เอกสารประกอบการอบรม เรื่องลายกำมะลอ ไพรัชศิลปจากจีนโบราณสู่งานช่างสยาม

Page 1


เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตรระยะสั้นงานศิลป์ถิ่นกรุงเก่า (ครั้งที่ ๔)

“ลายกามะลอ : ไพรัชศิลป์จากจีนโบราณสู่งานช่างสยาม” วันเสาร์ที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๗

จัดพิมพ์โดย สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา สิงหาคม ๒๕๕๗ จานวน ๑๐๐ เล่ม ๙๖ ถนนปรีดี พนมยงค์ อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา โทรศัพท์ ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ โทรสาร ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ ฝ่ายส่งเสริม และเผยแพร่วิชาการ ปัทพงษ์ ชื่นบุญ อายุวัฒน์ ค้าผล อรอุมา โพธิ์จิ๋ว

ฝ่ายวิชาการ พัฑร์ แตงพันธ์ สาธิยา ลายพิกุน ฝ่ายบริหารงานทัว่ ไป ณัฐฐิญา แก้วแหวน สายรุ้ง กล่​่าเพชร ศรีสุวรรณ ช่วยโสภา ประภาพร แตงพันธ์ ยุพดี ป้อมทอง

คัดสรรเนื้อหาจาก: สนั่น รัตนะ. (๒๕๔๙). ศิลปะลายกามะลอ. กรุงเทพฯ: สิปประภา.


สารบัญ หน้า ความหมายของคาว่า ลายกามะลอ และคาเรียกอย่างอื่นที่เกี่ยวข้อง

ประวัติความเป็นมาของลายกามะลอ

ประวัติการวาดภาพด้วยยางรัก ในประเทศต่างๆ

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนลายกามะลอ

๒๑

ต้นรักในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย

๒๒

ลักษณะของต้นรักในประเทศไทย

๒๓

การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ สาหรับเขียนภาพลายกามะลอ

๒๕

การปฏิบัติงานเขียนลายกามะลอ เฉพาะส่วนลายรดนา

๓๐

การปฏิบัติงานเขียนภาพกามะลอ เฉพาะส่วนที่เป็นรักสี

๔๒

การเขียนเส้นตัดทอง

๔๔

บันทึก

๔๙


กิจกรรมอบรมหลักสูตรระยะสันงานศิลป์ถิ่นกรุงเก่า (ครังที่ ๔) เรื่อง ลายกามะลอ : ไพรัชศิลป์จากจีนโบราณสูง่ านช่างสยาม ๑.ชื่อหลักสูตร: กิจกรรมอบรมหลักสูตรระยะสั้นงานศิลป์ถิ่นกรุงเก่า (ครั้งที่ ๔) ลายก่ามะลอ : ไพรัชศิลป์จากจีนโบราณสู่งานช่างสยาม ๒.หน่วยงานผู้รับผิดชอบ: ฝ่ายส่งเสริมและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม สถาบันอยุธยาศึกษา ๓.หลักการและเหตุผล: ลายกามะลอ สันนิษฐานว่าแต่เดิมเป็นของจีนเพื่อเขียนตกแต่งเครื่องเรือนชนิดต่าง ๆ เช่น ฉาก พับ ลับแล ฝาหีบ ฝาตู้ เป็นต้น ของซึ่งเขียนตกแต่งด้วยลายก่ามะลอปรากฏมีในเมืองไทยครั้งแรกเมื่อ ปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา สันนิษฐานว่าพวกจีนน่าเข้ามา โดยติดมาในลายตกแต่งเครื่องเรือนอย่างจีนที่ บรรทุกส่าเภามาจากเมืองจีน เข้ามาค้าขายในกรุงศรีอยุธยา ชาวสยามเมื่อได้เห็นลายก่ามะลอ ก็เห็นเป็น ของแปลกจึงเกิดความพอใจ แต่จะท่าขึ้นบ้างคงท่าไม่ได้เพราะไม่รู้วิธีผสมสีผสมน้่ายา ต่อมาพวกจีนที่เป็นช่างไม้เข้ามาตั้งรับจ้างต่อเครื่องเรือนขายในกรุงศรีอยุธยา ซึ่งมีหลักฐานอยู่ใน ค่าให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรมว่ามีชาวจีนมาตั้งบ้านท่าเครื่องเรือนมีอยู่หลายแห่งในกรุงศรีอยุธยา ช่างจีนพวกนี้คงมีคนในหมู่พวกนั้นเป็นช่างเขียนก่ามะลอร่วมมาด้วยละได้ท่างานประเภทนี้ตกแต่งเครื่อง เรือนอย่าง จีนออกขายแพร่หลายอยู่ในเวลานั้น คนสยามที่สนใจการเขียนลายก่ามะลอ ก็ย่อมมีโอกาสได้ เห็นการเขียนของจีน อาจเลียนแบบและจ่าวิธีการมาเขียน จนท่าได้เองจึงเกิดการเขียนลายก่ามะลอที่มี รูปภาพและลวดลายแบบไทยประเพณีขึ้น ประดับอยู่ตามฝาตู้ ฝาหีบ เมื่อสมัยอยุธยาตอนปลาย ค่าว่า “ก่ามะลอ” โดยความหมายตามที่ เข้าใจทั่วไปว่าเป็นของท่ าเทียม ของที่ท่าหยาบๆ ไม่ ทนทาน แต่ค่าว่า “ก่ามะลอ” หรือ “สีก่ามะลอ”มีความหมาย ในทางช่างเขียนว่า “งานเขียนสีผสมน้่า รัก” ซึ่งท่าเทียม “งานเขียนระบายสีน้่ากาว” แต่มิใช่เป็นงานเขียนระบายสีน้่ากาวตามขนบนิยมซึ่งมีมา ก่อนจึงถูกเรียกว่า “งานเขียนสีก่ามะลอ” อนึ่งงาน “ลายก่ามะลอ” ยังเนื่องมาแต่คตินิยมของช่างไทยแต่ ก่ อ นถื อ ว่า ภาพทั้ งหลายเกิ ด ขึ้น ด้ วยการน่ าเอาลาย หรื อ ลวดลาย มาผูก ร่ว มกั น ขึ้ น เป็ น ภาพ ค่ า ว่ า “ลายก่ามะลอ” ย่อมหมายถึง “ภาพเขียนผูกขึ้น ด้วยลายระบายด้วยสีก่ามะลอ” งานประณีตศิลป์ประเภทลายก่ามะลอ จึงเป็นจิตรกรรมไทยที่มีคุณค่าและหาชมได้ยาก เป็นงาน ตกแต่งซึ่งท่าขึ้นบนบานประตู บานหน้าต่าง ฝาตู้ ฝาหีบ ฉาก ลับแล หน้าใบ ประกับคัมภีร์ แผงข้าง ฯลฯ โดยลวดลายส่วนใหญ่จะมีคุณลักษณะพิเศษคือ มักท่าเป็นภาพเล่าเรื่อง และลวดลายที่เขียนจะใช้กรรมวิธี ลงรักปิดทองรดน้่าแล้วระบายสีบนลายทอง เพื่อให้เกิดสีสันและน้่าหนักของภาพ ท่าให้เกิดความงดงามขึ้น มากกว่าลายรดน้่าเพียงอย่างเดียว ลายก่ามะลอ จึงเป็นงานประณีตศิลป์ที่แฝงไว้ซึ่งภูมิปัญญาและเทคนิค งานช่างในอดีตมากมาย อย่างไรก็ตาม ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาแม้ว่าจะมีการบรรจุหลักสูตรวิชาลายรด น้่า ควบคู่กับศิลปะลายก่ามะลอไว้ในสถานศึกษาที่เกี่ยวกับศิลปะและวิชาชีพหลายแห่ง แต่แขนงวิชา ดังกล่าวยังจ่ากัดอยู่ในวงแคบและเป็นการเรียนรู้เฉพาะทางเท่านั้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อการอนุรักษ์งาน ศิลปะลายก่ามะลอเป็นอย่างยิ่ง สถาบันอยุธยาศึกษา เป็นหน่วยงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ท่าหน้าที่ใน ด้านการศึก ษา ค้น คว้า วิจัยข้ อมู ลเกี่ ยวข้ องกับ ประวัติศ าสตร์ โบราณคดี ศิลปวัฒ นธรรมของจัง หวั ด พระนครศรีอยุธยา จึงเห็นสมควรจัดโครงการอบรมหลักสูตรระยะสั้นงานศิลป์ถิ่นกรุงเก่า ครั้งที่ ๔ เรื่อง ลายก่ามะลอ : ไพรัชศิลป์จากจีนโบราณสู่งานช่างสยาม เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถผลิตชิ้นงาน ลวดลายก่ามะลอด้วยตนเอง ตามกรรมวิธีแบบโบราณ ตั้งแต่เริ่มต้นคัดเลือกลายมาท่างานการปรุแบบใน กระดาษไข การเตรียมวัสดุที่ใช้ในการเขียนลายก่ามะลอ การเตรียมพื้น การร่างและเขียนภาพ การโรย แบบ การระบายสี การตกแต่ง รวมทั้งรู้จักแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่างๆ การอนุรักษ์ลายก่ามะลออย่าง


