทีเ่ ราควรหลีกเลีย่ งเท่านัน้ ความจริงแล้วการคิดทีจ่ ะทาร้ายผูอ้ ่นื ก็เป็นสิง่ ทีเ่ ลวร้ายพอๆ กันหรืออาจเลวร้ายมากกว่า การลงมือทาร้ายผูอ้ น่ื จริงๆ เสียอีก การทา ร้ายผูอ้ ่นื ทางความคิดย่อมเป็ นหิงสา1ด้วย และอาจเป็ นส่วนทีเ่ ลวร้ายทีส่ ดุ ของหิงสาก็ได้ ยมะข้อทีเ่ หลือก็มขี อ้ เท็จจริงไปในทานอง เดียวกัน ส่วนผลทีด่ ขี องการฝึกอหิงสาทีม่ ตี อ่ สังคมนัน้ ถือเป็ นผลพลอยได้ในมุมมองของ โยคะ เมือ่ มองในแง่น้แี ล้วทัง้ ยมะและนิยมะ จึงเป็ นกฎข้อบังคับสาหรับพฤติกรรมของแต่ ละบุคคล หากจะมีความแตกต่างกันระหว่าง มรรคทัง้ สองนี้กน็ ่าจะเป็ นว่า การฝึกยมะ เป็ นไปเพือ่ พัฒนาสภาวะด้านใน(จิตใจ)ให้ดี ขึน้ ในขณะทีก่ ารฝึกนิยมะเป็ นไปเพือ่ พัฒนา พฤติกรรมภายนอก การฝึกยมะควรจะกระทาทัง้ หมด 3 ระดับ ด้วยกันคือ กายิกะหรือทางร่างกาย วาจิกะ หรือทางคาพูด(วาจา) และมานสิกะหรือทาง จิตใจ ส่วนใหญ่ของยมะโดยเฉพาะอหิงสา
1
หิ งสา หมายถึง การเบียดเบียนทาร้ายผูอ้ ื่นในทุกรู ปแบบทั้งทางกาย วาจา และ ใจ นัน่ คือการละเมิดยมะข้อ อหิ งสา นัน่ เอง (ผูแ้ ปล)
สัตยะ อสเตยะ และพรหมจรรยะ เราควรฝึก ให้ได้ครบทัง้ สามระดับ แม้วา่ เราจะไม่ได้ กระทาการเบียดเบียนทาร้ายผูอ้ ่นื ทางกาย แต่มเี จตนาหรือความคิดทางใจทีจ่ ะ เบียดเบียนทาร้ายผูอ้ ่นื โยคะก็มองว่าเราได้ ละเมิดยมะข้ออหิงสาในระดับทางจิตใจแล้ว ในเรือ่ งการพูดก็เช่นกันทีส่ ง่ ผลให้เกิดความ ทุกข์ใจต่อผูอ้ น่ื ย่อมเป็นการเบียดเบียนทา ร้ายในระดับวาจา ดังนัน้ ผูป้ ฏิบตั ติ อ้ ง ระมัดระวังเป็ นอย่างมากและพยามยามเฝ้าดู การกระทาของเขาเองเพือ่ ทีจ่ ะหลีกเลีย่ งการ ทาร้ายเบียดเบียนใดๆ ในลักษณะต่างๆ ดังกล่าวทัง้ โดยเจตนาหรือไม่เจตนา ในกรณีของสัตยะ แปลว่าความจริง ซึง่ ให้ความรูส้ กึ ว่าคานี้หมายถึงการพูดความ จริงอยูเ่ สมอ แต่การหลอกลวงทางการกระทา หรือแม้แต่การคิดทีจ่ ะหลอกลวง(ซึง่ ยังไม่ได้ มีการลงมือกระทาทางกายและวาจา -ผูแ้ ปล) ก็เป็ นการละเมิดยมะในข้อสัตยะได้ อสเตยะ การไม่ลกั ขโมยไม่ได้จากัด เพียงแค่การยักยอกหรือการเข้าครอบครอง สิง่ ต่างๆ ทีเ่ ราไม่ได้เป็ นเจ้าของเท่านัน้ แม้แต่เพียงแค่มเี จตนาหรือความปรารถนาที่ จะครอบครองสิง่ ต่างๆ ทีเ่ ป็ นของผูอ้ น่ื ก็เป็น การละเมิดอสเตยะทางจิตใจแล้ว การขโมย คาพูดหรือข้อความก็เป็ นเรือ่ งทีร่ บั รูก้ นั นักเขียนหรือนักพูดทีม่ กั จะขโมยคาพูดหรือ ผลงานของผูอ้ ่นื มาใช้กเ็ ป็ นตัวอย่างของการ
