เอกสารประกอบการศึกษาดูงานด้านประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมอาเซียน ประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนม่าร์

Page 1

โครงการศึกษาดูงานด้านประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมอาเซียน สาหรับคณาจารย์และนักวิชาการ ครั้งที่ ๑

ณ เมืองพุกาม อมรปุระ และมัณฑะเลย์

สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนม่าร์

ระหว่างวันที่ ๔ - ๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗ จัดโดยสถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา


โครงการศึกษาดูงานด้านประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมอาเซียน สาหรับคณาจารย์และนักวิชาการ ครั้งที่ ๑

ณ เมืองพุกาม อมรปุระ และมัณฑะเลย์ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนม่าร์ ระหว่างวันที่ ๔ - ๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

จัดพิมพ์โดย สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มิถุนายน ๒๕๕๗ จานวน ๓๐ เล่ม ๙๖ ถนนปรีดี พนมยงค์ อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา โทรศัพท์ ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ โทรสาร ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ ฝ่ายส่งเสริม และเผยแพร่ วิชาการ ปัทพงษ์ ชื่นบุญ อายุวัฒน์ ค้าผล อรอุมา โพธิ์จิ๋ว ฝ่ายวิชาการ พัฑร์ แตงพันธ์ สาธิยา ลายพิกุน

ฝ่ายบริหารงานทัว่ ไป ณัฐฐิญา แก้วแหวน สายรุ้ง กล่าเพชร ศรีสุวรรณ ช่วยโสภา ประภาพร แตงพันธ์


สารบัญ พุกาม ลำดับกษัตริย์อำณำจักรพุกำม บทนำ สังคมวัฒนธรรมเมืองพุกำม ศิลปะพุกำม (พ.ศ.๑๕๘๗-๑๘๓๐) โบรำณสถำนในพุกำม บูปะยำ เซดี งะเจว-นำเดำง์ เซดี นัต เหล่ำง์ เจำง์ ประตูตำระบำ ปิตะกะไตก์ มนูหะกู่พญำ นันปะยำกู่พญำ เปตเลค เซดี ตะวันออก และเปตเลค เซดี ตะวันตก ชเววันดอ เซดี ฉิ่นปินตะ เจำง์ วัดชเวซีคง และอำคำรประกอบ นำกำโยว์ กู่พญำ อำนันดำ กู่พญำ โลกะเท็กพัน กู่พญำ ตัตปินญุ กู่พญำ ธรรมะยังจี กู่พญำ สุลำมุณี กู่พญำ ธรรมมะยำสิกำ เซดี สปัททะ เซดี ติโลมินโล กู่พญำ มหำโบดี กู่พญำ อุบำลีเต่ง

๒ ๓ ๔ ๙ ๑๗ ๑๙ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๕ ๒๖ ๒๘ ๒๙ ๓๑ ๓๔ ๓๕ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๑


มัณฑะเล บทนำ ศำสนสถำนก่อนสร้ำงเมืองมัณฑะเล เซจำตีหะ เอนดอยำเจติยสถำน เจติยสถำนชเวจีเมี่ยน วัดมหำมุนี ศำสนสถำนสมัยพระเจ้ำเมงดง วัดจอกตอจี วัดสุธรรม หรือสุดำมำซำยะ กุโสดอ เจติยสถำน วัดอตุมฉิ ศำสนสถำนหลังสมัยพระเจ้ำเมงดง วัดชเวนำนดอจอง วัดนำงพญำ มำนำวยำตะนำ ศำสนสถำนในเขตปริมณฑลของมันฑะเล อมรปุระ พระรำชวังมัณฑะเล อำคำรสถำนนอกเขตชำลำ กลุ่มอำคำรด้ำนทิศตะวันออก อำคำรเชื่อมทำงระหว่ำงมะเยนำนเปี๊ยะตั๊ด และเซดำวุน อำคำรเชื่อมทำงพระมหำปรำสำท พระมหำปรำสำท อำคำรอื่นที่สำคัญในกลุ่มอำคำรด้ำนทิศตะวันออก

๔๔

๔๘

๔๙

๕๐ ๕๐ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕ ๕๖ ๕๖ ๕๖


พุกาม “See Pagan and live, See Angkor Wat and Die” “การได้เห็นพุกามย่อมมีชีวิตเป็นอมตะ การได้เห็นนครวัดย่อมนอนตายตาหลับ” Arnold Joseph Toynbee (อาร์โนลด์ ทอยน์บี)


ลาดับกษัตริยอ์ าณาจักรพุกาม ช่วงเวลา

รายพระนามกษัตริย์

ช่วงเวลา ครองราชย์

ระยะเวลา ครองราชย์

ก่อนรัชกาลพระเจ้าอโนรธา

พุทธศตวรรษที่ ๑๖

พระเจ้าอโนยะธา ,อโนรธา, อนิรุทธิ์ ANAWRAHTA

พระเจ้าซอลู SAWLU พระเจ้าจันสิตตา,กยันสิตถา, พุทธศตวรรษที่ ๑๗ ญานสิทธา KYANZITTHA พระเจ้าอลองซีตู ,อลองสิทธู ALAUNGSITHU พระเจ้ามินฉินซอ พระเจ้านาราตู, นรถู NARATTHU พระเจ้านาราเตงขะ NARATHEINKHA พระเจ้านาราปติซีตู , นราปติสิทธู NARAPATISITHU พุทธศตวรรษที่ ๑๗ พระเจ้าเซยะเตงขะนะเดาง์มยา , ติโลมินโล HTILOMINLO พระเจ้าจอซวา KYASWA พระเจ้าอุซานะ UZANA พระเจ้านาราตีหปติ, นราธิหบดี NARATHIHAPATI พระเจ้ากยอสวา KYASAWA พุทธศตวรรษที่ ๑๘ พระเจ้าสอวนิต SAWHNIT พระเจ้าสอวมูนิต SAWMUNNIT

ศาสนสถาน (ตามโปรแกรม) บูปะยาเซดี , ง๊ะจเวนาดาวน์เซดี , นัต เหล่าง์ เจาง์ , ประตูตาระบา (๑) วิหารปิตักกะไต้ก์, นันปะยากู่พญา, มานูหากู่พญา, เปตเลคตะวันออก-ตก, ชเวซันดอเซดี, วิหารชินบินทัลยวง, ชเวซิกองเซดี (๑), ประตูตาระบา (๒)

๑๕๘๗-๑๖๒๐

๓๓ ปี

๑๖๒๐-๑๖๒๗

๗ ปี

ชเวซิกองเซดี (๒)

๑๖๒๗-๑๖๕๖

๒๙ ปี

ประตูตาระบา(๓), วิหารนาคายน, ชเวซิกองเซดี (๓), อนันดากู่พญา

๑๖๕๖-๑๗๐๖

๕๐ ปี

วิหารโลกะเตคปาน, สัพพัญญูกู่พญา ,

๑๗๐๖

๑ ปี

๑๗๐๖-๑๗๐๘

๒ ปี

๑๗๐๘-๑๗๑๗

๙ ปี

๑๗๑๗-๑๗๕๔

๔๖ ปี

สุลามณีกาพญา , ธรรมยาสิกะเซดี , ฉปัตเซดี

๑๗๕๔-๑๗๗๗

๒๓ ปี

ติโลมินโลกู่พญา , วิหารมหาโพธิ์

๑๗๗๗-๑๗๙๓ ๑๗๙๓-๑๗๙๘

๑๖ ปี ๕ ปี

๑๗๙๘-๑๘๓๐

๓๒ ปี

๑๘๓๐-๑๘๔๑ ๑๘๔๑-๑๘๖๘ ๑๘๖๘-๑๙๑๒

๑๑ ปี ๒๗ ปี ๔๔ ปี

ธรรมยางยีกู่พญา

วิหารอุบาลีเต็ง


“See Pagan and live, See Angkor Wat and Die” “การได้เห็นพุกามย่อมมีชีวติ เป็นอมตะ การได้เห็นนครวัดย่อมนอนตายตาหลับ” คำกล่ำวข้ำงต้นนี้เป็นคำพูดของ อาร์โนลด์ ทอยน์บี (Arnold Joseph Toynbee) นักเดินทำงและนัก ประวัติศำสตร์ชำวอังกฤษที่เดินทำงเข้ำมำท่องเที่ยวในภูมิภำคนี้ “See Pagan and live” อาร์โนลด์ ทอยน์บี กล่ำวไว้เมื่อตอนได้มำเห็นเมืองพุกำมที่เต็มไปด้วยเจดีย์ วิหำร พุทธสถำน พระพุทธรูป และสิ่ง ที่เกี่ยวข้องกับพุทธศำสนำมำกมำยเต็มไปหมด และได้รับรู้ถึง ควำม ศรัทธำของชำวพุกำมที่มีต่อพุทธศำสนำ จึงทำให้อำร์โนลด์ ทอยน์บีเชื่อว่ำ ผู้ใดได้เห็นเมืองพุกำมย่อมได้เข้ำถึง พระพุทธองค์ ผู้นั้นย่อมมีชีวิตเป็นอมตะ จึงได้กล่ำวประโยคข้ำงต้นและเมื่อใดได้ไ ปเห็นนครวัดจึง ได้กล่ำว ประโยคต่อไปอีกว่ำ “See Angkor Wat and Die” เมื อ งพุ ก ามโบราณ ปั จ จุ บั น ตั้ ง อยู่ ท ำงตะวั น ออกของแม่ น้ ำอิ ร วดี ในเขตกำรปกครองของ มณฑลมัณฑะเลย์ ในกลำงของแผนที่พม่ำ ชุมชนปัจจุบันที่ตั้งรองรับเมืองพุกำมชื่อ ยวงอู (Nyuang U) และ เป็นที่ตั้งของสนำมบินด้วย ยวงอูมีประชำกรประมำณหมื่นกว่ำคนเศษๆ อยู่ห่ำงเมืองพุกำมโบรำณประมำณ ๔๕ กิโลเมตร พุก ำม เป็ น กำรเรี ยกแบบไทย ชำวพม่ำ ปั จจุ บั นเรี ยก บะกัน (Bagan) สมั ยอั ง กฤษเรี ยก พะกั น (Pagan) ชื่อในจำรึกเรียกว่ำ อริมัทนะ (Arimaddana) ชื่อในจดหมำยเหตุจีนเรียก ปูก้าน (P-ugan) ในที่นี้ ขอเรียก พุกำม เพื่อควำมคุ้นเคยและสอดคล้องกับที่มีผู้เรียกไว้ก่อนหน้ำนี้แล้ว พุกำมเป็นรำชธำนีแห่งแรกของชนชำวพม่ำ แม้ว่ำพงศำวดำรฉบับหอแก้วได้กล่ำวถึง อำณำจักรของ ชำวพม่ำที่มีมำก่อนพุกำมพร้อมชื่อลำดับพระมหำกษัตริย์ แต่โดยส่วนตัวเชื่อว่ำเมืองพุกำมน่ำจะเป็นอำณำจักร และรำชธำนีแห่ งแรกของชนชำวพม่ ำ มำกกว่ ำ เพรำะมี หลัก ฐำนทำงด้ ำนจำรึ ก โบรำณคดี และหลัก ฐำน ทำงด้ำนศิลปกรรมรองรับเป็นจำนวนมำก พุกำมเริ่มเป็นรำชธำนีแห่ง แรกของพม่ำ เมื่อ พ .ศ.๑๕๘๗ จนถึง พ.ศ.๑๘๓๐ จึ ง ได้ เสื่ อมไปเพรำะกำรรุ กรำนของพวกมองโกล ๑ รวมระยะเวลำที่ เป็ นรำชธำนี ๒๔๓ ปี มี พระมหำกษัตริย์ปกครอง ๑๑ พระองค์ พุกำมถือเป็นรำชธำนีแห่งแรกของชำวพม่ำและเป็นรำชธำนีที่รุ่งเรืองสุดของชำวพม่ำด้วยเพรำะได้พบ หลักฐำนทำงโบรำณคดีที่เป็นเจดีย์ วิหำร และตัวอำคำรที่เชื่อว่ำมีมำกกว่ำ ๔,๐๐๐ แห่ง๒ (สำรวจและเก็บ ข้อมูลแล้วโดย Pierre Pichard มำกกว่ำ ๒,๔๐๐ แห่ง) ที่เหลือยังมีอีกหลำยส่วนที่จมดินอยู่ อันแสดงถึง เรื่องรำวทำงพุทธศำสนำได้มำปักหลักอย่ำงมั่นคงในเมืองพุกำม นำโดยกุบไลข่ำน กล่ำวว่ำ มีถึง ๔,๔๔๖ แห่ง


สังคมวัฒนธรรมเมืองพุกาม กลุ่มชน เมืองพุกำมเกิดขึ้นแทนที่เมืองพยูและเมืองมอญที่เคยเป็นศูนย์กลำงอำนำจเดิมของพื้นที่ที่สลำยตัวลง ไป พุกำมจึงทำหน้ำที่เป็นแหล่งรวมของผู้คนจำกเมืองต่ำงๆ เข้ำมำเป็นประชำกรของเมือง โครงสร้ำงทำงสังคม จึงเป็นแบบพหุลักษณ์อันประกอบขึ้นจำกกลุ่มชนที่หลำกหลำย อำทิเช่น ชำวพยู ขำวมอญ ชำวพม่ำ และกลุ่ม ชนเผ่ำต่ำงๆ ชำวพยู เป็นกลุ่มชนที่พูดภำษำตระกูลทิเบต-พม่ำ อพยพลงมำจำกทำงตอนเหนือของพม่ำเข้ำมำอำศัย อยู่ในพื้นที่ตอนกลำงของลุ่มน้ำอิรวดี โดยตั้งเมืองศรีเกษตรเป็นเมืองหลวง และมีเมืองสำคัญอีก ๒ เมืองคือ เป้กตะโน (เมืองพระวิษณุ) และฮำลิน จำกบันทึกของผู้เดินทำงไปสืบพระพุทธศำสนำที่อินเดียในพุทธศตวรรษที่ ๑๒ ของหลวงจีนเหี้ยนถัง (Hsuan Tsang) กล่ำวว่ำ ทำงตะวันตกของทวรำวดีมีอำณำจักรชื่อ เชลิฉำโตโล (She li Cha tolo) สันนิษฐำน ว่ำ คือ เมืองติเยคิตตยำ หรือที่รู้จักกันในชื่อภำษำไทยว่ำ เมืองศรีเกษตร จำกผลกำรขุดค้นทำงโบรำณคดีพ บว่ำ เป็นเมืองขนำดใหญ่มีคูน้ำคันดินเป็นปรำกำรเมือง ชำวเมืองนับถือพุทธศำสนำนิกำยเถรวำทและถ่ำยทอดต่อ ให้ แ ก่ กลุ่ ม ชำวพม่ ำในภำยหลั ง เนื่ อ งจำกสั นนิ ษ ฐำนว่ ำ กลุ่ ม ชนพม่ ำ นั บถื อ พุ ทธศำสนำนิ ก ำยมหำยำนซึ่ ง แพร่หลำยอยู่ทำงตอนเหนือ จนเมื่อเกิดกำรแลกเปลี่ยนทำงวัฒนธรรมกับชำวมอญ และพยู จึง รับเอำพุทธ ศำสนำนิกำยเถรวำทมำเป็นศำสนำหลักในรำวพุทธศตวรรษที่ ๑๓ สันนิษฐำนว่ำ กำรเสื่อมอำนำจลงของอำณำจักรพยูมี ๒ ประกำร คือกำรขยำยตัวของชำวมอญจำก ทำงตอนใต้ในรำวพุทธศตวรรษที่ ๗ และกำรขยำยอำนำจของน่ำนเจ้ำในสมัยของพระเจ้ำโก๊ะล่อฝงที่ต้องกำร ขยำยเส้นทำงกำรค้ำระหว่ำงอินเดียและจีน กลุ่มชนอีกกลุ่มหนึ่งที่มีควำมสำคัญ มำกของลุ่มแม่น้ำอิรวดี คือ ชำวมอญ แต่เดิมครอบครองพื้นที่ ตอนล่ำงของลุ่มแม่น้ำอิรวดีที่สำมำรถเชื่อมต่อออกทำงทะเลทำงอ่ำวเบงกอลได้โดยมี เมืองสะเทิม ที่เรียกใน ภำษำพม่ ำ ว่ ำ เมื อ งถะทน (Thaton) เป็ น เมือ งศู น ย์ ก ลำง มี ข้ อสั น นิ ษ ฐำนว่ ำ ชำวมอญอพยพมำจำกทำง ตะวันออกแถบลุ่มแม่น้ำเจ้ำพระยำ เนื่องจำกภำษำมอญเป็นคนละกลุ่มตระกูลกับภำษำพม่ำ อีกทั้งตัวอักษร ภำษำมอญที่พบในลุ่มน้ำเจ้ำพระยำมีอำยุเก่ำแก่กว่ำลุ่มน้ำอิรวดี กำรขยำยตัวของชำวมอญเข้ำมำยัง พื้นที่ ตอนกลำงลุ่มน้ำอิรวดีเป็นเหตุหนึ่งให้เมืองพยูเสื่อมอำนำจลง และเมื่อพม่ำขยำยอำนำจมำกขึ้นจึงเป็นเหตุให้ ชำวมอญต้องอพยพถอยร่นลงไปยังพื้นที่พม่ำตอนล่ำง จนกระทั่งใน ปี พ.ศ.๑๖๐๐ ที่พระเจ้ำอโนยะธำได้โจมตี เมืองถะทนจึงเป็นกำรรวบรวมชำวมอญให้เข้ำมำตั้งถิ่นฐำนยังเมืองพุกำมครั้งใหญ่ สำหรับชำวพม่ำ เป็นกลุ่มชนเชื้อสำยทิเบต-พม่ำ (Tibeto-Burman) สันนิษฐำนว่ำเดิมอำศัยอยู่ทำง ตะวันออกเฉียงเหนือของทิเบต ต่อมำจึงอพยพมำทำงตะวันตกเฉียงใต้มำยัง ยูนนำน จนกระทั่งจีนเริ่มขยำย อำนำจเข้ำมำในปี พ.ศ.๑๓๓๗ ผลักดันให้กลุ่มชนเผ่ำต่ำงๆ ที่เคยอำศัยอยู่ในบริเวณดังกล่ำวต้ องอพยพลงมำ ทำงตอนใต้เลียบตำมแม่น้ำสำยต่ำงๆ เช่น แม่น้ำอิรวดี แม่น้ำสำละวินและแม่น้ำโขง สำหรับกลุ่มชนพม่ำได้


อพยพลงมำตำมแม่น้ำอิรวดีเข้ำมำตั้งถิ่นฐำนอยู่ทำงพม่ำตอนเหนือ และกลำยเป็นประชำกรหลักของพื้นที่รวม ไปถึงเป็นผู้นำทำงกำรปกครอง ควำมเป็นพหุสังคมของเมืองพุ กำมเป็นแหล่งรวมของกลุ่มวัฒนธรรมหลำกหลำยประจวบกับกำรที่ เมืองพุกำมเติบโตขึ้นในฐำนะเมืองศูนย์กลำงกำรค้ำและกำรศำสนำบนเส้นทำงแพรไหมสำยภำคพื้นทวีป ทำให้ มีคนกลุ่มที่เดินทำงเข้ำมำติดต่อค้ำขำย ทำงำน และตั้งถิ่นฐำนเป็นจำนวนมำก ทั้งที่เป็นคนในภูมิภำค เช่น ชำว อำระกัน ชำวฉำน ชำวมอญ ชำวอินเดีย และคนจำกต่ำงภูมิภำค เช่น ชำวเปอร์เซีย ชำวจีน และชำวตะวันตก แม้ ว่ ำ ไม่ มี ห ลั ก ฐำนทำงประวั ติ ศ ำสตร์ ล ำยลั ก ษณ์ อั ก ษรใดๆ ยื น ยั น แต่ ไ ด้ ส ะท้ อ นออกมำในผลงำนกำร สร้ำงสรรค์ของสถำปัตยกรรมและงำนศิลปะต่ำงๆ ที่มีอยู่มำกมำย

ความเชื่อและศาสนา สังคมดั้งเดิมของเมืองพุกำมมีรำกฐำนมำจำกสัง คมระบบชนเผ่ำ มีควำมเชื่อเรื่องสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์เหนือ ธรรมชำติ (Supernatural) เป็นพื้นฐำน เมื่อมีคำถำมกับปรำกฏกำรณ์ทำงธรรมชำติที่ไม่สำมำรถหำคำตอบที่ เป็นรูปธรรมได้ จึงยกให้เป็นผลของกำรบันดำลของสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหนือธรรมชำติ สำหรับกำรนับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหนือธรรมชำติในพุกำม คือกำรนับถือเทวดำประจำเมืองเรียกว่ำ “นัต (Nat)” จำนวน ๓๗ ตน นัต ที่มีตำแหน่งสูงสุดคือ “ท้ำวสักกะ” หรือ “พระอินทร์” ผู้เป็นประมุขของเขำพระ สุเมรุ และเป็นผู้อุปัฏฐำกดูแลช่วยเหลือพระบรมโพธิสัตว์จนตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้ำได้สำเร็จ นอกจำกนี้ยังมีควำมเชื่อเรื่องภูเขำศักดิ์สิทธิ์ อันเป็นภูมิลักษณ์ทำงธรรมชำติที่เสียดยอดขึ้นสู่ท้องฟ้ำ โลกทัศน์ของผู้คนจึงมองภูเขำเป็นสถำนที่ศักดิ์สิทธิ์อันเป็นที่สถิตของเทพเทวำ สำหรับภูเขำศักดิ์สิทธิ์ของเมืองพุกำม คือ ภูเขำโปปำ (Mount Popa) หรือ ภูผำอันเป็นที่สถิตย์ของ มหำคีรีนัตที่สำคัญที่สุด และทำให้เกิดธรรมเนียมกำรสร้ำงวัดบนยอดเขำเมื่อมีกำรรับเอำพุทธศำสนำเข้ำมำเป็น ศำสนำหลักของพื้นที่ ในช่ ว งต้ น ของอำณำจั ก ร มีก ำรบู ชำนำค และมีอิ ท ธิ พ ลเหนื อพุ ท ธศำสนำ ว่ำ จนถึง สมั ย พระเจ้ ำ จันสิตตำที่พระพุทธศำสนำเข้ำมำมีบทบำทอย่ำงสูง แต่ควำมเชื่อเรื่องนำคก็ยังได้รับกำรบูชำอยู่ ดังปรำกฏใน จำรึกที่กล่ำวถึงกำรทำพิธีกรรมบวงสรวงนำคในพิธีเฉลิมพระรำชมณเฑียรใหม่หลังจำกกำรประกอบพิธี ทำง พุทธศำสนำแล้ว สำหรับศำสนำพรำหมณ์ฮินดูคงเป็นศำสนำและพิธีกรรมที่เกี่ ยวเนื่องกับรำชสำนัก เนื่องจำกแนวคิด ทำงศำสนำให้ควำมสำคัญกับระบบชนชั้น และตอกย้ำควำมสำคัญของกษัตริย์ในฐำนะผู้นำทำงสังคม สำหรับกำรเข้ำมำของพุทธศำสนำสู่เมืองพุกำมคงมีอยู่ ๒ เส้นทำงหลัก คือ จำกทำงตอนเหนือพร้อม กำรอพยพของกลุ่มชนเผ่ำ ซึ่งสันนิษฐำนว่ำเป็นคงเป็นพุท ธศำสนำนิกำยมหำยำน ต่อมำมีกำรอพยพของคณะ สงฆ์เมื่อศูนย์กลำงศำสนำพุทธในอินเดียเหนือถูกมุสลิมรุกรำน อีกเส้นทำงหนึ่งคือ กำรเผยแพร่เข้ำมำโดยผ่ำน ทำงเมืองมอญ และพยูที่อยู่มำแต่เดิม โดยพุทธศำสนำในเมืองทั้งสองนี้เป็นพุทธศำสนำนิกำยเถรวำทลังกำวงศ์ ที่รับสืบต่อมำจำกลังกำ จนกระทั่งเมื่ออำณำจักรพุกำมมีเสถียรภำพจึงทำกำรติดต่อกับทำงลังกำโดยตรง


พุทธศำสนำนิก ำยเถรวำทได้ ถูกประดิษฐำนอย่ำงมั่นคง และรุ่ง เรืองอย่ำงสู ง ในพุก ำมจนสำมำรถ เผยแพร่กลับไปยังลังกำในภำยหลังเมื่อพระพุทธศำสนำในลังกำได้เสื่อมลงจำกกำรถูกทมิฬรุกรำน แม้ว่ำ พระพุทธศำสนำนิกำยเถรวำทจะมีบทบำทอย่ำงสูง ในเมืองพุกำม แต่ทว่ำพุทธศำสนำนิกำย มหำยำนก็คงแฝงอยู่ในกำรประกอบพิธีกรรม วรรณกรรมทำงศำสนำตลอดจนสถำปัตยกรรม และศิลปกรรมที่ ปรำกฏเป็นประจักษ์หลักฐำนอยู่เป็นจำนวนมำกในเมืองพุดำม