โบราณ ผู้อบรมสามารถที่จะน่าไปประกอบอาชีพอิสระและยังน่าไปประยุกต์กับงานอื่น ๆ ได้ ตลอดจน เป็นการปลูกจิตส่านึกและภาคภูมิใจในมรดกวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของชาติต่อไป ๔.วัตถุประสงค์ : ๑) เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา อาจารย์ เครือข่ายทางวิชาการ และผู้สนใจที่มีพื้นฐานทางด้าน ศิลปกรรมไทย มีความความรู้เกี่ยวกับประวัติและความเป็นมาศิลปะลายก่ามะลอ ๒) เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา อาจารย์ เครือข่ายทางวิชาการ และผู้สนใจที่มีพื้นฐานทางด้าน ศิลปกรรมไทย มีความความรู้เกี่ยวกับปฏิบัติวิธีการเขียนลายก่ามะลอ และสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะ ลายก่ามะลอที่มีลักษณะเฉพาะตนได้ ๓) เพื่ อให้นัก เรีย น นั กศึกษา อาจารย์ เครือข่ายทางวิชาการ และผู้สนใจที่มี พื้น ฐานทางด้าน ศิลปกรรมไทย เกิดจิตส่านึกที่ดีเห็นคุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรมของชาติและของท้องถิ่น รวมทั้งสืบ ทอดศิลปะและวัฒนธรรมแขนงต่างๆ ของไทย อันจะก่อให้เกิดความรู้สึกหวงแหนในศิลปะและวัฒนธรรม ของชาติ และเกิดผลดีต่อประเทศชาติสืบไป ๕. สาระสาคัญของหลักสูตร: กิจกรรมอบรมหลักสูตรระยะสั้นงานศิลป์ถิ่นกรุงเก่า (ครั้งที่ ๔) เรื่อง ลายก่ามะลอ : ไพรัชศิลป์จากจีนโบราณสู่งานช่างสยาม ๖. หัวเรื่องและขอบข่ายเนือหา: หัวเรื่อง: ลายก่ามะลอ : ไพรัชศิลป์จากจีนโบราณสู่งานช่างสยาม ขอบข่ายเนื้อหา: ผู้เข้ารับการอบรมสามารถผลิตชิ้นงานลายก่ามะลอ ได้ด้วยตนเอง ตามกรรมวิธี แบบโบราณ ตั้งแต่เริ่มต้นคัดเลือกลายมาท่างานการปรุแบบในกระดาษไข การเตรียมวัสดุที่ใช้ในการเขียน ลายก่ามะลอ การเตรียมพื้น การร่างและเขียนภาพ การโรยแบบ การระบายสี การตกแต่ง รวมทั้ง รู้จัก แนวทางในการแก้ ไขปั ญ หาต่ างๆ การอนุ รัก ษ์ ล ายก่ ามะลออย่ างโบราณ ผู้ อ บรมสามารถที่ จะน่ า ไป ประกอบอาชีพอิสระและยังน่าไปประยุกต์กับงานอื่นๆ ได้ ๗. รูปแบบและวิธีการฝึกอบรม: ๗.๑ อบรมเชิงอภิปราย (บรรยายทางวิชาการ) ๗.๒ วิ ธี ก ารฝึ ก อบรม: การจั ด กิ จ กรรมบรรยายทางวิ ช าการ โดยนั ก วิ ช าการที่ มี ค วามรู้ ความสามารถ และเป็นที่รู้จักในแวดวงวิชาการ ๘. ระยะเวลาการฝึกอบรม: ๑ วัน ๙. จานวนผู้เข้ารับการอบรม: ๔๐ คน ๑๐. คุณสมบัติของผู้เข้ารับการอบรม: นักเรียน นักศึกษา อาจารย์ และผู้สนใจทั่วไป ที่มีความรู้พืนฐาน ด้านศิลปกรรมไทย และสามารถเขียนลายไทยได้ ๑๑. ค่าใช้จ่าย: งบประมาณแผ่นดิน (บริการทางวิชาการ) ๒๔,๘๐๐ บาท ๑๒. การวัดและประเมินผลการฝึกอบรม: ๑๒.๑ นักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕ ๑๒.๒ นักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไปมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕ ๑๒.๓ นักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไปสามารถน่าความรู้ไปใช้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕


๑๓. ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ๑) นักเรียน นักศึกษา อาจารย์ เครือข่ายทางวิชาการ และผู้สนใจทั่วไป มีความความรู้เกี่ยวกับ ประวัติและความเป็นมาของศิลปะลายก่ามะลอ ๒) นักเรียน นักศึกษา อาจารย์ เครือข่ายทางวิชาการ และผู้สนใจทั่วไป มีความความรู้เกี่ยวกับ ปฏิบัติวิธีการเขียนลายก่ามะลอ และสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะลายก่ามะลอที่มีลักษณะเฉพาะตนได้ ๓) นักเรียน นั กศึกษา อาจารย์ เครือข่ายทางวิชาการ และผู้สนใจทั่วไป เกิดจิตส่านึกที่ดีเห็ น คุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรมของชาติและของท้องถิ่น รวมทั้งสืบทอดศิลปะและวัฒนธรรมแขนงต่างๆ ของไทย และสามารถน่าไปประยุกต์ใช้เพื่อการประกอบอาชีพได้ ๑๔. วันเวลาอบรม : วันเสาร์ที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๗ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. ๑๕. สื่อการอบรม : ๑๕.๑ เอกสารประกอบการเสวนา ๑๕.๒ จอแสดงภาพประกอบ ๑๖. สถานที่ฝึกอบรม : ภาคทฤษฏี และภาคปฏิบัติ ณ สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๑๗. แนววิชาโดยสังเขป เพื่ อ ให้ ผู้ เข้า รับ การอบรมสามารถผลิต ชิ้น งานลายก่ ามะลอ ได้ ด้ วยตนเอง ตามกรรมวิธีแ บบ โบราณ ตั้งแต่เริ่มต้นคัดเลือกลายมาท่างานการปรุแบบในกระดาษไข การเตรียมวัสดุที่ใช้ในการเขียนลาย ก่ามะลอ การเตรียมพื้น การร่างและเขียนภาพ การโรยแบบ การระบายสี การตกแต่ง รวมทั้งรู้จักแนวทาง ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ การอนุรักษ์ลายก่ามะลออย่างโบราณ ผู้อบรมสามารถที่จะน่าไปประกอบอาชีพ อิสระ และยังน่าไปประยุกต์กับงานอื่นๆ ได้ ๑๘ .แผนการสอน วันที่

เวลา

เนือหาวิชา

๑๖ ส.ค. ๕๗ ๐๘.๓๐ – ๐๙.๓๐ น. ประวัติความเป็นมาเกี่ยวกับลายก่ามะลอ แนะน่าวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ในการท่างานตามขั้นตอนสาธิตการผลิตชิ้นงานจริง ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ น. ปฏิบัติ การปรุลายลงบนกระดาษไข และการโรยแบบ ๑๓.๐๐ – ๑๕.๓๐ น. ปฏิบัติ การเขียนลวดลายด้วยสีผสมยางรัก การปิดทอง การเขียน ลากเส้นด้วยยางมะเดื่อชุมพร การรดน้่า ๑๕.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. ปฏิบัติ เก็บลายละเอียดงาน และแก้ไขจุดบกพร่อง รวมบรรยาย ๑ ชั่วโมง รวมปฏิบัติการ ๗ ชั่วโมง วัสดุที่จัดเตรียมให้ : สีอะคลิลิค ทองค่าเปลวคัด ๑๐๐% ,ฝุ่นทอง, หรดาน ,พู่กัน, สมุก, ยางมะเดื่อ ชุมพร, น้่ามันการบูร , น้่ามันก๊าด , ยางมะเดื่อชุมพร, แผ่นโฟม , โกร่งบดยา , กระดาษไข , ยางรักเช็ด , เข็มปรุลาย ,น้่าส้มป่อย ,รักเช็ด , ดินสอพอง และเอกสารประกอบการอบรม วัสดุใช้งานร่วมกัน : น้่าส้มป่อย ฟองน้่า ส่าลี สะพานรองแขน วัสดุที่ควรนามา : ผ้ากันเปื้อน


กาหนดการอบรมหลักสูตรระยะสันงานศิลป์ถิ่นกรุงเก่า (ครังที่ ๔) เรื่อง ลายกามะลอ : ไพรัชศิลป์จากจีนโบราณสู่งานช่างสยาม วันเสาร์ที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมสถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๐๘.๓๐ – ๐๙.๐๐ น.

ลงทะเบียนรับเอกสาร

๐๙.๐๐ – ๑๐.๐๐ น.

แบ่งกลุ่มปฏิบัติการฝึกอบรม, แนะน่าวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการท่างานตามขั้นตอนสาธิต การผลิตชิ้นงานจริง วิทยาโดย อาจารย์ศุภชัย นัยผ่องศรี และอาจารย์วัลลี ตรีวุฒิ

๑๐.๐๐ – ๑๒.๐๐ น.

ปฏิบัติการปรุลายลงบนกระดาษไข และโรยแบบด้วยดินสอพอง วิทยาโดย อาจารย์ศุภชัย นัยผ่องศรี และอาจารย์วัลลี ตรีวุฒิ

๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น.

พักรับประทานอาหารกลางวันตามอัธยาศัย

๑๓.๐๐ – ๑๕.๓๐ น.

ปฏิบัติการเขียนลวดลายด้วยสีอะคลิลิค การปิดทอง การเขียนตัดเส้นด้วยยางมะเดื่อ การรดน้่า วิทยาโดย อาจารย์ศุภชัย นัยผ่องศรี และอาจารย์วัลลี ตรีวุฒิ

๑๕.๓๐ – ๑๖.๐๐ น.

ปฏิบัติการเก็บลายละเอียดงาน และแก้ไขจุดบกพร่อง วิทยาโดย อาจารย์ศุภชัย นัยผ่องศรี และอาจารย์วัลลี ตรีวุฒิ

๑๖.๐๐ – ๑๖.๓๐ น.

