สุขสาระ สิงหาคม 2551

Page 1



ดัชนีสุขภาพ อาซีซะห์ X

การลดน้ำหนักร้อยละ 5-10 ของน้ำหนักตัวในผูป้ ว่ ยโรคอ้วน ลดอัตราเสีย่ งต่อการเสียชีวติ จากโรคต่างๆ

ปั จ จุ บ ั น ความอ้ ว น จัดเป็นโรค ชนิดหนึ่งที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เพราะ ความอ้วนทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของ โรคอื่นๆ ตามมาอีกมากมาย ซึ่งโรคที่ พบบ่อยมากที่สุดคือ โรคเบาหวาน โดย ผู้หญิงอ้วนจะมีโอกาสเสียชีวิตด้วยโรค เบาหวานมากกว่าผู้ชายถึง 8 เท่า และ จะพบบ่อยในช่วงอายุ 40-50 ปีขึ้นไป นอกจากนี้คนอ้วนยังมีโอกาสเสี่ยงที่จะ

ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ในจำนวนนี้ 300 ล้านคน เป็นโรคอ้วน โดยปี 2015 จะมี ผู้ที่น้ำหนักเกินและอ้วนทั่วโลก เพิ่มขึ้นอีก 500 ล้านคน เป็น 1.5 พันล้านคน และ จากการศึ ก ษาความชุ ก ของโรคอ้ ว นใน ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกปี 2004 ใน 14 ประเทศนั้น ไทยอยู่ลำดับที่ 5 ที่มีความ อ้วนชุกถึงร้อยละ 50 ส่วนอันดับหนึ่งคือ ออสเตรเลีย ตามด้วยมองโกเลีย, วานู-

เกิดโรคอื่นๆ มากกว่าคนปกติหลายเท่า อาทิ เสีย่ งต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง มากกว่าคนปกติ 2.5 เท่า โรคไขข้อเสือ่ ม 1.5 เท่า โรคเกาต์ 2.5 เท่า โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2 เท่า ฮอร์โมนผิดปกติ เป็นหมัน 3 เท่ า องค์การอนามัยโลก ระบุวา่ ขณะนีม้ ปี ระชากร 1 พันล้านคน

อาตู และฮ่องกง จากการสำรวจสภาวะสุขภาพคน ไทยอายุ 30 ปีขึ้นไป พบว่าคนอ้วนเพิ่ม จากร้อยละ 20 ในปี 2534 เพิม่ เป็นร้อย ละ 35 ในปี 2547 หรือประมาณ 15 ล้านคน องค์การอนามัยโลกคาดว่า ในปี 2558 จะมีคนไทยอายุ 30 ปีขึ้นไปเป็น

Á

โรคอ้วนร้อยละ 46 หรือกว่า 21 ล้านคน ผู ้ ห ญิ ง เป็ น โรคอ้ ว นมากกว่ า ผู ้ ช าย ซึ ่ ง ปั ญ หาโรคอ้ ว นและลงพุ ง ในปั จ จุ บ ั น ส่วนใหญ่เกิดจากการบริโภคอาหารแบบ ตะวันตกและการละเลยการออกกำลังกาย จากผลสำรวจเมือ่ ปี 2547 พบว่า คนไทย กินผักและผลไม้เพียง 275 กรัม/คน/วัน ซึง่ ต่ำกว่ามาตรฐานคือ 400 กรัม/คน/วัน ส่วนการกินน้ำตาลและไขมันมีแนวโน้ม เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ขณะที่การเคลื่อนไหว หรือออกกำลังกายในกลุม่ อายุ 15 ปีขน้ึ ไป ลดลงจากร้อยละ 83.2 ในปี 2548 เหลือ ร้อยละ 78.1 ในปี 2549 ผลการศึกษาวิจัยยังพบว่า การลด น้ำหนักในผู้เป็นโรคอ้วนมีประโยชน์ต่อ สุ ข ภาพเป็ น อย่ า งมาก การลดน้ ำ หนั ก เพี ย งร้ อ ยละ 5-10 ของน้ ำ หนั ก ตั ว สามารถลดอั ต ราเสี ่ ย งต่ อ การเสี ย ชี ว ิ ต จากโรคต่างๆ ได้มากมาย โดยสามารถ ลดอัตราเสี่ยงจากการเสียชีวิตด้วยโรค เบาหวานได้มากถึงร้อยละ 44 มะเร็ง ชนิดต่างๆ ร้อยละ 37 โรคหัวใจและ หลอดเลือดร้อยละ 9 และโรคแทรกซ้อน อืน่ ๆ ร้อยละ 20

X

3 ÿ¢ “√–


บุหรีก่ บั ชีวติ X

เอนก ขันศรีทรง

เมื่อเดือนที่ผ่านมา ผู้เขียนได้มีโอกาสไปเยี่ยมญาติผู้ใหญ่ท่านหนึ่ง ซึ่งเข้ารักษาตัว ที่โรงพยาบาลอย่างกะทันหัน สาเหตุเนื่องจากการสูบบุหรี่เป็นเวลานาน จึงเกิดอาการ แน่นหน้าอก, เหนื่อยง่าย, ไอ และหายใจไม่ออก ปกติญาติผู้ใหญ่ท่านนี้ร่างกายแข็งแรงดี เพราะมีอาชีพรับเหมาก่อสร้าง จึงต้องมีรา่ งกายทีเ่ ตรียมพร้อมรับงานหนักอยูเ่ สมอ ขณะทีผ่ เู้ ขียนเข้าไปเยีย่ ม ท่านยังรูส้ กึ ตัวดี พูดคุยได้ตามปกติ แต่ดอู อ่ นเพลีย ทาน อาหารได้นอ้ ยลง ร่างกายซูบลงเล็กน้อย ภายในห้องผูป้ ว่ ย เต็มไปด้วยเครือ่ งมือทางการ แพทย์ คุณหมอยังคงให้ออกซิเจน เพือ่ ช่วยให้ผปู้ ว่ ยหายใจสะดวกขึน้ คุณหมอเจ้าของไข้ ได้กรุณาเล่าให้ฟงั เกีย่ วกับสาเหตุของอาการป่วยว่า มาจากการ สะสมสารพิษจากบุหรี่เข้าไปเป็นระยะเวลานาน ซึ่งคุณหมอได้เปรียบการสูบบุหรี่ว่า เหมือนกับการหยอดกระปุกเป็นประจำทุกวัน เมื่อสูบเข้าไปในร่างกายมากจนร่างกาย ทนไม่ไหวเมือ่ ไหร่ ก็ออกอาการเมือ่ นัน้ ญาติผใู้ หญ่ทา่ นนีเ้ ริม่ สูบบุหรี่ ตัง้ แต่อายุ 22 ปี ปัจจุบนั อายุ 54 ปี เท่ากับว่าร่างกาย ของท่าน ได้ดูดซับสารพิษจากบุหรี่ไปแล้วถึง 32 ปี ซึ่งนานมากพอที่จะเกิดอาการข้างต้น แต่กย็ งั ไม่มากเท่ากับค่าใช้จา่ ยทีต่ อ้ งจ่ายไปกับค่าบุหรีแ่ ละค่ารักษาตัว ตลอดระยะเวลา 32 ปี ที่ท่านได้จ่ายค่าบุหรี่ไปแล้วไม่น้อยกว่า 220,000 บาท คิดง่ายๆ ว่า สูบบุหรี่วันละ 1 ซอง ราคาซองละ 20 บาท ในสมัยนัน้ เท่านัน้ ซึง่ ปัจจุบนั บุหรีร่ าคาซองละ 45 บาท ทุกครั้งที่ควักเงินซื้อบุหรี่ป้อนสารพิษเข้าสู่ร่างกาย จึงไม่เพียงแต่จะทำให้เงินออม ทีเ่ ก็บ สะสมไว้ลดน้อยลงเท่านัน้ แต่ยงั ทำให้รา่ งกายของผูส้ บู อ่อนแอลงด้วย Á

โรคอ้วนก่อปัญหาทางสุขภาพหลาย อย่ า ง หากน้ ำ หนั ก ตั ว มากเกิ น ไปก็ อ าจ เป็ น โรคอ้ ว นได้ ดั ง นั ้ น ถ้ า มี ไ ขมั น ใน ร่างกายมากกว่าความจำเป็น เราก็ควร เอาใจใส่บ้างเพราะการดูแลตนเองมีผลดี ที ่ ส ามารถลดอั ต ราการเกิ ด โรคได้ ห ลาย ชนิด และลดอัตราการตายได้ ดังนั้นถึง เวลาแล้วที่จะหยุดโรคอ้วน

แหล่งข้อมูล 1. http://www.moph.go.th 2. http://cdri.multiply.com 3. http://www.tkc.go.th