โครงสร้างทางสังคมและการปกครอง เมืองพุกำมพัฒนำขึ้นจำกชุมชนสู่ควำมเป็นเมืองและพัฒนำสู่อำณำจักรที่ยิ่งใหญ่ด้วยเหตุผลที่ว่ำมีกำร จัดกำรที่ทรงประสิทธิภำพ โครงสร้ำงทำงกำรเมืองและสังคมมีควำมซับซ้อนขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งในรำวปลำย พุทธศตวรรษที่ ๑๖ พุกำมจึงทำหน้ำที่ศูนย์กลำงอำณำจักรแห่งลุ่มแม่น้ำอิรวดีอย่ำงสมบูรณ์ โครงสร้ำงทำงสังคมพุกำมมีกำรแบ่งหน้ำที่ทีชัดเจน คือ ชนชั้นปกครอง ชนชั้นผู้นำทำงศำสนำ ชนชั้น พ่อค้ำ และชนชั้นแรงำน กล่ ำวคือ พระมหำกษั ตริย์ทำหน้ ำที่เป็นศู นย์กลำงอ ำนำจในกำรบริหำรรำชกำร แผ่นดิน ในระบบเทวรำชำที่พระมหำกษัตริย์ คือ องค์สมมติเทพและมีกำรสืบรำชสันตติวงศ์ ผ่ำนทำงสำยโลหิต ดังจะเห็นว่ำเมื่อมีเหตุกำรณ์ปรำบดำภิเษกขึ้นครองรำชย์สมบัติจึงมักมีกำรอ้ำงสิทธิธรรมต่ำงๆ นำนำ อำทิเช่น อ้ำงว่ำเป็นเชื้อสำยของกษัตริย์องค์ก่อน เป็นสมมติเทพ และเป็นพระโพธิสัตว์ พระมหำกษั ตริ ย์ ทำหน้ ำที่ เป็ นผู้ บัญ ญัติ และรั กษำกฎต่ำ งๆ ด้ วยกำรตั ดสิ นคดีแ ต่ไ ม่ไ ด้ใ ช้อ ำนำจ เบ็ดเสร็จตำมแนวควำมคิดแบบ เทวรำชำ ทว่ำได้ถ่วงดุลไว้ด้วยแนวคิดแบบ ธรรมรำชำ อันเป็นส่วนหนึ่งของ ศำสนำพุทธ กล่ำวคือ กษัตริย์ทำหน้ำที่เป็นผู้ทำนุบำรุงพุทธศำสนำ และยึดมันในหลักทศพิธรำชธรรมในกำร บริหำรรำชกำรแผ่นดิน นอกจำกนี้ยังเชื่อว่ำกษัตริย์คือ พระโพธิสัตว์ (Bodhisattava) ดังปรำกฏจำรึกของพระ เจ้ำจันสิตตำ รวมไปถึงยังมีคำเรียกพระมหำกษัตริย์ว่ำ อลอง หมำยถึง อนาคตพระพุทธเจ้า รวมไปถึงยังทำ หน้ำที่เป็น ผู้เป็นเจ้าของแผ่นดินและสายน้า (Lord of land and water) และทรัพย์สินทั้งปวงที่อยู่ภำยใต้ รำชอำณำจักร ชนชั้นผู้นำทำงศำสนำ เป็นกลุ่มที่มีควำมสำคัญมำกในสังคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมทั้งเมืองพุกำม นอกจำกจะเป็นผู้ประกอบพิธีกรรมทำงศำสนำและเป็นศูนย์กลำงจิตใจแล้ว ยังมีอิทธิพลถึงขั้นสำมำรถกำหนด ทิศทำงกำรเมือง สังคม เศรษฐกิจของเมืองพุกำมด้วย ดังจะเห็นว่ำในหน้ำประวัติศำสตร์เมืองพุกำมบ่อยครั้ง กล่ำวถึงผู้มีอำนำจทำงศำสนำได้เป็นผู้ชี้นำทำงกำรเมือง ทำให้กษัตริย์ตระหนักถึงควำมสำคัญในกำร ถ่วงดุล อำนำจกับคณะสงฆ์ ด้วยกำรสถำปนำคณะสงฆ์นิกำยใหม่เพื่อลดทอนอำนำจของคณะสงฆ์กลุ่มเดิมอยู่ หลำย ครั้งในหน้ำประวัติศำสตร์พุกำม สำหรับกำรจัดกำรองค์กรสงฆ์ในเมืองพุกำม ไม่ได้มีกำรจัดกำรอย่ำงเป็นทำงกำรและไม่ได้รวมกันอยู่ ภำยใต้กำรปกครองของสังฆรำชำองค์เดียวเท่ำนั้น แต่แยกออกเป็นนิกำยต่ำงๆ เช่น มรัมวงศ์ , สิงหล, อรัญวำสี เป็นต้น


กำรแสดงออกซึ่งควำมเคำรพระหว่ำงสงฆ์เป็นไปตำมจำนวนพรรษำเฉกเช่นวัตรปฏิบัติของพระภิกษุ อื่นๆ ในที่นี้แบ่งสมณศักดิ์ได้ดังต่อไปนี้ คือ สามเณร เมื่ออำยุครบจึง บวชเป็นภิกษุ ซึ่ง บำงครั้ง ในจำรึกสมัย พุกำมเรียกว่ำ อริยสงฆ์ ตำแหน่ง พระมหาเถระ เป็นตำแหน่งของเจ้ำอำวำสที่ดูแลมหำวิหำร (Monastery Town) ตำแหน่ง มหาสังฆะราชา เป็นตำแหน่ง ของเจ้ำอำวำสที่ดูแลมหำวิหำรขนำดใหญ่และเป็นสถำนที่ สำคัญ ถือได้ว่ำชนชั้นผู้นำทำงศำสนำเป็นแกนหลักสำคัญในกำรขับเคลื่อนสังคมพุกำมไปสู่ควำมรุ่งเรือง แต่ก็ เป็นเหตุให้อำณำจักรพุกำมที่เคยรุ่งเรืองมำกต้องล่มสลำยลงด้วยเช่นกัน ชนชั้นพ่อค้ำ เป็นผู้ที่ทำมำค้ำขำยแลกเปลี่ยนสินค้ำกันเองภำยในเมือง และรวบรวมสินค้ำจำกพุกำม และพื้นที่ใกล้เคียงแล้วนำไปขำยกับเมืองอื่นๆ ชนชั้นพ่อค้ำทำหน้ำที่ดั่ง ทูตวัฒนธรรมที่นำเอำระบบควำมคิด ศำสนำ ศิลปะ และวัฒนธรรมจำกโลกภำยนอกมำเผยแพร่ยังพุกำม ส่งผลให้เมืองพุดำมมีควำมรุ่งเรืองขึ้นทั้งใน ด้ำนกำรศึกษำ ศิลปวัฒนธรรม และสถำปัตยกรรมชั้นสูง ชนชั้นแรงงำน ในที่นี้รวมไปถึงผู้ประกอบอำชีพเกษตรกรรม และผลิตภัณฑ์ต่ำงๆ กำรที่เมืองพุกำม ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่แห้งแล้งไม่เหมำะสมกับกำรเกษตร แหล่งปลูกข้ำวที่สำคัญของเมืองพุกำมจึงอยู่ในแถบที่มีน้ำท่ำ อุดมสมบูรณ์ในแถบจ๊อกเซและมินบู พื้นที่ในเมืองพุกำมคงทำกำรเกษตรกรรมประเภทไร่สวนที่ต้องกำรน้ำใน กำรเพำะปลูกน้อยกว่ำกำรทำนำสำหรับผู้ผลิตผลผลิตต่ำงๆ นั้นเป็นงำนหัตถกรรม เครื่องมือเครื่องใช้ประเภท ต่ำงๆ รวมถึงช่ำงฝีมือ เช่น ช่ำงทอง ช่ำงเงิน ช่ำงโลหะ ฯลฯ เพื่อใช้สอยภำยในเมือง และเป็นสินค้ำส่งออกไป ขำยยังเมืองต่ำงๆ

เศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจของเมืองพุกำมต้องพึ่งพำกำรค้ำเป็นหลักดังจะเห็นได้ว่ำทำเลที่ตั้งของเมืองที่อยู่บน พื้นที่แห้งแล้งที่ไม่เหมำะสมกับกำรเพำะปลูก กำรกำเนิดเมืองของเมืองนี้จึง คงมีวัตถุประสงค์เพื่อควบคุ ม เส้นทำงกำรค้ำผ่ำนแม่น้ำอิรวดี และแม่น้ำชินด์วินเป็นหลัก กำรที่เมืองพุกำมเติบโตขึ้นได้อย่ำงก้ำวกระโดด อำจเป็นผลมำจำกควำมอ่อนแอของรำชวงศ์ซ่ง ที่ ปกครองจีน ดังปรำกฏว่ำอำณำจักรต่ำงๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้ฉวยโอกำสสร้ำงควำมเข้มแข็งจนก้ำว ขึ้นเป็นอำณำจักรได้ เช่น พุกำม ขอม และชวำ ระบบเศรษฐกิ จ ของเมื อ งจึ ง เป็ น ไปในลั ก ษณะกำรรวบรวมสิ น ค้ ำ จำกดิ น แดนหลั ง เมื อ งท่ ำ (Hinterland) มำยังส่วนกลำงแล้วจึงกระจำยออกไปอีกต่อหนึ่ง (Redistribution) โดยรัฐอำจทำหน้ำที่เป็นผู้ค้ำ หรือให้อิสระแก่ บรรดำพ่อ ค้ำในกำรค้ำขำยและทำหน้ำทีเ รียกเก็บภำษีจ ำกกำรค้ำ ขำยนั้ นๆ แทนที่ ระบบ เศรษฐกิจแบบกำรแลกเปลี่ยนสินค้ำ (Reciprocal Ex-Change) ที่มีมำแต่เดิม กำรเข้ำมำของพ่อค้ำต่ำงภูมิภำคกระตุ้นให้เกิดกำรตั้งถิ่นฐำนรวมตัวกันเป็นชุมชนบนพื้นฐำนเศรษฐกิจ แบบปันผลแล้วแจกจ่ำยกัน ทำให้เกิดควำมเข้มแข็ง ในเชิง เศรษฐกิจแก่อำณำจักร และกระตุ้นให้ผู้นำขยำย ขอบเขตกำรปกครอง เพื่อเก็บเกี่ยวทรัพยำกรต่ำงๆ เข้ำสู่ส่วนกลำง รวมไปถึงกำรยกระดับชุมชนจำก ชุมชนที่


ผลิ ต แบบพอกิ น พอใช้ (Non Specialized Communities) มำเป็ น ชุ ม ชนกำรผลิ ต สิ น ค้ ำ เฉพำะอย่ ำ ง (Specialized Communities) เพื่อเป็นสินค้ำแลกเปลี่ยนกันระหว่ำงชุมชนหรือระหว่ำงเมืองนั่นเอง ชุมชนบำงแห่งทำหน้ำที่ผลิตสินค้ำที่เป็นวัตถุดิบ (Raw Material) เช่น เมืองมูชิผิ่ว (Muchipuiw) ที่ เป็นแหล่งผลิตน้ำตำลโตนด เกลือ ถ่ำนหิน ดินขำว ทองคำ น้ำมัน หรือ เป็นชุมชนที่ผลิตสินค้ำเป็น ผลิตภัณฑ์ (Product) เช่น มันบู (Manbu) ผลิตกระดำษปะระไป้ก์ (Parabuik) เพื่อใช้ในกำรเขียนหนังสือธรรม, ยองอู (Nyaung-U) ผลิตเครื่องเขิน บำตรพระ และเชี่ยนหมำก, ปะโกกกู่ (Pakokku) ผลิตเครื่องใช้ไม้สอยจำกไม้สัก เพื่ อใช้ใ นวัด นอกจำกนี้ยั งมี ชุ มชนผลิต เครื่ องปั้น ดิ นเผำ ท ำอิฐ นอกจำกนี้ใ นจำกูน (Cakuin) ยั ง มี ชุม ชน ช่ำงฝีมือประเภทต่ำงๆ เช่น ช่ำงทอง ช่ำงเงิน ช่ำงทองแดง ช่ำงแกะสลักหิน ช่ำงไม้ จิตรกร เป็นต้น ผลประโยชน์จ ำกกำรท ำกำรค้ำ ส่วนใหญ่ต กอยู่ ในมื อชนชั้นปกครอง เนื่องจำกเป็น เจ้ำ ของปัจจั ย ทำงกำรผลิต อำทิเช่น ที่ดิน แรงงำน เงินทุน ในขณะที่ประชำชนคงมีหน้ำที่เพียงแรงงำนในกำรผลิตสินค้ำและ ผลิตผลทำงกำรเกษตรเพื่อตอบสนองกำรขยำยตัวของประชำกร อันเป็นกำรเสริมควำมแข็งแกร่งของ รัฐที่รวม ศูนย์กลำงปกครอง (Centralized State) เช่นที่พุกำมเป็นอยู่ นอกจำกชนชั้นปกครองแล้ว อำนำจทำงเศรษฐกิจได้ตกอยู่ในกลุ่มของผู้นำทำงศำสนำด้วย เนื่องจำก พระพุทธศำสนำเป็ นสิ่งยึดเหนี่ยวที่สำคัญ แก่ชำวพุกำม ท ำให้มีกำรกัลปนำทรัพย์สินต่ำ งๆ อำทิ เช่น ที่ดิ น แรงงำน ข้ำวของมีค่ำ โดยที่วัดสำมำรถเก็บเกี่ยวผลประโยชน์จำกที่ดินที่ถูกกัลปนำนี้ได้ นอกจำกนี้กำรกัลปนำยังทำให้เกิดกำรกระจำยรำยได้ในทำงอ้อมด้วย กล่ำวคือเมื่อกัลปนำทรัพย์สิน เงินทองแก่วัดเพื่อนำไปใช้สร้ำงเสริม ซ่อมแซม ดูแลศำสนสถำน ทำให้มีรำยได้จำนวนมหำศำลที่ตกไปสู่ผู้ผลิต และช่ำงฝีมือที่เข้ำมำรับจ้ำงสร้ำงงำนแก่วัดต่ำงๆ


ศิลปะพุกาม (ตั้งแต่ พ.ศ.๑๕๘๗-๑๘๓๐) แม้ว่ำจะได้ค้นพบหลักฐำนทำงโบรำณคดีและศิลปกรรมในสมัยก่อนเมืองพุกำมเป็นรำชธำนีบ้ำง เช่น เจดีย์บูปะยำ (Bupaya) และ เจดีย์ง๊ะจเวนะดำว (Nga Kywe Na Daung) ที่เชื่อว่ำมีมำก่อนสมัยพระเจ้ำ อนิรุทธ์ขึ้นครองรำชย์ในปี พ.ศ.๑๕๘๗ แต่เมื่อเริ่มเข้ำสู่สมัยพุกำมเป็นรำชธำนี ได้ค้นพบหลักฐำนที่สำคัญ มำกมำยทั้งที่เป็นจำรึกศิลปกรรม และโบรำณคดีมำรองรับให้เห็นว่ำพุกำมเป็นอำณำจักรที่ยิ่งใหญ่ของภูมิภำค ในช่วงเวลำนั้น ในช่วงเวลำที่พุกำมรุ่งเรืองได้สร้ำงสรรค์งำนศิลปกรรมที่มีรูปแบบเป็นเอกลักษณ์ อย่ำงชัดเจน และให้ อิทธิพลต่อศิลปะอื่นในบริเวณใกล้เคียงและสมัยหลังต่อมำ สมัยพุกำมสิ้นสุดเมื่อกองทัพมองโกลเข้ำมำรุกรำนและยึดพุกำมได้ใน ปี พ.ศ.๑๘๓๐ รวมเวลำที่เป็น รำชธำนี และเป็นศูนย์กลำงของกำรเมืองกำรปกครองและศิลปวัฒนธรรมของชำวพม่ำทั้งสิ้นเกือบ ๒๕๐ ปี โบรำณสถำนในพุกำมมีจำนวนมำกมำย บำงเอกสำรกล่ำวว่ำมีถึงหมื่นแห่ง บ้ำงก็ว่ำถึงห้ำพันแห่ง แต่ ในเอกสำรของ ปิแอร์ ปิชำร์ด (Pierre Pichard) ที่ไ ด้เข้ำมำสำรวจ ทำผัง และเก็บรำยละเอียดไว้ตั้ง แต่ปี พ.ศ.๒๕๒๓ ได้กล่ำวว่ำ ในสมัยอังวะ พระเจ้ำโมหะยิน (Mohnyin) เมื่อรำวพุทธศตวรรษที่ ๒๑ เคยให้คนไป นับได้ถึงสี่พันแห่ง และในเอกสำรที่ปิแอร์ ปิชำร์ด และ ยูเนสโก (Unesco) เข้ำมำสำรวจ ทำผัง และถ่ำยรูป เก็บรำยละเอียด และจัดพิมพ์เป็นหนังสือออกมำถึง Volume 8 ซึ่งเป็นเล่มสุดท้ำย มีจำนวนของโบรำณสถำน เกือบ ๒,๕๐๐ แห่งแล้ว ปัจจุบันเชื่อกันว่ำน่ำจะมีโบรำณสถำนถึง ๔,๐๐๐ แห่ง เพรำะยังมีบำงส่วนที่จมอยู่ใต้ดินยังมิได้ขุดค้น ขึ้นมำ จำกจำนวนที่กล่ำวมำนี้ในเชิงกำรท่องเที่ยวไม่สำมำรถเที่ยวชมได้ทุกแห่ง และไม่สำมำรถกล่ำวถึงทุก ประเด็นทำงด้ำนศิลปกรรมได้ ในที่นี้เพื่อเป็นคู่มือประกอบกำรท่องเที่ยว จึงขอแบ่งศิลปะพุกำมออกเป็น ๓ ประเภท ได้แก่ ด้ำนสถำปัตยกรรม ประติมำกรรม และจิตรกรรม

สถาปัตยกรรม วัสดุที่ใช้ในกำรก่อสร้ำงหลักของสถำปัตยกรรมในพุกำมคือ กำรก่ออิฐถือปูน รองลงมำคือ หินและไม้ (มีทั้งส่วนที่เป็นโครงสร้ำงและงำนประดับไม่รวมห้ำงร้ำน ในที่นี้ขอแบ่งออกเป็น ๓ ประเภทคือ)

รูปแบบ สำมำรถแบ่งได้หลำยประเภท ในที่นี้ขอแบ่งตำมกำรใช้สอยของสิ่งก่อสร้ำงได้เป็น ๓ รูปแบบคือ


๑๐

เจดีย์ก่อตัน เป็นเจดีย์ทรงระฆัง ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยชุดฐำนเรียงซ้อนกันสำมชั้นรองรับองค์ระฆัง ที่มุมมัก ประดับด้วยเจดีย์ขนำดเล็กที่โดดเด่นคือ องค์ระฆังมีคำดอก (ลวดลำยรัดตรงกลำงขององค์ระฆัง ) บำงแห่ง มี ลำยเฟื่องอุบะประดับที่ส่วนบนขององค์ระฆัง เช่นเจดีย์ซเวซิกอง และส่วนใหญ่ไม่มีบัลลังก์ ทำเป็นปล้องไฉน ต่อด้วยปัทมบำทและปลี ก่อนที่จะจบด้วยหยำดน้ำค้ำง มีฉัตรครอบทับเป็นยอดสุดท้ำย ในสมัยพุกำมยุคแรก องค์ระฆังจะค่อนข้ำงอ้วนและเตี้ย ปล้องไฉนมีจำนวนน้อยชั้นและแผ่กว้ำงตำม องค์ระฆัง และมีขนำดไม่สูง เช่น พระธำตุซเวซิกองที่สร้ำงในสมัยพระเจ้ำอนิรุทธ์ อำยุรำวพุทธศตวรรษที่ ๑๖ ตอนปลำย ในสมัยสุดท้ำยยังคงแสดงเจดีย์ทรงระฆังตันอ้วนเตี้ยเช่นเดียวกัน เช่น มิงกำลำเจดีย์ หรือมงคลเจดีย์ ที่สร้ำงในสมัยพระเจ้ำนรสีหบดี ซึ่งครองรำชย์ในปี พ.ศ.๑๗๙๘ แต่มีเจดีย์เป็นทรงก่อตันพิเศษที่ต้องกล่ำวถึง คือ เจดีย์ฉปัต (Sapada) มีบัลลัง ก์เหลี่ยมแบบลัง กำ รองรับปล้องไฉนซึ่งจำกตำนำนกำรก่อสร้ำงเจดีย์ไม่น่ำประหลำดใจนัก เพรำะผู้สร้ำงเป็นพระภิกษุ สงฆ์ชื่อ ฉปัต ท่ำนเคยไปบวชเรียนอยู่ที่ลังกำ เมื่อเดินทำงกลับมำที่พุกำมได้นำเอำรูปแบบเจดีย์ลัง กำที่นิยมสร้ำงบัลลัง ก์ เหลี่ยมรองรับปล้องไฉนมำสร้ำงที่พุกำม จึงสรุปได้คร่ำวๆ ว่ำเจดีย์ทรงตันในสมัยพุกำมมีฐำนสำมชั้นซ้อนเรียงแบบขั้นบันได มีองค์ระฆังอ้วน และเตี้ย มีลวดลำยรัดตรงกลำงของระฆังไม่มีบัลลังก์ ปล้องไฉนแผ่กว้ำงตำมรูประฆัง มีปัทมบำทรองรับปลี ครอบด้วยฉัตร เจดีย์แบบก่อตันแบบพุกำมนี้คงได้รับแรงอิทธิพลมำจำก ๓ ส่วนดังนี้ ๑. จำกเจดีย์ก่อตันที่สร้ำงในสมัยก่อนหน้ำที่ศรีเกษตร เช่น เจดีย์บอบอจี ปะยำจี และที่พบในพุกำม เองเช่น บูปะยำ และง๊ะจเวนะตำว ๒. จำกเจดีย์ศิลปะปำละที่นิยมอยู่ในอินเดียภำคเหนือสมัยก่อนพุกำมหลักฐำนที่เห็นชัดคือที่องค์ระฆัง มีคำดอก และมีซุ้มจระนำที่ประดิษฐำนพระพุทธรูปทั้งสี่ทิศ และบังลังก์ ที่ย่อมุม และลดหลั่นซ้อ นชั้น เช่นที่ เจดีย์เสียนเยียตอัมนำ ฯลฯ ๓. จำกศิลปะลังกำมีบัลลังก์รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเหนือองค์ระฆัง เช่น ที่เจดีย์ซิตำนำจี (Sitana Gyi) และ เจดีย์ฉปัต เป็นต้น เจดีย์วิหาร เป็นสถำปัตยกรรมที่โดดเด่นมำกของพุกำม เจดีย์วิหำรนี้พบว่ำมีมำตั้งแต่สมัยปยู (ที่ศรีเกษตร) ได้มำพัฒนำต่อในสมัยพุกำม เป็ นกำรนำเอำรูปแบบเจดีย์ก่อตันมำรวมกับอำคำร ทำให้สำมำรถใช้สอยพื้นที่ ด้ำนในเกี่ยวกับพิธีกรรมได้ เจดีย์ วิหำรนี้มั กมีผั งเป็ นรูปสี่ เหลี่ ยม มีมุข ยื่นออกมำ ในสมัย แรกทำทำงเข้ ำออกด้ำ นเดี ยว เช่น ที่ วิหำรนันปะยำ วิหำรนำกำยน วิหำรอเภยะทะนะ เป็นต้น สมัยต่อมำทำทำงเข้ำออกทั้ ง สี่ด้ำน เช่น ที่วิหำร อนันทเจดีย์ วิหำรสัพพัญญู ฯลฯ ตรงมุมหลังคำมักประดับด้วยเจดีย์เล็กๆ หรือรูปสัตว์ทั้งสี่มุม


๑๑

ที่ระเบียงทำงเดินด้ำนในนิยมเจำะจระนำ แล้วนำพระพุทธรูปสลักหินปำงต่ำงๆ ไปประดิษฐำนไว้ และ ที่ฐ ำนของพระพุ ท ธรูป มั ก สลั ก ภำพเล่ ำ เรื่ อ งพุท ธประวั ติ สอดคล้อ งกั บ ปำงของพระพุ ท ธรู ป เช่ นที่ วิ ห ำร อนันทเจดีย์ วิหำรนำกำยน ฯลฯ เจดีย์วิหำรอำจสร้ำงขึ้นมำด้วยวัตถุประสงค์ที่รวมเอำควำมเชื่อที่ว่ำเจดีย์เป็นตัวแทนของพระพุทธเจ้ำ และอำคำรที่ไว้ใช้สำหรับประกอบพิธีกรรมและทำสมำธิในที่เดียวกัน เจดี ย์ วิ ห ำรอำจสร้ ำ งขึ้ น มำด้ ว ยวั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ ร วมเอำควำมเชื่ อ ที่ ว่ ำ เจดี ย์ ที่ เ ป็ น ตั ว แทนของ พระพุทธเจ้า และอำคำรที่ไว้ใช้สำหรับประกอบพิธีกรรมและทำสมำธิในที่เดียวกัน เจดีย์วิหำรแบบพุกำมมีลักษณะพิเศษคือ ตรงกลำงอำคำรสร้ำงเป็นแกนก่อตันเพื่อรองรับน้ำหนักบน ชั้นหลังคำที่สร้ำงเป็นเจดีย์ที่มีน้ำหนักมำกทับไว้ ถือเป็นควำมฉลำดเลิศของช่ำงที่ออกแบบ ตรงกลำงของห้องคูหำที่รับกับทำงเข้ำออกทั้งสี่มักสร้ำงพระพุทธรูปที่มีทั้งประทับนั่งและประทับยืน ประดับไว้ทั้งสี่ด้ำน หมำยถึง อดีตพระพุทธเจ้ำสี่พระองค์ในยุคภัทรกัลป์ ได้แต่ อดีต พระพุทธเจ้ำกกุสันโธ โกนำคมนะ กัสสปะ และโคตมะ (วิหำรบำงแห่งกำหนดทิศประจำของอดีตพระพุทธเจ้ำแต่ละองค์ไม่ตรงกัน) ทำให้มีลักษณะเปิดเผย สำมำรถมองเห็นพระพุทธเจ้ำได้ทั้ง สี่ทิศโดยรอบ อันแตกต่ำงอย่ำงชัดเจน จำกศำสนสถำนแบบพรำหมณ์ในเขมรที่ถือเรื่องลี้ลับ ปกปิดสำยตำจำกภำยนอก เจดีย์วิหำรนี้มีกำรสร้ำงมำก่อนแล้วที่ศรีเกษตรศิลปะของพวกปยู เช่น เจดีย์วิหำรเลเมียทนำ และเจดีย์ วิหำรแบบมีเสำกลำงนี้ได้ให้อิทธิพลต่อศิลปะพม่ำในสมัยหลังต่อมำ รวมทั้งส่งแนวคิดเข้ำมำในศิลปะไทยด้วย ตัวอย่ำงเช่น เจดีย์รำยที่วัดเจดีย์เจ็ดแถว อ.ศรีสัชนำลัย จ.สุโขทัย เป็นต้น อาคารที่เป็นวิหาร อำคำรประเภทนี้มี แ ผนผั งเป็ นรู ป สี่เ หลี่ย มผืน ผ้ ำก่ อ ผนั ง อิฐ ทึ บทั้ ง สี่ด้ ำ น มี ทำงเข้ ำ ออกด้ำ นเดี ย ว ภำยนอกประดิษฐำนพระพุทธรูปประทับนั่งหรือบำงครั้งทำเป็นพระพุทธรูปนอน ตัวอำคำรมีหลังคำคลุม ที่สันหลังคำมักประดับเจดีย์ขนำดเล็ก ควำมหมำยคือเจดีย์ จุฬำมณี ตัวอย่ำงเช่น วิหำรอุบำลีเถียน หรืออุบำลี เต็ง (Ubali Thien- ควำมหมำยคืออุบำลีสิม ) วิหำรชินบินทัลยวง (Shin Bin Thal Yaung) (ตั้งอยู่ตรงข้ำม เจดีย์ชเวสันดอว์) ที่ภำยในประดิษฐำนพระนอน

ลวดลายประดับสถาปัตยกรรม ลายเฟื่องอุบะแบบพุกาม คือตัวอย่ำงของลวดลำยที่เป็นเอกลักษณ์สมัยรำชธำนีพุกำมได้เด่นชัดที่สุดในบรรดำลวดลำยประดับ ต่ำงๆ ช่ำงนิยมทำเป็นรูปหน้ำกำลเรียงเป็นแถว อ้ำปำกคำยสำยสร้อยลูกประคำหรือไข่มุก (มักมีสองเส้น ) ออกมำ ห้อยตกท้องช้ำงลง แล้ววกกลับไป ที่ปำกหน้ำกำลที่อยู่ถัดไปทำงด้ำนข้ำงซ้ำยขวำ ระหว่ำงท้องของสำย ลูกประคำคั่นด้วยลำยดอกไม้หรือพวงดอกไม้ ฯลฯ