สรุปผลงาน และมอบเกียรติบัตร (ผู้อบรมได้ผลงาน ๑ ชิ้น)

*** หมายเหตุ *** รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่มในระหว่างการอบรม เวลา ๑๐.๐๐ น และ ๑๔.๐๐ น.


หน้า ๑

ความหมายของคาว่า ลายกามะลอ และคาเรียกอย่างอื่นที่เกี่ยวข้อง

๑. คาว่า กามะลอ ตามพจนานุกรมศิลปกรรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานกล่าวไว้ว่า “งานจุลศิลป์ที่ ทาอย่างกระบวนจีน งานกามะลอนี้มีทั้งภาพและลาย สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าฯ กรมพระยา นริศรานุวัดติวงศ์ทรงสันนิษฐานว่าช่างจีนนาเข้ามาเขียน ของจีนที่ทาในเมืองไทยแล้วไทยบางคนว่างาม เพราะมีสีต่างๆ จึงนาของไทยที่เขียนลายรดน้าไปให้เขียนบ้างแล้วเรียกว่า ลายกามะลอ” (พจนานุกรม ศัพท์ศิลปกรรม อักษร ก. ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. ๒๕๒๖ ๒. น. ณ ปากน้า กล่าวไว้ในพจนานุกรมศิลปะว่า “ลายกามะลอ คือ ลายทองรดน้าแล้วเอารัก ผสมสีฝุ่นและชาดระบายผสมลงไปกับลายทองบนผนังที่เป็นพื้นรักไว้ทาให้เกิดภาพสวยงามมาก มักนิยม ทากับตู้ พระไตรปิฎกและเครื่องใช้สอยเล็กๆ เช่น ตะลุ่ม และ พาน เป็นต้น” (น. ณ ปากน้า พจนานุกรม ศิลปะ. ๒๕๒๒ ๓. คาว่า เขียนทองกามะลอ ตามพจนานุกรมศัพท์ศิลปกรรม อักษร ข-ฉ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน กล่าวไว้ว่า “การเขียนลวดลายเป็นสีทองติดบนผืนผ้าโดยเฉพาะผ้าแต่โบราณ ใช้สาหรับพระมหากษัตริย์ หรือเจ้านายนุ่ง เรียกว่า ภูษาเขียนทอง หรือผ้าเขียนทอง มี ๒ ชนิด ชนิดหนึ่งใช้ผ้าเขียนสีขาวเขียนลาย ทอง ใช้สาหรับทรงในโอกาสเสด็จไปบาเพ็ญพระราชกุศล อีกชนิดหนึ่งเป็นผ้าเขียนลายดอกหรือลายต่างๆ เขียนทองทับลงในไส้ดอกหรือเดินเส้นให้งดงาม ดูมีค่ายิ่งขึ้น ใช้สาหรับทรงในพระราชพิธีที่ไม่เกี่ยวด้วย การศาสนา วิธีเขียนทองหรือลวดลายทองลงบนพื้นผ้าใช้ยางมะเดื่อชุมพร หรือมะเดื่ออุทุมพรเป็นน้ายา เขียนลงบนหน้าผ้าเป็นลวดลายต่างๆ แล้วปิดทองคาเปลวทับผนึ กให้ติดยางมะเดื่อ เมื่อแห้งจะติดทนนาน


หน้า ๒

อีกวิธีหนึ่ง คือ ใช้ยางมะเดื่อชุมพรเขียนเป็นลวดลายตามแบบแล้วใช้ฝุ่นทองโรยทับในขณะที่ยางมะเดื่อยัง ไม่แห้ง (มีความเหนียว) ผงทองจะติดเป็นลวดลายแน่นนาน การเขียนทองด้วยวิธีนี้ใช้ทาประดับตกแต่งใบ ฉัตรกามะลอที่ใช้ใบฉัตรเป็นผ้าขาวและมีลวดลายเป็นสีทอง” (พจนานุกรมศัพท์ ศิลปกรรม อักษร ข-ฉ. ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. ๒๕๓๐) ๔. งานเขียนระบายสีกามะลอ ตามคาจากัดความในหนังสือช่างสิบหมู่ของการท่าอากาศยาน แห่ งประเทศไทย พ.ศ.๒๕๔๐ กล่ าวไว้ว่า “งานเขียนระบายสีกามะลอ หรือเรียกว่า เขียนสีกามะลอ ลายกามะลอ เป็นงานเขียนวาดเส้นและระบาย ทาเป็นลวดลายหรือรูปภาพด้วยวิธีการอย่างโบราณวิธีหนึ่ง มีทั้งการเขียนลวดลายและเขียนเป็นรูปภาพต่างๆ เขียนระบายด้วยสิหม่นๆ บนพื้นซึ้งทาด้วยยางรักเป็นสี ดาสนิท แสดงเส้นล้อมเป็นขอบรูปภาพหรือลวดลายด้วยเส้นทองสดใส เพิ่มความชัดเจนและน่าสนใจชม ขึ้นบนพื้นสีดาที่รองรับ อนึ่งคาว่า กามะลอ โดยความหมายในความเข้าใจทั่วไปว่าเป็นของทาเทียม ของที่ ทาหยาบๆ ไม่ทนทาน แต่คาว่า กามะลอ หรือ สีกามะลอ มีความหมายในทางช่างเขียนงานเขียนสีผสมรัก ซึ่งทาเทียม งานเขียนระบายสีน้ากาว แต่มิใช่น้าเขียนระบายสีน้ากาวตามขนบนิยมซึ่งมีมาก่อนจึงถูก เรียกว่า งานเขียนสีกามะลอ อนึ่งงานเขียนระบายสีกามะลอนี้มีในงานที่เขียนประกอบกับงานเขียนน้ายาปิดทองรดน้าด้วยกัน ก็มี เรียกกัน ว่า ลายรดน้ ากามะลอ” (การท่ าอากาศยานแห่ งประเทศไทย : ช่างสิบ หมู่. พ.ศ. ๒๕๔๐ หน้า ๕๐-๕๓) คาว่า กามะลอ ที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้ คือ งานประณีตศิลป์ที่ทาตามแบบอย่างของจีนผสมผสาน กับเทคนิควิธีการเขียนลายรดน้าซึ่งเป็นเอกลักษณ์ทางงานช่างของไทยแขนงหนึ่ง ซึ่งความหมายในที่นี้ คือ การผสมเทคนิคของงานช่าง ๒ แขนงเข้าด้วยกันคือ การเขียนภาพหรือลวดลายด้วยวิธีการลายรดน้า กับเทคนิ ควิธีการระบายสี ด้วยสี ฝุ่นผสมยางรักตามแบบของจีนเขียนระบายเป็ นภาพต่างๆ ท าให้เกิด บรรยากาศที่แปลกตาไปกว่าการเขียนลายรดน้าแต่เพียงอย่างเดียวแล้วจึงเขียนตัดเส้นรอบนอกของสีที่ ระบาย รวมทั้งการให้รายละเอียดต่าง ๆ ด้วยเส้นสีทอง ซึ่งอาจจะแปลความหมายของคาว่า กามะลอ นี้ว่าไม่แท้ก็ได้ กล่าวคือ ภาพผลงานที่ปรากฏเมื่อเสร็จสมบูรณ์แล้วไม่สามารถระบุได้ชัดเจนในทางเทคนิค ใดเทคนิคหนึ่งทั้งลายรดน้าและจิตกรรมไทย


หน้า ๓

ประวัติความเป็นมา ของลายกามะลอ

งานศิลปกรรมลายกามะลอ เริ่มทากันมาตั้งแต่ครั้งปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี โดยรั บ เอาอิท ธิพ ลจากภาพเขียนจิต รกรรมของช่างชาวจีน ที่ เขียนประดับ ตกแต่ งสิ่ งของเครื่องใช้ต่างๆของ คหบดีจีน คนไทยเห็นว่ามีสีสันและความงามแปลกตาออกไปกว่าการเขียนประดับตกแต่งด้วยเทคนิค ลายรดน้าซึ่งมีเพียงสีทองบนพื้นสีดาหรือแดงแต่งเพียงอย่างเดียวในช่วงแรก ๆ สันนิษฐานว่า คงจะเป็น ฝีมือช่างจีนเขียนขึ้นก่อน และช่างไทยเรียนแบบทาตามอย่างโดยการนาเอาตัวภาพที่เป็นอุดมคติแบบไทย ทั้ งท่ าทางและลวดลายกระหนกแบบไทยในสมั ย อยุ ธยา เช่ น ตั วภาพกิ น นรา กิ น นรี ตั วภาพนรสิ งห์ ลวดลายกนกเปลวหางกินนรี เป็นต้น มาผสมผสานกับตัวภาพและลวดลายประดิษฐ์ตามแบบอย่างจีน เช่น ตัวภาพเซี่ยวกางยืนบนสิงโตจีน ลายดอกโบตั๋น ดอกพุดตานจีน กอบัว และลวดลายธรรมชาติ ภูเขา ต้นไม้ ต่างๆ เป็นต้น ซึ่งปรากฏหลักฐานบนหีบธรรม ซึ่งแต่เดิมเป็นแบบเสื้อผ้าของคหบดีเก่าที่ต่อมาลูกหลาน ถวายวัดภายหลังที่บรรพบุรุษเสียชีวิตลง ซึ่งเก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพระยา จังหวัด พระนครศรีอยุธยาและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร เป็นต้น นอกจากนี้ยังปรากฏหลักฐานเป็นภาพกามะลอขนาดใหญ่ที่ผนังหอไตรวัดสระเกศราชวรวิหาร กรุงเทพฯ เขียนเรื่องเล่า วิถีชีวิตชาวบ้าน ภาพฝรั่ง และภาพอาคารบ้านเรือนแบบจีน ทาให้หอไตรมีความ งดงามเป็นพิเศษ และมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น


