สารสถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 เมษายน-มิถุนายน 2555

Page 1


สาร...สถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๗ เมษายน – มิถุนายน ๒๕๕๕ เจ้าของ สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๙๖ ถนนปรีดีพนมยงค์ อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๓๕-๒๔๔-๐๓๓ โทรสาร ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ เว็บไซต์ http://www.ayutthayastudies.aru.ac.th วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสถาบันอยุธยาศึกษาสู่สาธารณชนอย่างต่อเนื่อง ๒. เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านอยุธยาศึกษาที่ถูกต้องสู่สาธารณชน การเผยแพร่ ปีละ ๔ ฉบับ (ราย ๓ เดือน) จานวนที่พิมพ์ ๕๐๐ เล่ม ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์พันทิพา มาลา ผู้อานวยการสถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา คณะผู้จัดทา ฝ่ายส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ นายพรเทพ รู้แผน นายพัฑร์ แตงพันธ์ ศิลปกรรม นายพัฑร์ แตงพันธ์ พิมพ์ที่ โรงพิมพ์เทียนวัฒนาพริ้นท์ติ้ง ๑๖/๗ ถ.เดชาวุธ ต.หอรัตนไชย อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ โทร. ๐๓๕-๒๔๑๕๗๘, ๐๓๕-๒๔๓๓๘๖ โทรสาร ๐๓๕-๓๒๓๓๙๖ ภาพปก พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีมหาราช พระมหาราชาผู้ทรงกอบกู้เอกราชเพื่อชาติไทย จากสงครามเสียกรุงศรีอยุธยา ครัง้ ที่ ๒ ใน พ.ศ.๒๓๑๐


ถ้อยแถลง สถาบันอยุธยาศึกษา เป็นหน่วยงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ที่ทาหน้าที่ด้านการอนุรักษ์ ส่งเสริม เผยแพร่ พัฒนาศิลปวัฒนธรรม วิถีชีวิต ภูมิปัญญา ท้องถิ่น เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ ให้บริการข้อมูลกับสังคม จึงได้จัดทา สาร....สถาบันอยุธยาศึกษา เพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสถาบันอยุธยาศึกษา และเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับ ประวั ติ ศ าสตร์ ศิ ล ปวั ฒ นธรรม และภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น รวมถึ ง สร้ า งจิ ต ส านึ ก ในก ารอนุ รั กษ์ สิ่ ง แว ดล้ อ มธ รร มชาติ และ ศิ ล ปกร รมท้ อ งถิ่ น ในจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา สาหรับในไตรมาสที่ผ่านมา (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๕๕) สถาบันอยุธยาศึกษา ได้จัดกิจกรรมทางวิชาการหลายกิจกรรม โดยเฉพาะกิจกรรมที่สังคมให้ความสนใจ เป็นอย่างมากคือ การเสวนาทางวิชาการเรื่อง มุมมองใหม่ในประวัติศาสตร์พระเจ้า ตากสิ น มหาราช และออกภาคสนาม ณ แหล่ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ภ ายในจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ที่ จั ด ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ ๗ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๕ ซึ่ ง สถาบั น ฯ ได้ เ ชิ ญ นักวิชาการประวัติศาสตร์ผู้ทรงคุณวุฒิหลายท่านมาเป็นวิทยากร จึงทาให้การเสวนา ครั้ ง นี้ เ กิ ด มุ ม มอง ใหม่ ๆ รว มทั้ ง การค้ น พบใหม่ จาก การ ออก ภาคสนาม สถาบันฯ จึงได้นาเสนอมุมมองใหม่ที่น่าสนใจเหล่านั้นลงใน สาร..สถาบันอยุธยาศึกษาฉบับนี้ นอกจากนั้ น ยั ง มี บ ทความเรื่ อ ง คุ ณ ค่ า จากการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ท าง วิชาการด้านภู มิปัญ ญาท้องถิ่น จังหวั ดพระนครศรีอ ยุธยา อัน เป็น ข้อมูลที่ ไ ด้จาก การลงพื้ น ที่ ศึ ก ษาแลกเปลี่ ย น และเก็ บ ข้ อ มู ล ภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ใน ๔ อ าเภอ ของสถาบันอยุธยาศึกษา ซึ่ง ยัง ได้ให้ความรู้เกี่ยวกั บการอนุรักษ์ สืบสานภูมิปัญญา ท้องถิ่นด้วย คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจาก ทุกท่าน ขอขอบคุณสาหรับการติดตามและพบกันใหม่ฉบับหน้า ผู้จัดทา


สารบัญ หน้า กิจกรรมของสถาบันอยุธยาศึกษาในไตรมาส ๔ (กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๕๕)

งานยกย่องเชิดชูเกียรติบุคคลผู้มีผลงานดีเด่น ทางด้านการศึกษา วัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย เพื่อมอบรางวัล “บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ” ครั้งที่ ๙ ประจาปี ๒๕๕๕

กิจกรรมของสถาบันอยุธยาศึกษา ประจาไตรมาสที่ ๓ (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๕๕)

บทความ มุมมองใหม่ในประวัติศาสตร์พระเจ้าตากสินมหาราช พัฑร์ แตงพันธ์

๑๗

บทความ คุณค่าจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการ ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ดร.พรเทพ รู้แผน / ดร.นริสานันท์ เดชสุระ

๒๗


กิจกรรมของสถาบันอยุธยาศึกษา ในไตรมาส ๔ (กรกฎาคม – กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๕) กิจกรรมธรรมะบรรยาย เรื่อง “ธรรมะเพื่อการดาเนินชีวิตสาหรับนักศึกษา” โดยพระมหา ดร.ไกรวรรณ์ ชินทตฺติโย วันพุธที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕ จัดโดยฝ่ายอนุรักษ์ส่งเสริมเผยแพร่วัฒนธรรม กิจกรรมสัมมนาทางวิชาการเรื่อง สังคมนานาชาติ : กรุงศรีอยุธยากับฝรั่งเศส วันที่ ๙ - ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๕ ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา จัดโดยฝ่ายส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ  ปาฐกถาเรื่องสายสัมพันธ์อยุธยา - ฝรั่งเศส  การบรรยายเรือ่ ง “สัมพันธไมตรี สยาม – ฝรั่งเศส จากอยุธยาสู่ รัตนโกสินทร์”  การบรรยายเรื่อง “อิทธิพลของชาวฝรั่งเศสที่มีต่อสถาปัตยกรรมใน กรุงศรีอยุธยา”  เสวนาทางวิชาการเรื่อง “บทบาทของฝรั่งเศสต่อการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม การเมือง และวัฒนธรรมของกรุงศรีอยุธยา” กิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น อาเภออุทัย วันพุธที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๕ จัดโดยฝ่ายบริการวิชาการ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.ayutthayastudies.acu.ac.th www.facebook.com/ayustu


งานยกย่องเชิดชูเกียรติบุคคลผู้มีผลงานดีเด่น ทางด้านการศึกษา วัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย เพื่อมอบรางวัล “บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ” ครั้งที่ ๙ ประจาปี ๒๕๕๕ วันพุธที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๕ สถาบันอยุธยาศึกษา ได้จัดงานยกย่องเชิดชู เกียรติบุคคลผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านการศึกษา วัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย เพื่อ มอบรางวัล “บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ” ครั้งที่ ๙ ประจาปี ๒๕๕๕ ณ หอประชุมใหญ่ อาคาร ๑๐๐ ปี มหาวิ ทยาลั ยราชภั ฏพระนครศรีอยุ ธยา โดยมี วัตถุ ประสงค์ เพื่ อ ยกย่ องเชิด ชูเกี ยรติ และมอบรางวั ลให้ เป็ นขวั ญกาลัง ใจแก่บุ คคลที่มีผ ลงานดี เด่ น ดังกล่าว ในการจัดงานครั้งนี้ได้รับเกียรติจาก นายวิทยา ผิวผ่อง ผู้ว่าราชการจังหวัด พระนครศรีอยุธยา เป็นประธานในพิธีเปิดงานและมอบโล่รางวัล ให้กับบุคคลที่ได้รับ รางวัล ประจาปี ๒๕๕๕ โดยมี ดร.ชิดชัย สนั่นเสียง รองอธิการบดีมหาวิทยาลัย ราชภั ฏ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เป็ น ผู้ ก ล่ า วคาประกาศยกย่ อ งเชิ ด ชู เ กีย รติ บุ ค คลผู้ มี ผลงานดีเด่น ซึ่งรายชื่อผู้ที่ได้รับการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล “บุษราคัมมณีศรี ราชภัฏ” ครั้งที่ ๙ ประจาปี ๒๕๕๕ จานวน ๑๒ คน มีดังนี้

