สารสถาบันอยุธยาศึกษา ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 กรกฎาคม-กันยายน 2555

Page 1


สาร...สถาบันอยุ อ ธยาศึกษา ษ ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๘ กรกกฎาคม – กันยาายน ๒๕๕๕ เจ้าของ ข สถาบันอยุ อ ธยาศึกษา มหหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๙๖ ถนนนปรีดีพนมยงค์ อ.พระนครศรีอยุ อ ธยา จ.พระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๓๕-๒๔๔-๐๐๓๓ โทรสาร ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ ๐ ๗ เว็บไซต์ http://www.aayutthayastuddies.aru.ac.th ป วัตถุประสงค์ น ธยาศึกษาสู่สาธารณชนอย่างต่ า อเนื่อง ๑. เพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสถาบันอยุ น ธยาศึกษาทีถูถ่ กต้องสู่สาธารณชน ๒. เพื่อเผยแแพร่ความรู้ด้านอยุ การเผยแพร่ ปีละ ๔ ฉบับ (รราย ๓ เดือน) จํานววนที่พิมพ์ ๕๐๐ เล่ม ที่ปรึกษา ก ม ผู้ช่วยศาสตราจจารย์พันทิพา มาลา ผู้อํานวยการสถาาบันอยุธยาศึกษาามหาวิทยาลัยราาชภัฏพระนครศรีรีอยุธยา ฝ่ายส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ คณะะผู้จัดทํา นายพรเทพ รูแผน ้แ นายพัฑร์ แตงพพันธ์ นายอายุวัฒน์ ค้คาผล นายอายุวัฒน์ ค้คาผล ศิลปกรรม โ มพ์เทียนวัวัฒนาพริ้นท์ติ้ง ๑๖/๗ ถ.เดชชาวุธ ต.หอรัตนนไชย โรงพิ พิมพ์ที่ อ.พระนครศรีอยุ อ ธยา จ.พระนนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ ๑ โ ๐๓๕-๒๔๔๑๕๗๘, ๐๓๕-๒๒๔๓๓๘๖ โทรรสาร ๐๓๕-๓๒๒๓๓๙๖ โทร. ภาพปปก ภาพถ่ายปากคลลองมหาไชย ๑ บันทึกภาพโดยย นายพัฑร์ แตงงพันธ์


ถ้อยแถลง สถาบันอยุธยาศึกษา เป็นหน่วยงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ที่ทําหน้าที่ด้านการอนุรักษ์ ส่งเสริม เผยแพร่ พัฒนาศิลปวัฒนธรรม วิถีชีวิต ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่ อเป็ นแหล่ งเรี ยนรู้ ให้ บริ การข้ อมู ลกั บสั งคม จึ งได้ จั ดทํ าสาร....สถาบั นอยุ ธยาศึ กษา เพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสถาบันอยุธยาศึกษา และเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับ ประวั ติ ศ าสตร์ ศิ ล ปวั ฒ นธรรม และภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น รวมถึ ง สร้ า งจิ ต สํ า นึ ก ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สําหรับในไตรมาสที่ผ่านมา (มิถุนายน–กันยายน ๒๕๕๕) สถาบันอยุธยาศึกษา ได้จัดกิจกรรมทางวิชาการหลายกิจกรรม โดยเฉพาะกิจกรรมที่สังคมให้ความสนใจ เป็นอย่างมากคือ กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องหลักทศพิธราชธรรม ๑๐ ประการ กิจกรรมการฟื้น ฟูร ะบบนิเ วศริม แม่น้ํ าลํา คลอง และกิ จกรรมเสวนาทางวิชาการ เรื่อง สังคมนานาชาติ: กรุงศรีอยุธยากับฝรั่งเศส เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีบทความเรื่อง “คลองมหาไชย ตลาดหัวรอ คลองประวัติศาสตร์ แห่ ง พระนครศรี อ ยุ ธ ยา” และบทความเรื่ อ ง “ศิ ล ปวั ฒ นธรรมอาเซี ย นน่ า รู้ : สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์” คณะผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจาก ทุกท่าน ขอขอบคุณสําหรับการติดตามและพบกันใหม่ฉบับหน้า

ผู้จัดทํา


สารบัญ หน้า กิจกรรมของสถาบันอยุธยาศึกษา ประจําไตรมาสที่ ๔ (มิถุนายน – กันยายน ๒๕๕๕)

บทความคลองมหาไชย ตลาดหัวรอ คลองประวัตศิ าสตร์ แห่งพระนครศรีอยุธยา

๑๗

บทความศิลปวัฒนธรรมอาเซียนน่ารู้ : สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์

๒๓

แนะนําหนังสืออิเล็กทรอนิกส์บนเว็บไซต์สถาบันอยุธยาศึกษา

๓๑


กิจกรรมมของสถาบบันอยุธยาศึศึกษา ประจําไตรมาสที า ที่ ๔ (มิถุนายน า – กันยายน ย ๒๕๕๕๕) กิจกรรมจริ ก ยธรรรมสัมพันธ์ เมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๕๕ ที่ผ่านมา น สถาบันอยุ อ ธยาศึกษา ได้จัดกิจกรรรม “จริยธรรมสัมพันธ์ น ” ณ ห้องปประชุม ๓๑๗ มหาวิทยาลัยราชภั ย ฏพระนครศรีอยุธยา ย ห ดอบรมครั อ ้งนี้ แบบ่งเป็น ๒ เรือง ่อ คือ เนื้อหาในการจั ๑. การบบรรยายให้ควาามรู้ในหัวข้อเรื เ ่อง “เรียนออย่างไรให้มีความสุ ว ขทุกมุม” ม จ คุณนิเวศศน์ กันไทยราษษฎร์ มาเป็นวิทยากรให้กับนั บ กศึกษาขออง โดยไได้รับเกียรติจาก มหาวิทยาลัยราชภภัฏพระนครศศรีอยุธยา ชั้นปีที่ ๑ จํานวนน ๒๕๐ คน เพืพื่อส่งเสริมแลละ สร้ า งค่ า นิ ย มให้ กั บ เยาวชนไได้ มี คุ ณ ธรรมม จริ ย ธรรม มี ค วามปร ะพฤติ ที่ ดี ง า ม น าเนินชีวิตให้สําเร็จในนทุกมุม วิธีปฏิบัติตนในกาารสร้างความสสุขในการเรียนและดํ ๒. การศึกษาแหล่ ก งเรียนรู น ้โบราณสถานในมหาวิทยาาลัยราชภัฏพรระนครศรีอยุธยา ย แ สรณ์สถานเฉกอะหมั ถ มัด เช่น วัดสวนหลวงคค้างคาว วัดบรรมพุทธาราม วัดสิงหาราม และอนุ เป็ น ต้ น โดยให้ นันั ก ศึ ก ษาของ มหาวิ ท ยาลั​ั ย ราชภั ฏ พร ะนครศรี อ ยุ ธยา ธ ชั้ น ปี ที่ ๑ ว าใจเกี่ยวกั ย บประวัติความเป็ ค นมาขอองโบราณสถาน จํานววน ๓๕๐ คน ได้มีความรู้ความเข้ ในมหาวิทยาลัย เกิดจิตสํานึกในการร่ ใ วมกันอนุ น รักษ์แหลล่งศิลปกรรมและความเป็น เอกลลักษณ์ของไทย