หน้า ๔

ในสมั ยรัตนโกสิ นทร์ต อนต้น ศิ ลปะลายกามะลอเริ่ มมี ความเด่น ชัดในรูป แบบ มีค วามเป็ น เอกลักษณ์ไทยมากยิ่งขึ้น โดยการนาเอาเครื่องราวในวรรณคดีไทยมาเขียนเล่าเรื่อง คือฉากลับแลใน พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ งชาติ กรุ ง เทพฯ เขี ย นเล่ า เรื่ อ งอิ เหนา ซึ่ งเป็ น บทวรรณกรรมพระราชนิ พ นธ์ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ มีฝีที่ประณีต ละเอียด งดงาม และแสดงเป็น รูปแบบไทยแท้ ๆ โดยไม่ทิ้งร่องรอยอิทธิพลจากจีนหลงเหลืออยู่ นอกจากนี้ ยั ง มี ป รากฏผลงานลายก ามะลอที่ บ านประตู ห อไตรปิ ฎ ก วั ด พระงาม อ าเภอ บางประหั น จังหวัดพระนครศรีอยุ ธยา เขี ยนเป็ น ภาพเซี่ ยวกางแบบจีน ผสมผสานลวดลายแบบไทย ที่บานประตู หน้าต่างอุโบสถวัดอรุณราชวรารามวรวิหาร ธนบุรี เป็นภาพต้นไม้ ต้นมัคนารีผล ที่ฝาผนัง ตอนล่ างในอุ โบสถวัด นางนอง เขี ย นเล่ าเรื่อ งสามก๊ ก ที่ บ านประตู พ ระต าหนั ก พระพุ ท ธโฆษาจารย์ วัดโมลีโลกยาราม เขียนเป็นภาพต้นไม้ รวมไปถึงบานประตูพระอุโบสถ วัดเฉลิมพระเกียรติ จั งหวัด นนทบุรี เป็นต้น ส่วนงานที่ปรากฏเป็นงานเขียนประดับตกแต่งตู้พระไตรปิฎก หีบธรรม อาทิเช่นตู้พระไตรปิฎก ในพิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ กรุ ง เทพฯ เขี ย นเล่ า เรื่ อ งรามเกี ย รติ์ และในพิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ จันทรเกษม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เขียนเล่าเรื่องชาดกต่าง ๆ นอกจากนี้ยังมีปรากฏที่ตู้พระไตรปิฎก ในหอสมุดวชิรญาณ ในหอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี และของสะสมส่วนบุคคลต่าง ๆ อีกมากมาย สมั ย รั ต นโกสิ น ทร์ รั ช กาลที่ ๕ เป็ น ต้ น มา เทคนิ ค การเขี ย นภาพลายก ามะลอก็ เสื่ อ ม ความนิยมลง ด้วยเหตุปัจจัยบางประการ เช่น วัสดุในการเขียนลายกามะลอที่ นาเข้าจากต่างประเทศจีน ลดน้อยลงจนเกือบหมด ส่วนวัสดุที่หาได้ในประเทศก็ถูกปลอมปนทาให้หาวัสดุที่มีคุณภาพแท้จริงมาใช้ งานยากยิ่งขึ้นรวมไปถึงอิทธิพลทางการเมืองการปกครองระหว่างประเทศ และรวมถึงอิทธิพลทางศิลปะ ของยุโรปเข้ามามีบทบาทมากขึ้นทาให้ช่างผู้ชานาญที่มีความรู้เรื่องเทคนิควิทีการเขียนลายกามะลอค่อย ๆ หมดไป และไม่มีหน่วยงานใดที่สนใจเป็นพิเศษในการอนุรักษ์ สืบทอด และพัฒนา จึงทาให้งานช่างแขนง นี้ค่อยเสื่อมความนิยมลงไปยังผลทาให้เทคนิควิทีการไม่มีผู้สืบทอดความรู้ไว้ ทาให้ในปัจจุบันนี้ไม่มีผู้รู้คน ใดสามารถบอกถึงความถูกต้องของวิทีการเขียนที่เคยมีเป็นเอกลักษณ์ตั้งแต่ครั้งอดีตได้ คงเหลือเพียงแต่ การคาดเดาวิธีการหรือมีความรู้บางส่วนได้โดยขาดทักษะความชานาญที่แท้จริง


หน้า ๕

ประวัติการวาดภาพด้วยยางรัก ในประเทศต่างๆ

นางสาวมองเพลิน อุตมา นักศึกษาในโครงการแลกเปลี่ยนระหว่างคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิยาลัย เชียงใหม่ กับคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเว้ ประเทศเวียดนามได้สรุปเอาไว้ดังนี้ “ประเทศจี น เป็ น ต้ น ต ารั บ ในการใช้ เทคนิ ค การระบายภาพด้ ว ยยางรั ก ตั้ ง แต่ ค รั้ ง ก่ อ น คริสต์ศักราชในเบื้องต้นจะพบว่าสีใช้เขียนภาพมีเพียง ๒ สี คือสีดากับสีแดงโดยมีวัสดุรองภาพเป็นแผ่นไม้ กระดาน และวัสดุอื่นๆเช่น หิน กระจก แก้วเจียระไน ทองคา และไข่มุก เป็นต้น ต่อมาในสมัยราชวงศ์ถัง ก่อน ค.ศ.๙๖๙ - ๑๒๗๙ ได้ พั ฒ นาการใช้ สี จ าก ๒ สี มาเป็ น ๘ สี โดยใช้วัสดุรองรับจากแผ่นไม้กระดานและแผ่นโลหะ เช่น บรอนซ์และแผ่นทองคา โดยใช้ของมีคมแกะให้ เป็นรองร่อยแล้วระบายสีภายหลัง ประเทศญี่ ปุ่น เชื่อกันว่าได้รับอิทธิพลเทคนิคการวาดภาพจากประเทศจีน เมื่อครั้ง ๕๐๐ ปี ก่อนคริสต์ศักราช และมีการก่อตั้งโรงเรียนศิลปะการวาดภาพด้วยยางรักขึ้นในปี ค.ศ.๖๑๕ ซึ่งตรงกับ สมัยจักรพรรดิโคโคตุ (King Kokotu) ทาให้ชาวญี่ปุ่นมีความรู้ ความชานาญในเทคนิคนี้มากยิ่งขึ้นและ พัฒนาจนถึงยุคเจริญสูงสุด เรียกกันว่าเป็นยุคทองของการเขียนภาพด้วยยางรักมนญี่ปุ่น (ค.ศ.๑๖๐๓๑๘๖๘)” และอีกหลักฐานหนึ่งกล่าวเอาไว้ว่า ญี่ปุ่นได้นาเอววิธีการทาเครื่องเขินของไปพัฒนาตั้งแต่ครั้ง อยุธยา (พจนานุกรมศัพท์ ศิลปกรรม อักษร ข-ฉ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน)


หน้า ๖

ประเทศอินเดีย “ผลงานหัตถกรรมที่ผลิตขึ้นเพื่อการตกแต่งบ้านเรือน ภาชนะ เครื่องใช้ ไม้สอย ต่างๆ หรือเครื่องประดับตกแต่งร่างกายมีความโดดเด่นอยู่ตามหัวเมืองต่างๆ อาทิ เช่น เมืองปัญ จาบ มีความโดดเด่นที่ใช้สีแดงและสีม่วง เมืองคาจามีร์ มีเอกลักษณ์พิเศษคือการใช้วิธีการวาดสีเขียวภาพด้วย ยางรักให้เกิดเป็นภาพนูนโดยการนายางรักสีเขียวมาทาบนทองคาทาให้เกิดลวดลายทองบนพื้นสิเขียว และที่เมืองโคโรมานเดล มีชื่อเสียงทางการวาดภาพด้วยยางรักโดยการขุดผิวหน้าของภาพให้เป็นล่องลึก ประเทศเวียดนาม ได้มีการค้นพบการวาดภาพด้วยยางรักครั้งแรกในราชวงศ์ลี (ค.ศ.๑๐๐๙๑๒๒๕) และพัฒนาเทคนิคนี้เรื่อยมาจนถึงช่วงสมัยราชวงศ์เล (ค.ศ. ๑๔๒๘-๑๗๗๖) มีศิลปินผู้เชียวชาญ มากมายจนได้รับการยกย่องเป็นบิดาแห่งการวาดภาพด้วยยางรัก ต่อมาในสมัยราชวงศ์เว้ได้มีการเรียนการสอนการวาดภาพด้วยยางรักขึ้นหลังจากนั้นจึงได้เกิด ศูนย์กลางการเรียนการสอนเทคนิคนี้ขึ้นที่เมืองเว้ และขยายต่อไปที่เมืองฮานอยแล้วเกิดเป็นโรงเรียน ศิลปะฮานอยในปี ค.ศ.๑๙๒๕ โดยชาวฝรั่งเศส ทาให้ศิลปะการเขียนภาพด้วยยางรักเจริญรุ่ง เรือนเป็นยุค ทองของเวียดนามในช่วงปี ค.ศ.๑๙๓๘ – ๑๙๔๑ โดยภาพที่ปรากฏมีลักษณะเป็นเทคนิคการเซาะร่องลึก” (มองเพลิน อุตมา. สรุปผลการวาดภาพด้วยยางรัก.๒๕๔๒) ในส่วนของต้นรักที่จะใช้เจาะเอายางมีการปลูกเป็นพืชสาคัญของประเทศให้ความสาคัญเป็น พืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่ต้องดูแลเป็นอย่างดี ประเทศพม่า ผลงานเครื่องรักในพม่าได้รับอิทธิพ ลจากประเทศไทยในสมัยที่เมืองเชียงใหม่ ตกเป็นเมืองขึ้นของพม่าโดยนาเอารูปแบบ เทคนิค วิธีการ งานเครื่องเขินไปจากเชียงใหม่และได้นาวิธีการ เขียนลายรดน้าไปจากกรุงศรีอยุธยาในสมัยที่พม่าตีกรุงศรีอยุธยาได้ ซึ่ งสมเด็จการพระยาดารงราชานุภาพ ทรงกล่าวไว้ว่า “วิธีทาของลงรักนั้นพระเจ้าหงสาวดี บุเรงนองได้ไปจากเมืองไทยคือว่าได้ช่างรักไทยไปเมื่อ ตีกรุงศรีอยุธยาได้ใน พ.ศ.๒๑๑๒ ก็พึงสันนิษฐานว่าครั้งนั้นได้ไปแต่วิธีการทารักน้าเกลี้ยงกับทารดน้า จึงมี ของพม่าทาเช่นนี้มาแต่โบราณ แต่วิธีขุดพื้นรักลงไปเป็นรูปภาพและลวดลายต่างๆ นั้นพวกช่างชาวพุกาม เขาบอกฉันว่าเพิ่งได้วิธีไปจากเชียงใหม่ ” (สาสน์สมเด็จ เล่ม๙. ๒๕๐๕. หน้า ๒๘๔) ซึ่งผลงานเครื่องเขิน ของพม่านี้มีชื่อรียกว่า โยนเก่ แปลว่า ภาชนะของไทยโยน มีศูนย์กลางที่เมืองมัณฑะเล ที่บ้านกานและ โบรม หรือศรีเกสร มีหลายสี เช่น ดา แดง เหลือง น้าเงิน และที่มีราคาแพงคือ เครื่องเขินปิดทองคาเปลว ประเทศเกาหลี และหมู่ เกาะ Ryukyu ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างประเทศญี่ ปุ่นกับเกาะไต้หวันมีการ ทางานรักสีกามะลอซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากจีนและญี่ปุ่นมายาวนานเช่นเดียวกัน ส่วนประเทศลาว กัมพูชา และอินโดนีเซียแถบเกาะสุมาตราตอนใต้และเกาะชวาก็มีการผลิ ต ผลงานเครื่องรักเช่นเดียวกัน แต่ไม่ปรากฏหลักฐานมากนัก