๑. ม.ล.พันธ์สวัสดิ์ ศุขสวัสดิ สาขาศิลปกรรม (การช่างฝีมือ)

๒. พระครูสังฆรักษ์ปัญญาพล ปญฺญาพโล สาขามนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ ( ขนบธรรมเนียมประเพณี )

๓. ผศ.เรี่ยม ศรีทองเพชร สาขาภาษา และวรรณกรรม


๔. ผศ.จินดา นัยผ่องศรี สาขาคหกรรมศาสตร์ และโภชนาการ ( ศิลปะประดิษฐ์ )

๕. นางจันทนา ภู่เจริญ สาขาคหกรรมศาสตร์ และโภชนาการ ( ศิลปะประดิษฐ์ )

๖. นายธาราวุฒิ จุลวงศ์ สาขาคหกรรมศาสตร์ และโภชนาการ ( ศิลปะประดิษฐ์ )

๗. ผศ.ศรีเวียง ไตชิละสุนทร สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ( คีตศิลป์ )

๘. นางอนงค์นาฏ รัตน์ศิริจันทร์ สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ( นาฏศิลป์ )

๙. นายณรงค์ คุ้มมณี สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ( นาฏศิลป์ )

๑๐. นางราพึง ชลพลัง สาขาศิลปกรรม ( การละคร )

๑๑. ม.ล.พงษ์สวัสดิ์ ศุขสวัสดิ สาขามนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ ( พิธีกรรรม )

๑๒. นายพานิช ศรีงาม สาขาการศึกษา และพัฒนาคุณภาพชีวิต


กิจกรรมของสถาบันอยุธยาศึกษา ประจาไตรมาสที่ ๓ (เมษายน – มิถุนายน ๒๕๕๕) ค่ายวัฒนธรรมนาวิถีชีวิตไทย ๓ – ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๕

เมื่อวัน พฤหัสบดี ที่ ๓ และวัน ศุกร์ที่ ๔ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๕ ที่ผ่านมา สถาบันอยุธยาศึกษา ได้จัดกิจกรรม “ค่ายวัฒนธรรมนาวิถีชีวิตไทย” ณ เรือนไทย สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ เยาวชนได้มีความรู้ ความเข้าใจ และเห็นความสาคัญในการร่วมกันอนุรักษ์ ส่งเสริม เผยแพร่ วัฒนธรรม ประเพณีไทยให้ยั่งยืนสืบไป และได้เห็นความสาคัญ ของการ อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย โดยเยาวชนทุกคนเป็นกาลัง สาคัญ ของชาติ ที่จะช่วยกัน อนุรักษ์และร่วมกันสืบสานวัฒนธรรมอันดีของไทย เพื่อสร้างแนวร่วมในการอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นให้ยั่งยืนสืบไป

การทาขนมไทย โดย คุณวรัญญู จันทร์สว่าง

กิจกรรมสานปลาตะเพียนใบลาน โดย คุณลุงวิสิทธิ์ กระจ่างวี


กิจกรรมปั้นตุ๊กตาดิน โดย อ.วัชรีวรรณ หิรัญพลาสวัสดิ์

เรียนรู้เรื่องอาหารไทย โดย ผศ.จินดา นัยผ่องศรี และ อ.นันทวรรณ ฉวีวรรณ์

ทัศนศึกษาแหล่งประวัติศาสตร์ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา วิทยากรโดย คุณพัฑร์ แตงพันธ์ นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา

กิจกรรมวาดภาพระบายสีและสร้างแผนที่ความคิด ในหัวข้อ “เยาวชนยุคใหม่ใส่ใจวัฒนธรรม”

พิธีมอบเกียรติบัตร และถ่ายรูปเป็นที่ระลึก


ประชุมคณะกรรมการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม สถาบันอยุธยาศึกษา ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๕

สถาบันอยุธยาศึกษา โดย ดร.นริสานันท์ เดชสุระ รองผู้อานวยการสถาบัน อยุ ธยาศึ กษา ฝ่า ยบริห าร ได้จั ดประชุม คณะกรรมการทานุบ ารุ ง ศิ ลปวัฒ นธรรม ณ ห้ อ งประชุ ม สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา โดยมี ร องคณบดี จ าก ๔ คณะวิ ช า และผู้อานวยการกองพัฒนานักศึกษา เข้าร่วมการประชุมในครั้งนี้ การประชุ ม ครั้ ง นี้ เ พื่ อ ชี้ แ จงการจั ด ซื้ อ -จั ด จ้ า ง การตั ด เงิ น โครงการ ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมประจาปี ๒๕๕๕ และการรายงานผลการดาเนินโครงการ ทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรมรอบ ๖ เดือน รวมทั้งข้อเสนอแนะ ปัญหา และอุปสรรค จากการจัดกิจกรรมโครงการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม เพื่อเตรียมรับการประกัน คุณภาพการศึกษา

โครงการอบรมความรู้เรื่อง “อยุธยาศึกษา” ๒๘-๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๕

สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา จั ด โครงการอบรมความรู้ เ รื่ อ งอยุ ธ ยาศึ ก ษา แก่ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาเป็นประจาทุกปี เพื่อ ให้นักศึกษามี ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับท้องถิ่นพระนครศรีอยุธยา สาหรับในปีนี้มีนักศึกษาเข้ารับ การอบรมทั้ง ๔ คณะ เป็นจานวนทั้งสิ้น ๑,๑๔๖ คน โดยมี คุณ เศรษฐเนตร มั่ น ใจจริ ง นั กวิ ชาการประวั ติศ าสตร์ จากอุ ทยาน ประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็น ศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัย ได้กรุณามาเป็น


วิท ยากร ให้ ค วามรู้ เ บื้ องต้ น เกี่ ยวกั บ ประวั ติ ศ าสตร์ ข องเมื อ งพระนครศรี อ ยุ ธ ยา และแนะนาแหล่งประวัติศาสตร์ภายในรั้วมหาวิทยาลัย

การจัดเสวนาเรื่องมุมมองใหม่ในประวัติศาสตร์พระเจ้าตากสินมหาราช ๗ มิถุนายน ๒๕๕๔

สถาบันอยุธยาศึกษาได้จัดโครงการเสวนาทางวิชาการเรื่อง มุมมองใหม่ใน ประวัติศาสตร์พระเจ้าตากสินมหาราช ณ ห้องประชุม ๓๑๗ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรี อยุ ธ ยา โดยมีวั ตถุ ป ระสงค์เ พื่อ บริ ก ารวิช าการแก่ นั กเรีย น นัก ศึก ษา อาจารย์และผู้สนใจทั่วไป ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในประวัติศาสตร์ไทย และเป็นการ เทิดพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช อีกทั้งเป็นการส่ง เสริมความรักชาติ และความสมัครสมานสามัคคีอันดีแก่สังคม


โดยการจัดกิจกรรมครั้งนี้ ได้รับเกี ยรติจากอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยาเป็นประธานเปิดงาน ซึ่งมีผู้สนใจสมัค รเข้าร่ วมกิจกรรมครั้ง นี้ เป็นจานวนทั้งสิ้น ๑๐๕ คน กิ จกรรมในช่ วงเช้ าเป็ นการเสวนาทางวิ ชาการโดยผู้ ทรงคุ ณวุ ฒิ จ านวน ๓ คน คือ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ นักประวัติศาสตร์อยุธยา ผศ.ดร.ธารงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ นักประวัติศาสตร์ เชี่ยวชาญด้านการเมืองไทย และคุณมนตรี รักษาดี จากองค์การ บริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา โดยคุ ณ สมฤทธิ์ ลื อชั ย นั กวิ ช าการอิ ส ระ ทาหน้าที่เป็นพิธีกรดาเนินรายการ ส าหรั บ ในช่ ว งบ่ า ยเป็ น กิ จ กรรมออกภาคสนาม “ตามรอยสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น มหาราช” ณ แหล่ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา อันประกอบด้วย ค่ายโพธิ์สามต้น อาเภอบางปะหัน, วัดเกาะแก้ว และวัดพิชัยสงคราม จากผลตอบรับของผู้ร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ ได้สะท้อนให้เห็นว่าการดาเนิน กิจกรรมเสวนาทางวิชาการเรื่องมุมมองใหม่ในประวัติศาสตร์พระเจ้ าตากสินมหาราช และการออกภาคสนาม ได้ประสบความสาเร็จเป็นอย่างดี ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ ความพึงพอใจ แล้วสามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้