การรศึกษาดูงานนของนักศึกษา ษ มหาวิทยาลั ย ยราชภัภัฏราชนครินนทร์ เมื่อวันพฤฤหัสบดีที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๕๕ ที่ผ่านมา มหหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ท ได้นําคณะอาจารรย์และนักศึกษาสาขาวิ ก ชานาฏดุ า ริยางคคศิลป์ไทย จําานวน ๖๐ คน มาศึกษาดูงานด้านศิลปวัฒนธรรรม ณ สถาบั​ันอยุธยาศึกษา ษ โดยมี ผศ.พพันทิพา มาลลา ผู้ อํ านวยการสถ า าบั น อยุ ธ ยา ศึ ก ษา ดร.นนริ ส านั น ท์ เดชสุ เ ร ะ รองงผู้ อํ า นวยกาาร สถาบบันอยุธยาศึกษา ษ และเจ้าหน้าทีท่ให้การต้อนรั​ับ ซึ่งมีนายพัฑร์ ฑ แตงพันธ์ นักวิชาการศึกษา ษ ด้านประวัติศาสตร์ เป็นวิทยากกรนําชม และใในการศึกษาดูดูงานครั้งนี้คณะอาจารย์ ณ และ ล นักศึกษามีความสสนใจในประวัวัติศาสตร์ ศิลปวั ล ฒนธรรม และภูมิปัญญาท้ ญ องถิ่นขออง จังหววัดพระนครศรีอี ยุธยาเป็นอย่ อ างมาก


กิจกรรมอบรมใ ก ให้ความรู้เรื่องหลักทศพิพิธราชธรรมม ๑๐ ประกการ เมื่อวันพฤหั พ สบดีที่ ๒๘ ๒ มิถุนายน ๒๕๕๕ ที่ผ่านมา า สถาบันอยุ น ธยาศึกษา ษ ได้ จั ด กิ จ กรรมออบรมให้ ค วาามรู้ เ รื่ อ งหลัลั ก ทศพิ ธ รา ชธรรม ๑๐๐ ประการขึ้ น ณ ห้องประชุม ๓๑๗ ๓ มหาวิทยาลั ท ยราชภัฏพระนครศรี ฏ อยุธยา โดยมีมีวัตถุประสงค์ เพื่อปลู ป กจิตสํานึกให้ ใ มีความรักในสถาบั ใ นพระะมหากษัตริย์และนําหลักทศพิ ท ธราชธรรรม ๑๐ ประการ ป ไปใช้ช้ในการดําเนินงาน น การอบรมครั้งนี้ได้รับเกี เ ยรติจาก ดรร.ชินกร ไกรลาาศ ศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ และอาจารรย์ สุ จ ริ ต บั วพิ ว ม พ์ นั ก วิ ชาการวั ฒ นนธรรมอาวุ โ ส เป็ น วิ ท ยากรบร รยายให้ ค วาามรู้ โดยผู้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กร รมเป็ น นั ก ศึ กษาชั้ น ปี ที่ ๑ น ๒๐๐ ค น คณะะวิ ท ยาการจั​ั ด การ และคคณะวิ ท ยาศาาสตร์ แ ละเทคคโนโลยี จํ า นวน นั ก ศึ ก ษาที่ ไ ด้ รั บ การอบรมในนครั้ ง นี้ มี ค วา มรู้ ค วามเข้ าใจในหลั า ก ทศศพิ ธ ราชธรร ม และสสามารถนําความรู้ที่ได้รับไปปปรับใช้ในชีวตประจํ ติ าวันและนําไปถ่ายทออดสู่สังคมต่อไปป


กิจกรรม ก “ธรรมมะบรรยาย”” เมื่อวันพุธที ธ ่ ๔ กรกฎาคคม ๒๕๕๕ ที่ผ่ผานมา สถาบันอยุ น ธยาศึกษาา ได้จัดให้มีการ า ฒ กศึกษาา มหาวิทยาลั​ัยราชภัฏพระะนครศรีอยุธยา ย บรรยายธรรมะ ณ ลานกองพัฒนานั กิ จ กรรมมบรรยายให้ ความรู ค ้ ใ นหั วข้ ว อ เรื่ อ ง “ธธรรมะเพื่ อ ก ารดํ า เนิ น ชี วิ ต โ สําหรับนักศึกษา”” โดย พระมหหา ดร.ไกรวรรรณ์ ชินทตฺติโย พระมหาสุรระพงษ์ สุรวํโส น มาบบรรยายธรรมมะ และพระคทาวุธ คเวสกธมฺโม จากวัดพระงาม จังหวัดนครปฐม ธ คณะมนุษษยศาสตร์และ ล ให้กับนักศึกษาขอองมหาวิทยาลลัยราชภัฏพรระนครศรีอยุธยา สังค มศาสตร์ แลละคณะวิทยาาศาสตร์และเเทคโนโลยี ชั้นปีที่ ๑ จํ านนวน ๖๐๐ คน า เพื่อส่สงเสริมและสร้ร้างค่านิยมให้กักับเยาวชนได้มคุี ณธรรม จริยธรรม มีความปประพฤติที่ดีงาม วิธีปฏิบัติตนในกาารสร้างความสสุขในการเรียนและการดํ น าเนินินชีวิตสําหรับนั บ กศึกษา


กิจกรรมการถ่ ก า ายทอดความ มดีจากพี่สนู้่นอ้ ง เมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคคม ๒๕๕๕ ที่ผ่ผานมา สถาบันอยุ น ธยาศึกษาาได้จัดกิจกรรรม ท ยราชภั​ัฏ การถถ่ายทอดควาามดีจากพี่สู่น้องขึ้น ณ สถาบันอยุธยาศึศึกษา มหาวิทยาลั พระนครศรีอยุธยา ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี ง ้เป็นตัวแทนนนักศึกษาจากมหาวิทยาลัลัย แ ก ศึก ษาจากมหาวิ ท ยาลั ย ย ราชมง คลสุ ว รรณภู มิ ราช ภั ฏ พระนคร ศรี อ ยุธ ยา และนั ว าเป็นการบรรยายถ่ายทอดประสบบการณ์และสสร้างเสริมภาววะผู้นําเยาวชน ในช่วงเช้ โดย วิ ท ยากรเป็ นอดี น ต นั ก ศึ ก ษาและนั ษ ก ศึ กษาปั จ จุ บั นของมหาวิ น ททยาลั ย ราชภั​ั ฏ พระนครศรีอยุธยาที ย ่ประสบคววามสําเร็จ ได้ด้แก่ นายวรากกร มลฑาทิพยย์, นายพรศักดิ์ พ ส มบัติ , นาายสมชาย กรระจ่างแสง และนายสามา แ ารถ แสงสุริ ยา ย ในช่ว งบ่าย ทรัพย์ คณะะผู้เข้าร่วมกิจกรรม ก นําโดย ผศ.พันทิพา มาลา ผู้อํานวยการสถาบั น ันอยุธยาศึกษา ษ ดร.พพรเทพ รู้แผนน รองผู้อํานวยยการสถาบันอยุ อ ธยาศึกษา และ แ ดร.นริสาานันท์ เดชสุระ ร รองผู้ อํานวยการรสถาบันอยุธยาศึก ษา ได้เดินทางไปทํ​ํากิจ กรรมสันนทนาการแลละ ย ่ได้รับความอนุเคราะห์จาก จ กาชาดพระนครศรีอยุธยา ย มอบบเครื่องเขียน อุปกรณ์การเรียนที และบริษัท บิ๊กซี ซูซเปอร์เซ็นเตออร์ จํากัด ให้กักบั นักเรียนโรงงเรียนวรดิตถ์​์วิทยาประสูทน์ ม จกรรมทุกท่านจะนําความมรู้ ในกาารทํากิจกรรมถถ่ายทอดความมดีจากพี่สู่น้องใในครั้งนี้ผู้ร่วมกิ และประสบการณ์ ณ์ที่ได้รับไปใช้ในการพั ใ ฒนาตตนเองต่อไป