หน้า ๗

ตู้พระไตรปิฎกสมัยรัตนโกสินทร์ เขียนลวดลายประกอบภาพด้วยเทคนิคกามะลอแบบรักสีล้วน ๆ ที่ได้รับแบบอย่างมาจากลายกามะลอจีน (ของสะสมส่วนบุคคล)


หน้า ๘

ภาพเซี่ยวกาง หีบธรรม เทคนิคกามะลอ สมัยอยุธยาตอนปลายที่มีรูปแบบศิลปะจีนผสมผสานลวดลายกระหนกแบบไทย พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดรพระนครศรีอยุธยา


หน้า ๙

หีบธรรม ลวดลายกามะลอ สมัยอยุธยาตอนปลายที่มีรูปแบบศิลปะจีนผสมผสานลวดลายกระหนกแบบไทย พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดรพระนครศรีอยุธยา


หน้า ๑๐


หน้า ๑๑


หน้า ๑๒


หน้า ๑๓


หน้า ๑๔


หน้า ๑๕


หน้า ๑๖


หน้า ๑๗


หน้า ๑๘


หน้า ๑๙


หน้า ๒๐


หน้า ๒๑

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ การเขียนลายกามะลอ

การเขียนลายกามะลอ เป็นการเขียนภาพจิตรกรรมไทยแบบดั้งเดิมรูปแบบหนึ่งที่นาเอาวิธีการ เขียนภาพด้วยรักสีแบบจีนมาผสมผสานกับการเขียนภาพและลวดลายด้วยเทคนิคลายรดน้าแบบไทย โดย การวางองค์ประกอบตัวภาพดาเนินเรื่องราวด้วยวิธีการลายรดน้า แล้วระบายสีบรรยากาศแบบจีน ซึ่ง น. ณ ปากน้ า ได้ อ ธิ บ ายไว้ ว่ า “โดยวิ ธี ก ารเขี ย นสี ฝุ่ น ผสมรั ก น้ าเกลี้ ย งหรื อ เขี ย นแบบเทมเพอรา (Tempera) ลงไปตามผิวเนื้อ ตามดอกและใบกับกิ่งก้าน ทิวทัศน์ต่างๆ เป็นการผสมผสานกันระหว่าง ระบายสีกับการทาลายทอง (น. ณ ปากน้า ตู้พระไตรปิฎก ๒๕๔๓) ซึ่งปรากฏผลงานอยู่ตามอาคารพุทธ ศิ ล ป์ หรือ สิ่ งของเครื่อ งใช้ ในพุ ท ธศาสนา อาทิ เช่ น ฝาผนั งหอไตร บานประตู หน้ าต่ าง โบสถ์ วิห าร ตู้พระไตรปิฎก หีบหนังสือ และงานจุลศิลป์ต่างๆ วิธีการทางานจะมีขั้นตอนกระบวนการที่ยุ่งยากสลับซับซ้อนมีระเบียบแบบแผนมากกว่าเทคนิค วิธีการอื่นๆ คือ จะต้องมีการวางแผนการทางานอย่างชัดเจน แบ่งรูปแบบและกระบวนการอย่างถูกต้อง และทาตามขั้นตอนตามลาดับก่อนหลัง ประกอบกับวัสดุอุปกรณ์ในการใช้ปฏิบัติงานมีความจากัดตามแบบ แผน และจะจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการทางานทั้ง ๒ วิธี คือ วิธีการเขียนลายรดน้าและวิธีการระบายสี ด้วยรักสี ควบคู่กันไป


หน้า ๒๒

ต้นรักในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศไทย

ยางจากต้นรักคือหัวใจสาคัญของการสร้างสรรค์งานศิลปะลายกามะลอคือจะต้องใช้ความเหนียว ของยางไม้ชนิดนี้ผสมกับสีฝุ่นเพื่อให้เกิดเป็นรักสีต่างๆใช้ระบายเป็นภาพต่างๆ หรือการเตรียมพื้นรองรับ ภาพหรือการใช้ยางรักในกระบวนการของการเขียนลวดลายรดน้าด้วย ต้นรักที่พบในประเทศไทยตามภูมิภาคต่างๆมีลักษณะที่แตกต่างกัน แต่มีชื่อเรียกตามภาษา ท้องถิ่นที่เหมือนกัน เช่น ภาคเหนือเรียก รัก หรือฮักใหญ่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก น้าเกลี้ยง ภาคใต้ เ รี ย ก รั ก เขา หรื อ รั ก ขบ เป็ น ต้ น ซึ่ ง ต้ น รั ก ทุ ก ชนิ ดจะอยู่ ใ นวงศ์ เดี ย วกั น กั บ ต้ น มะม่ ว ง (Anacardiaceae) ซึ่งพืชในวงศ์นี้ทั่วโลกจะมีอยู่ประมาณ ๘๗๕ ชนิด ส่วนมากจะอยู่ในแถบประเทศที่ มีที่ตั้งใกล้เส้นศูนย์สูตร ในประเทศทางภาคเหนือจะพบ ๑๒ สกุล มีอย่างน้อย ๒๓ ชนิด เป็นไม้ไม่ ผลัดใบหรือ ไม้ ผ ลั ดใบระยะสั้ น ๆ มั กจะมียางใส มีกลิ่น คล้ายน้ ามั น สน เมื่อยางสัมผัสกับ อากาศจะ เปลี่ยนเป็นสีดาหรือสีน้าตาลเข้ม ยางของต้นไม้บางชนิดใช้เป็นน้ายาชักเงา หรือน้ายาเคลือบภาชนะได้ ยางจะมีพิษสามารถทาให้เกิดอาการแพ้ได้ ซึ่งจะต้องระมัดระวังถ้าเข้าไปใกล้ต้นหรือสัมผัสยางจะทาให้ เกิดการระคายเคืองปวดแสบปวดร้อน และเป็นแผลบวมได้ มีวิธีการรักษาที่แตกต่างกันไปตามแต่ละ ท้องถิ่นหลายๆวิธีด้วยกัน(ดูวิธีการรักษาอาการแพ้ยางรักจากหนังสือศิลปะลายรดน้าของสนั่น รัตนะ สานักพิมพ์สิปประภา)


หน้า ๒๓

ลักษณะของต้นรักในประเทศไทย

ไซมอน การด์เนอร์ และคณะได้บรรณยายรายละเอียดของต้นรักเอาไว้ว่า “รักน้อย (Gluta obovata) เป็นไม้กิ่งผลัดใบ มีความสูงประมาณ ๑๗ เมตร เปลือกลาต้น มีสีน้าตาลอมแดงหรืออมเทา มีรอยแตกตื้นๆ เปลือกชั้นในขาวหรือชมพูอ่อน ผิวเรียบเกลี้ยงมีเส้นใบข้าง ๑๓-๑๘ คู่ เส้นใบย่อยเป็นร่างแห ก้านใบมีขนาดประมาณ ๑.๙-๑.๑ เซนติเมตร ช่อดอกออกเป็นกลุ่ม ซอกใบมนๆ ยาวถึง ๒๔ เซนติเมตร เกสรตัวผู้แยกอยู่ด้านข้างของรังไข่ ผลมีขนาด ๒.๕-๓ เซนติเมตร ผลกลมเกลี้ยง และยังมีกลีบดอกติดอยู่ที่ผล มีก้านสั้นๆ ประมาณ ๒ มิลลิเมตรคั่น ระยะเวลาออก ดอกเดือนมีนาคม-เดือนพฤษภาคม พบทั่วไป เฉพาะในประเทศไทยที่ป่ากึ่งโล่งแจ้ง “รั ก ใหญ่ (Gluta usitata) เป็ น ไม้ ผ ลั ด ใบหรื อ กึ่ ง ผลั ด ใบระยะสั้ น มี ค วามสู ง ประมาณ ๒๐ เมตร เปลือกลาต้นสีเทาเข้มมีรอยแตกหลุดลอกออกเป็นชิ้นเหลี่ยมบางๆ เปลือกชั้นในสีชมพูอ่อน ใบเดี่ยวประมาณ ๑๕-๓๐x๗-๑๒ เซนติเมตร เป็นกลุ่มใกล้ปลายกิ่ง ใบขอบหนาหรือรูปไข่กลับ ใบอ่อนมี ขนหนาแน่ น ใบแก่ สี เขี ย วเข้ ม มี ใบปกคลุ ม ด้ านล่ า งมี ข นเล็ ก ๆ บนเส้ น ใบ มี เส้ น ใบข้ างประมาณ ๑๖-๓๐ คู่ แยกแขนงที่ ขอบใบ มีเส้นใบย่อยสานเป็นร่างแห ก้านใบขนาด ๑.๒x๒.๕ เซนติเมตร มีสันหรือปีกแคบๆ ด้านบนดอกมีสีขาวแล้วค่อยๆเปลี่ยนสีเป็นสีชมพูแล้วแดงสด ออกดอกเป็นกลุ่ม ช่อหนาแน่นใบซอกใบบน มีช่อดอกยาวได้ถึง ๓๐ เซนติเมตร ก้านดอกยาวประมาณ ๑-๑.๕ เซนติเมตร ที่ก้านดอกกลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีขนหนาแน่นปกคลุม กลีบเลี้ยงขนาดประมาณ ๐.๓ เซนติเมตร ปลากแยก ๕ แฉก คลุมดอกตูมและหลุดร่วงออกเมื่อดอกบาน กลีบดอกมี ๕-๖ กลีบ แผ่กว้างปลาย แคบมีขน เกสรตัวผู้มี มากกว่า ๒๐ อัน อยู่รวมกันแน่นบนฐานรองดอกที่ขยายใหญ่ รังไข่มีก้านชู ก้านเกสรตัวเมียมี ๑ อัน ติดด้านข้างของรังไข่ ขนาดของผลประมาณ ๐.๘-๑๒ เซนติเมตร ทรงกลม ผลมีก้านที่มีปีกสีแดงอมม่วง ๕-๖ ปีก กลีบดอกจะเจริญ ตามผล ขนาดของปีก ๕-๑๐ เซนติเมตร