กิจกรรมอบรมและเสวนาทางวิชาการเรื่อง “ปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง” ๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๕

วันพฤหัสบดีที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๕ สถาบันอยุธยาศึกษาได้ดาเนินการจัด กิจกรรมอบรมและเสวนาทางวิชาการเรื่อง “ปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง” ขึ้น ณ สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ซึ่งผู้เข้าร่วมฟังการ อบรมและเสวนาได้ แก่ ผู้น าท้ อ งถิ่ น ผู้ อานวยการศู นย์ ก ารศึก ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย เจ้าหน้าที่ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรกรใน อาเภอต่างๆ ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา การจัดกิจกรรมในครั้งนี้ได้รับเกียรติจาก ผศ.พันทิพา มาลา ผู้อานวยการ สถาบันอยุธยาศึกษา ได้กล่าวเปิดงาน โดยมี ดร.นริสานันท์ เดชสุระ รองผู้อานวยการ สถาบั นอยุ ธยาศึกษา กล่ าวรายงาน ในช่ว งเช้ าเป็น การอบรมเรื่อ ง “ปรัชญาของ เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง: แนวคิ ด และการประยุ ก ต์ ใ ช้ ” โดย ดร.พรเทพ รู้ แ ผน รองผู้อานวยการสถาบันอยุธยาศึกษา ในช่วงบ่ายได้มีการจัดการเสวนาทางวิชาการ “เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ทางเลื อ กในการยกระดั บ ชุ ม ชน” ซึ่ ง ได้ รั บ เกี ย รติ จ าก ผู้ ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ แ ล ะ ผู้ น า ท า ง ด้ า น ป รั ช ญ า แ น ว คิ ด เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ได้ แ ก่ อ.ประวิ ท ย์ อรรถวิ เ วก คุ ณ อเนก เพ่ ง สุ พ รรณ คุ ณ ทวี ทรั พ ย์ เ จริ ญ และคุณสมพร คาพร โดยมีดร.พรเทพ รู้แผน รับหน้าที่เป็นผู้ดาเนินรายการ ในการ เสวนาดังกล่าวได้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน และผู้ที่เข้ารับการอบรมและ เสวนาทุกท่านจะนาความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในท้องถิ่นของตนเองต่อไป


กิจกรรมเยีย่ มชมแหล่งเรียนรู้ในชุมชนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๕

วั น ศุ ก ร์ ที่ ๑๕ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๕ สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษาได้ ด าเนิ น การจั ด กิ จ ก รร มเยี่ ย มชมแหล่ ง เรี ย นรู้ ใ นชุ ม ชนตามหลั ก เศร ษฐกิ จ พอเพี ย ง ขึ้ น ณ ศู น ย์ ก าร เ รี ย น ชุ ม ช น บ้ า น ทุ่ ง ก ร ะ โ ปร ง ต้ น แ บ บเ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง โครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด าริ จ.นครนายก ซึ่ ง ผู้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมได้ แ ก่ ผู้น าท้ องถิ่ น ผู้ อ านวยการศู น ย์ ก ารศึ ก ษานอกระบบและการศึ ก ษาตามอัธ ยาศั ย เจ้ า หน้ า ที่ ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู้ เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย ง และเกษตรกรในอ าเภอต่ า งๆ ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่ อ คณะร่ ว มกิ จ กรรมเดิน ทางมาถึ ง ผู้ ใ หญ่ ส มหมาย เกตุ แก้ ว ประธาน ศู น ย์ ก า ร เ รี ย น รู้ ชุ ม ช น บ้ า น ทุ่ ง ก ร ะ โ ป ร ง ต้ น แ บ บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จ.นครนายก ได้กล่าวต้อนรับ และบรรยายสรุป ในภาพรวมของความสาเร็จของการจัด ตั้งศูนย์ก ารเรียนรู้ชุมชนบ้านทุ่ง กระโปรง ต้นแบบเศรษฐกิจ พอเพี ยง หลั งจากนั้น คณะได้ศึ กษาฐานการเรี ยนรู้ ผัก พื้น บ้า น ปลอดสารพิ ษ และพื ช ผั ก สมุ น ไพรปลอดสารพิ ษ โดยผู้ ใ หญ่ ส มหมาย เกตุ แ ก้ ว และนายจุ้น ช้อนทอง ปราชญ์ชาวบ้านบ้านทุ่งกระโปรง ในช่วงบ่ายคณะร่วมกิจกรรม ได้ศึกษาฐานการเรียนรู้การแปรรูปผลไม้ ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ และผลไม่ปลอดสารพิษ โดยนางทองใบ เอกฉัตร นางจิราภรณ์ เอกฉัตร นายบุญส่ง บุญล้า นางทองอินทร์ มณฑา และนายประสิทธ์ ผ่องแผ้ว ปราชญ์ชาวบ้านบ้านทุ่งกระโปรง


การศึกษาฐานการเรียนรู้ ปราชญ์ชาวบ้านบ้านทุ่งกระโปรง ได้ให้ความรู้และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับคณะร่วมกิจกรรม ซึ่งทุกท่านจะได้นาความรู้ที่ไ ด้ไปปรับใช้ใน ท้องถิ่นของตนเองต่อไป

การจัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น อาเภอลาดบัวหลวง ๘ มีนาคม ๒๕๕๕

วันพฤหัสบดีที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๕ สถาบันอยุธยาศึกษา ได้จัดกิจกรรมเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวัฒนธรรมด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นในท้องที่อาเภอลาดบัวหลวง จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ณ ห้ อ งประชุ ม ที่ ว่ า การอ าเภอลาดบั ว หลวง โดย ผศ.พั นทิ พ า มาลา ผู้ อ านวยการสถาบัน อยุ ธ ยาศึ ก ษา, ดร.พรเทพ รู้ แ ผน และ ดร.นริ ส านั น ท์ เดชสุ ร ะ รองผู้ อ านวยการสถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษาเป็ น ผู้ดาเนินการเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางด้านวิชาการด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น

เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวัฒนธรรมด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น และลงพื้นที่ชมการทาฆ้องวง


ผู้ เ ข้ า ร่ ว มเสวนาในครั้ ง นี้ ป ระกอบด้ ว ยผู้ แ ทนจากกลุ่ ม ภู มิ ปั ญ ญาใน อ าเภอลาดบั ว หลวง อาทิ คุ ณ ไอรี ณ ยื น ยงค์ (ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากรกมะพร้ า ว) , คุณอเนก เพ่งสุพรรณ (ปราชญ์ชาวบ้านเศรษฐกิจพอเพียง), คุณประจวบ คาหวั่น (น้ าอ้ อ ยสดแปรรู ป ครบวงจร) , คุ ณ สุ เ ทพ ทรั พ ย์ ไ ชย (แตรวงพื้ น บ้ า น) , คุณกาญจนา เลือดแสงไทย (กลุ่มประดิษฐ์ไม้แขวนเสื้อ), ร.ต.มณี อารีราษฎร์ ฯลฯ อาเภอบางไทร ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๕

เมื่ อ วั น พุ ธ ที่ ๒๘ มี น าคม ๒๕๕๕ ที่ ผ่ า นมา สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา ได้จัดกิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวัฒนธรรมด้า นภูมิปัญญาท้องถิ่นในท้องที่ อาเภอบางไทร จัง หวัดพระนครศรีอยุธยา ณ ห้องประชุม โรงเรียนวัดช่างเหล็ก (พิบูลเกียรติ) โดย ผศ.พันทิพา มาลา ผู้อานวยการสถาบันอยุธยาศึกษา, ดร.พรเทพ รู้แผน และดร.นริ ส านั น ท์ เดชสุ ร ะ รองผู้ อ านวยการสถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษาเป็ น ผู้ ด าเนิ น การเสวนาแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ท างด้ า นวิ ช าการด้ า นภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ผู้ เ ข้ า ร่ ว มเสวนาในครั้ ง นี้ ประกอบด้ วยผู้ แทนจากกลุ่ มภู มิ ปั ญญาในอ าเภอบางไทร อาทิ คุ ณจะเด็ จ สาสาร (ละครไทยพื้ น บ้ า น), คุ ณ สมศั ก ดิ์ สารสุ ข (ดนตรี ไ ทย), คุณพะยอม กลาภาดร (ทาขวัญนาค ยกศาลพระภูมิ) , สมบัติ ธนภาชน์ (ม้าแห่นาค), คุ ณ วิ นั ย เจริ ญ ผล (เครื่ อ งประดั บ มุ ข ), คุ ณ อเนก นาวายนต์ (ปรุ ง เรื อ นไทย), คุณจานง พงษ์แสวง (สานสุ่มไก่) ฯลฯ