4 ÿ¢ “√–

คุณหมอบอกต่อไปว่า ญาติผู้ใหญ่ท่านนี้ได้พยายามจะ เลิกอยู่หลายครั้ง โดยลดปริมาณการสูบลงทีละน้อย แต่ไม่ เคยสำเร็จ โดยเฉพาะช่วงเดือนรอมฎอนหรือเดือนแห่งการ ถือศีลอดของมุสลิม ที่ห้ามการกินการดื่มตลอดจนห้ามการ สูบบุหรี่ตั้งแต่เช้ามืดจนตะวันตกดิน ซึ่งถือเป็นโอกาสดีของ มุสลิมทั่วโลกที่จะใช้เวลาในช่วงนี้งดเว้นการสูบบุหรี่ เพื่อจะ ทำให้สุขภาพร่างกายและจิตใจดีขึ้น มุสลิมหลายคนจึงถือ โอกาสในเดือนนี้เพื่อเลิกสูบบุหรี่ตลอดระยะเวลา 1 เดือน เต็ม แต่หลังจากนั้นก็กลับมาสูบเหมือนเคย จะด้วยความ เคยชินหรือเหตุผลใดก็แล้วแต่ คุณหมอท่านนีไ้ ด้ให้คำแนะนำ ผู้ป่วยว่า การเลิกสูบบุหรี่ควรเลิกสูบแบบหักดิบ คือตั้งใจ แน่วแน่แล้วก็เลิกเดี๋ยวนั้นเลย ผู้ป่วยที่ติดบุหรี่หลายคนเลือก ที่จะลดการสูบลงแบบค่อยเป็นค่อยไป และหวังว่าจะเลิกได้ ในทีส่ ดุ แต่มกั ไม่สำเร็จ X


ริมคลอง กัลยาณา X

ยาลูกกลอนเป็นยาที่ผลิตขึ้นโดยการนำสมุนไพรหลายชนิดมาบดผสมกัน และใช้นำ้ ผึง้ เป็นตัวประสาน แล้วปัน้ เป็นก้อนกลม เพือ่ สะดวกในการรับประทาน สมุนไพรบางตัวไม่มีสรรพคุณด้านการรักษา แต่มีฤทธิ์ในด้านรสชาติและกลิ่น เพือ่ ให้ผปู้ ว่ ยรับประทานได้งา่ ย

การลดจำนวนสูบบุหรี่ลงเรื่อยๆ นั้น จึงไม่ใช่วิธีการเลิกสูบบุหรี่ที่ประสบความ สำเร็จ ปัจจุบันผู้ป่วยท่านนี้เลิกสูบบุหรี่ เด็ดขาดแล้วหลังจากสูบมาเป็นเวลานาน จนต้องเข้าโรงพยาบาลเสียค่ารักษาพยาบาล มากมาย ผู้เขียนขอแสดงความยินดีมา ณ ที่ นี้ด้วย และขอเป็นกำลังใจให้กับทุกท่าน ที่ตั้งใจจะเลิก ขอให้ประสบความสำเร็จ เช่นเดียวกับผู้ป่วยท่านนี้นะครับ

สนใจเลิกบุหรี่ โทร. 1600

มากกว่ า ครึ ่ ง ของยาลู ก กลอนจะมี ส่วนผสมของสเตียรอยด์ ซึ่งสังเกตได้จาก อาการหลังจากรับประทานแล้วเห็นผลเร็ว และอาการปวดเมื ่ อ ยก็ ห ายภายในเวลา ไม่กี่ชั่วโมง อาการหายเร็วอย่างนี้ให้ตั้ง ข้อสังเกตได้ว่ายาลูกกลอนดังกล่าวมีส่วน ผสมของสเตียรอยด์แน่นอน ซึ่งผู้ที่ได้รับ Á

ยาที่มีส่วนผสมของสเตียรอยด์เข้าไปใน ร่างกายมากๆ จะมีพิษสะสมในร่างกาย ทำให้เกิดอาการข้างเคียง ดังต่อไปนี้ 1. ทำให้เกิดภาวะช็อกเนื่องจาก ความดันโลหิตตกจนอาจทำให้เสียชีวิต 2. ทำให้ เ กิ ด อาการอ่ อ นเพลี ย , เบื่ออาหาร, มีไข้, ปวดตามข้อ, อาเจียน, ปวดท้อง, ปวดกล้ามเนื้อ, กล้ามเนื้ออ่อน แรง กระดูกพรุน 3. ทำให้ภูมิคุ้มกันลดลง ทำให้ติด เชื้อง่ายจนอาจทำให้เสียชีวิต 4. ทำให้เป็นโรคเบาหวาน, ต้อ กระจก 5. ทำให้ใบหน้ากลม ลำตัวอ้วน 6. ทำให้ เ กิ ด แผลในกระเพาะ อาหาร, เลือดออกในกระเพาะอาหาร หรือ กระเพาะทะลุจนอาจทำให้เสียชีวิตได้

นอกจากนี้ สำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา อ.ย. ยังได้กำหนดให้สาร สเตียรอยด์จดั เป็น “ยาควบคุมพิเศษ” อีก ด้วย ยาลู ก กลอนมั ก ถู ก ใช้ เ ป็ น ยารั ก ษา โรคเรื้อรังและโรคที่ต้องการบำรุงรักษา ร่างกายด้วย แต่มีข้อเสียอยู่ที่ยาลูกกลอน ต้องใช้น้ำผึ้งเป็นปริมาณมากและจะต้อง เป็นน้ำผึ้งแท้อีกด้วย ดังนั้นราคาต้นทุน จึ ง สู ง กว่ า ปกติ ธ รรมดาของยาลู ก กลอน โดยทั่วไป ยาลูกกลอนจึงจัดเป็นยาแผน โบราณที่ต้องขออนุญาตผลิตหรือนำเข้า และที ่ ส ำคั ญ ต้ อ งได้ ร ั บ ใบสำคั ญ การขึ ้ น ทะเบียนตำรับยาก่อนจึงจะนำออกจำหน่าย ได้และต้องจำหน่ายในร้านยาทีม่ ใี บอนุญาต เท่านั้น ดั ง นั ้ น ผู ้ บ ริ โ ภคที ่ น ิ ย มรั บ ประทาน X

5 ÿ¢ “√–


ชีวติ กับธรรมชาติ X

ยาลูกกลอนอย่าได้หลงเชื่อโฆษณาและ คำบอกเล่าและอ้างถึงบุคคลที่เคยใช้แล้ว ได้ผล ทั้งยังแนะนำให้ซื้อยาลูกกลอนใช้เอง เพราะอาจได้ยาลูกกลอนที่ผลิตโดยไม่ได้ รับอนุญาต ซึง่ จะสังเกตได้จาก ไม่มฉี ลาก หรือมีฉลากแต่ไม่มีเลขทะเบียนตำรับยา หากจะซื้อยาลูกกลอนต้องเป็นยาที่มีเลข ทะเบียนตำรับยา ฉลากเรียบร้อย ภาชนะ บรรจุหีบห่อต้องอยู่ในสภาพดี ไม่ฉีกขาด หรือเปียกชื้นและควรซื้อจากร้านขายยา ที่มีใบอนุญาตเท่านั้น เพื่อความปลอดภัย ในการใช้ยาของผู้บริโภคเอง วิธีสังเกตว่าเป็นยาที่ได้รับทะเบียน ยาจาก อ.ย. ถูกต้องหรือเปล่า โดยการ สังเกตฉลากที่ปิดผนึกบนภาชนะบรรจุว่า จะต้องมีเลขทะเบียนตำรับยา ซึ่งถ้าเป็น ยาแผนโบราณที ่ ผ ลิ ต ในประเทศ เลข ทะเบียนจะขึ้นต้นด้วยตัวอักษร G แต่ถ้า เป็ น ยาแผนโบราณที ่ น ำเข้ า มาจากต่ า ง ประเทศ เลขทะเบี ย นจะขึ ้ น ต้ น ด้ ว ยตั ว อั ก ษร K ต่ อ มาจะเป็ น เลขแสดงลำดั บ การอนุญาตและปี พ.ศ. ที่อนุญาต เช่น G20/42 หมายถึง ยาตำรับนี้เป็นยาแผน โบราณที่ผลิตในประเทศ ได้รับอนุญาตให้ ขึ้นทะเบียนลำดับที่ 20 ในปี พ.ศ.2542 เป็นต้น การใช้สเตียรอยด์อย่างถูกวิธี ถูกโรค จะนำมาซึง่ ประโยชน์ แต่ถา้ นำสเตียรอยด์ ไปใช้ ด ้ ว ยความรู ้ เ ท่ า ไม่ ถ ึ ง การณ์ โดย ปราศจากความรู้ความเข้าใจในพิษภัยของ สเตียรอยด์อย่างถ่องแท้แล้ว ก็เท่ากับว่า คุณได้เปิดประตูต้อนรับอภิมหาภัยร้ายเข้า สู่ร่างกายด้วยตัวคุณเอง

6 ÿ¢ “√–

แหล่งข้อมูล 1. www.healthcorners.com 2. www.grocer.exteen.com 3. www.ryt9.com 4. www.thaihow.tripod.com 5. www.fda.moph.go.th X

ปาซียะห์

วาฬเพชฌฆาต อยู่ในสปีซี่ส์ที่ใหญ่ที่สุดในวงศ์ Delphinidae ของโลมา สามารถ พบเห็นได้ในมหาสมุทรทั่วโลก โดยเฉพาะแถบอุณหภูมิต่ำอย่างขั้วโลกเหนือ รวมทั้งมหาสมุทรอาร์กติกและแอนตาร์กติกจะพบได้มาก เนื่องจากน้ำในแถบนั้นมีธาตุอาหารที่อุดม สมบูรณ์ เหมาะแก่การอยู่อาศัยของสัตว์น้ำ เป็นแหล่งอาหารชั้นดีของนักล่าอย่างวาฬ เพชฌฆาต ที่ต้องการอาหารวันละ 60 กิโลกรัม โดยอาหารของวาฬเพชฌฆาต ได้แก่ ปลา, แมวน้ำ, สิงโตทะเล, เต่าทะเล และปลาโลมา Á

