สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑
สาร.. สถาบันอยุธยาศึกษา ปที่ ๔ ฉบับที่ ๒ มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๗ เจาของ สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๙๖ ถนนปรีดีพนมยงค อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ โทรศัพท / โทรสาร ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ เว็บไซต www.ayutthayastudies.aru.ac.th วัตถุประสงค การเผยแพร จํานวนที่พิมพ ที่ปรึกษา บรรณาธิการบริหาร ผูชวยบรรณาธิการบริหาร บรรณาธิการ ผูชวยบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ ศิลปกรรม พิมพที่ ภาพปก
๑. เพื่อเผยแพรความรูดานวัฒนธรรมอยุธยา ๒. เพื่อประชาสัมพันธกิจกรรมของสถาบันอยุธยาศึกษา ปละ ๔ ฉบับ (ราย ๓ เดือน) ๕๐๐ เลม จิรศักดิ์ ชุมวรานนท รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา จงกล เฮงสุวรรณ กันยารัตน คงพร อุมาภรณ กลาหาญ สุรินทร ศรีสังขงาม พัฑร แตงพันธ สาธิยา ลายพิกุน ปทพงษ ชื่นบุญ อายุวัฒน คาผล อรอุมา โพธิ์จิ๋ว ณัฐฐิญา แกวแหวน ประภาพร แตงพันธ สายรุง กล่ําเพชร ศรีสุวรรณ ชวยโสภา พัฑร แตงพันธ โรงพิมพเทียนวัฒนาพริ้นทติ้ง ๑๖/๗ ถ.เดชาวุธ ต.หอรัตนไชย อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ โทร. ๐๓๕-๒๔๑-๕๗๘, ๐๓๕-๒๔๓-๓๘๖ โทรสาร ๐๓๕-๓๒๓-๓๙๖ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เสด็จออกประทับ ณ รัตนสิงหาศน พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท พระราชวังกรุงศรีอยุธยา
๒ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา
บทบรรณาธิการ
ความโดดเด น ของ “พระนครศรี อ ยุธ ยา” ในฐานะ “กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา” อดีตราชธานีของสยามนั้น ไดกลายเปนโลกทัศนสําคัญ ที่มีตอมุมมองและการรับรู ของสาธารณชนโดยทั่ วไป จนอาจเปนเหตุให ง านวิ ชาการดา น “อยุ ธยาศึ กษา” ละเลยหรือมองขามระยะเวลาสําคัญในชวง “หลังกรุงศรีอยุธยา” ซึ่งอาจเปนเหตุให ความเขาใจในบทบาทของอดีตราชธานีแหงนี้ ยังมีมุมที่ยังไมรับการศึกษาอีกมาก โดยเฉพาะชวงสมัย “มณฑลกรุงเกา” ซึ่งเปนชวงรอยตอสําคัญ ของการ พั ฒ นาราชอาณาจั ก รสยามสู “รั ฐ เขตแดน” ที่ เ ป น รากฐานสู ก ารเป น “รั ฐ ประชาธิ ป ไตย” ในเวลาต อ มา ดั ง นั้ น ในมุ ม มองหนึ่ ง อยุ ธ ยาจึ ง เป น ดั ง “สัญลักษณ” ที่ชนชั้นนําหรือชนชั้นปกครองใชเปน “เครื่องมือ” เพื่อวัตถุประสงค และความคาดหวังตางๆ หรืออยางนอยที่สุดคือ การใชอยุธยาในฐานะสัญลักษณของ “ความยิ่งใหญ” เพื่อรองรับยุคสมัย “ปจจุบัน” นั้นเอง บทความ “บทบาทของกรุงศรีอยุธยาที่ถูกระลึกใชในสมัยมณฑลกรุงเกา” ไดแสดงใหเห็นถึงอยุธยาในฐานะ “สัญลักษณ” ที่สื่อถึง “อุดมการณ” ของชนชั้นนํา ในกระแสการเปลี่ยนแปลงของกรุงรัตนโกสิน ทร ดวยมุมมอง หรือการประเมินคา “กรุงศรีอยุธยา” ในชวงเวลาและบทบาทที่แตกตางกัน
สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓
บทความ “พระแสงราชศัสตรา : พระราชอาชญาเหนือแผนดินมณฑล กรุงเกา” ไดแสดงใหเห็นถึงบทบาทของพระแสงดาบฯในฐานะ “สัญลักษณ” ที่สื่อ ถึง “พระราชอํานาจ” รวมไปถึงลักษณะและการใชพระราชอํานาจ ในบริบทของ ราชอาณาจักรสยามที่มีการปฏิรูปใหมอยางมีนัยสําคัญ บทความ “สถานี รถไฟกรุงเกา : จากมณฑลสูราชอาณาจัก รสยาม” ได อ ธิ บายถึ ง การรถไฟระยะแรกในฐานะ “สั ญ ลัก ษณ ” ที่ เ ป น ภาพสะทอ นของ “นโยบาย” จากชนชั้ น นํ า ที่ พ ยายามผนวกความจํ า เป น ด า นการปกครอง ราชอาณาจักรในฐานะ “รัฐเขตแดน” เพื่อประโยชนในการพัฒนาประเทศ ภายใต ขอจํากัดที่มีอยูในชวงเวลานั้น ประวัติศาสตรสมัยหลังกรุงศรีอยุธยา โดยเฉพาะชวง “หลังกรุงศรีอยุธยา” ยังคงมีประเด็นที่นาสนใจรอการคนควาและวิจัย เพื่อการขยายขอบเขตทางวิชาการ ซึ่งเชื่อวาจะนําไปสูความเขาใจในความเปน “ไทย” ทั้งมุมมองทางประวัติศาสตรและ สมัยปจจุบัน รวมไปถึงการสรางความเขาใจในสิ่งที่เรากําลังประสบและเปนอยูไ ด อยางมีวิจารณญาณ สุรินทร ศรีสังขงาม
๔ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา
สารบัญ หนา บทบรรณาธิการ
๒
บทบาทของกรุงศรีอยุธยา ที่ถูกระลึกใชในสมัยมณฑลกรุงเกา
๕
พระแสงราชศัสตรา : พระราชอาชญาเหนือแผนดินมณฑลกรุงเกา
๑๔
สถานีรถไฟกรุงเกา : จากมณฑลสูราชอาณาจักรสยาม
๒๔
ภาพเกาเลาอดีต
๓๒
จดหมายเหตุอยุธยาศึกษา
๓๓
อยุธยาศึกษาปริทัศน
๓๕
รอบรั้วเรือนไทย
๓๗
กิจกรรมของสถาบันอยุธยาศึกษา เมษายน – มิถุนายน ๒๕๕๗
๔๐
สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๕
บทบาทของกรุงศรีอยุธยา ที่ถูกระลึกใช ในสมัยมณฑลกรุงเก า พัฑร แตงพันธ * 0
นับเปนเรื่องปกติของสังคมแตละยุคสมัยที่จะมีการนําประวัติศาสตรกลับมา รับใชสังคมในปจจุบัน ดังตัวอยางที่เห็นไดชัดเจนคือ โครงการอนุรักษและพัฒนานคร ประวัติศาสตรเพื่อวัตถุประสงคหนึ่ง ในการประชาสัมพันธความรุงเรืองในอดีตของ ชาติ หรื อ อี ก ทางหนึ่ ง เพื่ อ สร า งรายได จ ากอุ ต สาหกรรมการท อ งเที่ ย ว เป น ต น เชนเดียวกันนี้ “อยุธยา” ก็มักถูกหยิบยกขึ้นมารับใชสังคมในสมัยมณฑลกรุงเกาอยู หลายประการ การที่ ร าชสํ า นั ก แห ง ต น กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร ขนานนามอดี ต ราชธานี กรุงศรีอยุธยาวา “กรุงเกา” นั้นนับเปนตัวอยางที่สะทอนใหเห็นถึง การจํากัดฐานะ พิเศษของอยุธยา ที่เรียกขานวา “กรุง ” อันหมายถึง ราชธานี แทนคําวา “เมือง” สะทอนถึงบทบาทของอยุธยาที่ราชสํานักกรุงรัตนโกสินทรยังระลึกถึงในฐานะเมือง หลวงเกาของคนไทยอยูเสมอนั่นเอง กอปรกับสายสัมพันธทางวัฒนธรรมระหวางกรุง ศรีอยุธยากับกรุงรัตนโกสินทรที่ไมเคยขาดจากกัน หากแตยังเปนสายใยวัฒนธรรมที่ สง ตอจารีตประเพณี ขนบธรรมเนีย ม ศิลปกรรม สถาปต ยกรรม ตลอดจนตัวบท กฎหมายต า ง ๆ ที่ ร าชสํ า นั ก กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร นํ า มาประยุ ก ต ใ ช อ ยู ต ลอดเวลา ประหนึ่งวาสองราชธานีนี้มีลมหายใจที่ตอเนื่องกัน * นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
๖ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา
สายสัมพันธทางวัฒนธรรมระหวางกรุงศรีอยุธยากับกรุงรัตนโกสินทรเปน สิ่งจําเปนชนิดที่มิอาจแยกออกจากกันได เพราะยิ่งเขาสู “ยุคลาอาณานิคม” ที่ชาติ มหาอํ า นาจตะวั น ตกเข า มารุ ก รานบรรดารั ฐ ต า ง ๆ ในอุ ษ าคเนย ด ว ยเหตุ ผ ล นานาประการ อาทิ ขอกลาวหาที่วาดวยเรื่องความลาหลัง ความไมมีอารยธรรมที่ สามารถยื น ยั น ความเจริ ญ ในอดี ต ของชาติ ด ว ยเหตุ นี้ ทํ า ให ร าชสํ า นั ก แห ง กรุงรัตนโกสินทรยิ่งกระตือรือรนที่จะผูกพันตนเองเขากับอยุธยา เพราะสายสัมพันธที่ ต อ เนื่ อ งจากกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยามาสู ก รุ ง รั ต นโกสิ น ทร นั้ น ช ว ยสร า งความชอบธรรม ในการดํารงอยูของราชธานีที่มีอายุราว ๑๐๐ ปเศษของกรุงรัตนโกสินทร ใหสืบเนื่อง เปน ชนชาติ เดีย วกั น ดั ง เห็ นไดจากการเปลี่ย นแปลงวิเ ทโศบายตา ง ๆ ในรัช สมั ย พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๔ ) อันเปนแบบอยางในการนําเอาความหลังของราชธานีกรุงศรีอยุธยามาระลึก ใชเพื่อการธํารงอยูของชาติ เพราะเมื่อยางสูสมัยมณฑลกรุงเกา รัฐบาลแหงราชสํานัก กรุงรัตนโกสินทร ยังคงนําประวัติศาสตรอยุธยามาระลึกใชอยางตอเนื่อง ในโอกาส และสถานการณ ต า ง ๆ เช น การระลึ ก ถึ ง อยุ ธ ยาในฐานะที่ เ ป น ที่ ส ถิ ต แห ง ดวง พระวิ ญ ญาณบรรพกษั ต ริ ย ไ ทยบ า ง ในฐานะประวั ติ ศ าสตร แ ละโบราณคดี แหงชาติบาง และในฐานะรอยเทาทางประวัติศาสตรบาง ดังที่จะกลาวถึงตอไปนี้
อยุธยา ในฐานะที่สถิตแห งดวงพระวิญญาณบรรพกษัตริย ไทย สั ญ ญ าณที่ ส ะ ท อ น ถึ ง สายสั ม พั น ธ ที่ ท อ ดร ะ หว า ง ก รุ ง ศรี อยุ ธ ย า กับกรุง รัต นโกสิน ทร คื อการที่ พระมหากษัต ริย แห ง กรุง รั ตนโกสิน ทรท รงมีค วาม เคารพตอบรรพกษัตริยอยุธยาเสมือนประหนึ่ง เครือญาติ ดัง ธรรมเนียมที่พระเจา แผนดินแหงกรุงรัตนโกสินทรจะตองเสด็จมาบําเพ็ญพระราชกุศลที่กรุงเกาอยูทุก ๆ รัชกาล ๑ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๕) ทรงเสด็จประพาส กรุงเกาอยูตลอดรัชสมัย ซึ่งนอกเหนือจากการเสด็จทอดพระเนตรสถานที่สําคัญทาง 1
๑
กองจดหมายเหตุแหงชาติ. (๒๕๒๗). จดหมายเหตุพระราชพิธีรัชมัลคลาภิเษก ร.ศ.๑๒๖,๑๒๗. หนา ๗.
สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๗
ประวั ติ ศาสตร ตา ง ๆ แล ว บอ ยครั้ ง ที่ท รงทํ าพิ ธี สัง เวยอดี ตบรรพกษัต ริย อ ยุธ ยา ทั้ง ๓๓ พระองค โดยทรงจุดเทียนสักการะพรอมดวยเครื่องอุทิศถวาย บางคราว มีการจําแนกฐานะของเทียนตามพระเกียรติยศของกษัตริยอยุธยาแตละพระองค ประกอบดวย เทียนเล็ก เทียนใหญ เทียนเงิน เทียนทอง ตามลําดับฐานะ ๑ แสดงถึง กตเวทีจิตที่ทรงมีตอพระเจาแผนดินอยุธยาเสมอมา แมแตในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงครองราช สมบัติเปนเวลา ๔๐ ป เทากับสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ แหงกรุงศรีอยุธยาที่ขณะนั้น ถือวาเปนพระเจาแผนดินที่ครองราชยยืนยาวที่สุดในประวัติศาสตรของชาติ พระองค ก็ทรงมีความปติและ “เต็มพระราชหฤทัยจะใครทรงบําเพ็ญ พระราชกุศล” ๒ อุทิศ ถวายสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ และพระเจาแผนดินกรุงศรีอยุธยาทุกพระองค รวมถึง พระเจ า กรุ ง ธนบุ รี จึ ง ทรงมี พ ระบรมราชโองการให พ ระเจ า น อ งยาเธอ กรมหลวงดํ า รงราชานุ ภ าพ เสนาบดี ก ระทรวงมหาดไทย เป น แม ง านจั ด เตรี ย ม งานและสถานที่ไวอยางยิ่งใหญ โดยทรงเสด็จพระราชดําเนินมาบําเพ็ญพระราชกุศล รัชมงคลที่กรุงเกา ระหวางวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน – ๓ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๕๐ การบํ า เพ็ ญ พระราชกุ ศ ลสั ง เวยอดี ต มหาราชที่ พ ระราชวั ง ในกรุ ง เก า ไดปรากฏเปน ราชประเพณีของพระมหากษัตริยกรุง รัตนโกสินทรที่ ยึดถือสืบตอมา ดั ง ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจ า อยู หั ว (รั ช กาลที่ ๖) พระบาทสมเด็ จ พระปกเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๗ ) และในรัชกาลตอ ๆ มาทุกพระองค ไดเสด็จมา บํ า เพ็ ญ พระราชกุ ศ ลสั ง เวยอดี ต มหาราชที่ ก รุ ง เก า ภายหลั ง จากพระราชพิ ธี บรมราชาภิเษกอันเปนพระราชพิธีสําคัญในการสถาปนาขึ้นเปนพระมหากษัตริย ๓ 2
3
4
๑
ขาวเสดจประภาศกรุงเกาแลเสดจกลับจากบางปอิน. (๒๔๓๑, ๒ สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๕ ตอนที่ ๑๓. หนา ๑๐๓-๑๐๔. ๒ ขาวเสด็จพระราชดําเนิรไปทรงบําเพ็ญพระราชกุศลรัชมงคลที่กรุงเกา. (๒๔๕๐, ๘ ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๔ ตอนที่ ๓๖. หนา ๙๒๑-๙๒๗. ๓ การเฉลิมพระราชมณเฑียรพระราชวังบางปอิน แลการสังเวยอดีตะมหาราชาธิราช. (๒๔๕๓, ๑๑ ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๗ หนา ๒๐๘๐-๒๐๘๙.
๘ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา
แสดงใหเห็น วากรุงศรีอยุธยาที่แมจะลมสลายและมีสภาพยอยยับอยางไร อยุธยาก็ยังเปนสัญลักษณของที่สถิตแหง ดวงวิญ ญาณบรรพบุรุษของคนไทยที่ยัง มี ความเกี่ ย วเนื่ อ งผู ก พั น โดยความรู สึ ก ทางจิ ต ใจกั บ พระมหากษั ต ริ ย แ ละผู ค นใน สมัยรัตนโกสินทรอยูเสมอมา
อยุธยา ในฐานะประวัติศาสตร และโบราณคดีแห งชาติ การศึก ษาประวั ติศ าสตร และโบราณคดี นับ เป น หนทางหนึ่ ง ที่ ราชสํ านั ก กรุงรัตนโกสินทรนํามาใชเปนเครื่องยืนยันความ “ศิวิไลซ” หรือความรุงเรืองชานาน ของชาติ ในยุคที่ชาติมหาอํานาจตะวันตกกําลัง เขามารุกรานเอกราชของรัฐตาง ๆ ในอุษาคเนย โดยใชเหตุดานความปาเถื่อน ลาหลัง รวมถึงการไมมีประวัติศาสตรและ วัฒ นธรรม มาเป น ขอ อางในการเขายึ ดครอง นํามาซึ่ง ความกระตือ รือร น สื บค น ประวัติศาสตรและรองรอยทางโบราณคดีของบรรดาชนชั้นนําอยางมาก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอย ูหัว ทรงมีความสนพระทัยในดาน ประวัติศาสตรและโบราณคดี ดังที่ทรงเสด็จประพาสโบราณสถานในเมืองกรุงเกาอยู หลายครั้ ง * โดยเฉพาะทรงโปรดที่ จ ะเสด็ จ ประพาสพระราชวั ง กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ทอดพระเนตรพระที่นั่งตาง ๆ รวมไปถึงการเสด็จทอดพระเนตรสถานที่สําคัญอื่น ๆ ทั้งในและนอกกรุง* * อาทิ วิหารพระมงคลบพิตร หอกลอง ศาลพระกาฬ วัดกุฎีดาว วัดอโยธยา วัดใหญ วัดหันตรา วัดภูเขาทอง เปนตน ๑ ทําใหชวงเวลานี้ ปรากฏงาน ศึกษาดานประวัติศาสตรและวัฒนธรรมเปนจํานวนมาก 5
6
7
* พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงเสด็จทอดพระเนตรโบราณสถานในกรุงเกา หลายครั้ ง ทั้ ง ที่ เ สด็ จ ทอดพระเนตรโบราณสถานโดยเฉพาะ และเสด็ จ ทอดพระเนตร โบราณสถานระหวางการเสด็จทอดผาพระกฐิน หรือบําเพ็ญพระราชกุศล อาทิ ในพุทธศักราช ๒๔๓๑, ๒๔๔๒, ๒๔๔๕, ๒๔๔๗, ๒๔๔๘, ๒๔๕๐, เปนตน ** ในสมัยนั้นสังคมยังคงระลึกถึงอยุธยาในสถานะที่เปน “กรุงเกา” ๑ ขาวเสดจประภาศกรุงเกาแลเสดจกลับจากบางปอิน. (๒๔๓๑, ๒ สิงหาคม). ราชกิจจา นุเบกษา. เลม ๕ ตอนที่ ๑๓. หนา ๑๐๓-๑๐๔. และ ขาวเสด็จประพาศพระอารามตาง ๆ ใน กรุงเกา. (๒๔๔๗, ๑๘ ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๐ ตอนที่ ๓๘. หนา ๖๘๓.
สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๙
นอกจากนี้ในรัชกาลของพระองคยังมีการริเริ่มการขุดคนทางโบราณคดีตาม วิทยาการตะวันตก ดังที่ทรงมีรับสั่งใหมีการขุดแตงสํารวจพระราชวังกรุง ศรีอยุธยา เพื่อเปนขอมูลหลักฐานทางโบราณคดีประกอบการศึกษาทางประวัติศาสตร เพื่อเปน เครื่องยืนยันความเปนปกแผนมั่นคง และเจริญรุงเรืองชานานของชาวสยาม ๑ รวมถึง การจั ด ตั้ ง โบราณคดี ส โมสร เพื่ อ เป น สถาบั น การศึ ก ษาทางประวั ติ ศ าสตร และโบราณคดีในชวงพระราชพิธีรัชมงคลที่กรุง เกา รวมถึง การประกาศสงวนที่ดิน ภายในเกาะเมืองกรุง เกาเพื่อสงวนรักษาโบราณสถาน โดยทรงมีพระราชดําริที่จะ ทําใหกรุงเกา เปนเมืองประวัติศาสตรของชาติ สําหรับตอนรับพระราชอาคันตุกะ ๒ ซึ่งในรัชกาลของพระองคไดทรงจัดการตอนรับแกรนด ดยุก บอริส วลาดิมิโรวิตซแหง รั ส เซี ย ใน พ.ศ. ๒๔๔๕ ๓ และจั ด การรั บ รอง ดุ ก โยฮั น อั ล เบรกต ผู ป กครอง รัฐบรันสวิก ของเยอรมนี และดัชเชสอิลิชาเบต พระชายา ณ โบราณสถานตาง ๆ ในกรุงเกา เมื่อ พ.ศ.๒๔๕๒ ๔ สมดังพระราชปณิธานของพระองค อันเปนสวนหนึ่งของการแสดงออกใหนานาชาติเห็นซึ่งความศิวิไลซในแบบ ฉบับของชนชาติไทย ซึ่งเปนชาติที่มีประวัติศาสตรและวัฒ นธรรมยาวนานตอเนื่อง จึงเปนสิ่งที่สะทอนใหเห็นวาอดีตของอยุธยาดํารงความเปนรากเหงาที่มิอาจตัดใหขาด จากกรุงรัตนโกสินทรไดเลย 8
9
1
0
11
อยุธยา ในฐานะรอยเท าทางประวัติศาสตร ราชสํ า นั กกรุ ง รั ต นโกสิ น ทร ได ใ ห การยอมรับ และยกย อ งกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ในฐานะอดี ต ราชธานี อั น รุ ง เรื อ งมาช า นาน ที่ มี ม หาราชและวี ร กษั ต รี ที่ ทรงพระปรี ช าสามารถ ปกป อ งและปกครองแผ น ดิ น ยาวนานถึ ง ๔๑๗ ป ๑
ประชุมพงศาวดารภาคที่ ๖๓. (๒๔๗๙). หนา ๑๔๙. เรื่องเดียวกัน. หนา ๑๕๓. ๓ การรับ อิส อิม บีเรียล ไฮเนส แกรนด ดยุก บอริส วลาดิมิโรวิตซ กรุงรัสเซีย. (๒๔๔๕, ๑ มิถุนายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๑๙. หนา ๑๔๓-๑๔๖. ๔ การรับดุกโยฮันอัลเบรกต ผูสําเร็จราชการเมืองบรันซวิก. (๒๔๕๒, ๖ มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๖. หนา ๒๕๘๖-๒๖๐๓. ๒
๑๐ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา
ดวยเกียรติยศทั้งหลายที่บรรพกษัตริยแหงของกรุงศรีอยุธยาไดกระทําไวในกาลกอน ได ถู ก นํ า มาระลึ ก ใช เ สมื อ นเป น รอยเท าในอดี ต ที่ เ คยก า วไกล เป น หมุ ด หมายใน การปกครองแผน ดิน ของพระมหากษัตริยแหง กรุง รัตนโกสินทรใหกาวล้ํานําหนาสู ความสถาพรของบานเมืองสืบไป ดั ง ที่ บ รรดาข า หลวงเทศาภิ บ าลมณฑลกรุ ง เก า มั ก ใช เ กี ย รติ ย ศทาง ประวัติศาสตรทั้งหลาย เปนเครื่องยกยองและเชิดชูพระเกียรติ แกพระมหากษัตริย รั ช กาลต า ง ๆ เช น ในคราวที่ ก รมหมื่ น มรุ พ งษ ศิ ริ พั ฒ น ข า หลวงเทศาภิ บ าล สําเร็จราชการมณฑลกรุงเกา ไดทรงถวายไชยมงคลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจ า อยู หั ว ภายหลั ง จากที่ ท รงเสด็จ กลั บ จากการประพาสยุ โ รป ใน พ.ศ. ๒๔๔๐ โดยไดทรงยกยองที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเสด็จเยือนตางประเทศ เพื่อแสวงประโยชนแกราชการบานเมือง เปรียบดัง พระมหากษัตริยกรุง ศรีอยุธยา ๖ พระองค * ที่เคยเสด็จออกนอกพระราชอาณาเขตเพื่อประโยชนแหงราชอาณาจักร 12