กิจกรรมการฟื ก ้นฟู น ระบบนิเวศริ ว มแม่นาลํ า้ํ าคลอง” เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๙๙ กรกฎาคม ๒๕๕๕ สถาบันอยุธยาศึกษา ก ในฐานะทที่ ห วยอนุรักษสิ ษ์ ่งแวดล้อมธรรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิถิ่นจังหวัดพระะนครศรีอยุธยา ย เป็นหน่ มหาวิวิทยาลัยราชภัภัฏพระนครศรีรอยุธยา ได้จัดกิกจกรรมฟื้นฟูระบบนิเวศริมมแม่น้ําลําคลออง ณ บริ​ิเวณวัดมหาธธาตุ อุทยานปรระวัติศาสตร์พระนครศรี พ อยุธยา ธ โดยการจัดดกิจกรรมครั้งนีน้ ประกอบด้วย กิจกรรมการเสว จ วนาทางวิชากการเกี่ยวกับการอนุ ก รักษ์ฟื้นฟู น ระบบนิเวศ ง ตสํานึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้ แ อมและฟืฟื้นฟูระบบนิเวศ และกิกิจกรรมการเดิดินรณรงค์สร้างจิ โดยไได้รับเกียรติจากนางปรียา ปาลิโพธิ รองผู้ว่าราชกาารจังหวัดพระะนครศรีอยุธยา ย เป็นประธานกล่ ป าวเปิ ว ดงานและะปล่อยขบวนนเดินรณรงค์สร้ ส างจิตสํานึกในการอนุ ใ รักษ์ษ สิ่งแววดล้อมและฟืฟ้​้นฟูระบบนิเวศ ว โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารรย์พันทิพา มาลา ม หัวหน้น้า หน่วยอนุ ว รักษ์ฯ จังหวัดพระนคครศรีอยุธยา พระครูสังฆรรักษ์ปัญญาพล ปญฺญาพโล เจ้าอาวาสวั อ ดอโยธธยา ผู้บริหาร คณาจารย์ ค นักเรี ก ยน และนักศึ ก กษาจากสถถาบันการศึกษา ษ และหน่วยงานต่างๆ า จํานวน ๑,๕๐๐ คน เข้าร่วมกิจกรรม โดยทางงวังช้างอยุธยา ได้นําช้ า างจํานวน ๔ เชือกมาร่วมเดิ ว นรณรงคค์และเก็บขยะะในคลอง สร้างความตื า ่นเต้น และสนุกสนานในงาน


โรงเเรียนเสนาธิธิการทหารบบก เข้าเยี่ยมชมสถาบั ม นอยุ อ ธยาศึกษา ษ เมื่อวันที่ ๒๓ กรกฎาคคม ๒๕๕๕ ที่ผ่ผานมา คณะผูผู้บังคับบัญชา และคณาจารรย์ บ ด ชอบงาน ด้ านประกันคุคณ ภาพการศศึก ษาของโรงเรี ยนเสนาธิธิการทหารบ ก ผู้ รับผิ จํานวน ๑๕ คน ได้ ไ เดินทางมาแลกเปลี่ยนเรีรียนรู้ การดําเนิ เ นงานการปประกันคุณภาพ ย ฏพระนครศรีอยุธยา ย และมาเยี่ยมชมสถาบันอยุ น ธยาศึกษา ษ ของมหาวิทยาลัยราชภั ก ่ยนการประกั ย นคุ น ณภาพการศึศึกษาในด้านกการทํานุบํารุงศศิลปวัฒนธรรรม เพื่อการแลกเปลี ซึ่งมีผู้บริหารของมมหาลัย และสสถาบันอยุธยาาศึกษาให้การต้อนรับอย่างออบอุ่น


กิจกรรมถวายเ ก ทียนพรรษาา เนื่องในวั​ันเข้าพรรษาา ประจําปี ๒๒๕๕๕ เมื่อวันที่ ๓๑ กรกฎาคม และวันที่ ๑ สิงหาคม ง ๒๕๕๕๕ ที่ผ่านมา สถาบันอยุธยาศึกษา ษ ย จั ย และบริริ ก ารวิ ช ากาาร นํ า โ ดย ดร.ชิ ด ชัช ย สนั่ น เสี ยง รองอธิธิ ก ารบดี ฝ่ า ยวิ ธ กษา อาจจารย์กันยารัตน์ ผู้ช่วยศาสตราจารยย์พันทิพา มาลา ผู้อํานวยการสถาบันอยุธยาศึ น เดชสุร ะ รองผู้อํานว ยการสถาบั นอยุ น ธยาศึ กษา ษ โกมโโลทก และ ดร.นริ สานันท์ พร้ อมด้ อ ว ยเจ้ า ห น้ า ที่ ส ถาบั นอยุ น ธ ยาศึ ก ษา ษ และนั ก ศึ กษามหาวิ ททยาลั ย ราชภั​ั ฏ พระนครศรีอยุธยา ย ได้ร่วมทําบุบญถวายเทียนพรรษา และผ้าอาบน้ําฝน แด่พระสงฆ์ ณ วั​ัด ท่าการ้อง วั ดอโยธยา และวั แ ด พนัญเชิงวรวิหาร จั งหวัด พระนนครศรีอยุธ ยา ย เพื่อเป็ เ นการส่งเสริริมให้ผู้บริหารร คณาจารย์ บุบคลากร และะนักศึกษา ได้ร่วมกันสืบสาน และะอนุรักษ์วัฒนธรรม น ขนบธธรรมเนียมปรระเพณีทางพุพุทธศาสนาที่ดีงามให้คงออยู่ สืบไปป


การจัดสัมมนาทางวิชาการเรื่อง สังคมนานาชาติ : กรุงศรีอยุธยา กับฝรั่งเศส วันศุกร์ที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๕ ที่ผ่านมา สถาบันอยุธยาศึกษา ได้จัดการสัมมนา ทางวิชาการเรื่องสังคมนานาชาติ : กรุงศรีอยุธยากับฝรั่งเศส ณ ห้องประชุม ๓๑๗ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ บริ ก ารวิ ช าการ แก่ นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา อาจารย์ และผู้ ส นใจทั่ ว ไป ให้ มี ค วามรู้ ความเข้ า ใจ ในประวั ติ ศ าสตร์ ก ารทู ต ระหว่ า งกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยากั บ ฝรั่ ง เศส เข้ า ใจสภาพสั ง คม พหุวัฒนธรรมของกรุงศรีอยุธยา และเป็นการขยายองค์ความรู้ และบริการวิชาการ ทางด้านประวัติศาสตร์ รวมทั้งยังเป็นการส่งเสริมความสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศไทย กับประเทศฝรั่งเศสที่มีมาอย่างช้านาน การจั ด กิ จ กรรมครั้ ง นี้ ไ ด้ รั บ เกี ย รติ จ ากท่ า นรองอธิ ก ารบดี ฝ่ า ยวิ จั ย เป็นประธานเปิดงาน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จํานวนทั้งสิ้น ๒๐๐ คน กิจกรรมในภาคเช้า เป็นการบรรยายทางวิชาการเรื่อง ความสัมพันธ์ไทย-ฝรั่งเศส ในบริบทการต่างประเทศ ของไทยสมัยสมเด็จพระนารายณ์ โดย รศ.ดร.ธีรวัต ณ ป้อมเพชร การบรรยายเรื่อง ความสัมพันธ์สยามกับฝรั่งเศสหลังรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โดย อาจารย์ภูธร ภูมะธน ส่วนในภาคบ่ าย เป็ นการบรรยายเรื่อง ความสั มพั นธ์ อยุ ธยากับฝรั่ งเศส จากหลักฐานทางศิลปะโบราณวัตถุสถาน โดย อาจารย์สุรินทร์ ศรีสังข์งาม จากนั้น เป็นกิจกรรมออกภาคสนามศึกษาแหล่งศิลปะและโบราณคดีฝรั่งเศส ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประกอบด้วยโบราณสถานป้อมเพชร และวัดนักบุญยอแซฟ อยุธยา โดยคุณธนภรณ์ เกษมสวัสดิ์ คุณวัลลีย์ กระจ่างวี และวิทยากรจากวัดนักบุญยอแซฟ เป็นวิทยากร บรรยายให้ความรู้



