เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ การวิจัยทางประวัติศาสตร์ท้องถิ่น กรณีศึกษา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Page 1


เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ

การวิจัยทางประวัติศาสตร ท องถิ่น กรณีศึกษา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วันที่ ๘-๙ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๗

จัดพิมพโดย สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๗ จํานวน ๕๐ เลม ๙๖ ถนนปรีดี พนมยงค อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา โทรศัพท ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ โทรสาร ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ บรรณาธิการ พัฑร แตงพันธ สาธิยา ลายพิกุน คณะบรรณาธิการ : ฝายสงเสริมและเผยแพรวิชาการ ปทพงษ ชื่นบุญ อายุวัฒน คาผล อรอุมา โพธิ์จิ๋ว ศิลปกรรมและออกแบบปก พัฑร แตงพันธ

พิสูจนอักษร : ณัฐฐิญา แกวแหวน สายรุง กล่ําเพชร ศรีสุวรรณ ชวยโสภา ประภาพร แตงพันธ


หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการ

การวิจัยทางประวัติศาสตร ท องถิ่น กรณีศึกษา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑.ชื่อหลักสูตร: หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการ การวิจัยทางประวัติศาสตรทองถิ่น กรณีศึกษา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๒.หนว ยงานผูรับผิ ดชอบ: ฝายวิชาการ และฝายสง เสริม และเผยแพรวิ ชาการ สถาบันอยุธยาศึกษา ๓.หลักการและเหตุผล: ประวัติศาสตรทองถิ่น เปนเรื่องราวในอดีตของความสัมพันธของผูคนกับ ธรรมชาติ ผูคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ และกับผูคนที่อาศัยอยูรวมกัน อาจเปนคนกลุม เดียวกัน หรือหลายกลุม โดยที่ผูคนดัง กลาวมีสํานึกรวมกัน ผูคนเหลานี้ไดเผชิญ กับ ความเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ทั้งสาเหตุอันเนื่องมาจากปจจัยภายในและภายนอก ไดเกิด การปรั บ ตั วและประสบการณ ดั ง กลา วบางประการได ก ลายเป น แนวทางในการ ดํารงชีวิตของคนรุนตอมา ซึ่งมีแนวทางการศึกษาที่แตกตางจากประวัติศาสตรกระแส หลั ก คื อ เป น การมองภาพอดี ต จาก “ข า งล า ง” ขึ้ น ไปสู “ข า งบน” อั น จะทํ า ให เรื่ อ งราวต า ง ๆ ของผู ค นในท อ งถิ่ น มี ค วามเด น ชั ด ขึ้ น จึ ง กล า วได ว า การศึ ก ษา ประวัติศาสตรทองถิ่น เปนการศึกษาของคนในทองถิ่น เพื่อทองถิ่นของตนเอง


สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา เป น หน ว ยง าน ของม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ที่ ทํ า หน า ที่ ใ นด า นการศึ ก ษา ค น คว า วิ จั ย ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ ประวั ติ ศ าสตร โบราณคดี ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ของจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา จึ ง เห็นสมควรจัดหลักสูตรอบรมการวิจัยทางประวัติศาสตร กรณีศึกษาประวัติศาสตร ท อ งถิ่ น จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เพื่ อ ให นั ก วิ ช าการ อาจารย นั ก ศึ ก ษา และ เครือขายทางวิชาการ ในทองถิ่นตาง ๆ มีความสนใจในการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับ ทองถิ่น ของตนเอง อีกทั้ง เปนการผลิตนักวิจัยดานการศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่น และเป น การพั ฒ นาองค ค วามรู เ กี่ ย วกั บ ประวั ติ ศ าสตร ท อ งถิ่ น ของจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยาใหกวางขวางยิ่งขึ้น ๔.วัตถุประสงค: ๑) เพื่ อ กระตุ น ให นั ก วิ ช าการ อาจารย นั ก ศึ ก ษา และเครื อ ข า ยทาง วิชาการ มีความสนใจในการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับทองถิ่นของตนเอง ๒) เพื่ อ ผลิ ต และพั ฒ นานั ก วิ จั ย ด า นการศึ ก ษาประวั ติ ศ าสตร ท อ งถิ่ น พระนครศรีอยุธยา ๓) เพื่อแสวงหาแนวทางในการพัฒนาองคความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตร ทองถิ่นของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๕.สาระสําคัญของหลักสูตร: หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการการวิจัยทางประวัติศาสตรทองถิ่น กรณีศึกษา จัง หวัดพระนครศรีอยุธยาเปนหลักสูตรฝกอบรมเพื่อการใหบริการทางวิชาการแก สังคม ผานการแลกเปลี่ยนเรียนรู โดยวิทยากรผูทรงคุณวุฒิ


๖.หัวเรื่องและขอบขายเนื้อหา: หั ว เรื่ อ ง: หลั ก สู ต รอบรมการวิ จั ย ทางประวั ติ ศ าสตร กรณี ศึ ก ษา ประวัติศาสตรทองถิ่นจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ขอบขายเนื้อหา : การศึกษาวิธีวิจัยทางประวัติศาสตรทองถิ่น และการออก ภาคสนามเก็บขอมูลทองถิ่นพระนครศรีอยุธยา ๗.รูปแบบ และวิธีการฝกอบรม ๗.๑ รูปแบบการฝกอบรม: อบรมเชิงปฏิบัติการ ๗.๒ วิธีการฝกอบรม: การอบรมเชิง ปฏิบัติการ และออกภาคสนามเก็บ ขอมูลทองถิ่น โดยวิทยากรผูทรงคุณวุฒิ โดยผูที่ผานการฝกอบรมอยาง ครบถวน จะไดรับมอบเกียรติบัตรจากสถาบันอยุธยาศึกษา ๘.ระยะเวลาการฝกอบรม: ๒ วัน (วันเสารและอาทิตยที่ ๘ - ๙ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๗) ๙.จํานวนผูเขารับการอบรม: ๓๐ คน ๑๐.คุณสมบัติผูเขารับ การอบรม: นักวิชาการ อาจารย และนักศึกษา ที่มีความ สนใจในการศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่นในทองถิ่นของตนเอง ๑๑.การวัดและประเมินผลการฝกอบรม: ๑๑.๑ ผูเขารับการอบรมมีความรูความเขาใจไมนอยกวารอยละ ๘๕ ๑๑.๒ ผูเขารับการอบรมมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ไมนอยกวารอยละ ๘๕ ๑๑.๓ ผูเขารับการอบรมสามารถนําความรูไปใชไดไมนอยกวารอยละ ๘๕


๑๒.ขอมูลวิทยากร: ๑๒.๑ ศาสตราจารยพิเศษ ดร. ศรีศักร วัลลิโภดม นักวิชาการ ทางดาน โบราณคดี และมานุษยวิทยา ผูทํางานศึกษาคนควาและเรียบเรียงงานวิชาการที่เปน ประโยชนตอการศึกษาคนควาทางประวัติศาสตรโบราณคดี และมานุษยวิทยา เปน เมธีวิจัยอาวุโส สํานักงานสนับสนุน การวิจัย และเป น คณะกรรมการผูทรงคุณวุ ฒิ ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร ฯลฯ ๑๒.๒ คุณสุดารา สุจฉายา และคณะ ๑๒.๓ คุณพัฑร แตงพันธ นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๑๓.สื่อการอบรม: ๑๓.๑ เอกสารประกอบการเสวนา ๑๓.๒ จอแสดงภาพประกอบ ๑๓.๓ นิทรรศการ “ประวัติศาสตรทองถิ่นหัวรอ กรุงเกา” ๑๓.๔ การออกภาคสนามเก็บขอมูลทองถิ่น ๑๔.สถานที่ฝกอบรม: หองประชุมสถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา และการออกภาคสนามเก็บขอมูลทองถิ่น ณ ตลาดหัวรอ และชุมชนเกาะลอย


กําหนดการหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการ

การวิจัยทางประวัติศาสตร ท องถิ่น กรณีศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา วันเสาร ที่ ๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ ๐๘.๓๐ – ๐๙.๐๐ น.

ลงทะเบียน ชมนิทรรศการ “ประวัติศาสตรทองถิ่น ตลาดหัวรอ – เกาะลอย กรุงเกา”

๐๙.๐๐ – ๐๙.๓๐ น.

พิธีเปดการอบรม

๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ น.

การบรรยายพิเศษ เรื่อง “ภูมิวัฒนธรรม หัวใจของ การศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่น” โดย ศาสตราจารยพิเศษ ดร. ศรีศักร วัลลิโภดม

๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น.

รับประทานอาหารกลางวัน

๑๓.๐๐ – ๑๔.๓๐ น.

การบรรยายเรื่อง “วิธีการเก็บขอมูลประวัติศาสตรทองถิ่น” โดย คุณสุดารา สุจฉายา และคณะ

๑๔.๓๐ – ๑๕.๓๐ น.

การบรรยายเรื่อง “ขอมูลเบือ้ งตนเกี่ยวกับหัวรอและเกาะลอย” โดย คุณพัฑร แตงพันธ

๑๕.๓๐ – ๑๖.๐๐ น.

การแบงพื้นที่และหัวขอในการเก็บขอมูล คุณสุดารา สุจฉายา และคณะ


วันอาทิตย ที่ ๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐ น.

ลงทะเบียน ณ สถาบันอยุธยาศึกษา และออกเดินทางไป ยังตลาดหัวรอ – เกาะลอย โดยรถสามลอ ตุก-ตุก กรุงเกา

๐๙.๐๐ - ๑๒.๓๐ น.

ลงพื้นที่เก็บขอมูล ณ ชุมชนตลาดหัวรอ และ ชุมชนเกาะลอย

๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น.

รับประทานอาหารกลางวัน และเดินทางกลับสู สถาบันอยุธยาศึกษา

๑๔.๐๐ – ๑๔.๓๐ น.

สรุปขอมูลจากการสํารวจพื้นที่ชุมชนตลาดหัวรอ และ ชุมชนเกาะลอย

๑๔.๓๐ – ๑๖.๐๐ น.

การนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับประวัติศาสตรทองถิ่นชุมชน ตลาดหัวรอ และ ชุมชนเกาะลอย

๑๖.๐๐ – ๑๖.๓๐ น.

พิธีมอบเกียรติบัตร และปดการอบรม


สารบัญ หนา

ประวัติศาสตรทองถิ่น :แนวคิดและวิธีการ ศาสตราจารยพิเศษ ดร. ศรีศักร วัลลิโภดม

“ทําไมไมฟนพวกนี้ขึ้นมา..ฟน ความเปนจริง” สนทนามันๆ เรื่องตลาด กับ รศ.ศรีศักร วัลลิโภดม

การใชประวัติศาสตรบอกเลาในการศึกษาทองถิ่น มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ

๒๗

การศึกษาเบื้องตนเกี่ยวกับตลาดหัวรอ พัฑร แตงพันธ

๓๒


บทบรรณาธิการ เอกสารประกอบการอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร การวิ จั ย ทางประวั ติ ศ าสตร ท อ งถิ่ น กรณีศึกษา จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเลมนี้ มีวัตถุประสงคใหผูเขารวมอบรมไดใชเปน “คูมือ” ในการศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่น โดยเอกสารถูกออกแบบใหมีขนาดกะทัดรัด และสวยงาม ภายในเลมอัดแนนดวยสาระ และขอคิดอันเปนประโยชนตอการศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่น ซึ่งประกอบดวย ๑.ประวัติศ าสตรทองถิ่น :แนวคิดและวิธีการ ของศาสตราจารยพิเศษ ดร. ศรีศักร วัลลิโภดม ๒.“ทําไมไมฟนพวกนี้ขึ้นมา..ฟนความเปนจริง ” สนทนามันๆ เรื่องตลาด กับ รศ. ศรีศักร วัลลิโภดม ๓.การใชประวัติศาสตรบอกเลาในการศึกษาทองถิ่น ซึ่งไดรับความกรุณาจากมูลนิธิ เล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ ในการเรียบเรียงเนื้อหา เพื่อใชสําหรับการอบรมครั้งนี้โดยเฉพาะ ๔.การศึกษาเบื้องตนเกี่ยวกับตลาดหัวรอ ของนายพัฑร แตงพันธ นักวิช าการศึกษา ประจําสถาบันอยุธยาศึกษา ซึ่งเปนบทความที่ปรับปรุงจากงานศึกษาวิจัย เรื่อง ประวัติศาสตร ทองถิ่น ตลาดหัวรอ ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการศึกษาวิชา สัมมนาประวัติศาสตรทองถิ่น ภาควิชา ประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แมเปนเพียงการศึกษาขอมูลเบื้องตน แตก็นับเปน จุดเริ่มตนของการพัฒนาและตอยอดองคความรูดานประวัติศาสตรทองถิ่นของตลาดหัวรอ และ ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาใหกวางขวางยิ่งขึ้น คณะผูจัดทํา จึงหวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารเลมนี้จะเปนประโยชนตอผูเขารวมกิจกรรม ตลอดจนอาจารย และนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา ที่จ ะไดรับ มอบ เอกสารชุดนี้ไปยัง สํานักวิทยบริการ และหองสมุดประจําคณะวิช าตาง ๆ เพื่อประโยชนแหง การบูรณาการกับการเรียนการสอนและการวิจัย และเพื่อความกาวหนาทางวิชาการในการศึกษา ประวัติศาสตรทองถิ่นพระนครศรีอยุธยาสืบไป.


ขอแสดงความอาลัยแด คุณ ชูศักดิ์ ศุภวิไล ผู ตระเวนบันทึกภาพบรรยากาศต าง ๆ ของตลาดหัวรอ ไว เมื่อราวพุทธศักราช ๒๕๐๐ หรือ มากกว า ๕๐ ป มาแล ว แม วันนี้... บานประตูเหล็กม วนแห งร านผดุงไทยได ถูกป ดลง พร อมกับลมหายใจของท าน แต ผลงานภาพถ ายทั้งหลายที่ได ปรากฏอยู นั้น คือมรดกความทรงจําอันมีค าของ

ตลาดหัวรอ ตลาดเก าแก ๑๐๐ ป แห งพระนครศรีอยุธยา

วันนี้ ผลงานภาพถายของ คุณชูศักดิ์ ศุภวิไล ถูกประดับอยูตามรานคาหองแถวตาง ๆ ในตลาดหัวรอ


I๑

ประวัติศาสตร ท องถิ่น : แนวคิดและวิธีการ* 0

ศาสตราจารยพิเศษ ดร. ศรีศักร วัลลิโภดม* * 1

ขาพเจาคิดวาจุดออนในการศึกษาและทําความเขาใจเรื่องประวัติศาสตร นั้นอยูที่แนวคิดและวิธีการ จึงใครเสนอไวใหคิดกันเลนๆ ในที่นี้ ที่วาใหคิดเลน ๆ เพราะไมตองการใหเครง เครี ยดเปนวิชาการจนเกินไป โดยปกติ แ ล ว การเสนออะไรต อ อะไรในรู ป แบบทางวิ ช าการในประเทศไทยนั้ น มีการยกทฤษฎีตางๆ หรือวิธีการตางๆ ทางตะวันตกเขามาเปนตัวนําในการอธิบาย สรางกรอบแนวคิดและวิธีการ การเสนอแบบคิดเลนๆ สบายๆ แบบที่กําลังเสนอนี้ จึงไมเอาแบบอยาง

* จดหมายขาวมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ ฉบับที่ ๖๓ พฤศจิกายน-ธันวาคม ๒๕๔๙ ** นักวิช าการอิส ระ , ที่ปรึกษามูล นิธิเล็ก – ประไพ วิ ริยะพันธุ และกรรมการของศูน ย มานุษยวิทยาสิรินธร.


๒I

แตขอกลาววาสิ่งที่ขาพเจานํามาสรางเปนแนวคิดและวิธีการในที่นี้มีที่มา จากประสบการณสวนตัวที่ไดสะสมมา ขาพเจาไมมี Footnotes หรือ References อะไรตางๆ นอกจาก My Feet เทานั้น ขาพเจาคิดวาปญหาในเรื่องการเรียนรูประวัติศาสตรในขณะนี้ คือ การขาด การศึ ก ษาประวั ติ ศ าสตร ท อ งถิ่ น ซึ่ ง ก็ ยั ง ไม มี ก ารทํ า ความเข า ใจว า คื อ อะไร และการเนนแตประวัติศาสตรแบบเกาๆ จากสวนกลางเปนสําคัญ การทําความเขาใจ ประวั ติ ศ าสตร ใ นที่ นี้ จึ ง ต อ งศึ ก ษาทั้ ง สองอย า งคื อ ประวั ติ ศ าสตร จ ากส ว นกลาง และประวัติศาสตรทองถิ่น ซึ่งมีแนวคิดและวิธีการดังตอไปนี้

แนวคิด แนวคิ ด ของข า พเจ า ก็ คือ เรื่ อ ง “มาตุ ภู มิ กั บ ชาติ ภู มิ ” อั น เป น เรื่ อ งของ “ประวั ติ ศ าสตร ท อ งถิ่ น กั บ ประวั ติ ศ าสตร แ ห ง ชาติ ” โดยตรง รากเหง า ของ ความแตกแยกและบอเกิดความไมเขาใจกันเองของคนในชาติทุกวันนี้ คือการพัฒนา เศรษฐกิ จ การเมื อ งของรั ฐ บาลตั้ ง แต ส มั ย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรั ช ต เพราะเป น การพัฒนาที่ขาดมิติของเวลาในอดีต อดี ต คื อ ที่ ม าของประวั ติ ศ าสตร ซึ่ ง เป น ของคู กั น กั บ ความเป น มนุ ษ ย เพราะมนุษยเปน สัตวโลกที่เปนสัตวสังคม ตองอยูรวมกันเปนกลุมเพื่อความอยูรอด แต ก ารพั ฒ นาประเทศที่เ น น แต เศรษฐกิ จ ทุน นิ ยมเสรี แ บบตะวั น ตกอยา งกลวงๆ ไดทําใหมนุษยในดินแดนประเทศไทยมีสํานึกเปนปจเจก ซึ่งเทียบไดกับการเปนสัตว เดรัจฉานประเภทหนึ่ง มนุษยโดยธรรมชาติตองอยูรวมกันเปนกลุม [Social Group] กลุ ม เล็ก ที่ สุ ด คือ ครอบครั ว และเครื อ ญาติ (ครั วเรื อ น) ถั ด มาเป นชุ ม ชนที่แ ลเห็ น ความสั ม พั น ธ ท างสั ง คมที่ เ ป น รู ป ธรรม [Social Reality] ได แ ก ชุ ม ชนบ า น เหนือชุมชนบานขึ้นไปเปนชุมชนทางจินตนาการ [Imagined Community] ใชพื้นที่ หรือแผนดินอันมีคนอยูรวมกันบูรณาการใหเกิดสํานึกรวม


I๓

ชุมชนทางจินตนาการหรือชุมชนสมมุติเกิดขึ้นในพื้นที่ ๒ ระดับ คือ พื้นที่ อั น เป น แผ น ดิ น เกิ ด หรื อ มาตุ ภู มิ กั บ พื้ น ที่ อั น เป น ประเทศชาติ ห รื อ ชาติ ภู มิ การเกิดชุมชนสมมุติทั้ง ๒ ระดับนี้ใชมิติของเวลาหรือประวัติศาสตรเปนสิ่งเชื่อมโยง ใหเกิดสํานึกของการเปนพวกพองเดียวกัน เพราะฉะนั้นประวัติศาสตรจึงมี ๒ ระดับ คือ ระดับทองถิ่นและระดับชาติ ประวัติศาสตรทองถิ่น คือประวัติศาสตรสังคมที่แสดงใหเห็นความเปนมา ของผูคนในทองถิ่นเดียวกันที่อาจมีความแตกตางทางชาติพันธุก็ได แตเมื่อเขามาตั้ง ถิ่นฐานอยูในพื้นที่เดียวกันตั้งแต ๒-๓ ชั่วคนสืบลงไป ก็จะเกิดสํานึกรวมขึ้นเปนคนใน ทองถิ่นเดียวกัน มีจารีตขนบประเพณี พิธีกรรม ความเชื่อ และกติกาในทางเศรษฐกิจ และสัง คมรว มกัน โดยมีพื้ น ฐานทางความเชื่ อและศีลธรรมเดีย วกัน เชน ทองถิ่ น ดงศรีมหาโพธิ์ในอํา เภอศรีมโหสถ จัง หวัดปราจีน บุรี มีความเปนมาทางชาติพัน ธุ ตางกัน คือมีทั้ง มอญ เขมร ลาว จีน ฯลฯ แตมีสํานึกความเปนคนศรีมหาโพธิ์หรือ ศรีมโหสถรวมกัน ประวัติศาสตรแหงชาติ คือประวัติศาสตรสังคมที่แสดงใหเห็นความเปนมา ของผูคนในประเทศเดียวกันเหนือระดับทองถิ่นอันหลากหลาย เปนพื้นที่หรือแผนดิน ที่เปนประเทศชาติ เชน ดินแดนประเทศไทยเรียกวา สยามประเทศ มีประวัติศาสตร การเมื อ งและเศรษฐกิ จ ที่ ยึ ด โยงผู ค นในระดั บ ท อ งถิ่ น ที่ ห ลากหลายให ร วมเป น พวกเดี ยวกัน เชน มีภ าษากลางรว มกั น มีร ะบบความเชื่ อและประเพณีพิ ธีก รรม เดี ย วกั น มี ส ถาบั น พระมหากษั ต ริย แ ละการปกครองร ว มกั น เป น ต น ทั้ ง หมดนี้ หลอหลอมและผลักดันใหคนในดิน แดนสยามสมมุติชื่อเรียกตนเองอยางรวมๆ วา คนไทย เริ่ ม มี ห ลั ก ฐานตั้ ง แต ส มั ย อยุ ธ ยา ฉะนั้ น คนไทยเป น ชื่ อ รวมของคนใน ระดั บ ชาติ ภู มิ ประวั ติ ศ าสตร ช าติ ภู มิ ก ลายเป น ประวั ติ ศ าสตร รั ฐ ชาติ ห รื อ ประวั ติ ศ าสตร แ ห ง ชาติ ที่ ส ร า งขึ้ น ตั้ ง แต ส มั ย รั ช กาลที่ ๔ ลงมา ต อ มาได เ จื อ ปน กับประวัติ ศาสตรอาณานิคมของมหาอํา นาจตะวัน ตกจนทําใหเกิดประวัติศาสตร เชื้อชาตินิยม [Race] ตั้งแตสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เปนตนมา