๑
13
พร อ มทั้ ง ยั ง ทรงกลา วเปรี ย บพระปรีช าสามารถของสมเด็ จ พระนางเจ า เสาวภาผองศรี พระบรมราชินีนาถ* * ที่ทรงปฏิบัติหนาที่เปนผูสําเร็จราชการแทน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ดังสมเด็จพระสุริโยทัยที่รวมกระทําศึก ชวยพระสวามีจนสิ้นพระชนมชีพ เปนตัวอยางที่สะทอนวา อยุธยา เปน ดังรอยเทา ทางประวัติศาสตร ดังที่ กรมหมื่นมรุพงษศิริพัฒน ทรงกลาววา 1 4
แมพระราชกฤษฎาภินิหารแหงโบราณมหากษัตริย ซึ่งไดทรงสามารถ ในการที่จะปองกันอิศรภาพ แลทํานุบํารุงสยามประเทศนี้ ไดมีมาแตปางกอน วิเศษเพียงใด พระราชกฤษฎาภินิหารอันวิเศษเชนนั้น หรือยิ่งกวานั้น ยอมพึง * ประกอบดวย สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑ สมเด็จพระราเมศวร สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ สมเด็จพระไชยราชาธิราช สมเด็จพระนเรศวร และสมเด็จพระนารายณ ๑ คําถวายไชยมงคลของขาหลวงเทศาภิบาลมณฑลกรุงเกา. (๒๔๔๐, ๒๐ กุมภาพันธ). ราช กิจจานุเบกษา. เลม ๑๔ ตอนที่ ๔๗ หนา ๗๙๐ – ๗๙๔ ** สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง
สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑๑ มีพึงเปนเห็นไดในยุกคภายหลัง ดังครั้งนี้ ความเจริญของกรุง สยามจึง ยังไม ๑ เสื่อมทราม 15
นอกจากนี้ยัง มีกรณี ของพระยาโบราณราชธานินทร ข าหลวงเทศาภิบาล มณฑลกรุงเกาคนที่ ๒ ไดกลาวถวายไชยมงคลเนื่องในพระราชพิธีรัชมงคลที่กรุงเกา โดยเปรียบเทียบพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว กับบรรพมหากษัตริย กรุงศรีอยุธยาหลายพระองค ที่นอกจากจะเปรียบการครองราชยสมบัติอันเปนเวลา เทากับสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ แลว ยังเปรียบการปกปองอิศรภาพของประเทศให พนภัยสงครามลาอาณานิคมกับการปองกันราชอาณาจักรของวีรกษัตริยอยุธยาหลาย พระองค อาทิ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตลอดจนเปรียบการปฏิรูปการปกครอง แ ล ะ ร ะ บ บ ศ า ล ยุ ติ ธ ร ร ม ใ น รั ช ส มั ย กั บ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ บ ร ม ไ ต ร โ ล ก น า ถ และกษัตริยอยุธยาพระองคอื่น ๆ โดยใชสํานวนโวหารที่แสดงถึง เหตุ และผลทาง ประวัติศาสตรอันหนักแนนนานาประการ ๒ รวมถึ ง ในรั ช กาลต อ มาที่ พ ระยาโบราณราชธานิ น ทร ได ถ วายพระพร ไชยมงคลยกย องพระบาทสมเด็ จพระมงกุ ฎเกล าเจา อยู หัว โดยมีก ารเที ยบเคี ย ง การสืบพระบรมราชสันตติวงศโดยสวัสดิภาพ กับการขึ้นครองราชสมบัติของสมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถ และสมเด็ จ พระนเรศวร โดยยกย อ งเป น กฤษฎาภิ นิ ห าร และเทิ ด ทู ล พระปรี ช าสามารถของพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู หั ว พระชนกนาถ ที่ท รงมองการไกลในการสถาปนาพระบาทสมเด็ จพระมงกุฎเกล า เจาอยูหัวเปนองครัชทายาท ๓ 16
17
๑
คําถวายไชยมงคลของขาหลวงเทศาภิบาลมณฑลกรุงเกา. (๒๔๔๐, ๒๐ กุมภาพันธ). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๑๔ ตอนที่ ๔๗ หนา ๗๙๐ – ๗๙๔ ๒ คําถวายไชยมงคลของขาราชการและราษฎรมณฑลกรุงเกา. (๒๔๕๐, ๘ ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๔ ตอนที่ ๓๖. หนา ๙๒๘ - ๙๓๐ ๓ คําถวายไชยมงคลที่กรุงเกา วันที่ ๑ ธันวาคม ร.ศ.๑๒๙. (๒๔๕๓, ๑๑ ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๗. หนา ๒๐๙๓ – ๒๐๙๖.
๑๒ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา
ประเด็นนี้เหลานี้สะทอนวาอดีตของกรุงศรีอยุธยาอันมีอายุ ๔๑๗ ป ไดถูก นํ า มาระลึ ก ใช เ สมื อ นดั ง “รอยเท า ทางประวั ติ ศ าสตร ” ให สั ง คมไทยรุ น กรุ ง รัตนโกสินทรไดใชเปนหลักพรมแดนแหงความเจริญกาวหนาในอดีต ใหสังคมไทยยุค ที่สรางพระนครขึ้นใหมไ ดพัฒ นาบานเมืองขึ้นมาทัดเทียม และกาวล้ํารอยเทาของ กรุงศรีอยุธยาออกไป เพื่อความกาวหนาสถาพรของอาณาจักรสยาม และอีกประการ หนึ่ ง เพื่ อ ยกย อ งเชิ ด ชู พ ระบารมี และพระเกี ย รติ คุ ณ ของพระมหากษั ต ริ ย กรุงรัตนโกสินทร อันเปนวิธีการแสดงออกอยางหนึ่ง ถึงความจงรักภักดีของปวงชน ที่มีตอองคพระมหากษัตริยของสังคมในชวงเวลานั้น
ส งท าย บทบาทของอดีตแหงกรุงศรีอยุธยา ที่สังคมในสมัยรัตนโกสินทรระดับตาง ๆ ไดหยิบยกขึ้นมาใชเหลานี้ ทําใหราชสํานักมีความระลึกผูกพัน และเชิดชูสถานะของ กรุง เกาอยูตลอดเวลา ซึ่ง อาจสะทอนไดจากการที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัวทรงพระราชทานนามใหมของกรุงเกาวา จังหวัด “พระนครศรีอยุธยา” ซึ่ง ในการณอันนี้สมเด็จพระเจานองยาเธอ เจาฟากรมหลวงพิษณุโลกประชานารถ ทรง กลาวถึงสถานะที่แฝงอยูในนามจังหวัดวา ขาพเจามีความยินดีอีกขอหนึ่ง ที่นามจังหวัดนี้ไดเปลี่ยนชื่อเปนจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ๆ นี้เปนนามอันศิริมงคล แลเปนนามที่ ๒ รองกรุงเทพ พระมหานคร จึงทําใหขาพเจารูสึกยินดีมาก แลเชื่อวาขาราชการแลราษฎร ๑ ในจังหวัดนี้ก็คงยินดีเชนกัน 18
นามของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จึงอาจเปนสัญลักษณที่ถือกําเนิดจาก บทบาทและสถานะพิเศษของจังหวัด ที่รัฐบาลแหงราชสํานักกรุงรัตนโกสินทรได ระลึกถือและตราฐานะไว เปนมิ่งมงคลอนุสรณปรากฏอยูทุกวันนี้ ๑
สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ. เอกสารกระทรวงศึกษาธิการ. ศธ.๕๐.๑/๓๕. เรื่องรายงาน การเปดโรงเรียนจอมสุรางคอุปถัมภ จ.อยุธยา. (๓ กรกฎาคม – ๒๙ สิงหาคม ๒๔๖๒).
สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑๓
บรรณานุกรม การรับดุกโยฮันอัลเบรกต ผูสําเร็จราชการเมืองบรันซวิก. (๒๔๕๒, ๖ มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๖. หนา ๒๕๘๖-๒๖๐๓. การรับ อิส อิม บีเรียล ไฮเนส แกรนด ดยุก บอริส วลาดิมิโรวิตซ กรุงรัสเซีย. (๒๔๔๕, ๑ มิถุนายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๑๙. หนา ๑๔๓-๑๔๖. การเฉลิมพระราชมณเฑียรพระราชวังบางปอิน แลการสังเวยอดีตะมหาราชาธิราช. (๒๔๕๓, ๑๑ ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๗ หนาที่ ๒๐๘๐-๒๐๘๙. กองจดหมายเหตุแหงชาติ. (๒๕๒๗). จดหมายเหตุพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ร.ศ.๑๒๖,๑๒๗. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. ขาวเสด็จประพาศพระอารามตาง ๆ ในกรุงเกา. (๒๔๔๗, ๑๘ ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๐ ตอนที่ ๓๘. หนา ๖๘๓. ขาวเสดจประภาศกรุงเกาแลเสดจกลับจากบางปอิน. (๒๔๓๑, ๒ สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๕ ตอนที่ ๑๓. หนา ๑๐๓-๑๐๔. ขาวเสด็จพระราชดําเนิรไปทรงบําเพ็ญพระราชกุศลรัชมงคลที่กรุงเกา. (๒๔๕๐, ๘ ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๔ ตอนที่ ๓๖. หนา ๙๒๑-๙๒๗. คําถวายไชยมงคลของขาราชการและราษฎรมณฑลกรุงเกา. (๒๔๕๐, ๘ ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๔ ตอนที่ ๓๖. หนา ๙๒๘ – ๙๓๐. คําถวายไชยมงคลของขาหลวงเทศาภิบาลมณฑลกรุงเกา. (๒๔๔๐, ๒๐ กุมภาพันธ). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๑๔ ตอนที่ ๔๗ หนา ๗๙๐ – ๗๙๔. คําถวายไชยมงคลที่กรุงเกา วันที่ ๑ ธันวาคม ร.ศ.๑๒๙. (๒๔๕๓, ๑๑ ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม ๒๗. หนา ๒๐๙๓ – ๒๐๙๖. ประชุมพงศาวดารภาคที่ ๖๓. (๒๔๗๙). กรุงเทพฯ: โสภณพิพรรฒธนากร. สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ. เอกสารกระทรวงศึกษาธิการ. ศธ.๕๐.๑/๓๕. เรื่องรายงานการเปดโรงเรียนจอมสุรางคอุปถัมภ จ.อยุธยา. (๓ กรกฎาคม - ๒๙ สิงหาคม ๒๔๖๒).