อาเภอวังน้อย ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๕

วัน พฤหัสบดี ที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕ สถาบันอยุธยาศึกษา จัดกิจกรรม เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวัฒนธรรมด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นในท้องที่อาเภอวังน้อย จั งหวั ดพระนครศรี อยุ ธยา ณ หอประชุ มที่ ว่ าการอ าเภอวั งน้ อย โดย ดร.พรเทพ รู้ แผน และดร.นริสานันท์ เดชสุระ รองผู้อานวยการสถาบันอยุธยาศึกษาเป็นผู้ดาเนินการ เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางด้านวิชาการด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้เข้ าร่ วมเสวนาประกอบด้ว ยผู้ แทนจากกลุ่มภู มิปั ญ ญาในอาเภอวัง น้อ ย ได้แก่ กลุ่มทาน้าพริก , ตุ๊กตาผ้าไหม, งานประดิษฐ์จากหลอดกาแฟ, พืชสมุนไพร, ดอกไม้ ป ระดิ ษ ฐ์ , เกษตรกรรม ท านา – เพาะเห็ ด , โอ่ ง ผ้ า ไหม, ดอกไม้ จั น ทน์ , ขนมหวาน,พลังงานเตาเผาถ่าน, เลี้ยงกบ, ออกแบบผ้า และนวดแผนไทย เป็นต้น อาเภอบางปะหัน ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕

วันพฤหัสบดีที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕ สถาบันอยุธยาศึกษา ได้จัดกิจกรรม เสวนาแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ท างวั ฒ นธรรมด้ า นภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ในท้ อ งที่ อาเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ณ ห้องประชุมที่ว่าการอาเภอบางปะหัน โดย ดร.พรเทพ รู้แผน และดร.นริสานันท์ เดชสุระ รองผู้อานวยการสถาบันอยุธยาศึกษา เป็นผู้ดาเนินการเสวนาแลกเปลี่ยนเรีย นรู้ทางด้านวิชาการด้านภูมิปัญ ญาท้องถิ่ น ผู้เข้าร่วมเสวนาในครั้งนี้ประกอบด้วยผู้แทนจากกลุ่มภูมิปัญญาในอาเภอบางปะหัน ได้แก่ กลุ่มจักสานงอบใบลาน ต.บางนางร้า กลุ่มสานเข่งปลาทู กลุ่มแปรรูปอาหาร (ไข่เค็ม น้าพริก) กลุ่มปรุงเรือนไทย เป็นต้น การเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวัฒนธรรมด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น ทั้ง ๔ ครั้ง ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันอย่างกว้างขวาง และผู้ร่วมกิจกรรมตกลงว่า จะร่ว มมื อสร้า งเครือ ข่า ยทางด้ านภูมิ ปัญ ญาท้อ งถิ่น ร่ว มกั บสถาบั นอยุธ ยาศึก ษา ในการวางแผนจัดกิจกรรมส่งเสริมและเผยแพร่ภูมิปัญญาต่อไปในอนาคต


บทความ มุมมองใหม่ในประวัติศาสตร์พระเจ้าตากสินมหาราช* พัฑร์ แตงพันธ์ เรียบเรียง** สถาบันอยุธยาศึกษา ได้จัดโครงการเสวนาทางวิชาการเรื่อง มุมมองใหม่ใน ประวั ติ ศ าสตร์ พ ระเจ้ า ตากสิ น มหาราช เมื่ อ วั น พฤหั ส บดี ที่ ๗ มิ ถุ น ายน ๒๕๕๔ ณ ห้อ งประชุ ม ๓๑๗ มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ พระนครศรีอ ยุธ ยา โดยกิ จกรรมแบ่ ง ออกเป็นสองช่วง คือช่วงเช้าเป็นกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ และในช่วงบ่ายเป็น กิจกรรมออกภาคสนาม “ตามรอยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช” ณ สถานที่สาคัญ ทางประวัติศาสตร์ต่างๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในส่ ว นกิ จ กรรมเสวนาทาง วิ ช า ก า ร นั้ น ไ ด้ รั บ เ กี ย ร ติ จ า ก ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ นักประวัติศาสตร์ อยุธยา ผศ.ดร. ธารงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ นัก ประวั ติศ าสตร์ เ ชี่ย วชาญด้า นการ เมืองไทย และคุณมนตรี รักษาดี จาก องค์การบริหารส่วนจังหวัดพระนคร ศรี อ ยุ ธ ยา ที่ ก าลั ง จั ด ท าโครงการ เส้ น ทางเดิ น ทั พ พระยาตากที่ ต าบล โพสาวหาญ โดยคุ ณ สมฤทธิ์ ลื อ ชั ย นักวิชาการอิส ระทาหน้าที่เป็ นพิธีก ร ดาเนินรายการ

*

เรียบเรียงจากวีดิทัศน์บันทึกการเสวนาทางวิชาการเรื่อง มุมมองใหม่ในประวัติศาสตร์พระเจ้าตากสินมหาราช วันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๕๕ : รับชมวีดิทัศน์ ได้ที่ www.youtube.com/user/ayutthayastudies ** นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


พระเจ้าตากสินมีพระนามอย่างเป็นทางการว่าอะไร ? การเสวนาเริ่ ม ต้ น ด้ ว ยการตั้ ง ค าถามให้ ผู้ ร่ ว มกิ จ กรรมเสวนาทายว่ า “สมเด็จพระเจ้าตากสิน มีพระนามอย่างเป็นทางการว่าอะไร” โดยตั้งข้อสัง เกตว่า เหตุใดพระนามของสมเด็จพระเจ้าตากสิน จึงไม่มีคาว่า “พระบาท” นาหน้าพระนาม ซึ่งคาตอบที่อ้างอิงจากเอกสารชั้นต้น เรื่อง ตั้งพระเจ้านครศรีธรรมราชครั้งกรุงธนบุรี พ.ศ.๒๓๑๙ ได้กล่าวถึงพระนามสมเด็จพระเจ้าตากสินไว้ว่า “พระบาทสมเด็จบรม บพิตรพระพุทธเจ้าอยู่หัว” อันเป็นพระนามอย่างเป็นทางการของพระองค์

เรื่องราวที่เกี่ยวกับพระเจ้าตากในความรับรู้ของสังคมเป็นเรื่องจริงหรือไม่ ? และพระเจ้าตากทรงมีพระจริตฟั่นเฟือนจริงหรือไม่ ? เรื่ อ งราวของพระเจ้ า ตากสิ น ว่ า มี ลั ก ษณะเป็ น ทั้ ง ต านาน และเป็ น ทั้ ง ประวั ติ ศ าสตร์ เนื่ อ งจากเป็ น เรื่ อ งราวที่ ถู ก เสริ ม เติ ม แต่ ง อย่ า งมาก จึ ง เป็ น ประวัติศาสตร์ที่ควรใช้วิจารณญาณในการศึกษาเป็นพิเศษ เปรียบดัง “เหรียญย่อมมี สองด้าน” จึงไม่ควรเชื่อถือข้อมูลใด ข้อมูลหนึ่งเพียงด้านเดียว โดยเฉพาะการศึกษา หลัก ฐานทางประวัติ ศาสตร์สมั ยกรุง ธนบุรีที่ ถูก ชาระใหม่ ในสมั ยต่ อมา นั กศึ กษา ประวั ติศาสตร์จึง ควรตรวจสอบเอกสารนั้น ๆ ว่าถูกเขียนขึ้น หรือถูกชาระโดยผู้ใด ซึ่งเอกสารทางประวัติศาสตร์ เช่น พงศาวดารไทยที่ถูกชาระโดย “ผู้ชนะ” มักให้ ข้อมูลตรงกันว่า พระเจ้าตากทรงมีพระจริตฟั่นเฟือน ซึ่ง ดร.ชาญวิทย์ ได้ยกตัวอย่าง กรณีวิ กฤตการณ์ ที่บ้า นโป่ง เป็ นกรณี ศึกษาถึง เรื่องการบิดเบื อนข้ อมูล เพื่อ สร้า ง ความชอบธรรมในการดาเนินการกับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง* ในการเสวนาครั้งนี้ จึงได้แนะนาเอกสารทางประวัติศาสตร์ร่วมสมัยที่สาคัญ ชิ้น หนึ่ ง ที่ ไ ม่ ไ ด้ ถู กช าระโดยผู้ ใ ดคือ “นิ ร าศเมื อ งกวางตุ้ ง ” เนื่ องจากผู้ เ ขี ย นเป็ น *