หน้า ๒๔

มีเส้นปีกชัดเจน ออกดอกประมาณเดือนธันวาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ พบทั่วไปในที่โล่งแจ้ง ตามแนวสัน เขาในประเทศอินเดีย พม่า ลาว กัมพูชา และไทย น้ายางทาให้เกิดอาการแพ้ที่ผิวหนังอย่างรุนแรง เกิดรอยไหม้ บวมและพุพองตามมา น้ายางใช้ในอุตสาหกรรมน้ามันชักเงา น้ายางเมื่อแห้งจะเปลี่ยนเป็น สีดา และเป็นมัน รักขาว หรือรักขี้หมู (Semecarpus Coochinensis) เป็นไม้ไม่ผลัดใบ มีความสูงประมาณ ๒๐ เมตร เปลือกลาต้นสีครีมน้าตาล มีรอยแตกตามยาวตื้นๆ เปลือกชั้นในสีชมพูหรือส้ม น้ายางใสมี พิ ษ มากใบมี ข นาด ๑๘.๓ox๗-๑o เซนติ เมตร ใบเดี่ ย วเรีย งแบบสลั บ ลั ก ษณะใบรูป ไข่ ก ลั บ แคบ ปลายใบทู่ มีฐานสอบ ขอบใบเรียบ ด้านบนของใบมีสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีเขียวอมเทา มีขนประปราย บนเส้นใบ เส้นใบข้าง ๑o-๑๒ คู่ เส้นใบย่อยสานกันเป็นร่างแห ก้านใบมีขนาด ๑.๕-๒.๕ เซนติเมตร มีขนละเอียดปกคลุม ดอกตัวผู้มีขนาดประมาณ o.๕ เซนติเมตร ส่วนเอกสมบูรณ์เพศขนาดประมาณ ๑ เซนติเมตร มี สี ขาวหรือเหลื องอมเขียวออกดอกเป็ น กลุ่มช่อใหญ่ ที่ ป ลายกิ่ง และในซอกใบบนๆ มีช่อดอกยาวประมาณ ๑๕-๕o เซนติเมตร ดอกตัวผู้ไม่ก้านดอก ดอกสมบูรณ์เพศมีก้านดอกที่มีขนและ ก้านยาว ดอกกลีบเลี้ยงเป็นรูปถ้วย ๔-๕ พูซ้อนกันมีขนด้านนอก กลีบดอกมี ๔-๕ กลีบ ลักษณะ กลี บ แคบปลายแหลมและเกลี้ ย ง เกสรตั ว ผู้ ล้ อ มรอบหมอนรองดอกมี ข นปลกคลุ ม มี ผ ลขนาด ๒.๕ เซนติเมตร ฐานมีผลโครงสร้างเป็นเนื้อสีส้มสอห่อหุ้ม มีขนคล้ายกามะหยี่ ระยะเวลาของการออก ดอกช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ ออกผลเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม พบทั่วไปในที่ชุมชื้น ในประเทศกัมพูชา ลาว เวียดนาม และคาบสมุทรมาเลย์ เชื่อกันว่ายางทาให้เกิดการระคายเคืองได้มาก ที่สุดของวงศ์มะม่วง”(ไซมอน การ์ดเนอร์ และคณะ. ต้นไม้เมืองเหนือ ๒๕๔๓)


หน้า ๒๕

การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ สาหรับเขียนภาพลายกามะลอ

การเขียนภาพลายกามะลอมีระเบียบแบบแผนในการทางานตามลาดับก่อนหลัง (วิธีการเขียนรัก สีของไทยนั้น ปัจจุบันไม่มีผู้รู้กระบวนการที่ถูกต้องแบบดั้งเดิมแล้ว) มีวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ สาหรับการปฏิบัติงานตามขั้นตอนเขียนภาพมากมาย จึงมีความจาเป็นที่จะต้องจัดเตรียมให้พร้อมเพียง และเป็นไปตามกระบวนการดังต่อไปนี้

วัสดุอุปกรณ์ สี สีที่ใช้เขียนระบายรูปภาพลายกามะลอ ใช้สีฝุ่นบดละเอียดร่อนด้วยตะแกรงร่อนแป้งเพื่อเอา กากที่หยาบออก ใช้ผสมกับยารักใสเพื่อให้ระบายเป็นภาพต่างๆมีสีหลักๆที่สาคัญในลายกามะลอไทยที่ ปรากฏอยู่ในงานยุคโบราณ อาทิเช่นสีแดงชาด สีดินแดง สีดินขาว สีดินเขียว สีคราม เป็นต้น สีต่างๆ เหล่ า นี้ เมื่ อ นั้ น ไปผสมกั บ ยารั ก จะเกิ ด เป็ น สี ห ม่ น ๆ ไม่ ส ดใส เมื่ อ น าไประบายในภาพแล้ ว จะท าให้ บรรยากาศของภาพดูกลมกลืนกัน โดยมีพื้นหลังของภาพเป็นตัวควบคุมบรรยากาศโดยรวมของภาพที่มี เพียงสีดาสีแดงชาดเท่านั้น ฝุ่นทอง มีลักษณะเป็นผงละเอียดสีทองซึ่งนาเข้ามาจากเมืองจีน เมื่อนามาใช้งานไปนานๆ สีทอง จะเปลี่ ย นสี อ อกไปทางสี แ ดงคล้ าๆ ไม่ ส ดใสเหมื อ นสี ข องทองค าเปลว ชนิ ด ทองค าเปลวแท้ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ เบอร์ ๑ ชนิดเต็มแผ่น มีขนาดโดยประมาณ ๓x๓.๕ เซนติเมตร หรือ ขนาด ๔x๔ เซนติเมตร


หน้า ๒๖

ซึ่งโดยทั่วไปทองคาเปลวจะมี ๒ ชนิดที่ใช้กันเฉพาะในเรื่องการทาบุญ หรือการนามาใช้ในการเพื่อเป็น สิริมงคลต่างๆ โดยจาเพาะทางการทางานช่างศิลปกรรมของงไทยหลายๆ แขนงนิยมใช้กันอยู่ ๒ แบบ คือ ทองคัด จะเป็นทองคาเปลวที่ผ่านการตีจนได้มาตรฐานแล้วตัดให้ได้ขนาดเป็นแผ่นตามต้องการ ในแผ่นทองนี้จะไม่มีริองรอยฉีกขาดหรือรูพรุน มีสีเรียบสม่าเสมอกัน นิยมนาไปใช้ในการปิดทองวัสดุ สิ่งของที่มีผิวเรียบและต้องการความเงางาม เช่น พระพุทธรูป ตัวหนังสือป้ายร้านค้าต่างๆเป็นต้น ทองต่อ คือทองคาเปลวเป็นส่วนที่เหลือจากการตัดเป็นทองทองดัดในขั้นแรง แล้วนามาตัดต่อให้ ได้ขนาดมาตรฐานตามขนาดในแผ่นทองเดียวกันจะมีร่องรอยฉีกขาด รูพรุน สีของเนื้อทองไม่สม่าเสมอกัน ใช้ ปิ ด ส่ ว นงานที่ เป็ น ลวดลายมี ร่ อ งลึ ก หรื อ ลวดลายต่ า งๆที่ มี ช่ อ งไฟของภาพ เช่ น ลวดลาย ปู น ปั้ น งานลายรดน้า หรืองานจิตรกรรมไทย ยางรัก จะต้องเป็นยางรักที่บริสุทธิ์ ไม่มีสิ่งแปลกปลอมผสมเจือปนและเก็บรักษาในภาชนะที่ไม่ เป็นโลหะ ซึ่งยางรักที่แท้จะมีสีน้าตาล นามากรองเอากากออกเพื่อทาการแยกให้เป็นยางรักใสตามกรรมวิธี ที่ได้กล่าวมาแล้ว สมุ ก ใช้ เป็ น วั ส ดุ ส าหรั บ ผสมกั บ ยางรั ก น้ าเกลี้ ย งเพื่ อ ให้ เป็ น เนื้ อ วั ส ดุ ที่ จ ะใช้ ร องพื้ น ที่ แ ละ อุดร่องรอยในขั้นตอนการเตรียมพื้นเพื่อให้พื้นมีความเรียบสม่าเสมอกัน ลูกประคบดินสอพอง เผาให้สุกแกร่งเพื่อให้ฝุ่นดินสอพองมีน้าหนัก และเพื่อไล่ความชื้นออก ไม่ให้ดินสอพองเกาะกันเป็นก้อน บดให้ละเอียด ห่อผ้าเนื้อละเอียดทาเป็นลูกประคบใช้โรยแบบลวดลายที่ ปรุเตรียมไว้ ยางมะเดื่ออุทุมพร เป็นน้ายาที่ได้จากการสับเปลือกลาต้น มีคุณภาพเหนียวใช้สาหรับการเขียน ตัดเส้น หรือทาพื้นที่ต้องการจะปิดทองคาเปลว น้ามันการบูร ใช้ผสมยางรักเพื่อให้ยางรักแห้งเร็วขึ้น น้ามันสน หรือน้ามันก๊าด ใช้สาหรับหารล้างทาคามสะอาดเครื่องมือเครื่องใช้ กระดาษไขและกระดาษวาดเขียด ใช้ร่างแบบและปรุแบบเพื่อโรยถ่ายแบบที่ร่างแก้แล้วลงบน ชิ้นงานที่ต้องการ ดินสอพอง แช่น้าให้เปียกหมาดๆ ใช้สาหรับล้างทาความสะอาดพื้นวัสดุที่เขียนงาน และใช้ลบ ลวดลายที่ต้องการจะแก้ไขในระหว่างเขียนลวดลาย หรือใช้ลบเอาทองคาเปลวออก ภายหลังการปิดทอง แล้วหากต้องการ ตะแกรงร่อนแป้ง ใช้สาหรับร่อนเอากากสมุก หรือกากสีที่หยาบๆออก น้ายาหรดาล เป็นน้ายาที่ผสมเตรียมไว้พร้อมที่จะใช้งานสาหรับเขียนส่วนของภาพที่เป็นเทคนิค ลายระน้า