๑๔ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา
พระแสงราชศัสตรา : พระราชอาชญาเหนือแผ นดินมณฑลกรุงเก า ปทพงษ ชื่นบุญ * 19
พระแสงราชศัสตราประจํามณฑลกรุงเกา ปจจุบันเก็บรักษาไว ณ คลังจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
พระแสงราชศัสตรา เปนเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศที่สําคัญอยางหนึ่ง ที่ใชแสดงถึงพระราชอํานาจ และอาญาสิทธิ์สูงสุดในการปกครองแผนดิน รวมทั้งเปน เครื่องประกอบอยางหนึ่ง ในชุดเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ และใชในการประกอบ พระราชพิ ธี ที่ สํ า คั ญ อาทิ พระราชพิ ธี ถื อ น้ํ า พระพิ พั ฒ น สั ต ยา พระราชพิ ธี บ รม ราชาภิเษก คําวา “แสง” นอกจากจะมีความหมายถึงความสวางแลว ยังมีความหมาย รวมไปถึง อาวุธ ศัสตรา เครื่องมีคม ราชาศัพทใชวา “พระแสง” เชน พระแสงดาบ * นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑๕
พระแสงปน เปนตน ๑ สําหรับพระแสงราชศัสตราซึ่ง ถือวามีความสําคัญมากกวา พระแสงทั้งปวงคือ พระแสงขรรคชัยศรี ซึ่งมีหลักฐานปรากฏมาตั้งแตครั้งสมัยสุโขทัย 20
๒
21
ยังมีพระแสงราชศัสตราอีกประเภทหนึ่งคือ “พระแสงดาบ” สันนิษฐานวา ธรรมเนียมที่พระมหากษัตริยทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ สถาปนาพระแสงดาบสําคัญ ประจํารัชกาลนั้น นาจะมีปรากฏมาแลวตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา ดังปรากฏหลักฐาน จากพระราชพงศาวดาร กรณี ที่ พ ระมหากษั ต ริ ย ท รงพระราชทานพระแสงดาบ อาญาสิ ท ธิ์ ให แ ก ผู ดํ า รงตํ า แหน ง แม ทั พ ในฐานะตั ว แทนผู ถื อ อํ า นาจแห ง พระมหากษั ตริ ย เป นการมอบหมายให ไ ปปฏิ บัติ ราชการแทนในการศึก สงคราม และสรางศักยภาพในการควบคุมกองทัพ แตประเด็นที่นาสนใจคือ แมทัพผูไ ดรับ พระราชทาน สามารถออกคํ าสั่ ง และมี อํา นาจสิ ทธิ์ข าดในการตั ดสิน ลงโทษไดถึ ง ขั้ น สู ง สุ ด คื อ การประหารชี วิ ต โดยไม ต อ งกราบบั ง คมทู ล ให ท ราบความก อ น แตภายหลังจากเสร็จสิ้นภารกิจแลวจะตองถวายคืนพระแสงราชศัสตราทันที ๓ ตอ มาในสมั ย รั ต นโกสิ น ทร ตั้ ง แต รั ชกาลที่ ๑ - ๓ ไดป รากฏธรรมเนี ย ม เพิ่มเติมคือ หากพระมหากษัตริยทรงโปรดแมทัพผูทําความดีความชอบคนใดเปน พิเศษ จะทรงพระราชทานพระแสงราชศัสตรานั้นใหเปนสิทธิ์ขาด แตตองถือวาเปน การพระราชทานเพื่ อ เป น บํ า เหน็ จ มิ ไ ด มี อ าญาสิ ท ธิ์ ห รื อ อํ า นาจในงานราชการ บ า นเมื อ งแต อ ย า งใด ๔ จนกระทั่ ง ในรั ช สมั ย ของพระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล า เจาอยูหัว ทรงใหยกเลิกธรรมเนียมการพระราชทานเครื่องยศที่เปนเครื่องหมายแสดง เกียรติยศและบําเหน็จความชอบทั้งหมด พระแสงราชศัสตราที่ขาราชการผูมีความดี 22
2 3
๑
ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๕๖). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔. หนา ๑๒๗๐. ๒ กรมศิลปากร. (๒๕๒๖). จารึกสมัยสุโขทัย. หนา ๖๓-๖๔. ๓ กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร (๒๕๓๙). พระแสงราชศัสตราประจําเมือง. หนา ๖. ๔ เรื่องเดียวกัน. หนา ๕๒.
๑๖ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา
ความชอบ เคยไดรับพระราชทานมาแตรัชกาลกอน ๆ จึงถูกลดบทบาทกลายเปนดาบ ประจําตระกูล ไมสามารถนํามาประกอบพิธีถือน้ําพระพิพัฒนสัตยาไดอีกตอไป
มณฑลกรุงเก า : มณฑลต นแบบ ครั้นถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เกิดการปฏิรูปการ ปกครองครั้งใหญจาก “ระบบกินเมือง” ใหเปนการปกครองใน “ระบบเทศาภิบาล” ๑ โดยเปน การรวมอํานาจการบังคับบัญ ชาจากหัวเมืองทั้งปวง จัดตั้งใหเปน “มณฑล เทศาภิบาล” ขึ้น ตรงตอกระทรวงมหาดไทยแตเพียงกระทรวงเดียว เพราะระบบ กินเมืองแตเดิมนั้นเปนระบบที่ไมรัดกุม ยากตอการดูแลจากสวนกลาง บุคคลที่ไดรับ การแตง ตั้งใหเปนเจาเมือง หรือกรมการเมืองนั้นคุมอํานาจผลและประโยชนตาง ๆ ไวแตเพียงผูเดียว และมักจะประพฤติตนไปในทางทุจริตเสียเองเชน เปนหัวหนาซอง โจร สร า งความเดื อ ดร อ นให กั บ ประชาชนในท อ งถิ่ น จนมี คํ า เปรี ย บเปรยว า “เลี้ยงขโมยไวจับขโมย” ๒ กรุงเกาหรืออยุธยานั้น ก็ประสบปญหาดังกลาวเชนเดียวกัน ดังนั้นภายหลัง จากทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล า ฯ ให มี ก ารจั ด ตั้ ง ระบบเทศาภิ บ าล ๓ มณฑลแรก คือ มณฑลพิษณุโลก มณฑลปราจีน บุรี และมณฑลราชบุรี ตอมาไดมีการรวมเอา ๔ หัวเมืองสําคัญคือ กรุงเกา อางทอง สระบุรี ลพบุรี เขามารวมการบริหารปกครอง ไวเปนมณฑล และตั้งที่วาการมณฑล ณ พระนครศรีอยุธยา เรียกรวมกันวา มณฑล กรุงเกา * เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ.๒๔๓๘ (ร.ศ.๑๑๔) และโปรดเกลาฯ ใหพระเจานอง ยาเธอ พระเจ า บรมวงศ เ ธอ กรมหมื่ น มรุ พ งษ ศิ ริ พั ฒ น ดํ า รงตํ า แหน ง ข า หลวง เทศาภิบาลมณฑลกรุง เกาในระยะแรก ตอมาในป พ.ศ.๒๔๓๙ (ร.ศ.๑๑๕) จึงทรง 24
25
26
๑
กรมพระยาดํารงราชานุภาพ,สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ. (๒๕๐๓). เทศาภิบาล. หนา ๖๕-๘๙. ๒ เรื่องเดียวกัน. หนา ๖๖. * เปลี่ยนชื่อเปนมณฑลอยุธยา ในสมัยรัชกาลที่ ๖
สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑๗
พระกรุณาโปรดเกลาใหรวมเมือง พรหมบุรี อินทรบุรี สิงหบุรี เขากับมณฑลกรุงเกา รวมกับของเดิมเปนจํานวนทั้งสิ้น ๗ หัวเมือง ๑ เปนที่นาสังเกตวา มณฑลกรุงเกา นาจะเปนเมืองที่ไดรับการยกยองใหเปน พื้น ที่ทดลอง และเปนกรณีศึกษาระบบการปกครองแบบเทศาภิบ าล ที่อยูในสาย พระเนตรอยางใกลชิดของรัชกาลที่ ๕ มาโดยตลอด ดังทรงมีพระราชดํารัสเมื่อคราว เสด็จฯ มณฑลกรุงเกา เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ พ.ศ.๒๔๔๐ วา “...การหัวเมืองอัน มณฑลนี้นับวาเปนที่สําคัญ แลเปนที่ใกลซึ่งเราไดมาแลเห็นงาย...” ๒ การพัฒ นาใน มณฑลกรุงเกา ดานตางๆ ในเวลาตอมาจึงเกิดขึ้นอยางตอเนื่องเชน มีเสนทางรถไฟ จากกรุงเทพฯ มาถึงอยุธยา ทําใหการคมนาคมสะดวกรวดเร็วมากขึ้น มีโรงเรียนสตรี ประจํามณฑล การจัดตั้งศาล และการออกโฉนดที่ดินเปนครั้งแรก เปนตน 27
28
พระแสงราชศัสตราประจํามณฑล : แรกเริ่มที่มณฑลกรุงเก า นอกจากการวางแนวทางการปกครอง และหลักปฏิบัติของสวนราชการแลว รัชกาลที่ ๕ ทรงมีพระปรีชาสามารถอีกประการหนึ่ง ก็คือ การใชหลักจิตวิทยาใน การบริห ารปกครอง ทั้ ง นี้ เพื่ อให สอดคล องกับ การที่ไ ดท รงเริ่ม ดํา เนิ น นโยบาย การโยงอํานาจการบริหารราชการแผนดินเขาสูศูนยกลาง และคงไวซึ่งคําวาพระราช อํานาจแหงการบริหารปกครองของพระมหากษัตริย จึงทรงมีพระราชดําริที่จะฟนฟู ธรรมเนียมราชประเพณีบางประการที่ถูกยกเลิกไปเมื่อครั้งรัชกาลกอนกลับคืนมาใหม ธรรมเนีย มประการหนึ่ง ในจํ านวนนั้น คือการพระราชทานพระแสงราชศัสตราไว สําหรับประจํามณฑลและเมือง แตอยางไรก็ตาม พระองคทรงมีพระราชประสงค และแนวพระราชดํ า ริ บางประการที่ แ ตกต า งไปจากธรรมเนี ย มเดิ ม ใน การพระราชทานพระแสงราชศัสตราของบูรพกษัตริยองคกอน ๆ ๑
วุฒิชัย มูลศิลป และสมโชติ อองสกุล. (๒๕๒๔). มณฑลเทศาภิบาล : วิเคราะห เปรียบเทียบ. หนา ๙๒. ๒ พระราชดํารัสตอบขาหลวงเทศาภิบาลมณฑลกรุงเกา. (๒๔๔๐, ๒๐ กุมภาพันธ). ราชกิจจานุเบกษา. เลมที่ ๑๔ ตอนที่ ๔๗ . หนา ๗๙๔.