๔I

การมองคนไทยในลั ก ษณะของความเป น เลิ ศ ทางกรรมพั น ธุ ไ ด ทํ า ลาย ความเป น คนไทยที่ เป น ชื่ อ สมมุ ติ ท า มกลางความหลากหลายของชาติพั น ธุ ต า งๆ ในประเทศไทยให ห มดไป จึ ง เป น ช อ งทางให เ กิ ด กลุ ม ผลประโยชน ใ ช อ า งอิ ง เพื่ อ ความชอบธรรมในการปกครอง แล ว ใช ทํ า ลายความสั ม พั น ธ ข องคนทั้ ง คน ภายในประเทศไทยและคนภายนอกคือประเทศเพื่อนบาน เชน ลาว เขมร เวียดนาม และมลายูสืบมาจนทุกวันนี้ เพราะถามองจากประวัติศาสตรทองถิ่นแลว คนที่อยูในประเทศไทยปจจุบัน แยกไมออกจากบรรดาชาติพันธุของผูคนตางๆ ในประเทศเพื่อนบาน เชน ลาว เขมร เวียดนาม พมา และมาเลเซีย ฯลฯ

วิธีการ ในที่นี้จะไมพูดถึงประวัติศาสตรแหงชาติ เพราะมีการศึกษากันมามากแลว ในเรื่ อ งประวั ติ ศ าสตร วั ฒ นธรรม การเมื อ ง และเศรษฐกิ จ แต จ ะเน น เพี ย ง ประวัติศาสตรทองถิ่นแตเพียงอยางเดียว การเขาถึงประวัติศาสตรทองถิ่นตองเขาถึง และแลเห็นคนกับพื้นที่ซึ่งมีลักษณะเปนประวัติศาสตรสังคม เพราะตองเริ่มที่คนใน พื้นที่ กอ นด วยการศึ กษาโครงสร างทางสัง คมโดยเก็บ ขอ มูลจากบุค คลในปจ จุบั น คนทองถิ่น ที่ใหขอมูลเปนจุดเริ่มตน แลวถามความสัมพันธทางสังคมและเรื่องราว เกี่ยวกับชีวิตความเปนอยูของผูคนตั้งแตระดับครอบครัว เครือญาติ ชุมชน ยอนขึ้นไป ยังคนรุนกอนๆ จนถึงสมัยเวลาที่จําอะไรไมไดแลว ตอจากนั้นก็ถามลงมาถึงคนรุนลูกหลานของผูใหขอมูล เพื่อเปนการทําให แลเห็นอดีต ปจจุบัน และอนาคตอยางตอเนื่อง วามีความเปนมาและเปลี่ยนแปลงมา อย างไร และน าจะเปน ไปอยา งใดในอนาคต การเก็ บข อ มูล จากโครงสร างสัง คม ดังกลาวนี้ทําใหแลเห็นการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม-สังคม นับเปนการศึกษาชีวิต วัฒนธรรมที่มีพลวัต คือเคลื่อนไหวไมหยุดนิ่งแบบการศึกษาในเรื่องศิลปวัฒนธรรม


I๕

การรวบรวมขอมูลที่เขาถึงโครงสรางสังคมดังกลาวคือการเขาถึงคน แตเปน กลุมคนที่ไ มเปนปจเจก หากเปนคนที่เปนกลุมหรือสังคมนั่นเอง เมื่อเขาถึงคนแลว จึงเขาถึงพื้นที่ซึ่งเปนถิ่นที่อยูอาศัยและถิ่นกําเนิดของผูคนในกลุมนั้น การศึกษาพื้นที่ ตองเริ่มจากบรรดาชื่อสถานที่ตางๆ ทั้งที่เปนธรรมชาติและวัฒนธรรมอยางที่มีผูให ความสนใจและคนควากันในเรื่องของชื่อบานนามเมืองเปนตน คําวา “ชื่อบานนามเมือง” ก็เปนการคนเรื่องของชื่อของชุมชนเปนสําคัญ แตการศึกษาเกี่ย วกับชื่ อสถานที่ในที่นี้ห มายถึ ง การศึกษาบรรดาชื่อสถานที่ ตางๆ ซึ่งคนในทองที่รูจักสืบทอดกันมาจนปจจุบัน เปนพื้นที่ซึ่ง แตเดิมเปนนิเวศธรรมชาติ แตไดมาปรับเปลี่ยนเปนนิเวศวัฒนธรรมจากการปรับตัวของผูคนในชุมชนนั่นเอง ดังนั้นนิเวศวัฒนธรรมจึงเปนองครวมของการศึกษาชื่อสถานที่ เหตุที่ตองมี การตั้งชื่อสถานที่ก็เพราะเปนสิ่งที่ผูคนในชุมชนทองถิ่นตองรูจักรวมกัน ซึ่งจะสื่อสาร กันได การทําใหสถานที่ซึ่งมีความหมายในการดํารงชีวิตอยูรวมกันมีชื่อนั้น ก็คือการ สรางความสัมพันธของคนกับธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอมธรรมชาตินั่นเอง ยิ่งกวานั้นชื่อสถานที่ทุกแหงเมื่อสรางขึ้นโดยอาจมีผูหนึ่งผูใดตั้งชื่อกอนก็ได แตตอมาไดกลายเปนสิ่งรับรูกันของทุกผูคนที่อยูในชุมชนเคียงกัน คือ รูทั้งที่มาและ ความหมาย โดยเฉพาะชื่ อ ของพื้ น ที่ ส าธารณะ เช น หนองน้ํ า ลํ า น้ํา ปา เขาและ ทองทุง เปนตน เพราะผูคนเหลานั้น ตองใชประโยชนรวมกันในการดํารงชีวิต เชน ในเขตทองถิ่นเมืองศรีเทพมีเขาโดดๆ ลูกหนึ่งมีชื่อวาเขาถมอรัตน ภูเขานี้ทุกคนรูจัก เพราะเปนสัญ ลักษณทางภูมิทัศน เปนแหลง ทรัพยากรธรรมชาติไ มวาเปนพืชพันธุ และสัตวปา รวมทั้งเปนภูเขาที่มีศาสนสถานที่เกาแกมาแตโบราณ ซึ่งผูคนถือวาเปน ภูเขาศักดิ์สิทธิ์ สถานที่แบบนี้ไ ดนําคนเขาไปมีความสัมพันธกับอํานาจเหนือธรรมชาติที่ ควบคุมความประพฤติของผูคนใหอยูรวมกันอยางมีศีลธรรมและจารีตประเพณี สถานที่เกือบทุกแหงในนิเวศวัฒนธรรมจึงเปนสิ่งที่มีชื่อและตํานาน [Myth] ที่ ผู ค นรั บ รู แ ละถ า ยทอดกั น การศึ ก ษาเรื่ อ งชื่ อ สถานที่ เ ช น นี้ คื อ การศึ ก ษา


๖I

ประวัติศาสตรของพื้นที่ที่คนในทองถิ่นรวมกันสรางขึ้นโดยตรง เปนที่รูจักกันในนาม วา “ตํานานทองถิ่น” คําวา “ตํานาน” จะตางกับ นิทาน เพราะตํานานเปนสิ่งที่คนในทองถิ่น สร า ง รั บ รู แ ละเชื่ อ ว า เป น จริ ง ตํ า นานคื อ หั ว ใจของประวั ติ ศ าสตร ท อ งถิ่ น และ เปนสิ่งที่สรางสํานึกรวมของผูคน สมั ยก อนเปลี่ย นแปลงการปกครองมาเปน ประชาธิป ไตยแบบตะวัน ตก ตํ าน าน มี คว ามหมายมา ก แต ห ลั ง จาก เปลี่ ย น แปลง ก าร ป ก คร อ ง แล ว รั ฐ และนั ก วิ ช าการประวั ติ ศ าสตร ไ ด ป ล อ ยให มี ก ารตั้ ง ชื่ อ สถานที่ ขึ้ น มาใหม เลยลบความหมายความสําคัญของตํานานใหหมดไป และเปนผลใหคนจากขางนอก เขาไปกาวกายสิทธิ์ของพื้นที่และทรัพยากรทองถิ่น ยกตั ว อย า งเช น คนลาวที่ เ ป น กลุ ม ชาติ พั น ธุ ที่ ถู ก กวาดต อ นเข า มาเป น พลเมื อ งไทยแต ส มั ย รั ช กาลที่ ๓ ได รั บ พระราชทานพื้ น ที่ ธ รรมชาติ ใ ห เ ป น ที่ ตั้งหลักแหลงที่อยูอาศัย ทํากินจนเกิดเปนชุมชนขึ้น ตางพากันตั้งชื่อพื้นที่สาธารณะ เช น หนองน้ํ า หรื อ ป า เขาที่ อ ยู ใ นนิ เ วศวั ฒ นธรรมว า หนองนางสิ บ สอง หรื อ ปาพระรถ ตามตํานานพระรถเมรีที่รูจักกันดีในหมูคนลาวดวยกัน ชื่อเชนนี้คนนอกไม รูจักยกเวนคนใน ตอมาทางรัฐและคนนอกที่มุงหวังผลประโยชนในเรื่องทรัพยากรได ติดสินบนหนวยงานของรัฐที่รับผิดชอบออกเอกสารสิทธิ์ให โดยอางวาเปนพื้นที่เปลา ประโยชน และเปลี่ยนชื่อเสียใหมแลวเขาครอบครอง เปนตน เมื่ อ มี ข อ พิ พ าทเกิ ด ขึ้ น คนนอกก็ จ ะได อ าศั ย เอกสารสิ ท ธิ์ ที่ ถู ก ต อ งตาม กฎหมายบานเมืองมาเปนหลักฐานในการถือสิทธิ์ แตถาหากมีการไดศึกษาทําความ เขาใจกับชื่อสถานที่ในตํานานของทองถิ่นแลว คนทองถิ่นก็อาจยืนยันอางสิทธิ์ที่มีอยู รวมกันดังปรากฏในชื่อทางตํานานได รัฐธรรมนูญฉบับ ๒๕๔๐ มาตรา ๔๖ นับเปนมาตราสําคัญที่จะทําใหคนใน ทองถิ่นตอสูปองกันพื้นที่สาธารณะและทรัพยากรไดไมยาก


I๗

ขาพเจาคิดวาถามีการศึกษาในเรื่องชื่อสถานที่ในรูปแบบของประวัติศาสตร สังคมทองถิ่นตามที่กลาวมาแลวนี้ ก็อาจทําใหคนทองถิ่นที่เคยถูกแยงชิง ทรัพยากร และริดรอนสิทธิ์ของมนุษย ที่มีอยูในจารีตทองถิ่นนั้นมีพลังที่จะตอตานการแยงชิง ที่อยุติธรรมได เลยอยากคิ ด ต อ ไปว า พื้ น ที่ ท อ งถิ่ น เกื อ บทั้ ง หมดของกรุ ง เทพฯ ธนบุ รี นนทบุรี และปทุมธานีนั้น เปนพื้นที่ซึ่งผูคนตั้งชุมชนและบานเมืองริมลําน้ํา ลําคลอง ซึ่ง แตละแหง ตางก็มีชื่อเรียกกันมาแตโบราณ เชน คลองบางพลัด คลองบางขวาง คลองสามเสน อะไรตางๆ นานา บัดนี้บรรดาคลองเกาๆ เหลานี้เปนจํานวนมาก ถูกทางราชการและนายทุนถมทําใหตื้นและหมดไป เพื่อเอาพื้นที่และทรัพยากรไป เปนของตน ถาหากไดนําชื่อตางๆ เหลานี้ที่มีระบุในนิราศของสุนทรภู เชน นิราศภูเขา ทอง นิ ร าศสุ พ รรณบุรี มารื้ อ ฟน ใหดี แ ล ว ก็ คงจะจั ด การกั บการทุ จ ริ ตฉ อ ราษฎร บัง หลวงของหนวยราชการ จะคืน กรรมสิทธิ์และสิทธิตางๆ ในดานทรัพยากรและ ที่อยูอาศัย ที่ทํากินใหกับคนทองถิ่นไดอยางมหาศาลทีเดียว


๘I

“ทําไมไม ฟ นพวกนี้ขึ้นมา.. ฟ นความเป นจริง” สนทนามันๆ เรื่องตลาด กับ รศ.ศรีศักร วัลลิโภดม * 2

นามของ รศ.ศรีศักร วัลลิโภดม ไมจําเปนตองอธิบายขยายความมากนัก สําหรับผูสนใจประวัติศาสตร โบราณคดี และมานุษยวิทยา เพราะผลงานทางวิชาการ ยาวนานกว า สี่ สิ บ ป ล ว นสะท อ นรากเหงา และประกอบภาพของสั ง คมไทยอย า ง เชื่อ มโยงถึง กัน ที่ สํา คัญ งานวิ ชาการของอาจารยศ รีศั กรไม ไ ด เดิ นตามการศึ กษา กระแสหลัก แตกลาที่จะทาทายดวยแนวคิดใหมๆ ขอมูลใหมๆ แมจะเปนประเด็นเกา ทวาไมซ้ําซาก เสนอใหสังคมไดรวมกันคิดในหลากหลายแงมุม * สานแสงอรุณ ปที่ ๑๓ ฉบับที่ ๓ พฤษภาคม-มิถุนายน ๒๕๕๒.


I๙

นอกจากนี้ อาจารยศรีศักรยังไดชื่อวาเปนนักวิพากษผูไมเคยประนีประนอม กับความไมถูกตอง ความตรงไปตรงมาทั้งในทางวิชาการและความเห็นสวนตัว มักจะ เปนที่ขึ้นชื่อลือชาเสมอ แตภายใตความรอนแรงของคําพูด หากพิจารณาใหดีจะรับรู ไดวา อาจารยศรีศักรเต็มไปดวยความหวงใยตอสถานการณบานเมืองอยางลึกซึ้ง โลกกําลังเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว เราทุกคนกําลังเปลี่ยนไป แตนอยคน ที่จะสําเหนียกถึง ภัยจากการลมสลายทางวัฒ นธรรมที่คืบคลานมาอยางรวดเร็วใน ความมืดบอดของความไมรู ในวันที่ผูคนถูกความโลภยึดครองหัวใจ การขายและการมุงทํากําไรบั่นทอน ความเป น มนุ ษ ย จนกระทั่ ง บางครั้ ง เราอาจหลงลื ม ไปแล ว ว า การค า ขายมิ ไ ด มี ความหมายเพี ย งแค เ อาเงิ น ไปต อเงิ น เท า นั้ น แต ก ารค าขายคื อ รู ป แบบหนึ่ ง ของ ความสั ม พั น ธ ร ะหว า งมนุ ษ ย ด ว ยกั น คื อ รู ป แบบหนึ่ ง ของวั ฒ นธรรม และคื อ อีกรูปแบบหนึ่งของการบมเพาะความดีงามในใจคน การสนทนากับอาจารยศรีศักรไดตอบคําถามที่เกี่ยวเนื่องกับบริบทความ เปน “ตลาด” หลายขอ ทั้งยังกวางไกลไปถึงความเปนชุมชน และความเปนมนุษย ความงามของตลาด ความงามในวิถีชีวิตผูคน เปนคําตอบของบางคําถามที่ ผูอานอาจยังไมไดเรียกรองจากตัวเอง หวังวาบทสนทนานี้ จะชี้ชวนใหผูอานไดตั้ง คําถาม เมื่อมีโอกาสได “เดินตลาด” ในวาระตอไป

ตลาดเก ามันมีความเป นมาอย างไรครับ ตลาดเกาสวนใหญมันเกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่หา ยุคนั้น บานเมืองใหมมัน เกิ ด ขึ้ น สิ่ ง ที่ เ กิด ขึ้ น คื อ มั น เกิ ด ยา นตลาดขึ้ น มา อย า งเช น ตามที่ชุ ม ทางคมนาคม สถานีรถไฟบาง ตามทาเรือเมลที่มาจอดบาง ตัวตลาดมันมาพรอมกับความเปนเมือง คือเมืองสมัยกอนไมไดเนนตลาด มันเนนที่วัด เนนที่หนวยงานปกครอง แตพอมาถึง รัชกาลที่หามัน มีกระบวนการการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และการเมืองสูง เลย เพราะไดรับวัฒนธรรมตะวันตกเขามา มันก็เลยขยายเปนยานตลาด แลวตลาดก็เปน


๑๐ I

แหลงที่คนหลายกลุมเหลาเขามาอยู แลวมันก็มียานที่มีการคาขาย คือหมายความวา มันเกิดเมืองใหมขึ้นมา แตหัวใจของเมืองมันอยูที่ตลาด แลวตลาดแบบนี้เกิดทั้งทาง บกทางน้ํา เพราะมันเปนตัวเมืองเปนแกนกลางของเมือง ฉะนั้นบางทีมันก็ออกมาใน รูปของหองแถว เปนบานชองหองแถว หรือยานหองแถว มีถนนมีอะไรพวกนี้ แลวก็มี พื้นที่ที่ทําตลาดเชาเย็น คือตลาดสดรวมอยูในนั้น เพราะฉะนั้นยานตลาดเกามันก็จะ เปนแบบนี้ทั้งนั้น

ส วนใหญ เกิดขึ้นจากคนจีนใช ไหมครับ มาจากพวกคนจี น นะ แต จ ริ ง ๆ ตลาดพวกนี้ มั น มี กํ า เนิ ด จากบาซาร (barzarr) สมัยที่พวกอาหรับเขามา เพราะฉะนั้นจะเห็นวามันจะมีหองแถวยาวๆ มี ตรอกเขาไป รูปแบบนี้มีกําเนิดมาจากตรงนั้น คือมันก็สะเปะสะปะ แตมันมาเปนรูป เปนรางจริงๆ สมัยรัชกาลที่หาซึ่งพวกคนจีนเขามา แลวยานตลาดมันก็เกิดเปนแหลง การพนั น ขึ้ น มา มั น ก็ เ ป น การเปลี่ ย นแปลงเป น จุ ด เริ่ ม ต น ของสั ง คมเมื อ ง คือคนหลากหลายชาติพันธุหลายกลุมเหลาเขามา ตั้งถิ่นฐานรวมกันในบริเวณที่เปน เมื อ ง ก็ต อ งอาศั ย market place คื อพื้ น ที่ ที่ ขายของแลกเปลี่ย นกั น แล ว มั น ก็ คอนขางจะถาวร แลวพื้นที่อันนั้นมันก็ประกอบไปดวยที่อยูอาศัยดวย คือเปดหนา รานขายของได แลวก็มีพื้นที่วาง ซึ่งตอมาก็กลายเปนตลาดเทศบาล ก็เกิดเปนยาน ตลาดขึ้นมา ตลาดแตละแหง มัน ก็ตอบสนองคนที่อยูในทองถิ่นนั้น มันเปนที่รับสินคา จากที่ที่อยูหางออกไป แลวบางทีมันก็มีความเฉพาะของมัน สินคาอะไรตองไปซื้อที่ ตลาดนี้ สวนมากมันก็พัฒนามาในสมัยรัชกาลที่หา ชวงนั้นคือการเกิดบานเมืองใหม ขึ้น แลวมีคนหลายกลุมเขามา โดยเฉพาะคนจีนที่เปนพอคา ทีนี้มันก็เกิดทั้งตลาดทาง บกและทางน้ํ า อยา งทางบกก็คื อเขตกรุง เทพฯ ยา นตลาดเกา พวกนี้ก็ คือ ทางบก แตถาเปนทางน้ํา ริมแมน้ํา ลําคลอง ตรงไหนที่เปน “สบ” คือแมน้ํากับลําคลองมา พบกัน มันก็จะเกิดเปนยานตลาดขึ้นมา แลวคนจีนเขาก็ไปอาศัยอยู จะเห็นไดวาจะมี


I ๑๑

ศาลเจา คือไมใชมีวัดอยางเดียว แลวบางแหงที่เปนยานที่อยูอาศัยใหญๆ ก็มีมัสยิด ด ว ย แถวฝ ง ธนฯ เยอะเลย แต ข ณะเดี ย วกั น มั น ก็ มี ย า นตลาดที่ ค นหลากหลาย ชาติพันธุ หลากหลายอาชีพเขาอยูดวยกัน

