เอกสารประกอบการอบรมหลักสูตรระยะสั้น คืนความเป็นไทยในภูมิปัญญาท้องถิ่นกรุงเก่า (ครั้งที่ ๒)
เรื่อง สืบสานภูมิปัญญาว่าวไทย : วัฒนธรรมร่วมในภูมิภาคอาเซียน วันอาทิตย์ที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๗
จัดพิมพ์โดย สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ตุลาคม ๒๕๕๗ จานวน ๑๐๐ เล่ม ๙๖ ถนนปรีดี พนมยงค์ อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา โทรศัพท์ ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ โทรสาร ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ ฝ่ายวิชาการ พัฑร์ แตงพันธ์ สาธิยา ลายพิกุน
ฝ่ายส่งเสริม และเผยแพร่วิชาการ ปัทพงษ์ ชื่นบุญ อายุวัฒน์ ค้าผล อรอุมา โพธิ์จิ๋ว ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ณัฐฐิญา แก้วแหวน สายรุ้ง กล่ําเพชร ศรีสุวรรณ ช่วยโสภา ประภาพร แตงพันธ์ ยุพดี ป้อมทอง
คัดสรรข้อมูลจาก: กระทรวงวัฒนธรรม. (๒๕๕๗). ว่าวไทย การละเล่นพื้นบ้านเพื่อความบันเทิงในฤดูร้อน. สืบค้นเมื่อ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๗ จาก www.m-culture.go.th/ilovethaiculture นิยม คนชื่อ. (๒๕๕๐). ศิลปะประดิษฐ์ว่าวไทย. กรุงเทพฯ: เพชรกะรัต. ภิญ โญ สุ ว รรณคี รี. (๒๕๕๗). ต านานว่ า วไทย. สืบ ค้น เมื่ อ ๒๗ ตุ ลาคม ๒๕๕๗ จาก www.stou.ac.th/study
คัดสรรภาพปกจาก: Flay (นามแฝง). (๒๕๕๑). เทศกาล ว่าวนานาชาติ หั วหิน. สืบค้นเมื่อ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๗ จาก www.pixpros.net/forums/showthread.php?t=14711
สารบัญ หน้า ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับว่าว
๑
การเล่นว่าวในภูมิภาคต่าง ๆ ของไทย
๔
วิธีการเล่นว่าว
๗
วัสดุและอุปกรณ์
๙
การทาว่าวจุฬาแบบมาตรฐาน
๑๕
การทาว่าวปักเป้า
๑๗
การทาว่าวอีลุ้มแบบมาตรฐาน
๑๙
การทาว่าวดุ๊ยดุย่
๒๑
บันทึก
๒๓
กิจกรรมอบรมหลักสูตรระยะสัน้ คืนความเป็นไทยในภูมิปญ ั ญาท้องถิ่นกรุงเก่า (ครั้งที่ ๒) เรื่อง สืบสานภูมิปญ ั ญาว่าวไทย : วัฒนธรรมร่วมในภูมิภาคอาเซียน ๑.ชื่อหลักสูตร: กิจกรรมอบรมหลักสูตรระยะสั้นคืนความเป็นไทยในภูมิปัญญาท้องถิ่นกรุงเก่า (ครั้งที่ ๒) สืบสานภูมิปัญญาว่าวไทย : วัฒนธรรมร่วมในภูมิภาคอาเซียน ๒.หน่วยงานผู้รับผิดชอบ: ฝ่ายส่งเสริมและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม สถาบันอยุธยาศึกษา ๓.หลักการและเหตุผล: คําว่า “ว่าว” จากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ หน้า ๑๐๖๙ อธิบายว่า ว่าว คือเครื่องเล่นอย่างหนึ่ง มีไม้ไผ่เป็นต้น ผูกเป็นโครงรูปร่างต่าง ๆ ปิดด้วยกระดาษหรือเศษผ้าบาง ๆ มีสาย เชือก หรือป่านผูกกับสายซุงสําหรับชักให้ลอยตามลม ในภาษาจีนเรียกว่า “ฮวงคิ้ม” ภาษาเขมรเรียกว่า “แครง” ภาษาอังกฤษเรียกว่า “Kite” ในประวัติศาสตร์ไทย ปรากฏเรื่องราวของว่าวในพงศาวดารเหนือ ตอนที่กล่าวถึงตํานานพระร่วง เมืองสวรรคโลกว่า ทรงโปรดเล่นว่าวเป็นอย่างยิ่ง ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ก็มีการเล่นว่าวกันมากถึงกับมีกฎ มณเฑียรบาลห้ามมิให้ประชาชนเล่นว่าวทับพระราชวัง นอกจากนี้ ว่าวมิได้ใช้เฉพาะเพื่อ เล่นเพื่อความ สนุกเท่านั้น แต่มีการใช้ในยุทธศาสตร์การสงครามด้วยในรัชกาลสมเด็จพระเพทราชา คือตอนที่พระยายม ราช (สังข์) เจ้าเมืองนครราชสีมาเป็นกบฎ พระเพทราชาสั่งกองทัพไปปราบเมืองไม่สําเร็จ ในครั้งที่ ๒ แม่ ทัพอยุธยาคิดเผาเมืองอุบายหนึ่งนั้นใช้หม้อดินบรรจุดินดําผูกสายป่านว่าวจุฬาไปถึงหม้อดินดําระเบิดตกไป ไหม้บ้านเมือง จากประวัติศาสตร์ตอนนี้ปรากฏเป็นชื่อว่าวจุฬาเป็นครั้งแรก สมั ย กรุ ง รั ตนโกสิน ทร์ การเล่ นว่ าวยัง คงเป็ นการละเล่น และกี ฬาที่ นิ ยมโดยเฉพาะรัช สมั ย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสนับสนุนกีฬาเล่นว่าว มีการประกวดและแข่งขันว่าวจุฬา และว่าวปักเป้า