ลักษณะของวาฬเพชฌฆาต มีลกั ษณะ เด่นที่ลวดลาย ลำตัวด้านหลังของมันจะ เป็นสีดำ มีสีขาวที่ใต้ท้องและอก รวมทั้ง รอบดวงตาก็เป็นขีดสีขาวเช่นกัน ครีบหลัง ของวาฬเพชฌฆาตตั ้ ง ฉากและสู ง กว่ า ปลาวาฬอื่นๆ โดยเฉพาะวาฬเพชฌฆาต ตัวผู้ที่มีครีบหลังสูงถึง 2 เมตร มีขนาด ประมาณ 9.5 เมตร และหนักประมาณ 6,500 กิโลกรัม ส่วนตัวเมียครีบหลังจะ แหล่งข้อมูล: 1. www.whitemedia.org 2. http://th.wikipedia.org 3. http://www.samakkhi.ac.th/web250/m2950/bow_dream/Whale_BD.htm


พบหมอจินตนา ไม่ตง้ั ฉากแต่จะเอนไปทางด้านหลัง มี ขนาด 7-8 เมตร หนักประมาณ 4,500 กิโลกรัม วาฬเพชฌฆาตแม้ จ ะไม่ จ ั ด อยู ่ ใ น สิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์ แต่ในบางพื้นที่มัน ก็ได้รับความคุ้มครอง เนื่องจากการปน เปื้อนของสารพิษในน้ำทะเล การตกเป็น เหยื่อของนักล่าที่ใหญ่กว่า การถูกล่าจาก มนุษย์ ทำให้ฝงู วาฬลดจำนวนลงเรือ่ ยๆ เมื่อเดือน มิ.ย. 51 ที่ผ่านมามีฝูง วาฬเข้ามาเกยตื้น บนเกาะราชาใหญ่ ต. ราไว จ.ภูเก็ต สร้างความตกตะลึงให้กับ ชาวบ้านและนักท่องเที่ยวเป็นอย่างมาก จึงได้แจ้งไปยังหัวหน้ากลุม่ สัตว์ทะเลหายาก

แพทย์หญิงจินตนา โยธาสมุทร

X

ยาซีนเป็นชายอายุ 40 ปี มีอาชีพเป็นช่างซ่อมรถยนต์ เขามีอาการหอบ เหนื่อยต้องใช้ยาพ่นขยายหลอดลมเป็นประจำ ในขณะเกิดอาการหอบหืดที่เรียกว่า “จับหืด” เขารู้สึกแน่นหน้าอก หายใจถี่ หายใจขัด บางครั้งมีอาการคันบริเวณ หลอดลมก่อนหอบ เมื่อหลอดลมตีบตันมากขึ้น จะมีเสียงหายใจดังวี้ดๆ หรือ เสียงหืด ทำให้ไอติดต่อกันเป็นระยะๆ และนอนราบไม่ได้ วันหนึง่ ยาซีนมีอาการ หอบเหนื่อยมาก หายใจขัด ญาติสังเกตว่าเขามีใบหน้าสีเขียวคล้ำ จึงรีบนำตัว เขาส่งโรงพยาบาล หลังการตรวจร่างกายแล้ว แพทย์กล่าวกับญาติของยาซีนว่า “ญาติของคุณเป็นโรคหอบหืด เรียกสัน้ ๆ ว่าโรคหืด เป็นโรคระบบทางเดิน หายใจ เป็นโรคเรือ้ รัง หายขาดได้ยาก ขณะนีเ้ ขากำลังอยูใ่ นภาวะขาดออกซิเจน ใบหน้าของเขาจึงมีสีเขียวคล้ำ ซึ่งถ้าปล่อยทิ้งไว้นานกว่านี้จะมีอันตรายมาก หมอ จะให้ออกซิเจน ยาพ่นขยายหลอดลม และยาฉีดเข้าหลอดเลือดเพือ่ ขยายหลอดลม จะช่วยให้เขาไอ ขับเอาเสมหะออกมาหลอดลมจะคลายตัวลง แล้วอาการจะ ค่อยๆ ดีขน้ึ รูส้ กึ สบายขึน้ ไม่หอบเหนือ่ ย” Á

และช่ ว ยกั น นำวาฬลงไปยั ง น้ ำ ลึ ก แต่ ปรากฏว่าวาฬว่ายน้ำมายังฝั่งและเกยตื้น อีกรอบ ทำให้ประชาชนและนักท่องเที่ยว รู้สึกแปลกใจกับเหตุการณ์ดังกล่าวมาก ไม่แน่ใจว่าจากการเกยตื้นของวาฬเพชฌฆาตจะเกิดเหตุภัยพิบัติอะไรหรือไม่ ส่วนสาเหตุดังกล่าวคาดว่าจ่าฝูงของ กลุ่มนำทางผิดทำให้เข้าสู่ที่ตื้น ทำให้ระบบ สื่อสารสับสนและประกอบกับคลื่นลมแรง น้ำหนักตัวที่มากและมีขนาดที่ใหญ่ จึงไม่ สามารถช่ ว ยเหลื อ ตั ว เองในการที ่ จ ะหา ทิศทางว่ายกลับไปยังทะเลน้ำลึกได้

X

7 ÿ¢ “√–


แพทย์ ร ั บ ตั ว ยาซี น ไว้ ด ู อ าการใน โรงพยาบาล 5 วัน เมื่ออาการดีขึ้นแล้ว แพทย์อนุญาตให้เขากลับบ้านได้ แพทย์ ได้ให้ยาขยายหลอดลมชนิดพ่นและชนิด รับประทานไปด้วย พร้อมกับนัดให้มาพบ ครัง้ ต่อไป อีกประมาณ 1 เดือนข้างหน้า “หมอจะให้คุณมาตรวจสมรรถภาพ ปอด ทดสอบทางผิวหนัง เพื่อจะได้รู้ว่า คุณแพ้สารอะไรบ้าง และหมอจะขอสอบ ถามประวัติการเจ็บไข้ได้ป่วยในอดีต สิ่ง แวดล้อม อาชีพ เพือ่ ทีจ่ ะได้คน้ หาแนวทาง ในการหลีกเลีย่ งสารก่อภูมแิ พ้ สิง่ ทีค่ วรทำ สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง แต่ถ้าไม่สามารถหลีก เลี่ยงสารก่อภูมิแพ้ได้ เนื่องจากสารก่อ ภูมิแพ้อยู่ในบรรยากาศรอบตัวเรา หมอ จะแนะนำให้คุณฉีดวัคซีน เพื่อสร้างเสริม ภูมิต้านทางในร่างกาย” หนึ ่ ง เดื อ นต่ อ มา ยาซี น ได้ ม าพบ แพทย์ ต ามนั ด เขาได้ ร ั บ การซั ก ประวั ต ิ อย่างละเอียด การตรวจสอบสมรรถภาพ ปอด และได้รับการทดสอบทางผิวหนัง จึงพบว่าเขาแพ้ละอองเกสรดอกไม้ ควันไฟ ฝุน่ ละออง และบุหรี่ แพทย์กล่าวว่า “เมื่อคุณทราบแล้วว่าแพ้อะไร หมอ จะฉีดวัคซีนเพื่อเสริมภูมิต้านทานให้กับ ร่างกาย แต่คุณจะต้องปฏิบัติตัวเรื่องของ การไม่รับประทาน ไม่สูดดมหรือสัมผัส สิง่ ทีส่ งสัยว่าจะทำให้แพ้ พยายามพักผ่อน นอนหลั บ ให้ เ พี ย งพอ ไม่ ต รากตรำหรื อ ออกกำลังกายเกินควร อย่ามีอารมณ์หงุด หงิด ฉุนเฉียว กังวล ห้ามรับประทานยา ประเภทฮอร์โมน เช่น สเตียรอยด์ หรือ

8 ÿ¢ “√–

X

ฮาเร๊ะ เจ๊ะโด แปลเป็นภาษายาวี

เพร็ดนิโซโลน ไม่ควรใช้ยาสูดพ่นขยาย หลอดลมเกินจำนวนครัง้ ทีแ่ พทย์ได้กำหนด ให้ใช้ แต่ถ้าสูดพ่นขยายหลอดลมหลาย ครั้งแล้วยังไม่ได้ผล ให้ร ีบไปพบแพทย์ ทันที ที่สำคัญไม่ควรหลงเชื่อคำแอบอ้าง ว่ า มี ย ารั ก ษาโรคหอบหื ด ให้ ห ายขาดได้ ยาเหล่ า นี ้ อ าจทำให้ อ าการหอบหื ด หาย เพียงชั่วคราว แต่จะเกิดโทษตามมาภาย หลังได้ อย่าปล่อยปละละเลยให้ป่วยเป็น ไข้หวัดหรือหลอดลมอักเสบนานๆ โดย ไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง รับประทาน ผักผลไม้ให้มากขึ้น อย่าปล่อยให้ท้องผูก และไม่ควรอยู่นานในที่แออัด อับชื้น มี กลิ่นควัน” แพทย์ให้ยาพ่นและยารับประทาน เพือ่ ขยายหลอดลมมาอีก และนัดให้มาพบ เพื่อดูอาการเปลี่ยนแปลงในอีก 1 เดือน ข้างหน้า


เรือ่ งเล่าเดือนนี้

...วิฑูรย์ นิยมเดชา ชาวนคร ศรีธรรมราช กับบางมุมของชีวิต ที่ก้าวเข้าสู่เครือข่ายรณรงค์เลิก เหล้า 14 จังหวัดภาคใต้ กับข้อ วิตกกังวลกับสถานการณ์การดื่ม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเยาวชน มุสลิมและผูใ้ หญ่บางคน...