๑๘ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา
ประเด็นที่นาสนใจ ประการแรก คือ การพระราชทานพระแสงราชศัสตราไว ประจํามณฑลและเมืองตาง ๆ นั้นเพื่อเปนสัญลักษณแทนพระองค และการคงไวซึ่ง พระราชอํานาจในการบริหารปกครองแผนดิน โดยผานสมุหเทศาภิบาลมณฑล หรือ ผูวาราชการเมือง ใหปฏิบัติราชการตางพระเนตรพระกรรณเทานั้น แตไมมีอํานาจ สิทธิ์ขาดในการลงโทษ หรือ ตัดสินประหารชีวิตผูใ ด เหมือนอยางเชนธรรมเนียม การพระราชทานพระแสงดาบอาญาสิทธิ์ ในอดีต อีก ตอไป หากวิเ คราะห ลงไปใน ประเด็น นี้ก็จะพบวา เปนการลดทอนฐานอํานาจเดิมของเจาเมืองในระบบกินเมือง ซึ่งทําใหผูบริสุทธิ์เปนจํานวนมากตองตกเปนจําเลย และถูกลงโทษโดยขาดการไตสวน อยางยุติธรรม รวมทั้ ง เพื่อ ใหสอดคลอ งกับ การจั ดตั้ง ศาลยุติ ธรรมเปน ครั้ง แรกใน รัชสมัยของพระองค ทําใหการชําระคดีความตาง ๆ รวดเร็ว และยุติธรรมกับทุกฝาย ประการที่ ส อง ใช สํ า หรั บ ในพิ ธี ถื อ น้ํ า พิ พั ฒ น สั ต ยาในหั ว เมื อ งต า งๆ เปนสําคัญ ซึ่ง แตเดิมใชกระบี่ หรือดาบ อันเปนเครื่องยศที่พระราชทานใหแกผูวา ราชการเมืองสําหรับแทงน้ําในพิธี ตอมาเมื่อมีการเลิกพระราชทานเครื่องยศในสมัย รัชกาลที่ ๔ แลว จึงไมมีอาวุธสําหรับใชประกอบพิธีถือน้ําพิพัฒนสัตยา ดวยเหตุนี้จึง ทํา ให เจ า เมือ งที่ อยู ใ นหัว เมื องห า งไกลออกไปจากเมื อ งหลวง ขาดความยํา เกรง ประกอบการทุจริ ตตา ง ๆ ทํา ใหป ระชาชนในท องถิ่ นเดื อดร อน หากวิเคราะหใ น ประเด็นนี้จะพบวา รัชกาลที่ ๕ ทรงเล็งเห็นความสําคัญในเรื่องของการถือน้ําพิพัฒน สั ต ยา ซึ่ ง เป น พิ ธี อั น ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ก ระทํ า สื บ ต อ กั น มาแต ค รั้ ง โบราณ เนื้ อ หา และคําสาปแชงตางๆ ที่ปรากฏอยูในโองการแชงน้ํา เปนจิตวิทยาที่สําคัญยิ่งตอการ ปกครอง ที่ทํ าใหข าราชการต างเกรงกลั วตอคํ าสาปแชง ที่ รุนแรงเหล านั้น เพราะ ถึงแมวาเริ่มมีวิทยาการจากตะวันตกเขามาแลว แตคนสยามในยุครัชกาลที่ ๕ นั้นก็ยัง มีความเชื่อเรื่องสิ่งเหนือธรรมชาติอยูมาก ดังนั้นเพื่อคงความศักดิ์สิทธิ์ตามประเพณี โบราณ การประกอบพิธีถือน้ําพิพัฒนสัตยาจึงตองสมบูรณ ครบถวน นั้นคือ การจุม พระแสงราชศัสตราลงไปในน้ําพิพัฒนสัตยา และใหขาราชการไดนํามาดื่มเพื่อแสดง ความจงรักภักดี ประการสุ ด ท า ย การพระราชทานพระแสงราชศั ส ตรา ไม ถื อ ว า เป น เครื่ อ งหมายแสดงเกี ย รติ ย ศและบํ า เหน็ จ ความชอบแก ผู ไ ด รั บ พระราชทาน
สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๑๙
เพราะเมื่อใดก็ตามที่พระองคเ สด็จ ฯ ไปประทับ แรมยั ง มณฑล หรือ เมืองที่ไ ดรั บ พระราชทานพระแสงราชศั สตรา สมุ หเทศาภิบ าลมณฑล หรื อผู วา ราชการเมือ ง จะตองทูลเกลาฯ ถวายพระแสงราชศัสตราประจําเมืองนั้น คืนไวประจําพระองค จนกระทั่งเมื่อจะเสด็จกลับ จึงพระราชทานคืนไวตามธรรมเนียมเดิม การพระราชทานพระแสงราชศั สตราประจําเมืองในสมัยรัชกาลที่ ๕ นั้ น หัวเมืองที่ไ ดรับพระราชทานกอน สวนใหญจะเปนเมืองบนเสนทางเสด็จพระราช ดําเนินตามลําน้ําเจาพระยา ครั้งสําคัญคือการเสด็จพระราชดําเนินมณฑลฝายเหนือ ปพ.ศ.๒๔๔๔ เนื่องจากทรงมีพระราชประสงคทอดพระเนตรภูมิประเทศ และตรวจ ราชการประกอบพระราชดําริเพื่อที่จะทรงทํานุบํารุงบานเมืองใหเจริญยิ่ง ขึ้นสืบไป โดยตลอดรัชกาลนั้น ทรงพระราชทานพระแสงราชศัสตราใหกับเมือ ง และมณฑล ตาง ๆ รวมทั้งสิ้น ๓๒ องค หลักฐานตามที่ปรากฏใน พระราชหัตถเลขาคราวเสด็จมณฑลฝายเหนือใน รัช กาลที่ ๕ ทรงพระราชทานพระแสงราชศัส ตราประจํา มณฑลและเมือ งต าง ๆ ชุดแรก จํานวน ๑๐ แหง และ มณฑลแรก ที่ทรงพระราชทานพระแสงราชศัสตรา คือ มณฑลกรุงเกา เมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๔๔๔ โดยมี พระเจาบรมวงศเธอ กรมหมื่ น มรุ พ งษ ศิ ริ พั ฒ น สมุ ห เทศาภิ บ าลมณฑลกรุ ง เก า เข า รั บ พระราชทาน ณ พระราชวัง บางปะอิน ๑ ดังนั้น พระแสงราชศัสตราที่พระราชทานใหกับมณฑล กรุงเกา จึงมีฐานะเปนทั้งพระแสงราชศัสตราประจํามณฑล และพระแสงราชศัสตรา ประจําเมืองในคราวเดียวกัน 29
ลักษณะพระแสงราชศัสตราประจํามณฑลกรุงเก า ลักษณะของพระแสงราชศัสตราประจําเมืองทุกองค มีลักษณะเปนดาบไทย ที่ประดิษฐโดยฝมือชางทองหลวงในพระราชสํานัก ตีจากเหล็กกลาอยางดี มีขนาด ความยาว (รวมดาม) โดยประมาณ ๑๐๐ – ๑๑๐ เซนติเมตร บางองคชางทองหลวง ๑
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว. (๒๔๙๒). พระราชหัตถเลขาคราวเสด็จมณฑล ฝายเหนือในรัชกาลที่ ๕. หนา ๑-๔๙.
๒๐ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา
จะจารึกระบุเนื้อทองไวที่ปลอกพระแสง * ดวย สวนลวดลายที่ดุนประดับบนปลอก พระแสงประจํามณฑล หรือเมืองแตละองคนั้น จะสะทองถึงวิถีชีวิตและภูมิประเทศ ในแต ล ะท อ งที่ แต จ ะมี ลั ก ษณะบางประการที่ แ ตกต า งกั น ระหว า ง พระแสง ราชศัสตราประจําเมือ ง กับพระแสงราชศัสตราประจํามณฑล กลาวคือ หากเป น เมืองสํา คัญ ที่เป น สถานที่ ตั้ง มณฑลเทศาภิบาล จะพระราชทานพระแสงดามทอง ฝกทองลงยาราชาวดี และมีคําจารึกที่พระแสงวา “พระแสงสําหรับมณฑล...” ถาเปน เมืองสามัญทั่วไป จะพระราชทานพระแสงดาบดามทองฝกทอง มีคําจารึกที่พระแสง ว า “พระแสงสํ า หรั บ เมื อ ง...” นอกจากนี้ จ ะมี เ ครื่ อ งประกอบคื อ บั น ไดแก ว หมอนรองพระแสง และพานแว น ฟ า สํ า หรั บ ในรั ช กาลป จ จุ บั น (รั ช กาลที่ ๙) มีการสรางพระพุทธนวราชบพิตร พระราชทานประกอบดวย 30
พานแวนฟาและบันไดแกว
ที่มา : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร. (๒๕๓๙). พระแสงราชศัสตรา ประจําเมือง. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.
* ปลอกพระแสง คือสวนที่ทําเปนวงสําหรับสวมหรือรัดใบพระแสง ดูใน กองวรรณกรรมและ ประวัติศาสตร. (๒๕๓๙). พระแสงราชศัสตราประจําเมือง. หนา ๑๓๙.
สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๒๑
สําหรับพระแสงราชศัสตราประจํามณฑลกรุงเกานั้น มีลักษณะดามทองฝก ทองลงยาราชาวดี มีความยาวรวมทั้ง สิ้น ๑๐๗ ซม. ด ามยาว ๓๓ ซม. ใบทําจาก เหล็กกลาเนื้อมันวาวยาว ๖๗ ซม. ใบพระกวาง ๓.๕ ซม. จารึกขอความเหมือนกันทั้ง สองดา นว า “พระแสงสํ า หรับ มณฑลกรุ ง เก า ” ฝ ก พระแสงมี ค วามยาว ๗๔ ซม. ดุนลวดลายรูปกระทอมริมน้ํา ชาวนา วัวควาย คันไถ เรือกสวนไรนา สะทอนภาพวิถี ชีวิ ตกสิก รรมในเขตมณฑลกรุง เก าไดอ ยา งชั ดเจน ทอดบนบั นไดแกว หากมีก าร เคลื่อนยายเชน นําออกมาทําความสะอาด หรือนําขึ้นทูลเกลาถวาย จะยกขึ้นทอด วางบนหมอนรองพระแสง ในพานแวนฟา
พระแสงราชศัสตราประจํามณฑลกรุงเกา
จารึกบนพระแสงราชศัสตรา “พระแสงสําหรับมณฑลกรุงเกา”
ใบพระแสงที่ตีจากเหล็กกลา
๒๒ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา
ฝกทองลงยาราชาวดี ดุนลวดลาย สะทอนภาพวิถีชีวิตกสิกรรมในเขตมณฑลกรุงเกา
ดามพระแสงหุมทองลงยาราชาวดี
สวนปลายยอดฝกทอง
ที่มา : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร. (๒๕๓๙). พระแสงราชศัสตรา ประจําเมือง. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร. ภายหลัง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเปนระบอบประชาธิปไตย ในป พ.ศ. ๒๔๗๕ แลว ในรัชกาลตอ ๆ มาก็ไมปรากฏวาทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหมี การสถาปนาพระแสงสําคั ญ ประจํา รัช กาลอีกต อไป ๑ แมว ารัช กาลปจจุ บัน นี้ ทรงพระกรุ ณ าโปรดเก ล า ฯ ให มี ก ารฟ น ฟู ธ รร มเนี ย มโดย การสถาปน า และพระราชทานพระพุท ธนวราชบพิ ตรไวป ระจํา เมื องแทนพระแสงราชศั สตรา 3 1
๑
กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร. (๒๕๓๙). พระแสงราชศัสตราประจําเมือง. หนา ๕.
สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๒๓
ประจําพระองค แตธรรมเนียมการถวายพระแสงราชศัสตราประจําเมืองก็ยังคงต อง ยึดถือปฏิบัติอยูเชนเดิม โดยจะตองเก็บรักษาไวในคลังจังหวัดเทานั้น มีการทําความ สะอาดเปน ประจํา และควรมีพวงมาลัยสดคลองที่ดามจับเปนประจํา รวมถึง การ ทูลเกลาถวายองคพระมหากษัตริย ในวโรกาสที่ทรงเสด็จพระราชดําเนินมาประกอบ พระราชพิธีสําคัญ ถึงแมวาจะเสด็จโดยมิไดประทับแรมก็ตาม สิ่งเหลานี้ ลวนแลวแต สะทอนพระราชอํานาจในการปกครองแผนดินโดยชอบธรรมมาจนตราบเทาทุกวันนี้.
บรรณานุกรม กรมศิลปากร. (๒๕๒๖). จารึกสมัยสุโขทัย. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร. (๒๕๓๙). พระแสงราชศัสตราประจําเมือง. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. จุลจอมเกลาเจาอยูหัว, พระบาทสมเด็จพระ. (๒๔๙๒). พระราชหัตถเลขาคราว เสด็จมณฑลฝายเหนือในรัชกาลที่ ๕ นับในหนังสือเรื่องเที่ยวที่ตาง ๆ เปนภาคที่ ๕. พระนคร: มหามกุฏราชวิทยาลัย. ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา. (๒๕๐๓). เทศาภิบาล. พระนคร: โรงพิมพรงุ เรืองธรรม. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว เนือ่ งในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระ ชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔. (๒๕๕๖). กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน. พระราชดํารัสตอบขาหลวงเทศาภิบาลมณฑลกรุงเกา. (๒๔๔๐, ๒๐ กุมภาพันธ). ราชกิจจานุเบกษา. เลมที่ ๑๔ ตอนที่ ๔๗ . หนา ๗๙๔. วุฒิชัย มูลศิลป และสมโชติ อองสกุล. (๒๕๒๔). มณฑลเทศาภิบาล : วิเคราะห เปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแสงรุง การพิมพ.