หน้า ๒๗

รักเช็ด คือยางรักน้าเกลี้ยงที่ตั้งไฟเคี่ยวให้เดือดเพื่อเอาน้าที่ผสมอยู่ในยางรักออกให้หมด ใช้เช็ด ก่อนการปิด สีฝุ่น สีต่างๆ ที่บดละเอียดล่อนเอากากหยาบๆ ออกเพื่อผสมกับยางรักใสที่เตรียมไว้ ไม้พายผสมสี ควรจะใช้ไม้พายที่ทาจากกระดูกสัตว์หรือเขาควาย เลื่อนเป็นแผ่นแบนๆ ผสมยาง รักใสกับสีฝุ่น ไม่นิยมใช้เกรียงโลหะ เพราะจะทาให้เกิดปฏิกิริยากับยางรัก จะทาให้ยางรักเปลี่ยนเป็นสีดา และจะทาให้สีผสมหม่นคล้าลง แปรงทายางรัก นิยมใช้แปรงที่ขนแปรงทาจากเส้นผมของคนที่มีความความคงทนละเอียดอ่อน นุ่ม มีความคงทนและไม่ขาดออกเวลาทายางรัก

เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องมือ เครื่องใช้ในการเขียนลายกามะลอจะแบ่งออกเป็น ๒ กลุ่ม โดยลักษณะการทางาน คือ กลุ่มที่เป็นลายรดน้า และกลุ่มที่เป็นงานระบายสี และตัดเส้นทอง ใส่รายละเอียดของภาพ

กลุ่มที่เป็นงานลายรดนา พู่กันขนยาวพิเศษ มีขนาดตั้งแต่เบอร์ ๐ ขึ้นไป เลือกใช้ตามความถนัด และ ลักษณะการใช้งาน ในการเขียนลายรดน้าขนาดเส้นต่างๆมีความพิเศษคือ ในการจุ่มเขียนน้ายาแต่ละครั้งจะสามารถลากเส้น ได้ยาวกว่าพู่กันแบบธรรมดา ทาให้เส้นที่เขียนมีรอยต่อเชื่อมเส้นน้อยลง และสามารถเลี้ยงขนาดของเส้น ให้ใกล้เคียงกันได้ง่าย ไม้รองมือ หรือสะพานรองมือ ใช้สาหรับรองมือระหว่างการปฏิบัติงานลวดลายเพื่อไม่ให้ส่วน ใดส่วนหนึ่งของร่างกายไปสัมผัสกับชิ้นงานในขณะที่ทางาน ไม้พายทารักสมุก ในสมัยโบราณใช้เขาควายเลื่อยให้เป็นแผ่นบางๆ ใช้ทารักสมุกและทารักน้า เกลี้ยงปัจจุบันใช้เกรียงเหล็กโป๊วสีรถยนต์แทนในการทารักสมุก แล้วใช้แปรงทาสีขนอ่อนนุ่มทาสีหรือยาง รักแทน โกร่งน้ายาหรดาล เลือกใช้โกร่งบดยาขนาดพอเหมาะสาหรับผสมน้ายาหรดาล และมีสากคน น้ายาให้ละเอียดและเข้ากันในขณะที่ปฏิบัติงานเขียนที่เป็นลายรดน้า

กลุ่มที่เป็นรักสี พู่กันระบายสี ขนาดต่างๆ และพู่กันตักเส้นใส่รายละเอียด ใช้ระบายสีในพื้นที่ ที่แตกต่างกัน วัสดุรองรับ ในการผสมสีกับยางรักให้เข้ากัน โดยอาจจะใช้เกรียงโป๊วสีตีผสมสีให้เข้ากัน


หน้า ๒๘


หน้า ๒๙


หน้า ๓๐

การปฏิบัติงานเขียนลายกามะลอ เฉพาะส่วนลายรดนา

ลายกามะลอเฉพาะส่วนที่เป็นเทคนิคลายรดน้า โดยส่วนใหญ่แล้วคือส่วนสาคัญของภาพที่แสดง เรื่องราวเนื้อหาต่างๆ ของเรื่องซึ่งปรากฏเป็นตัวภาพ หรือกลุ่มอาคารสถาปัตยกรรม และส่วนประกอบที่ สาคัญ เช่น ซุ้ม กาแพง ป้อมเมือง ซุ้ม ประตู เป็นต้น จะปรากฏเด่นชัดอยู่บนพื้นรักสีดาหรื อสีแดงเข้ม และอยู่มน บรรยากาศส่วนรวมของส่วนประกอบวิธีตัดเส้นน้ายาหรดาล แล้วปิดทองคาแปลแบบลายรดน้า ก็ได้ ในการปฏิบัติงานเขียนลายรดน้ากามะลอในส่วนของลายรดน้าจะต้องทาตามข้อปฏิบัติตามลาดับ ดังนี้ พื นรองรับ ภาพ สีดาแดงเข้ม จะต้องมีการเตรียมการทาสีรองพื้นที่มีพื้ นที่ผิวเงาเป็นมันวาว และแห้งสนิท ล้างท้าความสะอาดพืน ที่จะเขียนด้วยดินสอพองเปียกน้าหมาดๆ โดยใช้มือถูวนไปให้ทั่วพื้นที่ จนกว่าดินสอพองจะหลุดติดมือออกมาจนหมด ไม่ควรปล่อยให้ดินสอพองแห้งติดพื้นสีจะทาให้พื้นด่าง แบบปรุ ที่เตรียมไว้จะต้องวางแผนการเขียนแยกส่วนของการเขียนออกได้อย่างชัดเจนว่าส่วน ใดที่จะต้องเขียนแบบลายรดน้า เพื่อจะโรยแบบส่วนที่ต้องการ


หน้า ๓๑

ใช้ลูกประคบดินสอพอง โรยแบบเฉพาะส่วนที่ต้องการในการเขียนลายรดน้า ไม่นิยมการร่าง แบบสดๆ ลงบนชิ้นงานเพราะจะทาให้มีการผิดพลาดและพื้นรองรับภาพมีรอยขีดข่วนได้ เขียนตัดเส้น ใส่รายละเอียดตัวภาพให้ชัดเจน สวยงาม พร้อมทั้งถมพื้นรอบๆ ส่วนที่จะเขียน ด้วยน้ายาหรดาลเพื่อไม่ให้ทองคาเปลวติด การเช็ดรัก หรือการลงรักปิดทอง จะต้องมีการเตรียมรักเช็ดไว้ให้พร้อม โดยใช้รักน้าเกลี้ยงตั้ง เคี่ยวไฟให้เดือด การเคี่ยวจะต้องสังเกตการณ์เดือดของยางรักว่ามี ส่วนผสมของน้าหลงเหลืออยู่อีกหรือไม่ ถ้าหากไม่แน่ใจควรตั้งให้รักเช็ดที่เคี่ยวนั้นคลายร้อนเสียก่อน แล้วจึงใช้ผ้าเช็ดรักแตะยางรักไปทดลองเช็ด บนหรดาลในส่วนที่เขียนไว้ในตาแหน่งที่ไม่สาคัญ หรือส่วนที่เตรียมไว้สาหรับการทดสอบรักเช็ด ถ้าหาก น้ายาหรดาลหลุดให้เคี่ยวต่ อไปจนกว่าจะทดสอบว่าใช้งานได้ หากน้ายาหรดาลไม่หลุดเป็นอันใช้งานได้ ใช้ผ้าเช็ดรักจับเป็นก้อนลูกประคบรักหมุนเป็นวงไปให้ทั่วพื้นที่ที่ต้องการจะปิดทองคาเปลว แล้วใช้ผ้า สะอาดอีกชิ้นหนึ่งถอนออกให้เหลือความเหนียวตามความต้องการโดยทดสอบความเหนียวที่เหลือบน ชิ้นงานว่ามากหรือน้อย โดยใช้หลังนิ้วหรือ แตะสัมผัส ตรวจความเหนียวให้สม่าเสมอ โดยอาศัยทักษะ ความชานาญของช่างตามประสบการณ์การทางานของแต่ละบุคคล การปิ ด ทองค้ า เปลว ในขณะที่ ปิ ด ทองค าเปลวนั้ น จะต้ อ งจั บ ทองค าเปลวให้ มี ป ริม าณมาก ทองคาเปลวขาดในขณะที่ ปูท องคาเปลวลงบนชิ้นงานได้คล่องตัว ไม่ควรจับทองคาเปลวปิดที่ละแผ่น เพราะจะทาให้ทองคาเปลวขาดในขณะที่ปูทองคาเปลวบนชิ้นงาน การจับทองคาเปลวเป็นปึกๆ ที่มีความ หนาแน่นจะทาให้การปูแผ่นทองคาเปลวที่มีความยืดหยุ่นได้ทาให้ทองคาเปลวไม่มีรอยฉีกขาด ทาให้ไม่ ต้องปิดทองซ่อมเนื้อทองคาเปลวให้สิ้นเปลืองไป เมื่อ ปูทองคาเปลวทั่วชิ้นงานแล้วใช้นิ้วหัวแม่มือแตะ เศษส่ ว นเกิ น ของทองค าเปลวอุ ด ร่ อ งรอยที่ ปู ท องค าเปลวไม่ ทั่ ว ถึ ง หรื อ ร่ อ งรอยฉี ก ขาด แล้ ว จึ ง กวดทองคาเปลวไปให้ทั่วชิ้นงานอีกครั้งหนึ่ง หลังจากนั้นใช้ลูกประคบสาลีกวดทองคาเปลวซ้าอีกครั้ง การรดน้า หรือการล้างเอาน้ายาหรดาลออก ใช้กระดาษหุ้มแผ่นทองคาเปลวจุ่มน้าแล้วนาไปปิด บนชิ้ น งานให้ ทั่ ว พรมน้ าให้ ชุ่ ม อี ก ครั้ ง ทิ้ ง ไว้ ใ ห้ น้ ายาหรดาลละลายตั ว ออก ๓ – ๕ นาที ค่ อ ยๆ ขยับกระดาษหุ้มทองคาเปลวไปให้ทั่วรวบกระดาษออกและล้างทาความสะอาดคราบน้ายาหรดาลออกให้ หมดถ้าหากพบว่ามีรอยชารุดปิดทองไม่สมบูร ณ์ควรทิ้งไว้ให้รักเช็ดแห้งสนิทก่อนจึงจะเขียนซ่อมส่วนที่ไม่ สมบูรณ์นั้นๆ โดยเริ่มขั้นตอนจากกระบวนการทางานตามลาดับก่อนหลังของวิธีลายรดน้า ดังกล่าวมา ข้ างต้ น อนึ่ งในการเขี ย นลายก ามะลอนั้ น ผู้ ป ฏิ บั ติ งานเขี ย นจะต้ อ งมี พื้ น ความรู้แ ละเข้ า ใจ มี ทั ก ษะ ประสบการณ์ ทางการเขียนภาพด้วยลายเทคนิคลายรดน้าได้เป็นอย่างดีเสียก่อน