วิกฤตการณ์ที่บ้านโป่ง เป็นข้อพิพาทระหว่างคนไทย กับทหารญี่ปุ่นในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ ที่อาเภอบ้าน โป่ง จังหวัดราชบุรี เริ่มต้นจากการที่มีพระสงฆ์ชาวไทยรูปหนึ่ง นาบุหรี่ไปให้แก่เชลยศึก ที่กาลังก่อสร้างทางรถไฟ อยู่ เมื่อทหารญี่ปุ่นเห็นเข้า จึงทาร้ายพระสงฆ์รูปนั้น ทาให้กลุ่มคนไทยเกิดความโกรธแค้น ไม่พอใจ นากาลังเข้า ต่อสู้ กับ ทหารญี่ปุ่ น จนเกิดการเสี ยชี วิ ตเป็ นจ านวนมาก กระทั่ ง สถานการณ์ ข ยายเป็ นข้อพิ พ าทระหว่ า งชาติ พระสงฆ์รูปนั้นถูกนาตัวขึ้นศาล และถูกบิดเบือนสถานะจากการเป็นพระสงฆ์ กลายมาเป็นสามเณร และมีสติไม่ ปกติ ในที่สุดก็ถูกศาลตัดสินประหารชีวิต แต่เนื่องจากสติไม่ปกติ จึงถูกตัดสินให้จาคุกตลอดชีวิต อันเป็นกรณี ตัวอย่างของการบิดเบือนข้อมูล เพื่อสร้างความชอบธรรมในการดาเนินการกับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง


ข้าราชสานักของพระเจ้าตากสิน ที่เดินทางไปเมืองกวางตุ้งกับขบวนเรือจิ้มก้องในปี สุดท้ายแห่งรัชสมัย สาหรั บประเด็ น พระเจ้ า ตากถู ก สาเร็ จโทษหรือ ไม่ นั้น ตามหลั ก ฐานทาง ประวัติศาสตร์ไทยมักระบุว่า พระเจ้าตาก “ถูกตัดศีรษะ” แล้วนาไปฝังก่อนจะมีการ “ฌาปนกิจ” อย่างเรียบง่ายในภายหลัง โดย ดร.ชาญวิทย์ ได้อธิบายถึง สภาพการ เมืองไทยสมัยนั้นว่า เป็นธรรมดาของการเมือง ที่เมื่อมีการปฏิวัติเกิดขึ้นแล้ว ก็ย่อมจะ ล้ ม ล้ า งอ านาจเก่ า เสี ย สิ้ น ซึ่ ง รวมไปถึ ง การฆ่ า ล้ า งบรรดาข้ า ราชส านั ก ผู้ ใ กล้ ชิ ด พระเจ้าตากด้วย

พระเจ้าตากเคี้ยวหมากหรือไม่ ? มุมมองที่น่าสนใจเกี่ยวกับจินตภาพของพระเจ้าตาก ที่ว่า “พระเจ้าตากเคี้ยว หมากหรือไม่ ” เนื่องจากคนไทยในอดีตนิยมทานหมากทุกคน แต่พระราชบิดาของ พระเจ้าตาก เป็นชาวจีนเดินทางมาจากแผ่นดินใหญ่ ซึ่ง ชาวจีนไม่นิยมทานหมาก ทว่าพระราชมารดาเป็นคนไทยซึ่งน่าจะทานหมากเหมือนคนไทยทั่วไป แต่สาหรับ พระเจ้าตากสินนั้น ผศ.ดร.ธารงศักดิ์ ตั้งข้อสันนิษฐานว่าพระเจ้าตาก น่าจะมีวิถีชีวิต อยู่ในชุมชนชาวจีนในพระนครศรีอยุธยา จึงมีแนวโน้มว่าใช้ชีวิตแบบชาวจีนมากกว่า แบบชาวไทย ดังนั้นภาพลักษณ์ของพระเจ้าตากสินจึงน่าจะมีฟันขาว เพราะไม่ได้ทาน หมากเหมือนคนไทยทั่วไปในสมัยนั้น


กระบวนการขึ้นสู่อานาจของพระเจ้าตาก พระเจ้าตากสินมหาราช ทรงขึ้นสู่ความเป็นผู้นาทางการเมืองบนฐานของ การมีฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว ที่สามารถหนุนให้พระองค์เข้าไปเป็นทหาร มหาดเล็ ก กระทั่ง ก้ าวไปสู่ ตาแหน่ง เจ้า เมื องตากได้ใ นที่สุ ด ซึ่ ง ทาให้ พระองค์ เกิ ด ความชอบธรรมในการมี ค่า ยขุ มก าลัง ของตนเอง อัน ประกอบด้ วยทหารเชื้อ ชาติ ไทย – จีน ประมาณหนึ่งพันคน เมื่อกรุงศรีอยุธยาแตก พระเจ้าตากถอยทัพออกจากพระนครศรีอยุธยาไป ทางหั ว เมื อ งชายฝั่ ง ทะเลทางตะวั น ออก โดยมี ป ระณิ ธ านที่ จ ะฟื้ น ฟู อ าณาจั ก ร ที่แตกแยกออกเป็นกลุ่มก๊กต่างๆ ให้รวมเข้าเป็นแผ่นดินเดียวกัน ซึ่งไม่ใช่มุ่ง หมาย เพียงเพื่อปกป้องขอบเขตอานาจของตนเอง เหมือนเช่นกลุ่มก๊กต่างๆ ประณิธานที่ กว้างไกลนี้ ทาให้ก๊กของพระเจ้าตากมีพลังที่จะต่อสู้มากกว่าก๊กอื่น ๆ ซึ่งพระองค์ได้ ปราบปรามซ่อง ก๊ก ตามหัวเมืองต่างๆ เพื่อสะสมกาลังอานาจ รวมทั้งกวาดต้อนผู้คน มาอยู่ในกรุงธนบุรี อันเป็นกระบวนการขึ้นสู่ความเป็นผู้นาทางการเมือง อีก ประเด็น หนึ่ง ที่น่ าสนใจคือ บทบาทอ านาจของพระเจ้า ตากในขณะที่ พระองค์ น าก าลั ง ปราบปรามหั ว เมื อ งตะวั น ออก ที่ แ ม้ จ ะทรงตั้ ง ตนเป็ น เจ้ า แล้ ว แต่พระองค์กลับแสดงบทบาทอานาจอย่างเรียบง่าย คือมีความใกล้ชิดกับไพร่พล ตลอดเวลา โดยปราศจากพิธีกรรมอย่างสมมุติเทพ

พระเจ้าตากถูกสาเร็จโทษหรือไม่ ? โดยพื้น ฐานของทางการเมืองแล้ว “การเมืองที่ไม่สามารถปราบดาอานาจ โดยไม่สามารถกาจัดอีกฝ่ายหนึ่งได้อย่างเด็ดขาด ย่อมเสมือนตีงูให้หลังหัก” เนื่องจาก การเมืองไทยในอดีตเป็นการเมืองที่ “ไม่ไว้หน่อ” เพราะหากละเว้นชีวิตผู้หนึ่งผู้ใดที่ อยู่ฝ่ายตรงข้ามทางการเมืองแล้ว ย่อมจะกลายเป็นภัยต่อความมั่นคงทางการเมืองใน ภายหลัง ดั ง นั้ น ผู้ที่ อยู่ ฝ่า ยตรงข้า ม ย่อ มถูก กวาดล้า งเป็น ธรรมดาของการเมื อ ง ในอดีต