๒๔ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา
สถานีรถไฟกรุงเก า : จากมณฑลสู ราชอาณาจักรสยาม สุรินทร ศรีสังขงาม * 32
สถานีรถไฟกรุงเกา ที่มา: สถานีรถไฟกรุงเกา. (ม.ป.ป.) (ภาพนิ่ง). กรุงเทพฯ: หอจดหมายเหตุแหงชาติ.
การรับรูของชาวสยามที่มีตอ “รถไฟ” อยางจริง จัง คงเริ่มเกิดขึ้น ในชว ง รั ช กาลพระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล า เจ า อยู หั ว เมื่ อ ป พ.ศ.๒๓๙๘ โดยรั ฐ บาล ของประเทศอังกฤษมอบหมายใหเซอรจอหน เบาวริง (Sir John Bowring) อัญเชิญ พระราชสาส น และเครื่ องราชบรรณาการ เพื่ อทู ล เกลา ฯ ถวายแด รั ชกาลที่ ๔ * รองผูอ ํานวยการสถาบันอยุธยาศึกษา และอาจารยประจําสาขาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตร และสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๒๕
โดยหนึ่ง ในเครื่องราชบรรณาการเหลานั้นมี “รถไฟจําลอง” ยอสวนจากของจริง ประกอบดวยรถจักรไอน้ําชนิดมีปลองสูงและรถพวง สามารถวิ่งบนรางดวยแรงไอน้ํา ไดเชนเดียวกับรถไฟจริงที่ใชอยูในประเทศอังกฤษ ๑ รวมอยูดวย ต อ มาในป พ.ศ.๒๔๐๐ พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล า เจ า อยู หั ว ทรงมี พระราชประสงค ที่ จ ะส ง พระราชสาส น และเครื่ อ งราชบรรณาการออกไปเจริ ญ พระราชไมตรีกับประเทศอังกฤษ จึงไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้งใหพระยา มนตรีสุริยวงศ (ชุม บุนนาค) เปนราชทูต ใหเจาหมื่นสรรเพชรภักดี (เพ็ง เพ็ญกุล) เป น อุ ป ทู ต ให จ มื่ น มณเฑี ย รพิ ทั ก ษ (ด ว ง) เป น ตรี ทู ต และให ห ม อ มราโชทั ย (ม.ร.ว. กระตาย อิศรางกูร) เปนลาม พรอมดวยคณะผูติดตามอีก ๒๗ คน เดินทาง เจริญ พระราชไมตรีกับประเทศอัง กฤษ เมื่ อคณะราชฑูต เดินทางกลั บมาถึ ง สยาม หมอมราโชทัย (ม.ร.ว.กระต าย อิศ รางกูร ) ไดแ ตง หนัง สื อชื่อ “นิราศลอนดอน” โดยมีความตอนหนึ่งบรรยายวา 33
เศราอารมณลมเอเขนกนอน เสียงหลอดกูหวูหวอลูกลอหมุน ชางเร็วรวดยวดยิ่งวิ่งสุดใจ
สักยามเศษจึงไดจรขึ้นรถไฟ เหมือนมีบุญเหาะลิ่วปลิวไปได เห็นอะไรวับวูดไู มทันฯ ๒ 34
ซึ่ ง นิ ร าศลอนดอนนี้ เ องคงเป น จุ ด เริ่ ม ต น ที่ ทํ า ให ค นจํ า นวนหนึ่ ง ได รู จั ก และจิ น ตนาการถึ ง รถไฟอย า งน า ตื่ น ใจ จนถึ ง รั ช สมั ย ของพระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว จึงทรงมีพระราชดําริเห็นวารัฐบาลสยาม ควรมีการสราง ทางรถไฟเพื่อเชื่อมการคมนาคมระหวางหัวเมืองตางๆ และจะเปนการดีที่รัฐบาล
๑
เจาพระยาทิพากรวงศ. (๒๕๐๔). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๔ เลม ๑. หนา ๑๓๐-๑๓๓. ๒ กระตาย อิศรางกูร ณ อยุธยา. (๒๕๐๘). นิราศลอนดอน และจดหมายเหตุเรื่องราวทูตไทย ไปประเทศอังกฤษในรัชกาลที่ ๔ ของหมอมราโชทัย. หนา ๒๓.
๒๖ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา
สยามจะได เ ข า มาบริ ห ารและปกครอง “มณฑลทางภาคเหนื อ ” อย า งเป น อันหนึ่งอันเดียวกัน ดัง นั้น จึง ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหพระเจานองยาเธอเจาฟากรมขุ น นริศรานุวัตติวงษ เมื่อครั้งดํารงตําแหนงเสนาบดีกระทรวงโยธาธิการใหจัดสรางทาง รถไฟสายเหนือขึ้น โดยใหมีการสํารวจเสนทางเพื่อกอสรางทางรถไฟในป พ.ศ.๒๔๓๐ และไดมอบหมายใหเซอรแอนดรู คลาก (Sir Andrew Clark) และบริษัทปนชารด แมกทักการด โลเธอร (Messrs. Punchard, Mac Taggart, Lowther & Co.) ซึ่งเปนบริษัทชาวอังกฤษเปนผูดําเนินการสํารวจหาเสนทางเพื่อสรางทางรถไฟจาก กรุงเทพฯ ไปทางทิศเหนือโดยผาน “กรุงเกา” (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) ลพบุรี อุตรดิตถ เชียงใหมไปถึงเชียงแสน ดวยเหตุดังนี้ในวันที่ ๒๙ ธันวาคม ร.ศ.๑๐๘ (พ.ศ.๒๔๓๒) พระบาทสมเด็จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู หั ว จึ ง ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล า ฯ ให จั ด ตั้ ง “กระทรวง โยธาธิการ” ขึ้นเพื่อทําหนาที่ดูแลการจัดสรางอาคารหนวยงานตางๆ รวมไปถึงการ สร า งทางรถไฟนี้ ด ว ย ซึ่ ง ในครั้ ง นั้ น กระทรวงโยธาธิ ก าร ประกอบด ว ย ๓ กรม คือ กรมรถไฟ กรมไปรษณียและโทรเลข และกรมโยธาตามลําดับ โดยกรมรถไฟนั้ น จั ด ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ เดื อ นตุ ล าคม ร.ศ.๑๐๙ (พ.ศ.๒๔๓๓) มีพระเจานองยาเธอเจาฟากรมขุนนริศรานุวัตติวงศ ทรงเปนเสนาบดี และนายเค. เบ็ทเก (K.Bethge) วิศวกรชาวเยอรมันเปนเจากรมรถไฟ การก อ สร า งทางรถไฟ สายกรุ ง เทพฯ-นครราชสีม า ดํ าเนิ นการมาอย า ง ตอเนื่อง และในวัน ที่ ๒๖ มีน าคม ร.ศ.๑๑๕ (พ.ศ.๒๔๓๙) พระบาทสมเด็จ พระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัวจึงเสด็จพระราชดําเนินพรอมดวยสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรม ราชินีนาถประกอบพระราชพิธีเปดการเดินรถไฟระหวางสถานีกรุงเทพฯ ถึงสถานีกรุง เกา ระยะทางรวม ๗๑ กิโลเมตร ในระยะแรกเดินขบวนรถขึ้นลองวันละ ๔ ขบวน ผานสถานีรวม ๙ สถานี คือ สถานีกรุงเทพฯ สถานีบางซื่อ สถานีหลักสี่ สถานีหลัก
สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๒๗
หก สถานีคลองรังสิต สถานีเชียงราก สถานีเชียงรากนอย สถานีบางปะอิน และสถานี กรุงเกา ๑ 35
สถานีรถไฟ สถานีกรุงเก า สถานีรถไฟกรุงเกา “หลังแรก” สรางขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๙ เมื่อแรกสรางเปน อาคารไมจากหลักฐานภาพเกาทําใหทราบวาเปนอาคารไม ๒ ชั้น โดยชั้นลางเปนโถง ชานชาลา ชั้น บนอาจใชเปนที่พักนายสถานีหรือ นายชางรถไฟ หลัง จากนั้นสภาพ สถานีรถไฟคงมีการชํารุดและเสียหายตามลําดับ จึงไดรับการสรางใหมเปนอาคารกอ อิฐ ออกแบบโดยสถาปนิกชาวอิตาลี คือ นายอัลเฟรโด ริกัซซี (Alfredo Rigazzi) ออกแบบไวเมื่อ พ.ศ.๒๔๖๓ ๒ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ซึ่ง เปนอาคารหลังที่ใชมาจนถึงปจจุบัน สถานี ร ถไฟอยุ ธ ยาตั้ ง อยู น อกเกาะเมื อ งฝ ง ตะวั น ออก ริ ม แม น้ํ า ป า สั ก หางจากสถานีกรุงเทพฯ เปนระยะทาง ๗๑.๐๘ กิโลเมตร โดยสถานีที่ตั้งขนานไปตาม แนวยาวของรางรถไฟ มีชานชาลาจํานวน ๓ ชานชาลา ผังอาคารแบงเปน ๓ สวน คือ สวนมุขหนาอาคาร, สวนอาคารสถานี และสวนโถงชานชาลา สวนมุขหนาอาคาร เปนผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด ๒๕.๐๐ x ๓.๔๐ เมตร แบงเปน ๕ ชวงเสา ชวงเสาละ ๕.๐๐ เมตร ดานหนามีบันไดทางขึ้นอาคาร ๓ ทาง สวนอาคารสถานี เปนผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด ๔๕.๐๐ x ๑๐.๕๐ เมตร แบงเปน ๙ ชวงเสา ชวงเสาละ ๕.๐๐ เมตร ลึก ๑๐.๕๐ เมตร พื้นที่ใชสอยแบงเปน ๓ สวน สวนแรกประกอบดวย หองพักคอยสําหรับผูโดยสารรถไฟชั้นที่ ๑ และ ๒, หองเก็บของ หองน้ํา และสวนบริการเครื่องดื่ม สวนกลางอาคารประกอบดวยสวน ทํางานของนายสถานี แบงเปน หองนายสถานี สํานักงาน หองขายตั๋ว หองสงโทรเลข หองเก็บกระเปา และสวนสุดทายเปนหองโถงพักคอยสําหรับผูโดยสารรถไฟชั้น ๓ 36
๑
ประกาศกระทรวงโยธาธิการ แผนกกรมรถไฟ. (๒๔๓๙, ๑๖ มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา . เลมที่ ๑๔ หนาที่ ๑๔-๑๖. ๒ อัลเฟรโด ริกัชชี. (๒๔๖๓). แบบพิมพเขียวสถานีรถไฟอยุธยา. หนา ๔๙๒ - ๔๙๓.
๒๘ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา
สถานีรถไฟอยุธยา ที่มา: สถานีรถไฟอยุธยา. (๒๕๕๗). (ภาพนิ่ง). พระนครศรีอยุธยา: สถาบันอยุธยาศึกษา.