การรจัดเสวนาแแลกเปลี่ยนเรีรียนรู้ทางวิชาการด้ ช านภูภูมิปัญญาท้ท้องถิ่น อําเภภออุทัย วันพุธที่ ๑๕ สิงหาคมม ๒๕๕๕ ที่ผ่านมา สถาบั​ันอยุธยาศึกษษา จัดกิจกรรรม เสวนนาแลกเปลี่ยนเรี น ยนรู้ทางวัฒนธรรมด้ ฒ านภภูมิปัญญาท้องถิ่น ณ ห้องปประชุมที่ว่ากาาร อําเภภออุทัย จังหววัดพระนครศศรีอยุธยา โดยย ดร.พรเทพ รู้แผน อาจารย์กันยารัตน์ โกม โลทก รองผูผู้ อํ า นวยการรสถาบั น อยุ ธยาศึ ธ ก ษา และ แ ผศ.จิ น ดา ด นั ย ผ่ อ งศศรี ญาท้องถิ่น เป็นผูผ้ดําเนินการเสสวนาแลกเปลีลี่ยนเรียนรู้ทางด้านวิชาการรด้านภูมิปัญญ อบด้วยผู้แทนนจากกลุ่มภูมิปัญญาในอําเภออุ ผู้เข้าร่วมเสวนาประก ม เ ทัย ได้แก่ แ ม าขนมไทย, กลุ่มกลึงครกกหิน, เกษตรกกรรมทฤษฎีใหม่ ห , ทําขวัญนนาค, จักสานน, กลุ่มทํ น้ํายาเอนกประสงงค์, เพาะเห็ดภูภฐาน, แปรรูปสมุ ป นไพร แลละนวดแผนไททย เป็นต้น


สถาาบันอยุธยาศึศึกษารับกาารตรวจประเเมินคุณภาพพภายใน เมื่อวันพฤหั พ ส บดีที่ ๑๖ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๕ ที่ผ่านมา า สถาบั นอยุ น ธยาศึกษา ษ ได้รับการตรวจประ บ ะเมินคุณภาพกการศึกษาภายใใน คณะกรรมกการที่มาตรวจปประเมิน นําโดดย ผศ.สุสุเทพ อ่อนไสวว อดีตคณบดีคณะครุศาสตตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ปัจจุบัน ดํารงงตําแหน่งผู้ช่วยอธิ ว การบดีมหาวิ ม ทยาลัยราชภัฏเทพสสตรี ซึ่งสถาบั​ันอยุธยาศึกษา ษ รั บ ผิ ด ชอบตั ว ชี้ วัวั ด ทั้ ง หมด ๖ องค์ ป ระก อบ ๙ ตั ว บ่ งชี ง ้ จากการตตรวจประเมิ น คณะะกรรมการมีความชื ค ่นชมในนการดําเนินงานของสถาบ ง บันอยุธยาศึกษาในการทํานุ บํารุงศิลปวัฒนธรรรม รวมทั้งมีข้อเสนอแนะะอย่างเป็นกัลยาณมิ ล ตร เชช่น การดําเนิน ก างๆ ควรเพิ่มเติมให้ห้มีการรายงานผลการดําเนินินงานเป็นเชิชิง โครงงการหรือกิจกรรมต่ คุณภาพ ภ เพื่อสะทท้อนผลกระททบที่เกิดขึ้นหลลังจากจัดกิจกรรมว่ามีการรนําไปต่อยอดที่ เป็ นประโยชน์ ในชี น วิ ตและการรประกอบอาาชี พอย่ างไรบบ้ าง สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา ษ ขอขขอบพระคุณ คณะกรรมกา ค ารตรวจประเมิน คุ ณ ภาพ ภายในทุก ท่ าน และจะนํนํ า ข้อเสสนอแนะที่มีคุคณ ุ ค่าไปพัฒนางานให้ น เกิดประสิ ป ทธิภาพตต่อไป


กิจกรรมการบร ก รรยายเรื่อง แนวคิดในบบันทึกท่ารําของชาวตะว ข วันตก เมื่อวันศุกร์ที่ ๑๗ สิงหาคม ห ๒๕๕๕๕ ที่ผ่านมา สถาบันอยุธยาาศึกษา ร่วมกั​ับ สาขาวิชานาฏศิลป์ปและการละคร คณะมนุษยศาสตร์ ษ และะสังคมศาสตร์ร์ มหาวิทยาลัลัย ราชภภัฏพระนครศศรีอยุธยา ได้จัดกิจกรรมการบรรยายแลกกเปลี่ยนเรียนนรู้เรื่อง แนวคิคิด ในกาารบันทึกท่ารําของชาวตะวั​ันตก โดยได้รับเกี บ ยรติจาก Marion M Bastieen ผู้อํานวยกาาร สถาบบัน Nationaal Center of o Dance ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั ป ่งเศศส และ รศ.ดรร. ชมนนาด กิจขันธ์ อดี อ ตคณบดีคณะศิ ณ ลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภั ย ฏสวนสสุนันทา มาเป็น วิทยากรบรรยาย การจัดกิจกรรมในครั​ั้งนี้ ประกอบบด้วยการบรรรยายภาคทฤษษฎีและการฝึก ภาคปฏิบัติในชุด “The Wavee” ผู้เข้ารับฟังการบรรยายยและฝึกภาคปฏิบัติในครั้งนี้ อ และนนักศึกษา จากกสาขาวิชานาาฏศิลป์และกาารละคร คณะะมนุษยศาสตตร์ เป็นอาจารย์ และสสังคมศาสตร์ มหาวิ ม ทยาลัยราาชภัฏพระนครรศรีอยุธยา โดยยอาจารย์และนันักศึกษาทุกท่าน า ได้รบความรู บั ้และสสามารถนําไปบบูรณาการกับการเรี บ ยนการรสอนได้เป็นอย่างดี


บทความ คลองมหาไชย ตลาดหัวรอ คลองประวัติศาสตร์แห่งพระนครศรีอยุธยา *

พัฑร์ แตงพันธ์

ถ้ากล่าวถึงคลองมหาชัย คนทั่วไปอาจเข้าใจว่าหมายถึงคลองมหาชัยหรือ คลองสนามชัย ที่จั งหวัด สมุทรสาคร ซึ่งเป็นคลองที่ขุด ขึ้นแทนคลองโคกขามเดิม ในสมัยสมเด็จพระเจ้าเสือแห่งกรุงศรีอยุธยา แต่ถ้าถามคนท้องถิ่นในย่านตลาดหัวรอ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จะรู้จักในชื่อของ “สะพานมหาไชย” เป็นสะพานคอนกรีต ข้ามคลองเล็กๆ ตรงป้อมตํารวจหัวมุมเรือนจําเก่าก่อนถึงตลาดหัวรอ และคลองสายนี้เอง มีนามว่า “คลองมหาไชย”** หากเปรียบเทียบความสําคัญของคลองมหาชัยที่จังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งขุดขึ้นโดย พระราชโองการของสมเด็ จ พระเจ้ า เสื อ แห่ ง กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาแล้ ว คลองมหาไชยที่ ย่านตลาดหัวรอ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาก็มีความสําคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากันคือ เป็นคลองที่ขุดขึ้นโดยพระราชดําริของสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) แห่งกรุ งรัต นโกสิ นทร์ จึงน่ าสนใจว่ าเหตุใดสมเด็ จพระจอมเกล้ า เจ้าอยู่ หัว จึง ได้ มีพระราชดําริให้ขุดคลองเล็กๆ สายนี้ขึ้นมา ประการต่อมาชื่อคลองมหาไชยนี้มีที่มา จากไหน และประการสุ ด ท้ า ยคลองสายนี้ มี ค วามสํ า คั ญ ต่ อ ชาวตลาดหั ว รอและ ชาวอยุธยาอย่างไร

* นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ** ชื่อคลองมหาไชย เดิมเขียนว่า คลองมหาชัย ดูใน กรมศิลปากร. (๒๕๒๗). เรื่องเกี่ยวกับพระนครศรีอยุธยา. พระนคร: รุ่งเรืองธรรม.