ช วงที่ผ านมาตลาดเหล านี้เสือ่ มความนิยมไปหรือไม มันไมไดเสื่อมความนิยม แตมันเปลี่ยนรูป คือตอมารัฐบาลเขาก็ทําใหเกิด ตลาดเทศบาลขึ้นมา ก็กลายเปนอาคารที่มีหลังคาสูงๆ ใหญโตขึ้นมา แตมันก็ยังมีพวก เรื อ นห อ งแถวอยู นครปฐมก็ มี ที่ ไ หนก็ มี ทั้ ง นั้ น นั่ น คื อ ย า นตลาดเก า แล ว มั น ก็ พัฒนาขึ้นมา คือปกติมันจะเปนตลาดชาวบาน เปนพื้นที่โลงๆ อยางที่ทางภาคเหนือ เขาเรียกกาด พอถึงเวลาก็มาขายของกัน พอเสร็จแลวก็เลิกไป เปนกาดนัดเชาเย็น ทํานองนั้น

ตลาดน้ําบางที่ พอมีถนนเกิดขึ้น การสัญจรทางน้ําหายไป ตลาดก็หายไปเลย.. ก็ ขึ้ น บกไปไง คื อ ตลาดน้ํ า มั น จะใช พื้ น ที่ ท อ งน้ํ า เป น market place คือชาวบานก็เอาเรือใสสินคามาขายมาแลกเปลี่ยนตามมีตามเกิดของเขา แตตลาดน้ํา แบบนี้ มั น แสดงถึ ง ความเป น เมื อ งนะคุ ณ เพราะข า งบนเขาก็ เ ป น ที่ อ ยู ที่ อ าศั ย แลวเขาก็มาลอยลําขายของ แต ถาพายเรือมาจากทางไกลก็ไ ปซื้อของในรานที่อยู บนบก มันก็เกิดเปนตลาดน้ําขึ้น อยางตลาดรอยปนี้เปนตัวอยาง สามชุกก็เหมือนกัน การขายของในชีวิตประจําวัน ก็สมมุติวา ลอยเรือมาซื้อกัน แตอยางของใชเสื้อผา ก็ขึ้นบกไปซื้อ มันก็เกิดขึ้นแบบนี้ เวลาเราไปเที่ยว เราชอบพูดวาไปเที่ยวตลาดน้ํา แตหารูไมวา ตลาดน้ํามันก็คือเมือง เปนเมืองในลุมน้ําลําคลอง แตตอนหลัง มันไมมี เพราะขึ้นบกหมด แลวเราก็ไปรื้อฟนมันมา แตมันก็ไมเหมือนเกาแลว


๑๒ I

ทําไมสังคมไทยถึงหันกลับมาให ความสนใจตลาดเก าเหล านี้ เป นเพราะกระแสการท องเที่ยวหรือเปล า คือคนในยุคใหม มันรูสึ ก fresh up กับสมัยเกา ๆ นะ เพราะสมัยใหม มันมีอิสระในการคิด อยางที่เขาเรียกสมัยหลังสมัยใหม อะไรทํานองนั้น คือคนมันก็ ตองการสรางอยางที่เรียกวา เอาของเกามาใชใหมเพื่อสรางอัตลักษณตัวเอง เพราะวา การฟน ตลาดเกาขึ้นมาใหม มันไมใชเกี่ยวกับการทองเที่ยวเพียงอยางเดียว มันเปน การประกาศอัตลักษณของเขาดวย วาเขาเปนคนทองถิ่นนี้ แลวหลายแหง ก็ฉลาด อาศัยยานพื้นที่เกาเอาของเขาไปขาย กลายเปนตลาดนัดทองถิ่นไป แลวมันก็ขานรับ กั บ การท อ งเที่ ย ว แล ว คุ ณ ว า ตลาดแบบนี้ มั น จะต า งจากตลาดนั ด อุ ต สาหกรรม หรือเปลาละ ตลาดชาวบานหรือพื้นที่วางๆ กลายเปนตลาดนัดอุตสาหกรรมหมด มีรถปกอัพรอยพอพันแมเขามา พวกคนในเมืองมันตองฟนตลาดแลวปรับใหมใหเปน ประโยชน มัน เริ่มจากคนขางในดวยการขายของของเขา ทีนี้มันก็ขานรับกับสัง คม อุ ต สาหกรรม คื อ เวลานี้ จ ะฟ น ตลาดส ว นใหญ จ ะฟ น จากมหกรรมอาหารทั้ ง นั้ น เพราะอะไร? เพราะสังคมปจจุบันนี้มันเปนสังคมที่ไมไดทํากับขาวกินเอง ถาทํากินมัน เสียเวลา ซื้อกินดีกวา ทีนี้พวกคนที่อยูในยานเกาเขามีภูมิปญญาเกาอยู เอาตําราเกาๆ มากาง เขาก็ฟน ความเกาขึ้น มาใหม มันก็สนุก คือไดอาหารดวย แลวคนในสัง คม อุตสาหกรรมก็มาซื้อไปทีเอาแบบอยูเปนสัปดาหเลย คือซื้อไปเก็บใสตูเย็น พอจะกิน ก็เอาออกมาใสไมโครเวฟ อีกเจ็ดวันมาซื้อใหม อยางตลาดนัดที่อัมพวาเปนตัวอยาง มัน เคยฟุบไปจนกระทั่งคนที่เคยอยู ตรงนั้นเขายายออกไปหมด เหลือแตคนแกๆ อยู แตบังเอิญมันเกิดการริเริ่มของคนใน รวมทั้งความสัมพันธกับนายกเทศมนตรีดวย ก็ฟนขึ้นมา แตมันไมฟนขึ้นมาแบบเกา มันกลายเปนตลาดในเรื่องเกี่ยวกับมหกรรมอาหาร เปนตลาดตอนเย็น หลายตลาดก็ เกิ ดขึ้ น แบบนี้ อยา งที่ต ลิ่ ง ชั น ก็เ หมือ นกัน เดี๋ย วนี้เ ห็ นมี ต ลาดนัด ที่ คลองลั ด มะยม เขาก็สรางขึ้น มาใหม มันก็เปนที่ๆ ชวยเรื่องรายไดใหกับชาวบานเขา คนแกคนเฒา ที่มี ฝมื อทํ า ขนมจี น น้ํ า ยาก็ก ลับ คื น มา แล ว ก็มี รายได มั น ก็ ดีก ว าซุ ปเปอร มารเ ก็ ต


I ๑๓

มั น มี บ รรยากาศเก า ๆ ก็ เ กิ ด ฟ น ขึ้ น มา คื อ มั น ก็ จ ะเป น ตลาดริ ม น้ํ า อย า งอั ม พวา แลวก็ ที่ตลาดรอยปคลองสวน ที่ส ามชุก มัน ก็คลา ยๆ กั น แต เขาเนนเรื่องอาหาร มันก็ฟนขึ้นมาได แตปญหาขณะนี้มันคือการoverload นะ เพราะคนไทยคิดอะไรไม เป น หรอก เห็ น คนอื่ น เขาทํ า ฉั น ก็ จ ะไปแย ง ที่ เ ขาขายบ า ง มั น ก็ ท ะเลาะกั น สิ ที่จริง แลวมันควรจะกระจายไปหลายๆ แหง ถามีน โยบายที่ดี มันก็จะชวยสัง คมที่ เปลี่ยนแปลงไป คนทองถิ่นก็จะไดเอาของเขามาขาย เอาภูมิปญ ญาเกาๆ มาขาย โดยเฉพาะเรื่องอาหารการกิน เพราะเมืองไทย ดีที่สุดในโลกคือเรื่องอาหารการกิน

หมายความว า จริงๆ แล วคนในชุมชนเขามองเห็นคุณค า มีความภาคภูมิใจในภูมิป ญญาเก าๆ ของเขาอยู แล ว หรือต องรอให ใครมากระตุ น คือที่มัน เกิดขึ้นจริงๆ ก็คือเริ่มจากคนใน เขามีสติปญ ญา มีความเขมแข็ง เขาก็เริ่มจากการไปดูไปเห็นมากอน อยางเชนที่ตลาดอัมพวาเขามีองคกรของเขาเลย ไม ให ค นนอกเขา ไป เอาของคนในขายก อ น นั่น คื อถู กต อ งแลว ที่อื่ นก็ ทํ าอยา งนี้ ไม ใ ช ต ลาดนั ด อุ ต สาหกรรมที่ มี ร อ ยพ อ พั น แม เขาต อ งรั ก ษาเครดิ ต ของเขา เปน การขายภูมิ ปญ ญาของเขา แลว มัน ขานรับกั บสัง คมเศรษฐกิ จที่ มันเปลี่ย นไป ซึ่งเปนสิ่งที่ดี แลวเวลานี้เราก็ควรจะฟน ซึ่งมันจะชวยตานพวกซุปเปอรมารเก็ตตางๆ ที่ขามชาติเขามาแลวทําใหทุกอยางมันลมจมหมดเลย มันจะชวยสังคมชนชั้นกลาง และพวกโชวหวย ถาเราทําได เราจะไดไลไอพวกหางใหญขามชาติออกไป มันทําให คนอื่ น เดื อ ดร อ นน ะ ปรากฏการณ เ สื้ อ เหลื อ งก็ ม าจากพวกนี้ ที่ ถู ก รั ง แกน ะ ถาเราสามารถพัฒนาตลาดแบบนี้ใหฟนขึ้นมาใหม แตที่มันไมไดก็เพราะพวกเทศบาล มั น หากิ น กั น เดี๋ ย วนี้ พ วกที่ ม าจากข า งนอก อบต. นายกฯ พวกนี้ มั น หากิ น กั น แตถาชาวบานเขาพรอมเขาก็ทําของเขาได


๑๔ I

การฟ นฟูตลาดเก ามีความยากง ายอย างไร ไม ย ากเลย ถ า ทํา ให ชาวบา นซึ่ ง เป น คนท อ งถิ่ น ได เ ข าใจและร ว มมื อ กั น วานี่คือมรดกทางวัฒนธรรมของเขา ใหความรูเขาวา ถารักษาเอาไวมันจะทําใหเขามี รายได ขึ้น มา แล ว ทํ า ให เ ขาเกิ ด ความภู มิ ใ จในตั ว เองด ว ย เพราะว า มั น ทํา ให ก าร ทองเที่ยวสมัยใหมเขามา แลวคนที่เขาไปเขาก็ไมไดไปเที่ยวอยางเดียว เขาไปซื้อของ ด ว ย คื อ เขาไปช อ ปป ง กั น น ะ แต ก็ ต อ งมี เ งื่ อ นไขคื อ อย า ไปทํ า ของใหม อ อกมา แตมันมักจะถูกรังแกโดยพวกเทศมนตรี นักวิชาการใหมๆ จะทําใหมันเปนแบบอาคาร สมัยใหม แลวมีแสงสี มันก็เลอะเทอะ เวลาคนมาดู หรืออยางชาวตางประเทศมาดูมัน ก็ ไ ม อ ยากดู ค วามใหม มั น อยากดู ค วามเก า เราก็ จั ด ความเก า ให เ รี ย บร อ ยสิ ไมใหสกปรก ถึงแมอาคารมันจะดูรุงรังแตมันมีเสนหในตัวของมันเอง มันมีบรรยากาศ ถาคุณเปลี่ยนไปใหมปบ จบเลย หลายแหงที่ทําลายตัวเองแบบนี้ เปลี่ยนตลาดเกาให เป น ตลาดใหม คื อ พวกเทศบาลชอบไปทํ า นั่ น ทํ า นี่ ขึ้ น มาแล ว ก็ มี ก ารคอรั ป ชั่ น อยางที่สามชุกเปนตน ชาวบานเขาคิดของเขาขึ้นมาไอพวกนั้นกับพวกนายทุนก็จะไป ทําลายของเขา แตทีนี้เอาไมอยูก็เลยเกิดการแยงกัน แตตลาดรอยปคลองสวนนะ ดี เพราะมหาวิท ยาลั ย ลาดกระบัง เขาช วยอยู คื อที่ นี่ เขามีส องเจ านะที่ เ ป นเจ าของ แลวอีกฟากหนึ่งเขายังไมคอยอนุญาต แตอีกฟากหนึ่งเขาชวยชาวบาน คนก็ไปเที่ยว กันเต็มเลย มันก็เปนเสนห แลวเสนหอันนี้มันก็สะทอนความหลากหลายทางชีวภาพ ของบานเมือง คื อ เมื อ งไทยนี่ น ะ อาหารการกิ น มั น มาจากของท อ งถิ่ น ซึ่ ง มี ค วาม หลากหลายทางชีวภาพ หอย ปู ปลา ตางๆ อยูในยานไหน พืชผัก มันก็เปนอาหาร ประจําถิ่นเขา แลวเมื่อทําไดคนก็ไมตองไปพึ่งอุตสาหกรรมมากมาย คนก็จะมีอาชีพ โดยไปฟ น จากทรั พ ยากรธรรมชาติ ข องเขา รั ก ษาแม น้ํ า ลํ า คลองให มั น ดี ขึ้ น มา ตลาดน้ําบางแหง มีเขตอภัยทาน ปลาก็ออกมา แลวก็กลายเปนแหลงเพาะพัน ธุปลา ดีกวาคุณไปสรางกระชังไปละเมิดสิทธิ์คนอื่นเขา


I ๑๕

มันมีคําพูดว าโปรโมทส งเสริมจนตลาด “ติด” แล วพอคนมา เยอะเกินไปจนอึดอัดอย างเช นที่อัมพวา แล วมันจะเป นอย างไรต อไป มันก็เปนความบาของคน คือคนอัมพวาเขาไมไดตองการ แตคนขางนอกมัน เขาไปแลวก็ไปแขงกัน มัน ไมคอยมีสติปญ ญานะ คือเขาทําดีคุณก็จะไปแยง เขาทํา นิสัยเสียนะ ตองอบรมกันใหม ที่จริง แลวที่นี่เขาทําปบ เราเห็นตัวอยาง เราก็ไ ปทํา ของเราสิ มั น ก็ จ ะกระจายกั น ไป ไปเกิ ด ในที่ อื่ น ๆ ไม ต อ งมาทะเลาะแย ง กั น เพราะอาหารการกิน ในแตละแหง มัน ไมเหมือนกัน หรอก ทําไมไมไ ปทําละ ไมเห็น ตองแหกันไปอยูที่เดียวจนกระทั่งมันพัง คือยานตลาดที่มันเกิดขึ้นมันเปนชุมชนโดย ตัวของมันเอง แลวพอมันเกิดขึ้นมา คนในที่เขาอยูที่นั่นเขาก็รูจักกันหมด เขาเกิดการ จั ด การขึ้ น มาใหม เ พื่ อ ความอยู ร อดของกลุ ม เค า แต นี่ เ ข า มาแย ง พวกนายทุ น พวกพอคาทั้งหลายนี่เลวที่สุดเลย

ทราบมาว าตอนนี้ที่อัมพวา เจ าของเขาพยายามจะขึ้นค าเช าแล ว ก็ไล คนเก าออกไปเพื่อที่จะให คนใหม เข ามาแทน ผมว า นี่ คื อ ความโลภ พอรายได ดี ค วามโลภก็ เ กิ ด ขึ้ น คื อ การสร า งการ ฟนตลาดเกามัน ไมใชงายๆ หรอก เพราะวาเมื่อไดมาแลวมันก็โลภขึ้น มา มันตองมี องคกรที่ คุมตรงนั้ น ใหไ ด ถาหากวาไลค นเกาออกไปแลว สรางอาคารใหมมันก็จ บ ก็ คื อ ตลาดนั ด ธรรมดาๆ นั่ น เอง ก็ ทํ า ลายตั ว เองเพราะความโลภ เมื อ งไทย นี่ greedy ที่สุดเลย

ถ าเทียบกับหลวงพระบางก็จะเหมือนกัน เหมื อ นกั น หลวงพระบางมั น ไม ไ ด เ ป น เมื อ ง มั น เป น ตลาดนานาชาติ ผมไมอยากไปหรอกหลวงพระบาง ไมมีเสนหเลย แลวคิดดูวานั่นหรือคือมรดกโลก คอนเซ็ปตมรดกโลกคือบาๆ บอๆ แบบนี้หรือ


๑๖ I

แล วมันหาจุดสมดุลได หรือไม ครับ ระหว างความเข มแข็งของชุมชน กับการค า กับองค กรปกครอง ทองถิ่น มัน ไมมีความแข็ง แรง คือหมายความวาทองถิ่นมันไมมีอํานาจพอ เพราะถูกครอบงําโดยระบบเทศบาล โดยอบต. ที่มาจากขางนอก โดยเฉพาะกฎหมาย เมื่อกอนนี้มัน ไมใช ทองถิ่นมันดูแลกันเอง มีจารีตประเพณีของเขา เขาจะมี “ขึด” มีข อ ห า มวา อย า ทํ าอย า งนี้ น ะ แต เ ดี๋ย วนี้ ไ ม มีเ พราะมัน ทํ า ลายหมด หลายแห ง ที่ พยายามทํ า เป น ชุ ม ชนเป น ตลาด อย า งถนนข า วสาร ระยะแรกดี ถนนข า วสาร เมื่อกอนมันเปนยานที่ขายของ เปนที่อยูอาศัย มีหองแถว มีโรงแรม มีอะไรเยอะแยะ ผมก็เคยไปเดินอยูแถวนั้นบอย พอตอมามันก็มีคนเขาไปขายของ เพราะวาฝรั่งเขามา แตมันมีความรูสึกเปนชุมชนเกิดขึ้นนะ เพราะเขาคิดวาเขาตองรวมกันรักษาถนนสาย นี้ เพราะครั้งหนึ่งคุณเห็นมั้ยวา ตอนสงกรานตเขาพยายามกันคนไมใหเอาแปงเขามา ปะหนากัน นั่นคือการเริ่มตนของชุมชน เขาสามารถสรางความสัมพันธกันขึ้นมาได ไมใชตางคนตางอยูเหมือนคอกสัตว แลววันดีคืนดี ททท. (การทองเที่ยวแหงประเทศ ไทย) ก็เขามาทําใหเละ มาประกาศใหใครตอใครแหกันเขาไปเที่ยว แลวเอาไมอยูมันก็ แตกกันหมด รัฐบาลเอง เจาหนาที่เองไมเคยสนใจสิ่งเหลานี้เลยที่จะสรางชุมชนขึ้นมา มันเละเทะหมดเลย อยางเกงก็คือสรางบานจัดสรรกับคอนโดฯ เทานั้นเอง คือเปนแค คอกสั ต ว รั ง สั ต ว ไม มี ค วามสั ม พั น ธ กั น คนยั ง ดู แ ลกั น เองไม ไ ด แ ล ว จะไปโหยหา เศรษฐกิจพอเพียงกันทําไม แยงกันกินอยางกับหมูอยางกับหมา

คนที่ชอบไปเที่ยวหรืออยากจะไปเทีย่ วตลาดเก า ควรทําตัวอย างไร ถึงจะได ชื่อว าเที่ยวอย างมีจิตสํานึก นักทองเที่ยวมีหลายประเภทนะ สวนใหญเจ็ดสิบเปอรเซ็นตเปนเที่ยวแบบ ปลดปลอ ยน ะ เปน การเที่ ยวแบบเก าแลว ททท. ชอบขานรับ เปน แมดทัว ริส ซึ่ ม สมัยนี้เขาตองเที่ยวเพื่อรูจักคนเพื่อเรียนรู นั่นคือเปนกรีนทัวริสซึ่ม แตไมเคยเขาไปอยู


I ๑๗

ในสํานึกของผูที่ทํางานเกี่ยวของกับ ททท.เลย มองแตรายไดกับการตลาด คือตลาด มันเปน สว นหนึ่ ง ของวิถีชี วิต คนเมื อง อยู ในวัฒ นธรรมของเขา แล วตลาดมัน เป น ความสัมพัน ธระหวางคนตอคนนะ คนที่อยูในตลาดจะรูจักกันหมด อยางคลองเตย ก็รูจักกันหมด แลวคนกับธรรมชาติก็จะไปจัดการเรื่องพื้นที่เองวาจะขายอะไรยังไง ตางๆ เขาจัดระเบียบของเขาได แลวคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ มีศาลเจา มีประเพณี อะไรตางๆ เขาก็สรางเปนจารีตประเพณีตางๆ อยูดวยกัน แตรัฐบาลเขาไปทําลายเขา หมด อย า งตลาดสามชุ ก ที่ ฟ น ขึ้ น มามั น ก็ มี ร ะบบความเชื่ อ นะ คนก็ รู จั ก กั น หมด แลวถึง เวลาไหวเจาก็มีพิธีเปด กิน ฟรีเลย ทุกคนมาแชรกัน นั่นคือความเปนชุมชน เปนหัวใจ ไมใชดูเฉพาะที่ขายของ เอาของมาขาย นั่นคือมนุษยอยู กลับเปนมนุษยนะ แลวคนที่ไปเที่ยวก็ไดอานิสงคจากความเขาใจ ไดอาหารที่ดี แลวไดความรื่นรมยตางๆ เหลานั้น แตพอแออัดยัดเขาไปก็จบเลย เดินยัดเยียดกันเลย เดี๋ยวนี้ตลาดอัมพวาก็แย แลว เดินยัดเยียดกัน มันนาเกลียดนะ นโยบายของรัฐเองก็ไมเขาใจสิ่งเหลานี้