๑๒

ลำยเฟื่องอุบะแบบพุกำม ถ้ำเป็นอำคำรที่ก่อด้วยอิฐ ช่ำงจะปั้นปูนประดับลงไป เช่นที่วิหำรกู่เป้ำจี ถ้ำ เป็นอำคำรที่หุ้มด้วยหินทรำบ ช่ำงจะสลักลำยลงบนเนื้อหิน เช่นที่วิหำรนันปะยำทั้งด้ำนนอกและด้ำนในอำคำร หรือปั้นประดับไว้ที่รอบเจดีย์ ใต้คำดอกที่องค์ระฆัง เช่นที่วัดเสียนเยียตอัมมำบำงครั้งยังพบอีกว่ำช่ำงเขียนด้วย สีปะดับที่ผนังด้ำนในอำคำร เช่นที่วิหำรกู่เป้ำจี มยินกบำ วิหำรธรรมยำงยี ฯลฯ และช่ำงยังนำไปประดับที่ ผ้ำนุ่งบุคคล (ทวำรบำล) ที่สร้ำงไว้ตำมทำงเข้ำออกศำสนสถำน เช่น ที่วิหำรนำกำยน ฯลฯ ลำยเฟื่องอุบะแบบพุกำมนี้ถือเป็นลำยเฉพำะที่ช่ำงนิยมทำอำจเป็นระเบียบของศิลปะพุกำมที่มักใช้ ลำยนี้ประดับตรงส่วนบนของผนัง ซึ่งศัพท์ช่ำงโบรำณเรียกว่ำ ยอดผนัง จึงทำให้พบหลักฐำนมำกมำยจนเป็น เอกลักษณ์ลวดลำยประดับที่สำคัญในศิลปะพุกำม แผ่นดินเผาเคลือบ (Plaque) แบบพุกาม (Glazing Terracotta) เป็นลวดลำยประดับที่ช่ำงสมัยพุกำมนิยมทำประดับไว้ที่เชิงของศำสนสถำน แผ่นดินเผำเคลือบนี้มี วิวัฒนำกำรมำจำกแผ่นดินเผำที่ไม่ได้เคลือบดัง ตัวอย่ำงที่วิหำรเปตเลตตะวันตก และเปตเลตตะวันออก ที่มี หลักฐำนว่ำสร้ำงในสมัยพระเจ้ำอนิรุทธ์ แผ่นดินเผำเคลือบทำจำกดินเหนียว เป็นแผ่นสี่เหลี่ยม ปั้นรูปบุคคลหรือสัตว์แบบนูนต่ำ เล่ำเรื่องชำดก ชำติต่ำงๆ ของพระพุทธเจ้ำ แล้วมีจำรึกบอกเรื่องชำดกเหล่ำนั้นด้วยตัวอักษรมอญโบรำณ อักษรบำลี แล้ว พัฒนำมำใช้อักษรพม่ำในยุคปลำย แล้วนำ “น้ำยำ” ที่มีส่วนผสมของตะกั่ว แร่เงินและซิลิกำปนกันมำทำ เคลือบผิวหน้ำ หลังจำกนั้นนำไปเผำที่อุณหภูมิควำมร้อนประมำณ ๑,๐๐๐ องศำเซนติเกรด จนน้ำยำหลอม ละลำยเคลือบผิวหน้ำแผ่นดินเผำ ทำให้มีสีเขียวแก่ และมีควำมแกร่งกว่ำดินเผำทั่วๆ ไปที่ไ ม่ได้เคลือบ ๓ อัน แสดงให้เห็นถึงเทคโนโลยีที่สูงส่งของช่ำงสมัยพุกำมเมื่อเก้ำร้อยกว่ำปีมำแล้ว ซุ้มเคลค (Clec) หรือเรียกอย่างช่างไทยว่า ซุ้มฝักเพกา ซุ้มฝักเพกำ ศ.ดร.สันติ เล็กสุขุม ได้อธิบำยในหนังสือเรื่อง เจดีย์ไว้ว่ำ “คือลักษณะของซุ้มจระนำของ เจดีย์ทรงปรำสำทบำงแบบในศิลปะหริภุญชัย และศิลปะล้ำนนำ คำศัพท์บ่งเฉพำะแท่งสูง คล้ำยฝักเพกำ ซึ่งตั้ง เรียงแถวที่กรอบนอกของซุ้ม ได้อิทธิพลมำจำกพุกำม” คำว่ ำเคลค (Clec) กอร์ ดอน เฮซ. ลูซ ได้ก ล่ำวว่ำ พบในจำรึกภำษำมอญโบรำณที่ พุกำม และได้ อธิบำยว่ำ หมำยถึงลวดลำยประดับภำยนอกที่โดดเด่นของส่วนบนของวงโค้งของศิลปะพุกำม๔ ที่ไทยเรียกว่ำ ซุ้ม และยังสันนิษฐำนต่อว่ำซุ้มแบบนี้คงเริ่มต้นวิวัฒนำกำรมำจำกเสำโตระนะ (Torana) ของสถูปที่สำญจี ในศิลปะอินเดีย มีวิวัฒนำกำรต่อเนื่องมำ เพื่อแพร่เข้ำมำในพุกำมแรกเริ่มทำด้วยไม้ ประดับที่เหนือประตู

ข้อมูลรำยละเอียดและเทคนิคกำรทำ ได้จำกกำรขอควำมรู้คุณชำญชัย สุพำนิชวรภำชน์ เจ้ำของโครงงำนเครื่องปั้นดินเผำ เถ้ำฮงไถ่ จังหวัดรำชบุรี และเป็นผู้เชี่ยวชำญกำรผลิตเครื่องปั้นดินเผำของประเทศไทย ๔ คงหมำยถึงหน้ำบัน


๑๓

อำคำรที่อยู่อำศัยจริง โดยยกหลักฐำนว่ำมีจำรึกหลักหนึ่งเป็นภำษำมอญ กล่ำวว่ำ “ที่พระตำหนักชื่อ อภิเษก ของพระเข้ำหยันสิต ประกับด้วยซุมเคลค ฯลฯ” กอร์ดอน เฮช. ลูช ยังอธิบำยอีกว่ำ ซุ้มเคลคแบบพุกำมนี้ ในช่วงแรกใบของซุ้มที่อยู่ด้ำนบน (ในศิลปะ ไทยเรียกว่ำ ใบระกำ) เริ่มประดับในแนวนอนก่อน แล้วพัฒนำเป็นแนวตั้งในสมัยหลังต่อมำ ศำสนสถำนที่เก่ำแก่ที่สุดในพุกำมที่ยังเหลือซุ้มเคลคให้ศึกษำคือที่ วิหำรนันปะยำ พบว่ำช่ำงได้ทำใบ เคลคจำกหินทรำยประดับไว้ในส่วนบนของซุ้มหน้ำต่ำงของผนังด้ำนข้ำง ในช่วงแรกใบเคลค หรือฝักเพกำยังมี ลักษณะหนำและสั้น วำงในแนวกึ่งนอนกึ่งตั้ง อำคำรที่พุกำมที่มีใบเคลคตั้งในแนวนิ่ง (ในแนวตั้ง ) เช่นที่วิหำรนำกำยน วิหำรอเภยะทะนะ วิหำร สัพพัญญู วิหำรธรรมยำงยี วิหำรติโลมินโล และวิหำรสุลำมณี ฯลฯ กำรทำซุ้มที่มีฝักเพกำหรือเคลคนี้ถือเป็นรูปแบบเฉพำะของศิลปะพุกำมที่ช่ำงนิยมทำมำกและยังส่ง อิทธิพลให้กับศิลปะอื่นๆ ข้ำงเคียงในสมัยหลังต่อมำ เช่น ที่วัดป่ำสัก อ.เชียงแสน จ.เชียงรำย และเจดีย์รำยที่ วัดเจ็ดแถว อ.ศรีสัชนำลัย จ.สุโขทัย เป็นต้น

ประติมากรรม ในพุ ก ำมได้ พ บหลั ก ฐำนที่ เ ป็ น ประติ ม ำกรรมจ ำนวนมำก ในที่ นี้ ข อยกเพี ย งตั ว อย่ ำ งเดี ย วคื อ พระพุทธรูป ที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณะของพุกำมมำแสดงให้เห็นเท่ำนั้น พุทธศิลป์สมัยพุกาม ในสมัยพุกำมพบว่ำใช้วัสดุทั้งที่เป็นหินสลัก สำริด ปูนปั้น และไม้โดยรวมแล้วมีรูปแบบพุทธศิลป์ที่ คล้ำยกันดังนี้ พระพุทธรูปมีอุษณีษะ (กระโหลกศีรษะสองชั้น) ตำมแบบอย่ำงพระพุทธรูปทั่วไป เหนืออุษณีษะทำ เป็นรูปบัวตูมหรือหยำดน้ำค้ำงปมพระเกศำมีขนำดใหญ่ เส้นพระเกศำม้วนเป็นก้นหอย ไม่มีไรพระศกที่พระ นลำฏ พระพักตร์ส่วนบนด้ำนพระนลำฏกว้ำงออกเป็นเหลี่ยม ส่วนล่ำงด้ำนพระชำนุแหลม พระขนงต่อกันเป็น ปีกกำ พระนำสิกแหลมงุ้มที่ปลำยประโอษฐ์บนเป็นรูปกระจับพระโอษฐ์ล่ำงห้อยเหมือนท้องกระจับ พระกรรณ ยำวเกือบจรดพระอังสำพระศอเป็นปล้อง (สำมปล้อง) มีเส้นแบ่งปล้องชัดเจนมำก ครองจีวรห่มคลุม บำงรูปทำจีวรห่มเฉียงแต่ยังมีเส้นห่มคลุมที่พระศออยู่ ชำยสังฆำฏิ (บำงท่ำนเรียก ชำยจีวร) บำงครั้งห้อยพำดผ่ำนพระอังสำ พระอุระลงมำเกือบถึงพระนำภี ที่ปลำยทำพับซ้อนขดโค้งเหมือ น เขี้ยวตะขำบ พระอังสำผำยออก พระอุระตั้ง พระวรกำยคอด บั้นพระองค์ (เอว) คอดกิ่ว สระโสณี (สะโพก) ผำยออก พระนำภียื่นออกเล็กน้อย ถ้ำเป็นพระพุทธรูปประทับยืน พระอุรุ หรือ อัสสุชล (ต้นขำ) อวบอ้วนแล้วเรียวลงที่พระชงฆ์ ขอบบน ของผ้ำสบงเป็นเส้นเดี่ยวโค้งแนบตำมพระนำภีไม่มีชำยขอบหน้ำนำงเหมือนพระพุทธรูปศิลปะขอม ทำให้มอง จีวรที่แสดงควำมรู้สึกเบำบำงแนบพระวรกำย บำงครั้งทำท่ำยืนในแบบตริภังค์ บำงครั้งยืนแบบตรง ชำยจีวรที่


๑๔

ข้อพระบำทมีสองชั้นเป็นเส้นตรง แต่ชำยจีวรที่ห้อยอยู่ด้ำนข้ำงข้อพระบำททั้งสองข้ำงทำขดโค้งเข้ำออกไปมำ แสดงชำยผ้ำที่พับซ้อนกันคล้ำยเขี้ยวตะขำบ ชำยจีวรส่วนบนคลุมถึงข้อพระหัตถ์ทั้งสองข้ำง พระพุทธรูปประทับยืนมักทำปำงประธำนอภัยหรือปำงประทำนพรที่พระหัตถ์ขวำ ส่วนพระหัตถ์ซ้ำย รวบจีวรไว้ ถ้ำเป็นประพุทธรูปประทับนั่ง ช่ำงทำขัดสมำธิเพชรเสมอ ประทับนั่งเหนือบัลลังก์ที่เป็นบัวคว่ำและ บัวหงำย บำงครั้งพบชำยผ้ำทิพย์ยื่นออกมำแต่บำงครั้งไม่พบ พระพุทธรูปประทับนั่งมักทำปำงมำรวิชัย ปฐมเทศนำ ปำงสมำธิ ฯลฯ แต่ที่นิยมมำกที่สุดคือปำงมำร วิชัย ซ่ำงแสดงออกสมจริงตำมพระคัมภีร์ที่ยื่นพระหัตถ์ขวำลงแตะธรณีตรงด้ำนหน้ำให้เห็นชัดเจน (ไม่ยื่นออก ข้ำงแตะที่เข่ำ) พระพุทธรูปประทับนั่งปำงมำรวิชัยแบบพุกำมนี้ได้ให้อิทธิพลกับพระพุทธรูปประทับนั่งปำงมำร วิชัยแบบเชียงแสนสิ่งหนึ่งที่พบในศิลปะล้ำนนำหลำยองค์ องค์ประกอบอื่นๆ แม้ว่ำเป็นประติ มำกรรมลอยตัว แต่นิยมท ำประภำมณฑล (แผ่นหลัง ) รองรั บ ด้ำนหลัง ครึ่งบนชองพระวรกำยบำงครั้งทำเป็นซุ้มลำยเปลวไฟ พระพุทธรูปประทับยืนบำงครั้งมีบุคคลถือร่มฉัตรกำงเหนือพระเศียร (พระอินทร์หรือพระพรหม) ถ้ำ เป็นตอนเสด็จลงจำกดำวดึงส์ พระพุทธรูปประทับนั่ง เบื้องหลังพระเศียรบำงครั้งช่ำงแสดงรูปต้ นพระศรีมหำโพธิ์ บำงครั้งแสดงรูป พระพุทธรูปขนำดเล็กอยู่เบื้องหลัง ในอิริยำบถต่ำงๆ ที่เรียกว่ำพระพุทธรูปแปดปำง พระพุทธรูปแบบพุกำมนี้ พบที่วิหำรนำกำยนเป็นกลุ่มใหญ่ ฯลฯ จัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑสถำนแห่งชำติพุกำม บนชั้นที่สอง ปีกทิศเหนือ

จิตรกรรมฝาผนัง ที่พุกำมพบว่ำช่ำงได้เขียนจิตรกรรมฝำผนังไว้ตำมผนังด้ำนในของเจดีย์วอหำรและวิหำรมำกมำย และ หลำยแห่งยังหลงเหลือในสภำพที่ค่อนข้ำงสมบูรณ์ (อำจเนื่องมำจำกกำรอนุรักษ์ หรืออำจเนื่องมำจำกสภำพ อำกำศของพุกำมที่ค่อนข้ำงแห้งไม่มีควำมชื้น ) เมื่อตรวจสอบแล้วพบว่ำมีอำยุเกือบ ๙๐๐ ปีมำแล้ว (พุทธ ศตวรรษที่ ๑๖-๑๘) ที่เก่ำแก่ที่สุดที่มีหลักกำรกำหนดอำยุที่เชื่อถือได้คือที่ วิหำรกู่เป้ำจี มยินกบำ (สร้ำงในสมัย พระเจ้ำกยันสิต ต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๗) เรื่องที่เขียนเป็นเรื่องพระพุทธประวัติบำงตอน และชำดกเรื่องต่ำงๆ (ในคัมภีร์กล่ำวไว้ว่ำมี ๕๕๐ ชำติ) แต่ที่พิเศษกว่ำที่อื่นๆ คือ ถ้ำเป็นเรื่องชำดกมักจะเขียนตัวหนังสือกำกับเรื่องชำดกนั้นๆ (เป็นภำษำมอญโบรำณ ภำษำบำลี และภำษำพม่ำโบรำณ) ไว้ที่ด้ำนล่ำงของจิตรกรรมเสมอ เช่นที่วิหำรกู่เป้ำจี มยินกบำ วิหำรโลกะเตค ปำน ฯลฯ สีที่ใช้วาด พบว่ำจิตรกรรมฝำผนังสมัยพุกำมนี้ช่ำงใช้สีที่ทำจำก ดินเทศ สีต่ำงๆ พืช สำรธรรมชำติ ฯลฯ ส่วน ใหญ่มักจะออกโทนเหลือง แดง น้ำตำล และดำเป็นหลัก มีเขียวและฟ้ำบ้ำงประปรำย และเลือกสีวำดเป็นโทน เดียวกัน


๑๕

ลักษณะของภาพ ช่ำงใช้วิธีระบำยสีเรียบตัดเส้นที่ขอบคม ทำให้ภำพเกิดมิติ ที่แบนมีแต่ควำมกว้ำงและยำว ไม่เ กิดภำพ เชิงลึกที่เรียกว่ำ ทัศนียวิสัย ซึ่งเป็นเทคนิคที่พบในภำพจิตรกรรมในระยะแรกของภูมิภำคนี้ และยังพบว่ำช่ำง เขียนภำพเหตุกำรณ์เดียวจบในกรอบสี่เหลี่ยม (หมำยถึงมีฉำกเดียวในกรอบหนึ่ง ไม่มีกำรเขียนหลำยฉำกใน หนึ่ง กรอบเหมือนในสมัยหลั ง ) ซึ่งวิธีนี้อำจเกิดจำกแนวควำมคิดที่ว่ำ เรื่องที่วำดส่วนใหญ่เป็นเรื่องอดีตของ พระพุทธเจ้ำ พุทธประวัติ ชำดก เทวดำ บุคคลที่มีควำมสำคัญทำงศำสนำซึ่ง เป็นเรื่องในอุดมคติไ ม่ใช่เรื่อง สัจจนิยม (เรื่องที่เกิดขึ้นจริง) จิตรกรรมสมัยพุก ำมเรำยังพบอีกว่ ำ บุค คลที่ส ำคั ญ ที่สุดในภำพ (พระพุทธเจ้ำ อดีตพระพุท ธเจ้ ำ พระโพธิสัตว์) ช่ำงจะวำดตำแหน่งตรงกึ่งกลำงของภำพ ทำสัดส่วนของร่ำงกำยให้มีขนำดใหญ่กว่ำบุคคลอื่นๆ และบำงครั้งจะให้สีที่แปลกออกไปจำกโทนของภำพรวม เพื่อเน้นในบุคคลสำคัญที่สุดในภำพโดดเด่นออกมำอีก ทำงหนึ่ง ในส่วนแนวคิดแบบสัจจนิยมพบว่ำมีกำรวำดอยู่ในพุกำมเหมือนแต่เป็นงำนสมัยหลังศิลปะพุกำมมำก แล้ว โดยเฉพำะตรวจสอบได้ว่ำมีอิทธิพลของตะวันตก (ฝรั่ง ) เข้ำมำแล้ว เช่น วิหำรอนันทออกจอง อยู่ใกล้ กับอนันทเจดีย์ ในภำพที่วิหำรดังกล่ำวเรำจึง ได้พบกำรแรเงำกำรแสดงภำพทำงลึก ทำงรูปอำคำรมีมิติ ใน ลักษณะที่เรียกว่ำ Perspective อยู่ด้วย ต้าแหน่งที่วาดจิตรกรรมฝาผนังสมัยพุกาม พบว่ ำ ช่ำ งมั ก เลื อ กใช้ อ ำคำรที่ เ ป็ นเจดี ย์วิ ห ำรหรื อ วิ ห ำรที่ มี ผนั ง ก่ อ อิฐ ฉำบปูน เรี ยบเพื่ อ วำดภำพ ตำแหน่งที่ใช้วำดคือ ผนังหลังพระประธำนผนังด้ำนขวำมือ และด้ำนซ้ำยมือของพระประธำน บำงอำคำรที่มี พื้นที่ด้ำนตรงกันข้ำมกับพระประธำนพบว่ำมีกำรวำดภำพด้วย ผนังที่รำยล้อมพระประธำนนี้พบว่ำมักวำดเรื่อง พุทธประวัติเป็นส่วนใหญ่ เช่นที่วิหำรโลกะเตคปำน แต่ถ้ำเป็นอำคำรที่มีระเบียงทำงเดินล้อมรอบที่ตั้งพระประธำนหรือศูนย์กลำงของอำคำรของอำคำร พบว่ำช่ำงมักวำดเรื่องชำดกชำติต่ำงๆ เช่นที่วิหำรกู่เป้ำจี มยินกบำ ประติมานวิทยาในจิตรกรรมฝาผนังที่พุกาม เรำพบว่ำประติมำนวิทยำของจิตรกรรมฝำผนังที่สมัยพุกำม มักวำดเป็นเรื่อง พุทธประวัติตอนต่างๆ ตอนที่พบมำกคือ ประสูติ , เสด็จออกมหำภิเนษกรมณ์ (ออกบวช) , ปลงพระเกศำ , มำรผจญ , ปฐม เทศนำ , ทรมำนช้ำงนำฬำคีรี , ประทับที่ป่ำเลไลยกะ , แสดงมหำปำฏิหำริย์ที่เมืองสำวัตถี , เสด็จขึ้นไปโปรด พุทธมำรดำบนสวรรค์ชั้นดำวดึงส์และเสด็จกลับลงมำ , ปรินิพพำน


๑๖

ชาดก นิยมวำดภำพชำดก ๕๕๐ ชำติ (นิบำตชำดก) และพบว่ำ ๑๐ ชำติสุดท้ำย (ทศชำติ) จะพบเห็นได้บ่อย ภำพชำดกเหล่ำนี้จะวำดเพียงฉำกเดียวในแต่ละเรื่อง แต่ที่พิเศษคือ มักมีจำรึกหรือกำรเขียนบอกชื่อเรื่องชำดก กำกับอยู่ (เป็นภำษำมอญ ภำษำบำลี และภำษำพม่ำ ฯลฯ) อดีตพระพุทธเจ้า นิยมวำดอดีตพระพุทธเจ้ำในกัลป์ต่ำงๆ ตำมพระคัมภีร์ กัลป์ที่นิยมมำกคือ อสุญญกัลป์ ที่กล่ำวถึงอดีต พระพุทธเจ้ำ ๒๘ พระองค์ เริ่มตั้งแต่พระพุทธเจ้ำ ,ตัณหังกโร ,เมธังกโร ,สรณังกโร และ ทีปังกโร ที่เริ่มตั้งพุทธ ทำนำยให้กับ สุเมธดำบส ว่ำจะได้เป็นพระพุทธเจ้ำในอนำคต เรื่อยลงไปจนถึงสี่อดีตพระพุทธเข้ำในยุคภัทรกัลป์ ได้แก่ อดีตพระพุทธเจ้ำกกุสันโธ ,โกนำคมนะ , กัสสปะ ,โคตมะ ๕ และอนำคตพระพุทธเจ้ำ ศรีอำริยเมตไตรย และยัง พบว่ำนิยมวำดรูปอดีตพระพุทธเจ้ ำ มำกมำยเต็มไปทั่วเพดำนและผนังที่มีที่ว่ำง รูปบุคคลที่อาจเป็นพระโพธิสัตว์หรือเทวดาในนิกายมหายาน ยืนขนำบรูปพระพุทธเจ้ำองค์ปัจจุบัน หรือตำมประตูทำงเข้ำออก หรือกำลังทำกิริยำกอดเกี่ยวกับสตรี ตำมลัทธิตันตระ ฯลฯ และยังพบว่ำวำดเป็นรูปบุคคลอำจทำหน้ำที่เป็นทวำรบำลตำมทำงเข้ำออกศำสนสถำน อีกด้วย รูปวิทยาธร อมนุษย์ และรูปสัตว์ พบว่ำช่ำงสมัยพุกำมนิยมวำดรูปวิทยำธร ครึ่งคนครึ่งสัตว์ตำมคัมภีร์ เขำพระสุเมรุ ศูนย์กลำงจักรวำล รูปสัตว์ที่มีอำนำจเหนือสัตว์อื่นๆ เช่น ช้ำง ม้ำ สิงห์ ฯลฯ

ศรีศำกยมุนี เรียก แบบมหำยำน


๑๗

โบราณสถานในพุกาม เหตุที่โบรำณสถำนในเมืองพุกำมยังหลงเหลืออยู่มำก อำจเนื่องจำกเหตุผลหลำยประกำรเช่น ๑. อำกำศที่แห่งแล้งของพุกำมมีส่วนในกำรรักษำสภำพโบรำณสถำนของพุกำมไว้ได้ดีกว่ำอำกำศที่ชื้น แบบของไทย ๒. คนพม่ำดูแลและหวงแหนโบรำณสถำนที่เปรียบเสมือนตัวแทนของพระพุทธเจ้ำไว้อย่ำงดี ๓. รั ฐ บำลของพม่ ำ เอำจริ ง กั บ บุ ค คลที่ บุ ก รุ ก และท ำลำยโบรำณสถำน กำรบุ ก รุ ก และท ำลำย โบรำณสถำนจึงเกิดขึ้นน้อยกว่ำในเมืองไทย ฯลฯ ในพื้นที่ที่มีโบรำณสถำนตั้งอยู่มีเนื้อที่รำว ๑๐๐ ตำรำงกิโลเมตร โบรำณสถำนตั้งกระจำยตัวกันอยู่ใน ที่นี้ขอแบ่งกลุ่มได้ประมำณ ๑๑ กลุ่มดังนี้ ๑. กลุ่ ม ที่ เ ป็ น ถ้ า วิ ห าร ที่ สร้ ำ งเลี ย นแบบถ้ ำธรรมชำติ ตั้ ง อยู่ ท ำงทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ และ ตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองยวงอู ที่สำคัญได้แก่ วัดเจ้ำกูอูมิน (Kyauku Umin) วัดมยัตทำ อูมิน (Hmyatha Umin) ฯลฯ ๒. กลุ่มยวงอู ที่ตั้งอยู่ใกล้ๆ เมืองยวงอู (Nyaung-U) ได้แก่ เจดีย์ฉปัต (Sapada) พระธำตุชเวซิกอง (Shwezigon) วิหำรกยันสิตอูมิน (Kyansitha) ฯลฯ ๓. กลุ่มที่อยู่มาทางตะวันตกเฉียงใต้ของเมืองยวงอู เล็กน้อย ได้แก่ วิหำรติโลมินโล (Htilominlo) วิหำรอุบำลีเต็ง (Ubali Thien) ฯลฯ ๔. กลุ่มที่อยู่ทางทิศตะวันออกของพุกามเมืองเก่า ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีควำมสำคัญที่สุดได้แก่ วิหำรอนันท เจดีย์ (Ananda Zedi) เจดีย์ชเวสันดอร์ (Shwesandaw) วิหำรโลกะเตคปำน (Loka Taik Pan) วิหำรธรรม ยำงยี (Dhammayangyi) วิหำรสุลำมณี (Sula Mani) ฯลฯ ๕. เจดีย์วิหารในเมืองเก่าพุกาม เช่น วิหำรสัพพัญญู (Thatpyinnyu) วิหำรปะโตตำเมียะ (Pah To Tha Mya) วิหำรมหำโพธิ์ (Maha Bodhi) เจดีย์ง๊ะจเวนะตำวน์ (Nga Kywe Na Daung) วิหำรนัตลองจอง (Nath Luang Kyaung) เจดีย์บูปะยำ (Bupaya) ประตูตำรำบะ (Tharaba Gate) ฯลฯ ๖. กลุ่มที่อยู่ทางทิศใต้ของเมืองพุกามเก่า ได้แก่ มิงกำลำเจดีย์ (Mingala Zedi) ฯลฯ