แผนนที่แสดงตําแหนน่งคลองมหาไชยย

เมื่อครั้งที่สมเด็จพระจจอมเกล้าเจ้าอยู อ ่หัว (รัชกาลลที่ ๔) เสด็จมาประทั ม บแรรม ที่กรุงเก่า พระองคค์ทรงมีพระราาชประสงค์ให้​้ปฏิสังขรณ์พระราชวั ร งจันทรเกษม ท เพื่อใช้ ใ สําหรับเป็นที่ประะทับเวลาเสด็จประพาสกรุ จ ง า แล้วจึงโปรดเกล้าฯ ใหห้บูรณะวัดเสืสื่อ งเก่ ห งพระราชวังจันทรเกษษมขึ้น เป็น พระอารามหลววง ซึ่งเป็ป็น วั ดร้างโบรราณที่ตั้งอยู่หลั และทรงพระราชททานนามวัดเสืสื่อเสียใหม่ เป็นวัดเสนาสนาาราม* วัดเสนาสสนาราม ตั้งอยู่ด้านในพื้นที่เกาะเมืองกรรุงเก่า พระบาาทสมเด็จพระะจอมมเกล้าเจ้ าอยู่หัห ว จึงทรงมีพระราชดํ พ าริให้ ใ ขุ ดคลอง จากคลองมะะขามเรียงหรืรอ คลองนายก่าย ซึ่งเป็ เ นลําคลองททอดยาวอยู่ด้านในเกาะเมื น อง ให้ผ่านหน้าวัดเสนาสนาราาม มาออกยังแม่น้ําลพพบุรีที่ “ทํานบรอ” หรือ “หั “ วรอ” สายหหนึ่ง และให้ออกแม่น้ําป่าสัก * วัดเสสนาสนาราม จากคําว่า เสนาสนะ อันหมายยถึงที่รองนั่ง รองนอน แทนความหมายคําว่วา เสื่อ


ข้างวัดประสาทอีกสายหนึ่ง๑ เพื่ออํานวยความสะดวกแก่พระคุณเจ้า และสามเณร ได้ ใ ช้ น้ํ า ในการอุ ป โภคตลอดจนบริ โ ภค และยั ง ใช้ ใ นการสั ญ จร ออกบิ ณ ฑบาต ตามบ้านเรือนราษฎรที่อาศัยอยู่ตามสองฝากฝั่งแม่น้ําป่าสัก แม่น้ําลพบุรี และคลองเมือง ในทุกๆ เช้า อีกทั้งยังทําให้พุทธศาสนิกชน ทั้งชาวตลาดหัวรอ และละแวกใกล้เคียง สามารถเดินทางมาทําบุญยังวัดเสนานารามได้สะดวกอีกด้วย ซึ่งเดิมเรียกคลองสายนี้ว่า คลองวัดเสนาสน์๒ ต่ อ มาในสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว (รั ช กาลที่ ๕) ได้ทรงจัดการปกครองท้องถิ่นเป็นแบบมณฑลเทศาภิบาล โดยใช้พระราชวังจันทรเกษม เป็นที่ทําการมณฑลกรุงเก่า พระยาโบราณราชธานินทร์ซึ่งเป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑล ได้ให้สร้างถนนรอบกรุง หรือถนนอู่ทองในปัจจุบัน จึงได้สร้างสะพานข้ามคลองสายนี้ขึ้น ที่ข้างคุกประจํามณฑล โดยตั้งชื่อสะพานว่า “สะพานมหาชัย” (ปัจจุบันเขียนว่า มหาไชย) โดยพระยาโบราณราชธานินทร์ได้นําชื่อ “มหาชัย” มาจาก “ป้อมมหาชัย” ที่เคยเป็น ป้อมปืนใหญ่หัวมุมพระนครกรุงศรีอยุธยาด้านตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งขณะนั้นได้ กลายสภาพเป็นตลาดหัวรอ ไม่หลงเหลือซากป้อมปราการให้เห็น เนื่องจากถูกรื้อไป เป็นวัสดุในการสร้างกรุงเทพมหานครเสียจนหมดสิ้น โดยมีความมุ่งหมายเพื่อรักษา ชื่อป้อมมหาชัยไว้เป็นอนุสรณ์ให้คนรุ่นหลังได้รําลึก๓ จึงเป็นที่มาของชื่อสะพานมหาไชย และชื่อของสะพานก็ได้กลายเป็นชื่อ “คลองมหาไชย” อีกทอดหนึ่ง

๑ คณะกรรมการอํานวยการจัดงานฉลองสิรริ าชสมบัติครบ ๕๐ ปี. (๒๕๓๙). ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม ๕.หน้า ๒๘๗ ๒ กรมศิลปากร. (๒๕๒๗). เรื่องเกี่ยวกับพระนครศรีอยุธยา. ไม่ปรากฏเลขหน้า. ๓ กรมศิลปากร. (๒๕๒๗). เรือ่ งเกี่ยวกับพระนครศรีอยุธยา. ไม่ปรากฏเลขหน้า.


ภาพวัดเสนาสนารามถ่ายจากหอพิ ย สัยสัญลั ญ กษณ์ในพระะราชวังจันทรเกกษม แสดงให้เห็น คลองงมหาไชยช่วงทีผ่ผ่ านหน้าวัด ซึ่งขณะนั ข ้นลําคลอองยังกว้างขวาง แต่ปัจจุบันถูกถมกลายเป็ ถ นถนนน เหลือเพี อ ยงลําคลองสส่วนที่ทอดผ่านด้ด้านในของวัด ที่มา :สํานักศิลปากรที่ ๓ พระนครศรีอยุธยา. (๒๕๕๑)). สมเด็จพระนนเรศวรมหาราชช. พระนนครศรีอยุธยา: สํานักฯ

ใน พ.ศ. ๒๔๙๙ เทศศบาลเมื อ งนครศรี อยุ ธ ยาา (ปั จ จุ บั นคื อเทศบาลนค อ คร พระะนครศรีอยุธยา) ย ได้ปรับปรุงสะพานข้ามคลองมหาไ า ไชย ทั้ง ๒ แหห่ง คือสะพาน มหาาไชย ๑ ที่ บ ริ เ วณตลาดหัหั ว รอ และสะะพานมหาไช ย ๒ ที่ บ ริ เ ว ณวั ด ประสา ท ให้เป็นสะพานคอนนกรีตเสริมเหล็ก เพื่อให้ชาวเมื า องและชาาวตลาดหัวรอใใช้สัญจรไป-มมา ได้สะดวก ะ โดยมีอักษรจารึกชื่อสะพานว่า “สสะพานมหาไชชย” โดยระบุปปี​ีที่ปรับปรุงคือ พ.ศ..๒๔๙๙ ไว้ที่ราวสะพานด้ ร วย


สสะพานมหาไชยย ๒ และสภาพคคลองมหาไชย ๒ ในปัจจุบัน


แต่เป็นที่น่าเสียดาย เมื่อต่อมาการคมนาคมทางรถยนต์ได้เข้ามาแทนที่การ คมนาคมทางเรือทําให้คลองมหาไชย ที่พระสงฆ์วัดเสนาสนาราม และชาวตลาดหัวรอ เคยใช้น้ําจากคลองเพื่ออุปโภคบริโภคได้ ก็เปลี่ยนบทบาทมาเป็นคลองระบายน้ําทิ้ง จากบ้ า นเรื อ นต่ า งๆ และเมื่ อ ไม่ มี ก ารใช้ ค ลองมหาไชยสํ า หรั บ สั ญ จรดั ง เดิ ม แล้ ว ลําคลองก็เ ริ่มตื้นเขิน จนกระทั่ งในสมั ยหนึ่งฝ่ายปกครองท้ องถิ่น เคยมีโครงการ ถมคลองสายนี้ เสี ย แต่กลับได้รับ การคั ด ค้านจากชาวอยุธ ยาที่มี ค วามผูกพัน และ หวงแหนต่อลําคลองสายนี้ ดังปรากฏเป็นข่าวหน้าแรกของหนังสือพิมพ์ประชาธิปไตย ฉบับวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๑๓ เหตุการณ์ครั้งนั้น มีส่วนทําให้สามารถรักษาลําคลอง สายประวัติศาสตร์สายนี้ให้อยู่คู่เกาะเมืองพระนครศรีอยุธยาสืบมา ทว่าคลองมหาไชยในปัจ จุบัน ยั งคงมีส ภาพเสื่ อ มโทรม เต็ม ไปด้ว ยวัช พื ช และขยะจากบ้านเรือนที่อาศัยอยู่ริมคลอง และร้านค้าหาบเร่ที่ค้าขายอยู่ในตลาด หน้ า วั ง จั น ทรเกษม ทํ า ให้ น้ํ า ในลํ า คลองมี ส ภาพเน่ า เสี ย ส่ ง กลิ่ น เหม็ น คละคลุ้ ง ไม่น่าชื่นชม ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของชาวหัวรอ และชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่จะต้องร่วมมือร่วมใจกําจัดขยะและวัชพืช รวมทั้งไม่ทิ้งขยะลงในลําคลอง เพื่อคืน ความสะอาดสวยงามให้แก่คลองมหาไชย คลองประวัติศาสตร์ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สายนี้อย่างยั่งยืนสืบไป .....................................................................