โดยมีกติกาการแข่งขันเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้การแข่งขันยุติธรรมและสนุกสนาน และทรงโปรดเกล้าฯ ให้ใช้สถานที่ในพระราชวังดุสิต และสนามเสือป่าเป็นที่เล่นว่าวจุฬากับว่าปักเป้า นอกจากนี้การเล่นว่าว ยังปรากฏอยู่ในวรรณคดีไทย และบทละครนอกอีกหลายเรื่องเช่น สุวรรณ หงส์ แก้วหน้าม้า เป็นต้น และนับเป็นกีฬาอีกประเภทหนึ่งที่แพร่หลายอยู่ทุกภูมิภาคของประเทศไทย รวม ไปถึงในภูมิภาคอาเซียน เป็นสิ่งประดิษฐ์ขึ้นเพื่อความบันเทิงที่ นิยมเล่นกันเกือบทุก ชาติเ ป็นเวลานาน มาแล้ว แต่ไม่ทราบแน่ชัดว่ามีขึ้นเมื่อใด ใครเป็นผู้คิด การเล่นว่าวในปัจจุบันนี้นิยมเล่นกันในฤดูร้อน และฤดูหนาว โดยเฉพาะในอดีตยังนิยมเล่น “ว่าวดุ๊ยดุ่ย” ในฤดูหนาวตอนกลางคืน เพื่อฟังเสียงดนตรีอันไพเราะจากใบธนูยามต้องลมบน เวลาที่อยู่ยามเฝ้าท้องไร้ ท้องนา การประดิษฐ์ว่าว จึงเป็นสิ่งที่แสดงถึงภูมิปัญญาของคนไทยในอดีต แต่ในปัจจุบันนี้ เยาวชนรุ่น หลังไม่ได้ให้ความสนใจกับภูมิปัญญาว่าวไทย เนื่องด้วยปัจจัยหลาย ๆ อย่างทั้งทางด้านเวลา พื้นที่ การ ขาดการสืบทอด รวมไปถึงการเข้ามาของเทคโนโลยีที่ทันสมัยต่าง ๆ ในรูปแบบเกมส์ดิจิตอล ภูมิปัญญา การทําว่าวไทยจึงกําลังประสบปัญหาการสืบทอด และเสี่ยงต่อการสูญหายในอนาคต
สถาบันอยุธยาศึกษา เป็นหน่วยงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ทําหน้าที่ใน ด้านการศึก ษา ค้นคว้า วิจัยข้อ มู ล เกี่ ยวข้องกับ ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ศิล ปวัฒ นธร รมของจัง หวัด พระนครศรีอยุธยา จึงเห็นสมควรจัด กิ จกรรมอบรมหลัก สูตรระยะสั้นคืนความเป็นไทยในภูมิปัญญา ท้องถิ่นกรุงเก่า ครั้งที่ ๒ เรื่อง สืบสานภูมิปัญญาว่าวไทย : วัฒนธรรมร่วมในภูมิภาคอาเซียน เพื่อให้ ผู้เข้ารับการอบรมได้เรียนรู้ความเป็นมา และประโยชน์ของว่าวไทยในเชิงบูรณาการ สามารถผลิตชิ้นงาน ทั้งในเรื่องของการเตรียมวัสดุ การทําโครงว่าว การปิดกระดาษ การตกแต่ง โดยผู้อบรมสามารถที่จะนําไป ประกอบอาชีพอิสระและยังนําไปประยุกต์กับงานอื่นๆ ได้ ตลอดจนเป็นการปลูกจิตสํานึกและภาคภูมใิ จใน มรดกวัฒนธรรม รวมทั้งเป็นการสืบสานภูมิปัญญาของชาติต่อไป ๔.วัตถุประสงค์ : ๑) เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา อาจารย์ เครือข่ายทางวิชาการ และผู้สนใจ มีความความรู้เกี่ยวกับ ประวัติความเป็นมาของการละเล่น และชนิดของว่าวไทย ๒) เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา อาจารย์ เครือข่ายทางวิชาการ และผู้สนใจ มีความความรู้เกี่ยวกับ ปฏิบัติวิธีการผลิตหัตถกรรมว่าวไทย และสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะที่มีลักษณะเฉพาะตนได้ ๓) เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา อาจารย์ เครือข่ายทางวิชาการ และผู้สนใจ เกิดจิตสํานึกที่ดีเห็น คุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรมของชาติและของท้องถิ่น รวมทั้งสืบทอดศิลปะและวัฒนธรรมแขนงต่างๆ ของไทย อันจะก่อให้เกิดความรู้สึกหวงแหนในศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ และเกิดผลดีต่อประเทศชาติ สืบไป ๕. สาระสาคัญของหลักสูตร: กิจกรรมอบรมหลักสูตรระยะสั้นคืนความเป็นไทยในภูมิปัญญาท้องถิ่นกรุงเก่า ครั้งที่ ๒ เรื่อง สืบสานภูมิปัญญาว่าวไทย : วัฒนธรรมร่วมในภูมิภาคอาเซียน ๖. หัวเรื่องและขอบข่ายเนื้อหา: หัวเรื่อง: สืบสานภูมิปัญญาว่าวไทย : วัฒนธรรมร่วมในภูมิภาคอาเซียน ขอบข่ายเนื้อหา: ผู้เข้ารับการอบรมได้เรียนรู้ความเป็นมา และประโยชน์ของว่าวไทยในเชิงบูรณา การ สามารถผลิตชิ้นงาน ทั้งในเรื่องของการเตรียมวัสดุ การทําโครงว่าว การปิดกระดาษ การตกแต่ง โดย ผู้อบรมสามารถที่จะนําไปประกอบอาชีพอิสระและยังนําไปประยุกต์กับงานอื่นๆ ได้ ๗. รูปแบบและวิธีการฝึกอบรม: ๗.๑ อบรมเชิงอภิปราย (บรรยายทางวิชาการ) ๗.๒ วิ ธี ก ารฝึ ก อบรม: การจั ด กิ จ กรรมบรรยายทางวิ ช าการ โดยนั ก วิ ช าการที่ มี ค วามรู้ ความสามารถ และเป็นที่รู้จักในแวดวงวิชาการ ๘. ระยะเวลาการฝึกอบรม: ๑ วัน ๙. จานวนผู้เข้ารับการอบรม: ๔๐ คน ๑๐. คุณสมบัติของผู้เข้ารับการอบรม: นักเรียน นักศึกษา อาจารย์ และผู้สนใจทั่วไป