๑๘

๗. กลุ่มหมู่บ้านมยินกบา (Myinkaba) อยู่ทำงใต้ของพุกำมเมืองเก่ำ ห่ำงประมำณ ๔-๕ กิโลเมตร ได้แก่ วิหำรกู่เป้ำจี (Gu Byauk Gyi) มะยะเจดีย์ (Mya Zedi) วิหำรนูหะ (Manuha) ๘. กลุ่ ม ทิ ริ ปิ ตสยา (Thiripyitsaya) อยู่ท ำงใต้ ข องหมู่ บ้ ำ นมยิ น กบำและเหนื อ เมื อ งพุ ก ำมใหม่ เล็กน้อย ได้แก่กลุ่มเจดีย์ก่อตันสี่หลงเรียงกัน เจดีย์และวิหำรเสียนเยียดยีมำและอัมมำ (Seinyetn-Yima and Ama) ฯลฯ ๙. กลุ่ม พุกามใหม่ (New Bagan) ได้แก่ โลกะนั นทะ (Loka Nanda) เปตเลคตะวั นตกและ ตะวันออก (Hpet Leik Ashe and Anauk) เจดีย์ซิตำนำจี (Sitana Gyi) ฯลฯ ๑๐. กลุ่มหมู่บ้านพวาสอว์ (Pwasaw) ได้แก่ เจดีย์ธรรมยะสิกะ (Dhammayazika) ฯลฯ ๑๑. กลุ่มหมู่บ้านมินันถู (Minnanthu) ได้แก่ วิหำรปะยำตองสู (Payathonzu) วิหำรธรรมพูลละ (Dhambula) วิหำรนันทะปยินยะ (Nanda Pyinya) ฯลฯ


๑๙

๑. บูปะยา เซดี (Bu Hpaya Zedi) พุทธศตวรรษที่: ๑๔ รูปแบบ: เจดีย์ทรงน้ำเต้ำ หรือเจดีย์ทรงลูกแก้ว ผู้สร้าง: ไม่ปรำกฏ (สันนิษฐำนว่ำสร้ำงขึ้นในสมัยพระเจ้ำปยู ซอว์จี) ที่ตัง: ริมแม่น้ำอิรวดี ตรงหัวมุมกำแพงเมือง ลักษณะทางสถาปัตยกรรม “เจดีย์บูปะยำ” ตั้งอยู่ทำงทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมุมกำแพงเมืองติดกับแม่น้ำอิร วดีลักษณะทำง สถำปัตยกรรมของเจดีย์เป็น “เจดีย์ทรงน้ำเต้ำ (บูตีโป่ง)” หรือ “เจดีย์ทรงลูกแก้ว (ผ่ำน ตี โป่ง)” มีรูปทรงที่ ใกล้เคียงกับเจดีย์แบบเดิมในวัฒนธรรมพยูที่พบในเมืองศรีเกษตร เช่น เจดีย์บอบอจี (Bawbaw Gyi) และเจดีย์ พญำจี (Phaya Gyi) จึงถือว่ำเป็นตัวอย่ำงเจดีย์ที่เก่ำแก่ที่สุดของพุกำมเท่ำที่ยังหลงเหลืออยู่ องค์เจดีย์สร้ำงอยู่ บนฐำนไพทียกสูงประมำณ ๑ เมตร ประกอบด้วยใบเสมำลำยเมฆซึ่งถูกบูรณะในชั้นหลัง ฐำนของเจดีย์เป็นฐำน บัวคว่ำ และลูกแก้วต่อขึ้นไปเป็นองค์ระฆังทรงน้ำเต้ำ

๒. งะเจว-นาเดาง์ เซดี (Nga Kywe Na Daung Zedi) พุทธประวัติที่: ๑๔ รูปแบบ: เจดีย์ทรงน้ำเต้ำ หรือเจดีย์ทรงลูกแก้ว ผูส้ ร้าง: ไม่ปรำกฏ (สันนิษฐำนว่ำสร้ำงขึ้นในสมัยพระเจ้ำปินพิว) ที่ตัง: ในกำแพงเมือง ทำงตะวันตกของตัดปินญุ กูพญำ ลักษณะทางสถาปัตยกรรม “เจดีย์งะเจว-นำเดำง์” เป็นเจดีย์ทรงน้ำเต้ำซึ่งเป็นรูปทรงที่เก่ำแก่โครงสร้ำงเจดีย์ก่ออิฐภำยในกลวง บนผิวนอกตกแต่งด้วยอิฐเคลือบสีเขียวเช่นเดียวกับกำแพงเมืองพยู ดังกล่ำวถึงไว้ในเอกสำรจีน แสดงว่ำกำร ตกแต่งสถำปัตยกรรมในช่วงต้นของกำรสถำปนำอำณำจักรพุกำมยังมีกำรตกแต่งผิวของอำคำรด้วยอิฐเคลือบ แทนกำรฉำบปูนเช่นเดียวกับพยู นอกจำกนี้ กำรตกแต่งดังกล่ำวยังแสดงควำมเชื่อมโยงกับกำรตกแต่งอำคำรใน เอเชียกลำงที่นิยมใช้อิฐเคลือบกรุบนผิวนอกอำคำรอีกด้วย ในปีพ.ศ. ๒๕๑๘ เกิดแผ่นดินไหวทำให้องค์ระฆังของเจดีย์ร้ำวจนต้องอนุรักษ์ด้วยกำรใช้เหล็กเส้นคำด ไว้เป็นเข็มขัดเพื่อป้องกันไม่ให้พังทลำย สำหรับยอดเจดีย์ในปัจจุบันได้รับกำรบุรณะใหม่เป็นยอดก่ออิฐทรง กรวยซึ่งทำลำยจินตนำกำรของกำรศึกษำลงโดยสิ้นเชิง อีกทั้งยังส่งผลกระทบต่อโครงสร้ำงก่ ออิฐขององค์ระฆัง โดยตรง


๒๐

๓. นัต เหล่าง์ เจาง์ (NAT HLUANG KYAUNG ) พุทธศตวรรษที่: ๑๖ รูปแบบ: กู่พญำที่มีแกนกลำงรับน้ำหนักและมีทำงเดินรอบห้องบูชำ ลักษณะเรือนยอด: เรือนยอดทรงศิขร ผู้สร้าง: ไม่ปรำกฏ ที่ตัง: ในกำแพงเมือง ตั้งอยู่ทำงตะวันตกของตัตปินญุ กู่พญำ ประวัติความเป็นมา “นัต เหล่ำง์ เจำง์” หมำยควำมว่ำ “ที่ประทับของเทวดำ” เป็นเทวำลัยในศำสนำพรำหมณ์ฮินดูลัทธิ ไวษณพนิกำยที่นับถือพระนำรำยณ์เป็นใหญ่ ตั้งอยู่ภำยในกำแพงเมืองพุกำมอยู่ระหว่ำงตัตปินญุ กู่พญำ กับ พะโธตำเมี๊ย กู่พญำ ไม่ไกลจำกที่ตั้งของพระรำชวังมำกนักจึงสันนิษฐำนว่ำคงมีควำมสำคัญในแง่ของกำรเป็นที่ ประกอบพิธีกรรมทำงศำสนำแบบพรำหมณ์ฮินดูของกษัตริย์ด้วย ศำสตรำจำรย์ G.H. LOCE ให้ข้อสังเกตว่ำนัต เหล่ำง์ เจำง์ เป็นหลักฐำนที่สำมำรถเชื่อมโยงกับกำรนับ ถือศำสนำพรำหมณ์ฮินดูในลัทธิไวษณพนิกำยของพยูและมอญที่รับมำจำกทำงตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย ในแถบแคว้นพิหำรและเบงกอล จึงสันนิษฐำนว่ำสร้ำงขึ้นมำตั้งแต่ก่อนสมัยกำรสถำปนำอำณำจักรพุกำมในสมัย พระเจ้ำอโนยะธำ ลักษณะทางสถาปัตยกรรม นัต เหล่ำง์ เจำง์ เป็นกู่พญำที่มีแกนกลำงรั บน้ำหลักและมีอุโมงค์ทำงเดิน รอบแกนกลำง ด้ำนหน้ำ อำคำรมีฐำนไพทีซึ่งสันนิษฐำนว่ำเคยเป็นห้องโถงประกอบพิธีกรรม แต่ถูกรื้อลงเพื่อนำอิฐไปสร้ำงกำแพงเมือง เมื่อครำวที่มองโกลรุกรำน หรืออำจเคยเป็นอำคำรโถงโครงสร้ำงไม้ จึงผุพังเหลือเพียงแค่ส่วนฐำนอำคำรเท่ำนั้น เมื่ อ เข้ ำ ไปในอำคำรจะเห็ น ว่ ำ บนแกนรั บ น้ ำหนั ก ด้ ำ นทิ ศ ตะวั น ออกเจำะเป็ น ซุ้ ม ลึ ก เข้ ำ ไปเพื่ อ ประดิษฐำนเทวรูปพระนำรำยณ์ แกนกลำงอีกสำมด้ำนทำเป็นซุ้มจระนำตื้นๆเพื่อประดิษฐำนรูปพระนำรำยณ์ เช่นกัน รูปเคำรพต่ำงๆเป็นประติมำกรรมหินสลัก และใช้โกลนอิฐแล้วปั้นปูนประดับ เป็นรูปพระนำรำยณ์ใน อิริยำบถต่ำงๆ เช่ น ทรงครุฑ ประทับยืน ถืออำวุธประจำตัว และอวตำรต่ำงๆ เช่ น พระกฤษณะ พระรำม พรำหมณ์เตี้ยวำมน เป็นต้น ปัจจุบันประติมำกรรมต่ำงๆ เหล่ำนี้ถูกนำไปจัดแสดงไว้ในพิพิธภัณฑ์เมืองพุกำม และจำลองของใหม่มำติดตั้งไว้แทน


๒๑

๔. ประตูตะระบา (THARABA GATE) และกาแพงเมือง พุทธศตวรรษที่: ต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๗ รูปแบบ: ประตูเมือง ผู้สร้าง: พระเจ้ำจันสิตตำ (ครองรำชย์ระหว่ำงปี พ.ศ.๑๖๒๗-๑๖๕๖) ที่ตัง: กำแพงเมืองทำงทิศตะวันออก ประวัติความเป็นมา “ประตูตะระบำ” หรือ “ประตูสรภำ” สันนิษฐำนว่ำมำจำกคำว่ำ “ธูรภำ (DURBAR)” ที่แปลว่ำ”ประตู เมือง” ดังทีพบใช้เรียกประตูเข้ำเมือง หรือทำงเข้ำจัตุรัสประจำเมืองต่ำงๆในเนปำล แต่ G.H.LUCE ให้ข้อ สันนิษฐำนว่ำ มำจำกภำษำสันสกฤตว่ำ “สรรว” หรือ”สรรพ” (SARVA)ที่แปลว่ำ “ทั้งหมด” สันนิษฐำนว่ำกำแพงเมืองและประตูเมืองพุกำมถูกสร้ำงครั้งแรกในปีพ .ศ.๑๓๙๒ ในสมัยของพระเจ้ำ ปินพยู ต่อมำพระเจ้ำจันสิตตำให้บูรณะใหม่ในปีพ .ศ.๑๖๔๕-๑๖๔๖ ดัง กล่ำวถึง ในจำรึกประตูตะระบำ คงมี สำเหตุมำจำกว่ำพระองค์กษัตริย์เป็นนักรบ กอปรกับเหตุกำรณ์กบฏงะรำมันที่ทำให้พระเจ้ำซอลูต้องสวรรคต ทำให้พระองค์ตระหนักถึงควำมสำคัญของกำแพงและประตูเมืองที่แข็งแรง ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ประตูตะระบำเป็นประตูที่เหลืออยู่เพียงประตูเดียวอยู่ทำงทิศตะวันตกเนื่องจำกกำแพงเมืองและ คูเมืองด้ำนอื่นได้ถูกทำลำยลงจนหมดสิ้น ปรำกำรของเมืองพุกำมประกอบด้วยคูน้ำกว้ำงประมำณ๖๐ เมตร ถัด เข้ำ ไปเป็น กำแพงเมือ งก่ ออิฐ มี ควำมหนำประมำณ๕ เมตร สู ง ประมำณ๘ เมตร ช่ องเปิด ของประตูก ว้ำ ง ประมำณ ๔.๕ เมตร หำกประตูเมืองมีสภำพสมบูรณ์จะเป็นซุ้มประตูก่ออิฐแบบซุ้มโค้ง เช่นเดียวกับซุ้มประตู ทำงเข้ำวัดนำกำโยว์ ซึ่งสร้ำงในสมัยพระเจ้ำจันสิตตำเช่นกัน แต่ทว่ำซุ้มประตูเมืองมีขนำดใหญ่กว่ำ หน้ำประตูมี ซุ้มก่ออิฐ๒ ซุ้ม ประดิษฐำนรูปเคำรพนัตสองพี่น้อง ทำงขำว คือ”หะนำมำดอ (HNAMA DAW)” ผู้เป็นน้องสำว ทำงซ้ำยคือ”มัง ดอ (MAUNG DAW)” ผู้เป็นพี่ชำย


๒๒

๕. ปิตกั กะไต้ก์ (PITIKAT TAIK) พุทธศตวรรษที่: ปลำยพุทธศตวรรษที่ ๑๖ (หลังปีพ.ศ.๑๕๙๙) รูปแบบ: ห้องบูชำภำยในเป็นห้องโถงและมีทำงเดินรอบห้องบูชำ ผู้สร้าง: พระเจ้ำอโนยะธำ (ครองรำชย์ระหว่ำง พ.ศ. ๑๕๘๗-๑๖๒๐) ที่ตัง: ทำงเหนือของตัตปินญุ กู่พญำ ประวัติความเป็นมา ในศำสนวงศ์ ก ล่ ำ วว่ ำ ในปี พ.ศ. ๑๕๙๙ พระเจ้ ำ อโนยะธำได้ เ ข้ ำ โจมตี เ มื อ งถะทนแล้ ว อั ญ เชิ ญ พระไตรปิฎกจำนวน ๓๐ ผูกมำประดิษฐำนใน “ปรำสำทแก้ว” แห่งเมืองพุกำมเพื่อให้พระภิกษุใช้เล่ำเรียนกัน ปรำสำทแก้วดังกล่ำวจึงหมำยถึง “หอไตรปิฎก” หรือ “ปิตักกะไต้ก์” นั่นเอง ในกำรก่อ สร้ำ งอำคำรสำหรับประดิ ษฐำนพระไตรปิฎ กมีสิ่ ง ต้อ งคำนึง ถึ ง หลำยประกำร เช่น ต้อ ง สำมำรถป้องกันอันตรำยทีจะทำให้ใบลำนที่จำรพระไตรปิฎกเสียหำย เช่น น้ำฝน แสงแดด แมลง และไฟ เป็น ต้ น อี ก ทั้ ง อำคำรต้ อ งมี ฐ ำนำนุ ศั ก ดิ์ สู ง ควรคู่ กั บ กำรประดิ ษ ฐำนพระไตรปิ ฎ กซึ่ ง เป็ น องค์ ป ระกอบของ พระรัตนตรัย เหตุนี้อำคำรที่มีเรือนยอดซ้อนชั้น หรืออำคำรทรงปรำสำทจึงถูกเลือกมำใช้ในกำรก่อสร้ำง

๖. มนูหะ กู่พญา (MA NU HA GU HPAYA) พุทธศตวรรษที่ : หลังปี พ.ศ.๑๕๙๙ ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๗ รูปแบบ: กู่พญำที่ห้องบูชำตรงกลำงเป็นห้องโถง ลักษณะเรือนยอด: เรือนยอกทรงศิขร ผู้สร้าง: พระเจ้ำมนูฮำ ที่ตัง: หมู่บ้ำนมิน-กบำ ติดกับนันพญำ กู่พญำ ประวัติความเป็นมา “มนูหะ กู่พญำ” ตั้งอยู่ที่หมูบ้ำนมิน-กบำ ทำงตอนใต้ของเมืองพุกำม อยู่ห่ำงจำกนันปะยำ กู่พญำ ไป ทำงทิศตะวันออกเฉียงเหนือเพียงเล็กน้อย จำกพงศำวดำรที่ระบุช่วงเวลำกำรไปตีเมืองสะเทิมของพระเจ้ำ อโนยะธำทำให้สำมำรถกำหนดอำยุของมนูหะ กู่พญำว่ำสร้ำงขึ้นหลังจำกปี พ.ศ. ๑๕๙๙ ภำยในอำคำรประดิษฐำนพระประธำนปำงมำรวิชัยขนำดใหญ่ ๓ องค์ และปำงปรินิพพำน ๑ องค์ ด้วย ขนำดของพระพุทธรูปที่ใหญ่โตจนเต็มอำคำรจึงมีตำนำนเล่ำว่ำพระเจ้ำมนูฮำได้สะท้อนควำมอึดอันคับแค้น พระทัยในกำรต้องตกเป็นเชลยด้วยกำรสร้ำงพระประธำนองค์ใหญ่คับอำคำร เพื่อสร้ำงบุญ กุศลนำพำข้ำม สังสำรวัฏไป ดังกล่ำวว่ำ “หำกว่ำข้ำมพ้นจำกสังสำรวัฏไปได้แล้ว ก็จะไม่มีผู้ใดมำทำให้ปรำชัยได้อีก”


๒๓

๗. นันปะยา กู่พญา (NAN HPAYA GU HPAYA) พุทธศตวรรษที่: หลังปีพ.ศ. ๑๕๙๙ ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๗ รูปแบบ: กู่พญำทีมีเสำรับน้ำหนักและมีทำงเดินรอบ ลักษณะเรือนยอด : เรือนยอดทรงศิขร ผู้สร้าง: พระเจ้ำมนูหะ ที่ตัง: หมู่บ้ำนมิน- กบำ ติดกับมนูหะ กู่พญำ ประวัติความเป็นมา นัน ปะยำ กู่พญำ หมำยควำมว่ำ วัดพระรำชวัง ตั้ง อยู่ใ นหมู่บ้ำ นมิน -กบำ ติดกับ มนูหะ กู่ พญำ ซึ่ ง เกี่ยวข้องกันตำมตำนำนที่กล่ำวว่ำ นันปะยำกู่พญำ ถูกใช้เป็นตรุคุมขัง พระเจ้ำมนู หะกษัตริย์มอญแห่ง เมือง ถะทนที่ต กเป็น เชลยแก่ เมื องพุก ำมในครำวที่พ ระเจ้ ำอโนยะธำยกทัพ ไปรบจนได้ ชัย ชนะจึ ง ได้ก วำดต้ อ น ชำวเมืองถะทน จำนวนกว่ำ ๓๐,๐๐๐ คน มำเป็นเฉลยยังพุกำม หำกว่ำ นันปะยำ กู่พญำ เคยถูกใช้เป็นที่คุมขังพระเจ้ำมนู หะ แสดงว่ำเป็นอำคำรที่มีมำแต่เดิม แต่มีผู้ สันนิษฐำนว่ำอำจสร้ำงขึ้นโดยผู้สืบสกุลของพระเจ้ำมนูหะตรงตำแหน่งที่เคยประทับยำมตกเป็นเชลย อย่ำงไรก็ ตำม รูปแบบสถำปัตยกรรมของนันปะยำ กู่พญำ อยู่ในช่วงปลำยพุทธศตวรรษที่ ๑๖ ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๗ อันเป็นระยะแรกของกำรสร้ำงอำคำรที่มีพื้นที่ใช้ส อยภำยในเป็นห้องสี่เหลี่ยม อีกทั้งกำรสร้ำงเสำรับน้ำหนัก เรือนยอดของอำคำรยังเป็นรูปแบบที่แสดงควำมใกล้ชิดกับสถำปัตยกรรมอินเดียมำก

๘. เปตเลค เซดี ตะวันออก (HPET LEIK EAST CEDI) และเปตเลค เซดี ตะวันตก (HPET LEIK WEST ZEDI) พุทธศตวรรษที่: พุทธศตวรรษที่ ๑๖-๑๗ รูปแบบ: เจดีย์ทรงระฆังอิทธิพลศิลปะปำละ มีบัลลังก์สี่เหลี่ยมย่อมุม ผู้สร้าง: ไม่ปรำกฏ ที่ตัง: หมู่บ้ำนติริยพิตสยำ (THIRIYAPYITSAYA) ประวัติความเป็นมา คำว่ำ “เปตเลค” หมำยควำมว่ำ “ใบตองม้วน” ซึ่งหมำยถึงรูปทรงของเจดีย์ที่มีปล้องไฉนทรงกรวย ม้วน สันนิษฐำนว่ำสร้ำงขึ้นรำวพุทธศตวรรษที่ ๑๖


๒๔

ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ฐำนเจดีย์มีผังสี่หลี่ยมขนำด ๑๘.๓๕×๑๘.๑๕ เมตร สูง ๓ เมตร ตกแต่งด้วยแผ่นดินเผำภำพชำดกดิน ขนำด ๓๙×๓๘ เซนติเมตร เหลืออยู่จำนวน ๒๘๔ แผ่น ตอนล่ำงของภำพมีจำรึกภำษำมอญและตัวเลขลำดับ ของชำดกกำกับไว้ อุโมงค์ทำงเดินรอบเจดีย์กว้ำง ๑.๓๒ และ ๑.๖๕ เมตร สันนิษฐำนว่ำไม่ได้สร้ำงในครำวเดียวกับองค์ เจดีย์ ทำให้โครงสร้ำงอุโมงค์โค้งฝำกน้ำหนักที่ฐำนเจดีย์ไม่สมดุลจึงพังทลำยลงเกือบหมดสิ้ น กำรสร้ำงหลังคำ คลุมทำงเดินรอบฐำนเจดีย์ดังกล่ำวคล้ำยกับหลังคำวิหำรทับเกษตรของเจดีย์ในประเทศไทย ต่ำงกันตรงรูปทรง และวัสดุก่อสร้ำง รูปทรงขององค์ระฆังได้รับอิทธิพลศิลปะปำละจำกอินเดีย กล่ำวคือ เป็นองค์ระฆังทรงสูง ตอนกลำงมี บัวคำดเป็นเข็มขัดรัดอก ที่ทิศทั้งสี่มีซุ้มจระนำยอดทรงศิขรนำยอดทรงศิขรประดิษฐำนพระพุทธรูปประจำทิศ บัลลังก์แบบเป็นย่อมุมเหมือนกกับเจดีย์เสน-เยท-ยีมำ (SEIN NYET NYIMA) ปัจจุบันเจดีย์เ ปตเลคตะวันตกมีบัลลัง ก์ผัง สี่เหลี่ยมไม่ย่อเก็จและมีขนำดเทอะทะสันนิษฐำนว่ำถูก บูรณะขึ้นภำยหลัง เนื่องจำกเจดีย์แบบนี้ทุกองค์จะมีบัลลังก์ย่อมุมทั้งสิ้นเหนือจำกบัลลังก์ขึ้นไปเป็นก้ำนฉัตร และปล้องไฉนทรงกรวยเรียงยำวขึ้นไป เช่น เจดีย์เพตเลกตะวันตก ไม่ไกลจำกเจดีย์เปตเลคตะวันออก เป็นที่ตั้งของเจดีย์เปตเลคตะวันตกที่มีรูปแบบสถำปัตยกรรมและ กำรประดับตกแต่งเช่นเดียวกัน เพียงแต่มีขนำดย่อมกว่ำเล็กน้อย สิ่งที่น่าสนใจ - แผ่นภำพดินเผำชำดก ๕๕๐ ชำติ ประดับบนฐำนเจดีย์ ซึ่งคงสัมพันธ์กับแนวคิดในกำรสร้ำงภำพชำดก ในวัฒนธรรมทวำรวดีอยู่ที่รุ่งเรืองอยู่ก่อนหน้ำไม่มำกก็น้อย - สันนิษฐำนว่ำเจดีย์ทั้งสององค์ เป็นแม่แบบของเจดีย์แบบทรงระฆั งสูง เพรียวมีบัลลังก์ก็ย่อเก็จแบบ อิทธิพลปำละที่พบในเมืองพุกำม


๒๕

๙.ชเวซันดอ เซดี (SHWE HSAN DAW ZEDI) พุทธศตวรรษที่: ปลำยพุทธศตวรรษที่ ๑๖ ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๗ รูปแบบ: เจดีย์ทรงลอมฟำง ไม่มีบัลลังก์ ฐำนสี่เหลี่ยมยกเก็จซ้อนชั้นสูง ผู้สร้าง: พระเจ้ำอโนยะธำ (ครองรำชย์ระหว่ำงพ.ศ. ๑๕๘๗-๑๖๒๐) ที่ตัง: ทำงตะวันตกเฉียงใต้ของเมืองพุกำม ประวัติความเป็นมา “ชเวซันดอ” หมำยควำมว่ำ “พระเกศำทองคำ” ตั้งอยู่ทำงใต้ของมุมทำงทิศตะวันออกเฉียงใต้ ของ กำแพงเมืองพุกำม พงศำวดำรฉบับหอแก้วกล่ำวไว้ว่ำ พระเจ้ำอโนยะธำให้เจดีย์องค์นี้เพื่อประดิษฐำนพระเกศำ ที่ได้รับจำกกษัตริย์เมืองพะโค อันแสดงถึงกำรยอมรับพระรำชอำนำจของพระเจ้ำอโนยะธำเหนือลุ่มน้ำอิรวดี ตอนล่ำง เจดีย์องค์นี้จึงมีนัยยะของสถำปนำรำชอำณำจักรพุกำมเป็นศูนย์กลำงอำนำจของลุ่มแม่น้ำอิรวดีอย่ำง เป็นทำงกำร จำกกำรขุดค้นทำงโบรำณคดียังยืนยันว่ำก่อสร้ำงในสมัยพระเจ้ำอโนยะธำ คือ กำรพบพระพิมพ์มี จำรึกพระนำมของพระองค์ในกรุของเจดีย์ ผังบริเวณ วัดชเวซันดอ มีผังบริเวณของวัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส องค์เจดีย์ตั้งอยู่กึ่งกลำงของผังบริเวณที่ล้อมรอบ ด้วยกำแพงแก้วซึ่งมีซุ้มประตูทำงเข้ำอยู่ ทั้ง สี่ทิศ ภำยในวัดปูลำดพื้นด้วยแผ่นหิน ในบริเวณวัดปรำกฏซำก ตอม่อหินฐำนเสำจำนวนมำก จึงสันนิษฐำนว่ำแต่เดิมมีกำรสร้ำงวิหำรเครื่องไม้สำหรับประกอบพิธีกรรมอยู่บน แกนหลักทั้งสี่ทิศของเจดีย์ รวมไปถึงกู่พญำที่ชื่อว่ำ “คันธกุฎี” และวิหำรพระนอน เป็นต้น