..รณรงค์..

เลิกเหล้า “ก่อนที่จะมาจับงานเคลื่อนไหวเรื่อง รณรงค์ ง ดเหล้ า ในภาคใต้ . ..ผมเคยเป็ น ผู้ประสานงานภาคประชาสังคม...รณรงค์ ในหลายๆ เรือ่ ง เช่น ช่วงร่างรัฐธรรมนูญ ปี 50...เรื่องพลังชุมชน พลังแผ่นดินต่อสู้ ยาเสพติ ด ...เรื ่ อ งอาสาสมั ค รนั ก สื ่ อ สาร ชุมชน...ช่วงเดือนมีนาคม 2550 คุณมาลัย มินศรี ได้มาชวนให้เป็นผู้ประสานงาน แกนนำประชาคมเคลือ่ นไหวผลักดัน พ.ร.บ. ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โดยเริ่มจาก การวิ่งต้านเหล้า จากอำเภอสุไหงโกลก ผ่านปัตตานี, สงขลา, พัทลุง, นครศรีธรรมราช, สุราษฎร์ธานี, ชุมพร จนถึง กรุงเทพฯ ทีส่ นามหลวง... Á

X

9 ÿ¢ “√–


พลังชีวติ

...และในวันที่ 18 มีนาคม ได้รวมตัว กันที่ท้องสนามหลวงเพื่อยื่นรายชื่อจำนวน 13 ล้านเสียง ร่วมผลักดัน พ.ร.บ. ควบคุม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์...ตรงนี้เป็นจุดเริ่ม ต้นในการก่อตัวของคณะทำงานเครือข่าย องค์ ก รงดเหล้ า ต่ อ มาได้ ข ยายจาก 7 จังหวัด เป็น 14 จังหวัดได้แก่ ระนอง, กระบี,่ พั ง งา, ภู เ ก็ ต , ตรั ง , สตู ล และยะลา เต็มพื้นที่ภาคใต้ โดยได้รับการสนับสนุน จากสำนั ก งานเครื อ ข่ า ยองค์ ก รงดเหล้ า (สคล.) ซึ่งเบื้องต้นได้งบสร้างกลไกบริโภค สื่อ และค้นหาคนต้นแบบงดเหล้า ควบคู่ กันไปกับการทำกิจกรรมรณรงค์งดเหล้า ในงานต่างๆ เช่น ลอยกระทงงดเหล้า, วัดปลอดเหล้า, ชุมชนปลอดเหล้า และ ผลักดัน พ.ร.บ. ไปอย่างต่อเนือ่ ง...

...ขณะนี้ทางเครือข่ายได้ค้นหาองค์ ความรู้ในการขับเคลื่อนงานรณรงค์ของ แต่ละพื้นที่ และขณะนี้ได้ค้นพบคนต้น แบบงดเหล้า ที่อาสามาเป็นวิทยากรให้ถึง 70 คนใน 14 จังหวัด... ได้แกนนำในการ เคลื่อนงานจังหวัดละ 10-15 คนจากอาสา สมัครในพื้นที่ ในปี 2551 มีแนวคิดจัด กิ จ กรรม “สมั ช ชาคนเลิ ก เหล้ า ภาคใต้ ” เพื่อจัดสร้างคู่มือคนเลิกเหล้าภาคใต้ มีเรื่องน่าตกใจจากการที่ได้ลงพื้นที่ ของคณะทำงาน...เคยไปตรวจพบในผั บ แห่ ง หนึ ่ ง แถบชายแดนภาคใต้ พบว่ า จำนวนมากของนักเที่ยวราตรีที่เป็นมุสลิม ดืม่ เหล้า?... ต่อมาได้ค้นพบมุสลิมที่เคยกินเหล้า ที่เลิกกินและได้อาสาเข้ามาเป็นวิทยากร เลิกเหล้าให้กับเครือข่าย ทำให้ตรงนี้ เกิด ความตระหนักแก่พวกเราคนรณรงค์ว ่า ไม่ ส มควรปล่ อ ยให้ ส ถานการณ์ เ หล่ า นี ้ ลุกลามขยายผลสูเ่ ด็กและเยาวชน... ตลอดการรณรงค์ . ..เราพบว่ า นอก จากจะมีกลุม่ เยาวชนแล้วยังมีผใู้ หญ่บางคน ดื่มเหล้า...นับวันดูเหมือนว่าพวกเราจะ ดื่มมากกว่าคนอื่นไปแล้ว...ซึ่งถ้าปล่อยไว้ หรื อ ทำนิ ่ ง เฉยเสี ย ...จะส่ ง ผลเสี ย ต่ า งๆ ตามมาอีกหลายเรือ่ ง...”

.¶¶¶¶¶¶¶¶¶¶¶.. สุขสาระ ขอเชิญคุณผู้อ่านส่ง ถ้ อ ยคำแสดงออกถึ ง ความรั ก ความ ห่ ว งใย ต่ อ สุ ข ภาพและสิ ่ ง แวดล้ อ ม หรือต่อต้านบุหรีห่ รือสุรา ตัวอย่างเช่น “หยุดพ่นควันพิษ ทำร้ายครอบครัว” มายังอีเมล์ suksara@yahoo.co.th หรือที่ สำนักงานแผนงานสร้างเสริมสุขภาวะมุสลิมไทย สสม. คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กทม. 10330 พร้อมทีอ่ ยู่ หมายเลขโทรศัพท์ของคุณ สำหรับถ้อยคำที่โดนใจ 10 ท่านแรก สุขสาระ มีเสื้อยืดโปโล สุดเก๋มอบให้ และ จะได้นำออกมาเผยแพร่ในวารสารสุขสาระในโอกาสต่อไป 10 ÿ¢ “√–

X

X

คนบ้านหวาย

แม่มีลูกหลายคน ยายเล่าให้ฟังว่า เมื่อแม่คลอดลูกคนแรกๆ ก็คลอดได้ตาม ปกติเช่นแม่คนอื่นๆ เพราะแม่ยังแข็งแรงดี แต่เมื่อแม่คลอดน้องคนหลังๆ แม่จะเป็น ลมตาค้างทุกครั้ง ต้องคอยปฐมพยาบาล กันอย่างใกล้ชิด แต่ด้วยความเมตตาของ อัลลอฮฺ ทัง้ แม่และน้องก็ปลอดภัยด้วยดี เนื่องจากแม่มีลูกหลายคน บางครั้ง รายได้จากพ่อไม่พอจับจ่ายใช้สอยภายใน ครอบครัว แม่จึงต้องหารายได้เสริมจาก การทำขนมขาย เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระ ของพ่อ แม่ต้องตื่นกลางดึกเพื่อทอดปาท่ อ งโก๋ เพื่ อ ให้ ท ั นส่ ง ร้ า นกาแฟในตอน เช้ามืด บางครัง้ แม่ตอ้ งไปช่วยพ่อลากหอย เพื่อนำมาเป็นอาหารเป็ดที่เลี้ยงเพื่อนำไข่ ไปขาย เมื่อน้องๆ โตพอจะทำงานได้ แม่จะให้ทุกคนเย็บแหเพื่อนำส่งพ่อค้านำ มาขายในกรุงเทพฯ โดยที่แม่คอยเตรียม ด้ า ยใส่ ช ุ นไว้ ใ ห้ และทุก คนต้องเย็บแห ให้ได้ตามเป้าที่แม่กำหนดจึงจะไปเล่นกับ เพือ่ นๆ ได้ แม่เป็นนักวางแผนที่เก่งมาก แม่จะ ไม่ปล่อยให้เวลาผ่านไปโดยไร้ประโยชน์ Á


รายงาน X

พวกเราแทบจะไม่ เ ห็ น แม่ ไ ปนั ่ ง สุ ม หั ว นินทาชาวบ้านเช่นคนอื่นๆ แต่ถึงกระนั้น รายได้ก็ยังไม่พอที่จะเลี้ยงลูกๆ ให้ได้กิน อยูอ่ ย่างสมบูรณ์เช่นครอบครัวอืน่ กับข้าว ที่เป็นอาหารหลักของพวกเรามักจะเป็น ปลาร้า, น้ำพริกปลาทู, ไข่ต้มคลุกน้ำปลา แต่เพือ่ มิให้เป็นการจำเจ แม่จงึ คิดเมนูเด็ด ซึ่งทำให้พวกเรากินข้าวได้อย่างเอร็ดอร่อย

จบปริญญา และทำงานทำการกันทุกคน แม่ก็เริ่มสุขสบายขึ้น แม่จะกล่าว อัลฮัมดุลิลลาฮฺ (มวลการสรรเสริญเป็นสิทธิ์ของ อัลลอฮฺ) ทุกครั้งที่มีคนถามแม่ถึงสารทุกข์ สุกดิบ แม่จะกล่าวกับทุกคนว่าฉันยอมรับ ว่ า ฉั น มี ค วามสุ ข จริ ง ๆ ทั ้ ง ต่ อ หน้ า และ ลับหลังลูกๆ และทุกครั้งที่ลูกๆ ได้ยินแม่ พูดเช่นนี้ต่างก็มีความสุขที่เห็นแม่มีความ