กระแสการท องเที่ยวที่ทําให รปู แบบตลาดบิดเบี้ยวไปแบบนี้ ตลาดจะอยู รอดได อย างไร มั น ไม ร อดหรอก เพราะถ า มั น เกิ ด ความแออั ด แล ว ใครจะอยากมาดู ของก็ปลอม แลวก็เกิดความโลภ ถาคุมใหดีมันก็ไมโลภหรอก เขาก็ภูมิใจในตัวเขาเอง แตตอนนี้ใครจะภูมิใจละ เงินมันมาแลวนี่ นี่ก็เปนสาเหตุหนึ่ง ตลาดอัมพวาอาจจะพัง ก็ได มัน overload นะ


๑๘ I

นอกจากตลาดริมน้ําในภาคกลางแล ว ยังมีตลาดที่อื่นที่น าสนใจอีกหรือไม มีแทบทุกแหง แตทีนี้คนรุนใหมไมเขาใจ อยางผมเวลาไปเที่ยวที่ไหนผมจะ เขาไปดูตลาด อยางเชนทางบุรีรัมย ตลาดสดเขาก็ยังมีอยู คือเหมือนเปนตลาดสดกึ่ง เทศบาลนะ แตสุริน ทรนี่ไ ม มีแลว พอเขาไปแลวก็มีของหลายๆ อยาง โดยเฉพาะ พวกผักสดตามฤดูก าล หรื ออาหารที่เ ขาทํามา ต างประเทศก็มี พมา อิน โดนี เซี ย เขายังรักษาของเขาอยูเลย อยาคิดวาตลาดเกามีแตในบานเรา ของเรานะ ตลาดเกา หายไปแลว ที่อื่นเขายังมีอยู แลวนักทองเที่ยวนะ เขาใชเวลาในตลาดมากกวาไปเที่ยว โบราณสถานอีก เพราะเขาเห็นคน เห็นความหลากหลายทางชีวภาพ ทางอาหารการ กิน คือ ถ าทางเทศกิ จ ไม ไ ปไล ไม ไ ปจั ดการเขา อย า งที่ ท าช า ง เขาเอาของมาขาย พอค าแมข ายจากนนทบุรี จากฝ ง ธนเอาพืช ผัก ตามฤดูกาลมาขาย เชา ก็มี อาหาร เย็นก็มีของสดของคาว เวียนกันมา แตมันไมมาก แลวก็เปนของตามฤดูกาล มะมวง ชมพู ทุเรียน สมัยกอนเขา ก็ไปชอปปงกันแบบนี้ เขาจะรูวาตลาดไหนมีสินคาขึ้นชื่อคืออะไร

มีคําพูดที่ว า อยากเห็นชีวิตคนให ไปดูตลาด เพราะตลาดจะสะท อนภาพชีวิตคนในชุมชนนั้นๆ ได ใช แต ตอ งเป น ตลาดเก า นะ ไม ใช ตลาดใหม ห รือ ตลาดนั ด อุต สาหกรรม ร อ ยพ อ พั น แม ที่ ข านรั บ สั ง คมสมั ย ใหม สั ง คมกรรมกร คนพลั ด ถิ่ น พลั ด ทาง แลวอาหารการกินก็ไมสะอาด ตลาดเกาๆ เดี๋ยวนี้เกือบจะไมมีแลว คลองลัดมะยมนี่ เปนตัวอยาง หรือที่ทาคา สมุทรสงคราม ทาคานี่เปนตลาดน้ํา แลวพวกผูหญิงคนแกๆ นี่พายเรือไปลอยเรือ ขายของกัน แตไ มใ ชขายของอย างเดีย ว คุยกั นดวย มันเป น กิจกรรมทางสัง คม เปนที่สังสรรคของเขา แลวเกิดความสัมพันธขึ้นมา ระหวางคน ที่ ม าซื้ อ ของแล ว ก็ เ กิ ด เป น ลู ก ค า ประจํ า ขึ้ น มา เขาก็ จ ะรู ว า แม ค า คนไหนฝ มื อ ดี


I ๑๙

ทําของกินอรอย เขาซื้อขายดวยการตอรองกัน สรางความสัมพันธกัน ไมมีโกงกันนะ แตบางคนขี้เหนียวมาก็โดนดาเลย ก็เกิดที่เขาเรียกวา “ปากตลาด” ขึ้นมา คือถาไป แหย ไปตะคัดตะแคง ไปตระหนี่ ไปตอราคามาก เขารําคาญเขาก็ดาใหเลย นี่คือพวก ปากตลาดไง แตถาพูดดี คุยสนุก มีแถมใหอีก หรือวาเชื่อ กันได เพราะมันมีเครดิต ซึ่งกันและกัน มีความเปนมนุษยนะ

อาจารย มองว า ตลาดที่เป นตลาดจริงๆ ควรจะเป นอย างไร ตลาดมัน ก็ คือแหลง ที่ แลกเปลี่ย นสิน คากั น เพราะมนุษยมันต องมีระบบ เศรษฐกิจ ชี วิตมนุษ ยมั น จะอยู ไ ด ก็ต องมีอาหารการกิน เครื่อ งมื อเครื่อ งใชต างๆ มั น ก็ เ ป น สถานที่ แ ลกเปลี่ ย นสิ น ค า กั น แต ต อ งกํ า หนดพื้ น ที่ ที่ แ น น อน แล ว มี ค น ประเภทไหนที่ไ ปทํ า ตลาดก็เ ปนที่ ที่สั ง สรรค กันน ะ นั่นคื อลัก ษณะของตลาดเก า แตตลาดใหมไมใช ซุปเปอรมารเก็ตไมใช ตลาดเกาๆ คือเห็นมนุษย อยางหลายๆ แหง ที่ฟนกันขึ้นมา เชนตลาดน้ําดอนหวายทีแรกดี ตอนหลังก็เละ

อาจารย มีความทรงจําในวัยเด็กเกี่ยวกับตลาดอย างไรบ างครับ ตลาดบางลําพูนี่ก็ตลาดเกา ผมอยูในตรอกวัดบวรฯ ตองไปชอปปง ตลาด บางลําพู ตลาดบางลําพูมีสองสวนนะ ดานนี้เปนโรงหนัง อีกดานหนึ่งเปนตลาดสด มีของนานาชนิดเลย แลวก็อรอย ผมจะชอบไปทานขนม น้ําแข็งใสน้ําหวาน ไปซื้อ ขนมชั้น หรือขนมตางๆ เขามีฝมือทั้ง นั้น นะ พอตอนกลางคืน ก็มีขาวตมปลากะโห เมื่อกอนนี้มัน อุดมสมบูรณ บางลําพูเปนตลาดใหญนะคุณ ใครๆ ก็มาจายตลาดที่นี่ แตเขาก็มีความเปนมนุษยของเขานะ คือคนที่มาจายตลาดที่ตลาดบางลําพู เขาก็เห็น หน า ค า ตากั น อยู ยายผมเดิ น ไปซื้ อ ของ ชี้ นิ้ ว บอกได เ ลย เอาอั น นี้ ๆ ๆ ข า วของ เยอะแยะมาก พอเขาไปแลวมันสนุกนะ ไมใชเรียบรอยสะอาดแบบนี้ แตมันก็มีชีวิต ของมันนะ มีพวกที่ขายดอกไมคือพวกบัวสะอาด จะอยูที่ปากซอย หรือปากตรอกนะ เดี๋ยวนี้ไมมีแลว นางเลิ้งนี่เปนตัวอยางที่ยังเหลืออยู แลวก็เปนชุมชน เมื่อครั้งที่พวก


๒๐ I

เสื้อแดงอาละวาด พวกนางเลิ้ง ที่เปนเสื้อแดงก็เยอะแยะ แตพอภัยมาถึง ความเปน ชุมชนมันก็เกิดขึ้น นี่คือความเปนชุมชน แตกรุงเทพฯ ตอนนี้มันไมมีแลว มันเต็มไป ดวยคอกสัตว รัง นก คอนโดฯ ห องแถว บานจัดสรร ที่ ไ มเปนชุม ชน เห็น มั้ยเวลา เลนสงกรานตก็เลนกันสามวันสามคืน ไมไดมีประเพณีอะไร แตเมื่อกอนเขามียานเลน ของเขา ยานบางลําพู ยานวิสุทธิ์กษัตริย เขามียานของเขาอยู เปนชุมชน ตลาดนี่เปน ศูนยกลางของยานนะ ยานไหนเขาก็มีตลาดของเขา นี่คือคนเมือง คนที่อยูตามตรอก ตามบานก็ไปชอปปงกัน เขาไปยานไหนก็สนุก แตเดี๋ยวนี้มันไมใช มันพัฒนากันไมเปน ยานตลาดนี่นะมันชวยพัฒนาคนที่ยากจนดวย เพราะเขาจะเอาพวกหาบเรไปตั้งขาย คือตลาดเกาจะมีพื้นที่วางใหชาวบานเอาหาบเรไปวางขายได แลวมันก็เปนเสนหนะ สมัยกอนผมกิน ขาวแกงหาบเรนะ แลวคนที่เอาขาวแกงมาขายนะ ฝมือชั้นยอดเลย อรอยมาก ทําไมไมฟนพวกนี้ขึ้นมาฟนความเปนจริง แลวถาฟนไดเขาก็ถายทอดให ลูกเตาเขา จะไดไมตองไปทํางานที่ไมดีอยางอื่น แตก็คิดกันไมเปน

แล วตลาดย านบางลําพูในช วงหลังมันเปลี่ยนแปลงไปได อย างไร มั น เปลี่ ย นไปเพราะเทศบาลมาเปลี่ ย น รวมทั้ ง พวกนายทุ น ท อ งถิ่ น ก็เลอะเทอะหมด ชีวิตในหองแถวมันก็เปลี่ยนไป แตกอนนี้บางลําพูมันเปนยานตลาด รานคา มีหองแถว อยางพวกเกื้อนพรัตน ก็อยูแถวนี้ อยางยานอื่น บานหมอก็ขาย ทอง มันก็เปนแตละยานๆ ไป หรือยานวัดมังกรแถวเยาวราช ที่เรียกวาไชนาทาวนนั่น ก็อีกอยาง เขาไปแลวสนุก แตไปเพนพานไมไดนะ เดี๋ยวเด็กมันตีหัวเอา

ที่ตลาดร อยป คลองสวนอาจารย เข าไปเกี่ยวข องอย างไรครับ ผมไม ไ ด ไ ปเริ่ ม นะ เขาเชิ ญ ผมไปดู แ ล ว ก็ เ ชิ ญ ผมไปพู ด พวกอาจารย ที่ ลาดกระบั ง เขาทํ า กั น อยู ช ว ยทํ า เรื่ อ งแลนด ส เคป ซึ่ ง ดี ม าก คื อ มั น เป น สองเขต สมุ ท รปราการกั บ ฉะเชิ ง เทรามาเจอกั น แล ว ก็ มี ลํ า น้ํ า ขวาง ด า นหนึ่ ง เป น ของ ฉะเชิ ง เทราแต เ จ า ของตลาดเขายั ง ไม เ ป ด ตลาด แต อี ก ด า นหนึ่ ง เขาเป ด แล ว


I ๒๑

เขาก็พัฒนาขึ้นมามาก แลวฝงตรงขามจะมีวัดพุทธกับมัสยิดของมุสลิมเขาอยูดวยกัน มันพูดถึ ง สัง คมที่เกิ ดขึ้น สมัยรัช กาลที่ หา หลั ง จากขุดคลองตรงนั้นแลวมัน ก็เกิด มี ชุมชนริมน้ําขึ้นมา แลวตรงไหนที่มันมีสบ คือคลองมาพบกับน้ํามันก็เกิดเปนยานใหญ มีศาลเจา ฝงตรงขามก็มีวัด ซึ่งมันเปนความหลากหลาย เปนเสนห ทั้งพุทธ ทั้งมุสลิม ทั้งจีน อยูดวยกัน

ประวัติศาสตร ที่นั่นเป นอย างไรครับ มันเกิดขึ้นจากการขยายตัวเมืองสมัยกรุงเทพฯ ขุดคลองขึ้นไป มันก็เกิดเปน ยานชุมชนตามริมคลองขึ้นมา เพราะกอนนี้มันไมไดมีถนนนี่ บานเมืองมันเกิดขึ้นตาม แมน้ําลําคลอง เปนแหลงการคมนาคมเหมือนกับที่สามชุก ที่อัมพวา แตพอเปนถนน แลวจบเลย เหลือแตคนแก

อาจารย เคยพูดถึงตลาดสามชุกว า คือไส แซนด วิชที่ยังเหลืออยู นี่ หมายความว าอย างไร คือมันถูกบีบ ชุมชนเกาๆ มันถูกบีบจนแบนเหมือนแซนดวิชนะ โดยชุมชน ใหมๆ อาจจะมองอยางนั้นก็ได มันก็เหลืออยูแคนั้น จริงๆ แลวตลาดสามชุกนี่มันถูก ทิ้ ง มานานแล ว นะ ลู ก หลานคนจี น ที่ นั่ น เขาหนี ม าอยู สุ ขุ ม วิ ท กั น เยอะแยะ พวกรานของเกา ลูกเตาก็ยายออกมาหมดเหลือแตบานโลงๆ มันรางมาตั้งนานแลว แต ต อนหลั ง มั น เกิ ด ความคิ ด เห็ น ของชมรมพ อ ค า ข า งในน ะ คิ ด กั น ขึ้ น มา แลวนายกเทศมนตรีเขาสนับสนุน เขาก็ฟนขึ้นมา แตเขาฟนขึ้นมาเปนตลาดเย็นคือ เปน มหกรรมอาหาร ซึ่ง เขาก็คิดถู กนะ แล วเขาก็พยายามกัน คนนอกไม ใหเ ขามา แตไมรูกันไดหรือเปลานะ เพราะทุกคนก็มุงที่จะไปขาย มันก็เปนปญหาเพราะพวกนี้ ไมคิดไปทําที่อื่น เมืองไทยมันเปนอยางนี้ ทั้งโลภ ทั้งมักงาย ทําไมไมดูของเขาแลวไป ทําของตัวเองบางมันจะไดไมซ้ํากันไง แตนี่มาของก็ซ้ํากัน ของกลายเปนแบบทั่วไป ไมใชของทองถิ่น อยางที่คลองลัดมะยมถึงแมจะเล็กแตก็ยังรักษาของเขาได ตลิ่งชันก็


๒๒ I

พอจะรักษาได แตไมแน ตลิ่งชันอาจจะแออัด มันตองขยายไดแลว แตนโยบายกทม. ไมไดเหมือนเดิม อยางตอนที่คุณอภิรักษ (โกษะโยธิน) เขาอยู อยางตอนนี้ที่บานบุ (หลัง สถานีรถไฟธนบุรี) เขาก็กําลัง จะทํา เปนตลาดบานบุ มนุษยชาวตรอกยัง อยู สืบเชื้อสายกันมา ตลาดเขาก็ยังอยู แตตอนนี้เขาถูกบีบทั้งโดยศิริราช ทั้งโดยรถไฟ

ตลาดบ านเรากับตลาดในต างประเทศมีความแตกต างกันอย างไร ตลาดต า งประเทศมั น เป น วั ฒ นธรรมของเขาน ะ มั น มี ก ารจั ด ผั ง เมื อ ง ยานการคาก็มีการพัฒนาไปตามรูปแบบของเขา มันถึงไดมีเปนแบบซุปเปอรมารเก็ต ขึ้น มา เพราะบา นเมืองวัฒ นธรรมมัน ตางกัน ของเรานี่มันเติบโตจากชุมชนที่เป น บานๆ มากอน ไมไดจัดตั้งมา มันคนละเรื่องกัน เมื่อคราวที่ผมไปอเมริกาไดไปเที่ยว เม็กซิโก ผมไปอยูที่ตลาดเม็กซิโกครึ่งวัน คือวิถีชีวิตของเขายังดํารงอยูได แตของเรา มั น กระเดี ย ดไปทางจะเป น ฝรั่ ง แล ว ถู ก รุ ก โดยพวกซุ ป เปอร ม าเก็ ต ทั้ ง หลาย อยางแถวๆ นี้ (บางลําพู) คุณมากินขาวคุณหาที่จอดรถไดเหรอ จะจอดรถเขาก็หาม วันกอนนี้ผมก็ตองเดินไป ขณะที่พวกโชวหวยเขาจะขานรับเฉพาะคนในยานนั้นๆ นะ แตเดี๋ยวนี้ถนนหนทางดีก็เลยมากินไกล กวยเตี๋ยวเจานี้อรอยตองพากันมาจนไมมีที่ จอดรถ มั น คนละเรื่ อ งกั น น ะ คนมั น เปลี่ ย นไปนะ คนมั น โหยหาอะไรบางอย า ง แลวก็โฆษณากันไปสิ รานนี้ดีนะ คนก็แหกันไปกินกันจนไมมีที่จอดรถ สมัยกอนๆ นี้ มันก็กิน กัน อยูแคในยานนี้แหละ ญี่ปุน ฝรั่งมาก็มากินที่ยานนี้ คือมันสมบูรณในตัว ของมันเอง คนที่เปนพอคาแมคาก็ขายของ แตตอนนี้มันไมใช พอรูวากวยเตี๋ยวเจานี้ อรอยก็แหกันมา รถก็ไมมีที่จอด พอตอนหลังก็เอาขึ้นซุปเปอรมารเก็ตหมดเลย


I ๒๓

ขณะที่หา งใหญ ๆ จากต างประเทศเข ามาแล วตลาดแบบไทยๆ จะอยู รอดได อย างไร มันเปลี่ยนเปนตลาดอุตสาหกรรมไง เพราะคนมันมากมาย มันผสมผสาน กันไมรูวาใคร ก็กลายเปนตลาดแบบที่เห็น ตลาดนัดทองถิ่นหลายแหงกลายเปนตลาด อุตสาหกรรมเพราะคนเขาไปเยอะแยะ อยางดอนหวายอาจจะเริ่มจากเปนตลาดนัด ท อ งถิ่ น แต มั น ก็ ถู ก รุ ก โดยสั ง คม รั ฐ บาลก็ ไ ม เ ข า ใจในการจั ด ระเบี ย บแบบแผน เขาขาดความเขาใจในสิ่ง เหลานี้ อย างตลาดทาเตียนนี่ นารักจะตายไป มีพวกผั ก ผลไมมาขึ้นที่นี่ จากปากคลองตลาดนะ ถาจัดระเบียบใหดีมันก็เปนแหลงทองเที่ยวที่ สําคัญ ไมมีใครเขาอยากไปดูวัดโพธิ์วัดพระแกวกันหรอก ฝรั่งมันไปตั้งกลองถายพวก พอคาแมคาหาบเร ซื้อของสดของคาวกันสนุกออก

พอเรารักษาความหลากหลายไว ไม ได มันก็เลยเป นเหมือนกันไปหมดทุกที่ ใช แล วคนรุ น ใหมก็ ไ ม ไ ด รับการอบรม คิ ดไม เป น คิด เปน แต วัฒ นธรรม ซุปเปอรมารเ ก็ต หรือถาจะทําก็ทําแบบจอมปลอมเพื่อ การทองเที่ย ว มันไมไ ดใ ห คุณคาอยางแทจริง มันก็จะกลายเปนแบบหลวงพระบาง แตถาคุณทําได ใหมันเปน ตลาดนั ด ทอ งถิ่ น จริง ๆ มั น จะช ว ยคนได เ ยอะ โดยเฉพาะคนที่เ ขาไม มีหั ว การค า แต ส ามารถทํ า อาหารได ดี หรื อ ถ า คุ ณ สามารถไปจั ด บางแห ง ให ห าบเร เ ข า มา ก็ชวยชาวบานไดเหมือนกัน แลวตรงนั้นก็เปนแหลงที่คนมาดู เอาความหลากหลาย เขามา แตเราตองจัดระเบียบใหดีนะ คือกรุงเทพฯ เปนเมืองนาอยู แตคิดไมเปน


๒๔ I

ตลาดท องถิ่นถ าจะอยู รอดก็ต องเริ่มด วยตัวเอง ใช ตองใหคนในเขาอยูรอดกอน แตนี่คุณไมมีทองถิ่นคุณไมมีชุมชน ถามวา เวลาที่ คุณ พูด ถึง ชุ มชนมั น เปน ชุมชนเหรอ มัน เปน พื้น ที่ที่ คนจากหลายๆ ที่ไ ปอยู รวมกันตางหาก