๑๐. ฉิ่นปินตะ เจาง์ (SHIN BIN TAN KYAUNG) พุทธศตวรรษ: พระประธำนสร้ำงปลำยพุทธศตววรรษที่ ๑๖ ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๗ ตัวอำคำรสร้ำง ช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๑๙ รูปแบบ: อำคำรก่ออิฐ ผังอำคำรรูปสีเหลี่ยมผืนผ้ำ ที่ตัง: ภำยในกำแพงวัดชเวซันดอ ประวัติความเป็นมา “ฉิ่นปินตะ” หมำยถึง “พระพุทธรูปปำงปรินิพพำน” เป็นอำคำรก่ออิฐ ตั้งอยู่ทำงทิศตะวันตกภำยใน เขตกำแพงของวัดชเวซันดอ องค์พระประธำนถูกสร้ำงขึ้นในเวลำไล่เลี่ยกับกำรสร้ำงเจดีย์และกำแพงแก้ว แต่ เดิมเป็นพระนอนกลำงแจ้งหันหลังพิงกำแพงแก้วต่อมำจึงสร้ำงอำคำรครอบองค์พระโดยรื้อกำแพงลงบำงส่วน


๒๖

๑๑. วัดชเวซีคง (Shwe Zigon) และอาคารประกอบ พุทธศตวรรษที่ : พุทธศตวรรษที่ ๑๖-๑๗ (ระหว่ำง พ.ศ.๑๖๐๒-๑๖๔๖) รูปแบบ : เจดีย์ทรงลอมฟำง มีฐำนสี่เหลี่ยมยกเก็จซ้อนชั้นเตี้ย ระหว่ำงฐำนเหลี่ยม และองค์ระฆังมี ฐำนแปดเหลี่ยม ผู้สร้าง : เริ่มสร้ำงในสมัยสมัยพระเจ้ำอโนยะธำ สร้ำงแล้วเสร็จพระเจ้ำจันสิตตำ ที่ตัง : กึ่งกลำงผังพุทธำวำสวัดชเวซีคง “วัดชเวซีคง” เป็นวัดใหญ่และมีควำมสำคัญในฐำนะของเจดียสถำนสำคัญหนึ่งในห้ำแห่งที่ชำวพม่ำ ต้องหำโอกำสมำสักกำระสักครั้งในชีวิต ตั้งอยู่ห่ำงหมู่บ้ำนยองอูทำงตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองพุกำมโบรำณ คำว่ำ “ชเวซีคง” มำจำกคำว่ำ “ชัยภูมิ” หมำยควำมว่ำ “ท้องที่แห่งชัยชนะ” เนื่องจำกเป็นวัดสำคัญ จึงทำให้มีกำรก่อสร้ำงอำคำรต่ำงๆ ภำยในวัดมำกมำย สำหรับอำคำรที่เก่ำแก่ที่สุดสร้ำงมำตั้งแต่รำวต้นพุทธ ศตวรรษที่ ๑๗ และได้มีก่อสร้ำงเพิ่มเติมเรื่อยมำจนพุทธศตวรรษที่ ๒๔ ซึ่งเป็นช่วงเวลำสิ้นสุดเอกรำชของพม่ำ แต่ทว่ำอำคำรเหล่ำนี้ยังได้รับกำรทำนุบำรุงจำกคนในท้องถิ่นมำโดยตลอด และในปี พ.ศ.๒๕๑๘ ได้ปฏิสังขรณ์ เจดีย์ครั้งใหญ่ เนื่องจำกเกิดเหตุกำรณ์แผ่นดินไหวที่ทำให้อำคำรเก่ำแก่ในเมืองพุกำมพังททลำยลงเป็นจำนวน มำก ผังบริเวณ วัดชเวซีคง มีผังบริเวณเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ล้อมรอบด้วยกำแพงแก้ว มีประตูทำงเข้ำที่ตำแหน่ง กึ่งกลำงของด้ำน ตรงกลำงของผังบริเวณเป็นที่ตั้งของเจดีย์ประธำนทรงลอมฟำงขนำดใหญ่ ตรงแกนทั้งสี่ทิศมี วิหำรประดิษฐำนพระพุทธรูปยืน มณฑปไม้แบบพม่ำ ศำลำและเจดีย์ขนำดย่อมอีกเป็นจำนวนมำก ตรงมุมด้ำน ตะวันตกเฉียงเหนือมีบ่อน้ำขนำดใหญ่ สันนิษฐำนว่ำเป็นที่ปลูกสร้ำงอุโบสถกลำงน้ำตำมคติอุทกสีมำที่รับมำ จำกลังกำ สถำปัตยกรรมภำยในวัดชเวซีคง แบ่งตำมลักษณะอำคำรได้ ๓ กลุ่ม คือ อำคำรก่ออิฐหรือหินที่มีอำยุ ร่วมสมัยกับอำณำจักรพุดำม อำคำรเครื่องก่อ และอำคำรโครสร้ำงไม้ ที่สร้ำงขึ้นหลังจำกกำรสิ้นสุดอำณำจักร พุกำม และอำคำรที่สร้ำงขึ้นในสมัยอำณำนิคม เจดีย์วัดชเวซีคงเป็นเจดีย์ทรงลอมฟำงขนำดใหญ่ พงศำวดำรพุกำมกล่ำวว่ำ สร้ำงขึ้นในปี พ.ศ.๑๖๐๒๑๖๐๓ ในรั ช กำลของพระเจ้ ำ อโนธะยำ เพื่ อ ประดิ ษ ฐำนพระเขี้ ย วแก้ ว ที่ ไ ด้ รั บ จำกลั ง กำ และพระบรม สำรีริกธำตุส่วนพระนลำฏจำกสถูปเก่ำในเมืองพยู ในกำรหำชัยภูมิที่ตั้งได้ใช้ช้ำงเผือกเสี่ยงทำยพื้นที่สร้ำงเจดีย์ เพื่อประดิษฐำน แต่ในรัชกำลของพระองค์ได้สร้ำงได้เพียงส่วนฐำนสำมชั้นเท่ำนั้น จนกระทั่งในรัชสมัยพระเจ้ำ จันสิตตำ (ครองรำชย์ระหว่ำง พ.ศ.๑๖๒๗-๑๖๕๖) พระชินอรหันต์สังฆรำชทูลเร่งให้ก่อสร้ำง จึงให้เกณฑ์พลไป ขนหินจำกภูเขำตุ้ยวิน (Tuywin) ฝั่งตรงข้ำมของแม่น้ำอิรวดีมำก่อสร้ำงจนแล้วเสร็จภำยในเวลำ ๗ เดือน ๗ วัน


๒๗

จำรึกภำษำมอญบนเสำหินสี่เหลี่ยมสองหลักที่ปะตูทำงเข้ำทิศตะวันออก กล่ำวสรรเสริญพระเจ้ำจันสิต ตำเป็นหลัก สนับสนุนข้อสันนิษฐำนว่ำสร้ำงแล้วเสร็จในรัชกำลของพระองค์ นอกจำกนี้ข้อควำมในจำรึกประตู ตะระบำที่สร้ำงขึ้นระหว่ำงปี พ.ศ.๑๖๔๕-๑๖๔๖ ที่กล่ำวถึงกำรสร้ำงพระรำชวัง และตอนท้ำยได้อ้ำงถึงเจดีย์ ชเวซีคงว่ำเป็นผลงำนที่ยิ่งใหญ่ของพระองค์ ในที่นี้จึงกำหนดช่วงเวลำก่อสร้ำงแล้วเสร็จของเจดีย์ชเวซีคงว่ำอยู่ ในช่วงระหว่ำงปี พ.ศ.๑๖๒๗-๑๖๔๖ ด้วยควำมที่เป็นหนึ่งในห้ำพุทธำนุภำพของพม่ำ พระเจดีย์ชเวซีคงจึง ได้รับกำรทำนุบำรุง ดูแลจำก กษัตริย์ในชั้นหลังอยู่เรื่อยมำ ดังควำมจำรึกกัลปนำรำวพุทธศตวรรษที่ ๑๘ กล่ำวถึงกษัตริย์กัลปนำ ค่ำเช่ำที่ดิน ข้ำวัด โคงำม โคนม รวมไปถึงที่ดินที่มีต้นตำลสำหรับผลิตน้ำตำลเมำให้แก่วัดชเวซีคง ในช่วงระหว่ำงปี พ.ศ.๒๐๙๔-๒๑๐๐ “พระเจ้ำบยินยอง” ได้บูรณะตั้งแต่องค์ระฆังขึ้นไปแล้ วบุโลหะ ปิดทององค์เจดีย์ด้วย เนื่องจำกส่วนบนองค์ระฆังได้พังทลำยจำกแผ่นดินไหวและคงบูรณะแล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๑๐๐ ทั้งนี้ได้ถวำยระฆังขนำด ๓,๔๒๙ กิโลกรัม เพื่อเป็นพุทธบูชำ ดังปรำกฏในจำรึกภำษำมอญ ลำลี และ พม่ำบนระฆังดังกล่ำว ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ลักษณะเป็นเจดีย์ทรงระฆังแบบลอมฟำงมีฐำนเขียงย่อมุมไม้ยี่สิบ ต่อขึ้นไปด้วยฐำนแปดเหลี่ยมเพื่อให้ รับกับฐำนรูปวงกลมขององค์ระฆังที่ต่อขึ้นไป องค์ระฆังมีลักษณะป้อมเตี้ยกว่ำเจดีย์ทรงระฆังทั่วไป ชั้นล่ำงสุดเป็นฐำนเขียงมีกรอบช่องกระจก ในแต่ละช่องมีภำพชำดกดินเผำเคลือบสีเขียว ฐำนชั้ นที่ถัด ขึ้นไปอีกสำมชั้นเป็นฐำนย่อเก็จ ลักษณะเป็นระเบียงสำหรับเดินประทักษิณที่พนักของระเบียงเป็นรูปใบเสมำ หรือกลีบบัวปลำยตัดเฉียง ตรงมุมของฐำนทั้งสำมชั้นมีหม้อน้ำอันเป็นสัญลักษณ์ของควำมอุดมสมบูรณ์ ฐำน ระเบียงชั้นที่สำมมีเจดีย์มุมบนฐำนปัทม์ผัง สี่เหลี่ยมยกเก็จ และมีเจดีย์เล็กล้อมรอบสี่องค์ เหมือนกำรจำลอง แบบองค์เจดีย์ที่อยู่เหนือขึ้นไป มีบันไดทอดขึ้นจำกพื้นถึง ฐำนประทักษิณชั้นที่สำมจำกทั้งสี่ทิศ ถัดจำกฐำน ประทักษิณชั้นที่สำมขึ้นไปเป็นฐำนแปดเหลี่ยมย่อมุม ซึ่งเป็นจุดเปลี่ยนผ่ำนจำกฐำนในผังรูปสี่เหลี่ยมสู่ฐำนในผัง รูปวงกลมซึ่งทำหน้ำที่รอบรับองค์ระฆังเหนือเอวขององค์ระฆังขึ้นไป ตกแต่งด้วยหน้ำกำลคำยพวงอุบะ เหนือ ขึ้นไปเป็นเข็มขัดรัดอกประดับด้วยดอกประจำยำมเป็นระยะ เหนือองค์ระฆังเป็นปล้องไฉนทรงกรวยเรียกว่ำ “อัทวัท” ค้อด้วยชุดบัวคว่ำ และบัวหงำยและเม็ดน้ำค้ำงต่อขึ้นไปด้วยเรือนยอดแบบดอกบัวตูม บนยอดสุดเป็น ฉัตรเรียกว่ำ “ธี (Hti)” ทำด้วยทองคำ ในที่นี้สันนิษฐำนว่ำรูปทรงดั้งเดิมของเจดีย์ชเวซีคงมีลักษณะเช่นเดียวกับเจดีย์ชเวสันดอซึ่งสร้ำงขึ้นใน ช่ว งเวลำเดีย วกั น แต่ไ ด้ถู กบู รณะเปลี่ย นรู ปทรงในสมัย พระเจ้ำ บยิ น นอง ทำให้ รูป ทรงส่ว นบนของเจดี ย์ เปลีย่ นไป สำหรับส่วนยอดของเจดีย์ในปัจจุบัน ได้ถูกบูรณะขึ้นใหม่หลังจำกเกิดเหตุกำรณ์แผ่นดินไหวเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๘ แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๑ และบุแผ่นโลหะปิดทองในช่วง ปี พ.ศ.๒๕๒๖-๒๕๒๗


๒๘

๑๒. นากาโยว์ กู่พญา (Naga Yon Gu Hpaya) พุทธศตวรรษที่ : ต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๗ รูปแบบ : กู่พญำที่ตรงกลำงเป็นห้องบูชำและมีทำงเดินรอบห้องบูชำ ลักษณะเรือนยอด : ทรงศิขร ผู้สร้าง : พระเจ้ำจันสิตตำ (ครองรำชย์ระหว่ำงปี พ.ศ.๑๖๒๗-๑๖๕๖) ที่ตัง : ทำงใต้ของหมู่บ้ำนมิน-กบำ ประวัติความเป็นมา “นำกำโยว์ กู่พญำ” หมำยควำมว่ำ “นำคปรก” ในพงศำวดำรฉบับแก้วกล่ำวว่ำเมื่อครั้งนั้นพระเจ้ำจัน สิตตำยั งเป็ นอ ำมำตย์ ในรัช กำลของพระเจ้ำ ซอลู และถูกเนรเทศไปเมื องหลิเ ลงทำงตอนเหนื อของพุ กำม ระหว่ำงเดินทำงได้พักนอนอยู่กลำงทุ่งโล่งเพียงลำพังและมีพญำนำคมำคอยระวังภัยให้แก่พระองค์ เมื่อเสด็จ ขึ้นครองรำชย์จึงให้สร้ำงกู่พญำขึ้นตรงตำแหน่งดังกล่ำว ผังบริเวณ นำกำโยว์ กู่พญำ สร้ำงบนฐำนไพทียกสูง ประมำณ ๘๐ เซนติเมตร ตั้ง อยู่กึ่ง กลำงผัง บริเวณวัดรูป สี่เหลี่ยมจัตุรัส มีซุ้มประตูทำงเข้ำทั้งสี่ทิศ แต่ทิศหลักของอำคำร คือทิศเหนือ เพื่อหันไปยังที่ตั้งของพระรำชวัง รำชสถำนพุกำม และน่ำสนใจว่ำอเบยะดะนำกู่พญำ ซึ่งตั้งอยู่ไม่ไกลกันนักและสร้ำงในช่วงเวลำไล่เลี่ยกัน ก็หัน หน้ำไปทำงทิศเหนือเช่นเดียวกัน กำรสร้ำงซุ้มประตูทำงเข้ำสี่ทิศ พบครั้งแรกที่นำกำโยว์ กู่พญำ จึงสันนิษฐำนว่ำสิ่งอิทธิพลกำรวำงผัง บริเวณและกำรสร้ำงซุ้มประตูทำงเข้ำสี่ทิศของกู่พญำหลังอื่นๆ ด้วย ตรงมุมกำแพงทั้งสี่มุมมีกำรสร้ำงเจดีย์ทรง ระฆังแบบไม่มีบัลลังก์ สันนิฐำนว่ำสร้ำงขึ้นภำยหลังเพื่อประกอบให้ผังบริเวณของวัดสมบูรณ์มำกขึ้น สิ่งที่น่าสนใจ ทวำรบำลปูนปั้นยืนในท่ำตริภังค์ (เอี้ยวสะโพก) กระเบื้องปูพื้นทำด้วยดินเผำและแผ่นหินเคลือบสีเขียว ทับหลังไม้แกะสลักเหนือซุ้มประตู


๒๙

๑๓. อานันดา กู่พญา (Ananda Gu Hpaya) พุทธศตวรรษที่ : พุทธศตวรรษที่ ๑๗ สันนิษฐำนว่ำสร้ำงในปี พ.ศ.๑๖๓๓ รูปแบบ : กู่พญำที่มีแกนกลำงรับน้ำหนักและมีทำงเดินรอบห้องบูชำ ลักษณะเรือนยอด : ทรงศิขร ผู้สร้าง : พระเจ้ำจันสิตตำ (ครองรำชย์ระหว่ำง ปีพ.ศ.๑๖๒๗-๑๖๕๖) ที่ตัง : อยู่นอกกำพงเมือง ทำงตะวันออกเฉียงใต้ของประตูตะระบำ ประวัติความเป็นมา พงศำวดำรฉบับหอแก้วกล่ำวว่ำมีพระสงฆ์ ๘ รูปเข้ำมำบิณฑบำตที่พระรำชวังรำชสถำนพุกำมแห่งพระ เจ้ำจันสิตตำ ด้วยวัตรปฏิบัติอันงดงำมและเป็นสงฆ์ที่ไม่คุ้นตำจึงตรัสถำมที่มำได้ควำมว่ำพระสงฆ์ทั้ง ๘ รูปมำ จำก “ภูเขำคันธมำทน์ ” ว่ำเป็นหนึ่งในเขำหิมพำนต์อันศักดิ์สิทธิ์ที่ล้อมรอบสระอโนดำต อันประกอบด้วย สุทัศนกูฏ, จิตรกูฏ, กำฬกูฏ, เกลำสกูฏ และคันธมำทน์กูฏ สำหรับเข้ำคันธมำทน์เป็นภูเขำที่อุดมไปด้วยป่ำและ อบอวลด้วยกลิ่นหอมจำกต้นไม้และสมุนไพรนำนำ นอกจำกนี้ในวรรณกรรมศำสนำยังกล่ำวว่ำ เขำคันธมำทน์ เป็นที่ชุมนุมของพระปัจเจกพุทธเจ้ำทั้งหลำยอีกด้วย กำรหลั่งไหลเข้ำมำของคณะสงฆ์จำกอินเดียเหนือเป็นผลสืบเนื่องจำกศูนย์กลำงพุทธศำสนำได้ถูก ทำลำยลง จำกกำรขยำยตัว ของมุสลิม ตั้ง แต่พุท ธศตวรรษที่ ๑๖ และกำรอพยพครั้ง ใหญ่อีก ครั้ง คือ เมื่ อ ศูนย์กลำงพุทธศำสนำที่นำลันทำถูกทำลำยลงในปี พ.ศ.๑๗๔๓ พระเจ้ำจันสิตตำมมีพระรำชศรัทธำต่อคณะสงฆ์ดังกล่ำวอย่ำงยิ่ง จนโปรดให้สร้ำงที่จำพรรษำตลอด ระยะเวลำ ๓ เดือนในช่วงฤดูฝนถวำยเป็นพุทธบูชำ ให้ชื่อว่ำ “นันทะมูลคูหำ” ต่อมำเรียกเพี้ยนเป็น “อำนันดำ กู่พญำ” ผังบริเวณ อำนันดำ กู่พญำ ตั้งอยู่ตำแหน่ง กึ่ง กลำงของวัด ผังบริเวณรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีซุ้มประตูทำงเข้ำทรง ปรำสำทยอดศิขรทั้งสี่ทิศ ในผังบริเวณมีอำคำรขนำดเล็กที่ประดิษฐำนพระพุทธรูปขนำดเล็กอีกหลำยหลัง กำร วำงผังบริเวณของวัดและสร้ำงซุ้มประตูทำงเข้ำทั้งสี่ทิศนี้ คงได้รับอิทธิพลมำจำกนำกำโยว์ กู่พญำที่สร้ำงก่อน หน้ำนี้รำวหนึ่งศตวรรษ ลักษณะทางสถาปัตยกรรม อำนันดำ กู่พญำ มีผังอำคำรเป็นรูปกำกบำท เนื่องจำกเป็นกู่พญำที่มีแกนกลำงรับน้ำหนัก มีมุขทิศยื่น ออกมำทั้งสี่ทิศ G.H. Luce กล่ำวว่ำไม่มีอำคำรหลังใดในโลกจะสมมำตรได้เท่ำกับอำคำรหลังนี้ พงศำวดำรฉบับ หอแก้วกล่ำวว่ำ พระเจ้ำจันสิตตำ ให้สร้ำงขึ้นโดยให้ประยุกต์รูปแบบกู่พญำแบบเดิมกับรูปแบบเรือนยอกทรง ศิขรที่รับมำใหม่


๓๐

เมื่อพิจำรณำจำกผังอำคำรของอำนันดำ กู่พญำ จะเห็นได้ว่ำมีพัฒนำกำรมำจำกมินพญำ กู่พญำ ซึ่ง สร้ำงขึ้นมำตั้งแต่ต้นรัชกำลพระเจ้ำอโนยะธำแต่อย่ำงไรก็ตำมกำรวังผังในลักษณะดังกล่ำวก็อำจได้รับอิทธิพล จำกดินแดนปำกแม่น้ำคงคำ ซึ่งเป็นประเทศบังคลำเทศในปัจจุบัน มีอำคำรขนำดใหญ่และมีกำรวำงผังเป็นรูป กำกบำทที่มีลักษณะใกล้ชิดกับอำนันดำ กู่พญำ มำก่อนหน้ำแล้ว สำหรับเรือนยอดของอำนันดำ กู่พญำ เป็นเรือนยอดทรงศิขรที่มีควำมนิยมอย่ำงแพร่หลำยในสมัยพระ เจ้ำจันสิตตำ ซึ่งสันนิ ษฐำนว่ำได้แพร่หลำยมำจำกอินเดียเหนือพร้อมกับกำรอพยพเข้ำมำของคณะสงฆ์ตั้งแต่ ปลำยพุทธศตวรรษที่ ๑๖ เป็นต้นมำ โดยเรือนยอดดัง กล่ำวเป็นโครงสร้ำงขนำดใหญ่ ที่มีน้ำหนักมหำศำล (Super Structure) จึงต้องสร้ำงขึ้นบนแกนกลำงรับน้ำหนักก่ออิฐ กำรใช้รูปแบบของเรือนยอดทรงศิขร มีสำเหตุจำกต้องกำรสร้ำงควำมเชื่อมโยงถึงยอดเขำคันธมำทน์ เพรำะฉะนั้น มุมทำงเข้ำ และซุ้มประตู-หน้ำต่ำง จึงเปรียบได้กับถ้ำบนภูเขำคันธมำทน์นั่นเอง ดังจะเห็นว่ำ มุข ทิ ศ ของอำคำรตกแต่ ง เลี ย นแบบยอดเขำโดยกำรใช้ ฝั ก เพกำ และปั้ น รู ป สั ต ว์ ต่ ำ งๆ ประดั บ อยู่ บ นซุ้ ม เพรำะฉะนั้นฝักเพกำแต่ละใบจึงมำยถึงยอดเขำแต่ละยอดนั่นเอง ข้อสันนิษฐำนเรื่องควำมหมำยในกำรตกแต่ง ที่เชื่อมโยงกับยอดเขำดังที่กล่ำวมำข้ำงต้น ถูกินยันด้วยภำพจิตรกรรมฝำผนังที่อเบยะดะนำ กู่พญำอีกด้วย แกนกลำงรับน้ำหนักของอำคำรมีขนำด ๒๔.๑๘ x ๒๕.๒๐ เมตร ทำให้เกิดกำรสร้ำงห้องบูชำทั้งสี่ทิศมี ขนำด ๔.๔๘ x ๙.๐๖ เมตร ล้อมรอบแกนกลำง ที่ปลำยด้ำนในสุดของทั้งห้องบูชำและซุ้มเว้ำ (Niche) เข้ำไป ในแกนกลำงรับน้ำหนักเรือนยอดของอำคำเพื่อประดิษฐำนพระพุทธรูปประธำนประทับยืน ตำมคติกำรก่อสร้ำง พระยืนที่รับมำจำกลังกำ ภำยในมีอุโมงค์ทำงเดินเชื่อมต่อกับห้องบูชำ และห้องโถงประกอบพิธีกรรมสองชั้นอุโมงค์ทำงเดินแต่ ละชั้นเชื่อมกันด้วยช่องอุโมงค์ขนำดเล็ก เพื่อเป็นเส้นทำงสัญจรและกำรระบำยอำกำศ โครงสร้ำงของมุขสี่ทิศที่ทำหน้ำที่เป็นห้องโถงประกอบพิธีกรรม ภำยในมีเสำร่วมในก่ออิฐขนำดใหญ่ ๔ ต้น เพื่อรับโรงสร้ำงหลังคำมุข กำรสร้ำงเสำร่วมในเพื่อรับน้ำหนักโครงสร้ำงดังกล่ำวคล้ำยกับกำรสร้ำงเสำรับ น้ำหนักเรือนอยอดของนันปะยำ กู่พญำซึ่งสร้ำงมำตั้งแต่เน้นช่วงของประวัติศำสตร์ของอำณำจักรพุกำม เมื่อพิจำรณำรูปตัดของอำคำร มีกำรก่ออิฐชั้นหลังคำให้สอบเข้ำเป็นเส้นเอนลำดสู่ศูนย์กลำงเลียนแบบ หลังคำทรงมณฑปอันเป็นรูปแบบที่นิยมสร้ำงในช่วงยุคต้นของพุกำม เหนือจำกชั้นหลังคำลำดขึ้นไปเป็นส่วน รำกฐำนปัทม์ซ้อนสำมชั้นแล้วจึงต่อขึ้นไปเป็นเรือนยอดทรงศิขรที่มีผังเป็นสี่เหลี่ยมย่อมุม เรือนยอดดังกล่ำว สร้ำงบนแกนกลำงรับน้ำหนักของอำคำร บนเรือนยอดทรงศิขรมีซุ้มจระนำเล็กๆ ประดิษฐำนเทวรูปอันเปรียบ ได้กับวิมำนของเหล่ำเทวดำ และที่มุมของชั้นฐำนปัทม์ที่รองรับเรือนยอดทั้งสำมชั้นประดับด้วยประติมำกรรม รูปสิงห์ จะเห็ น ได้ ว่ ำ อำคำรอำนั น ดำ กู่ พ ญำ แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ควำมส ำเร็ จ ที่ ยิ่ ง ใหญ่ ข องกำรออกแบบ สถำปัตยกรรมและผสมผสำนรูปแบบ (Style) และรูปทรง (Form) ของกู่พญำแบบมอญที่พัฒนำในพุกำมมำ ตั้งแต่เดิม ผสมผสำนเข้ำกับแรงบัลดำลใจใหม่จำกรูปทรงทำงสถำปัตยกรรมที่เข้ำมำพร้อมกับกำรหลั่งไหลเข้ำ มำของคณะสงฆ์จำกอินเดียเหนือจนกลำยเป็นรูปแบบสถำปัตยกรรมที่มีควำมงดงำมและเป็นเอกลักษณ์ จนส่ง อิทธิพลต่อไปยังกำรออกแบบกู่พญำหลังอื่นๆ ในเมืองพุกำมอีกเป็นจำนวนมำก


๓๑

ควำมน่ำสนใจในกำรออกแบบประกำรหนึ่งของอำนันดำ กู่พญำ คือกำรสร้ำงแกนกลำงรับน้ำหนักของ อำคำร ทำให้ส่งเรือนยอดของอำคำรให้ลอยสูงมำกขึ้น จนทำให้อำคำรมีลักษณะเป็น อนุสำวรีย์ (Monument) และเป็น จุดหมำยตำ (Landmark) อันเป็นลักษณะของอำคำรที่มี สัดส่วนแบบสำธำรณะ (Public Scale) แต่ กำรทอนปริมำตรของตัวอำคำรลงด้วยกำรยกมุมออกมำทั้งสี่ทิศและยกเก็จเป็นซุ้มประตู -หน้ำต่ำง ทำให้อำคำร แสดงควำมสัมพันธ์กับ สัดส่วนมนุษย์ (Human Scale) ได้อย่ำงแบบแยบยล อีกทั้งตำแหน่งภำยในห้องบูชำที่ อยู่ถัดจำกแกนกลำงรับน้ำหนักจึงกลำยเป็นห้องที่มีเพดำนสูง จึงเหมำะสมที่จะประดิษฐำนพระพุทธรูประทับ ยืนที่มีขนำดใหญ่โตมำก แต่ก็แสดงควำมเชื่อมโยงกับผู้ใช้สอยพื้นที่ผ่ำน รูปทรงของมนุษย์ (Human Form)