ส ว นโถงชานชาลา เป น ผั ง รู ป สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ า ต อ กั บ ส ว นอาคารสถานี แบงเปน ๙ ชวงเสา ชวงเสาละ ๕.๐๐ เมตร ลึก ๘.๐๐ เมตร เปนโถงโลงสําหรับเปน ที่พักคอยรถไฟ อาคารสถานีรถไฟอยุธยาเปน อาคารชั้น เดียวรูปแบบสถาปต ยกรรมแบบ “นีโอคลาสสิค (Neoclassicism)” ซึ่งไดมีการตัดทอนรายละเอียดของการตกแตง ลงอย า งเหมาะสม ด า นหน า ของอาคารสถานี มี มุ ข หน า ยาว ๒๕.๐๐ เมตร สูง ๔.๓๐ เมตร (จากพื้นถึง ฝาเพดาน) มุขหน าเปน ระเบี ยงโล ง สูง จากพื้น ถึง คาน หลังคา ๓.๒๐ เมตร หลังคาเปนคอนกรีตแบน (flat slab) เสาเซาะรองประดับหัวเสา ดว ยปู น ป น ส ว นอาคารสถานี มี ป ระตูท างเข าอยู ต รงกับ บั น ได หลั ง คาสถานี ท รง ปนหยามุงกระเบื้องลอนคูซึ่งยังคงเปนลักษณะของอาคารที่ปรากฏอยูจนถึงปจจุบัน
สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๒๙
โถงชานชาลา สถานีรถไฟอยุธยา ที่มา: สถานีร ถไฟอยุธยา. (๒๕๕๗). (ภาพนิ่ง). พระนครศรีอยุธยา: สถาบันอยุธยา ศึกษา. และ คายัค. (๒๕๕๓, ๑ กันยายน). นั่งรถไฟไปปนจักรยาน@อยุธยา. สืบคนเมื่อ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๗, จาก www.pantip.com
การรถไฟ ราชอาณาจักรสยาม และการพัฒนามณฑลกรุงเก า ความสนใจตอการรถไฟของรัฐบาลสยาม เกิดขึ้นอยางจริงจังในชวงระหวาง พ.ศ ๒๔๒๖ – ๒๔๒๘ เมื่อประเทศอังกฤษยื่นขออนุญาตเพื่อสรางทางสถานีรถไฟ ผานเมืองระแหง (จังหวัดตาก) สําหรับเปนเสนทางการเชื่อมตอจากประเทศอินเดียถึง ประเทศจีน แตรัฐบาลสยามปฏิเสธเพราะอาจจะมีผลอยางยิ่งตอความมั่นคงดานการ ปกครองของมณฑลฝายเหนือ และอาจกระทบกับความสัมพันธระหวางประเทศใน ขณะนั้น ประ เด็ น สํ า คั ญ อยู ที่ ว า ก ารว าง เส นทางร ถไฟ ขอ งรั ฐบาลสยาม มีความสัมพันธเปนอยางยิ่งกับโครงสรางของการปกครอง “ระบบมณฑล” ในชวง เวลานั้น ซึ่งนอกจากการรถไฟจะมีประโยชนในทางการคมนาคมขนสงแลว ทางรถไฟ ยัง เปรียบเสมือนเปน “สัญ ลักษณ” แสดงขอบเขต และอํานาจการปกครองทาง รัฐ ในฐานะ “ราชอาณาจักรสยาม” อยางแทจริงดวย โดยเฉพาะในช ว งสมั ย “มณฑลกรุ ง เก า ” ทางการรถไฟถู ก ออกแบบ และวางเสนทางตรงสูเกาะเมืองอยุธยา โดยประชิดนอกเกาะเมืองฝงทิศตะวันออก ซึ่งเปนที่ตั้งของชุมชนและยานสําคัญทางเศรษฐกิจของเกาะเมือง กอนเบี่ยงเสนทาง
๓๐ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา
แยกไปทางบานภาชี และลพบุรีตามลําดับ แมวาในระยะเวลานั้นจะยัง มีผูสนใจใช บริการโดยสารทางรถไฟไมมากนัก เนื่องจากเชื่อวาการเดินทางดวยเรือยังสะดวกและ ถูกกวา ตอในปพ.ศ. ๒๔๔๘ ไดมีการสราง “กองพลทหารราบที่ ๓” ขึ้นบริเวณฝง ตะวั นตกขอ งเกาะ เมื อ ง ติ ด ริ ม แม น้ํ า เจ า พร ะยา ในครั้ งนี้ ได มี การตั ด “ถนนเดชาวุ ธ ” ๑ เชื่ อ มต อ ระหว า งกองพลทหารฯ ตั ดตรงถึ ง เกาะเมื อ งด า นทิ ศ ตะวันออก และสถานีรถไฟกรุงเกาตามลําดับ จะดวยเปนวัตถุประสงคหลักหรือผล พลอยไดก็ตาม การตัดถนนจากสถานีรถไฟผานกลางเกาะเมืองไปจนถึงกองพลทหาร ซึ่งอยูปลายสุดดานทิศตะวันตก ไดมีผลการอยางมากตอการกระจายความเจริญและ รองรั บ การพั ฒ นาที่ กํ า ลั ง จะเกิ ด ขึ้ น ใน “มณฑลกรุ ง เก า ” และ “จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา” ในเวลาตอมาอยางมีนัยสําคัญ อยางนอยที่สุด การพัฒนาหรือการกําหนดโยบายของรัฐในอดีต สามารถ เป นเครื่อ งสะทอ นให เห็ น ความพยายามของภาครัฐ ที่จ ะทํา ให น โยบายตา งๆเกิ ด ประโยชนสูงสุดตอ “พื้นที่” ภายใตขอจํากัดที่เปนอยู ณ ชวงเวลานั้น และไดเปน เครื่องยืน ยัน ที่ดีที่สุดที่ทําใหเราไดเห็น ถึงความความลมเหลวบางประการของ รัฐ ในช ว งเวลาต อ มาที่ อ อกนโยบายโดยไม คํ า นึ ง ถึ ง ประโยชน สู ง สุ ด ของคนในพื้ น ที่ พระนครศรีอยุธยาดังเชน การยกยองและขึ้นทะเบียนอยุธยาในฐานะ “มรดกโลก” และหลั ง จากนั้ น ไม น าน กลั บ ออกนโยบายในการจั ด ตั้ ง “นิ ค มอุ ต สาหกรรม” ขึ้นบนพื้นที่ใกลเคียงอยางไมนาเชื่อ
๑
เกื้อกูล ยืนยงคอนันต. (๒๕๒๙). ความเปลี่ยนแปลงภายในเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา ระหวาง พ.ศ.๒๔๓๘-๒๕๐๐. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓๑
การวางเสนทางรถไฟสูเกาะเมืองอยุธยา แผนผังเสนทางรถไฟสูอยุธยา (๒๕๕๗). (แผนผัง). พระนครศรีอยุธยา: สถาบันอยุธยาศึกษา
บรรณานุกรม กระตาย อิศรางกูร ณ อยุธยา. (๒๕๐๘). นิราศลอนดอน และจดหมายเหตุ เรื่องราวทูตไทยไปประเทศอังกฤษในรัชกาลที่ ๔ ของหมอมราโชทัย. กรุงเทพฯ : คลังวิทยา. เกื้อกูล ยืนยงคอนันต. (๒๕๒๙). ความเปลี่ยนแปลงภายในเกาะเมือง พระนครศรีอยุธยา ระหวาง พ.ศ.๒๔๓๘-๒๕๐๐. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. เจาพระยาทิพากรวงศ. (๒๕๐๔). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๔ เลม ๑. พระนคร: องคการคาของคุรุสภา. ประกาศกระทรวงโยธาธิการ แผนกกรมรถไฟ. (๒๔๓๙, ๑๖ มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา . เลมที่ ๑๔ หนาที่ ๑๔-๑๖. อัลเฟรโด ริกัชชี. (๒๔๖๓). แบบพิมพเขียวสถานีรถไฟอยุธยา. ม.ป.ท.: การรถไฟ แหงประเทศไทย.
๓๒ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา
ภาพเก าเล าอดีต พัฑร แตงพันธ * 38
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล าเจ าอยู หัว เสด็จออกประทับ ณ รัตนสิงหาศน พระที่นั่งสรรเพชญ ปราสาท พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงเสด็จบําเพ็ญ พระราชกุศล รัชมงคลที่พระราชวัง กรุงศรีอยุธยา ระหวางวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน – ๓ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๕๐ เนื่องในวโรกาสที่พระองค ทรงครองราชยสมบัติเปนระยะเวลา ๔๐ ป เทากับสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ แหงกรุง ศรีอยุธยา พระองคจึงทรง “เต็มพระราช หฤทัยจะใครทรงบําเพ็ญพระราชกุศล” อุทิศถวายสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ และพระ เจาแผนดินกรุงศรีอยุธยาทุกพระองค รวมทั้งพระเจากรุงธนบุรี * นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓๓
จดหมายเหตุอยุธยาศึกษา มกราคม - มีนาคม ๒๕๕๗
มกราคม วันขึ้นป ใหม ที่พระนครศรีอยุธยา มกราคม ๒๕๕๗ ช ว งเทศกาลป ใ หม มี ป ระชาชนเดิ น ทางเข า มาท อ งเที่ ย วในจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาจํ า นวนมาก เพื่ อ กราบไหว สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เ พื่ อ เป น สิ ริ ม งคล ทํ า ให ก ารจราจรหนาแน น โดยเฉพาะวั ด พนั ญ เชิ ง วรวิ ห าร วั ด ใหญ ชั ย มงคล วัดไชยวัฒนาราม.
กุมภาพันธ บรรยากาศงานตรุษจีน ๑ - ๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ “งานตรุ ษ จี น กรุ ง เก า อยุ ธ ยามหา มงคล” จัดขึ้นที่บริเวณหนาสํานักงานเทศบาล นครพระนครศรีอยุธยา และถนนนเรศวรทั้ง สาย มี ก ารจั ด เวที ก ารแสดงกิ จ กรรมต า ง ๆ อยางสวยงาม โดยมีการประดับประดาโคมไฟ ตลอดสาย มี พิ ธี ไ หว เ ทพเจ า ๑๐๘ ศาลเจ า การประกวดมิสไชนีส การแสดงเชิดสิงโตและ มังกร การออกรานอาหารอรอยอยุธยาและมี ร า นจํ า หน า ยเสื้ อ ผ า และ สิ น ค า ต า ง ๆ บรรยากาศเปนไปอยางคึกคัก.
บรรยากาศเทศกาลตรุษจีน ในเขตเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา
๓๔ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู แทนราษฎร ๒ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ ทามกลางกระแสทางการเมืองอันรอนแรง และมีการคัดคานการเลือกตั้งอยู ในหลายเขตของประเทศ แต ก ารเลื อ กตั้ ง สมาชิ ก สภาผู แ ทนราษฎรในจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ ๒ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ กลับเปนไปดวยความเรียบรอย โดยมี ผู ม าใช สิ ท ธิ ๓๑๙,๕๖๙ คน จากผู มี สิ ท ธิ ทั้ ง หมด ๖๒๘,๑๓๙ คน คิ ด เป น รอยละ ๕๐.๘๘
มีนาคม งานไหว ครูมวยไทยนายขนมต ม ๑๓ - ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๗ จังหวัดพระนครศรีอยุธยารวมกับการทองเที่ยวแหงประเทศไทยสํานักงาน พระนครศรีอยุธยา จัดงานระลึกถึงวีรชนไทยนายขนมตม ประจําป ๒๕๕๗ ที่สนาม กีฬากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และพิธีไหวครู และครอบครูมวยที่วัดมหาธาตุ เพื่อรําลึกถึงนายขนมตมนักมวยไทยในประวัติศาสตร และสงเสริมการทองเที่ยวของ จังหวัด ซึ่งมีนักมวยตางชาติเขารวมกิจกรรมนี้เกือบ ๑,๐๐๐ คนจาก ๖๐ ประเทศ.