คือ พริกผัด (นำพริกแห้งแช่น้ำกับเกลือ ให้ เ ปื ่ อ ยแล้ ว นำมาตำพอให้ แ ตกไม่ ต ้ อ ง ละเอียดมาก แล้วนำไปผัดในกระทะพอ ให้พริกสุก ใส่น้ำปลานิดหน่อย) นำมา คลุกกับข้าวและไข่ต้มในกะละมังใบใหญ่ ให้ลกู ๆ ล้อมวงกินกันคล้ายเป็ด แต่ทกุ คน ก็มีความสุขและไม่เคยบ่นเลย จนทุกวันนี้ เมื่อกลับไปบ้านที่ต่างจังหวัด หลายคน มักจะเรียกร้องหาพริกผัดในเกือบทุกมื้อ เมือ่ ลูกยังเล็กแม่เหนือ่ ยมาก แต่เมือ่ ลูกๆ เติบโตขึน้ และศึกษาเล่าเรียนจนจบ การศึกษาทั้งระดับ ปวช., ปวส. บ้างก็

สุขในบั้นปลายของชีวิต และไม่ทำความ เดือดร้อนให้แม่หนักใจ สมกับที่แม่ต้อง เหน็ดเหนือ่ ยเลีย้ งดูพวกเรามา เพราะลูกๆ ตระหนักดีว่า ถ้าพ่อแม่รัก อัลลอฮฺก็จะรัก ด้ ว ย แต่ ถ ้ า พ่ อ แม่ เ กลี ย ด อั ล ลอฮฺ ก ็ จ ะ เกลี ย ดด้ ว ย และพวกเราตระหนั ก ดี ว ่ า ไม่มีการขอพรจากใครจะดีไปกว่าพรที่พ่อ และแม่ขอให้ ขอให้แม่มีความสุขตลอดไปทั้งโลกนี้ และโลกแห่งการตัดสิน และขอต่ออัลลอฮฺ ให้พวกเราทุกคนได้อยู่ในสวนสวรรค์ร่วม กันด้วยเทอญ อามีน

ผศ.ดร. ซุกรี หะยีสาแม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

เริ่มต้นจากการดำเนินงานในโครงการ หมู่บ้านประมงรักษ์สุขภาพ แผนงานสร้าง เสริมสุขภาวะมุสลิมไทย และการสนับสนุนงบ ประมาณบางส่วนจากศูนย์ศึกษาและพัฒนา สันติวิธี มหาวิทยาลัยมหิดล ด้วยเงินลงทุน เพียง 30,000 บาท ในปี 2549 เพียงแค่สองปี หลังจากนั้น ปัจจุบันโรงงานแห่งนี้มียอดการ Á

ผลิตเฉลีย่ ประมาณเดือนละ 450,000 บาท หรือ 5.4 ล้ า นบาทต่ อ ปี สร้ า งงานให้ ช าว บ้านได้มากกว่า 20 คน และงานต่อเนื่อง อีกจำนวนมาก นอกจากนั้นผลกำไรที่ได้รับ ในแต่ละปีนำไปจัดสรรเป็นระบบสวัสดิการ ชุมชน นับว่าเป็นโมเดลการพัฒนาวิสาหกิจ ชุมชนที่เริ่มต้นจากชาวบ้าน เจริญก้าวหน้า อย่ า งมั ่ น คง และชุ ม ชนเป็ น เจ้ า ของอย่ า ง แท้จริงเพียงแห่งเดียวของจังหวัดชายแดน ภาคใต้ X

11 ÿ¢ “√–


โรงงานข้าวเกรียบสด...ที่มากกว่าข้าวเกรียบ

ณ บ้านปาตาบาระ

จากการเริ ่ ม ต้ น ของโครงการค่ อ น ข้างเป็นไปโดยธรรมชาติ จากความต้อง การที่จะสร้างอาชีพใหม่ขึ้นมาจริงๆ เพื่อ แก้ไขปัญหาการว่างงาน ความยากจนและ การดิ้นรนเพื่อหนีจากการทำประมงของ ชาวบ้านกลุ่มหนึ่งในหมู่บ้านปาตาบาระ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัด ปัตตานี ในปี 2549 โครงการฯ ได้นำคณะ ผูส้ นใจเข้าเยีย่ มชมการดำเนินงานวิสาหกิจ ชุมชนในหลายๆ พืน้ ที่ เช่น ชุมชนบางโรง จังหวัดภูเก็ต ชุมชนเขาคราม จังหวัดกระบี่ และอำเภอละงู จังหวัดสตูล โดยในช่วง แรกได้ทดลองดำเนินการผลิตสินค้าต่างๆ

12 ÿ¢ “√–

เช่น จัดทำของทีร่ ะลึก การผลิตขนม เป็นต้น แต่สุดท้ายสินค้าเหล่านั้นก็ยังไม่สามารถ จัดเป็นการผลิตเชิงพาณิชย์ทจ่ี ะสร้างรายได้ อย่ า งแท้ จ ริ ง ได้ ต่ อ มาได้ ม ี ก ารประชุ ม ปรึกษาหารืออย่างต่อเนื่อง จนในที่สุดได้ มีความคิดร่วมกันว่าน่าจะผลิตข้าวเกรียบ ปลา เนื่องจากมีแม่ค้าผู้ขายปลีกสินค้าที่ สามารถกระจายสินค้าไปยังตลาดนัดและ พื้นที่ต่างๆ อยู่แล้ว แต่ปัญหาใหญ่ คือ แต่ละคนไม่เคยผลิตข้าวเกรียบปลามาก่อน เลย ทั้งๆ ที่ชุมชนแห่งนี้ตั้งอยู่บริเวณชาย ฝั่งทะเล จนได้มีการประสานงานขอไปศึกษา ดูงานการผลิตข้าวเกรียบยังบ้านดาโต๊ะ อำเภอยะหริ ่ ง จั ง หวั ด ปั ต ตานี ซึ ่ ง เป็ น แหล่งผลิตข้าวเกรียบที่สำคัญ พร้อมกับ ได้เชิญชาวบ้านจากพื้นที่ดังกล่าวมาอบรม X

และสอนวิธีการทำข้าวเกรียบให้ โดยระยะ แรกจะเน้นการผลิตข้าวเกรียบแห้ง ซึ่ง ประสบภาวการณ์ขาดทุน จนเงินทุนเริ่ม ร่อยหรอ แต่ด้วยความร่วมมือร่วมไม้ของ ชาวบ้านในชุมชน ทั้งกลุ่มพ่อค้าแม่ค ้า ของหมู่บ้าน ทั้งกลุ่มผู้ผลิต ต่างร่วมกัน ปรับปรุงและพัฒนาสูตรข้าวเกรียบและ จัดหาตลาด จนในที่สุดได้ทดลองผลิตข้าว เกรียบสด หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ “กะโป๊ะ หรือปาลอกะโป๊ะ ” ด้วยรสชาติที่อร่อย รสเข้มข้น มีสัดส่วนเนื้อปลาต่อแป้งมาก กว่าข้าวเกรียบสดที่จำหน่ายทั่วไปในท้อง ตลาด ส่งผลให้ข้าวเกรียบสดบ้านปาตาบาระ ติดตลาดอย่างรวดเร็ว ในช่วงแรก มี ก ารผลิ ต เพี ย งวั น ละประมาณ 30-50 กิโลกรัม มีพนักงานทีร่ ว่ มกันก่อตัง้ เพียง 4 คน มีรายได้วนั ละประมาณ 100 บาทต่อ


คนต่อวัน ต่อมาพัฒนาการผลิตเป็น 400 กิโลกรัมต่อวัน พนักงานเพิ่มเป็น 10 คน มีรายได้วันละประมาณ 140 บาทต่อวัน ต่อคน จนถึงปัจจุบนั สามารถผลิตได้วนั ละ ประมาณ 800 กิโลกรัมต่อวัน พนักงาน 20 คน มีรายได้วนั ละ 100-220 บาทต่อ วั น ต่ อ คน พร้ อ มสวั ส ดิ ก ารอื ่ น ๆ เช่ น อาหารเที่ยง, โบนัสประจำปี, ระบบกู้ยืม และออมเงิน เป็นต้น โดยส่วนใหญ่ผู้ที่มา เป็นพนักงานในปัจจุบันเคยประกอบอาชีพ รับจ้าง ทำประมงหรือว่างงานก่อนที่จะ เข้ามาทำงานในโรงงาน อีกทั้งได้สร้างงาน ต่อเนื่องให้แก่ชาวบ้านอื่นๆ อีกหลายคน เช่น ผูจ้ ดั การ 1 คน ผูจ้ ดั ส่งสินค้า 1 ราย ผูจ้ ดั หาปลา 1 ราย ผูค้ า้ แป้ง 1 ราย ผูจ้ ดั ส่งไม้ฟนื 1 ราย ผูค้ า้ ปลีกมากกว่า 15 ราย และผูค้ า้ ส่งจำนวนมากกว่า 5 ราย โดยมี ตลาดหลักที่จัดส่งไปจำหน่าย คือ อำเภอ หาดใหญ่และอำเภอเมือง จังหวัดสงขลา จังหวัดยะลา ปัตตานีและนราธิวาส นอกจากนั้นยังมีการส่งไปจำหน่าย ต่อยังจังหวัดทางพื้นที่ฝั่งอันดามันอีกด้วย แนวคิดสำคัญในการผลิต คือ “สร้างแหล่ง อาหารโปรตีนราคาถูก ที่สดสะอาดให้แก่ ผู้อื่นในราคาที่เป็นธรรม” โดยถือคติว่า “หากวัตถุดิบไม่สด สู้ไม่มีผลิตภัณฑ์ให้ผู้ บริโภคดีกว่าจัดส่งสินค้าที่ไม่มีคุณภาพ ไปให้ ” ทางด้านความสัมพันธ์กับพ่อค้า และแม่ค้า โรงงานได้จัดระบบการขายที่ “ยินดีรับคืนสินค้า หากขายไม่หมด เพียง แค่แจ้งยอดที่ขายไม่หมดมาให้ โรงงาน จะตัดยอดดังกล่าวออกเอง เพื่อให้ลูกค้า พึงพอใจให้มากที่สุด” การสร้างความเป็นเจ้าของร่วมของ ชาวบ้านในโรงงานข้าวเกรียบต้นแบบนั้น เริม่ ต้นตัง้ แต่การเริม่ สร้างตัวอาคารโรงงาน ขนาดเล็ก โดยชาวบ้านร่วมกันออกแรงใน การสร้างตัวอาคารโรงเรือน การใช้วัสดุ อุปกรณ์อย่างง่าย เช่น กะละมังสำหรับ เป็นที่ต ้ม การหั่นให้ได้แผ่นบางๆ โดย ใช้มีด การหาไม้ฝืนบริเวณชายหาดเป็น เชื้อเพลิง เป็นต้น จนสามารถพัฒนาเป็น การผลิตค่อนข้างเต็มรูปแบบและสามารถ จัดสร้างเป็นโมเดลสำหรับการพัฒนาที่