๑๔. โลกะเท็กพัน กู่พญา (Loka Hteikpan Gu Hpaya) พุทธศตวรรษที่ : พุทธศตวรรษที่ ๑๗ (ไม่เกิน พ.ศ.๑๖๖๘) รูปแบบ : กู่พญำมีมุขหน้ำ ตรงกลำงเป้นห้องบูชำ ลักษณะเรือนยอด : ทรงศิขร ผู้สร้าง : ไม่ปรำกฏนำมผู้สร้ำง ที่ตัง : ทำงทิศเหนือของเจดีย์ชเวสันดอ ประวัติความเป็นมา “โลกะเท็กพัน กู่พญำ” หมำยควำมว่ำ “ควำมงำมสูงสุดแห่งโลก” จำกจำรึกเขียนด้วยหมึกตัวอักษร พม่ำและมอญ ทำให้สันนิษฐำนว่ำคงสร้ำงไม่เกิน พ.ศ.๑๖๖๘ เพรำะหลังจำกนั้นควำมนิยมในกำรเขียนภำษำ มอญได้เสื่อมลงแล้ว ลักษณะทางสถาปัตยกรรม “โลกะเท็กพัน กู่พญำ”เป็นกู่พญำขนำดเล็กหันหน้ำไปทำงทิศเหนือ มีซุ้มประตูทรงเคล็ดโตรันเป็น ทำงเข้ำ ถัดเข้ำไปเป็นห้องโถงประกอบพิธีกรรมที่เชื่อมต่อกับห้องบูชำขนำด ๕.๖๑x๕.๗๒ เมตร ในกำแพงด้ำน ทิศตะวันตกมีบันไดแคบๆ เพื่อขึ้นไปสู่ชั้นหลังคำตอนบน ตรงกลำงห้องมำฐำนชุกชีประดิษฐำนพระพุทธรูปประธำนปำงมำรวิชัย เนื่องจำกเป็นกู่พญำที่ไ ม่มี อุโมงค์ทำงเดินรอบให้เดินประทักษิณ และเป็นอำคำรขนำดเล็กจึงมีกำรเจำะช่องเปิดน้อย อีกทั้งกำรสร้ำงฐำน ชุกชีอยู่กลำงห้อง ทำให้เกิดพื้นที่บนผนังอย่ำงเป็นเอกภำพเหมำะสมกับกำรเขียนจิตรกรรมฝำผนังภำพเล่ำเรื่อง ซึ่งต้องกำรพื้นที่ผืนใหญ่เพื่อเขียนภำพสื่อควำมสำหรับเพดำนห้องประกอบพิธีกรรมเขียนรูปพระพุ ทธบำท ส่วน เพดำนของบูชำที่ประดิษฐำนพระพุทธรูป เขียนภำพดอกบัวบำนในกรอบรูปสี่เหลี่ยมที่มุมทั้งสี่มีแถบลำกยำวไป จรดผนัง แบ่งพื้นที่ที่เหลือออกเป็นสี่ส่วน ภำยในเขียนจิตรกรรมประเภทลวดลำยประดับตกแต่ง ชวนให้นึกถึง กำรตกแต่งเพดำนด้วยผ้ำลำยต่ำงๆ จนพัฒนำมำเป็นงำนจิตรกรรมฝำผนังในเวลำต่อมำ


๓๒

ภำพจิตรกรรมฝำผนังภำยในห้องบูชำแบ่งออกเป็น ๓ ส่วนตำมพื้นที่ คือ (๑) บนผนังด้ำนหลัง พระ ประธำน (๒) บนผนังด้ำนขวำมือของพระประธำน และ (๓) บนผนังด้ำนซ้ำยมือของพระประธำน (๑) จิตรกรรมบนผนังด้านหลังพระประธาน เป็นผลงำนที่จิตรกรสร้ำงควำมเชื่อมโยงกับองค์พระพุทธรูปประธำน เนื่องจำกบนผนังด้ำนหลังมีช่อง หน้ำต่ำงจึงเขียนภำพให้เป็นดั่งซุ้มจระนำใต้ต้นโพธิ์พฤกษ์ที่พระพุทธองค์เสด็จตรัสรู้ ซึ่งแสดงควำมสัมพันธ์กับ พระพุทธรูปประธำนปำงมำรวิชัยที่ประดิษฐำนอยู่เบื้องหน้ำ ทำงด้ำนซ้ำย-ขวำของซุ้มเขียนภำพอัครสำวก นั่ ง คุ ก เข่ ำ ประนมมื อ ไหว้ พื้ น ที่ ส่ ว นที่ เ หลื อ แบ่ ง ออกเป็ น ช่ อ งๆ เขี ย นพุ ท ธประวั ติ ต อนต่ ำ งๆ ดั ง นั้ น กำร ปรินิพพำน กำรแบ่งพระบรมสำรีริกธำตุ มำรผจญ ปรำบช้ำงนำฬำคิรี เสด็จลงจำกดำวดึงส์ปฐมเทศนำ ยมก ปำฏิหำริย์ที่เมืองสำวัตถี ป่ำเลไลยก์ ประสูติ (๒) จิตรกรรมบนผนังด้านขวามือของพระประธาน เขียนภำพพุทธประวัติตอนที่เสด็จกลับจำกโปรดพุทธมำรดำ และเทวดำอีก ๓๓ องค์ บนสวรรค์ชั้น ดำวดึงส์ที่พระอินทร์เป็นองค์อธิบดี จิตรกรเขียนภำพตัดขวำงของจักรวำลซึ่งมีเขำพระสุเมตรเป็นแกนกลำงอยู่ ตรงกึ่งกลำงของผนังเหนือช่องเปิดโค้ง ช่องเปิดดังกล่ำวจึงเปรียบได้กับถ้ำที่อยู่บนเขำ นับเป็นกำรพลิกข้อจำกัด ทำงกำยภำพให้ตอบสนองต่อกำรสร้ำงสรรค์ได้อย่ำงลงตัว แสดงถึงอัจฉริยะภำพของจิตรกรชำวพุกำมที่ฉำย ออกมำ ทำงซ้ำย-ขวำของภำพเขำพระสุเมรุ เป็นภำพทิวเขำสัตตบริภัณฑ์ ๗ ชั้น คือ ยุคนธร อิสินธร กรวิก เนมินธร วินันทะกะ และอัสสกัณณะ ทิวเขำต่ำงๆ ถูกคั่นด้วยนทีสีทันดรและมีปลำอำนนท์หนุนอยู่ด้ำนล่ำง พื้นที่ทำงขวำของทิวเขำสัตตบริภัณฑ์แสดงภำพเหตุกำรณ์ที่พระพุทธเจ้ำเสด็จโปรดพระเจ้ำปเสนทิแห่งแคว้น โกศล โดยพระเจ้ำปเสนทินั่งสดับธรรมอยู่บนปรำสำทเครื่องไม้หลังคำซ้อนสำมชั้น และภำพพระพุทธองค์ กำลัง เสด็จขึ้นไปยังสวรรค์ชั้นดำวดึงส์ เพื่อโปรดพุทธมำรดำและเทวดำอีก ๓๓ องค์ ตำมคำอำรำธนำของพระอินทร์ กึ่ง กลำงภำพเขียนเป็นปรำสำทจัตุรมุขเครื่องไม้ มีห ลัง คำซ้อนเจ็ดชั้น ซึ่ง หมำยถึง ปรำสำทของพระอินทร์ ศูนย์กลำงของสุทัสสนะนคร ซึ่งใช้เป็นที่ประทับของพระพุทธเจ้ำ ปรำสำทดัง กล่ำวช่วยสร้ำงจินตนำกำรถึง “ปัญจปรำสำท” ที่สร้ำงในสมัยพระเจ้ำจันสิตตำได้เป็นอย่ำงดี เจดีย์ทำงขวำของภำพ คือ ทุสสเจดีย์บนสุทธำวำสพรหมโลก ซึ่งเป็นเจดีย์ที่ประดิษฐำนเครื่องทรงของ เจ้ำชำยสิทธัตถะที่เปลื้องออก เมื่อครำวเสด็จออกมหำภิเนษกรมณ์ พระพรหมจึงอัญเชิญไปประดิษฐำนยังเจดีย์ องค์นี้ ถัดมำทำงซ้ำยมือของภำพเจดีย์ คือ ปรำสำทโถงเครื่องไม้ แสดงให้เห็นถึงธรรมเนียมกำรสร้ำงอำคำรโถง เพื่อใช้เป็นสถำนที่ประกอบพิธีกรรมคู่กับเจดีย์นั่นเอง ทำงซ้ำยเจดีย์คือ ปรำสำทโถงสำหรับประกอบศำสนพิธี ซึ่ง อำคำรทั้งสองนั้นสร้ำงอยู่บนฐำนไพทีเดียวกัน ถัดลงมำคือ พระรำชอุทยำนแห่ง สุทัสสนะนครซึ่ง มีสระ โบกขรณีอยู่ ๒ สระ เหนือยอดเขำสัตตบริภัณฑ์ฝั่งทำงซ้ำยมือเป็นบันไดแก้วที่พระพุทธเจ้ำเสด็จลงมำหลังจำก เทศนำโปรดพระมำรดำและเหล่ำเทวดำบนสวรรค์ชั้นดำวดึงส์ โดยมีพระพรหมกั้นฉัตรถวำย


๓๓

(๓) บนผนังด้านซ้ายมือของพระประธาน แบ่งพื้นที่ออกเป็นห้องๆ มีขนำดต่ำงๆ เขียนชำดกของพระพุทธเจ้ำจำนวน ๕๓๗ ชำติ จำกชำดก ทั้งสิ้น ๕๔๗ ชำติที่เรียกว่ำ “นิบำตชำดก”


๓๔

๑๕. ตัตปินญุ กูพ ่ ญา (That Byin Nyu Gu Hpaya) พุทธศตวรรษที่ : ปลำยพุทธศตวรรษที่ ๑๗ ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๘ รูปแบบ : กู่พญำ ๔ ชั้น มีแกนกลำงรับน้ำหนัก มีห้องบูชำประจำทิศและมีทำงเดินรอบ เรือนยอด : ทรงศิขร ผู้สร้าง : พระเจ้ำอลองซีตู ที่ตัง : ทำงตะวันออกของประตูทำงเข้ำทิศใต้ของวัดชเวซีคง ประวัติความเป็นมา “ตัตปินญุ กู่พญำ” มำจำกคำภำษำพม่ำว่ ำ “ตัดปินญุ ตันยัน” (Thatbyin nu tanyan) ซึ่งตรงกับ ภำษำบำลีว่ำ “สัพพัญญู (Sabbanu)” หมำยควำมว่ำ “ผู้รอบรู้ทุกสิ่งทุกอย่ำง” สันนิษฐำนว่ำสร้ำงขึ้นในช่วง ปลำยรัชกำลของพระเจ้ำอลองซีตู ในปี พ.ศ.๑๖๘๗ ในพงศำวดำรฉบับหอแก้วได้กล่ำวว่ำ เมื่อพระองค์สร้ำงกู่ พญำหลังนี้แล้วใก้หล่อระฆังสำริดจำนวนสองใบเพื่อถวำยเป็นพุทธบูชำไว้คู่กับกู่พญำ และอีกใบหนึ่งถวำยวัด ชเวซีคง อย่ำงไรก็ตำมไม่พบจำรึกกัลปนำของอำคำรหลังนี้ที่ร่วมสมัยกับพระเจ้ำอลองซีตู พบแต่จำรึกที่มีอำยุ น้อยกว่ำเกือบ ๒ศตวรรษ คือ ใน พ.ศ.๑๘๗๖ ซึ่งเป็นช่วงเวลำที่อำณำจักรพุก ำมได้สิ้นสุดกำรเป็นศูนย์กลำง อำนำจทำงกำรเมืองไปแล้ว ข้อควำมในจำรึก กล่ำวถึง กำรสร้ำงพระพุทธรูปในห้องบูชำทำงทิศเหนือละกัลปนำข้ำวัด ๖ คน เงิน ๓๐ บำท เป็นค่ำอำหำรเพื่อนุโมทนำบุญร่วมกับพระมหำเถระซึ่ง เป็นครูของผู้กัลปนำและกษัตริย์แห่งเมือง พุกำม กำรสันนิษฐำนว่ำตัตปินญุ กู่พญำ สร้ำงขึ้นในสมัยพระเจ้ำอลองซีตู เนื่องจำกในบริเวณไม่ไกลกันนัก พบเสำอำคำรที่น่ำจะใช้เป็นที่แขวนระฆังขนำดใหญ่ปรำกฏอยู่ จึงโยงว่ำเป็นกู่พญำและระฆังที่พระเจ้ำอลองซีตู เป็นผู้สร้ำง ผังบริเวณ ตัวอำคำรตัตปิ นญุ กู่ พญำ สร้ำ งอยู่ บนฐำนไพทีที่ มีบั นไดทำงขึ้ นทั้ง ๔ ทิ ศ อำคำรประธำนทั้ ง อยู่ กึ่งกลำงของพื้นที่ที่มีกำแพงล้อมรอบทั้ง ๔ ด้ำน สันนิษฐำนว่ำเดิมคงมีซุ้มประตูทำงเข้ำสู่เขตพุทธำวำส ๔ ทิศ แต่ว่ำเหลือหลักฐำนอยู่เพียงซุ้มประตูทำงทิศเหนือเท่ำนั้น


๓๕

๑๖. ธรรมมะยังจี กู่พญา (Dhamma Yan Gyi Gu Hpaya) พุทธศตวรรษที่ : ต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๘ สันนิษฐำนว่ำสร้ำงใน พ.ศ.๑๗๐๘? รูปแบบ : กู่พญำที่มีแกนกลำงรับน้ำหนัก และมีทำงเดินรอบ เรือนยอด : เรือนยอดทรงศิขรแต่สร้ำงไม่แล้วเสร็จ ผู้สร้าง : พระเจ้ำนำรำตู? (ครองรำชย์ระหว่ำงปี พ.ศ.๑๗๐๖-๑๗๐๘) ที่ตัง : ทำงตะวันตกเฉียงใต้ของมินนันถุ ประวัติความเป็นมา “ธรรมมะยังจี กู่พญำ” มีควำมหมำยว่ำ “แสงสว่ำงแห่งธรรม” จำรูปทรงของอำคำรทำให้ถูกขนำน นำมว่ำ “พีระมิดแห่งลุ่มอิรวดี” ในพงศำวดำรฉบับหอแก้วกล่ำวว่ำ พระเจ้ำนำรำตูโปรดเกล้ำให้สร้ำงขึ้นโดย กำรเกณฑ์แรงงำนประชำชนให้ทำงำนอย่ำงทำรุณ จำกจำรึกกัลปนำภำษำพม่ำระบุ ปี พ.ศ.๑๗๐๘ และกำรกัลปนำสิ่งต่ำงๆ ให้แก่วัดเช่น พื้นที่ปลูกข้ำว สวนผลไม้ สระเก็บน้ำ ข้ำวัดและปศุสัตว์ จะเห็นว่ำ หำกก่อสร้ำงในรัชกำลของพระเจ้ำนำรำตูจริง จะมีเวลำกำร ก่อสร้ำงไม่ถึง ๑ ปี เพรำะว่ำพระองค์สวรรคตในปีเดียวกัน ชั่วระยะเวลำในกำรก่อสร้ำงเพียงเล็กน้อยเทียบกับ สิ่งก่อสร้ำงที่ขนำดใหญ่โตคงต้องใช้ทรัพยำกรจำนวนมหำศำล จำรึกดังกล่ำวจึงอำจเป็นจำรึกที่ทำขึ้นในชั้นหลัง เมื่อกำรกัลปนำให้แก่วัดก็เป็นได้ ไมได้ร่วมสมัยกับกำรก่อสร้ำงอำคำร อีกทั้งเป็นที่น่ำสังเกตว่ำ รูปแบบทำงสถำปัตยกรรมของอำคำรแสดงลักษณะของกู่พญำแบบมอญ แทนที่จะเป็นลักษณะของกู่พญำแบบพม่ำซึ่งกำลังได้รับควำมนิยม จึงน่ำสงสัยว่ำกู่พญำหลังนี้ได้ก่อสร้ำงขึ้นใน สมัยพระเจ้ำนำรำตูจริงหรือไม่ ในที่นี้จึงจำเป็นต้องศึกษำกู่พญำหลังนี้อย่ำงจริงจัง เพื่อกำหนดอำยุของอำคำร ใหม่ตำมที่ควรจะเป็น ผังบริเวณ ธรรมมะยังจี กู่พญำ เป็นอำคำรขนำดใหญ่ สร้ำงอยู่กึ่งกลำงของผังบริเวณวัดภำยในวงล้อมของกำแพง แก้ว มีซุ้มประตูทำงเข้ำทั้ง ๔ ทิศ ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ธรรมมะยังจี กู่พญำ เป็นอำคำรที่มีขนำดใหญ่มำก และเมื่อพิจำรณำจำกลักษณะทำงสถำปัตยกรรม และผังอำคำร พบว่ำมีกำรวำงผังอำคำรเช่นเดียวกับ กู่พญำแบบมอญ กล่ำวคือ ผังของอำคำรที่เป็นผังแบบ กำกบำทเหมือนกับผังของอำนันดำ กู่พญำ รวมไปถึงลักษณะชั้นหลังคำลำดก็เป็นลักษณะของกู่พญำแบบมอญ เช่นกัน


๓๖

แต่อย่ำงไรก็ตำม พื้นที่ภำยในอำคำรก็มีรูปแบบกู่พญำแบบพม่ำ กล่ำวคือ มีอำคำรสูง และมีอุโมงค์ ทำงเดินบนชั้นลอย เมื่อมองรูปด้ำนอำคำรจึงเห็นช่องเปิดชั้นล่ำงและบน จึงดูประหนึ่งว่ำเป็นอำคำรที่มีพื้นที่ใช้ สอยสองชั้นเช่นเดียวกับอำนันดำ กู่พญำ ตัวอำคำรอยู่บนลำนประทักษิณพื้นมีพนักเตี้ยๆ ล้อมรอบ มีทำงขึ้นสู่ลำนประทักษิณตรงตำแหน่งมุข ทั้ง ๔ ทิศ ตัวอำคำรเป็นกู่พญำที่มีพื้นที่ใช้สอยภำยในเพียงชั้นเดียว ที่มีห้องโถงประกอบพิธีกรรมขนำด ๖.๙๕ x ๑๒.๑๐ เมตร แต่เมื่อมองจำกรูปด้ำนของอำคำรจะเห็นว่ำมีเรือนธำตุ ๒ ชั้น โดยชั้นล่ำงเจำะเป็นช่องเปิด สำหรับใช้เป็นช่องประตูชั้นบนเป็นช่องเปิดของหน้ำต่ำง ซุ้มประตูทำงเข้ำเป็นซุ้มโค้ง กลีบบัวและมีซุ้มบันแถลง ทรงเคล็ดโตรัน ซุ้มประตูทำงเข้ำทั้งสองฟำกของประตูหลักประดับด้วยซุ้มบันแถลงยอดเจดีย์ มีบันไดขึ้นชั้นบนอยู่ในกำแพงที่มุมด้ำนตะวันออกเฉียงใต้ พื้นที่อุโมงค์ทำงเดินคงเป็นพื้นไม้เนื่องจำก บนผนังมีเส้นคิ้วบัวคำดอยู่ในตำแหน่งที่จะปูพื้นไม้แต่ ทว่ำไม่มีพื้นไม้เหลืออยู่เลย อำจเป็นไปได้ว่ำอำจจะผุพัง หรือก่อสร้ำงไม่แล้วเสร็จก็ได้ ดังที่กล่ำวว่ำ ผังอำคำรมีลักษณะเช่นเดียวกับอำนันดำ กู่พญำ คือมีแกนกลำงรับน้ำหนักขนำดใหญ่ ๒๙.๕๐x๓๐.๐๕ เมตร และยกมุขออกมำสี่ทิศ จำกกำรสำรวจทำงโบรำณคดีพบว่ำ มีกำรสร้ำงอุโมงค์ทำงเดินรอบแกนกลำงอยู่ สองชั้น อุโมงค์ ทำงเดินชั้นนอกกว้ำง ๒.๗๐ เมตร ทำงเดินรอบในกว้ำง ๒.๖๐ เมตร และมีทำงเดินเชื่อมระหว่ำงทำงเดิน ชั้นนอกและทำงเดินชั้นใน แต่ว่ำอุโมงค์ชั้นในและห้องบูชำอีกสำมทิศ คือ ทิศใต้ ทิศตะวันตก และทิศเหนือก็ถูก ก่อปิดโดยนำเศษอิฐหักและดินเข้ำไปถมภำยในอุโมงค์ กำรก่อปิดห้องดังกล่ำว ชวนให้คิดในกำรก่อสร้ำงคงเกิดปัญหำทำงโครงสร้ำงเนื่องจำกปริมำตรอำคำร ด้ำนบนเป็นโครงสร้ำงก่ออิฐตัน ทำให้มีน้ำหนักมหำศำลส่งลงมำและทำให้เกิดกำรทรุดตัวลงจนต้องมีกำร แก้ปัญหำโครงสร้ำงนั่นเอง


๓๗

๑๗. สุลามุณิ กู่พญา (Sula Muni Gu Hpaya) พุทธศตวรรษที่ : พุทธศตวรรษที่ ๑๘ (พ.ศ.๑๗๒๖) ตำมจำรึกกำรก่อสร้ำงและกัลปนำที่ดิน รูปแบบ : กู่พญำ ๒ ชั้น มีแกนกลำงรับน้ำหนัก ชั้นล่ำงมีห้องบูชำ ๔ ทิศ ชั้นสองมีห้องบูชำ ๔ ทิศ และมีทำงเดินรอบทั้งสองชั้น เรือนยอด : เรือนยอดทรงศิขร ผู้สร้าง : พระเจ้ำนำรำปติซีตู (ครองรำชย์ พ.ศ.๑๗๑๗-๑๗๕๔) ที่ตัง : ทำงทิศตะวันออกเฉียงเหนือของธรรมมะยังจี กู่พญำ ประวัติความเป็นมา “สุลำมุณิ” หมำยถึง “พระเจดีย์จุฬำมณี” ซึ่งในคัมภีร์ทำงศำสนำกล่ำวว่ำเป็นที่ประดิษฐำนพระเกศำ ที่เจ้ำชำยสิทธัตถะปลงออกตอนมหำภิเนษกรมณ์ ซึ่งพระอินทร์ได้อัญเชิญขึ้นไปประดิษฐำนในเจดีย์จุฬำมณีบน สวรรค์ชั้นดำวดึ งส์ที่พ ระองค์เป็ นใหญ่ กำรที่พระเจ้ำ นำรำปติซีตู สร้ำ งกู่พญำหลั ง นี้ จึ ง เป็น กำรสร้ำงควำม ศักดิ์สิทธิ์แก่เมืองพุกำมให้เทียบเท่ำกับสุทัศนะนครบนสวรรค์ชั้นดำวดึงส์ด้วยนั่นเอง ในพงศำวดำรฉบับหอแก้วกล่ำวว่ำ พระองค์มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้ำงถวำยเป็นพุทธบูชำและหมำยจะไป ยังพระนิพพำน จึงโปรดให้สร้ำงขึ้นบนพื้นที่ที่พระองค์พบทับทิมฉำยแสงอยู่ในระหว่ำงที่พระองค์เสด็จกลับจำก เขำตุยวิน จึงให้สร้ำงสุลำมุณิ กู่พญำขึ้นบนพื้นที่นั้น ผังบริเวณ ผังบริเวณของวัดสุลำมุณิเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสล้อมรอบด้วยกำแพงแก้วก่ออิฐสูงประมำณ ๓ เมตร มี ซุ้มประตูทำงเข้ำอยู่ทั้งสี่ทิศ สุลำมุณิ กู่พญำ ตั้ง อยู่กลำงผัง สร้ำงบนฐำนไพทีที่ยกสูง จำกพื้นดินประมำณ ๑ เมตร มีบันไดทำงขึ้นทั้งสี่ทิศ นอกกำแพงทำงทิศเหนือมีแถวกุฏิตั้งเรียงรำยขนำนไปกับแนวกำแพงของวัด สิ่งที่น่าสนใจ ๑.ภำพจิ ต รกรรมฝำผนั งมี จ ำรึ ก ก ำกับ ว่ ำ ปี พ.ศ.๒๓๒๑ ตรงกั บ รำชวงศ์ ค องบองซึ่ง ร่ ว มสมั ย กั บ รัตนโกสินทร์ตอนต้น จะเห็นได้ว่ำแม้ว่ำศูนย์กลำงกำรปกครองได้ล่มสลำยลงไป แต่ทว่ำเมืองพุกำมยัง ได้ทำ หน้ำที่เป็นศูนย์กลำงทำงพุทธศำสนำมำโดยตลอด ๒. นอกก ำแพงทำงทิ ศ เหนื อ เป็ น ที่ ตั้ ง ของเขตสั ง ฆำวำสขนำดใหญ่ ประกอบด้ ว ยหมู่ กุ ฏิ ก่ อ อิ ฐ (Multiple Cell Monasteries) ที่เป็นกุฏิเรียงเป็นแถวรูปตัวยูล้อมรอบลำนตรงกลำงซึ่งเป็นที่ตั้งของกุฏิเดี่ยว ขนำดใหญ่และบ่น้ำใช้ที่กรุผนังบ่ด้วยอิฐ