๑๑. ค่าใช้จ่าย: งบประมาณแผ่นดิน (บริการทางวิชาการ) ๑๘,๐๐๐ บาท ๑๒. การวัดและประเมินผลการฝึกอบรม: ๑๒.๑ นักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕ ๑๒.๒ นักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไปมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕ ๑๒.๓ นักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไปสามารถนําความรู้ไปใช้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕ ๑๓. ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ๑) นักเรียน นักศึกษา อาจารย์ เครือข่ายทางวิชาการ และผู้สนใจทั่วไป มีความความรู้เกี่ยวกับ ประวัติความเป็นมาของการละเล่น และชนิดของว่าวไทย ๒) นักเรียน นักศึกษา อาจารย์ เครือข่ายทางวิชาการ และผู้สนใจทั่วไป มีความความรู้เกี่ยวกับ ปฏิบัติวิธีการผลิตหัตถกรรมว่าวไทย และสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะที่มีลักษณะเฉพาะตนได้ ๓) นักเรียน นักศึก ษา อาจารย์ เครือข่ายทางวิชาการ และผู้สนใจทั่วไป เกิดจิตสํานึกที่ ดีเห็น คุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรมของชาติและของท้องถิ่น รวมทั้งสืบทอดศิลปะและวัฒนธรรมแขนงต่างๆ ของไทย และสามารถนําไปประยุกต์ใช้เพื่อการประกอบอาชีพได้ ๑๔. วันเวลาอบรม : วันอาทิตย์ที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. ๑๕. สื่อการอบรม : ๑๕.๑ เอกสารประกอบการเสวนา ๑๕.๒ จอแสดงภาพประกอบ ๑๖. สถานที่ฝึกอบรม : ภาคทฤษฏี และภาคปฏิบัติ ณ สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๑๗. แนววิชาโดยสังเขป ผู้เข้ารับการอบรมสามารถผลิตชิ้นงานจากใบลาน ได้ด้วยตนเองในหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่การ เตรียมใบลาน การสาน การลงสี โดยผู้อบรมสามารถที่จะนําไปประกอบอาชีพอิสระและยังนําไปประยุกต์ กับงานอื่นๆ ได้
๑๘ .แผนการสอน วันที่ ๘ พ.ย. ๕๗
เวลา เนื้อหาวิชา ๐๘.๓๐ – ๐๙.๓๐ น. ประวัติความเป็นมา และประโยชน์ต่าง ๆ จากว่าว,วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ในการทํางานตามขั้นตอนสาธิตการผลิตชิ้นงานจริง ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ น. ปฏิบัตกิ ารประดิษฐ์ว่าวอีลุ้ม ๑๓.๐๐ – ๑๕.๓๐ น. ปฏิบัตกิ ารประดิษฐ์ว่าวจุฬา ๑๕.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. ปฏิบัติ เก็บลายละเอียดงาน และแก้ไขจุดบกพร่อง
รวมบรรยาย ๑ ชั่วโมง รวมปฏิบัติการ ๗ ชั่วโมง วัสดุที่จัดเตรียมให้ : ไม้ไผ่ , กาว , กระดาษปิดว่าว , เชือกไนล่อน , ไม้บรรทัด
กาหนดการอบรมหลักสูตรระยะสัน้ คืนความเป็นไทยในภูมิปญ ั ญาท้องถิ่นกรุงเก่า (ครั้งที่ ๒) สืบสานภูมปิ ัญญาว่าวไทย : วัฒนธรรมร่วมในภูมิภาคอาเซียน วันอาทิตย์ที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมสถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๐๘.๓๐ – ๐๙.๐๐ น.
ลงทะเบียนรับเอกสาร
๐๙.๐๐ – ๑๐.๐๐ น.
แบ่งกลุ่มปฏิบัติการฝึกอบรม, ประวัติความเป็นมา และประโยชน์ต่าง ๆ จากว่าว, วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทํางานตามขั้นตอนสาธิตการผลิตชิ้นงานจริง วิทยากรโดย อาจารย์สุนทร บุญมาก และนางสาวสุจินดา แสงหิรัญ
๑๐.๐๐ – ๑๒.๐๐ น.
ปฏิบัติการประดิษฐ์ว่าวอีลุ้ม วิทยากรโดย อาจารย์สุนทร บุญมาก และนางสาวสุจินดา แสงหิรัญ
๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น.
พักรับประทานอาหารกลางวัน
๑๓.๐๐ – ๑๕.๓๐ น.
ปฏิบัติการประดิษฐ์ว่าวจุฬา วิทยากรโดย อาจารย์สุนทร บุญมาก และนางสาวสุจินดา แสงหิรัญ
๑๕.๓๐ – ๑๖.๐๐ น.
ปฏิบัติการเก็บลายละเอียดงาน และแก้ไขจุดบกพร่อง วิทยากรโดย อาจารย์สุนทร บุญมาก และนางสาวสุจินดา แสงหิรัญ
๑๖.๐๐ – ๑๖.๓๐ น.