อาจารย ไปเดินตลาดบ อยไหมครับ บอยสิ ผมชอบ ผมมักจะไปเดินซื้อผัก ซื้อปลา คุณจะเห็นวาเมื่อกอนนี้พวก ปลาจะอุ ด มสมบู ร ณ ม าก ทั้ ง ผั ก ตามฤดู ก าล ทั้ ง ปลาเยอะแยะมาก กุ ง ปลา อุดมสมบูรณมาก เดี๋ยวนี้ไมมีแลว มีแตปลาเลี้ยง ปลาซีพี คือเดี๋ยวนี้บางทีไปดูตลาด เทศบาลมั น ไม ไ ด เ รื่ อ งหรอก มั น เป น แหล ง เสื่ อ มโทรมมากกว า อย า งบางแห ง เชนคลองลัดมะยมมันดูมีชีวิตชีวา คนมันก็ไปเที่ยวกัน แตถาไปทําใหมขึ้นมามันก็ผิด บรรยากาศ รั ฐ บาลไม เ ข า ใจ ตลาดมั น เป น ส ว นหนึ่ ง ของชุ ม ชนระดั บ เมื อ ง ไมใชหมูบาน เพราะคนตองอยูเปนยาน หลากหลายดวยอาชีพชาติพันธุ ก็มีสิ่งที่มาอยู รวมกัน แลวยานนี้เขาก็มีสํานึกรวมวาเขาเปนคนยานนี้ ตลาดนี้ของเขา มีคนพูดถึง สํานึกรวมเยอะแยะมาก แตไ มเขาใจ อยางพูดถึง ตลาดน้ํามันก็เปนสัญ ลักษณของ เมือง เพราะตลาดน้ําก็คือตรงนั้นเปนบานเปนเมืองมากอน ไมเชื่อคุณไปดูอัมพวาสิ โครงสรางมันเปนเมือง มีศาลเจา มีวัด แลวก็มีที่อยูของคน แตไมพูด ไปพูดแตเสนห เรื่ อ งการลอยเรื อ มั น ก็ เ ลยมี ก ารจั ด ฉากกั น เยอะแยะอย า งที่ ดํ า เนิ น สะดวกไง เดี๋ยวนี้เขาก็ฟนกันขึ้นมาใหมหลายแหง แถวสมุทรปราการก็มีเชนที่บางผึ้ง ถาเขาดูแล กันไดมันก็จะเกิดขึ้น

แต ถ าทางรัฐหรือทางเทศบาลเข าไปมีสว นเกี่ยวข องด วยก็ ฉิ บ หายสิ เพราะมั น มากั บ พวกนายทุ น กั บ พวกนั ก วิ ช าการสมั ย ใหม พวกผัง เมืองบาง บอกวา ไปดูจากตางประเทศมาอะไรมา เมื่อวานผมเพิ่ ง ไปพูด ที่


I ๒๕

สุพรรณบุรีบอกวา แหม ตลาดสุพรรณบุ รีมัน นาจะจัด ลองเรือดูแม น้ําลําคลองนะ ตลาดเกาหองมันพัฒนาใหเปนตลาดทองถิ่นก็ได แตคนใหญคนโตดันไปทําหอคอยไว ซะแลว (หัว เราะ) ตอ งไปลอกเลีย นแบบเขา แต สิ่ง ที่เป นอั ตลั กษณข องเราความ ภาคภูมิใจของเรากลับไมรักษา แลวแมน้ําลําคลองก็ไปทําซะเสียหมด ผมวาสติปญญา ของคนเราทําไมมันไมเขาใจตัวเองเสียเลย แลวมันจะโหยหาความเปนไทยไปทําไม

ถ าตลาดท องถิ่นแต ละที่พยายามที่จะหาความเป นรากเหง า ของตัวเองออกมา.. มั น ก็ จ ะเป น การฟ น ความเป น มนุ ษ ย สู ท อ งถิ่ น แล ว ช ว ยคนแก ค นเฒ า คนวางงาน ลูกๆ ก็ไดกลับบาน แลวฟนความหลากหลายทางชีวภาพขึ้นมา คุณไปดูที่ อาจารยเสนห (จามริก) พูดสิ เมืองไทยไมตองเปนอุตสาหกรรมก็ได เพราะเรามีความ หลากหลายทางชีวภาพ เปนแหลง อาหารที่ยิ่ง ใหญของโลก คนมาเมืองไทยไมมีอด อยาก คนไทยไมเคยมีกาลเทศะกินไดตลอดทั้งวัน เมืองนอกมีอยางนี้เหรอ เมืองไทย ไมมีอดตาย ปญหาเศรษฐกิจเมืองไทยไมใชคน hungry แตเปนคน greedy ตะกละ ไมรูจักเพียงพอ แลวทําลายตัวเอง ทั้ง ที่เราไมเคยอดตายนะครับ แตเราอาจจะฉิบ หายในอนาคต ถา เขา ใจเราไม ตอ งเป น อุ ตสาหกรรม แลว มัน จะเปน เสน ห ใครๆ ก็ตองมา เวลานี้อุตสาหกรรมเจงกันไปหมดแลว เห็นหรือไม แลวพื้นที่ทองถิ่นก็โดน โรงงานอุตสาหกรรมยึดไปหมด ชาวบา นก็กลายเปนพวกทาสติดที่ดิน คุณไมเห็ น ความหลากหลายทางชี ว ภาพ ที่ อี ส านหลายแห ง ก็ ล ม จมไป ถ า คุ ณ เห็ น ความ หลากหลายทางชี วภาพของท องถิ่น ทั้ง อาหาร ยารัก ษาโรค แล วจั ดตลาดขึ้น มา มันก็รอด แตตอนนี้คุณทําลายมันไป


๒๖ I

ตลาดท องถิ่นในแต ละที่ที่เกิดขึ้นมันจะเป นอย างไรต อไป มันก็ตองมีคนฟนขึ้นมา คือตองใชขาวของใชสติปญญาทําใหตัวเองรอดกอน แลวคนนอกคอยเขามาแตตองมีกติกาการอยูรวมกันไมใหใครทําลาย ถาฟนขึ้นมา คุณทําลายแลวมันก็จบ บางทีก็เปนหนาที่สื่อที่ตองชวยกันสรางสิ่งเหลานี้ขึ้นมา

แล วถ ามันเกิดมีตลาดเกิดขึ้นหลายๆ ที่ นักท องเที่ยวจะลดน อยลงหรือเปล า ไมนอ ย ถ ามีต ลาดใหถู กตอ งนะ คนจะมากกวาเดิมอี ก คุ ณดูเ มืองไทยสิ พวกโบราณสถานนะเล็กนะเมื่อเทียบกับพมาหรือที่อื่นในโลก โบราณสถานเมืองไทย แม ก ระทั่ ง สุ โ ขทั ย มั น ก็ เ ล็ ก อยุ ธ ยาก็ เ ล็ กเมื่ อ เทีย บกั บที่ อื่ น เขา แตเ สน ห ในแม น้ํ า ลําคลองคือวิถีชีวิตของคน ที่สําคัญคือธรรมชาติ เรามีความหลากหลายเรื่องธรรมชาติ มากเลย ไปดูบันทึกที่ฝรั่งเขียนไวสิ มันไมไดพูดเลยวาเมืองเราใหญโต มันพูดถึงคน ทั้ ง นั้ น เลย แล ว ก็ พู ด ถึ ง ศิ ล ปะบางอย า งเท า นั้ น เอง เขามองเห็ น ชี วิ ต ของคน เขาไมมองรวมๆ


I ๒๗

การใช ประวัติศาสตร บอกเล า ในการศึกษาท องถิ่น มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ / เรียบเรียง

ประวัติศาสตรบอกเลาเปนเครื่องมืออยางหนึ่งในการศึกษาทองถิ่น โดยใช วิ ธี ก ารสั ม ภาษณ เพื่ อ เก็ บ ข อ มู ล คํ า บอกเล า ต า งๆ ที่ ป รากฏอยู ใ นท อ งถิ่ น เปนกระบวนการสงตอเรื่องราวจากรุนหนึ่ง ไปสูอีกรุนหนึ่ง มีทั้งเรื่องราวที่สําคัญใน ชีวิต ตํานาน นิทาน หรือคําร่ําลือตางๆ ซึ่งเราสามารถนํามาศึกษา และวิเคราะหเพื่อ อธิบายสภาพสังคมในทองถิ่นได ขอมูลจากคําบอกเลาเนนไปที่ประสบการณของบุคคลที่อยูในสัง คมนั้นๆ ณ ชวงเวลาหนึ่ง การใชประวัติศาสตรบอกเลาในการศึกษาพื้นที่หนึ่งอาจเริ่มตนดวย การตั้งประเด็นที่สนใจศึกษา แลวจึงตั้งคําถามใหครอบคลุมกับเรื่องราวอยางเปน ลําดับขั้นตอน และเฟนหาผูใหขอมูลในทองถิ่นที่มีภูมิรูเกี่ยวกับเรื่องราวดังกลาว


๒๘ I

การสัมภาษณที่ดีควรตั้งคําถามปลายเปด เชนคําวา “อะไร” “อยางไร” ไมควรตั้งคําถามที่รวบรัดใหตอบ เชน “ใชหรือไม” “ถูกตองหรือไม” การมี ม ารยาทที่ ดี นั บ เป น สิ่ ง สํ า คั ญ เช น ควรมี ก ารนั ด หมายเวลา บอกถึ ง วั ต ถุ ป ระสงค ในการสั ม ภาษณ บอกเนื้ อ หาและประเด็ น ที่ จ ะสอบถาม รวมถึงควรบอกกลาวกอนวาจะใช อุปกรณในการบันทึกเสียง กลองถายภาพรวมดวย นอกจากนี้การนอบนอมตอผูใหขอมูลก็เปนสิ่งสําคัญชวยใหการสัมภาษณเปนไปอยาง ราบรื่น การสัมภาษณแตละครั้งอาจพบอุปสรรค เชน ผูใหสัมภาษณไมรูวาจะพูด อะไร หรือจะบอก เรื่องราวนั้นดีหรือไม บอกแลวจะไดรับผลอะไร ดังนั้นการเตรียม ตัวซั กถามอยา งเปน ขั้น ตอน และการสร างความไวเนื้ อเชื่อ ใจด วยการแนะนํ าตั ว บอกวั ต ถุ ป ระสงค และบอกถึ ง การนํ า เอาข อ มู ล เหล า นี้ ไ ปใช ป ระโยชน นั บ เป น สิ่งสําคัญที่จะชวยลดอุปสรรคได ขอ มูลที่ไดจากการสัมภาษณใ นเรื่องราวเดียวกันของแตละบุคคลควร นํามาเปรียบเทียบ และประเมินความถูกตองโดยการพิจารณาจากภูมิหลังของแตละ คน เพื่อชวยลดขอผิดพลาด หรือการคลาดเคลื่อนของขอมูลเหลานั้นได การนํ าข อ มู ล มาวิ เ คราะห ข อ มู ล ที่ไ ด จ ากการสัม ภาษณส ามารถนํ า มา วิเคราะหและกลั่นกรองเพื่อใชในการเขียนขอมูลทองถิ่นได โดยสามารถนําเอาขอมูล เหลานี้มาเชื่อมกับเหตุการณภายนอก เพื่อสรางความเชื่อมโยงระหวางผูคนในทองถิ่น กับผูคนจากภายนอกวาเปนเชนไร กระนั้นก็ตาม สิ่งที่ตองคํานึงอยูเสมอคือขอมูลที่ได จากการสั ม ภาษณ นั้ น อาจไม ถู ก ต อ งตามสิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง ในอดี ต เสมอไป เพราะข อ จํ า กัด ที่ ผู ให ข อ มู ลเหล านั้ น แม จะร ว มประสบการณม าด ว ยตั ว เอง แต ก็ ถายทอดเรื่องราวมาจากความทรงจําที่ผานระยะเวลามาเนิ่นนาน การนําเอาขอมูลมา เรียบเรียงเปนขอเขียนจึงอาจเกิดความคลาดเคลื่อนจากสิ่งที่ผูใหสัมภาษณตองการ สื่อสารออกมาไดเชนกัน ดังนั้นหากมีเวลากอนจะนําเอาขอมูลไปใชประโยชนอยางใด


I ๒๙

อยางหนึ่ง ควรใหผูสัมภาษณชวยตรวจสอบเนื้อหาที่ไดสัมภาษณไปแลววาถูกตองตาม สิ่งที่ตองการสื่อสารหรือไม เพราะจะชวยใหขอเขียนที่ไดมามีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น

อุปกรณ ในการสัมภาษณ ๑ เครื่องบันทึกเสียงและกลองถายภาพ ช ว ยในการบั น ทึ ก เนื้ อ หาและใช เ ป น เครื่ อ งมื อ ทบทวนการสอบถามว า ครอบคลุ มเรื่ อ งราวที่ ไ ด สั ม ภาษณ ห รื อ ไม มี ป ระเด็ น ตกหล นอย า งไร นอกจากนี้ ภาพถายยังชวยใหเห็นถึงบริบทระหวางการสัมภาษณดวย ๒ สมุดบันทึก แมมีเครื่องชวยบันทึกเสียงบันทึกการสัมภาษณเอาไวแลว แตการจดขอมูล ที่เห็นวาสําคัญและบอกเวลาสถานที่และผูใหขอมูล นับเปนสิ่งสําคัญในการใชขอมูล เหลานี้มาวิเคราะห ประกอบการตีความรวมกับขอมูลอื่น อีกทั้งยังทําใหขอมูลที่เก็บ รวบรวมมีความเปนระเบียบและชัดเจน ๓ แบบฟอรมในการสัมภาษณ นับเปนประโยชนในการกําหนดประเด็นคําถามหลักและตีกรอบขอมูลตางๆ ของผูสัมภาษณเอาไว ทั้งยังนํามาจัดเก็บเพื่องายตอการสืบคนตอไป

การตั้งประเด็นคําถาม ๑ กอนการสัมภาษณแตละครั้งตองตั้งเปนประเด็นคําถามอยูในใจ อาจจด เปนลําดับเอาไวในสมุดวาเรื่องไหนสําคัญกอน-หลัง เมื่อถึงเวลาสัมภาษณไมควรถาม เปนขอๆ แตควรเริ่มตนจากการสอบถามขอมูลทั่วไป แลวจึงเขาสูเนื้อหาที่อยากรูเปน ลําดับ


๓๐ I

๒ ไมควรถามซ้ําหรือยอนไปยอนมา ควรเรียงลําดับเนื้อหากอนหลัง ใหดี หากจําเปนตองยอนถามเนื้อหากอนหนา ควรใหผูถูกสัมภาษณไดตอบคําถามจนจบ ในแตละเรื่องเสียกอน ๓ ควรสั ง เกตผู ถู ก สั ม ภาษณ ว า ได ต อบคํ า ถามจบประโยคแล ว หรื อ ยั ง หรื อ กํ า ลั ง คิ ด ที่ จ ะตอบอยู หากได รั บ คํ า ตอบจบประโยคแล ว จึ ง เริ่ ม ถามคํ า ถาม ตอไปได ๔ ควรระมัดระวังการถามเรื่องราวที่ละเอียดออน เชน ถามถึงขอมูลของ บรรพบุรุษเรื่องการสูญเสียและเรื่องสวนตัว ควรคํานึงถึงอารมณของผูถูกสัมภาษณ ดวยวามีความพอใจกับคําถามที่ไดรับหรือไม เพื่อปรับการซักถามในคําถามตอไปใหมี ความเหมาะสมมากขึ้น ๕ การสบสายตากับผูถูกสัมภาษณ การใหความสนใจกับเรื่องที่ไ ดเลามา และการอยูในอาการสงบ ไมทํากิจอยางอื่นไปดวย จะชวยใหผูถูกสัมภาษณรับรูวา กําลังเลาเรื่องราวใหผูที่สนใจฟงอยู ๖ หากไดรับคําตอบทั่วๆ ไป หรือไมชัดเจน ควรขออนุญ าตใหเลาขอมูล เพิ่มเติมในประเด็นนั้นๆ หรือขอใหชวยอธิบายขยายความเพิ่มเติม ๗ หากตองการทราบในประเด็นที่สําคัญ ควรตั้งคําถามหลายๆ คําถามให รอบดาน และซักถามจนกวาจะเขาใจ ๘ หากสถานการณ ก ารสั ม ภาษณ ตึ ง เครี ย ด ควรหาวิ ธี ผ อ นคลาย เช น การกลาวถึงประสบการณของตัวเองที่เคยพบเจอเรื่องนั้นๆ เชนกัน หรือกลาวถึงการ เห็นอกเห็นใจในเรื่องราวที่ไดสัมภาษณพอสมควร เพื่อสรางความเปนอันหนึ่งอันเดียว หรือรูสึกวาอยูขางเดียวกัน แตไมควรแสดงความคิดเห็นของตัวเองเขาไป เพราะอาจ ทําใหขอมูลที่ไดมาคลาดเคลื่อนไปจากความเปนจริงได ๙ หลั ง การสั ม ภาษณ ควรแสดงมารยาทกายและวาจาที่ เ หมาะสม เชนการขอบคุณผูใหขอมูล


I ๓๑

การตรวจสอบตัวเองหลังการสัมภาษณ ๑ พิจารณาวาผูที่เราเลือกมาใหขอมูล มีความเหมาะสมตอเรื่องราวนั้นๆ แลวหรือไม ๒ ในการสัมภาษณไดเตรียมตัวมาเปนอยางดีแลวหรือไม มีอุปสรรคอยางไร และสามารถแกไขปญหาเฉพาะหนาไดดีแคไหน ๓ ทบทวนคําถามและคําตอบที่ไดมา วาครอบคลุมเนื้อหาแลวหรือไม ๔ เมื่อนําเอาขอมูลที่ไดมาไปเรียบเรียง หากขอมูลนั้นมีหลายสวนหรือได จากบุ ค คลหลายปากต อ งพิ จ ารณาว า ข อ มู ล ใดที่ ไ ด นํ า ไปใช เ ป น เพราะเหตุ ใ ด และขอมูลใดที่ไมถูกนําไปใชเพราะเหตุใด


๓๒ I

การศึกษาเบื้องต นเกี่ยวกับ ตลาดหัวรอ* 3

พัฑร แตงพันธ* * 1

ตลาดหัวรอ เปนตลาดเกาแกประจําเมืองพระนครศรีอยุธยามามากกวา ๑๐๐ ป ตั้ ง อยู ท างด า นตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ของเกาะเมื อ ง พื้ น ที่ ส ว นหนึ่ ง เป น ตลาดสด ขายของสดประเภทปลา เนื้อสัตวตาง ๆ และของแหง ประเภทหัวหอม กระเทียม พริกไทย น้ําตาล เปนตน สําหรับใหผูจับจายเลือกซื้อไปเปนวัตถุดิบในการ ประกอบอาหาร และพื้นที่อีกสวนหนึ่งเปนตึกแถว ขายสินคานานาชนิด อาทิ เสื้อผา เครื่องนุงหม เครื่องแบบทํางาน เครื่องแบบนักเรียน นักศึกษา ตลอดจน เครื่องนอน ยาสมุน ไพร ยาแผนป จจุ บั น ร านทอง และของชํา ทั่ วไป ซึ่ ง สิน ค าในตลาดหั ว รอ มัก เปน สิ น ค า ที่มี ค วามจํา เปน ต อการชี วิ ตประจํ า วัน ของชาวอยุธ ยาตั้ ง แต ใ นอดี ต จนปจจุบัน * บทความนี้ ปรับปรุงจากงานศึกษาวิจัย เรื่อง ประวัติศาสตรทองถิ่น ตลาดหัวรอ ซึ่งเปน สวนหนึ่งของการศึกษาวิชา สัมมนาประวัติศาสตรทองถิ่น ภาควิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ ประจํ า ป ก ารศึ ก ษา ๒๕๕๐ ซึ่ ง ยั ง มี เ นื้ อ หาและหลั ก การทางการศึ ก ษา ประวัติศาสตรทองถิ่นที่สมควรไดรับการพัฒนาใหมีค วามเหมาะสมมากขึ้น บทความนี้ จึง เปน เพียงจุดเริ่มตนของการพัฒนาและตอยอดองคความรูดานประวัติศาสตรทองถิ่นของตลาดหัวรอ และของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาใหกวางขวางยิ่งขึ้นตอไป ** นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


I ๓๓

ตลาดหัวรอในปจจุบัน ที่มา: ตลาดหัวรอ. (๒๕๕๑). (ภาพนิ่ง ). พระนครศรีอยุธยา: สถาบัน อยุธยาศึกษา. สําหรับในอดีตที่ชาวเมืองพระนครศรีอยุธยายัง นิยมสัญ จรทางน้ําอยูนั้น ตลาดหัว รอยิ่ง มี ความเฟ องฟูกว าในปจจุ บันมาก เพราะนอกจากจะมีตลาดที่เป น ตลาดสดและหองแถวแลว ยังเคยมีตลาดน้ํา ที่มีพอคา-แมคา นําสินคามาแลกเปลี่ยน ซื้อขายกันทางเรือ และเรือนแพจํานวนมากที่ผูกเรียงรายไปตามลําน้ําในยานหัวรอ ทํา ให พื้ น ที่ ข องตลาดหัว รอในอดี ตนั้ น ยาวเหยี ยดไปตามลํ าน้ํ า อีก หลายกิโ ลเมตร ตั้งแตหนาพระราชวัง จันทรเกษม ขึ้นไปถึง “สี่แยกวัดตองปุ” และลงมาจนถึงทาย เกาะลอย จนมี ลั ก ษณะเป น ชุ ม ชนขนาบน้ํ า ขนาดใหญ เป น ศู น ย ก ลางการค า และการคมนาคมที่สําคัญในภูมิภาคนี้