๓๘

๑๘. ธรรมมะยาสิกา เซดี (Dhamma Yazika) พุทธศตวรรษที่ : กลำงพุทธศตวรรษที่ ๑๘ (ในปี พ.ศ.๑๗๓๙-๑๗๔๑) รูปแบบ : เจดีย์ผังห้ำเหลี่ยม องค์ระฆังทรงลอมฟำงไม่มีบัลลังก์ ผู้สร้าง : พระเจ้ำนำรำปติซีตู (ครองรำชย์ พ.ศ.๑๗๑๗-๑๗๕๔) ที่ตัง : นอกเมืองพุกำมไปทำงตะวันออกเฉียงใต้ ประวัติความเป็นมา “ธรรมมะยำสิกำ เซดี” บำงครั้งเรียกว่ำ “ธรรมมะรำชิกำ เซดี” เป็นสถูปขนำดใหญ่ในผังห้ำเหลี่ยมที่ พระเจ้ำนำรำปติซีตูโปรดให้สร้ำงขึ้นช่วงรัชกำลของพระองค์พุทธศำสนำมีควำมรุ่งเรืองอย่ำงสูง เนื่องมำจำก พระมหำเถระปัสคูได้กลับจำกลังกำมำจำพรรษำยังพุกำม ทำให้เกิดควำมตื่นตัวในกำรศึกษำพุทธศำสนำนิกำย ลังกำวงศ์ครั้งใหญ่อีกครั้ง ควำมน่ำสนใจประกำรหนึ่งคือ ชื่อ “ธรรมมะยำสิกำ” เป็นสถูปขนำดใหญ่ที่พระเจ้ำอโศกมหำรำช โปรดให้สร้ำงที่เมืองตักสิลำในแคว้นคันธำระในรำวพุทธศตวรรษที่ ๓ และต่อมำได้รับกำรบูรณะในสมัยพระเจ้ำ กนิษกะมหำรำชในพุทธศตวรรษที่ ๖ กษัตริย์ทั้ง สองได้รับกำรยกย่องว่ำเป็นมหำรำชผู้ยิ่ง ใหญ่ผู้ทำนุบำรุง พระพุทธศำสนำให้รุ่งเรืองอย่ำงมำก แม้ว่ำในสมัยพระเจ้ำนำรำปติซีตู พระพุทธศำสนำในเมืองตักสิลำได้ล่มสลำยลงจนหมดสิ้นแล้ว แต่ ภำพลักษณ์ของสถูปเจดีย์ที่กษัตริย์มหำรำชทั้งสองได้สร้ำงและทำนุบำรุงพระพุทธศำสนำให้รุ่งเรืองอย่ำงมำก คงเป็นที่รับรู้กันในพุกำมผ่ำนคัมภีร์มหำวงศ์ ซึ่งกล่ำวถึงประวัติกำรเผยแผ่พระพุทธศำสนำ กำรสร้ ำ งเจดี ย์ ธ รรมมะยำสิ ก ำจึ ง แสดงถึ ง กำรประกำศบุ ญ ญำธิ ก ำรของพระเจ้ ำ นำรำปติ ซี ตู ว่ ำ เทียบเท่ำกษัตริย์มหำรำชทั้งสองผ่ำนกำรก่อสร้ำงเจดีย์องค์นี้นั่นเอง ในจำรึกบนแผ่นหินของเจดีย์แห่งนี้กล่ำวว่ำ “กษัตริย์มหำรำชพระนำมว่ำชัยสุระ” เสด็จออกจำกกำ เมืองเมืองอริมัทนปุระเพื่อหำชัยภูมิมงคลสำหรับก่อสร้ำงรำชเจดีย์ และพบปำฏิหำริย์ของพื้นที่เป็นไอน้ำสีขำว พุ่งขึ้นมำจำกพื้นดิน เจดีย์ธรรมมะยำสิกำได้เริ่มก่อสร้ำงปี พ.ศ.๑๗๓๙ ใช้เวลำในกำรก่อสร้ำงประมำณสองปีจึงแล้วเสร็จ โดยพบจำรึกที่ติดตั้งไว้ในห้องบูชำของวิหำรทิศตะวันออกกล่ำวถึง กำรเลือกพื้นที่ก่อสร้ำง กำรกัลปนำ กำร ก่อสร้ำงเจดีย์ รวมไปถึงขอบเขตอำนำจของอำณำจักรพุกำม ผังบริเวณ เจดีย์ธรรมมะยำสิกำ ตั้งอยู่ทำงทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองโบรำณพุกำม มีผัง บริเวณรูปสิบห้ำ เหลี่ยมล้อมด้วยกำแพงแก้ว มีซุ้มประตูทำงเข้ำที่แกนหลักทั้งห้ำ ตำแหน่งกลำงของผังบริเวณมีฐำนไพทีอันเป็น ที่ตั้งของเจดีย์ผังห้ำเหลี่ยมขนำดใหญ่สร้ำงบนแกนทั้งห้ำมีวิหำรที่เชื่อมต่อแนวแกนไปยังซุ้ มประตูทำงเข้ำทั้งห้ำ หลัง


๓๙

กำรวำงผังพื้นที่และองค์เจดีย์ แสดงถึงกำรให้ควำมสำคัญของทิศตะวันออก คือกำรสร้ำงเจดีย์ในผังห้ำ เหลี่ยมไม่สำมำรถวำงตัวตำมทิศทั้งสี่ได้ตำมปกติ แต่กระนั้นก็หันแกนประธำนของเจดีย์ไปทำงทิศตะวันออก สำหรับพัฒนำกำรทำงสถำปัตยกรรมของเจดีย์ผังห้ำเหลี้ยมได้ก้ำวข้ำมขีดจำกัดเดิม เนื่องจำกสำมำรถ ประดิษฐำนพระพุทธรูปของพระปัญจพุทธเจ้ำทั้งห้ำองค์ได้อย่ำงลงตัว และส่งผลให้ควำมหมำยของผังบริเวณ ในฐำนเป็นดั่งชมพูทวีปที่พระบรมโพธิสัตว์ทุกพระองค์มำอุบัติ และตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้ำอีกด้วย ลักษณะทางสถาปัตยกรรม เจดีย์ธรรมมะยำสิกำเป็นเจดีย์ผังห้ำเหลี่ยม มีฐำนปัทม์ซ้อนสำมชั้น ที่แนวแกนทั้งห้ำมีบันไดทอดจำก ลำนทักษิณด้ำนล่ำงสู่ลำนทักษิณชั้นบน องค์เจดีย์ทรงลอมฟำงมีขนำดใหญ่ บนองค์ระฆังประดับด้วยลำยปูน ปั้ น หน้ ำ กำลคำยพวงอุ บ ะ ปั จ จุ บั น องค์ ร ะฆั ง ถู ก บู ร ณะปิ ด ทองใหม่ ทั้ ง องค์ ใ นสมั ย ที่ น ำยพลขิ่ น ยุ้ น เป็ น นำยกรัฐมนตรี ด้ำนหน้ำเจดีย์บนตำแหน่งแกนทั้งห้ำสร้ำงกู่พญำทำหน้ำที่เป็นห้องบูชำประจำทิศซึ่งสร้ำงขึ้นเพิ่มเติม ในภำยหลัง เนื่องจำกกู่พญำสร้ำงคร่อมทับบนบันไดเดิมที่ทอดลงมำยังลำนประทักษิณ ทำให้ต้องสร้ำงบันไดหัก มุมอยู่ด้ำนหลังกู่พญำแทน และสร้ำงทับแผ่นภำพชำดกเคลือบบำงส่วนที่ตกแต่งฐำนของเจดีย์ไป

๑๙. สปัททะ เซดี (SAPADA ZEDI) พุทธศตวรรษที่ : กลำงพุทธศตวรรษที่ ๑๘ (หลังพ.ศ.๑๗๔๓) รูปแบบ: เจดีย์ทรงระฆัง มีบัลลังก์สี่เหลี่ยม ผู้สร้าง: พระสปัทเถระ ที่ตัง: หมู่บ้ำนยองอู ประวัติความเป็นมา “สปัททะ เซดี” หรือที่รู้จักกันในภำษำไทยว่ำ “เจดีย์ฉปัฎ” เป็นเจดีย์ขนำดไม่ใหญ่ตั้งอยู่ที่หมู่บ้ำนยอง อู สันนิษฐำนว่ำสร้ำงโดยพระสปัททะเถระ ตำมควำมในจำรึกกัลป์ยำนีกล่ำวว่ำ พระเจ้ำนำรำปติซีตูได้โปรดให้ พระมหำเถรอุตรำชีวะไปสืบบวชเป็นสำมเณรตำมไปอุปัฏฐำกและบวชเรียนอยู่ในลังกำต่อมำจนเมื่ออำยุครบจึง อุปสมบทเป็นพระภิกษุในนิกำยลังกำวงศ์หลังจำกนั้นอีก๑๐ปี จึงเดินทำงกลับมำพุกำมพร้อมคณะสงฆ์อีก ๔รูป เพื่อฟื้นฟูศำสนำในเมืองพุ กำม จึงสันนิษฐำนว่ำ เจดีย์นี้สร้ำงขึ้นช่วงเวลำกลำงพุทธศตวรรษที่ ๑๘ เป็นต้นมำ หรือ ในช่วงรัชสมัยของพระเจ้ำนำรำปติซีตูถึงสมัยพระเจ้ำติโลมินโล


๔๐

ลักษณะทางสถาปัตยกรรม เจดีย์สปัททะเป็นเจดีย์ทรงระฆังแบบลังกำผสมเจดีย์ปำละ กล่ำวคือ มีองค์ระฆังสูงเพรียวกว่ำเจดีย์ทรง ลังกำที่เป็นต้นแบบ แต่มีบัลลังก์สี่เหลี่ยมแทนที่จะเป็นบัลลังก์ย่อมุมแบบปำละ องค์เจดีย์สร้ำงอยู่บนฐำนไพที ยกสูงจำกพื้นดินประมำณ๒ เมตร ล้อมรอบด้วยกำแพงแก้วเตี้ยๆ บันไดขึ้นสู่ลำนประทักษิณ ๒ ทำง คือ ทำง ทิศตะวันออก และตะวันตก บันไดทำงขึ้นตะวันออกเป็นซุ้มประตูทำงเข้ำแบบโตรนะ และมีรำวบันไดก่ออิฐที่ ปลำยเป็นรูปหำงวัน ฐำนของเจดีย์เป็นฐำนปัทม์ซ้อนสองชั้น บริเวณท้องไม้เจำะเป็นกรอบช่องกระจกเหนือขึ้นไปเป็นฐำน ขององค์ระฆังแบบบัวถลำ องค์ระฆังคำดด้วยบัวลูกแก้ว ก่อนจะลำดขึ้นเป็นองค์ระฆังแบบลังกำ เหนือขึ้นไป เป็นบัลลังก์สี่เหลี่ยมมีท้องไม้กว้ำงจึงใส่บัวลูกแก้วคำดอยู่สองเส้นเพื่อทอนควำมกว้ำงของท้องไม้ลง จำกนั้นจึง ต่อขึ้นเป็นก้ำนฉัตร และส่งต่อขึ้นเป็นชั้นบัวหงำยรองรับปล้องไฉนที่มีลักษณะเป็นกรวยสั้นๆที่อยู่ด้ำนบน แต่ อย่ำงไรก็ตำมส่วนยอดเจดีย์ตั้งแต่ชั้นบัลลังก์ขึ้นไปได้ถูกบูรณะใหม่ในปีพ .ศ. ๒๕๒๖ จึงสันนิษฐำนว่ำลักษณะ ของปล้องไฉนเดิมควรจะเป็นทรงกรวยเช่นเดียวกับเจดีย์ในลังกำ

๒๐. ติโลมินโล กู่พญา (HTI LO MIN LO GU HPAYA) พุทธศตวรรษที่: กลำงพุทธศตวรรษที่๑๘ (ระหว่ำงพ.ศ.๑๗๕๔-๑๗๗๔) รูปแบบ: กู่พญำ ๒ ชั้น มีแกนกลำงรับน้ำหนัก ชั้นล่ำงมีห้องบูชำ ๔ ทิศ ชั้นสองมีห้องบูชำ ๔ ทิศ และมี ทำงเดินรอบทั้งสองชั้นเรือนยอด: เรือนยอดทรงศิขร ผู้สร้าง: พระเจ้ำเซยะเตงขะนะเดำง์มยำ (ครองรำชย์ระหว่ำงปี พ.ศ.๑๗๕๔-๑๗๗๔) ที่ตัง: ทำงตะวันออกของอุปำลี เต่ง ประวัติความเป็นมา พงศำวดำรฉบับหอแก้วกล่ำวว่ำ พระเจ้ำนำรำปติซีตูเสี่ยงทำยเศวตฉัตรเพื่อหำรัชทำยำทจำกพระโอรส ทั้ง ๕ องค์ เศวตฉัตรได้โน้มเอียงมำยังตำแหน่งที่เจ้ำชำยเซยะเตงขะนะเดำง์มยำนั่ง อยู่จึงถูกคัดเลือกให้เป็น รั ช ทำยำท เมื่ อ ขึ้ น ครองรำชย์ ส มบั ติ พระองค์ จึ ง สร้ ำ งกู่ พ ญำขึ้ น บนต ำแหน่ ง ที่ เ สี่ ย งทำยดั ง กล่ ำ ว และ พระรำชทำนนำมว่ำ “ติโลมินโล” ซึ่งหมำยถึง “ติโลกรำชำ” หรือ “กษัตริย์ผู้เป็นใหญ่ในสำมโลก”


๔๑

๒๑. มหาโบดี กู่พญา (MAHA BODHI GU HPAYA) พุทธศตวรรษที่: ปลำยพุทธศตวรรษที่ ๑๘ รูปแบบ: กู่พญำ ๒ ชั้น มีห้องบูชำตรงกลำง เรือนยอด: เรือนยอดทรงพีระมิด ผู้สร้าง: พระเจ้ำเซยะเตงขะนะเดำง์มยำ (พ.ศ.๑๗๕๔-๑๗๗๔) ที่ตัง: ริมแม่น้ำอิรวดี ไม่ไกลจำกเจดีย์บูพญำ ประวัติความเป็นมา “มหำโบดี กู่พญำ” ถูกสร้ำงขึ้นเพื่อระลึกถึงพุทธคยำอันเป็นสถำนที่ที่พระพุทธเจ้ำเสด็จตรัสรู้ใต้ต้น พระศรีมหำโพธิ์ พงศำวดำรฉบับหอแก้วกล่ำวถึง กษัตริย์อย่ำงน้อยสองพระองค์ที่มีพระรำชศรัทธำให้ไปบูรณะ พุทธคยำ คือ พระเจ้ำยันสิตตำ และพระเจ้ำอลองซีตูก่อนหน้ำที่พระเจ้ำเซตะเตงขะนะเดำง์มยำจะให้นำงช่ำงไป ถ่ำยแบบพุทธคยำมำก่อสร้ำงที่เมืองพุกำม มีจำรึกกัลปนำที่พบระบุปีพ.ศ. ๑๗๘๕ และปีพ.ศ. ๑๗๙๘ ได้กล่ำวถึงกำรกัลปนำที่ดินและข้ำวัด และ กล่ำวระบุว่ำมอบให้แก่วัดอรัญวำสี ซึ่งเป็นเหตุกำรณ์หลังจำกรัชสมัยพระเจ้ำเซยะเตงขะนะเดำง์มยำ ทำให้ ทรำบว่ำวัดแห่งนี้เคยทำหน้ำที่เป็นวัดป่ำของเมืองซึ่งอำจเป็นเพรำะที่ตั้งอยู่ทำงทิศตะวันตกของพระรำชวังเมือง พุกำมนั้นเอง ตั ว อำคำรมหำโบดี กู่ พ ญำ ได้ พั ง ทลำยลงมำจำกเหตุ ก ำรณ์ แ ผ่ น ดิ น ไหวในปี พ .ศ. ๒๕๑๘ แต่ ไ ด้ ปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ในปีถัดมำ

๒๒. อุบาลี เต่ง (Ubali Thein) พุทธศตวรรษที่ : สันนิษฐำนว่ำสร้ำงในรำวพุทธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙ รูปแบบ : อำคำรก่ออิฐทรงจั่ว ผู้สร้าง : ไม่ปรำกฏ ที่ตัง : อยู่ทำงตะวันตกของติโลมินโล กู่พญำ ประวัติความเป็นมา “อุบำลี เต่ง (Ubali Thein)” คือ “พระอุโบสถ” คำว่ำ “เต่ง” “เธียน” หรือ “เถียน” หมำยถึง “สีมำ” ในที่นี้หมำยถึง “อุบำลีสีมำ” หรือ “อุโบสถของพุทธศำสนำนิกำยอุบำลีวงศ์จำกลังกำ” นั่นเอง ตำ จำรึกภำษำพม่ำที่พบเหนือช่องหน้ำต่ำงด้ ำนทิศเหนือ ระบุว่ำเริ่มเขียนจิตรกรรมฝำผนังเมื่อวันที่ ๔ มีนำคม พ.ศ.๒๓๓๖ และเขียนเสร็ จหลังจำกนั้น ๑ ปี ซึ่ง ร่ วมสมัยกับยุค รัตนโกสินทร์ ตอนต้นของไทย จำกควำม ดังกล่ำว แสดงว่ำมีกำรเข้ำมำของพุทธศำสนำลังกำพม่ำอีกครั้งในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๔ แสดงว่ำเมืองพุกำม


๔๒

ไม่ได้ร้ำงผู้คนไปเสียเลยทีเดียว พุทธศำสนำที่เข้ำมำอีกครั้งเป็น “นิกำยอุบำลีวงศ์” หรือ “นิกำยสยำมวงศ์” ซึ่ง มีรำกฐำนจำกสยำมในสมัยอยุธยำตอนกลำง อย่ำงไรก็ตำมอำจหมำยถึงพระอุบำลีอรหันต์เอตทัคคะทำงพระ วินัยของพระพุทธเจ้ำ ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ตัวอำคำรสร้ำงอยู่บนฐำนไพทีที่ยกจำกพื้นสูงประมำณ ๕๐ เซนติเมตร ล้อมรอบด้วยกำแพงแก้วเตี้ยๆ มีทำงขึ้นสู่ฐำนไพทีทั้ง ๔ ทิศ แต่ทำงเข้ำหลักอยู่ทำงทิศตะวันออกลักษณะทำงสถำปัตยกรรมเป็นอำคำรก่ออิฐ ชั้นเดียว เลียนแบบอำคำรเครื่องไม้ หลังคำทรงจั่วและมีชำยคำปีกนกอีก ๑ ตับ ที่ปลำยชำยคำทั้ง หลัง คำ ประธำนและหลังคำปีกนก ตกแต่งด้วยใบเสมำตลอดแนวหลัง คำ ตรงกึ่ง กลำงมีซุ้มบันแถลงบนสันหลัง คำ ประธำนมีเจดีย์ทรงระฆังขนำดเล็กนั่งอยู่บนเส้นหลังคำและมีบรำลีเรียงอยู่ตลอดแนวเส้นหลังคำ เมื่อดูจำกรูปด้ำนภำยนอกจะเห็นว่ำเป็นอำคำรทรงจั่ว แต่เมื่อพิจำรณำจำกรูปตัดของอำคำรจะเห็ นว่ำ โครงสร้ำงภำยในเป็นซุ้มโค้ง (ดูจำกรูปด้ำนหน้ำจะเห็นเป็นหลังคำทรงจั่ว) แล้วถ่ำยน้ำหนักโครงสร้ำงก่ออิฐของ หลังคำลงมำยังผนังรับน้ำหนักทั้งสี่ด้ำน เจำะช่องประตูทำงเข้ำ ๔ ทิศ ที่ด้ำนหน้ำและด้ำนหลัง เป็นประตูทรงปรำสำทส่วนทำงด้ำนข้ำงเป็น ประตูทรงซุ้มบันแถลง ภำยในอำคำรเป็นห้องสี่เหลี่ยมผืนผ้ำขนำด ๕.๒๑ x ๑.๓๐ เมตร ทำงด้ำนทิศตะวันตก ประดิษฐำนพระพุทธรูปปำงมำรวิชัยอยู่บนชุกชีด้ำนหลัง พระพุทธรูปก่อเป็นพนักสูง จรดเพดำนทำหน้ำที่รับ น้ำหนักหลังคำไปในตัว บนพนักเขียนจิตรกรรมรูปต้นโพธิ์ และเทวดำผู้คอยอุปัฏฐำก ซึ่งมีกำรวำงองค์ประกอบ อย่ำงงดงำม ด้ำนหลังมีพระพุทธรูปขนำดย่อมประดิษฐำนอยู่อีกองค์หนึ่งหันพระพักตร์ไปทำงทิศตะวันตกซึ่ง เป็นด้ำนหลังของอำคำร และเว้นเป็นทำงเดินแคบ พอให้สัญจรได้โดยรอบ บนผนังอำคำรเจำะช่องแสงด้ำนละสองช่องให้แสงสอดเข้ำมำได้เพียงเล็กน้อยขับให้จิตรกรรมฝำผนัง ภำยในที่ใช้โทนสีฉูดฉำดยิ่งงดงำมมำกขึ้น ซึ่ง จิตรกรรมดัง กล่ำวเป็นงำนสมัยหลัง ที่มีกำรใช้สีที่หลำกหลำย แตกต่ำงจำกจิตรกรรมฝำผนังสมัยพุกำมที่ใช้สีกลุ่มเอิร์ทโทน คือ เหลือง น้ำตำล แดง ดำ อีกทั้งภำพเขียนสมัย พุกำมมักเขียนภำพอดีตพระพุทธเจ้ำและลวดลำยแบบเรำขำคณิต แต่จิตรกรรมฝำผนังในอุบำลี เต่งเขียนภำพ พุทธประวัติ กำรเสด็จออกมหำภิเนษกรมณ์ของอดีตพุทธ ๒๘ องค์ สอดแทรกด้วยภำพกำกที่แสดงวิถีชีวิตผู้คน อยู่มำกมำย บนเพดำนโค้งเขียนเป็นภำพดอกบัวบำนอยู่ในกรอบย่อมุมอย่ำงงดงำม จำกเหตุกำรณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ในปี พ.ศ.๒๕๑๘ ทำให้หลัง คำทำงตะวันออกพัง ทลำยลงมำ จึง บูรณะเสริมควำมแข็งแรงโดยใส่โครงสร้ำงเหล็กค้ำยันอยู่ภำยในอำคำรในกำรซ่อมแซมครั้งนั้น


มัณฑะเล แสงสุดท้ายแห่งราชวงศ์พม่า


๔๔

มัณฑะเล : มณฑลแห่งจักรวาล มัณฑะเล มีอีกชื่อหนึ่งเรียกว่า ชเวมโยดอจี หรือ ชเวเมียวดอจี หมายถึง สุวรรณนคร อีกชื่อหนึ่ง เรียกว่า ยาดานาโบง มัณฑะเลมีแม่น้าอิรวดีอยู่ทางด้านตะวันตก ตัวเมืองนันตังอยู่ห่างจากฝั่งน้ามาทางที่ดอน บนพืนที่ลาด ชันเข้าสู่เชิงเขาของที่ราบสูงฉานทางตะวันออก นอกจากแม่น้ า อิ รวดี แล้ ว ยั งมี แ ม่ น้า อี ก ๒ สายคือ ซองมาจี และ เมีย ะเหง่ แม่ น้ า ซองมาจี เ ป็ น พรมแดนระหว่างมัณฑะเลและดินแดนที่ตังถิ่นฐานของพวกไตใหญ่ซึ่งเรียกแม่น้าว่า น้าไผ ส่วนแม่น้าเมียะเหง่ พวกไตใหญ่เรียกว่า น้าตู ซึ่งไหลไปทางใต้ถึงท้องทุ่งเจ๊าเซ รวมกับแม่น้าอิรวดีที่ตอนเหนือเมืองอังวะ บริเวณมัณฑะเลและปริมณฑลมีทะเลสาบ ๒ แห่งคือ ทะเลสาบชเวตี อยู่ทางตะวันออกของตองยี และทะเลสาบตองตะมาน อยู่ใกล้อมรปุระ แต่แหล่งน้าหล่อเลียงมัณฑะเลโดยตรงคือ ทะเลสาบนานดา อันเป็น ทะเลสาบขุด มีค้าคลองเชื่อมส่งน้าเข้าคูเมืองมัณฑะเลอีกต่อหนึ่ง ที่ราบอันเป็นที่ตังเมืองมัณฑะเลมีเขาส้าคัญอยู่ ๔ แห่ง คือ เขาสะกาย แยกกลุ่มอิรวดีจากพืนที่ทาง ตะวันออก เขายางเกงตอง และกาลามาตอง ทางตะวันตกเฉียงใต้ เขาส้าคัญที่เป็นชัยภูมิของเมืองมัณฑะเลคือ ดอยมัณฑะเล เสมือนดอยสุเทพเป็นชัยภูมิของเชียงใหม่ ตระหง่านอยู่เหนือพืนที่ชนบทของมัณฑะเล มีความสูง ถึง ๒๓๖ เมตร (ประมาณ ๙๕๔ ฟุต) มีบันไดทางขึน ๑,๗๒๙ ขัน อยู่ทางทิศใต้ ตลอดทางขึนไปสู่ยอดเขาภาพ อันเจนตาของทกผู้ที่ไปเยือน คือศาสนสถานพระพุทธรูปอยู่ตรงนัน โบสถ์ วิหารอยู่ตรงนี และซากปรักหักพัง ของพุทธะ ด้วยเงื่อนไขทางสภาพภูมิประเทศดังกล่าว ท้าให้ด้านตะวันตกของเมืองมัณฑะเลตอนใกล้ล้าน้าอิรวดี ลุ่มต่้ากว่าทางด้านตะวันออก น้าหลากท่วมเสมอ แต่เมืองมัณฑะเลตังอยู่ในที่ค่อนข้างดอนห่างฝั่งมากทางด้าน ตะวันออกจึงอยู่ห่างล้าน้า เพราะฉะนันต้องอาศัยระบบชลประทาน น้าน้าจากทะเลสาบนันทะ หรืออองปินเล อยู่ทางตอนเหนือของเมือง (เข้าใจว่าเป็นทะเลสาบจุดส้าหรับการชลประทาน) เข้าคูเมืองแล้วไขเข้าไปใช้ใน เมือง ส่วนด้านตะวันตกให้ถมดินยกเป็นคันกันน้าตลอดแนว มัณฑะเลเป็นเมืองใหม่สร้างสมัยพระเจ้าเมงดง เมื่อ พ.ศ.๒๔๐๐ ทรงโปรดให้วางผังเมืองอย่างเมือง อมรปุระอันเป็นราชธานีก่อน สัณฐานเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีพระราชวังตังอยู่กลางเมือง สมเด็จฯ กรมพระยา ด้ารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานไว้ว่า พระเจ้าปดุงถ่ายแบบเมืองหงสาวดีของพระเจ้าบุเรงนองไปสร้างเมืองอมร ปุระ ตัวเมืองมัณฑะเลเป็นสี่เหลี่ย มจัตุรัส วางแนวก้าแพงตรงตามทิศทังสี่เท่ากันทังสี่ด้าน แต่ละด้านยาว ประมาณ ๒,๒๕๕ หลา (๖,๓๖๕ ฟุต) มีประตูซุ้มยอดด้านละ ๓ ประตู ประตูกลางของแต่ละด้านอยู่ตรงตาม ทิศทังสี่ โดยมีพระบรมมหาราชวังเป็นศูนย์กลาง ประตูกลางท้าหลังคาทรงปราสาทเจ็ดยอด ประตูอื่น เป็น หลังคาห้ายอด หอที่มีหลังคาทรงปราสาทนีพม่าเรียก เปียตั๊ต มีหอรบรายก้าแพงทุกระยะ ๘๙ วา (๑๓๘ เมตร)