สรุปผลงาน และมอบเกียรติบัตร (ผู้อบรมได้ผลงาน ๑ ชิ้น)
*** หมายเหตุ *** รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่มในระหว่างการอบรม เวลา ๑๐.๐๐ น และ ๑๔.๐๐ น.
หน้า ๑
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับว่าว คาว่า “ว่าว” ที่คนไทยรู้จักกันดี จริง ๆ แล้วเป็นภาษามอญ ซึ่งแปลว่า “หนาว” ดังนั้นลมว่าวก็ คือลมหนาวนั่นเอง ซึ่งเป็นลมที่พัดพาความแห้งแล้งและหนาวเย็นมาจากด้านบนของทวีปเอเชียในช่วง เดือนธันวาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ แต่ปัจจุบันช่วงเวลาในการเล่นว่าวเปลี่ยนไป คือนิยมเล่นกันในช่วงฤดู ร้อน โดยอาศัยลมสลาตันซึ่งเป็นลมที่พัดจากทิศใต้ไปทิศเหนือพยุงว่าวให้ขึ้นฟ้า และโฉบเฉี่ยวฉวั ดเฉวียน ได้ดีไม่แพ้ลมว่าวเลย
ประวัติ “ว่าว”* ไม่มี การระบุวันเวลาที่ แน่นอนว่าว่าวตัวแรกของโลกถือกาเนิดขึ้นมาเมื่ อไร แต่เชื่อกั นว่าแรง บันดาลใจที่ทาให้มีการประดิษฐ์ว่าวเกิดขึ้นเมื่อราว ๒,๐๐๐ ปีมาแล้ว ที่ประเทศจีน โดยมีตานานเล่าต่อกัน มาว่า ชาวนาจีนคนหนึ่งได้ผูกหมวกไว้กับต้นไม้เพื่อไม่ให้หมวกปลิว เมื่อมีลมกรรโชกแรงหมวกที่ผูกไว้กับ ต้นไม้ก็ลอยละลิ่วไปตามแรงลม แล้วเขาก็สาวเชือกนาหมวกกลับมาได้ ชาวจีนจึงนาหลักการนี้มาประดิษฐ์ เป็นว่าว ต่อมาชาวจีนก็ได้นาว่าวไปเผยแพร่ในเกาหลี อินเดีย และประเทศต่าง ๆ ในเอเชียที่ทาการติดต่อ ค้าขายกับจีน จากนั้นแต่ละประเทศก็ได้พัฒนาการเล่นว่าวตามแบบของตัวเอง
ประวัติ ว่าวไทย ว่าวเป็นสิ่งที่คนไทยเราคุ้นเคยมานาน ตั้งแต่สมัยเด็กก็มักจะเล่นว่าวกันในทุก ๆ ฤดูร้อน ทั้งนี้ ว่าวไทยนั้นมีประวัติศาสตร์อันยาวนานตั้งแต่สมัยสุโขทัย ซึ่งเป็นสิ่งที่ชาวไทยควรภาคภูมิใจ และช่วยกัน รักษาไว้เป็นมรดกของชาติ สมัยสุโขทัย (พ.ศ.๑๗๘๑ – ๑๙๘๑) มี ความนิยมเล่นว่าวในหมู่เจ้านาย จนเกิดเป็นเรื่องราว ความรักของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ ซึ่งโปรดการเล่นว่าวมาก เรื่องมีอยู่ว่า วันหนึ่งพระองค์ทรงเล่นว่าวในวัง สายป่านขาดลอยไปตกที่หลังคาบ้านพระยาเอื้อ พระองค์เสียดายว่าวมาก เมื่อถึงเวลากลางคืนจึงปลอมตัว เป็นสามั ญ ชน ปีน ออกจากวัง ไปเก็บ ว่าวที่ บ้านพระยาเอื้อ แล้วพบว่าพระยาเอื้อมี ลูก สาวสวย ท าให้ พระองค์เกิดความรักกับลูกสาวพระยาเอื้อ * อ้างอิงจาก นิยม คนชื่อ. (๒๕๕๐). ศิลปะประดิษฐว่าวไทย. กรุงเทพฯ: เพชรกะรัต. ซึ่งเป็นข้อมูลกึ่งตานานกึ่ง ประวัติศาสตร์ หากต้องการใช้เป็นข้อมูลทางวิชาการ ควรตรวจสอบจากหลักฐานชั้นต้น (สถาบันอยุธยาศึกษา)
หน้า ๒
สมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา (พ.ศ.๑๘๙๓ – ๒๓๑๐) การเล่ น ว่ า วได้ รั บ ความนิ ย มมาก ตั้ ง แต่ พระมหากษัตริย์เรื่อยมาจนถึงสามัญชน ในสมัยสมเด็จพระเพทราได้ใช้ว่าวในการสงคราม โดยใช้ลู กระเบิด ผูกติดกับว่าวแล้วจุดไปตามสายป่านใส่ฝ่ายข้าศึก การแข่งขันว่าวจุฬาและปักเป้าก็เกิดขึ้นในสมัยนี้ โดยพระมหากษัตริย์จะทรงว่าวจุฬา ถ้าใครเล่น ว่าวปักเป้าเข้ามาในเขต ก็จะถูกคว้าลงมา หลักฐานจากจดหมายเหตุของ มองซิเออร์ เดอลาลูแบร์ อัครราชทูตจากราชสานักฝรั่งเศส สมัย พระเจ้าหลุยที่ ๑๔ ที่เข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีกับไทย ได้เขียนบรรยายไว้ใน จดหมายเหตุการณ์เดินทางไว้ ว่า “ว่าวของสมเด็จพระเจ้ากรุงสยามปรากฏในท้องฟ้าของทุกเดือน ตลอดระยะเวลา ๒ เดือนของฤดู หนาว และทรงแต่งตั้งขุนนางให้คอยผลัดเปลี่ยนเวรกันถือสายป่านไว้” บาทหลวง ตาชาร์ด ซึ่งเป็นบาทหลวงในนิกายเยชูอิค ที่พระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๙ ส่งเข้ามาเผยแพร่ คริสต์ศาสนา ได้เขียนบรรยายเรื่องราวเกี่ยวกับว่าวไว้ว่า “ว่าวเป็นกีฬาที่นิยมเล่นกันอยู่ ทั่วไปในหมู่ชาว สยามที่ทะเลชุบศร และเมืองลพบุรี ขณะที่สมเด็จพระนารายณ์ประทับอยู่นั้น ในเวลากลางคืนรอบพระ ราชนิเวศน์จะมีว่าวรูปต่าง ๆ ลอยอยู่ ว่าวนี้ติดโคมไฟส่องสว่างและลูกกระพรวนส่งเสียงกรุ๋งกริ๋ง ” สมัยรัตนโกสินทร์ การเล่นว่าวยังเป็นที่นิยมกั น อยู่ม าก โดยในสมั ยรัชกาลที่ ๔ (พ.ศ. ๒๓๙๔ – ๒๑๑๑) พระองค์ทรงมีพระบรมราชานุญาตให้ประชาชนเล่นว่าวได้ ที่ ท้ อ ง ส น า ม ห ล วง ซึ่ ง แ ต่ เ ดิ ม นั้ น ผู้ ที่ เ ล่ น ว่ า วใ ก ล้ พระบรมมหาราชวังมีโทษถึงขั้นตัดมือ เนื่องจากอาจลอยไป ทาลายยอดและเครื่องประดับของตัวปราสาทได้ ต่อมาใน สมัยรัชกาลที่ ๕ ในปี พ.ศ. ๒๔๔๙ ได้มีการจัดการแข่งขัน ว่าวจุฬา – ปักเป้า ชิงถ้วยทองคาพระราชทานที่พระราชวัง ดุสิ ต การแข่ ง ขั น นี้ มี เ ป็ นประจ าทุ ก ปี จ นสิ้ น รัช สมั ย ของ พระองค์ ต่อมาในช่วงปีสุดท้ายในรัชกาลที่ ๖ (พ.ศ.๒๔๕๓ – ๒๔๖๘) พระองค์ได้ทรงฟื้นฟูกีฬาว่าวขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง หลักจากนั้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ จึงได้ จัดการแข่งขันกีฬาว่าว ระหว่างจุฬา-ปักเป้าประจาปีขึ้นมา อีก แต่ก็มีอันต้องว่าวเว้นไปอีก เนื่องจากรัฐบาลไม่ส่งเสริม และว่ า วเป็ น ที่ สิ่ง ที่ ส ร้ างปั ญ หากั บ ระบบการจ่า ยไฟฟ้ า เพราะมีว่าวไปติดสายไฟและเคยมีคนถูกไฟดูดตายก็มีมาก
หน้า ๓
จึงทาให้การเล่นว่าวเสื่อมความนิยมลงไป จากหลักฐานข้างต้นแสดงให้เห็นว่า ชาวไทยรู้จัก การเล่นว่าวมาไม่ ต่ากว่า ๗๐๐ ปีแล้ว เราจึงควรอนุรัก ษ์ และฟื้ น ฟู ศิ ล ปะของชาติ แ ขนงนี้ ใ ห้ ค งอยู่ คู่ กั บ ชาติ ไ ทย ตลอดไป
หน้า ๔
การเล่นว่าวในภูมิภาคต่าง ๆ ของไทย
ภาคกลาง ว่าวจุฬา เป็นว่าวที่นิยมเล่นกันในภาคกลาง มีลักษณะเป็น ๕ แฉก ประกอบเป็นโครงขึ้นด้วยไม้ ๕ อัน ไม้อันกลางเรียกว่า “อก” เหลาหัวท้ายให้ปลายเรียว ไม้อีก ๒ อันผูกขนาบตัวปลายให้จรดกันเป็น ปีก และไม้อีก ๒ อัน เป็นขาว่าวเรียกว่า “ขากบ” ส่วนใหญ่นิยมใช้ไม้ไผ่สีสุก อายุประมาณ ๓ -๔ ปี เพราะ เนื้อไม้จะมีน้าหนักเบา เหนียว ยืดหยุ่นสูง ไม่หักง่าย และมีเคล็ดว่าไม่ควรใช้ไม้ที่มีตาหนิ หรือเป็นรอยด่าง เพราะเนื้อไม้จะไม่เสมอกัน เป็นสาเหตุทาให้ว่าวเลี้ยงตัวไม่ดี จากนั้นนาโครงว่าวมาขึงด้ายเป็นตารางตลอด ตัวว่าว เรียกว่า “ผูกสัก” แล้วใช้กระดาษปิดทับลงบนโครง วิธีการทาข้างต้นอาจดูคล้ายทาได้ง่ายๆ แต่ใน ความเป็นจริงแล้ว การทาว่าวนับเป็นภูมิปัญญาที่ผู้ทาจะต้องมีความอดทน มีสมาธิ และเป็นงานที่ต้องใช้ ความละเอียดอย่างยิ่ง เพราะหากทาไม่ถูกสัดส่วนแล้ว ว่าวอาจจะไม่สามารถลอยตัวขึ้นได้เลย หรืออาจจะ ลอยตัวขึ้นได้แต่เอียงซ้าย/ขวา หมุนควง และดิ่งลงมาสู่พื้นในที่สุด ดังนั้น ช่างแต่ละคนจึงมีเคล็ดลับในการ ทาว่าวแตกต่างกันไป วัดพระศรีอารย์ จังหวัดราชบุรี