๓๔ I

ทวาความเปลี่ยนแปลงจากพัฒนาการของเมืองตลอดระยะเวลาที่ลวงเลย มา ไดทํ าใหวิ ถี การดํ าเนิน ชี วิต ของชาวเมือ งเปลี่ ยนไปจากที่เ คยเปน ชุม ชนริม น้ํ า กลายเป น ชุ ม ชนที่ ใ ช ร ะบบถนนเข า มาเป น เส น ทางสั ญ จร รวมถึ ง การที่ มี ย า น พาณิช ยกรรมแหง ใหม ๆ เกิ ดขึ้ น อยู ตลอดเวลา ทํ าใหต ลาดน้ํา ย านหัว รอค อย ๆ เสื่อมความนิยมและหมดสิ้นลงในที่สุด หรือแมแตตัวตลาดหัวรอในปจจุบันเองก็เริ่ม ซบเซาลงไปไมนอย ดังนั้น การศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่นตลาดหัวรอ จะเปนหนทางหนึ่งจะที่ ทําใหทราบถึง ชีวิตและผูคนในตลาดหัวรอ รวมไปถึง สภาพการคา การขายสินค า และการบริการที่เคยมีอยู หรือยังคงมีอยูในตลาดหัวรอ อันจะชวยแตงเติมสีสันและ บรรยากาศในวันวานของตลาดเกาแกแหงนี้ ใหกลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้งหนึ่ง

ลักษณะที่ตั้งของตลาด ตลาดหัวรอ ในอดีตมีทั้ง ตลาดที่ตั้ง อยูบนฝ ง และตลาดที่ คาขายอยูตาม ลํ า น้ํ า ซึ่ ง ตั้ ง อ ยู ท า ง หั ว มุ ม ข อ ง เ ก า ะ เ มื อ ง พ ร ะ น ค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า ด า น ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ อันเปนยานศูนยกลางการปกครองของเมืองในสมัยมณฑล กรุงเกา / อยุธยา ที่ประกอบไปดวยสถานที่ราชการ สถานศึกษา และยานที่อยูอาศัย ของชาวเมือง สํา หรั บ ตลาดหัว รอ ที่ ตั้ง อยู บนฝง ซึ่ง เป น ที่ ตั้ง ปจ จุบั น ของตลาดหัว รอ ทุกวันนี้ พื้นที่ดานทิศเหนือของตลาดจรดปากคลองบางขวดซึ่งเคยเปนยานคาขาย ทางน้ําที่คึกคักมากในอดีต ดานทิศตะวันออกจรดแนวคลองวัดเสนาสน หรือคลอง มหาไชย ที่ขุดจากวัดเสนาสนารามในสมัยรัชกาลที่ ๔ และโคงโอบพื้นที่ตลาดมาออก ปากแม น้ํ า ที่ ท า เรื อ ท า ยตลาด ซึ่ ง เคยเป น หน า ตลาดหั ว รอมาก อ น ที่ เ รี ย กกั น ว า ปากคลองตลาด เป น ชุ ม ทางน้ํ า หลายสายที่ ส ามารถเดิ น ทางทางจุ ด นี้ ไ ปได ทั้ ง คลองเมือง คลองบางขวด แมปาสักขึ้นไปทางวัดตองปุ หรือลงมาทางหนาพระราชวัง จันทรเกษมได สวนทางดานทิศใตจรดถนนอูทอง ซึ่ง เปนถนนรอบเกาะเมืองที่ตัด ขนานไปตามลําน้ําตาง ๆ


I ๓๕

แผนที่แสดงตําแหนงที่ตั้งของตลาดหัวรอ ตลาดน้ํายานหัวรอ มีสถานที่ตั้งไมแนนอน เพราะพื้นที่ของตลาดมักมีการ เปลี่ยนแปลงไปตามชวงเวลาตาง ๆ ตามความสะดวกในการพบปะคาขาย และความ นิยมในระบบการสัญจรทางน้ําของผูคน ซึ่งตลาดน้ํายานหัวรอประกอบดวยไปดวย ตลาดนัดที่คาขายทางเรือ ซึ่งบางชวงมีการชุมนุมคาขายอยูบริเวณปากคลองบางขวด บางคาขายกันบริเวณระหวางหนาพระราชวังจันทรเกษมและวัดมณฑป อีกสวนหนึ่ง เปนตลาดแพ ที่คาขายและผลิตสินคาในแพ ที่ปกหลักอยูตามสองฟากฝงลําน้ําปาสัก ตั้ ง แต บ ริ เ วณหน า พระราชวั ง จั น ทรเกษมขึ้ น ไปถึ ง ปากคลองบางขวด เรื่ อ ยไป จนกระทั่งถึงหนาวัดตองปุ และในเวลาตอ ๆ มา ไดขยายลงมาจากหนาพระราชวัง จันทรเกษมไปถึงทายเกาะลอยและคอย ๆ เบาบางลง แตบางชวงเวลาที่การคาขาย ทางน้ําไดรับความนิยมมาก กลาวกันวามีแพคาขายเรียงรายอยูตามลําน้ํายาวตอเนื่อง จากยานหัวรอลงมาถึงยานทาเรือหนาสถานีรถไฟอยุธยา และตอเนื่องไปถึงยานน้ําวน บางกะจะหนาปอมเพชร-วัดพนัญเชิง


๓๖ I

พัฒนาการของตลาดหัวรอ (ตลาดบก) ตลาดหั วรอ เปน ตลาดที่ อยูคู กับ ชุม ชนเมือ งอยุ ธยามามากกวา ๑๐๐ ป ชื่อของตลาดมีที่มาจากที่ตั้งของตลาด ที่อยูใกลกับ “ทํานบรอ” ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งเปนเขื่อนดินที่มีชองตรงกลางเพื่อชะลอน้ําที่มาจากคลองบางขวดหรือแมน้ําลพบุรี สายเดิ ม ให ไ หลเปลี่ ย นทิ ศ ทางไปยั ง คลองเมื อ ง แทนที่ จ ะไหลลงสู แ ม น้ํ า ป า สั ก และทํานบรอยังเปนทางเชื่อมเขา-ออกแหงเดียวในสมัยกรุงศรีอยุธยา สําหรับพื้นที่ตั้ง ของตลาดหัวรอนั้น ตั้งอยูบนตัวปอมมหาชัย ซึ่งเปนปอมปนใหญสําหรับปองกันขาศึก ในสมั ย อยุ ธ ยาที่ ตั้ ง อยู บ ริ เ วณหน า ทํ า นบรอ ที่ ถู ก รื้ อ ถอนออกไปในช ว งต น กรุงรัตนโกสินทร ดังนั้น จากที่ตั้งของตลาดที่เคยเปนปอมปราการมากอน พื้นที่นี้จึง มิไดเปนตลาดหรือสถานที่ทําการคาขายของชาวกรุงศรีอยุธยาดั้งเดิมแตอยางใด สําหรับมูลเหตุแหงการสรางตลาดหัวรอนั้น ยัง ไมมีขอมูลที่นาเชื่อถือวามี ความเปน มาอยางไร แตอาจเปนไปไดมากที่ตลาดแหงนี้จะเปนตลาดที่ขยายขึ้นมา จากการคาขายตามลําน้ําของบรรดาเรือ – แพ ตาง ๆ ที่ตั้งแออัดอยูบริเวณปากคลอง บางขวด เนื่องจากในชวงตนกรุง รัตนโกสินทรมีบทกวีกลาวถึง การคาขายทางน้ําที่ หนาแนนบริเวณปากคลองบางขวด ดังที่ปรากฏอยูในนิราศเพนียด (ที่จะกลาวถึงใน เรื่องตลาดน้ําหัวรอตอไป) กระทั่งกลายมาเปนตลาดขนาดยอม ๆ ที่ตั้งอยูบนฝงหนา ปากคลองบางขวด และกลายเปนตลาดหัวรอในที่สุด จากคํ ากราบบั ง คมทู ลถวายรายงานการเสด็ จพระราชดํ าเนิน ประพาส อยุธยาในรัชกาลที่ ๖ ของพระยาโบราณราชธานินทร ขาหลวงเทศาภิบาลมณฑล อยุ ธยา ที่ตี พิม พใ นหนัง สือ ชื่ อ “เรื่อ งเกี่ย วกั บพระนครศรี อยุ ธยา” ไดใ หข อมู ล ที่ นาเชื่อถือวา ตลาดหัวรอเคยเปนโรงบอนเบี้ย และมีหองแถวไมหลัง คามุงจากเปน ตลาดค าขายขนาดยอ ม ๆ กอ นที่ต ลาดจะถู กเพลิง ไหม ไ ด รั บความเสี ย หายไปใน พ.ศ.๒๔๔๐ นายอากรบ อนเบี้ ย จึ ง ไดข ออนุญ าตทางราชการเพื่อ สร างบอ นใหม พรอมดวยหองแถวไมมุงสังกะสีที่หนาบอนจํานวน ๒๒ หอง


I ๓๗

ตอมาใน พ.ศ.๒๔๔๒ กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ไดยกที่ดินบริเวณโรง บอ น และห อ งแถวถวายเปน ที่ ดิ น ของพระคลั ง ข า งที่ ในป ถัด มาคื อ พ.ศ.๒๔๔๓ พระเจาบรมวงศเธอ กรมขุนมรุพงศศิริพัฒน สมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเกา ไดทรง ของบประมาณจากกรมพระคลั ง ข า งที่ มาปลู ก สร า งห อ งแถวขึ้ น อี ก ๑๕๒ ห อ ง และถมคันดินสําหรับเปนทางเดินใชเปนถนนสัญจรภายในตลาด แตเนื่องจากการถม ดินเพียงเพื่อเปน ทางเดิน โดยมิไ ดถ มพื้น ที่ทั้ง หมด ทํา ใหในเวลาตอมาเกิดน้ําเสี ย เน า ขั ง อยู ภ ายใต ต ลาด ส ง กลิ่ น เน า เหม็ น คละคลุ ง เนื่ อ งจากไม มี ท างระบายน้ํ า ประกอบกับหองแถวที่สรางขึ้นนั้นเริ่มชํารุดทรุดโทรม ใน พ.ศ. ๒๔๕๘ พระยาโบราณราชธานินทร สมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเกา ในขณะนั้น จึงไดขออนุมัติงบประมาณจากพระคลังขางที่ ในการปรับปรุงตลาดหัวรอ ครั้ง ใหญ โดยไดรื้อและสรางตลาดหัวรอขึ้นใหม ซึ่งไดใชแรงงานนักโทษทําสะพาน ขามคลองเมืองเพื่อไปขุดดินที่ปากคลองหนาวัดแมนางปลื้มมาถมที่วาง บริเวณตลาด จนเต็ม พรอมทั้งวางระบบทอน้ําทิ้งตามถนนทุกสายภายในตลาดเพื่อแกปญหาน้ําขัง เนาเหม็น อีกทั้งสรางเขื่อนคอนกรีตริมตลิ่งบริเวณคลองวัดเสนาสน สวนหองแถวใน ตลาดที่ปลูกสรางขึ้นใหมนี้ เปนหองแถวไม ๒ ชั้น มุงหลังคาดวยสังกะสี พื้นชั้นลางเท คอนกรีต สวนพื้นชั้นบนเปนไม จํานวนทั้งสิ้น ๒๒๖ หอง และพรอมกันนี้ยังไดสราง โรงมหรสพขึ้นในตลาดอีกดวย การปรับปรุงตลาดหัวรอครั้งใหญนี้ ใชงบประมาณไปทั้งสิ้น ๑๓๓,๙๘๖ บาท ตลาดหั ว รอซึ่ ง เป น ตลาดของพระคลั ง ข า งที่ แ ห ง นี้ สามารถเก็ บ ค า เช า ตลาดได ประมาณปละกวา ๔๐,๐๐๐ บาท จึงสามารถคุมทุนในการปรับปรุงตลาดไดภายใน ชั่วระยะเวลา ๔ ป ดังปรากฏในรายงานกิจการของเมืองพระนครศรีอยุธยา ที่พระยา โบราณราชธานินทรไดถวายรายงานแกพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวเมื่อ ครั้งเสด็จมายังอยุธยา


๓๘ I

การคาขายและสถานบริการในตลาดหัวรอ ดัง ที่ ไ ด กลา วแลวว า ตลาดหั วรอ เดิมเปน โรงบอ นเบี้ ย และภายหลั ง ถู ก ปรับปรุงเปนตลาดหองแถวไมสองชั้นหลังคามุงสังกะสี รวมทั้งมีโรงมหรสพอยูในตัว ตลาดดวยนั้น แตจากการศึกษาพบวาขอมูลเกี่ยวกับการคาขายตาง ๆ ในตลาดหัวรอ เมื่อสมัยมณฑลกรุง เกามีค อนข างนอ ย และมี ความคุมเครืออยูมาก ดัง เชน ขอมู ล เกี่ ย วกั บ การค า การขายในตลาดแห ง หนึ่ ง ในเมื อ งอยุ ธ ยาในช ว ง พ.ศ.๒๔๔๐ ซึ่งเปนชวงแรกเริ่มตั้งมณฑลกรุงเกาอันมีที่ทําการตั้งอยูในพระราชวังจันทรเกษมนั้น ได มี ศ าสตราจารย แม็ ก ซ เ วล ซอมเมอร วิ ล ล ผู เ ชี่ ย วชาญด า นการเจี ย ไนอั ญ มณี จากมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย เดินทางทองเที่ยวตามลําน้ําเจาพระยาจากกรุงเทพฯ ถึงตัวเมืองอยุธยา และไดบันทึกเกี่ยวกับตลาดยานการคาในอยุธยาไววา “ที่ตลาดขายของภายในบริเวณตัวเมืองอยุธยาในปจจุบัน ซึ่งตั้งอยูใกล ๆ กับ บานพักของเจาเมือง เราเห็นมีพวกเสื้อผา เครื่องแตงกายแบบเรียบ ๆ ที่ชาวสยาม นิยมสวมใสกันในชีวิตประจําวันวางขายอยู รวมทั้งผลไมนานาชนิดทั้งสมผลเล็ก ๆ มะขามทั้ ง ชนิ ด หวาน และชนิ ด เปรี้ ย ว มะพร า ว มะม ว ง และผลไม อื่ น ๆ ซึ่ ง บางอยางก็เปนผลิตผลที่เก็บมาจากปาใกล ๆ นั่นเอง”

แมวาบันทึกของแม็กซเวล มิไดระบุวาตลาดแหง นั้นคือตลาดหัวรอหรือไม แตก็พอเขาใจไดวาเปนตลาดที่ตั้ง อยูในยานหัวรอ เพราะบานพักของเจาเมืองที่เขา กลาวถึงในสมัยนั้นตั้งอยูในละแวกพระราชวังจันทรเกษมในยานหัวรอนั้นเอง จึงทําให เห็นถึงบรรยากาศการคาการขายของผูคนในอยุธยาขณะนั้น ที่คาขายสินคาที่มีความ จําเปนตอการดํารงชีพ เชน เสื้อผา และผลไมจากสวนที่หาไดจากในละแวกนี้เอง สําหรับ การค าขายในตลาดหั วรอในชว งราว พ.ศ.๒๔๘๐ – ๒๕๐๐ นั้ น ยั ง พอมี ข อ มู ล เอกสาร ข อ มู ล บุ ค คล และภาพถ า ยอยู บ า ง ทํ า ให ท ราบข อ มู ล ว า ตลาดหัวรอในอดีตเมื่อครั้งยังเปนหองแถวไมสองชั้นหลังคามุงสังกะสีนั้น มีลักษณะ เป น สถานที่ ข ายอาหารสํ า หรั บ คนที่ ม าชมภาพยนตร ชมลิ เ ก หรื อ มาโรงบ อ น


I ๓๙

และมี ร า นคา ขายของตา ง ๆ ประกอบด ว ยสว นที่ เ ป น ตลาดแผงลอยขายของสด และของแหง เชน ขายเนื้อหมู เนื้อวัว ปลาสด และของชําสําหรับประกอบอาหารเชน พริกสด กระเทียม หัวหอม ผักและผลไมตาง ๆ สวนสินคาที่ขายมากในตลาดหัวรอ ไดแกสินคาประเภท เสื้อผา ผาถุง เครื่องแตงกาย รองเทา และเครื่องใชในครัวเรือน เครื่องนอนหมอนมุง เปนตน นอกจากนี้ ยัง มี ร านอาหาร ร า นกาแฟ ซึ่ ง มัก ตั้ ง อยู ใ กล กั บ โรงแรมที่ พั ก มีรานขายยา ทั้งยาแผนไทย และยาจีนสมุนไพรจํานวนหลายราน ทั้งที่ตั้งอยูบริเวณ หนาตลาดและทายตลาด มีรานทอง รานทําฟน รานทําผม รานขายขนม ขายเครื่อง ถวยชาม หมอดินเผา เครื่องจักรสาน สังฆภัณฑ นอกจากนี้ยังมีรานขายวัสดุกอสราง เครื่ อ งใช ไ ฟฟ า เช น พั ด ลม เครื่ อ งเสี ย ง หลอดไฟ รวมถึ ง ร า นขายบุ ห รี่ และหนังสือพิมพ เปนตน ในตลาดหัวรอยังมีแหลงบันเทิง ที่ประกอบดวยโรงมหรสพที่สรางขึ้นเมื่อ ครั้งที่มีการปรับปรุงตลาดหัวรอครั้งใหญ ใน พ.ศ. ๒๔๕๘ แตก็ยังไมมีขอมูลที่ละเอียด ว า ในช ว งแรกเริ่ ม นั้ น โรงมหรสพนี้ เ ป น การแสดงหรื อ การละเล น ในลั ก ษณะใด แตตอมาโรงมหรสพก็ไดปรับปรุงใหเปนโรงภาพยนตรตามสมัยนิยม โรงภาพยนตรในตลาดหัวรอ หรือ “วิกหนัง” ตั้งอยูถึง ๒ โรง ซึ่งชาวอยุธยา เรียกวา “วิกนอก” และ “วิกใน” ซึ่ง วิกใน หมายถึง โรงภาพยนตรที่อยูในตัวตลาด หัวรอ ชื่อวา โรงภาพยนตรอยุธยาเจริญ สุข สวนวิกนอก หมายถึง โรงภาพยนตร เฉลิมศรีซึ่งอยูนอกตัวตลาด แตก็ตั้งอยูไมไกลจากตัวตลาดนัก โรงภาพยนตรอยุธยาเจริญ สุข หรือ โรงหนัง เจริญ สุข เปนทรัพยสินของ พระคลังขางที่ ปรับปรุงมาจากโรงมหรสพเกาที่สรางขึ้นพรอมกับการปรับปรุงตลาด ใน พ.ศ.๒๔๕๘ มี ลัก ษณะเปน โรงไมห ลัง ใหญ มีเ กา อี้ไ มสํ าหรับ นั่ง ชมภาพยนตร เดิ ม นั้ น มี บ ริ ษั ท ภาพยนตร พั ฒ นากรเป น ผู เ ช า ทํ า กิ จ การโรงภาพยนตร ก อ นที่ จ ะ


๔๐ I

ลม ละลายใน พ.ศ.๒๔๗๕ เจา พนั กงานรั ก ษาทรั พย จึ ง โอนสัญ ญาเช า ให แ กผู เ ช า รายตอไป โดยกรมพระคลังขางที่เปนผูอนุญาตใหเชา ๑ โรงภาพยนตร แ ห ง นี้ เป ด ทํ า การฉายภาพยนตร ม าตั้ ง แต ค รั้ ง ที่ ยั ง ไม มี การพากย เสี ยงตัว ละคร มีเ พี ยงการบรรเลงกลอง และแตรประกอบในฉากสู ร บ ตอมาจึงเริ่มมีการพากยเสียงโดยมีนักพากยเพียงคนเดียวคือ เจกเขียว ผูมีฉายาวา มนุษยเจ็ดเสียง ที่สามารถพากยเสียงเปนบุคคลตาง ๆ ทั้งเสียงผูชาย ผูหญิง เด็กชาย เด็ กหญิ ง และคนชรา เปน ตน ซึ่ง ภาพยนตร ที่ฉ ายครั้ง นั้ น มั กเป น ภาพยนตร จี น ภาพยนตร ฝ รั่ ง และในภายหลั ง จึ ง เริ่ ม มี ภ าพยนตร ไ ทยเข า ฉายด ว ย ต อ มา โรงหนังเจริญสุขเริ่มมีสภาพทรุดโทรม ไมถูกสุขลักษณะ และมีตัวเลือด ตัวไร กัดตาม แขนขาผูชมภาพยนตร จนในที่สุดโรงภาพยนตรแหง นี้ตองเลิกกิจการไปกอนและมี การปรับปรุงจนกลายเปนตึกแถวเชนทุกวันนี้ สําหรับวิกนอก หรือ โรงภาพยนตรเฉลิมศรี เปนโรงภาพยนตรที่สรางขึ้นใน ภายหลัง เปน อาคารกออิฐ มีที่นั่ง ชมภาพยนตร ๒ ชั้น โดยชั้นบนเปนระเบียงยื่ น ออกมา ก า วอี้ บุ น วมใยมะพร า ว แถวยาวต อ เนื่ อ งกั น มี ท างเดิ น ตรงกลางแบบ โรงภาพยนตรสมัยใหม ซึ่งโรงภาพยนตรเฉลิมศรียัง สามารถเปดกิจการตอเนื่องมา ระยะหนึ่ง โดยการปรับเปลี่ยนมาฉายภาพยนตรสําหรับผูใหญ จนกระทั่งเลิกกิจการ ไปเมื่อประมาณ พ.ศ.๒๕๔๕ กอนจะถูกทุบทิ้งไป เปนอันปดฉากเรื่องราวเกี่ยวกับ โรงภาพยนตรในตลาดหัวรอลง

หอจดหมายเหตุแหงชาติ. เอกสาร มท.๐๖๐๑.๒.๓/๗๒.