เส้นทางเดินทัพพระยาตาก : จากวัดพิชัย สู่วัดพรานนก องค์ การบริ หารส่ วนจั งหวั ดพระนครศรี อยุ ธยา ก าลั ง ด าเนิ น โครงการเส้ น ทางเดิ น ทั พ พระยาตาก ซึ่งโครงการนี้เป็นการกาหนดเส้นทางท่องเที่ยวตาม รายทาง เริ่ม ต้น จากวัด พิชั ยสงคราม สู่ วัดพรานนก ตาบลโพสาวหาญ อ าเภออุ ทั ย โดยมี กิ จ กรรมย่ อ ย ดังต่อไปนี้ ๑. การทาเส้นทางท่องเที่ยวศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตชาวบ้าน จากวัดพิชัยสงคราม ไปยังวัดพรานนก อาเภออุทัย ๒. การก่อสร้างอนุสรณ์สถานตามรายทาง ๓. การก่ อ สร้ า งพระบรมราชานุ สาวรี ย์ สมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น มหาราช ที่วัดพรานนก อาเภออุทัย ตลอดเส้นทางเดินทัพของพระยาตากจากวัดพิชัยสู่วัดพรานนก ระยะทาง ประมาณ ๒๘ กิ โ ลเมตรนั้ น มี วั ด และอนุ ส รณ์ ส ถานที่ ส าคั ญ โดยเริ่ ม จาก วัด พิ ชั ยสงคราม ริ มแม่ น้ าป่า สั ก อ าเภอพระนครศรี อยุ ธ ยา ต่ อ ด้ วยวั ด พระญาติ วั ด กะสั ง ข์ อนุ ส รณ์ ส ถานบ้ า นหั น ตรา (เป็ น ที่ ตั้ ง ของวั ด หั น ตรา) วั ด สะแก อนุสรณ์สถานบ้านข้าวเม่า-ธนู (เป็นที่ตั้งของวัดโกโรโกโส) วัดขุนทิพย์ อนุสรณ์สถาน คลองชนะ (เป็นที่ตั้งของวัดขุนทราย) อนุสรณ์สถานวัดสามบัณฑิต (เป็นที่ตั้งของวัด สามบัณฑิต) วัดขนอน วัดโคกโพธิ์ อนุสรณ์สถานเจ้าแม่โพสาวหาญ (เป็นที่ตั้งของวัด โพสาวหาญ) วัดลุ่ม และวัดพรานนก อาเภออุทัย ซึ่งจะเป็นสถานที่ตั้งพระบรมราชานุ สาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โครงการเส้ น ทางเดิ น ทั พ พระยาตากนี้ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ก าลั ง ด าเนิ น การเป็ น ส่ ว นๆ โดยเฉพาะในส่ ว นที่ ส ามารถ ด าเนิ น การได้ ทั น ที คื อ การติ ด ตั้ ง ป้ า ยเส้ น ทางเดิ น ทั พ และเสนอแบบก่ อ สร้ า ง อนุ ส รณ์ ส ถานตามรายทาง ส่ ว นโครงการก่ อ สร้ า งพระบรมราชานุ ส าวรี ย์ พระเจ้าตากสินนั้น กาลังอยู่ระหว่างขั้ น ตอนการขอพระบรมราชานุญ าตก่อสร้า ง ซึ่งจะต้องใช้เวลาพอสมควรในการดาเนินโครงการดังกล่าวจนแล้วเสร็จ


ตามรอยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ค่ายโพธิ์สามต้น สาหรับในช่วงบ่ายเป็นกิจกรรมออกภาคสนาม “ตามรอยสมเด็จพระเจ้าตาก สินมหาราช” ณ แหล่งประวัติศาสตร์ในจัง หวัดพระนครศรีอ ยุ ธยา โดยเริ่มจาก สถานที่แรกคือ ค่ายโพธิ์สามต้น อาเภอบางปะหัน อันเป็นสถานที่ตั้ง ค่ายของข้าศึก ภายหลัง จากที่มี ชัยชนะเหนือ กรุ งศรี อยุธ ยา ก่อ นที่ส มเด็ จพระเจ้าตากสิ น จะน า ไพร่พ ลจานวนหนึ่ง มาตี ค่ ายโพธิ์ สามต้ นจนสามารถขับ ไล่ข้ า ศึก ออกจากดิ นแดน พระนครศรีอยุธยาได้ สภาพของค่ายโพธิ์สามต้นในปัจจุบันตั้งอยู่บริเวณชายนา ริมบึงน้าบนที่ดิน ของเอกชน ไม่ไกลจากคลองชลประทาน ซึ่งเป็นแม่น้าโพธิ์สามต้น หรือแม่น้าลพบุรี สายเดิม อันเป็นลาน้าที่ไหลลงมาออกปากคลองบางขวด ตรงทานบรอ ที่พระนคร กรุงศรีอยุธยา ซึ่งบริเวณค่ายโพธิ์สามต้นนั้น มีการจัดเป็นศาลสมเด็จพระเจ้าตากสิน สาหรับให้บุคคลทั่วไป เดินทางมาสักการะ และราลึกถึงวีรกรรมของพระองค์ การมาเยือนค่ายโพธิ์สามต้นครั้งนี้ คณะเดินทางได้มีโอกาสพบปะพูดคุยกับ ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในละแวกนั้น โดยชาวบ้านได้เล่าถึงการค้นพบวัตถุโบราณประเภท เครื่องใช้มีคม เช่น มีดดาบโบราณ ในทุ่งนาใกล้กับที่ตั้งศาลพระเจ้าตาก พร้อมกับพา คณะเข้าชมมีดดาบโบราณที่เก็บรักษาไว้เป็นอย่างดี โดยสภาพของมีดดาบนั้นเหลือ เพียงใบมีดที่ ผุกร่อนเป็นสนิม จานวน ๓ เล่ม

สนทนาเกี่ยวกับสถานที่ตั้งค่ายโพธิ์สามต้น และแม่น้าโพธิ์สามต้นที่ไหลไปออกปากคลองบางขวดที่หัวรอ


ชาวบ้านบรรยายถึงสถาพบริเวณค่ายโพธิ์สามต้น ซึ่งในปัจจุบันตั้งเป็นศาลสมเด็จพระเจ้าตากสิน

ชมมีดดาบโบราณที่ชาวบ้านพบในละแวกค่ายโพธิ์สามต้น ซึ่งได้เก็บรักษาไว้เป็นอย่างดี

สภาพค่ายโพธิ์สามต้นในปัจจุบัน


วัดเกาะแก้ว วั ด เกาะแก้ ว เป็ น วั ด ที่ ตั้ ง อยู่ ริ ม แม่ น้ าป่ า สั ก ฝั่ ง นอกเกาะเมื อ ง ในย่ า น ปากคลองข้าวสาร และปากคลองสวนพลู ซึ่งในอดีตเป็นย่านชุมชนชาวจีนสาคัญ แห่งหนึ่งของกรุงศรีอยุธยา เป็นที่จอดเรือสาเภาและเรือกาปั่น จึงเป็นย่านผลิตสินค้า และย่า นการค้า ของชาวจี น ซึ่ งพระเจ้ าตากสิ น ทรงพระราชสมภพที่ อ ยุธ ยา เมื่ อ พ.ศ.๒๒๗๗ ในครอบครั วพ่ อ ค้า จึ งสั น นิษ ฐานว่ า ละแวกวั ดเกาะแก้ ว น่ า จะเป็ น นิ ว าสสถานเดิ ม ของสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น และนอกจากนั้ น ยั ง เชื่ อ ว่ า บริ เ วณ วัด เกาะแก้ ว เป็ น ที่ ตั้ ง ค่ า ยของพระยาตากอี ก แห่ ง หนึ่ ง ก่ อ นที่ จะขึ้ น ไปตั้ ง ค่ า ยที่ วัดพิชัยสงคราม

วัดเกาะแก้ว ตั้งอยู่บริเวณปากคลองข้าวสาร และปากคลองสวนพลู เป็นย่านชุมชนชาวจีนสาคัญแห่งหนึ่ง ที่สันนิษฐานว่าเป็นนิวาสสถานเดิมของสมเด็จพระเจ้าตากสิน

วัดพิชัยสงคราม วัดพิ ชัย สงคราม เป็ นสถานที่ซึ่ งพระเจ้า ตากสิน คุม กองกาลัง เพื่อ ปกป้อ ง พระนครอยู่นอกกาแพงกรุงศรีอยุธยา บ้างก็กล่าวว่าเป็นสถานที่ที่พระเจ้าตากสินพา ไพร่พลข้ามแม่น้าป่าสัก หรือคูขื่อหน้าในอดีต มาขึ้นที่ท่าน้าหน้าวัดพิชัย ก่อนจะนา กาลัง ๕๐๐ คน ตีฝ่าวงล้อมของกองทัพข้าศึกมุ่งสู่หัวเมืองด้านตะวันออก