บรรณานุกรม กรมศิลปากร. (๒๕๒๗). เรื่องเกี่ยวกับพระนครศรีอยุธยา. พระนคร: รุ่งเรืองธรรม คณะกรรมการอํานวยการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี. (๒๕๓๙). ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม ๕. กรุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร. สํานักศิลปากรที่ ๓ พระนครศรีอยุธยา. (๒๕๕๑). สมเด็จพระนเรศวรมหาราช. พระนครศรีอยุธยา: สํานักฯ


บทคววาม ศิลปวั ล ฒนธรรรมอาเซียนน่ น ารู้ : สาธารณรัฐแห่ แ งสหภาพพเมียนมาร์ร์ “หนึ่งวิสัยทั​ัศน์ หนึ่งเอกลัลักษณ์ หนึ่งปรระชาคม” อาเซียน (ASEAN ย่อมาจาก ม Assocciation of Soouth East Asian Nations) หมายถึง การรวมมตัวกันของกลลุ่มประเทศในนภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉีฉียงใต้ จํานวน ๑๐ ประเทศ ได้แก่ แ ไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาาเลเซีย สิงคโปปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปิ ป นส์ และบรูรูไน ซึ่งทั้ง ๑๐๐ ประเทศจะะพัฒนาเป็นกลุ ก ่มภายใต้ชื่อว่ อ า ประชาคคม อาเซีซียน ภายในปีปี พ.ศ. ๒๕๕๘๘

ภาพที่ ๑ ธงตราสัญลักษณ์ ก สมาคมปรระชาติแห่งเอเชียตะวั ย นออกเฉียงใต้ ย

ในการรววมตัวเป็นประชชาคมอาเซียนนั น ้น จะมีการพพัฒนาทั้งการเเมือง เศรษฐกิกิจ ม กัน ในกาารรั บ รู้ ใ นควาามเหมื อ นหรืรือ แตกต่ า งกั​ั น สั ง ค มและวั ฒ นธธรรมไปพร้ อมๆ น ่สําคัญเพื ญ ่อเตรียมตัวสู ว ่การก้าวเข้าสู า่ ทางววัฒนธรรมของงคนในแต่ละชชาติ จึงเป็นพื้นฐานที ประชชาคมอาเซียนที น ่กําลังจะเกิดขึ ด ้น ซึ่งจะกล่าวถึงประเทศศเมียนมาร์ประะเทศเพื่อนบ้าน ที่มีประวั ป ติศาสตร์เกี่ยวพันกับชาติไทยมาช้านานในบทควา น ามนี้เป็นประเเทศแรก


ชาติพันธุ์คนเมียนมาร์ น ประชากกรเมียนมาร์กว่ ก า ๖๐ ล้านคนนั น ้น มีควาามหลากหลาายทางเชื้อขาติ อ างมาก ซึ่งมีถึง ๑๓๕ กลุ่มชาติ ม พันธุ์ และมีภาษาที่ใช้ในการสื ใ ่อสารกกว่า ๒๔๐ ภาษษา เป็นอย่ ชนกกลุ่ม ต่างๆ ส่วนใหญ่ ว มีบ รรรพบุรุษ ที่อพยยพมาจากเทือกเขาในประเทศจี น แลละ อินเดีดีย ก่อนจะมาากระจายเข้ามาตั ม ้งถิ่นฐานในนเมียนมาร์

ภาพทที่ ๒ ความศรัทธาในพุทธศาสนนาอย่างเข้มข้นของชาวเมี ข ยนมาาร์

ชาวพม่า หรือ บะหม่า เป็นประชาากรหลักของปประเทศเมียนมาร์ น มีจํานวน า ้ ง และเมื องมั ณ ฑะเล ย์ มากกกว่ า ๔๐ ล้ านคน ส่ ว นใใหญ่ อ าศั ย อ ยู่ ใ นเมื อ งย่ างกุ และกระจายตัวอยู อ ่ในภาคกลาางและภาคเหหนือของประเเทศ ชาวพม่าพู า ดภาษาพมม่า ซึ่งมีรากภาษามาจจากภาษาบาลีสันสกฤต อาชีพหลักคือการเกษตรกร ก รรม เอกลักษณ ณ์ ของชาวพม่าคือชอบทาแป้ ช งทานาคา เป็นแป้ แ งสมุนไพรจากต้นทานาาคา มีลักษณ ณะ เป็นผงสี ผ เหลืองนววล เนื้อสัมผัสไม่ ไ ละเอียดมาก มีกลิ่นหอมอ่อนๆ


ชาวพม่าเป็ า นชนชาติทีท่ีมีวัฒนธรรมมเกี่ยวข้องกับพุ บ ทธศาสนาาเป็นอย่างมาก จ ่ชาววพม่าปฏิบัติตน เพราาะได้รับอารยธรรมจากอินเดียเป็นหลัก ดังจะเห็นได้จากการที เป็นพุทธศาสนิกชนอย่ ช างเข้มข้น และมีสิ่งก่กอสร้างที่แสดดงถึงความรุ่งเรื ง องของพุทธ ท เ เช่ น เจดีดี ย์ ช เวดากอง ในเมื อ งย่ างกุ า ้ ง พระธา ตุ อิ น ทร์ แ ขว น ศาสสนาอย่ า งชั ด เจน หรือ พระธาตุไจก์ทีโย ในรัฐมอญ ม เจดีย์ชเวซิ เ กอง ทะเลเจดีย์ในรัฐพพุกาม เป็นต้​้น นอกกจากชาวพม่าจะนิ า ยมเดินทางไปสั ท กการะเจดีย์หรือพระธาตุต่างๆ เพื่อเป็นมงคคล ต่อชีวิตแล้ว ชาวพพม่ายังเชื่อเรื่องโชคลางตาามดวงชะตารราศีเกิด นิยมใให้หมอดูดูดวง ว เพื่อขอคํ ข าแนะนําไปปฏิ ไ บัติตัวในนชีวิตประจําวันอีกด้วย

ภาพพ ๓ การตั้งถิ่นฐานรอบๆ ฐ เจดีย์ยชเวดากอง ขอองชาวเมียนมาร์ร์

ไ แ ก่ ชาวไททยใหญ่ (ฉานน) นอกจากกชาวพม่ าแล้​้ว ยั งมี ช าติพัพัน ธุ์ อื่น ๆ อีกได้ ชาวกกะเหรี่ยง ชาวยยะไข่ ชาวจีน ชาวมอญ ชาววอินเดียชาวคะะฉิ่น ชาวกะยาาห์ ชาวว้า ฯลฯฯ