I ๔๑

ผังรานคาในตลาดหัวรอ ชวงกอน พ.ศ.๒๕๐๐ โดยสังเขป ที่มา: ชัยพร เตชะวัฒนวรรณา. (๒๕๕๑, ๒๐ พฤษภาคม). สัมภาษณโดย พัฑร แตงพันธ ที่รานรัตนพานิช ตลาดหัวรอ.


๔๒ I

โรงบอนเบี้ย เคยตั้งอยูบริเวณทาเรือทายตลาดแหงหนึ่ง เรียกกันทั่วไปวา สะพานบ อ น และอี ก แห ง หนึ่ ง อยู บ ริ เ วณริ ม คลองเมื อ งเป น บ อ นการพนั น ใหญ แต เ มื่ อ ทางราชการได สั่ ง หา มไม ใ ห มี บ อ นการพนั น เนื่อ งจากเป น สิ่ ง ผิ ด กฎหมาย บานเมือง โรงบอนจึงไดหมดไปจากตลาดหัวรอ โรงยาฝน ที่ตลาดหัวรอเคยมีโรงยาฝนเชนเดียวกับที่ ตลาดเก าแกอื่น ๆ โดยโรงฝนในตลาดหัวรอตั้งอยูริมคลองเมืองเปนหองแถวไม ๑ คูหา กลาวกันวาเมื่อ เดินผานบริเวณโรงยาฝนก็จะไดกลิ่นฝนฉุนไปทั่วบริเวณ แตเมื่อตอมาทางราชการสั่ง หามไมใหมีโรงฝน ทําใหโรงฝนตองเลิกกิจการไปในที่สุด ซอง หรือ สถานบริการทางเพศ เปนสถานบริการที่มักอยูคูกับตลาดเกาแก เชนเดียวกันกับตลาดอื่น ๆ จากการสัมภาษณพูดคุยทําใหทราบเปนขอมูลวาที่ตลาด หัวรอมีซองอยู ๒ เจา คือ ซองเรืออู เปนซองอยูในเรือริมคลองเมือง และซองเจจู ประตูแดง ตั้งอยูบริเวณวัดขุนแสน ภายหลังกิจการซองตาง ๆ ในตลาด ก็จําตองถูก ยกเลิกไปตามกฎหมายบานเมืองอีกเชนเดียวกัน โรงแรม ในยานหัวรอมีโรงแรมที่พักอยู ๓ แหง ประกอบดวย “โรงแรมไทย ไท” ตั้งอยูบริเวณสะพานมหาชัย “โรงแรมสามชั้น” ตั้งอยูบริเวณปากทางเขาตลาด หัวรอใกลกับสะพานมหาชัย และ “โรงแรมศรีอโยธยา” ตั้งอยูบริเวณหนาตลาดหัวรอ เป น อาคารไม ๔ คู ห า ที่ ห น า โรงแรมมี ป า ยเขี ย นคํ า ว า โรงแรมเป น ภาษาไทย และภาษาจีน ชั้นลางสวนหนึ่งเปนรานขายน้ํา


I ๔๓

โรงแรมศรีอโยธยาตามคําบอกเลาของคุณชัยพร เตชะวัฒนวรรณา. ที่ ม า: กรมศิ ล ปากร. (๒๕๔๕). นํ า ชมพิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห ง ชาติ จันทรเกษม. หนา ๑๘๖


๔๔ I

ตลาดหัวรอเมื่อครั้งที่ยังเปนหองแถวไม (ภาพถายของคุณชูศักดิ์ ศุภวิไล)


I ๔๕

ตลาดหัวรอเมื่อครั้งที่ยังเปนหองแถวไม (ภาพถายของคุณชูศักดิ์ ศุภวิไล)

ตึกแถวสองชั้นบริเวณหนาเรือนจํา (ภาพถายของคุณชูศักดิ์ ศุภวิไล) ที่มา: ตลาดหัวรอ. (๒๕๕๕). (ภาพนิ่ง). พระนครศรีอยุธยา: ศรีอยุธยา สตูดิโอ ดิจิตอล.


๔๖ I

ในชวงราว พ.ศ.๒๕๐๐ เปนชวงที่มีความเปลี่ยนแปลงหลายอยางเกิดขึ้นกับ ตลาดหัว รอ สืบ เนื่อ งจากวิ ถีชีวิ ตของชาวอยุธ ยาที่ คอย ๆ แปรเปลี่ย นไปจากเดิ ม โดยเฉพาะยิ่งเมื่อการสัญจรทางบกระหวางเมืองตาง ๆ สูตัวเมืองพระนครศรีอยุธยาที่ รับการพัฒนาจนสะดวกขึ้น ก็ยิ่งทําใหผูคนเริ่มนิยมการเดินทางโดยรถยนตแทนการ เดินทางโดยเรือ ที่เริ่มสงผลกระทบโดยตรงตอตลาดน้ําในยานหัวรอที่เคยคึกคักดวย รานแพมากมายตามทองน้ําก็กลับซบเซาลง จนผูคาขายตองเลิกกิจการคาขายในแพ และขึ้นมาจับจองหองแถวเพื่อขายของในยานตลาดหัวรอ ประกอบกับในชวงนั้นไดมี การปรับปรุงตลาดครั้งใหญอีกครั้งหนึ่ง โดยพระคลังขางที่ หรือที่ตอมาคือ สํานักงาน ทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย ไดทยอยรื้อหองแถวไม ๒ ชั้น แลวปลูกสรางตึกแถว ๔ ชั้น ใหผูคารายเดิมไดจับจองเชาที่เพื่อทําการคาขายตอไป ตลาดหัวรอจึงมีสภาพ ดังที่ประจักษอยูในปจจุบัน

พัฒนาการของตลาดน้ําย านหัวรอ ตลาดน้ํา เกิ ดขึ้ น จากวิ ถีชี วิต ของผู ค นในสมัย ที่ ยัง ใช ชีวิ ตอิ ง อาศัย อยู กั บ กระแสน้ํ า ใช เ ป น ทั้ ง แหล ง หาอาหาร ใชใ นการอุ ปโภค บริ โภค ตลอดจนใช เ ป น เสน ทางไปมาหาสูกัน จากบา นสูบาน จากเมื องสูเมื อง โดยเรือหลากหลายขนาด และชนิด จึงไมแปลกที่บานเรือนผูคน วัด และสถานที่ราชการ ตาง ๆ ถึงไดตั้งอยูตาม ลําน้ํา สาเหตุก็เพื่อความสะดวกตอการใชสอยคุณประโยชนนานาประการจากลําน้ํา และแม กระทั่ง ใชลํ า น้ํา เปน สถานที่ พ บปะคา ขาย อัน กอ ใหเ กิ ดตลาดน้ํ าที่ ทํ าการ คาขายสินคาระหวางกันนั่นเอง ตลาดน้ําที่อยุธยามีทั้งในสวนที่เปนการคาขายระหวางเรือกับเรือดวยกัน อันเปนตลาดที่มีการนัดพบปะคาขายชั่วครูชั่วคราว และเปนที่รูกันระหวางผูคาผูขาย คลาย ๆ กับเปนตลาดนัดทางน้ํา กับในสวนที่เปนการคาขายระหวางเรือกับเรือนแพ ซึ่ง เปน ร านค าลอยน้ํ า มีลั ก ษณะเหมื อ นเรื อนไทยแฝด โดยเรือ นดา นในใชเ ป น ที่ พักผอน สวนเรือนดานนอกเปนรานคา มีฝาไมกระดานเลื่อนเปด – ปด มีรางไมทั้ง


I ๔๗

ตอนลางและบน ดานหนาเปนระเบียงติดกับน้ํา สําหรับใหคนพายเรือมาเทียบซื้อของ ดานลางเปนแพรองรับตัวเรือนใหลอยอยูเหนือน้ํา คือเปนทุนไมไ ผผูกรวมเปนแพ แลวสรางเรือนลงบนแพ เรียกวาแพลูกบวบ ๑ ซึ่งผูกเขาไวกับหลักริมตลิ่งมิใหไหลไป ตามกระแสน้ํา กลายเปนรานคาลอยน้ําที่อยูเปนหลักเปนแหลง ผูที่ตองการซื้อขาย สินคาจากแพรานคา ก็จะนั่งเรือมาเทียบหนาแพ และซื้อสินคาที่ตองการไปโดยมิตอง ลงมาจากเรื อ อั น ก อ ให เ กิ ดตลาดน้ํ า ที่ บางครั้ ง เรี ย กวา ตลอดท อ งน้ํ า อย างเช น ตลาดทองน้ําหัวรอ เปนตน ละแวกเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยาในอดีต เคยประกอบไปดวยตลาดน้ํา หลายแหง ซึ่ง มีมาตั้ง แตสมั ยกรุง ศรีอยุธยาและเนื่องมายัง สมัยหลัง กรุง ศรีอยุธยา อัน เนื่องมาจากที่ตั้ง ของเมืองอยูบริเวณที่แมน้ําและคลองหลายสายไหลมาสบกัน เป น ชุ ม ทางคมนาคมทางน้ํ า ที่ สํ า คั ญ สามารถเดิ น ทางไปมาระหว า งเมื อ งทาง ตอนเหนือสูปากน้ําที่อาวไทยได สงผลใหอยุธยาซึ่งตั้งอยูในเสนทางคมนาคมที่สําคัญ กลายเปนจุดชุมนุมสินคาจากทั่วสารทิศ เปนยานคาขายที่สําคัญในภาคกลาง ตลาดน้ํ า ในพระนครศรี อ ยุ ธ ยา มั ก ตั้ ง อยู ใ นย า นที่ ลํ า น้ํ า ไหลมาสบกั น หรื อ บริ เ วณปากคลอง เช น ที่ ย า นป อ มเพชญ ย า นหั ว แหลม และย า นหั ว รอ อันมีชุมชน ศาสนสถาน อูตอเรือ และโรงสีขาว ตั้งอยูตามลําน้ําในยานเหลานี้ สําหรับตลาดน้ําที่ยานหัวรอ จะมีความคึกคักมากกวาตลาดน้ําในยานอื่นๆ ของอยุธยา เนื่องจากตั้ง อยูในยานตัวเมืองกรุงเกา ซึ่ง มีพระราชวังจันทรเกษมเปน ศูนยกลางการบริหารราชการของมณฑลอยุธยา ตามระบบการปกครองทองถิ่นแบบ มณฑลเทศาภิบาลในสมัยนั้น ทําใหบรรดาเมืองตาง ๆ ที่อยูภายใตการปกครองของ มณฑลกรุ ง เก า อยุ ธ ยา ต อ งเดิ น ทางติ ด ต อ กั บ ตั ว เมื อ งกรุ ง เก า ทํ า ให ใ นย า นนี้ มีผูคนจอแจ กลายเปนแหลงพักสินคา และเปนที่คาขายที่สําคัญของภูมิภาค

ประทีป มาลากุล. (๒๕๓๐). พัฒนาการบานของคนไทยในภาคกลาง. หนา ๑๖.


๔๘ I

ลักษณะของเรือนแพในละแวกเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา ในอดีตเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๕๑๐ ที่มา: น. ณ ปากน้ํา. (๒๕๔๓). แบบแผนบานเรือนในสยาม. เมืองโบราณ: กรุงเทพฯ


I ๔๙

ประการต อ มาคื อ ย า นหั ว รอยั ง ตั้ ง อยู ใ กล แ หล ง ชุ ม ชน คื อ ไม ไ กลจาก คลองเมื อ งอั น เป น ย า นชุ ม ชนริ ม น้ํ า ขนาดใหญ และเก า แก ข องเมื อ ง ดั ง มี บ ทกวี กลาวถึงการคาขายในตลาดหัวรอไวใน “นิราศเพนียด” วา “หัวรอแพแมคา เนืองเนื่องแนวฝงคลอง เยียดยัดปากคลอง ครบสิ่งเครื่องใชล้ํา

ขายของ ฟากน้ํา บางขวด เจียวพอ แตงตงเตมแพ ๑

บทกวีนี้สะทอนใหเห็นวา ยานหัวรอ เปนยานคาขายที่เนืองแนน อยูตาม แนวฝงคลอง โดยเฉพาะบริเวณปากคลองบางขวด ซึ่งเดิมเปนลําน้ําลพบุรี ที่ไหลผาน บานโพธิ์สามตน มาออกยังคลองเมือง ทายตลาดหัวรอ ซึ่งเปนทํานบรอ หรือ เขื่อน สําหรับชะลอกระแสน้ําในสมัยกรุงศรีอยุธยา ใหไหลไปออกยานหัวแหลม อันเปนยาน ชุมชนริมน้ํา ที่เนืองแนนไปดวยเรือและแพ คาขายขาวของเครื่องใชที่จําเปนแกชุมชน ชาวกรุงเกา ซึ่ง โคลงนิราศบทนี้ ที่ชวยสนับสนุนขอสัน นิษฐานที่วา การคาขายทางน้ํา หรือ ตลาดน้ําที่ “เยียดยัด” อยูบริเวณปากคลองบางขวดนี้เอง ไดขยายการคาการ ขายขึ้นมาอยูบนฝง มาปลูกสรางเปนโรงบอนเบี้ย และหองแถว อันเปนจุดกําเนิดของ ตลาดหัวรอทุกวันนี้

เกื้อกูล ยืนยงอนันต. (๒๕๒๗). ความเปลี่ยนแปลงภายในเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา ระหวาง พ.ศ.๒๔๓๘ – ๒๕๐๐. หนา ๓๓.


๕๐ I

การคาขายทางเรือ-แพ บริเวณยานหัวรอเมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๕ ในสมัยรัชกาลที่ ๔ * 8

นอกจากบทกวี ดั ง ที่ ก ล า วแล ว ยั ง มี บั น ทึ ก ของนั ก เดิ น ทางนามว า ศาสตราจารยแม็กซเวล ซอมเมอรวิลล ที่ไดเดินทางมาทองเที่ยวผจญภัยยังเมืองกรุง เกา เมื่อราว พ.ศ.๒๔๔๐ และไดมีการบันทึกเลาเรื่องราวการเดินทางมายัง อยุธยา ที่ชวยสรางบรรยากาศเกี่ยวกับการคาขายตามลําน้ําที่อยุธยาไว ในขณะที่เขาวาจาง เรือเพื่อใหพาไปหาซื้อสินคาในตลาดน้ําแหงหนึ่งในอยุธยาวา

* ภาพนี้มีเก็บรักษาอยูที่หอจดหมายเหตุแหงชาติ ณ กรุงเทพมหานคร และยังเปนภาพที่มี การเผยแพร อ ย า งแพร ห ลายทั้ ง ในหนั ง สื อ และอิ น เตอร เ น็ ต ซึ่ ง มี ภ าพหนึ่ ง ที่ เ ผยแพร ใ น อินเตอรเน็ต ที่ไมทราบที่มาวาคัดลอกมาจากหนังสือเลมใด ไดระบุคําบรรยายใตภาพไววา “หัว รอ อยุธยา พ.ศ. ๒๔๐๕ Hua rau Ayutthaya in 1862 (Credit : MEP Paris)” ซึ่งเมื่อวิเคราะห จากลักษณะทางกายภาพในภาพนี้แลว มีความเปนไปไดบางวา อาจเปนภาพตลาดเรือบริเวณ ปากคลองบางขวด ที่ถายจากฝงของตลาดหัวรอ


I ๕๑ “เจาของรานคาเหลานี้วางสินคากระจัดกระจายไปทั่วลําเรือ และคอยใหบริการ พวกเราอยางมีอัธยาศัยไมตรีโดยไมปริปากบน เรามองหาเครื่องใชไมสอยสําหรับ บูชาพระ ตลอดจนพวกผาแพรพรรณและภาพวัดตางๆ แตหาไมพบเลย หรือสินคา เหลานี้อาจจะไมมีวางขายที่ตลาดแหงนี้ก็เปนได ดังนั้นขาวของที่ซื้อหามาได จึงมี แตเพียงงานฝมือ พื้น ๆ ที่เราตั้งใจจะซื้อหาไปฝากคนที่เคยใหความชวยเหลือเรา บางเทานั้น...”

แมบั น ทึ กของศาสตราจารยแ ม็ก ซเ วล ซอมเมอรวิ ลล จะมิ ไ ด ระบุอ ยา ง ละเอี ยดวา ไดม าเลือ กหาสิน คา ที่ต ลาดน้ํา ในย านหัว รอหรื อ ไม แตข อ มูล นี้ก็ ไ ด ใ ห รายละเอียดเกี่ยวกับบรรยากาศ และวิธีการซื้อ – การขายของในตลาดน้ําที่อยุธยา ที่ใชเรือเปนสถานที่ทําการคาขายสินคาระหวางกัน ซึ่งในตลาดน้ํา คงจะมีแตสินคาที่ จําเปนสําหรับคนในทองถิ่น จึงแทบจะไมมีสินคาที่ผูบันทึก จะสามารถเลือกซื้อไป เปนของฝากไดนัก ประชากรเรือนแพคาขายในยานหัวรอนั้น มีจํานวนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องทุก ป ๆ จากที่ ผู ก แพค า ขายจอแจกั น อยู บ ริ เ วณหน า พระราชวั ง จั น ทรเกษมซึ่ ง เป น ศูนยราชการของมณฑลอยุธยา อันมีทาเรือขนสงระหวางเมืองที่มีผูคนทั้งในและตาง ถิ่ น เดิ น ทางไปมาหาสู กั น ได ข ยายขึ้ น ไปทางเหนื อ กระทั่ ง ถึ ง หน า วั ด ตองปุ เ หนื อ เกาะลอย ซึ่ง เปน แผนดิน เล็ก ๆ ที่มีแมน้ําและคลองลอมรอบทุกดาน ที่อยูทางทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะเมือง ตรงขามกับ พระราชวัง จันทรเกษม และจาก พระราชวั ง จั น ทรเกษมยาวลงมาทางใต จ นถึ ง ปากคลองทรายที่ ท า ยเกาะลอย ดังที่พระยาโบราณราชธานินทรสมุหเทศาภิบาลมณฑลอยุธยา ไดถวายรายงานแก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวเมื่อครั้งที่ทรงเสด็จมาบวงทรวงอดีตมหาราช ณ พระราชวังกรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ.๒๔๖๔ วา


๕๒ I “... ตลาดน้ําแตเดิมมีแพจอดคาขายอยูแตหนาพระราชวังจันทรขึ้นไปจนสี่แยก วัดตองปุ ครั้นเมื่อ ๔ - ๕ ปมานี้ มีแพเพิ่มตอลงมาขางใต แลบัดนี้ไดมีลงมาจนถึง ปากคลองทรายแลว ขาพระพุทธเจาคิดดวยเกลา ฯ วา ตอไปคงจะมีเลยลงมาจน แถวทาสถานีรถไฟ”

ถอยความที่พระยาโบราณราชธานินทรไดถวายรายงานแกพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวนี้แสดงใหเห็น ถึง ความเฟองฟูของตลาดน้ําในสมัยมณฑล อยุธยา ดังที่มีการผูกเรือนแพคาขายเรียงรายยาวเหยียด ซึ่ง คํานวณระยะทางจาก วัดตองปุถึง ปากคลองทรายทายเกาะลอย เปนระยะทางประมาณ ๑.๕ กิโลเมตร และยังคาดการณดวยวาแพคาขายจะขยายลงมายังทาน้ําหนาสถานีรถไฟ อันเปนจุด ขนถายสินคาที่ขนสงมาทางรถไฟจากกรุงเทพฯ สูเมืองพระนครศรีอยุธยาอีกดวย การคาขายในแพ ตลาดน้ํา ในยานหัว รอ ประกอบไปดว ยแพที่เ ปด รานคา ขายรวมทั้ง ผลิ ต สินคาขายมากมายหลายชนิด สวนมากขายของแหง ของชํา เครื่องใชที่จําเปนตอการ ดํารงชีพ เชน ขายงอบ ขายเสื้อผา ขายน้ํามัน เปนตน นอกจากนี้ยังมีการคาขายทาง เรือ เชนเรือแจวขายผัก และอาหาร บางเปนเรือขนาดใหญบรรทุกสินคาจากตางเมือง มาขาย เช น เรื อ ขายน้ํ า ตาลจากเมื อ งเพชรบุ รี เรื อ น้ํ า มั น กาดจากกรุ ง เทพฯ เรือน้ํามันยาง ชัน ไต น้ําผึ้ง น้ําออย ยาสูบจากเมืองเหนือ เปนอาทิ ๑ เ นื่ อ ง จ า ก แ พ ค า ข า ย ใ น ย า น ต ล า ด หั ว ร อ มี ห ล า ก ห ล า ย ช นิ ด และมีรายละเอียดเกี่ยวกับการคาขาย และความสัมพันธระหวางการคาขายของผูคน

เกื้อกูล ยืนยงอนันต. (๒๕๒๗). ความเปลี่ยนแปลงภายในเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา ระหวาง พ.ศ. ๒๔๓๘ – ๒๕๐๐. หนา ๔๒ – ๔๓.