เหมาะสมกับชุมชน ในพื้นที่จังหวัดชาย แดนภาคใต้ได้ คือ การสร้างงานให้เกิดขึน้ ในตั ว ชุ ม ชน และโยงใยผู ก ติ ด วิ ส าหกิ จ ดังกล่าวกับวิถีชีวิตและศาสนา มีข้อตกลงตั้งแต่เริ่มต้นว่าหากดำเนิน การสำเร็จ ส่วนหัวปลาที่เป็นเศษเหลือ จากการนำมาใช้เป็นวัตถุดิบ จะยกให้เป็น ของชุมชน เพื่อนำไปจัดสรรเป็นสวัสดิการ ต่างๆ ในขณะที่ผลกำไรส่วนอื่นๆ ให้นำ ไปใช้ในการขยายโรงงาน และจัดสรรเป็น โบนัสให้แก่พนักงานและคณะกรรมการ บริหารในแต่ละปี ปัจจุบันพบว่ารายได้ จากการจำหน่ายส่วนของหัวปลา สำหรับ ใช้เป็นอาหารเลี้ยงปลากะพงขาวที่มีการ เลี้ยงอยู่มากมายในพื้นที่นั้น สร้างรายได้ ให้ระบบสวัสดิการมากกว่า 10,000 บาท ต่อเดือนหรือประมาณ 120,000 บาทต่อปี ซึ่งรายได้ส่วนนี้จะถูกนำไปใช้จัดสรรเป็น สวัสดิการต่างๆ มุ่งเน้นที่การบริจาคให้แก่ ผู้สูงอายุและผู้ยากไร้ในชุมชน การจัดสรร เป็นทุนการศึกษาสำหรับเด็กกำพร้าและ ผู้ที่มีผลการเรียนดีของชุมชน การใช้เป็น เงินค่าตอบแทนครูสอนศาสนา การปรับ ปรุงมัสยิดและโรงเรียนตาดีกา เป็นต้น จนนับว่าเป็นเครือ่ งมือสำคัญของการสร้าง

ความเข้มแข็งขึ้นมาในชุมชนเต็มรูปแบบ ร่วมกับกิจกรรมอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน เช่ น กองทุ น เลี ้ ย งปลากะพงขาว กลุ ่ ม อาชีพการปักจักรที่พัฒนาโดยโครงการฯ ระบบไฟแนนซ์ชมุ ชน เป็นต้น สิ่งต่างๆ เหล่านี้ได้นำไปสู่การแก้ไข ปัญหาชุมชนที่เป็นรูปธรรมอย่างแท้จริง สร้างความมั่นคงทางรายได้ และภูมิใจใน ความสำเร็จให้แก่ชุมชนปาตาบาระแห่งนี้ เป็ น อย่ า งมาก ปั จ จุ บ ั น โรงงานต้ น แบบ แห่งนี้ได้เป็นสถานที่ศึกษาดูงาน ทั้งโดย ชุมชนใกล้เคียงและชุมชนอืน่ ๆ จากภูมภิ าค อื่นๆ ทั่วประเทศ และต่อมาได้ร ับการ คัดเลือกจากศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัด ชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ให้เป็นโรงงาน ต้นแบบด้านการผลิตอาหาร เพื่อพัฒนา ต่อยอดสู่การเป็นแหล่งผลิตอาหารฮาลาล ในระดับชุมชน โดยสนับสนุนงบประมาณ เพื่อพัฒนาโรงงานให้สามารถผลิต ผลิตภัณฑ์เพื่อการส่งออกได้ และมีมาตรฐาน การผลิตที่ถูกต้องตามหลักสุขลักษณะการ ผลิตอาหาร เป็นต้นแบบทั้งทางด้านการ ผลิตและการบริหารจัดการต่อไป อัลฮัมดุลิลลาฮฺ เป็นอีกความพยายามหนึ่งที่กำลัง มุง่ พัฒนาไปข้างหน้า อย่างมีสติ

หมายเหตุ สนใจร่วมธุรกิจเป็นตัวแทนจำหน่ายผลิตภัณฑ์ ติดต่อ 089-6537252 X

13 ÿ¢ “√–


รายงาน

ÿ¢ “√–

X

○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○

และเป็นกันเองฉันพี่น้อง ผู้ที่มีประสบการณ์ทง้ั ผูท้ ส่ี งู วัย วัยกลางคน และวัยรุน่ ได้ ม าร่ ว มกั น แลกเปลี ่ ย นซึ ่ ง กั น และกั น อย่างมีคุณค่า โครงการต่างๆ ไม่ว่าจะอยู่ บนดอย หรือที่ราบ ในชนบท หรือในเมือง ตั้งแต่ในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงราย เชียงใหม่ ไปจนกระทั่ง ลำปาง และแพร่ ได้ถูกหยิบยกมาพูดคุย และยกเป็นตัวอย่าง นักวิชาการและผู้บริหารอาวุโส อย่างเช่น ศาสตราจารย์นายแพทย์สนาน สิมารักษ์, อิหม่ามมุสตาฟา หะซัน, ผศ.สุชาติ เศรษฐมาลิ น ี , อาจารย์ ซ อและห์ แสวงศิ ร ิ ผ ล ได้ ม าร่ ว มให้ ค วามรู ้ และแลกเปลี ่ ย น

○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○

อีกทั้งยังมีวิทยากร และที่ปรึกษาที่มีความ รู้จริงมาร่วมให้ความรู้ทั้งในระหว่างการ สัมมนา และในกระบวนการจัดทำโครงการ ทำให้ เ กิ ด ความหวั ง ว่ า โครงงานพั ฒ นา ต่างๆ ในภาคเหนือจะสามารถดำเนินไป ได้ดว้ ยดี และประสบความสำเร็จ ท่ า มกลางบรรยากาศที ่ เ ย็ น สบาย

14

เกิดผลสำเร็จเป็นทวีคูณอีกด้วย ผมได้มี โอกาสเดินทางไปร่วมโครงการเสริมสร้าง ภาวะความเป็นผู้นำสู่การทำงานเป็นเครือ ข่ายของภาคเหนือของแผนงานสุขภาวะ มุสลิมไทย (สสม.) ในช่วงระหว่างวันที่ 13-15 มิถุนายน 2551 ณ อุทยานแห่ง ชาติดอยสุเทพ - ปุย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ก็ต้องยอมรับว่าทีมงานของ สสม. ภาค เหนือนั้นมีความเข้มแข็งสูง เพราะนอกจาก จะประกอบด้วยคนรุ่นใหม่ที่มีทั้งความรู้ และอุดมการณ์ในการทำงานแล้ว หลาย ต่ อ หลายคนยั ง มี ป ระสบการณ์ ใ นการ ทำงานในโครงการพั ฒ นาที ่ ห ลากหลาย

เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแล้วว่า การทำโครงการพัฒนาต่างๆ ในปัจจุบัน นั ้ น จำเป็ น ต้ อ งทำในรู ป ของเครื อ ข่ า ย เพราะไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานนั้น ไม่เหงา เพราะมีเพื่อนร่วมงานที่ทำงาน ในลั ก ษณะเดี ย วกั น แล้ ว จะได้ เ กิ ด การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้งาน และเพิ่มพลังให้ Á

ดร. ปรีดา ประพฤติชอบ

X

ประสบการณ์ ภายใต้ ก ารประสานงาน ของผู ้ ป ระสานงานภาคคื อ น.ท.สมคิ ด ลัทธิศักดิ์ และทีมงาน ผู้เข้าร่วมโครงการ นอกจากจะเรียนรู้ร่วมกันแล้ว ยังได้ร่วม กั น ประกอบศาสนกิ จ ในชี ว ิ ต ประจำวั น ออกกำลังกาย สนทนาแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็น