การแแต่งกายของคคนเมียนมาร์ เมียนมาร์ถือเป็นประเทศหนึ่งที่รักษาธรรมเนี ก ยมการแต่งกายดั้งเดิมไว้ได้​้ดี อ ประธานนาธิบดีเต็ง เสส่ง ดังจะเห็นได้จากกการแต่งกายขของผู้นําและผู้มีชื่อเสียง อาทิ ป า ชาติ นุน่ ง โลงจี (โส ร่ ง ) และสวมมรองเท้ า แตตะ หรื อ แม้ แ ต่ จะแแต่ ง กายชุ ด ประจํ นางอออง ซาน ซูจีจี ก็ยังคงนุ่งซิ่น มวยผม แลละทัดดอกไม้สวยงาม ส เมื่อให้การต้อนรั​ับ แขกกบ้ า นแขกเมื อง อ ซึ่ ง ถื อ เป็ นการรั น ก ษาวั​ั ฒ นธรรมกา รแต่ ง กายได้ด้ อ ย่ า งเข้ ม แข็ข็ ง แม้วายุ ่ คสมัยจะเปปลี่ยนไปก็ตามม

ภาพที​ี่ ๔ การแต่งกายยของชาวเมียนมมาร์

การแต่งกายของผู้ชาย จะสวมเสื้อเชิ อ ้ตคอตั้งสีขาว ข หรือแลกกะโดง นุ่งโลงงจี (โสร่ร่ง) ที่เป็นผ้าฝ้าย สวมรองงเท้าแตะคีบทํทาจากหนังสั​ัตว์ แต่ถ้าไปอออกงานสังคม จะเปปลี่ยนเป็ นโลลงจีผ้าไหม และสวมเสื้อนอกที น ่เรี ย กว่า “ไต้โ ป่งอีงจี” สวมหมวก คองบบองที่เป็นหมวกผ้าไหมสีออน อ่ ใส่รองเท้าคี า บกํามะหยี่ ญ ง จะนุ่ ง ผ้ า ซิ่ น สวมเสื้ อเอวลอยที อ ่ เ ป็ น เสื้ อ คลุ ม อ ก การแต่ ง กายของผู้ ห ญิ ก า “ยีงโพงอีอีงจี” มวยผม แซมด้วยดอกกไม้ ทาแป้งทานาคา ท ในโออกาสพิเศษหรืรือ เรียกว่ ออกกงานสังคม ผู้หญิงเมียนมาาร์จะนุ่งผ้าที่ยาวถึ ย งตาตุ่ม สวมเสื้อแขนนกระบอกยาาว ถึงข้​้อมือ และมีผ้ผ้าคลุมไหล่ที่เรีย กว่า ปะหหว่า และประะดับอัญมณีตามฐานะ ต เช่น เพชรร ทับทิม และะมุก


วัฒนธรรมการกิ น น แม้เมียนมาร์เคยตกเป็ป็นอาณานิคมของอั ม งกฤษเเป็นเวลานาน แต่วัฒนธรรรม ย ยังดํดารงวิถี แบบดดั้งเดิมไว้ อาหารเมี ยนมาาร์มีเอกลักษณ ณ์ การกินก็ไม่เปลี่ ยนแปลง น าง อินเดีดีย เฉพาาะตัว เป็นกาารผสมผสานวัวัฒนธรรมการรกินของประเทศเพื่อนบ้านอย่ จีน ไทย ไ และลาว ชาวเมียนมาร์สามารถนํากรรมวิ ก ธีการปปรุง เครื่องปรุงงรส เครื่องเทศ และวัตถุดิบอื่นๆ มาปรับใช้ได้อย่ อ างลงตัว นอกจากนี้การนั่งกินข้าวของชาวเมียนมาาร์ ง อมวงโต๊ะไม้เตี้ยๆ ที่เต็มไปด้ ม วยอาหาาร ยังมีความคล้ายคลึงกับคนไทยย คือ ปูเสื่อนั่งล้ หรือถ้าเป็นคนในเเมือง อาจพบการนั่งกินบนโโต๊ะกลมแบบจีนด้วยเช่นกั​ัน

ภาพที่ ๕ อาหหารเช้ารับอรุณร่รุงวันใหม่ของชาาวเมียนมาร์

ภูมิประเททศในแต่ละภูมิภาคที่แตกตต่าง จึงมีวัฒนธธรรมการกินที่ต่างกันไปด้วย ว เ ง บางพืพื้ น ที่ มี หิ ม ะปกกคลุ ม ถื อ เป็ น เช่ น ทางตอนบนนของประเท ศเป็ น เขตภู เขาสู ต ดิบประกอบบอาหารก็หาไได้ยาก จึงมักกินเมนูอาหารรประเภทแมลลง เขตททุรกันดาร วัตถุ เช่น หนอนดักแด้ มด ตั๊กแตน เป็นต้น


ส่วนทางตอนกลางของประเทศซึ่งเป็นพื้นที่ลุ่มน้ํา ค่อนข้างมีความอุดมสมบรูณ์ หาวัต ถุดิบในการปรุงอาหารได้ ง่าย จึงมีเมนูอาหารหลากหลาย ทั้งข้าว ผัก และ เนื้อสัตว์ อาหารประเภทนี้หาได้ในรัฐฉานซึ่งมีทะเลสาบอินเลที่เป็นแหล่งปลาน้ําจืด และเป็นพื้นที่เพาะปลูกพืชไร่ที่สําคัญของประเทศด้วย ทางตอนล่างของประเทศนั้น เป็นพื้นที่ปากแม่น้ําและติดกับทะเลอันดามัน ทําให้เป็นพื้นที่ที่มีปลาชุกชุม ทั้งปลาน้ําจืด ปลาทะเล รวมถึงกุ้งและสัตว์ทะเลอื่นๆ จึงนิยมนํามาตากแห้งจําหน่าย เช่น กุ้งแห้งถือเป็นสินค้าของดีขึ้นชื่อ เมี ย นมาร์ ตั้ ง อยู่ ใ นพื้ น ที่ ลุ่ ม น้ํ า ทํ า นาปลู ก ข้ า วได้ ผ ลดี ในสมั ย เมี ย นมาร์ เป็นอาณานิคมของอังกฤษ เคยส่งออกข้าวมากที่สุดในโลก ชาวเมียนมาร์กินข้าวสวย และกับข้าวหลายอย่าง ทั้งต้ม แกง ผัด และน้ําพริกที่รสชาติตัดกัน แกงที่นิยมกินกัน เป็นแกงกะทิที่ใส่เนื้อปลา เนื้อไก่ เนื้อวัว เป็นต้น แต่ไม่ว่าแกงจะใส่เนื้อสัตว์อะไร ก็ตาม สิ่งที่เหมือนกันคือการนําเนื้อสัตว์นั้นมาหมักด้วยเครื่องปรุงซึ่งประกอบด้วย น้ํามั น พื ช หอมแดง กระเที ย ม ขิง ขมิ้ น พริ ก และเครื่อ งเทศ แล้ว นํา ไปเคี่ ย วให้ เข้าเนื้อ สิ่งที่ขาดไม่ได้ในอาหารแต่ละมื้อก็คือผัก คนเมียนมาร์มักเก็บผักตามป่าเชิงเขา ชายทุ่ง ริมแม่น้ํา หรือพืชน้ําในทะเลสาบ นําส่วนที่เป็นใบอ่อน ยอดอ่อน มาปรุงเป็น อาหาร อย่างเช่น น้ําเต้า เป็นผักที่ได้รับความนิยมมาก นํามากินได้ทั้งยอดและผล ทําได้ทั้งต้มจืดและแกงใส่กะทิ หรือนําน้ําเต้าไปชุบแป้งทอดก็เป็นของกินเล่นที่แสนอร่อย นอกจากนี้ ถั่วชนิดต่างๆ ก็เป็นที่นิยม เช่น ถั่วฝักยาวนิยมนํามาผัด ถั่วลิสงนิยมนํามากิน เป็นเครื่องเคียง ถั่วเขียวนํามาทําเป็นขนมได้สารพัด นอกจากนี้ยังมีผลไม้ที่ได้รับความนิยมหลากหลายชนิด เช่น มะม่วง กล้วย ทุเรียน มังคุด เงาะ ส้มโอ น้อยหน่า ลิ้นจี่ เป็นต้น