ละเมิดอสเตยะ ซึง่ กรณีแบบนี้กไ็ ด้รบั การ พิจารณาทางกฎหมายแม้ในยุคปจั จุบนั ว่า เป็ นการกระทาผิดทางอาญาทีต่ อ้ งได้รบั บทลงโทษ พรหมจรรยะปกติแล้วหมายถึงการถือ พรหมจรรย์หรือการงดเว้นจากกิจกรรมทาง เพศ แต่คาว่าพรหมจรรยะประกอบด้วยคา สองคาคือ “พรหม” หรือความจริงสูงสุด (คา ว่า “พรหมัน” เป็ นศัพท์เฉพาะในปรัชญา เวทานตะ หมายถึงกฎหรือความจริงสูงสุด แต่เมือ่ ใช้เป็ นคาผสม (พรหม+จรรยะ) หรือ เมือ่ ถูกนาไปใช้เป็นการเฉพาะโดยสานัก ปรัชญาอื่นๆ แล้วก็จะไม่ใช้ความหมายที่ เฉพาะเจาะจงนี้) และคาว่า “จรรยะ” หรือ ความประพฤติ ความหมายกว้างและ ความหมายพืน้ ฐานของคาว่า “พรหมจรรยะ” ก็คอื พฤติกรรมซึง่ มีสว่ นช่วยให้เข้าถึง เป้าหมายสูงสุดของผูฝ้ ึกทางจิตวิญญาณ ดังนัน้ พรหมจรรยะควรได้รบั การเข้าใจว่า เป็ นชีวติ ทีม่ กี ารฝึกฝนอย่างถูกต้องเพือ่ ความก้าวหน้าทางจิตวิญญาณและการ ตระหนักรูส้ งู สุด ในความหมายทีก่ ว้างขึน้ พรหมจรรยะไม่ได้ รวมถึงเพียงแค่ยมะและนิยมะข้ออื่นๆ ทัง้ หมดของปตัญชลีเท่านัน้ แต่ยงั รวมถึง ทุกๆ เรือ่ งทีอ่ า้ งถึงหรือทีอ่ ธิบายอยูภ่ ายใต้ หัวข้อยมะ-นิยมะในตาราเล่มอื่นๆ ทัง้ หมด ด้วย วิธกี ารควบคุมบังคับตนเองทัง้ หลายซึง่ บ่อยครัง้ ทีส่ ามัญสานึกได้บอกเราว่าเป็ น 35
ประโยชน์ต่อการพัฒนาทางจิตวิญญาณนัน้ ก็ควรนามารวมอยูใ่ นพรหมจรรยะด้วย เป็ นที่ ชัดเจนว่า พรหมจริน หรือผูป้ ระพฤติตาม พรหมจรรย์ไม่ควรจะเป็ นคนโกหกและ หลอกลวง (อสัตยะวาทิน) หรือไม่ควรจะเป็ น ผูก้ ระทาเบียดเบียนทาร้าย (หิงสกะ) หรือไม่ เป็ นผูเ้ สพสุขสาราญและมีความโลภดัง ตัวอย่างของผูท้ ล่ี ะเมิดยมะ-นิยมะในข้อมิตา หาระ2 ทีก่ ล่าวอยูใ่ นตาราโยคะอื่นบางเล่ม สางขยะและปตัญชลีดเู หมือนจะชอบจัดกลุม่ สิง่ ต่างๆ ออกเป็น ๕ อย่าง (ยมะและนิยมะ ในโยคสูตรจึงมีอย่างละห้าข้อ - ผูแ้ ปล) แต่ หากรวมยมะทัง้ หมดเข้ามาให้เหลือเพียงข้อ เดียว ข้อนัน้ ก็ควรจะเป็ นพรหมจรรยะเท่านัน้ เนื่องจากข้อนี้ได้รวมการปฏิบตั ติ ามกฎ ข้อบังคับแห่งความประพฤติอ่นื ๆ ทัง้ หมดอัน จาเป็ นต่อผูป้ ฏิบตั ทิ างจิตวิญญาณซึง่ จะ เกีย่ วข้องกับยมะ-นิยมะทุกข้อทีก่ ล่าวถึงใน ตาราทัง้ หมดด้วย