หน้า ๓๒


หน้า ๓๓


หน้า ๓๔


หน้า ๓๕


หน้า ๓๖


หน้า ๓๗


หน้า ๓๘


หน้า ๓๙


หน้า ๔๐


หน้า ๔๑


หน้า ๔๒

การปฏิบัติงานเขียนภาพกามะลอ เฉพาะส่วนที่เป็นรักสี

งานเขียนสีกามะลอเฉพาะส่วนที่เป็นรักสีนั้นมีลักษณะคล้ายกับการเขียนภาพจิตรกรรมไทยแบบ ประเพณี ทั่ วๆ ไป แต่ใช้สีต่างๆ น้อยกว่า สีที่ระบายจะมีสีหมืนๆ มีความกลมกลืนกันทั้งภาพ ไม่นิยม ระบายสีให้ภาพมีแสงและเงา แต่เป็นเพียงการระบายสีแบบประสานสีกันเพียงไม่กี่สี ในการระบายสีภาพ กามะลอทาภายหลังการเขียนภาพในเทคนิคลายรดน้าเสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยตัวภาพจะเป็นสีทองอยู่ บนพื้นที่ หรือสีแดง ส่วนสีกามะลอจะเป็นส่วนเสริมบรรยากาศของภาพเด่นชัด สวยงาม และมีความ สมบูรณ์ในเนื้อหาของภาพ มีข้อควรปฏิบัติตามลาดับต่อไปนี้ ท้าความสะอาดพืน เช็ดเอาคราบน้ายาหรดาลที่ติดอยู่บนชิ้นงานออกให้หมด น้าแบบปรุที่เตรียมไว้โรยแบบ ในเฉพาะส่วนที่เป็นรักสีให้ทั่วทั้งภาพ ระบายสีต่างๆ ตามความต้องการโดยใช้ยางรักที่ทาการแยกชั้นรักที่เตรียมไว้ นามาผสมสีฝุ่นที่ ร่อนเอาเม็ดสีหยาบๆ ออก การระบายสีฝุ่นที่ผสมกับยางรักสีดาจะทาให้สีที่ปรากฏออกมาเป็นสีคล้าๆ หรือสีฝุ่นบางสีเมื่อผสมกับยางรักน้าเกลี้ยงที่ไม่ได้แยกชั้นรักออก จะทาให้สีเปลี่ยนไปเป็นไปเป็นอีกสีหนึ่ง แต่หากการผสมสีโดยใช้ยางรักที่แยกชั้นแล้วนั้นจะทาให้สีฝุ่นที่ผสมลงไปนั้นมีสีที่สดใสกว่ามาก


หน้า ๔๓


หน้า ๔๔

การเขียนเส้นตัดทอง

การเขียนลงเส้นทองเป็นรายละเอียดในรูปภาพ หรือลวดลายให้เป็นรูปลักษณ์ที่มีความชัดเจน และสวยงามมากขึ้น มีวิธีการเขียนได้ ๒ วิธี คือ ๑. การเขียนโรยเส้นฝุ่นทอง ๒. การเขียนลงเส้นปิดทองคาเปลว การเขี ย นโรยเส้ น ฝุ่ น ทอง ฝุ่ น ผงทองแต่ เ ดิ ม ในสมั ย โบราณเป็ น ฝุ่ น ผงทองค าเปลวแท้ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ที่มีความละเอียดบรรจุภาชนะจาหน่ายใช้เป็นวัสดุโรยบนเส้นที่เขียนด้วยยางรักใสที่ผ่าน กระบวนการแยกชั้นรักแล้ว จากหลักฐานที่ปรากฏตามผลงานลายกามะลอตั้งแต่สมัยอยุธยาเป็นต้นมา จะเห็นเส้นของทองคานี้มีร่องรอยของการเขียนสะบัดพู่กันอย่างพลิ้วไหว ฉับพลัน งดงาม แต่วัสดุดังกล่าว ในปัจจุบันไม่มีจาหน่ายหรือหากมีจะไม่เป็นที่รู้จักกันแพร่หลายมากนัก จึงใช้ผงฝุ่นทองที่ช่างจีนใช้เขียน ตัวหนังสือ คาอวยพร ที่เราพบเห็นแถวๆ ชุมชนชาวจีน หรือเยาวราช ในกรุงเทพมหานครแทนซึ่งจะมีสี ของฝุ่นผงทองนี้แตกต่างกัน เช่น สีทองดอกบวบจะมีสีทองออกไปทางสีเหลือง หรือสีทองแดง ที่มีสีทอง ออกไปทางสีแดง เห็นได้ชัดเจน เป็นต้น ส่วนวัสดุที่ใช้ผสมให้ฝุ่นผงทองมีความเหนียวเพื่อใช้เขียนแทนยาง รักใสในปัจจุบัน มักนิยมใช้น้ามันวานิชสาหรับทาเคลือบเฟอร์นิเจอร์ให้เงางามแทน แต่มีข้อเสียคือ มีความ แห้งเร็วมากเกินไป จนทางานได้ไม่คล่องตัวนัก และสีของทองที่ได้จะไม่สุกสดใสเหมือนใช้ผงทองคาเปลว


หน้า ๔๕

การเขียนลายเส้นปิดทองคาเปลว วิธีการเขียนทองคาเปลวนั้นจะทาได้ภายหลังที่การระบายสี ต่ า งๆ นั้ น แห้ ง สนิ ท จึ ง จะใช้ วิ ธี ก ารเขี ย นตั ด เส้ น ด้ ว ยวิ ธี ก ารลายรดน้ า โดยเริ่ ม ต้ น การท างานตาม กระบวนการลายรดน้า และจะต้องเขียนเส้น หรดาลเป็ นเส้นคู่แล้วถมน้ายาหรดาลรอบนอกในส่วนที่ ไม่ต้องการให้ทองคาเปลวติด จะเหลือเป็นช่องว่างของรอบนอกตัวสายหรือรายละเอียดต่างๆ เพื่อให้ ทองคาเปลวติดแล้วเช็ดรักปิดทองรดน้าตามกรรมวิธีของลายรดน้า จะได้เส้นรอบนอกของลวดลายเป็น เส้นสีทอง มีความเงางามเท่ากับตัวภาพดาเนินเรื่องที่เคยเขียนเอาไว้ก่อนหน้านี้แล้ว ข้อเสียของการใช้วิธีการนี้คือ จะสิ้นเปลืองทองคาเปลวเป็นจานวนมากเพราะจะต้องปิดทองเต็ม พื้นที่ที่ต้องการตัดเส้นรอบนอกสีทอง รวมไปถึงรายละเอียดปลีกย่อยด้วย เมื่อรดน้าเอาน้ายาหรดาลออก จะล้ างเนื้ อ ทองค าเปลวส่ วนใหญ่ อ อก คงเหลื อ แต่ ท องค าเปลวส่ ว นน้ อ ยที่ เป็ น เนื้ อ งาน เมื้ อ เสร็จ สิ้ น กระบวนการนี้แล้วจะได้ลายกามะลอที่เสร็จสมบูรณ์ พิจารณาความเรียบร้อยอีกครั้งเพื่อความงามของ ผลงาน หากมีส่วนใดส่วนหนึ่งชารุดไม่สวยงามตามความต้องการให้พิจารณาซ่อมแซมตามกรรมวิธี ของ แต่ละพื้นที่ ตามแต่เทคนิควิธีการเดิมที่ปฏิบัติไปแล้ว จะได้ผลงานที่มีความสมบูรณ์สวยงามมากยิ่งขึ้น


หน้า ๔๖


หน้า ๔๗


หน้า ๔๘


หน้า ๔๙

บันทึก ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................


หน้า ๕๐

....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................


หน้า ๕๑

....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.