ทางการ จนทำให้สามวันบนดอยสุเทพปุย ได้ผ่านไปอย่างรวดเร็ว และอยู่ใน ความทรงจำมิรลู้ มื ความประทับใจเหล่านี้ ได้ถูกบันทึกไว้ในเว็บไซต์ทั้งเนื้อหา และ ภาพ ซึ่งผู้ที่ไม่มีโอกาสไปร่วมงานได้รับ ทราบใน www.oknation.net/blok/katiya โครงการอันหลากหลายอาทิ โครง การกีฬาเพื่อสุขภาวะ โครงการเยาวชน รักษ์สง่ิ แวดล้อม, โครงการอบรม อ.ย. น้อย สู่ชุมชน, โครงการผลิตสารชีวภาพเพื่อ การเกษตรและสิ่งแวดล้อม, โครงการฝึก อาชีพสตรี เพื่อสร้างงาน สร้างรายได้ และสุขภาพจิตทีด่ ี ฯลฯ ได้ถกู หยิบยกและ นำเสนอเพื่อเป็นตัวอย่างของการจัดทำ โครงการอย่างเป็นรูปธรรม ผลของการ จัดทำโครงการนี้ทำให้องค์ความรู้ในการ จัดทำโครงการได้มีการเผยแพร่ไปสู่นัก พัฒนารุ่นใหม่ และได้สร้างจิตสำนึกใน การพัฒนาทั้งร่างกายและจิตใจ เราหวัง ไว้ว่าโครงการในลักษณะเช่นนี้จะสร้าง ความเจริญก้าวหน้า และสันติสุขให้เกิด ขึ้นอย่างแท้จริงให้เกิดขึ้นในสังคมของเรา


อาหารกับสุขภาพ ถึงแม้ว่าน้ำมันปลาและน้ำมันตับปลา นั้น จะมาจากปลาเช่นเดียวกัน แต่องค์ ประกอบของน้ำมันทั้ง 2 ชนิดนี้นั้นแตก ต่างกันค่อนข้างมาก โดยน้ำมันปลานั้น คนส่วนมากจะรู้จักในชื่อของ โอเมก้า 3 ขณะที่น้ำมันตับปลาส่วนใหญ่แล้ว คนนิยม รับประทานเพื่อเสริมวิตามินดี และวิตามิน เอ ซึ่งความแตกต่างของน้ำมันทั้งสอง ชนิดนีส้ ามารถแยกได้ดงั ต่อไปนี้ Á

โนรีซนั ต์ X

ความแตกต่างระหว่างน้ำมันปลา และน้ำมันตับปลา น้ำมันปลา เป็นน้ำมันที่สกัดจาก เนื้อ หนัง หัว และหางปลาทะเล อาทิ ปลาซาร์ดนี , ปลาเฮอร์รง่ิ , ปลาแมคคอเรล, ปลาแซลมอน, ปลาทูน่า เป็นต้น น้ำมัน ปลามีกรดไขมันที่ร่างกายคนเราไม่สามารถ สร้างเองได้ ในกลุม่ โอเมก้าสาม 2 ชนิด คือ Eicosapentaenoic Acid (EPA) และ Docosahexaenoic (DHA) น้ำมันตับปลา เป็นน้ำมันที่สกัด มาจากตับของปลาทะเล อาทิ ปลาค็อด, ปลาแฮลิบัท, ปลาเฮอร์ริ่ง เป็นต้น โดยมี ส่วนประกอบหลักที่สำคัญคือ วิตามินเอ และวิตามินดี ซึ่งช่วยเสริมสร้างการเจริญ เติบโตของกระดูก

ข้อควรระวัง น้ำมันปลา ผู้ที่แพ้ปลาทะเลและผู้ที่กำลังได้รับยาแอสไพรินไม่ควรทานน้ำมันปลา และพึงระวังว่าการรับประทานน้ำมันปลาขนาดสูง อาจทำให้ระดับวิตามินอีในร่างกาย ลดลง น้ำมันตับปลา ผูท้ จ่ี ะทำการผ่าตัด จะต้องหยุดยาก่อนการผ่าตัดประมาณ 7-10 วัน และการรับประทานน้ำมันตับปลาในปริมาณสูงนั้นจะทำให้เกิดพิษจากวิตามิน เอ เช่น ปวดศีรษะ, อาเจียน, มีอาการทางระบบประสาท, ผมร่วง, ผิวแห้ง และตับถูกทำลาย ซึ่งขนาดของวิตามิน เอ ที่ก่อให้เกิดพิษในผู้ใหญ่นั้นจะมีปริมาณตั้งแต่ 150 มิลลิกรัม ขึน้ ไป และในเด็กนัน้ จะประมาณ 100 เท่าของขนาดวิตามิน เอ ทีค่ วรได้รบั ในแต่ละวัน แหล่งอ้างอิง 1. http://board.dserver.org/h/healthykids/00000700.html 2. http://www.bangkokhealth.com 3. http://www.thaihealth.info/nutrition78.htm 4. www.childrenhospital.go.th/main/ph/PEOPLE/MEDICINE/053.htm X

15 ÿ¢ “√–


จับประเด็น X

วิรชาติ มัสอูดี

“แก๊สโซฮอล์” แก๊สโซฮอล์คือส่วนผสมของน้ำมัน เบนซินกับเอทานอล ซึ่งเอทานอลเกิดจาก การหมักพืชเพื่อให้ได้แอลกอฮอล์ และทำ การกลั่นให้เป็นแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ โดย ผ่านกระบวนการเตรียมวัตถุดิบ กระบวน การหมัก และกระบวนการแยกและทำให้ บริสุทธิ์ เมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการจะที่ดี Á

16 ÿ¢ “√–

พออาจได้เอทานอลความบริสุทธิ์ร้อยละ 99.5 ซึ ่ ง สามารถนำไปผสมกั บ น้ ำ มั น เบนซินเป็นแก๊สโซฮอล์เพื่อใช้ในรถยนต์ ที่มีเครื่องยนต์เบนซินได้ การผลิตแก๊สโซฮอล์ในประเทศไทย นั้นเกิดจากแนวพระราชดำริในพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเมื่อปี พ.ศ. 2528 ซึ่งในขณะนั้นเกิดปัญหาวิกฤตการณ์ด้าน ราคาน้ำมัน น้ำมันดิบในตลาดโลกมีราคา สูงมาก จึงทรงมีพระราชดำริให้โครงการ ส่วนพระองค์ สวนจิตรลดาทำการศึกษา การนำอ้อยมาแปรรูปเป็นเอทานอล เพื่อ ใช้เป็นพลังงานทดแทน หลังจากนั้นก็เกิด ความตื่นตัวทั้งจากภาครัฐและเอกชนเข้า X

มาร่วมพัฒนา บราซิลเป็นประเทศที่สามารถนำมา เป็นตัวอย่างของการพัฒนาการใช้พลังงาน จากเอทานอลได้ดี ปัจจุบันประเทศบราซิล มีการใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์อย่างแพร่หลาย มีรถที่ใช้พลังงานเอทานอล โดยไม่ผสม น้ำมันเบนซิน ซึ่งเป็นผลมาจากการพัฒนา

มากว่า 30 ปี จนทำให้ปจั จุบนั บราซิลเป็น ประเทศผู้ส่งออกเอทานอลรายใหญ่ของ โลก มีลกู ค้ารายใหญ่ คือ สหรัฐ, อินเดีย, เกาหลี, ญีป่ นุ่ , สวีเดน และเนเธอร์แลนด์ ความสำเร็ จ ของบราซิ ล เกิ ด จาก ปัจจัยหลายๆ ด้าน เช่น พืน้ ทีเ่ พาะปลูกที่ เหมาะสมแก่การปลูกอ้อยและให้ผลผลิต ที่มากกว่า มีการพัฒนาการปลูกอ้อยอย่าง เป็นระบบ มีการนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อ ให้ได้ผลผลิตที่ดี และสิ่งสำคัญที่สุดคือมี นโยบายส่งเสริมและสนับสนุนอย่างจริงจัง และต่อเนื่องจากรัฐบาล การจัดสรรพื้นที่เพาะปลูกอ้อยเพื่อใช้ ประโยชน์ในด้านต่างๆ ก็เป็นผลจากการ วางแผนการผลิตที่มีความต่อเนื่อง พื้นที่ ทางตอนกลางและตอนใต้ ข องประเทศ ถูกใช้ในการเพาะปลูกอ้อยเพื่อผลิตเอทานอลเป็นหลัก และพื้นที่ด้านตะวันออก เฉียงเหนือของประเทศถูกใช้ในการปลูก อ้อยสำหรับผลิตน้ำตาลเพื่อการส่งออก การกำหนดที่ชัดเจนเช่นนี้ช่วยให้ไม่เกิด ปั ญ หาการขาดแคลนวั ต ถุ ด ิ บ เพื ่ อ ผลิ ต น้ำตาลหรือเอทานอล สำหรับประเทศไทยของเราจะอี 20 อี 85 หรื อ อี 100 จะเป็ น ไปได้ ห รื อ ไม่ ขึ้นอยู่กับการส่งเสริมและสนับสนุนอย่าง จริงจังและต่อเนื่องจากรัฐบาล


สิง่ แวดล้อม อับดุรเราะฮีม บินฮาซัน X

เมืองไทยอันอุดมไปด้วยทรัพย์ในดิน สินในน้ำ รวมทัง้ ทรัพยากร การท่องเทีย่ วทีร่ งั สรรค์จากพระเจ้าและการสร้างสรรค์จากประวัตศิ าสตร์