รสชาติอาหารเมี า ยนมารร์จะไม่อร่อยถูกปากคนเมียนมาร์ น เลยถ้าขาาดเครื่องปรุงรส ร อ านี้คือ หงั่งปยาาเหย่ (น้ําปลาา) และกลิ่นในอาหาารจากเครื่องปรุงและเครื่องเทศเหล่ ( ่วเน่า) หอมแดง กระเทียม งะปิ๊ (กะปิ) เกลือ เช่าก์ตี่ (มะนนาว) ซีอิ๊ว ปลาาร้า แบโป๊ะ (ถั ขิง ตะไคร้ ต ผักชี ใบบแมงลัก ใบมมะขาว ผงกะหหรี่ พริก ใบกรระเจี๊ยบ เป็นต้น อาหารจํจํ าพวกเส้ น เชช่ น ขนมจีน และก๋ว ยเตี๋ยว ย ก็ได้รั บ คววามนิยมในห มู่ ย นกัน น้ําซุซปจะมีความมเข้มข้นมาก มักมีส่วนผสมมของกะทิและ ล ชาวเมียนมาร์ด้วยเช่ อ วย เชช่น โมฮิงกา (ขขนมจีนพม่า),, เค่า ซแว, หมี่ซี, หงะปิ๊เหย่โจ๋, แล้ตโต๊ด, ด เครื่องแกงด้ ละแพ้ต และนันพะชิ พ น เป็นต้น เทศกกาล และประะเพณีชาวเมียนมาร์ ย เมียนมาร์มีเทศกาลงานประเพณีแทบตลอดทั แ ้งปี ง โดยเฉพาาะงานเทศกาล ที่เกี่ยวข้ ย องกับพรระพุทธศาสนาา ทางราชการให้ความสําคัคญกับวันสําคคัญทางศาสนนา ให้ เ ป็ น วั น หยุ ด ราาชการ อาทิ เทศกาลวั น วาโส (วั น เข้​้ า พรรษา) เททศกาลธะติ ง จุ (วันออกพรรษา) อ เป็ป็นต้น รวมถึงวั ง นเฉลิมฉลองงพระเจดีย์ต่างๆ ง ทั่วประเทศศ ซึ่งมักจะมีขึ้น ในวันพระของแต น ต่ละเดือนตามมปฏิทินจันทรรคติ ที่แต่ละวัดจะกําหนดดเป็นประเพณ ณี ประจําปีด้วย

ภาพทที่ ๖ ประเพณีแห่ แ เรือและแข่งเรืรือประจําปีที่ทะเลสาบอิ ะ นเล จัดในช่วงเดือนกักันยายน-ตุลาคมม


นอกจากนี้วันหยุดของชาวเมียนมาร์และชนชาติต่างๆ ในประเทศ ยังมีความผูกพัน กับความเชื่อเรื่องนัต (วิญญาณกึ่งผีกึ่งเทวดา) วิถีชีวิตกสิกรรม และประวัติศาสตร์ การสร้ า งชาติ ข องชาวเมี ย นมาร์ อาทิ วั น สหภาพ เทศกาลฉลองตองปะโยนนั ต เป็นต้น ซึ่งกิจกรรมการเฉลิมฉลองที่ชาวเมียนมาร์ชื่นชอบ คือ การร้องรําทําเพลง สามารถเห็นได้ในทุกเทศกาล นอกเหนือไปจากการเข้าวัดเพื่อสักการะพระเจดีย์ ในเทศกาลทางศาสนาต่างๆ จากที่ ไ ด้ ก ล่ า วมาทั้ ง หมด จะว่ า เห็ น ลั ก ษณะทางวั ฒ นธรรม และวิ ถี ชี วิ ต ความเป็ น อยู่ ข องชาวเมี ย นมาร์ หรื อ ชาวพม่ า มี ค วามคล้ า ยคลึ ง กั น กั บ คนไทย เป็นอย่างมาก และสุดท้ายนี้โปรดติดตามบทความศิลปวัฒนธรรมอาเซียนน่ารู้: สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ในฉบับหน้า สวัสดี . . . บรรณานุกรม คัทลียา เหลี่ยมดี. (๒๕๕๕) สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์. กรุงเทพฯ: สถาพรบุ๊คส์. ประเทศพม่า. (๒๕๕๕,บทความ). ค้นเมื่อ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๕, จาก http://th.wikipedia.org/wiki/ประเทศพม่า

อ้างอิงรูปภาพประกอบ ภาพที่ ๑ ธงตราสัญลักษณ์สมาคมประชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. ค้นเมื่อ ๙ สิงหาคม ๒๕๕๕, จาก http://th.wikipedia.org/wiki/สมาคมประชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภาพที่ ๒ ชาวเมียนมาร์, ภาพที่ ๓ การตั้งถิ่นฐานของชาวเมียนมาร์ และภาพที่ ๖ ประเพณีแห่เรือและแข่งเรือ ประจําปีที่ทะเลสาบอินเล. ค้นเมื่อ ๙ สิงหาคม ๒๕๕๕, จาก http://www.pixpros.net/forums/showthread.php?t=๖๒๓๓๑ ภาพที่ ๔ การแต่งกายของชาวเมียนมาร์. ค้นเมื่อ ๙ สิงหาคม ๒๕๕๕, จาก http://sirilukpan ๑๙.blogspot.com/ ภาพที่ ๕ อาหารเช้ารับอรุณรุ่งวันใหม่ของชาวเมียนมาร์. ค้นเมื่อ ๙ สิงหาคม ๒๕๕๕, จากhttp://www.pixpros.net/forums/showthread.php?t=๒๙๙๘๕


แ าหนังสื แนะนํ ง ออิเล็กทรอนิ ท กส์บนเว็ น บไซต์สถาบั ส นอยุธยาศึ ธ กษา (http:/://www.ayuutthayastudiies.aru.ac.thh) เว็ บ ไซต์ ของสถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษ ามี ส าระควาามรู้ ใ นเรื่ อ งปประวั ติ ศ าสตตร์ ศิลปวั ป ฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นจํจานวนมาก ซึ่งท่านผู้อ่านคคงมีโอกาสได้ใช้ ใ บริการสื ก บ ค้ น ข้อ มูลเพื่ อนํา ไปปใช้ ป ระโยชนน์ กัน บ้ า งแล้ ว เพื่ อที่ จ ะตออบสนองควา ม ต้องการของผู้ใช้บริ บ การให้ได้รับประโยชน์มากขึ ม ้นกว่าเดิม ทางสถาบันอยุ น ธยาศึกษา ษ ไ ส ถาบั นอยุ อ ธยาศึ กษา ดังจะอธิบ า ย มี การจั ดทําหนั งสืออิเ ล็ก ทรออนิกส์บ นเว็ บ ไซต์ รายลละเอียดการใชช้บริการ ดังนี้

ภาพที่ ๑ หน้ ห าหลักเว็บไซซต์สถาบันอยุธยาศึกษา


หนังสืออิเล็กทรอนนิกส์บนเว็บไซซต์สถาบันอยุธยาศึ ธ กษา มี ๒ หมวดคือ ๑. หมวดดดาวน์โหลดหหนังสือ (ภาพที่ ๑ กรอบที่ ๑) ในหมวดนนี้ประกอบด้วย ว ธ กษา, วารสารวิชากาารอยุธยาศึกษา, ษ ราชภัฏกรุ ก งเก่า, ตรีมุข, ข สาร...สถาบันอยุธยาศึ สื รายงงานการขุดค้นโบราณสถาานที่ได้รับการรเผยแพร่จากกกรมศิลปากร และหนังสอ อื่นๆ กว่า ๑๓๖ เล่ม

ภาพพที่ ๒ หมวดดาววน์โหลดหนังสือ

๒. หมวดดงานวิจัย (ภาาพที่ ๑ กรอบบที่ ๒) ในหมวดนี้ประกอบบด้วย งานวิจัจัย ของสสถาบันอยุธยาาศึกษา และหนน่วยงานต่างๆ ในมหาวิทยาลลัยราชภัฏพระะนครศรีอยุธยา

ภาพที่ ๓ หมววดงานวิจัย



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.