I ๕๓

ในทองถิ่นยานหัวรอที่นาสนใจ จึงจําเปนตองเลือกนําเสนอรายละเอียดของแพรานคา เพียงบางรายเปนตัวอยางดังนี้ แพขายของชํา แพขายของชํามักจะขายอยูตามแพในยานหัวรอ ขายของ ประเภทของแห ง ที่ ใ ช เ ป น วั ต ถุ ดิ บ สํ า หรั บ การทํ า ครั ว เช น พริ ก แห ง กะป หอม กระเทียม รวมทั้งน้ําปลา นอกจากนี้ยังขายของใชอื่น ๆ ที่จําเปนตอชีวิตประจําวัน ของคนในทองถิ่น เชน ถังน้ํา ยากันเรือ ลวด เชือก และบางแพยังมีพลูนาบขายอีก ดวย แพคาขาว ในละแวกตัวเมืองพระนครศรีอยุธยา มีแพคาขาวอยูหลายแพ เนื่องจากสภาพภูมิศาสตรของเมืองที่ตั้งอยูบนที่ราบกวางใหญ มีแมน้ําลําคลองไหล ผานทําใหเกิดความอุดมสมบูรณเอื้ออํานวยตอการทํานาขาว บริเวณโดยรอบของ ตัวเมืองจึงเต็มไปดวยทุงนากวางใหญ เมื่อสิ้นฤดูเก็บเกี่ยว ชาวนาก็จะใชเรือมาดลํา ใหญบรรทุกขาวเปลือกเขามาสี ที่โรงสีบริเวณตัวเมือง ซึ่งมีอยูทั่วไปในยานวัดตองปุ ตัวเมืองพระนครศรีอยุธยา ผูประกอบอาชีพคาขาวซึ่งมีทั้งชาวจีน ชาวไทย ที่เปดแพ ขายขา วอยู บ ริเ วณรอบ ๆ โรงสี จึง ไดรั บ ซื้อ ข าวสารจากโรงสี ม าขายทั้ง ปลีก และ สง บางก็ไปซื้อขาวเปลือกเอง จากยุงของชาวนาในอําเภอ หรือ จังหวัดตาง ๆ เชนที่ สระบุ รี อา งทอง แล ว นํ า ข า วเปลื อ กมาสี ที่ โ รงสี ขา วที่ มี ม ากมายในย านวั ด ตองปุ แล ว นํ า ข า วสารมาขายในแพของตน โดยไม ต อ งเสี ย ค า ใช จ า ยให แ ก โ รงสี เนื่องจากโรงสีจะไดแกลบไปเปนคาตอบแทนซึ่งก็ขึ้นอยูกับสถานการณและการตกลง ระหวางกันดวย ๑ แพทํ า ขนม ในตลาดน้ํ า ย า นหั ว รอ มี แ พทํ า ขนมจั น อั บ ถั่ ว ตั ด ขนมโก ขนมเปย อยูประมาณ ๒-๓ เจา โดยแพหลังหนึ่งชื่อวาแพกุยหลี เปนชาวจีนรับทํา ขนมอยูในแพยานหนาพระราชวังจันทรเกษมโดยมิไดเปดรานขายเอง หากแตทําขนม แลวนําไปสงที่รานคาในตลาดหัวรอ บางก็ไปขายตามเรือกาแฟที่จอดอยูแถวโรงสีขาว ๑

เล็ก ศิษฏสุเมธ. (๒๕๕๑, ๒๑ เมษายน). สัมภาษณโดย พัฑร แตงพันธ ที่วัดตองปุ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา.


๕๔ I

ย า นวั ด ตองปุ เพื่ อ ที่ เ รื อ กาแฟจะนํ า ขนมไปขายร ว มกั บ กาแฟให แ ก ช าวนาที่ นํ า ขาวเปลือกมาสงยังโรงสี หรือไมก็เรขายตามทองน้ําอีกทอดหนึ่ง ๑ แพขายและรั บ ตั ด เย็ บ เสื้ อ ผ า คนอยุ ธ ยาแต เ ดิ ม นิ ย มทอผ า ใส กั น เอง แต ใ นช ว ง พ.ศ.๒๔๘๐ แพขายผ า ในตลาดน้ํ า ย า นหั ว รอ ได รั บ ความนิ ย มมาก ทําใหมีแพที่รับตัดเย็บผาเกิดขึ้น โดยจะเขียนปายรานวา รับจางตัดผา ในชวงแรกชาง เย็บผามักจะเปนชายชาวจีน กระทั่งตอมาจึงเริ่มมีชาวไทยไปเรียนการตัดเย็บผามาก ขึ้น เสื้อผาที่ตัดขายในขณะนั้น จะไมมีการวัดตัว คือตัดเย็บแบบหลวม ๆ มีความ เรี ย บง า ย ส ว นใหญ เ ป น เสื้ อ คอกลม กางเกงทรงหลวมคล า ยกางเกงขาก ว ย หรือกางเกงชาวนาน ตอมาในชวง พ.ศ.๒๔๙๐ การตัดเย็บผาเริ่มพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ มีการวัดตัวและตัดชุดตามแบบสมัยนิยม ตลาดน้ําและรวมไปถึงตลาดบกหัวรอจึงเปน แหลงซื้อหาเสื้อผาเครื่องแตงกายที่สําคัญของเมือง ความเสื่อมถอยของตลาดน้ําหัวรอ เมื่อตลาดน้ํา หัวรอ เฟอ งฟูจากวิถีชี วิตของชาวเมืองที่นิยมสัญ จรทางน้ํ า และใชแมน้ําลําคลองเปนเครื่องอุปโภค บริโภคแลว ตลาดน้ําอยุธยาแหงนี้ก็ยอมเสื่อม ถอย ด ว ยการเสื่ อ มความนิ ย มของชาวเมื อ งใช ก ารใช ส อยแม น้ํ า ลํ า คลอง เมื่ อ การคมนาคมทางบกเริ่ ม เข า มาแทนที่ โดยในช ว งทศวรรษของ พ.ศ.๒๔๘๐ จัง หวัดพระนครศรีอยุธยาไดรับการสนับสนุ นจากรัฐ บาลในการตัดถนนจากถนน พหลโยธิ น ที่ อํ า เภอวั ง น อ ยมุ ง สู ใ นกลางเกาะเมื อ ง โดยสร า งสะพานปรี ดี -ธํ า รง ขามแมน้ําปาสัก ตรงบริเวณวัดพิชัยสงคราม ทําใหการคมนาคมทางรถยนตเขามา เปนตัวเลือกในการเดินทางของชาวพระนครศรีอยุธยา จนกระทั่งเขามาแทนที่การ คมนาคมทางเรือในที่สุด ดวยเพราะการขนสงทางรถยนตมีความสะดวกรวดเร็วกวา ๑

ฮีพวง แซฉั่ว. (๒๕๕๑, ๒๖ เมษายน). สัมภาษณโ ดย พัฑร แตงพันธ ที่ตําบลหัวรอ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


I ๕๕

ทางน้ํา และพอคาในกรุงเทพฯ ก็ยังนิยมสงสินคากันทางบก ทําใหตลาดหัวรอที่ตั้งอยู บนบกเริ่มไดรับความนิยมมากกวาตลาดที่อยูริมลําน้ํา ดัง นั้ น เมื่ อ การคมนาคมทางรถยนต เ ข า มามี บ ทบาทสํ าคั ญ สํ า หรั บ การ เดินทางในเมืองพระนครศรีอยุธยา ก็ยอมสงผลกระทบถึง วิถีชีวิตของผูคน ใหตอง ปรับตัวเขากับวิถีชีวิตแบบใหม คือการเดินทางโดยรถยนตแทนการเดินทางโดยเรือ การใช น้ํ า ประปาของเทศบาลในการอุ ป โภคแทนการใช น้ํ า จากแม น้ํ า ลํ า คลอง อันส ง ผลถึง การปรับ เปลี่ ยนหนา บาน หรือหนาร านจากที่เคยหัน หน าลงสูสายน้ํ า กลับเปลี่ยนมาหันหนาออกสูถนนแทน สวนผูที่คาขายอยูในแพก็ตองเดือดรอนในการ ขึ้น -ลงจากแพที่มีความลําบาก อีกทั้ง ภายหลัง จากที่มีก ารสรางเขื่อ นเจาพระยาที่ จังหวัดชัยนาท ที่สงผลกระทบตอความเปลี่ยนแปลงของฤดูกาลของน้ําในธรรมชาติ และเมื่อมีการปลอยน้ําจากเขื่อนลงมาอยางกะทันหัน ทําใหชาวแพหัวรอถอยแพเขา หลบกระแสน้ํ า เชี่ ย วเข า ยั ง คลองต า ง ๆ ไม ทั น เหมื อ นเช น เคย ทํ า ให แ พต า ง ๆ ได รั บ ความเสี ย หาย อี ก ทั้ ง ผู ที่ รั บ จ า งป ก เสาแพและรั บ ซ อ มแซมแพก็ ล ดน อ ยลง สงผลใหคาซอมแพง ตลอดจนคาจางลากแพก็มีราคาแพงขึ้นดวย ดังนั้นการใชชีวิตอยู อาศัยในแพจึงเปนเรื่องยากลําบาก และสิ้นเปลืองคาใชจายมาก ซึ่งเมื่อวิถีการดําเนิน ชีวิตของชาวเมืองเปลี่ยนไปดังนี้ ผูที่คาขายในแพจึงทยอยกันขายแพ และมาเชาที่ดิน ในเกาะเมื อ งปลูก บ า น หรื อ เช าอาคารพาณิ ช ย เพื่ อ อยูอ าศั ย และค า ขายกั น เป น จํ า นวนมาก จนกระทั่ ง ตลาดน้ํ า ในย า นหั ว รอแห ง นี้ ค อ ย ๆ หายไปจาก พระนครศรีอยุธยาในที่สุด

ความสัมพันธ ระหว างตลาดบก และตลาดน้ําหัวรอ ความสัมพันธดานสินคาและการบริการ ตลาดน้ํ า หั ว รอ และตลาดบก มี ก ารขายสิ น ค า และบริ ห ารบางอย า งที่ แตกตางกัน เชน สินคาหรือบริการบางชนิดมีขายมากในตลาดน้ํา และบางอยางมีขาย มากในตลาดบก


๕๖ I

สินคาที่ขายมากและสามารถหาซื้องายในตลาดน้ํา ไดแก หมากพลู ยาสูบ งอบ น้ํ ามัน ขาวสาร น้ํ าตาลปบ เปนตน เนื่อ งจากสินคา เหลา นี้มักขนสง ทางเรื อ จึงมีขายมากตามแพรานคา ในขณะที่ตลาดบกหัวรอมักจะมีสินคาและบริการซึ่งไมมี ในตลาดน้ํา เชน โรงภาพยนตร เครื่องใชไ ฟฟา รานทํา ฟน รานขายวัสดุ กอสรา ง เปนตน ความแตกตางดานสินคาและการบริการของตลาดบกและตลาดน้ํานี้เอง ทํ า ให เ กิ ด การแลกเปลี่ ย นซื้ อ ขายสิ น ค า และบริ ก าร ระหว า งผู ค า ในตลาดบก และผูคาในตลาดน้ํ า เชน ผูคาในตลาดบกนิ ยมมาหาซื้อสินคา ประเภทน้ําตาลป บ และลูกมะพราวสําหรับนําไปคั้นเปนกะทิจากเรือน้ําตาลที่ลองมาจากสวนบางชาง หรือ มารับซื้อหมากพลูจากแพที่รับสินคามาจากกรุงเทพฯ ที่ขนสงมาทางเรือเมลมา ขายตออีกทอดหนึ่ง หรือ แมกระทั่งชางทําขนมโก ขนมจันอับ ถั่วตัดที่ทําแพอยูริมฝง นํ า ขนมไปส ง ขายในตลาดหั ว รอ เป น ต น ในทางกลั บ กั น พ อ ค า ในตลาดน้ํ า ยัง จํ าเป น ตอ งไปซื้ อ สิน ค า และใชบ ริ การต าง ๆ ในตลาดหัว รอที่ตั้ ง อยู บ นฝง ด ว ย เช น การซื้ อ ยารั ก ษาโรค การไปชมภาพยนตร ทํ า ให ต ลาดน้ํ า และตลาดบกใน ยานหัวรอ มีการและเปลี่ยนสินคาระหวางกัน ความสัมพันธดานการคมนาคม การคมนาคมมี ค วามสํ า คั ญ ต อ ความนิ ย มของผู ค นที่ มี ต อ ตลาดน้ํ า และ ตลาดบก ในย า นหั ว รอ กล า วคื อ เมื่ อ ครั้ ง อดี ต ผู ค นใน ละแวกเกาะ เมื อ ง พระนครศรีอยุธยาตางนิยมเดินทางไปมาหาสูกันทางเรือ ดังนั้น ตลาดน้ําจึงเปนแหลง คา ขายสิ น คา ที่มี ค วามคึ ก คัก มากกว าตลาดหัว รอที่ ตั้ง อยู บ นฝ ง เนื่อ งจากละแวก เกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา มีเครือขายคมนาคมทางน้ํามาก ผูคนจึงนิยมสัญจรไป มาหาสู กัน ทางเรือเปน หลั ก โดยเฉพาะการใชเรื อเปน พาหนะในการเดิน ทางมา จับจายใชสอยที่ตลาดน้ําในยานหัวรอ บริเวณหนาพระราชวังจันทรเกษม โดยคาขาย แลกเปลี่ยนสินคากันในเรือ หรือการซื้อขายสินคาระหวางเรือกับแพ ก็เจรจาคาขาย กั น ได โ ดยไม ต อ งขึ้ น จากเรื อ เพี ย งแค นํ า เรื อ ไปเที ย บหน า แพ แต ต อ มาเมื่ อ การ


I ๕๗

คมนาคมทางรถยนตเริ่มเขามามีบทบาทแทนที่การคมนาคมทางเรือ ดังมีการสราง สะพานปรีดี-ธํารง เชื่อมถนนโรจนะที่ตัดมาจากถนนพหลโยธินที่อําเภอวังนอยเขาสู เกาะเมืองใน พ.ศ.๒๔๘๖ ทําใหเริ่มมีการใชบริการขนสงสินคาทางรถยนตมากขึ้น ถนนหนทางในเมืองก็มีความสะดวกมากขึ้นดวย ทําใหตลาดน้ําคอย ๆ ซบเซาลง และขาดทุ น ในขณะที่ต ลาดบกหัว รอเริ่ มคึก คัก มากขึ้ น ผู คา ขายในแพหลายราย ทยอยเลิกกิจการในแพ และขึ้นมาเชาหองแถวในตลาดหัวรอ หรือหองแถวที่สรางขึ้น ใหมในละแวกพระราชวังจันทรเกษมเพื่อเปดกิจการคาขายตอไป ทําใหการคาขายใน ตลาดน้ําคอยลดจํานวนลงเรื่อย ๆ กระทั่งตลาดแพทั้งหลาย รวมทั้งกิจการขนสงทาง น้ําเชนเรือเมลก็หมดไป เหลือเพียงตลาดหัวรอที่ตั้งอยูบนฝง ที่ยังคงดําเนินกิจกรรม การคาขายเปนตลาดเกาแกของชาวอยุธยาสืบมาจนปจจุบัน

ส งท าย กาลเวลาไดนําความเปลี่ยนแปลงหลายประการมาสูตลาดหัวรอ โดยเฉพาะ ความเปลี่ยนแปลงทางดานวิถีชีวิตของผูคนที่เคยนิยมสัญจรทางเรือ เปลี่ยนมานิยม สัญจรทางรถยนต ที่ทําใหตลาดน้ํายานหัวรอเสื่อมความนิยมลงจนคอย ๆ หมดสิ้นไป จากเมืองพระนครศรีอยุธยา รวมถึงนโยบายการวางระบบผังเมืองพระนครศรีอยุธยา ในชวงหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ที่ยายตัวเมืองจากยานหัวรอไปอยูใจกลางเมือง ยานหัวรอจึงกลายเปนยานชุมชนและสถานที่ราชการเกา ตลอดจนการเกิดขึ้นของ ตลาดแหงใหม ๆ อยางตลาดเจาพรหม หรือเดิมคือตลาดหอรัตนชัย ซึ่งเปนตลาดสด ของเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา อันมีทําเลที่ตั้งที่สามารถเดินทางโดยรถยนตได สะดวกรวดเร็ ว จึ ง มี ค วามคึ ก คั ก มากกว า รวมไปถึ ง การเกิ ด ขึ้ น ของห า งค า ปลี ก ขามชาติทั้งหลายอยางตอเนื่องในชวงประมาณหลัง พ.ศ.๒๕๔๐ ตลาดหัวรอก็ยังคง ทําหนาที่เปน ตลาดสด ขายอาหาร ขายกับขาว ขายสินคานานาชนิด และของใชที่ จําเปนตอการดํารงชีพใหแกชาวอยุธยาสืบมา และสืบไปตราบเจาที่ชาวอยุธยายังให ความสําคัญกับตลาดเกาแกแหงนี้อยู ตลาดหัวรอ ตลาด ๑๐๐ ป แหงพระนครศรีอยุธยา


๕๘ I

ภาพเปรียบเทียบบริเวณหนาตลาดหัวรอ เมื่อประมาณ พ.ศ.๒๕๐๐ กับสมัยปจจุบัน (พ.ศ.๒๕๕๑)


I ๕๙

ภาพเปรียบเทียบบริเวณหนาตลาดหัวรอ เมื่อประมาณ พ.ศ.๒๕๐๐ กับสมัยปจจุบัน (พ.ศ.๒๕๕๑)


๖๐ I

ภาพเปรียบเทียบบริเวณหนาตลาดหัวรอ เมื่อประมาณ พ.ศ.๒๕๐๐ กับสมัยปจจุบัน (พ.ศ.๒๕๕๑)


I ๖๑

ภาพเปรียบเทียบบริเวณปากคลองบางขวดในสมัยตาง ๆ


๖๒ I

สภาพปากคลองบางขวดในปจจุบัน (พ.ศ.๒๕๕๑) ที่แตกตางจากในอดีต ซึ่งเคยมีการ คาขายทางน้ําที่มีส รรพสิ่งของเครื่องใชขายอยางเนื่องแนน ดัง ที่มีกวีกลาวไวในนิร าศเพนียด ความวา

“หัวรอแพแม ค า เนืองเนื่องแนวฝ งคลอง เยียดยัดปากคลอง ครบสิ่งเครื่องใช ล้ํา

ขายของ ฟากน้ํา บางขวด เจียวพ อ แต งต งเตมแพ นิราศเพนียด


I ๖๓

บรรณานุกรม กรมศิลปากร. (๒๕๔๓). ตลาดน้ํา: วิถีชีวิตของเกษตรกรภาคกลาง. กรุงเทพฯ: กรมฯ กรมศิลปากร. (๒๕๔๔). สยามริมฝงเจาพระยา. กรุงเทพฯ: กรมฯ. กรมศิลปากร. (๒๕๔๕). นําชมพิพิธภัณฑสถานแหงชาติจันทรเกษม. กรุงเทพฯ: กรมฯ เกื้ อ กู ล ยื น ยงอนั น ต . (๒๕๒๗). ความเปลี่ ย นแปลงภายในเกาะเมื อ ง พระนครศรีอยุธยา ระหวาง พ.ศ.๒๔๓๘ – ๒๕๐๐. พระนครศรีอยุธยา: วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา. ถายเอกสาร. ชัยพร เตชะวัฒนวรรณา. (๒๕๕๑, ๒๐ พฤษภาคม). สัมภาษณโดย พัฑร แตงพันธ ที่รานรัตนพานิช ตลาดหัวรอ. น. ณ ปากน้ํา. (๒๕๔๓). แบบแผนบานเรือนในสยาม. เมืองโบราณ: กรุงเทพฯ ประทีป มาลากุล. (๒๕๓๐). พัฒนาการบานของคนไทยในภาคกลาง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โบราณราชธานิ น ทร , พระยา. (๒๕๒๗). เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. เล็ก ศิษฏสุเมธ. (๒๕๕๑, ๒๑ เมษายน). สัมภาษณโดย พัฑร แตงพันธ ที่วัดตองปุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ฮีพวง แซฉั่ว. (๒๕๕๑, ๒๖ เมษายน). สัมภาษณโดย พัฑร แตงพันธ ที่ตําบลหัวรอ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ส.พลายนอย. (๒๕๔๔). ชีวิตตามคลอง. กรุงเทพฯ: สายธาร ตลาดหัวรอ. (๒๕๕๕). (ภาพนิ่ง). พระนครศรีอยุธยา: ศรีอยุธยา สตูดิโอ ดิจิตอล. หอจดหมายเหตุแหงชาติ. เอกสาร มท.๐๖๐๑.๒.๓/๗๒.



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.