เป็นชุมชนตัวอย่างหนึ่งที่ตระหนักถึงความสาคัญของภูมิปัญญา การทาว่าวจุฬา เพราะเห็นว่านอกจากจะสร้างความสนุกสนานแล้ว ยังเป็นเครื่องมือสาคัญในการเสริม ความสัมพันธ์ของผู้คนในท้องถิ่น และเพื่อนบ้านใกล้เคียง ชุมชนนี้จึงได้มีการฟื้นฟูและส่งเสริมการเล่ นว่าว ขึ้น พร้อมทั้งได้เชิญช่างที่มีฝีมือในท้องถิ่นและต่างถิ่นมาสอนการทาว่าวจุฬา เพื่อเป็นการอนุรักษ์และสืบ ทอดภูมิปัญญาแขนงนี้ให้คงอยู่สืบไป สาหรับสูตรของช่างว่าววัดพระศรีอารย์ ซึ่ง ส่วนมากเป็นว่าวขนาดใหญ่ใช้ในการเรียนรู้และ แข่งขันทั่วไป นิยมทาขนาดความยาวอก ๘๔ นิ้ว จะมีเคล็ดลับสาคัญอยู่ที่ การกาหนดจุดตาแหน่งสาหรับ ทาโครงว่าวบนไม้อก ๔ จุด คือ จุดผูกก้นเข็ม จุดผูกปีกบน จุดกึ่งกลางระหว่างปีก และจุดกึ่งกลางระหว่าง หัว รวมถึงการเหลาไม้ให้ได้ขนาดสัดส่วนที่ถูกต้องและเหมาะสมกับการใช้งานของไม้แต่ละชิ้น เพื่อให้ว่าว
หน้า ๕
ทรงตัวได้ดี นอกจากนี้ในการผูกโครงว่าวยังต้องระวัง “การผูกขากบ” มากที่สุด เพราะหากผูกเอวทั้ง ๒ ข้ า ง ไม่ เ ท่ า กั น เพี ย งเล็ ก น้ อ ยจะท าให้ ปี ก ทั้ ง สองข้ า งกิ น ลมไม่ เ ท่ า กั น และว่ า วจะเอี ย งได้ ที่สาคัญคือ วิธีปิดกระดาษว่าวจะกระทากันในตอนเช้ามืด หรือในเวลากลางคืน เพราะอากาศจะชื้ น ทาให้ กระดาษว่าวไม่แห้งและตึง จึงปิดได้เรียบและสวยงาม
ภาคเหนือ ลักษณะของว่าวไทยภาคเหนือ แต่เ ดิม มีรูปแบบที่ ทาขึ้นอย่างง่าย ๆ โดยมีโ ครงทาจากไม้ไผ่ นามาไขว้กันมีแกนกลางอันหนึ่ง และอีกอันหนึ่งโค้งทาเป็นปีกว่าว จะไม่ใช้เชือกช่วยในการทาโครงก่อน ใช้ กระดาษปิดทับโครงไม้เลยทีเดียว รูปร่างของว่าวก็คล้าย ๆ กับว่าวปักเป้าของภาคกลาง แต่ไม่มีหางและพู่ และมีชนิดเดียว ไม่มีหลายประเภทเหมือนภาคกลาง ลักษณะของว่าวก็เปลี่ยนแปลงไปตามสมัยนิยม โดย หาซื้อว่าวตามท้องตลาด ซึ่งเป็นว่าวรูปแบบใหม่ ๆ คือรูปสัตว์ชนิดต่าง ๆ เช่น ว่าวงู ว่าวนก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชาวตาบลชุมเห็ด จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นตัวอย่างชุมชนหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่สืบทอด การทา แอก หรือ สะนู จากบรรพบุรุษมานานหลายชั่วอายุคน ตามความเชื่อ ๓ ประการของคนอีสาน ได้แก่ ประการแรก บวงสรวงและขอขมาพระแม่ธรณี พระภูมิเจ้าที่ พระแม่โพสพ ประการที่สอง เสี่ยงทาย ความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ธัญญาหาร โดยเชื่อกันว่าปีใดที่ว่าวขึ้นสูงและมีเสียงแอกติดลมอยู่ได้ตลอด ทั้งคืน ทายว่าฟ้าฝนจะดี ข้าวปลาอาหารจะบริบูรณ์ และประการสุดท้าย เป็นการสะเดาะเคราะห์ โดยจะ นา หมากพลู ยาเส้น บุหรี่ เงิน ใส่ไว้ในถุงเล็กๆแล้วตั้งจิตอธิษฐาน ในขณะที่ว่าวขึ้นสูงและแอกมีเสียงดัง เจ้าของว่าวจะตัดเชือกว่าวให้ล่องลอยไปตามสายลม จึงถือว่าเป็นการหมดเคราะห์ทั้งมวล และจะมีแต่สิ่ง ดีๆ กลับมาแทน แต่ในปัจจุบันความเชื่อดังกล่าวได้ลดน้อยลง และจะเล่นเพื่อความสนุกสนานอนุรักษ์สืบ สานประเพณีวัฒนธรรมมากกว่า เคล็ดลับสาคัญของการทา แอก หรือ สะนู ของช่างตาบลชุมเห็ด คือ ศิลปะในการสลักลวดลาย และลายสานประกอบตัวแอกหรือสะนูให้สวยงามด้วยหวายเรียกว่า “ถักจูงนาง” ซึ่งยังคงรักษาเอกลักษณ์ ความเป็นไทยไว้ให้ได้เห็น และการใช้หวายเหลาแบนๆทาใบสะนูเพื่อทาให้เกิด เสียง รวมถึงการติดชันโรง กับใบสะนูเพื่อปรับแต่งให้ได้เสียงที่ไพเราะปัจจุบันการเล่นว่าวในภูมิภาคต่างๆของไทย นิยมเล่นกันทั้งใน หน้าหนาวและหน้าร้อน โดยต้องอาศัยกระแสลมเป็นปัจจัยสาคัญที่จะช่วยให้เล่นว่าวได้อย่างสนุกสนาน กระแสลมดัง กล่าวมี ๒ ระยะ คือ ระยะหน้าหนาว คือในช่วงเดือน พ.