วันช างไทย ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๗ ทุ ก วั น ที่ ๑๓ มี น าคมของทุ ก ป ซึ่ ง ถื อ เป น วั น ช า งไทย หมู บ า นช า ง เพนียดหลวง ต.สวนพริก จ.พระนครศรีอยุธยา พรอมดวยหนวยงานที่เกี่ยวของ จัด กิจกรรมการรําลึกถึง ชาง ซึ่งเปนสัตวสัญ ลักษณคูบานคูเมืองของไทย โดยมีพิธีไหว ศาลปะกํา ทําบุญอุทิศสวนกุศลใหกับชางที่ตาย และเลี้ยงอาหารชาง. สืบคนเหตุการณสําคัญของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาไดที่ศูนยขอมูลอยุธยาศึกษา
งานจดหมายเหตุจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓๕
อยุธยาศึกษาปริทัศน สุรินทร ศรีสังขงาม * 39
เวทีกลางแจ งสถาบันอยุธยาศึกษา : แนวคิดการออกแบบและแนวทางสร างสรรค เวทีกลางแจง สถาบันอยุธยาศึกษา กอสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๗ เพื่อเปนเวที สําหรับจัดการแสดง ณ บริเวณลานวัฒนธรรมดานขางอาคารเรือนไทยของสถาบันฯ ไดดํ าเนิน การออกแบบตกแต ง ใหม เมื่ อเดือนธัน วาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เพื่ อเปน การ ปรั บ ปรุ ง รู ป ลั ก ษณ และเสริ ม บรรยากาศลานวั ฒ นธรรม ให มี เ อกลั ก ษณ ข อง “วัฒนธรรมอยุธยา” ยิ่งขึ้น * รองผูอ ํานวยการสถาบันอยุธยาศึกษา และอาจารยประจําสาขาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตร และสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
๓๖ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา
แนวคิดทางการออกแบบ “เงาสะทอนแหงวัฒนธรรมอยุธยา” กลาวคือฉากเวทีเปรียบเสมือนกําแพง พระนคร ที่รองรับเงาจากแสงตะวันแหงวัฒนธรรม ทอดผานอาคารสถาปตยกรรมอัน รุงเรือง ปรากฏเปนเงาเสมือนเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยาราชธานี เปนรองรอยแหงอุดมคติ และจินตนาการ แหงอดีตและวัฒนธรรมอยุธยา โครงสี ใชโครงสีลอแบบจากกําแพงพระนครฯ สีขาว เงาพาดผานสีเทา และประตูสี น้ําตาลแดง กอใหเกิดความรูสึกสงบและหยุดนิ่ง เพื่อใหเปนฉากรองรับการแสดง วัฒนธรรมอยางงดงาม การตกแตง ใชกระบวนการแบบจิตรกรรม สีอะคริลิคน้ําบนผนังซีเมนต *** ขอขอบคุณนักศึกษาวิชาศิลปกรรมที่รวมมือรวมใจสรางสรรคฉากเวทีจนสําเร็จ
สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓๗
รอบรั้วเรือนไทย สายรุง กล่ําเพชร * 40
ระหว า งเดื อ นมกราคม - มี น าคม ๒๕๕๗ สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา ได จั ด กิจกรรมตาง ๆ เพื่อเชิดชูและสงเสริมการประยุกตใชขอมูลทางวัฒนธรรมอยุธยาเพื่อ การพัฒนาสังคมอยางยั่งยืน อาทิ
กิจกรรมค ายเยาวชนอาสานําเที่ยวทางวัฒนธรรม วันที่ ๙ – ๑๐ มกราคม ๒๕๕๗
สถาบันอยุธยาศึกษาไดจัดกิจกรรมคายเยาวชนอาสานําเที่ยวทางวัฒนธรรม โดยมีวัตถุประสงคเพื่อฝกอบรมใหเยาวชนในทองถิ่นมีความรูเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม อยุ ธ ยา เพื่ อ เสริ มสร า ง พื้ น ฐานสู วิ ช าชี พ มั ค คุ เทศก ท อง ถิ่ นขอ ง จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ซึ่ง เปนแหลง ทองเที่ยวทางดานวัฒนธรรมที่สําคัญ ของประเทศ โดยกิจกรรมครั้งนี้มีผูสนใจเขารวมอบรมเปนจํานวนทั้งสิ้น ๓๐ คน
การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การวิจัยทางประวัติศาสตร ท องถิ่น” วันที่ ๘ - ๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษาได จั ด กิ จ กรรมอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารการวิ จั ย ทาง ประวั ติศาสตร ทองถิ่น กรณีศึ กษาจัง หวัดพระนครศรี อยุธ ยา ซึ่ ง ได รับเกียรติจาก ศาสตราจารย พิ เ ศษ ดร. ศรี ศั ก ร วั ล ลิ โ ภดม นั ก วิ ช าการด า นมานุ ษ ยวิ ท ยา บรรยายพิ เศษเรื่อ ง “ภู มิวัฒ นธรรม หัว ใจของการศึกษาประวัติ ศาสตรท องถิ่น ” รวมทั้งคุณสุดารา สุจฉายา นักวิชาการจากมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยพันธ บรรยายเรื่อง “วิธีการเก็บขอมูลประวัติศาสตรทองถิ่น” และนายพัฑร แตงพันธ นักวิชาการประจํา สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา ได บ รรยายเรื่ อ ง “ข อ มู ล เบื้ อ งต น เกี่ ย วกั บ ตลาดหั ว รอ และเกาะลอย” * เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
๓๘ I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา
กิจกรรมนี้ไ ดนําผูเขาอบรมลงสํารวจพื้นที่บริเวณตลาดหัวรอและเกาะลอย เพื่ อนํ า ขอ มู ลจากการสํ า รวจมานํา เสนอ โดยมี ศาสตราจารย พิ เศษ ดร. ศรีศั ก ร วัล ลิโ ภดม เป น วิท ยากรให คํา แนะนํา และขอ คิ ดเห็น ในการศึ ก ษาประวั ติศ าสตร ทองถิ่น พรอมกันนี้สถาบันอยุธยาศึกษายังไดเชิญชวนผูเขาอบรม รวมเขียนบทความ ดา นประวัติ ศาสตรท องถิ่น เพื่ อตี พิม พล งวารสารอยุธ ยาศึ กษา อัน เป น การสร า ง เครือขายทางวิชาการระหวางสถาบันอยุธยาศึกษากับสถาบันการศึกษาตาง ๆ ตอไป
การอบรมหลักสูตรระยะสั้นงานศิลป ถิ่นกรุงเก า (ครั้งที่ ๒) เรื่องภูมิป ญญาจากงานแทงหยวก วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๗
สถาบันอยุธยาศึกษา จัดอบรมหลักสูตรระยะสั้นเรื่องภูมิปญญาจากงานแทง หยวก เพื่อเปนการอนุรักษสืบสานมรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปญญาของชาติ โดยมี อาจารยสุวิทย ชูชีพ ภูมิปญญาแทงหยวกรุนสุดทาย ยานวัดปาโค เปนวิทยากรในครั้ง นี้ กิจกรรมครั้งนี้มีผูสนใจเขารวมอบรมเปนจํานวนทั้งสิ้น ๖๐ คน
โครงการอบรมพัฒนาครูผู สอนศิลปะ (ทัศนศิลป ) วันที่ ๖ - ๘ มีนาคม ๒๕๕๗
สถาบันอยุธยาศึกษาไดจัดโครงการอบรมพัฒนาครูผูสอนศิลปะ (ทัศนศิลป) ให แ ก ค รู ที่ ส อนทั ศ นศิ ล ป ในระดั บ ประถมศึ ก ษา และมั ธ ยมศึ ก ษา ซึ่ ง มี วุ ฒิ ท าง การศึกษา สาขาทัศ นศิ ลป หรื อสาขาศิ ลปกรรม จํ านวน ๕๐ คน ณ หอ งประชุ ม ตนโมก มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา โดยวัตถุประสงคของการจัดงานเพื่อ พัฒนาครูผูสอนทัศนศิลป ใหมีความรูมีทักษะ และเจตคติที่ดีในการสอนศิลปะเห็น คุณคาและความงามของศิลปะดานทัศนศิลป
สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา I ๓๙
การจัดประชุม ร างเกณฑ การสร างมาตรฐานด านการสร างสรรค ผลงานทาง ดนตรีและนาฏศิลป วันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๗
สถาบัน อยุธยาศึกษา ไดจัดประชุม รางเกณฑการสรางมาตรฐานดานการ สรางสรรคผลงานทางดนตรีและนาฏศิลป ณ หองประชุมสถาบันอยุธยาศึกษา โดย ไดรั บเกีย รติ จาก ดร.สุข สัน ติ แวงวรรณ หั วหนา ภาควิ ชานาฏศิล ปไ ทย วิ ทยาลั ย นาฏศิล ปอางทอง มาเปนวิ ทยากรในครั้ ง นี้ โดยไดมีก ารแลกเปลี่ย นความคิดเห็ น ระหวางผูเขารวมประชุม และมีขอสรุป คือ กําหนดใหสรางเกณฑมาตรฐานสําหรับ การแสดงพื้ น บ า นภาคกลาง “เพลงเรื อ ” โดยสถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษาจะได นํ า รายละเอียดและขอสรุปจากการประชุมในครั้ง นี้ นําเสนอในการประชุมครั้ง ตอไป ในวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๗ ณ หองประชุมตนโมก อาคารบรรณราชนครินทร
การอบรมเชิงปฏิบัติการ “ทูตวัฒนธรรมท องถิ่น” วันที่ ๑๓ – ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๗
สถาบันอยุธยาศึกษาไดจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ “ทูตวัฒนธรรมทองถิ่น” โดย มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมการเรียนรูดานวัฒนธรรมทองถิ่นอยุธยา สงเสริมการบูรณา การดานการสืบสานภูมิปญ ญาทองถิ่น รวมทั้ง เปนการสรางเครือขายเฝาระวังทาง วัฒนธรรมของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตลอดจนเปนการปลูกจิตสํานึกใหเยาวชน และบุคลากรในทองถิ่นไดตระหนักในคุณคาของความงามตามวิถีไทย กิจกรรมครั้งนี้ มีผูสนใจเขารวมอบรมเปนจํานวนทั้งสิ้น ๕๐ คน
40 I สาร..สถาบันอยุธยาศึกษา
กิจกรรมของสถาบันอยุธยาศึกษา เมษายน - มิถุนายน ๒๕๕๗ วันที่ ๒-๔ เมษายน ๒๕๕๗ ๒๖ เมษายน ๒๕๕๗ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๗
กิจกรรม
สถานที่
กิจกรรมอนุรักษสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย (วันอนุรักษมรดกไทย)
สถาบันอยุธยาศึกษา
กิจกรรมอบรมหลักสูตรระยะสั้นงานศิลปถิ่น กรุงเกา เรื่อง เครื่องหอม
สถาบันอยุธยาศึกษา
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดการ สภาพแวดลอมทางวัฒนธรรมนคร ประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา
สถาบันอยุธยาศึกษา
ขอเชิญผู สนใจเสนอบทความ เพื่อตีพิมพ ในวารสารอยุธยาศึกษา ฉบับที่ ๖ / ๒๕๕๗ ขอกําหนดผลงานวิชาการ บทความทางวิชาการ มีเนื้อหาเกี่ยวกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในชวงมณฑลกรุงเกา, รวมสมัย หรือประวัติศาสตรทองถิ่น โดยเปนบทความที่ยังไมเคยตีพิมพเผยแพรมากอน บทความ มีค วามยาวพร อมภาพประกอบ ไม เ กิน ๑๕ หน า กระดาษ A4 ส ง ตน ฉบั บ บทความภายใน วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๗ และตนฉบับจะตองผานการประเมินคุณภาพโดยผูทรงคุณวุฒิ สอบถามข อมูล เพิ่มเติมไดที่ คุ ณพัฑร แตงพันธ ฝา ยวิช าการ สถาบันอยุธยาศึกษา มห าวิ ท ยาลั ยร าช ภั ฏ พร ะ นค ร ศรี อ ยุ ธ ยา โ ทร ศั พ ท / โ ทร ส าร ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ E-mail: ayutthayastudy@yahoo.co.th