2
มิตาหาระ หมายถึง การรู ้ประมาณในการบริ โภค ซึ่ งปรากฏอยูใ่ นยมะข้อที่ ๙ ของตาราอัษฏางคโยคะ ตาราเล่มนี้ได้แจกแจงยมะและนิยมะไว้อย่างละ ๑๐ ข้อ (ดู Tiwari, p.7) – ผูแ้ ปล
36
เอกสารอ้างอิง : ๑) Karambelkar, P. V. (1986). PATANJALA YOGA SUTRAS Sanskrta Sutras with Transliteration, Translation & Commentary. Lonavla : Kaivalyadhama, p. 239-243. ๒) Tiwari, O. P. (1983). ASTANGA YOGA by SAINT CHARANDASA, Translation in English. Lonavla : Kaivalyadhama, p. 7.
เดือนกุมภาพันธ์ 2556 มีผ้บู ริจาคสนับสนุนการทางานของสถาบันฯ ดังนี้ ยศขจร นวมสันเทียะ 250 ครูวรรณี สืบพงศ์สริ ิ (ครูวรรณ) สอนทีส่ วนโมกข์ (30/1/56) 200 เงินสมทบกิจกรรมโยคะในสวนธรรม 30/1/56 840 เงินบริจาคค่าระฆัง 400 ครูวไิ ลวรรณ สุพรหม (ครูเป้) 200 ครูวไิ ลวรรณ สุพรหม (ครูเป้) สอนทีส่ วนโมกข์ (6/2/56) 200 เงินสมทบกิจกรรมโยคะในสวนธรรม 6/2/56 240 ครูวไิ ลวรรณ สุพรหม (ครูเป้) 200 ครูพรทิพย์ อึงคเดชา (ครูเปิ้ล) สอนทีส่ วนโมกข์ (13/2/56) 200 เงินสมทบกิจกรรมโยคะในสวนธรรม 13/2/56 530 ครูสภุ าพร ธนาพันธรักษ์ (ครูพร) สอนทีส่ วนโมกข์ (20/2/56) 200 เงินสมทบกิจกรรมโยคะในสวนธรรม 20/2/56 180 ฑิตยา คุม้ ไพโรจน์ 800 จากตูบ้ ริจาค ในสานักงาน 1,160 รวม
5,600 ยิ นดีรบั การสนับสนุน :
สถาบันโยคะวิชาการดาเนินการโดยได้รบั การสนับสนุ นบางส่วนจากมูลนิธหิ มอชาวบ้าน มีรายได้ จากค่าลงทะเบียนกิจกรรม มีรายได้จากการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ต่างๆ นอกจากนัน้ สถาบัน ฯ ยัง ยินดีรบั การสนับสนุ นจากผูส้ นใจร่วมเผยแพร่ เพือ่ นาเงินมาใช้ดาเนินการให้บรรลุวตั ถุประสงค์ตาม ทีต่ งั ้ ไว้ สนับสนุนผ่านบัญชี : ธนาคารไทยพาณิชย์ บัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี มูลนิธหิ มอชาวบ้าน (สถาบันโยคะวิชาการ) เลขทีบ่ ญ ั ชี 173-232-9491 สาขา The Mall 3 รามคาแหง 37
สถาบันโยคะวิ ชาการ มูลนิ ธิหมอชาวล้าน เลขที่ 201 ซอยรามคาแหง 36/1 ถนนรามคาแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร. 02 732 2016, 081 401 7744 www.thaiyogainstitute.com