ย.ถึง ก.พ. เป็นลมที่พัดจากผืน แผ่นดินลงสู่ทะเล ทาให้คนภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือนิยมเล่นว่าวกันในช่วงนี้ ส่วนหน้าร้อน ในราวเดือนมี.ค.ถึงเม.ย.จะมีลมตะวันตกเฉียงใต้จากทะเลพัดสู่ผืนแผ่นดินใหญ่ เรียกว่าลมตะเภา หรือ “ลมว่าว” ทาให้ชาวภาคกลาง ภาคตะวันตกและภาคใต้ นิยมเล่นว่าวในฤดูนี้
หน้า ๖
ภาคใต้ ว่าววงเดือน หรือ ว่าวบุหลัน และอาจเรียกเป็นภาษามลายูว่า "วาบูแล" ซึ่งแปลว่า "ว่าวเดือน" นิยมเล่นในภาคใต้ตอนล่าง มีเอกลักษณ์เฉพาะที่การตกแต่งว่าวเป็นลวดลายสวยงามคล้ายกับลายของเรือ กอและ ส่วนบนของว่าวมีลักษณะคล้ายว่าวจุฬา แต่ในส่วนของหางจะเป็นรูปวงเดือน มักนิยมติดแอกหรือ ที่เรียกกันว่าสะนู หรือธนู ซึ่งทาให้เกิดเสียงเมื่อปะทะกับลม เป็นว่าวที่ขึ้นง่าย สูง นิ่ง และให้เสียงอ่อน ชุมชนฮูหยงตันหยง จังหวัดนราธิวาส เป็นตัวอย่างหนึ่งของชุมชนที่ยังคงสืบสานการทาว่าววง เดือนที่สวยงามฝีมือประณีตจากบรรพบุรุษ ด้วยเคล็ดลับพิเศษของการเขียนลวดลายที่เป็นเอกลักษณ์ของ ช่าง ประกอบกับโครงสร้างของวงเดือนที่สมบูรณ์ ทาจากไม้ไผ่หนามมีความหนา เหนียว และทนต่อการ หักงอได้มากกว่าไม้ไผ่อื่นๆ ที่สาคัญไม้ไผ่หนามนั้นตัวมอดไม่กัดกินและมีความคงทน เมื่อ ติดแอก หรือ บาแตวูโซ จะทาให้เกิดเสียงดังเมื่ออยู่บนท้องฟ้าและยังช่วยให้ถ่วงส่วนหัวให้ได้ขนาดน้าหนักที่เหมาะสม ด้วย ส่วนการใช้พลาสติก ปิดโครงว่าวแทนกระดาษเนื่องจากมีความทนทานมากกว่าเมื่ออยู่บ นท้องฟ้า โดยเฉพาะการติดด้วยด้วยน้ายางพาราสดที่เจ้าของภูมิปัญญาเชื่อว่าสามารถติดและทนมากกว่ากาวทั่วไป ในปัจจุบัน ว่าววงเดือนนอกจากจะเป็นเครื่องประดับบ้าน และเล่นเพื่อความสุขสนุกสนานใน ท้องถิ่นแล้ว ยังนาการเล่นว่าวมาเชื่อมความสัมพันธ์กับมาเลเซียเพื่อนบ้าน ภายใต้ชื่อ “บุหลัน” วงเดือน แห่งฟากฟ้าเชื่อมความสัมพันธ์พี่น้อง “ไทย-มาเลย์” อีกด้วยสาหรับอุปกรณ์ประกอบที่สาคัญและนิยมใช้ ประกอบว่าวหลายชนิด เช่น ว่าวดุ๋ยดุ่ย ว่าวนกยูง ว่าว ควาย คือ แอก หรือ สะนู ซึ่งมีลักษณะคล้ายคันธนู ติดไว้ที่หัวว่าว นอกจากจะช่วยให้ว่าวเกิดความสมดุล และติดลมได้อย่างสวยงามแล้วยังสามารถทาให้เกิด เสียงเมื่อปะทะกับลมคล้ายเสียงบรรเลงดนตรีได้อย่างไพเราะ
หน้า ๗
วิธีการเล่นว่าว ส่วนวิธีการเล่นว่าวนั้น คนไทยนิยมเล่นอยู่ ๓ วิธี คือ ๑. ชักว่าวให้ลอยลมปักอยู่กับที่ เพื่อดูความสวยงามของว่าวรูปต่าง ๆ ๒. บัง คับสายชักให้เคลื่อ นไหวได้ตามต้องการ นิยมกันที่ความสวยงาม ความสูง และบางที ก็ คานึงถึงความไพเราะของเสียงว่าวอีกด้วย ๓. การต่อ สู้ท าสงครามกั นบนอากาศ คือ การแข่งขันว่าวจุฬาและปัก เป้าคว้ากั นบนอากาศ ด้วยรูปร่างและอาวุธของว่าวทั้ง ๒ ชนิดที่แตกต่างกัน คือว่าวจุฬาได้เปรียบทั้งขนาดและอาวุธ ดังนั้นเพื่อ ความยุติธรรมจึงมีกติกาว่าว่าวจุฬาต้องต่อให้ว่าวปักเป้า ๒ ต่อ ๑ การที่ว่าวจุฬามีขนาดใหญ่กว่า