วัดพิชัยสงคราม สถานที่ตั้งทัพของพระยาตาก ก่อนถอยทัพออกหัวเมืองตะวันออก

กิ จ กรรมเสวนาทางวิ ชาการเรื่ อ ง มุ ม มอง ใหม่ ใ นประวั ติ ศ าสตร์ พระเจ้า ตากสินมหาราช และการออกภาคสนามครั้ง นี้ ผู้ เข้ าร่ว มกิจ กรรมได้ รับ รู้ มุมมองใหม่ๆ ในการศึกษาประวัติศาสตร์ใ นสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสิน โดยเฉพาะ ข้อ เตื อนใจส าหรับ ผู้ศึ ก ษาที่ว่ า “เหรีย ญย่ อมมี สองด้ าน” ไม่ค วรเชื่ อ ถือ ข้อ มูล ใด ข้ อ มู ลหนึ่ ง เพี ย งด้ า นเดี ย ว โดยนั ก ศึ ก ษาประวั ติ ศ าสตร์ จ ะต้ อ งพิ จ ารณาเอกสาร อย่ า งถ่ อ งแท้ และวิ เ คราะห์ วิ จ ารณ์ อ ย่ า งระมั ด ระวั ง เพื่ อ ให้ ส ามารถเข้ า ใจ ประวัติศาสตร์สมัยนี้ได้อย่างรอบด้าน ไม่มืดบอดอยู่กับตาราที่ถูกหยิบยื่นโดยภาครัฐ แต่เพียงเท่านั้น


แผนที่ท่องเที่ยวศึกษาประวัติศาสตร์ “ตามรอยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช”


บทความ คุณค่าจากการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ทางวิชาการ ด้านภูมปิ ัญญาท้องถิ่น จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ดร.พรเทพ รู้แผน* ดร.นริสานันท์ เดชสุระ* สถาบันอยุธยาศึกษาได้ดาเนินการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการ ด้านภูมิ ปัญ ญาท้ องถิ่ นในจั งหวั ดพระนครศรี อยุธ ยา เพื่ อเป็น การพัฒ นา อนุ รัก ษ์ ส่งเสริม สืบสาน เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญ ญาท้องถิ่น ซึ่ง จากการได้ลง พื้นที่อาเภอต่างๆ คือ อาเภอบางไทร อาเภอลาดบัวหลวง อาเภอวังน้อย และอาเภอ บางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ส่งผลให้ทั้งผู้บริหารและนักวิชาการของสถาบั น อยุ ธยาศึก ษาได้รั บรู้ เรี ยนรู้ คุณ ค่า ที่ ถูก ซ่อ นอยู่ เบื้ อ งหลัง ภู มิปั ญ ญาท้อ งถิ่ น ต่า งๆ เหล่านั้น ซึ่งจากการเรียบรียงข้อมูลของภูมิปัญญาท้องถิ่น มีรายละเอียด ดังนี้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นของอาเภอบางไทร อาทิ เช่น การทาขวัญ นาค หมอยก ศาลพระภูมิ ม้าแห่นาค ดอกไม้ประดิษฐ์ เล่นดนตรีไทย การทาขนมไทย ประดับมุก ทาจักสานจากต้นโสนหางไก่ และละครไทย-ลิเก จากการเสวนาแลกเปลี่ยนส่งผลให้ ได้เรียนรู้จึงจุดเริ่มต้นในการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นนั้น มีทั้งเป็นมรดกสืบทอดจาก ครอบครัว บรรพบุรุษ จากการสั่งสอนของพระ เช่น การทาขวัญนาค จากการคิดค้น ขึน้ ด้วยตัวเอง เช่น การเล่นดนตรีไทย ม้าแห่นาค ประดับมุก และการประกอบอาชีพ ตามแนวพระราชดาริ องค์ความรู้ที่ได้รับจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อาเภอบางไทรนั้นเป็นความรู้ จากตัวบุคคล ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีความรักในอาชีพ รักในความเป็นท้องถิ่น ของตน แต่ละภูมิปัญญามีความโดดเด่น เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตนดังนี้

*

รองผู้อานวยการสถาบันอยุธยาศึกษา


- คุณจะเด็จ สาสาร ภูมิปัญญาด้านละครไทย และลิเก ได้มีการสืบทอดจาก ปู่ย่าตายาย และบิดา มารดา มีการฝึกฝนให้เกิดทักษะด้านศิลปะการแสดง เพื่อเป็น มรดกทางวัฒนธรรมท้องถิ่น และส่งเสริมทักษะด้านศิลปะการแสดง เพื่อเป็นมรดก ทางวัฒ นธรรมท้องถิ่น และส่งเสริมทักษะด้านศิลปะการแสดง เพื่อเป็นมรดกทาง วัฒนธรรมท้องถิ่น และส่งเสริมให้เด็ก เยาวชนในหมู่บ้านได้มีรายได้เสริม เพื่อใช้เป็น ทุนการศึกษา

- คุณสมบัติ ธนภาชน์ ภูมิปัญญาด้านม้าแห่นาค ได้มีการเรียนรู้จากคนเฒ่า คนแก่ ในหมู่บ้าน ซึ่งลักษณะเฉพาะของม้าแห่นาคนั้น ต้องมีการคัดเลือกม้าฝึกหัด ต้องเป็นม้าเพศผู้ ลักษณะดี ไม่พิการ และนามาสร้างความคุ้นเคยกับผู้ที่จะฝึกหัดม้า ให้มีความรัก ความผูกพันซึ่งกันและกัน ฝึกการปฏิบัติตามคาสั่ง เช่น เดิน หยุด นอน ฝึกการยกขาตามจังหวะเพลง ซึ่งใช้เวลาประมาณ ๑-๕ เดือน คนที่จะบังคับม้าได้ดี ต้องเป็นคนรักสัตว์ เป็นหนึ่งเดียวกับม้า ซึ่งคน ๑ คน จะบังคับม้าได้เพียงตัวเดียว เท่านั้น และต้องมีการพัฒนาตนเองโดยการค้นคว้า หาวิธีการแสดงม้า การเต้นใน ลักษณะใหม่ๆ เพื่อส่งผลให้ผู้ชมมีความเพลิดเพลินไปกับความสามารถของผู้บังคับม้า และม้าคู่ใจ - คุ ณ พะยอม กล าภากร ภู มิ ปั ญ ญาด้ า นหมอท าขวั ญ นาค และยกศาล พระภูมิ มีการเรียนรู้จากการอ่านตาราของพ่อ การสั่งสอนจากพระอาจารย์ ซึ่งการ ทาขวัญ นาคนั้นมีเอกลักษณ์คือ ลูกคอของหมอทาขวัญ มีเสียงใสกังวาน และมีลีลา เฉพาะบุคคล


- คุ ณ ส าราญ เข็ ม ปั ญ ญา ภู มิ ปั ญ ญาด้ า นท าขนมไทย เช่ น เม็ ด ขนุ น ทองหยอด ฝอยทอง สังขยา วุ้น ข้าวตัง ตะโก้ ข้าวเหนียวมูลซึ่งเป็นการสืบทอดมา จากบรรพบุรุ ษ และคิด ค้น สูตรเพิ่ มเติม เช่ น เม็ ดขนุนจะใช้เ ผือ กแทนถั่ ว และใส่ มะพร้าวน้าหอมกวนให้เนื้อเข้ากัน จะมีเอกลักษณ์คือความหอมมัน - คุณสมถวิล สุคันธชาติ ภูมิปัญญาด้านดอกไม้ประดิษฐ์จากต้นโสนหางไก่ โดยการนาต้นโสนไปตากแห้ง และนามาฝานเป็นแผ่นบางๆ นามาตัดเป็นกลีบตาม ลักษณะของกลีบดอกไม้ นามาประกอบเป็นดอก เป็น ช่อ ติดใบ และจัดแจกันให้ สวยงาม จากนั้นเพิ่มความหอมละมุนละไมโดยนาไปอบน้าหอม

ภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น อ าเภอาาบบว ห ลาหง มี ภู มิ ปั ญ ญาที่ ห ลากหลาย เช่ น ด้ า นดนตรี ไ ทย (ขลุ่ ย ) การเล่ น แตรวง การปลู ก ผั ก ปลอดสารพิ ษ การท านา ทาไร่สวนผสม น้าอ้อยสดแปรรูป กลุ่มน้าพริก การผลิตผลิตภัณฑ์จากรกมะพร้าว ไม้แขวนเสื้อจากผ้า เป็นต้น ซึ่งรายละเอียดภูมิปัญญามีดังนี้ - ร.ต.มณี อารีราษฎร์ ภูมิปัญญาด้านดนตรีไทย (ขลุ่ยไทย) ได้มีการเรียนรู้ ดนตรีไทยจากขุนวิลาศจรรยา และได้เข้าทางานเป็นทหารม้าย้ายไปประจาที่กรมข่าว ทหารบก จนเกษียณอายุราชการ และกลับมาอยู่บ้านที่จัง หวัดพระนครศรีอยุธยา ได้มีการถ่ายทอดภูมิปัญญา โดยการสอนให้เยาวชนในชุมชนและนักเรียนในโรงเรียน ต่างๆ ได้รู้จักดนตรีไทย และรักดนตรีไทย มีความสามารถด้านดนตรี - คุณอเนก เพ็งสุพรรณ ภูมิปัญญาด้านการทานาทาไร่สวนผสม ซึ่งเป็นมรดก สืบทอดของครอบครัว และเป็ นการประกอบอาชี พ โดยการน้อมน าหลัก ปรัชญา


เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง แนวทางของคุ ณ อเนกมี ก ารปลู ก พื ช เลี้ ย งสั ต ว์ ล ดต้ น ทุ น เน้นความพออยู่ พอกิน พึ่งพาตนเองได้ - คุณประจวบ คาหวั่น ภูมิปัญญาด้านการแปรรูปน้าอ้อยสด ซึ่งเป็นอาชี พที่ คิด ค้ น ขึ้น มาด้ วยตนเอง การแปรรู ปมี ค วามหลากหลาย เช่ น ขนมกวน ปุ่ ย หมั ก ปลาเผาชาญอ้อย จาหน่ายในร้านอาหารหลักชัยปลาเปาอบชานอ้อย - คุณมาเรียม สุพั ตร ภูมิปัญญากลุ่ม น้าพริกเป็นอาชีพ ที่คิดค้นขึ้นมาด้ว น ตนเอง ซึ่ง น้ าพริ กมีห ลากหลายประเภท เช่น น้าพริกแกง พริก แกงส้ม พริก แกง เขียวหวาน พริกแกงมัสมั่น น้าพริกเผาแมงดา น้าพริกเผาตาแดง น้าพริกปลาดุกฟู น้าพริกทุกชนิด ผ่าน อย.จากกระทรวงสาธารณสุขแล้ว - คุณไอริน ยืนยงค์ ภูมิปัญญาผลิตภัณฑ์จากรกมะพร้าวเข้ากรอบกระจก เป็นอาชีพที่คิดค้นขึ้นมาด้วยตนเอง มีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เน้นการออกแบบที่ สวยงาม ทันสมัย และการประดิษฐ์ที่ประณีต เพื่อความแข็งแรง ทนทาน

ผู้อ่านหลายท่านอาจมีข้อสงสัยอยู่ในเบื้องลึกของจิ ตใจว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น นั้นคืออะไร มีความครอบคลุมสิ่งใดบ้าง มีความสาคัญต่อประชาชนในประเทศชาติ อย่างไรบ้าง ภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ องค์ความรู้ของกลุ่มบุคคลท้องถิ่น และรวมถึง งานศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านที่มีอยู่ ซึ่งแบ่งเป็น ๓ ประเภท คือ ๑. ภูมิปัญญาประเภท ความรู้ของบุคคลท้องถิ่น เช่นการผลิตอาหาร ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ผลิ ตภัณฑ์จาก วั ส ดุ เ หลื อ ใช้ เป็ น ต้ น ๒. ภู มิ ปั ญ ญาประเภทงานศิ ล ปวั ฒ นธรรมพื้ น บ้ า น เช่ น เรื่ อ งเล่ า พื้ น บ้ า น กวี นิ พ นธ์ เพลง ดนตรี พื้ น บ้ า น ละครพื้ น บ้ า น จิ ต รกรรม ประติ ม ากรรมพื้ น บ้ า น หั ต ถกรรมพื้ น บ้ า น เครื่ อ งแต่ ง กาย และสิ่ ง ทอพื้ น บ้ า น


และ ๓. ทรัพยากรพันธุกรรม หมายรวมถึง สิ่งมีชีวิต หรือ องค์ประกอบที่เกี่ยวกับ สิ่ ง มี ชี วิ ต ของระบบนิ เ วศ ซึ่ ง มี คุ ณ ค่ า ตามความเป็ น จริ ง แล ะตามศั ก ยภาพ เช่น พืชสมุนไพรต่างๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน องค์ความรู้ทางด้านภูมิปัญ ญาท้องถิ่นมี ปัญหามา เป็นระยะเวลาช้านาน ซึ่ง ปัญหาของการส่งเสริมภูมิปัญ ญาท้องถิ่นไทยในปัจจุบัน คือ การไม่ได้รับการคุ้มครองภูมิปัญญาท้องถิ่น เนื่องจากในปัจจุบันประเทศยังไม่มี กฎหมายเฉพาะที่คุ้มครองภูมิปัญญาท้องถิ่น แต่มีกฎหมายอยู่บางส่วนที่เป็นกฎหมาย ใกล้เคียงสามารถนามาใช้เพื่อวัตถุประสงค์ในการคุ้มครองภูมิปัญญาท้องถิ่นบางสาขา ได้แก่ ๑.พ.ร.บ. คุ้ ม ครองพั น ธุ์ พื ช พ.ศ. ๒๕๔๒ อยู่ ภ ายใต้ ก ารก ากั บ ดู แ ลของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้ การคุ้ มครองพัน ธุ์พืช พื้นเมื องเฉพาะถิ่น พั นธุ์พื ช พื้นเมืองทั่วไป และพันธุ์พืชใหม่ ๒.พ .ร .บ. คุ้ ม ครอง และส่ ง เสริ มภู มิ ปั ญ ญาก าร แพ ทย์ แ ผน ไทย และการแพทย์ทางเลือก อยู่ภายใต้การกากับดูแลของกระทรวงสาธารณสุข ให้การ คุ้มครองตารับตารายาสมุนไพร แหล่ง อนุรักษ์สมุนไพร และภูมิปัญ ญาการแพทย์ แผนไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทยถูกต่างชาตินาไปใช้ประโยชน์โดยไม่ได้ขออนุญาต อีกทั้ งฐานข้อ มูลภู มิปั ญญาท้ องถิ่นของไทย กระจัด กระจายอยู่ ที่หน่ วยงานต่ างๆ มีความซ้าซ้อน และอยู่ในรูปแบบเอกสาร และคาบอกเล่า ดังนั้นการอนุรักษ์และสืบ สานภูมิปัญญาท้องถิ่น ควรมีรูปแบบหรือแนวทางต่างๆ ดังนี้ ๑.การค้นคว้าวิจัย ควรมีการเก็บรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาของไทย ในด้าน ต่า งๆ ของท้ อ งถิ่ น โดยมุ่ ง ศึ ก ษาให้ รู้ ถึ ง ความเป็ น มาในอดี ต และสถานการณ์ ใ น ปัจจุบัน ๒.การอนุ รั ก ษ์ ควรปลู ก จิ ต ส านึ ก ให้ เ ยาวชนและประชาชนในท้ อ งถิ่ น ตระหนักถึงคุณค่า แก่นสาระและความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์ รวมทั้งสนับสนุนให้มีพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น หรือพิพิธภัณฑ์พื้นบ้ าน เพื่อแสดงสภาพชีวิต และสร้างความภาคภูมิใจในท้องถิ่น


๓. การฟื้นฟู ควรเลือกสรรภูมิปัญญาที่กาลังสูญหาย หรือสูญหายไปแล้วมา พัฒนาให้เกิดคุณค่า ๔.การพั ฒ นา ควรริ เ ริ่ ม สร้ า งสรรค์ แ ละปรั บ ปรุ ง ภู มิ ปั ญ ญาให้ มี ค วาม สอดคล้อง เหมาะสมกับยุคสมัยและเกิดคุณค่าในการดาเนินชีวิตประจาวัน โดยใช้ ภูมิปัญญาเป็นฐานในการพัฒนาอาชีพต่างๆ ๕.การถ่ายทอด ควรนาภูมิปัญญาที่ผ่านการเลือกสรรไปถ่ายทอดให้คนใน ชุมชน สังคม ได้เรียนรู้ เกิดความเข้าใจ และเห็นประโยชน์ในทางปฏิบัติ ๖.การเผยแพร่แลกเปลี่ยน ควรส่งเสริมให้มีการเผยแพร่และแลกเปลี่ยน ภูมิปัญญาทั้งในระดับท้องถิ่น ประเทศ และนานาประเทศ ๗.การยกย่องภูมิปัญญาท้องถิ่น ควรส่งเสริมการให้รางวัล ประกาศเกียรติ คุณต่างๆ และพัฒนาศักยภาพภูมิปัญญาให้มีสมรรถนะเพิ่มขึ้น

การ ค้นคว้าวิจัย การยกย่อง ภูมิปัญญา ท้องถิ่น

การเผยแพร่ แลกเปลี่ยน

การอนุรักษ์ การอนุรักษ์ และสืบสาน ภูมิปัญญาท้องถิ่น

การถ่ายทอด

การพัฒนา

การพื้นฟู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.