หลายท่านรูจ้ กั เกาะภูเก็ต, สมุย, ช้าง, ปันหยี, พีพ,ี สิมลิ นั , ตะรุเตา ฯลฯ แต่นอ้ ย ท่านนักที่คนทั่วไปจะรู้จักเกาะโลซิน ยกเว้นนักดำน้ำอาชีพ เรามาทำความรู้จักกับโลซิน กันก่อนดีกว่า เกาะแห่งนีข้ น้ึ ทะเบียนเป็น 1 ใน 515 เกาะทัว่ ประเทศ อยูห่ า่ งจากชายฝัง่ นราธิวาสด้านอำเภอตากใบ 85 กม. จัดเป็นเกาะอยู่ห่างฝั่งมากที่สุดแห่งหนึ่งในเมืองไทย มีน้ำใสปานกระจกชั้นดี จุดเด่น จุดดำน้ำสวยที่สุดในอ่าวไทย น้ำทะเลใสระดับ 20-30 เมตร (สูสีกับสิมิลัน บางครั้งใสกว่าด้วย) แนวปะการังแข็งแรงสมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่ง ในเมืองไทย ลักษณะของโลซินนั้นแตกต่างจากสิมิลันหรือเกาะอื่นๆ ที่เรารู้จักเป็นกองหินกว้าง ประมาณ 10 ตารางเมตร โผล่พน้ น้ำขึน้ มาโด่เด่ไร้ไม้พฤกษ์ บนยอดหินมีประภาคาร ตัง้ อยู่ ส่ ว นใต้ น ้ ำ นั ้ น เป็ น แนวปะการั ง กว้ า งใหญ่ กิ น อาณาเขตเกื อ บหนึ ่ ง ตารางกิ โ ลเมตร ความลึกส่วนใหญ่ประมาณ 70 ฟุตขึน้ ไป ส่วนชายกองหินนัน่ ลึกตัง้ 100-120 ฟุต จัดว่า เป็นเกาะทีค่ อ่ นข้างมหัศจรรย์ อยูด่ ๆี ก็โผล่ขน้ึ มาตัง้ กลางทะเล ไม่มหี มูเ่ กาะหรือทีต่ น้ื อืน่ ในบริเวณใกล้เคียง Á

สิ่งแรกที่เราเห็นคือความใสสดของ น้ำทะเลโดยรอบ มองเห็นได้ไกลไม่ต่ำกว่า 70 ฟุต เมื่อเราลงไปที่ใกล้พื้นท้องทะเล สัตว์แรกที่มองเห็นคือเหล่าปะการังพุ่ม คะเนดูสายตาคาดว่ามีไม่ต่ำกว่าหนึ่งหมื่น ก้อน กว้างใหญ่คลุมพื้นที่ขนาดใหญ่กว่า สนามฟุตบอลเลยทีเดียว นอกจากปะการัง แล้ ว บริ เ วณนั ้ น มี ป ลาว่ า ยวนไปมาอยู ่ มากมาย ตัวแรกที่ลงไปสัมผัสคือปลาหาง เหลือง แต่ละตัวขนาดจานเปลทั้งนั้น แถม ยังว่ายเข้ามาอย่างมิตรสัมพันธ์ จากปลา หางเหลือง พอเราว่ายเข้าไปใกล้ปะการัง ก้อนที่มีอยู่ไม่กี่หย่อม ปลาสินสมุทรลาย เส้นก็ออกมาทักทาย ทะเลแถวนี้มีปลา สินสมุทรอยู่มากมาย เพราะทุกปะการัง ก้อนที่เราไปเห็นจะเจอแต่สินสมุทร ว่าย เข้ามาใกล้วนไปเวียนมา ปลาอีกกลุ่มที่นักดำน้ำอ่าวไทยส่วน ใหญ่ไม่ค่อยเห็นคือผีเสื้อ นักวิชาการบอก ว่าในทะเลทีห่ า่ งไกลจากชายฝัง่ อย่างโลซิน พบปลาผีเสื้อ 12 ชนิด มีอยู่ 3 ชนิดไม่ เคยเห็นในทะเลอื่นของอ่าวไทย จัดได้ว่า เป็น New Record ส่วนปลาอื่นนั้นนับ ไม่ถ้วน และได้เจอปลาข้าวเม่าน้ำลึกทั้งฝูง มีอยู่ไม่ต่ำกว่าหนึ่งร้อยตัว นักดำน้ำหลาย ท่านบอกว่า มีที่นี่แห่งแรกที่มาครั้งละเป็น ร้อย เชื่องมาก ฝูงปลากลางน้ำมีปลาค้าง คาว ว่ายโฉบเฉี่ยวไปมาโผล่พรวดเข้ามา

ทีม่ า : บางส่วนจาก http://www.talaythai.comsendmail/index.htm

X

17 ÿ¢ “√–


รายงานพิเศษ ทีละห้าสิบตัว ว่ายวนเวียนให้มาสัมผัส ความงามของทะเลโลซินส่วนใหญ่ จะอยู่รอบกองหิน แถวนั้นปะการังพุ่มเริ่ม มีน้อยลง กลายเป็นก้อนหินสลับกับฟองน้ำ ครกและปะการังอ่อนน้ำลึกสีสดสวย กัลปังหาก็มีมากเหมือนกัน แต่ต้นค่อนข้าง เล็กแถมอยู่ลึก สัตว์กลุ่มหนึ่งที่เป็นความ ลึกลับแห่งโลซินคือดาวขนนก หายาก หาก อยากเห็นดาวทะเล แนะนำดาวมงกุฏหนามให้รู้จัก เป็นนักกินปะการังแถวนี้ สีตุ่นๆ เหมือนดาวหนามทั่วอ่าวไทย สี ออกม่วงแดงเหมือนแถวทะเลอันดามัน หากแต่ขนาดตัวทีเ่ ห็นต้องคิดว่าเป็นเอเลีย่ น

มีอยูต่ วั หนึง่ วัดความกว้างพบว่าเกินกว่า 30 นิ ้ ว แถมยั ง กิ น ปะการั ง จนขาวโพลน เป็นแนว ความจริ ง แล้ ว โลซิ น มี ช ื ่ อ เสี ย งใน เรื่องกระเบนราหูและฉลามวาฬ แต่ก็ยัง มีปลาโรนันขนาดยาวสามเมตรแถมมีเพือ่ น อย่างปลาหูฉลามว่ายติดตามเป็นพรวน ในตอนกลางคื น นั ้ น ปลากลางน้ ำ ที ่ ม ี โอกาสได้พบเห็นก็มีปลาหางเหลือง และ ปลาสลิดหินขนาดยักษ์นอนกันอยู่หลาย ร้อยตัว รวมทั้งหลดทะเล ปลาไหลมอเรย์ โผล่หัวออกมาจากโพรงก้อนหิน ยื น ยั น ได้ ว ่ า โลซิ น คื อ สุ ด ยอดแห่ ง อ่าวไทย ความงดงามของท้องทะเลแถวนี้ รวมถึง ความอุดมสมบูรณ์ของเหล่ามัสยา ทำให้ทะเลแห่งนี้ดูดีไปเสียหมด อยากจะ บอกนั ก บริ ห ารของกรมประมงและกรม ป่าไม้ไว้ว่าโลซินยังไม่เป็นเขตอนุรักษ์ ถ้า ขาดการดูแลเอาใจใจใส่ ของดีที่มีอยู่อาจ หลุดลอยไปก็ได้ 18 ÿ¢ “√–

X

จากรูปถ่ายทางอากาศ หลายรูปใน เว็บไซต์ www.survival-international.org พบว่า ชนเผ่า 2 คนทาสีแดงที่ลำตัวยืน อยู่ข้างกระท่อม ตั้งท่ายิงลูกดอกเข้าใส่ เฮลิคอปเตอร์ ส่วนอีกคนหนึง่ ยืนดู เชือ่ ว่า ปัจจุบ ันมีชนเผ่าในเขตพรมแดนเปรูอยู่ ประมาณ 15 เผ่า นายสตีเฟน คอรี่ ผู้อำนวยการกลุ่ม Survival International สนับสนุนแนวคิด ของรัฐบาลเปรู โดยเสนอให้รบี ดำเนินการ โดยเร็ว เพื่อจะหยุดยั้งการทำลายป่า ให้

พ้นไปจากชนเผ่าเหล่านั้น และต้องสนับ สนุ น ให้ ม ี ค วามคุ ้ ม ครองในบริ เ วณที ่ อ ยู ่ อาศัยของชนเผ่าให้สอดคล้องกับกฎหมาย ระหว่ า งประเทศ มิ ฉ ะนั ้ น แล้ ว ชนเผ่ า เหล่านั้นจะสูญพันธุ์ไปเนื่องจากถูกทำร้าย การอพยพย้ายถิน่ เพราะถูกรุกราน รวมทัง้ ภัยจากเชื้อโรคใหม่ๆ ปัจจุบันคาดว่ายังมีคนป่าที่ไม่ได้มี การติดต่อกับโลกภายนอกมากกว่าร้อยเผ่า กว่ า ครึ ่ ง อาศั ย อยู ่ ท ี ่ บ ราซิ ล หรื อ ไม่ ก ็ เ ปรู ส่วนคนป่าที่อาศัยอยู่ตามแนวพรมแดน บราซิล-เปรูนน้ั คาดว่ามีประมาณ 500 คน เชื่อว่าบางส่วนหนีความขัดแย้งระหว่าง ชนเผ่าจากเปรูเข้าไปในบราซิล

ที่มา : www.survival-international.org/ เว็บไซต์หนังสือพิมพ์ข่าวสด ฉบับประจำวันที่ 3 มิถุนายน 2551




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.