เวลาเล่นจึงต้องยึดแท่นที่อยู่เหนือลม ส่วนว่าวปักเป้าตัวเล็กจึง ต้องอยู่ด้านใต้ลมตรงแนวทางเดียวกัน มีระยะให้ทอดห่างพอสมควร พอให้สายป่านของว่าวจุฬาจะผ่อนมา คว้าในแดนว่าวปักเป้าได้ การแบ่งแดนจะใช้การปักธงเป็นเครื่องหมายแสดงเขตแดน การตัดสินมีหลักเกณฑ์ดังนี้ ถ้าว่าวจุฬาตกลงพื้นแล้วไม่สามารถกลับขึ้นไปได้อีก ถือว่าว่าวจุฬา แพ้ ส่วนว่าวปักเป้า ซึ่งมีเหนียงเป็นอาวุธที่สาคัญ จะต้องพยายามเอาเหนียงสวมหัวว่าวจุฬา และรั้งให้ว่าว จุฬาหัวตกลงดินในเขตแดนของว่าวปักเป้าให้ได้ ส่วนว่าวจุฬาต้องพยายามคว้าว่าวปักเป้าให้ติด และทาให้ ว่าวปักเป้าเกิดความชารุดเสียหาย เช่น หางขาด อกหัก หรือกระดาษขาด เป็นต้น แล้วจึงดึงว่าวปักเป้าเข้า เขตแดนของว่าวจุฬา ผู้ชมการแข่งขันว่าวจะสนุกสนานตรงที่แบ่งกันเป็น ๒ ฝ่าย ต่างเอาใจช่วยว่าวที่ตนคาดว่าจะชนะ โดยมีผู้เปรียบว่าวจุฬาซึ่งโฉบส่ายไปมาเหมือนนักเลงโตว่าเป็นฝ่ายชาย และว่าวปักเป้าตัวเล็กและโฉบ ฉวัดเฉวียนว่าเป็นฝ่ายหญิง ขณะที่การแข่งว่าวในสมัยก่อนจะมีการบรรเลงดนตรีไทยจากวงปี่พาทย์ให้ สอดคล้องกับท่วงทานองการต่อสู้ของว่าวจุฬา และปัก เป้าด้วย โดยมีปี่พาทย์ ๒ วง สาหรับพวกจุฬาวง หนึ่งและปักเป้าวงหนึ่ง เมื่อกรรมการชักธงให้ต่อสู้ ทั้งคู่ต่างล่อหลอกแสดงกลยุทธ์ ขณะที่วงปี่พาทย์จะ บรรเลงเพลงเชิดฉิ่ง และต่างถือหางตามว่าวที่ตนสังกัด ในขณะที่จุฬาเป็นฝ่ายได้เปรียบสามารถไล่คว้าจน ปักเป้าตาย ปี่พาทย์จ ะบรรเลงเพลงกราวราซึ่งแสดงถึงการมีชัยชนะ กลับกันหากฝ่ายปักเป้าได้เปรียบ สามารถล่อหลอกจุฬาให้หลวมตัวเข้าเหนียงโอดเย้ยหยันที่ตัวใหญ่กว่าแต่แพ้ปักเป้าที่ตัวเล็กกว่า ดังนั้น ตลอดเวลาของการแข่งขันผู้ชมจะได้ยินการบรรเลงเชิดฉิ่ง กราวร า และเพลงโอด อันเป็นการแสดง อากัปกิริยาของการต่อสู้แต่ละฝ่ายตลอดเวลา
หน้า ๘
จะจัดให้มีการแข่งขันกันทีบ่ ริเวณท้องสนามหลวงกาหนดแดนขณะทาการแข่งขัน ว่าวปักเป้าจะ ขึ้นอยู่ในแดนของตน ล่อหลอกให้ว่าวจุฬามาโฉบเพือ่ จะลากพามายังดินแดนของตน โดยให้ว่าวปักเป้าติด ตรงดอกจาปาที่ติดไว้ เมื่อติดแน่นดีแล้วว่าวจุฬาจะรีบลากรอกพามายังดินแดนของตน ขณะเดียวกันว่าว ปักเป้าก็จะพยายามใช้เหนียงทีเ่ ป็นเชือกป่านคล้องตัวว่าวจุฬาให้เสียสมดุลและชักลากดึงให้ตกลงมายัง ดินแดนของตน ในการเล่นว่าวจุฬาลากพาว่าวปักเป้าเข้ามาทีละตัวหรือหลายตัวก็ได้ ถ้าต่างฝ่ายต่างนาคู่ แข่งขันมาตกยังดินแดนของตนเองได้ ก็ถือว่าเป็นฝ่ายชนะแต่ถ้าขณะชักลากพามา ว่าวปักเป้าขาดลอยไป ได้ถือว่าไม่มีฝ่ายใดได้คะแนน
หน้า ๙
วัสดุและอุปกรณ์
หน้า ๑๐
หน้า ๑๑
การทาลูกปลา
หน้า ๑๒
การทาคันธนู
หน้า ๑๓
วิธีการผูกคันธนู
หน้า ๑๔
ส่วนประกอบต่าง ๆ ของว่าว
หน้า ๑๕
การทาว่าวจุฬาแบบมาตรฐาน
หน้า ๑๖
หน้า ๑๗
การทาว่าวปักเป้า
หน้า ๑๘
หน้า ๑๙
การทาว่าวอีลุ้มแบบมาตรฐาน
หน้า ๒๐
หน้า ๒๑
การทาว่าวดุ๊ยดุ่ย
หน้า ๒๒
หน้า ๒๓
บันทึก ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................
หน้า ๒๔
....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................
หน้า ๒๕
....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................
หน้า ๒๖
....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................