๔๕

ลักษณะหลังคาเป็นทรงปราสาททุกหอ ตามประตูหลักและสี่ มุมเมืองตังศาลเทพารักษ์และผีนั ต หรือแน๊ต ส้าหรับสักการะ ก้าแพงเมืองก่อด้วยอิฐสอดิน สูง ๒๐ ฟุต กว้าง ๑๐ ฟุต บนก้าแพงก่อทางปืนสูงขึนไปอีกประมาณ ๗ ฟุต รวมแล้วก้าแพงสูง ๒๗ ฟุต ด้านในก้าแพงมีเชิงเทินดินจากการขุดคูเมือง คูเมืองอยู่ห่างจากก้าแพง ๑๓๕ ฟุต กว้าง ๒๕๐ ฟุต ลึก ๑๑ ฟุต ตรงประตูเมืองข้างนอกเป็นลับแลอิฐสูงเท่าก้าแพงเมืองส้าหรับบังทางปืน มิให้ ยิงกรอกประตู ระยะทางจากก้าแพงถึงคูเมืองเป็นถนนรอบก้าแพงเมือง เดิมมีสะพานข้ามคูเมืองเข้าพระนครทางประตูกลางทุก้านยกเว้นทางด้านตะวันตกมีสะพานหนึ่งเชื่อม ตามแนวทิศตะวันตก-ใต้ เป็นสะพาน “ประตูผี” คือทางส้าหรับน้าศพออกจากเมือง บันทึกของฝรั่งว่า เมื่อพระ เจ้าตีบอและพระนางสุภยาลัตยอมแพ้แก่อังกฤษ เจ้าหน้าที่อังกฤษต้องการลบพระบารมีจึงให้เสด็จออกทางนี เพื่อลงเรือล่องน้าอิระวดีไปเมืองย่างกุ้ง ตรงบริเวณที่สร้างพระบรมมหาราชวังมีระเนียดไม้สักล้อม มีทางเข้าสี่ประตู ถัดจากระเนียดเข้าไปเป็น ก้าแพงอิฐล้อมวัง มีถนนใหญ่จากประตูกลางเข้าไปถึงพระมหาราชวังทังสี่ด้าน เนือที่ในพระนครระหว่างก้าพง เมืองและระเนียดใช้ส้าหรับราชการและสร้างวังเจ้านายบ้านขุนนาง ที่อยู่อาศัยของบ่าวไพร่ ในพืนที่ส่วนนีมี ถนนซอยเล็กๆ ตัดออกเป็นตารางสี่เหลี่ยม แต่ไม่มีวัดหรือเจติยสถานภายในพืนที่ก้าแพงเมืองล้อมรอบ ท้าเลที่ตังอันเหมาะสมของเมืองมัณฑะเลนีอยู่ในรัศมีการขยายอาณาจักรพุกามมาแต่โบราณแล้ว ดัง ปรากฏในต้านานนิทานซึ่งชีให้เห็นถึงความเหมาะสมของสภาพภูมิประเทศในอันที่จะสร้างเมือง หม่อง ทิน อ่อง นักวิชาการพม่าและ ขิ่น เมียว ฉิต นักเขียนชาวพม่าต่างบันทึกต้า นาน นิทาน ดังกล่าวซึ่งเริ่มเรื่องตังแต่ สร้างศาสนสถานเป็นศูนย์กลางของชุมชนแล้วขยายบ้านเมืองออกไป เจติยสถานส่วนใหญ่ในเมืองมัณฑะเลเป็นของใหม่ทังสิน ยกเว้นบางแห่งซึ่งมีประวัติศาสตร์ย้อนหลังไป ไกล รูปลักษณ์ทางโบราณคดีก็ยืนยันถึงอดีตอันยาวนานนันด้วย อีกทังสาระจากต้านานยัง บ่ง ชีว่าการสร้าง เจติยสถานที่ตรงบริเวณนีเป็นเรื่องของการขยายขอบเขตการตังถิ่นฐาน เจดีย์ชเวจีเมี่ยน ปัจจุบันตังอยู่ตรงย่านธุรกิจของเมือง เดิมบริเวณนีเป็นพืนที่ยังไม่ ได้บุกเบิก ขณะนัน พระเจ้าอลองสิตูปกครองอาณาจักรพุกามซึ่งอยู่ไปทางใต้ พระเจ้าอลองซิตูทรงเป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศ์ อโนรธาที่ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่ง ทังในด้านการบริหารมัณฑะเลในช่วง พ.ศ.๒๔๓๔-๒๔๓๘ กล่าวถึงลักษณะเด่น นีเช่นกันในหนังสือเขาเขียนไว้ว่า พระราชวังมัณฑะเลมีกลุ่มอาคารทางด้านตะวันออก มีพระมหาปราสาทและ พระที่นั่งหลายหลังซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของพิธีการที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์ ที่ส้าคัญคือพระมหาปราสาทอัน เป็นศูนย์กลางแห่งจักรวาล โบราณวัตถุสถานในกรุงมัณฑะเลแบ่งได้เป็น ๕ กลุ่มได้แก่ ๑. ศาสนสถานก่อนสร้างเมืองมัณฑะเล ๒. ศาสนสถานสมัยพระเจ้าเมงดง ๓. ศาสนสถานหลังสมัยพระเจ้าเมงดง ๔. ศาสนาสถานในเขตปริมณฑลของมัณฑะเล ๕. พระราชวังมัณฑะเล


๔๖

ศาสนสถานก่อนสร้างเมืองมัณฑะเล ๑. เซจาตีหะ เป็นวัดเจติยสถาน อยู่ไม่ไ กลจากวัดมยาดอง หรือวัดพระนางสุภยาลัตไปทางเหนือ ประดิษฐานพระพุทธรูปส้าริดขนาดใหญ่กว่าพระมหามุนี เป็นพระพุทธรูปยืนสูง ๑๖ ฟุต แบบอังวะ ซึ่งพระเจ้า บายีดอโปรดให้สร้างที่เมืองอังวะในปี พ.ศ.๒๓๖๖ ก่อนเกิดสงครามระหว่างอังกฤษ-พม่าครังที่ ๑ ๒. เอนดอยาเจติยสถาน อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเซจาตีหะสถาน พระเจ้าพุกามโปรดให้สร้าง เมื่อ พ.ศ.๒๓๙๐ ตรงบริเวณที่ประทับของพระองค์ก่อนขึนครองราชย์เมื่อครังอมรปุระยังเป็นราชธานี พระเจ้า แผ่น ดิน โปรดให้สร้ างถนนสวยงามเชื่อมเจติยสถานแห่ ง นี กับพระมหาราชวัง ส้ าหรั บให้พระองค์เ สด็ จไป ทอดพระเนตรและสักการะได้ทุกวัน ณ เจติยสถานเคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปส้าคัญ ๓. เจติยสถานชเวจีเมี่ยน เจ้าชายเมิง ชินซอ โอรสของพระเจ้าอลองสิ ตูแห่งพุกามโปรดให้สร้างขึน ราชวงศ์พม่าสมัยต่อมาโปรดให้ประดิษฐานพระพุทธรูปเงิน ทอง นาก ตกแต่งด้วยอัญมณีมีค่า พระพุทธรูป เหล่านีเดิมอยู่ในพระบรมมหาราชวัง เป็นที่สักการบูชาของกษัตริย์พม่าแต่เก่าก่อน เมื่อถึงเทศกาลทางศาสนา อันเป็นวาระส้าคัญ ทางราชการจะอัญเชิญพระพุทธรูปเหล่านีออกมาให้ผู้คนสักการะ ๔. วัดมหามุนี หรือมหาเมียะมุนี เป็นวัดส้าคัญในเมืองมัณฑะเล ตังอยู่ห่างศูนย์กลางเมืองไปทางใต้ ประมาณ ๓ กิโลเมตร บนเส้นทางไปเมืองอมรปุระ สถานที่แห่งนีมีความส้าคัญทังต่อท้องถิ่นและจิตใจของผู้คน เฉกเช่น เดียวกั บพระพุท ธชินราชมีความหมายต่ อศรัทธาความคิ ดจิตใจของคนเมืองพิษณุ โลกและคนไทย โดยรวม มหามุนี แปลว่า “ผู้รู้ประเสริฐ” หรือ “มหาปราชญ์” วัดแห่งนีมีชื่อเรียกอื่นอีกว่า อาระกัน และ พยาจี บ้างก็เรียกกันว่า วัดยะไข่ พระเจ้าโบดอพญาโปรด ให้สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๓๒๗ เป็นที่ประดิษฐานพระมหามุนี พระพุทธรูปจากยะไข่หรืออาระกัน พระพุทธรูปมหามุนีสูง ๑๒ ฟุต ๗ นิว หุ้มด้วยทองค้าเปลวหนาไม่น้อยกว่า ๒ นิว องค์พระพุทธรูปทรง เครื่องประดับทอง เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ขนาดประมาณพระศาสดาที่วัดบวรนิเวศวิหาร ตอ เซียน โก นักโบราณคดี บันทึกขนาดของพระพุทธรูปไว้ดังนี

ความสูง รอบเอว รอบแขน ความกว้างระหว่างตันพาหา ความกว้างที่ฐาน

ฟุต ๑๒ ๙ ๔ ๖ ๙-

นิ้ว ๗ ๖ ๑๑ ๑


๔๗

ตามประวัติว่า ในการหล่อพระมหามุนีนันได้หล่อเป็น ๓ ท่อน แต่สามารถประสานเนือทองต่อสนิทกัน ดีไม่มีรอย ครันพระเจ้าโบดอพญาโปรดให้เชิญพระมหามุ นีมาเป็นศรีเมืองพม่านันก็ให้ เลาะรอยต่ออกเป็น ๓ ท่อน ลงเรื อ มาขึนท่า แล้วเดินบกบรรทุกตะเฆ่ลากต่อ มา ผ่านช่ องตองคุป ลงเรือแห่ มาตามน้า อิรวดีมายั ง อมรปุระ แล้วพระเจ้าโบดอพญาสร้างวัดเพื่อประดิษฐานดังกล่าวมาแล้ว ประวัติความเป็นมาของพระพุทธรูปมหามุนีเก่าแก่ พวกยะไข่เล่ากันเป็นต้านานว่า พระพุทธองค์เสด็จ มาโปรดสัตว์ ณ เมื องธันยาวดี แล้วทรงบ้าเพ็ญ สมาธิใต้ต้น โพธิ์ ประทับ ให้องค์สักกะคือพระอินทร์ สร้า ง พระพุทธรูปเหมือนไว้ส้าหรับฝูงชนได้เคารพบูชา ตามค้าอาราธนาขอของพระเจ้าจันทร์สุริยา เชื่อกันว่าพระพุทธรูปเหมือนจริงสร้างขึนสมัยพุทธกาลนันมีทังหมด ๕ องค์ นอกจากพระมหามุนีแล้ว อีก ๒ องค์ประทับอยู่ที่อินเดียอีก ๒ องค์อยู่บนสวรรค์ ตามหลักฐานทางโบราณคดีนัน เมืองธันยาวดีมีมาตังแต่ต้นคริสตกาล จนกระทั่งถึงสมัยพระเจ้าจันทร์ สุริยาขึนครองราชย์เมื่อ พ.ศ.๖๘๙ ทรงรับพุทธศาสนาเข้าดินแดนยะไข่ ถ้าเชื่อต้านานก็แสดงว่าพระพุทธรูป มหามุนีสร้างขึนสมัยพุทธศตวรรษที่ ๗ พระพุ ท ธรู ป มหามุ นี เ ดิ ม ประดิ ษ ฐานอยู่ บ นยอดเขาสิ ริ คุ ต แคว้ น ยะไข่ บ างแห่ ง เรี ย กศี ล คี รี แต่ พงศาวดารว่า พม่าเคลื่อนย้ายพระพุทธรูปมาจากเมืองเมียวฮอง กษัตริย์พม่าแต่ครังโบราณยกกองก้าลังเข้ารุก ยะไข่หลายครังหลายครา เช่น พระเจ้าอโนรธาและพระเจ้าอลองสิตูแห่งอาณาจักรพุกาม แผ่อ้านาจไปยะไข่ พระเจ้าโบดอพญาส่งก้าลังเข้าครอบครองยะไข่และให้มังมหานรธาไปไปปกครอง มังมหานรธานีเป็น เป็นผู้ส่งเพชรขนาดใหญ่จากยะไข่มาถวาย แล้วพระเจ้าเมงดงทรงใช้ประดับอุณาโลมพระพุทธรูปประธาน วัดอตุมฉิ พ.ศ.๒๔๒๒ สมัยพระเจ้าตีบอ ก่อนเสียเมืองพม่า เกิดไฟไหม้วัดยะไข่หมด ทองค้าเปลวที่ปิดพระ ละลายไหลเก็บเนือทองได้น้าหนัก ๗๐๐ บาท พระเจ้าตีบอทรงโปรดให้สร้างมณฑปประดิษฐานพระมหามุนี แล้วค้างไว้เพียงนันหลังพม่าเสียแก่อังกฤษ พ.ศ.๒๔๒๘ มหาชนยังคงมีศรัทธาสูง ต่างเรี่ยไรเงินกันเป็นจ้านวน มากสร้างวัดก่ออิฐถือปูนใหญ่กว่าเก่า ตัววัดจึงใหม่สุดในบรรดาเจติยสถานเมืองพม่า แต่พระพุทธรูปนันเก่าสุด ที่น่าสังเกตคือ ลายปูนปั้นประดับวิหารใช้ไม้จ้าหลักตอกตะปูตรึงกับฝา แล้ วปั้นแกะทาปูนให้เหมือน ลายปูนปั้น ส่วนองค์พระพุทธรูปนันขัดชักเงาทองส้าริดเฉพาะพระพักตร์ ส่วนอื่นปิดทองค้าเปลวพอกดูขรุขระ สมเด็จฯ กรมพระยาด้ารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่า พระพุทธรูปคงช้ารุดมาแต่โบราณและอาจละลายครัง ไฟไหม้ด้วย แต่คนปิดทองบังไว้จนหนา สิ่งที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่งในวัดมหามุนีคือ รูปประติมากรรมสาริดแบบขอม เดิมอยู่นครวัด เมื่อ อยุธยาท้าสงครามกับเขมรได้ประติมากรรมเหล่านีมาไว้ที่พระนคร สมัยพระเจ้าบุเรงนองท้าสงครามชนะ อยุธยา ทรงโปรดให้น้าประติมากรรมดังกล่าวมาไว้ที่พะโค ประมาณ พ.ศ.๒๑๔๓ พระเจ้ายะไข่เข้าปล้นเมือง พะโค ได้น้าประติมากรรมหลับไปด้วย จนกระทั่งสมัยพระเจ้าโบดอพญา พม่าชนะสงครามยะไข่ทรงโปรดให้น้า กลับมาพม่า กล่าวกันว่าประติมากรรมทังหมดมี ๓๐ ชิน เหลือเพียง ๖ ชินเท่านัน ได้แก่ ประติมากรรมรูป นักรบ ซึ่งสันนิษฐานกันว่าเป็นทวารบาล ๒ ชิน สิงโต ๓ ชิน และช้างสามเศียรอีก ๑ ชิน


๔๘

ชาวบ้านชาวเมืองเชื่อกันว่ารูปปั้นนักรบหรือทวารบาลนันศักดิ์สิทธิ์ มีฤทธิ์อ้านาจบ้าบัดโรคเกี่ยวกับ ท้อง จึงนิยมขัดถูบริเวณหน้าท้องของรูปปั้นแล้วอธิษฐานให้หายเจ็บไข้ จนรูปปั้นสึกกร่อนเห็นถนัดตา นอกจากนีวัดมหามุนีเป็นที่เก็บรักษาศิลาจารึกโบราณจ้า นวนมาก เดิมจารึกเหล่านีเป็นจารึกก้าหนด เขตที่กัลปนาปักไว้ที่วัด เปรียบเหมือนพระราชกฤษฎีกาซึ่งพระเจ้าแผ่นดินแต่ก่อนถวายคน ที่ดิน และอุทิศเงิน ผลประโยชน์จากที่ดินส้าหรับบ้ารุงรักษาวัด เมื่อวัดมีมากขึน รัฐก็ได้รับผลประโยชน์น้อยลง พระเจ้าโบดอพญา จึงให้ถอนจารึกกัลปนาเดิม ให้จารึกกัลปนาขึนใหม่เฉพาะบางวัด จารึกโบราณเหล่านีนับเป็นหลักฐานที่ส้าคัญ ทางการศึกษามาก วิหารมหามุนีมีถนนเข้าถึงทังสี่ด้าน ตามเส้นทางดังกล่าวมีร้านค้าขายของที่ระลึกนานาชนิด ทังที่เป็น แผงลอยและคูหาถาวร ลักษณะร้านค้าขายประเภทหลังนีส่วนใหญ่เป็นที่อยู่อาศัยของช่างฝีมือแบ่งตามชนิด ของงานที่ท้า นอกจากนีบริเวณดังกล่าวยังต่อกับย่านช่างฝีมือของเมืองเช่น ด้านใต้เป็นย่านของช่างแกะจ้าหลัก พระพุทธรูป ช่างฝีมือเกี่ยวกับการตกแต่งสถูปเจดีย์อยู่ด้านตะวันตก เช่น ช่างแกะไม้ ช่างท้ากระดาษไม้ไผ่แช่ น้ามัน ก่อนน้าแผ่นทองค้าเปลวมาติด ใช้ส้าหรับปิดพระพุทธรูป เจดีย์ เมื่อท่านเข้าสู่บริเวณดังกล่าวจะรู้สึกถึง กลิ่นอายของอดีตอย่างชัดเจน

ศาสนสถานสมัยพระเจ้าเมงดง พระเจ้าเมงดงโปรดให้สร้างวัดสังฆาวาสส้าหรับสงฆ์และวัดเจติยสถานไม่มากนัก ที่ส้าคัญคือ ๑. วัดจอกตอจี ตังอยู่ทางด้านใต้ของดอยมัณฑะเล วั ดนีมีพระพุทธรูปประธานประทับนั่งขนาดใหญ่ ท้าด้วยหินอ่อนทังแท่งจากเมืองสะกาย ทรงถวายพระนามว่า พระมหาเต๊ะจามารเซง เล่ากันว่าต้องใช้คนถึง หมื่นคนเคลื่อนหินอ่อนทังแท่งนีมาตามล้าคลอง พร้อมกับโปรดให้สร้างพระสาวกอีก ๘๐ รูป ประดิษฐานรอบ องค์พระประธานล้อมสี่ด้าน ด้านละ ๒๐ รูป พระพุทธรูปนันสร้างเสร็จในปี พ.ศ.๒๔๐๘ พระเจ้าเมงดงโปรดให้ มีการฉลองใหญ่โต ๒. วัดสุธรรม หรือสุดามาซายะ อยู่ไม่ไกลจากวัดจอกตอจีไปทางทิศตะวันออก สร้างด้วยไม้ แบ่งเป็น ๓ ส่วน สุธรรมศาลา ใช้ เป็นที่ประชุมมหาเถรสมาคม ส้าหรับกิจการด้านศาสนา เช่น ช้าระพระไตรปิฎก สอบพระปริยัติธรรม ปัตถานศาลา หรือปาทานซายะ ที่สวดมนต์ท้าวัตรของสงฆ์ที่มาประชุม สุธรรมจอง เป็นที่พักส้าหรับสงฆ์ที่มาประชุม


๔๙

๓. กุโสดอ เจติยสถาน บางที่เรียกวัดมหากุศล ตังอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือ พระเจ้าเมงดงโปรดให้ ถ่ายแบบเจดีย์ชเวซิกองเมืองพุกาม มาสร้างในปี พ.ศ.๒๔๐๐ เจดีย์องค์ประธานชื่อ มหาโลกะมารเซง สูงถึง ๓๐ เมตร ลัก ษณะเด่ นของสถานที่แ ห่ง นีคือ เป็นที่ ประดิษ ฐานพระไตรปิ ฎกจารึ กบนแผ่ นหิน ๓๒๙ หลั ก ด้วยกัน พระเจ้าเมงดงโปรดให้จารึกอักษรข้อความค้าภาษาบาลีเป็นตัวทองอักษรพม่าตามเนือหาสาระที่ได้จาก การสังคายนาครังที่ ๕ ดังกล่าวมาแล้ว ๔. วัดอตุมฉิ หรือ อตุมฉิจอง แปลว่า วัดอันไม่มีเปรียบ หรือไม่มีที่เปรียบ เป็นวัดไม้พอกปูนตกแต่ง พระเจ้าเมงดงโปรดให้สร้างเพื่อร้าลึกพระราชบิดาและให้ประดิษฐานราชบัลลัง ก์ของพระบิดาไว้ที่นี่ วัดนี สวยงามมากแต่ถูกกไฟเผาเสียหมดแล้ว ลักษณะเด่นได้แก่ หลังคา วิหารซึ่งท้าหลังคาชันเดียวแต่ลดขนาดต่อ กันขึนไป ภายวิหารจ้าหลักทรุดโทรมากแล้ว เจ้าหญิงสะลินราชธิดาพระเจ้าเมงดงโปรดให้สร้างวัดนีเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๙

ศาสนสถานหลังสมัยพระเจ้าเมงดง พระเจ้าเมงดงสร้างกรุงมัณฑะเลเมื่อ พ.ศ.๒๔๐๐ เป็นราชธานีอยู่ ๒๘ ปี ก็เสียแก่อังกฤษเมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๘ กษัตริย์ซึ่งครองราชย์ต่อจากพระเจ้าเมงดงคือ พระเจ้าตีบอ สมัยนีเป็นยุคสมัยแห่งความวุ่นวาย และ ความหวาดกลัวระหว่างพวกพม่าด้วนกันเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พระนางสุภยาลัต พระมเหสีที่สองกับพระ นางอเลนันดอ พระมารดา ซึ่งเป็นพระมเหสีของพระเจ้าเมงดง ทังสองรวบอ้านาจไว้ในมือ ก้าจัดเจ้านายพระ ญาติพระวงศ์ที่ท้ายทายอ้านาจ หรือเกรงว่าเขาเหล่านันจะมีอ้านาจแล้วหาทางฆ่าเสีย ในช่วงระยะเวลาสันๆ นี มีการสร้างสิ่งก่อสร้างส้าคัญได้แก่ ๑. วัดชเวนานดอจอง แปลว่ามณเฑียรทอง เป็ นวัดสัง ฆาวาส สร้างสมั ยพระเจ้าตีบอ พ.ศ.๔๒๓ พระเจ้าตีบอโปรดให้สร้างโดยวัสดุจากการย้ายมณเฑียรทองที่พระเจ้าเมงดงประทับเวลาเสด็จสู่สวรรคาลัย ให้ ปิดทองอย่างหาและตกแต่งด้วยกระจก ๒. วัดนางพญา ตังอยู่ทางด้านใต้ของเมืองมัณฑะเล พระนางสุภยาลัตโปรดให้สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๘ ก่อนพม่าตกเป็นของอังกฤษสองสามสัปดาห์ เจตจ้า นงให้งามยิ่งกว่าที่วัดซาลิน ลวดลายตกแต่งแบบ ฝรั่งเจือปนพม่า ประดับด้วยทองและกระจก ๓. มานาวยาตะนา ตังอยู่ห่างจากวัดนางพญาประมาณ ๔.๘๐ กิโลเมตร พระเจ้าตีบอโปรกให้สร้าง เมือ่ พ.ศ.๒๔๒๔ เป็นเจติยสถานที่กษัตริย์พม่าองค์สุดท้ายโปรดให้สร้าง


๕๐

ศาสนาสถานในเขตปริมณฑลของมัณฑะเล เมื อ งมั ณ ฑะเลเป็ น เมื อ งใหม่ เ พิ่ ง สร้ า งขึ นเมื่ อ พ .ศ.๒๔๐๐ สร้ า งให้ อ ยู่ ใ นฐานะนครราชธานี เพราะฉะนันผู้คนพลเมืองซึ่งอยู่ในฐานะชนชันสูงและชนชันปกครอง ช่างฝีมือ ข้าทาสบริวาร ก็อพยพตามกัน มาที่ราชธานีใหม่อันมีพระมหากษัตริย์ประทับอยู่ในพระบรมมหาราชวัง พระราชวังมัณฑะเลเป็นศูนย์กลางทาง การเมืองการปกครอง และวัฒนธรรมการใช้ชีวิต กระนันก็ดียัง มีชาวบ้านชาวเมืองโดยทั่วไปอีกมากอยู่นอก ก้าแพงเมืองติดต่อกับราชธานีเก่าซึ่งอยู่ไม่หางไกลนัก บริเวณบ้านเมืองเก่าใกล้เคียงจึงนับเป็นเขตปริมณฑล จะ เรียกรวมว่าเป็นภาคมัณฑะเลก็ได้ ผู้คนในราชธานีใหม่มีสัมพันธ์กับบ้านเมืองเก่าในระดับชุมชนพืนบ้านซึ่งร่วมวัฒนธรรมและคติความ เชื่อเดียวกัน ดังเห็นได้จากการที่พระเจ้าแผ่นดินและเชือพระญาติวงศ์ต่างท้านุบ้ารุงวัดวาอาราม ศาสนสถาน ส้าคัญที่เคยอยู่ในเมืองเก่าสืบเนื่องมาปรากฏเป็นหลักฐานยู่ แม้ศาสนสถานบางแห่งจะร้างโรยราด้วยผู้คนพลเมืองร่วงโรยทว่าบรรดาเขาทังหลายเหล่านันยังไป สักการะเคารพตามศาสนสถานส้าคัญ ยกเว้นในบางท้องที่ถูกแผ่นดินไหว ไฟไหม้ น้าท่วม เมืองร้างเหลือเพียง ชาวบ้านห่างไกลศูนย์กลางที่ยังคงแวะเวียนผ่านตาแลมองซากโบราณสถานปรักหักพัง เห็นกาลเวลาฝากฝัง ร่องรอยไว้กับอดีตที่แตกสลาย บางส่วนของเมืองเก่ากลายเป็นชานเมืองราชธานีใหม่ และเป็นที่พ้านักของช่างฝีมือหลายประเภทอาทิ ช่างทอผ้าฝ้ายผ้าไหมที่อมรปุระ ช่างเงิน ณ หมู่บ้านยัวะทอง ใกล้กับเมืองสะกาย ช่างส้าริดและช่างทองเหลือง จากจีตองเยียะ ใกล้เมืองอมรปุระ เป็นต้น

อมรปุระ ชานเมื อ งมั ณ ฑะเลคื อ หมู่ บ้ านอมรปุ ระ เดิ ม เป็ น เมื อ งเก่ า ฐานะเที ย บเท่ า มหานครใหญ่ ในเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้ทังหลาย อมรปุระเมืองแห่ง ผู้เป็นอมตะ ปัจจุบันหมู่บ้านอมรปุระมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่ง ว่า ตองมโย หรือ ตองเมียว แปลว่าเมืองใต้ ชาวมัณฑะเลนิยมเรียกเมืองเก่าอมรปุระด้วยชื่อนี อมรปุระอยู่ห่างไป ทางใต้ของเมืองมัณฑะเล ประมาณ ๑๒ กิโลเมตร เมืองทังสองเชื่อมกันด้วยถนนเก่าซึ่งสร้างสมัยพระเจ้า โบดอพญา พระองค์โปรดให้สร้างถนนจากพระราชวัง อมรปุระเป็นทางเสด็จพระราชด้าเนินเวลาไปสักการะ พระมหามุนีในเมืองมัณฑะเล อาชีพหลักของประชากรอมรปุระปัจจุบันคือ ทอผ้า ทังฝ้ายและไหม ที่เลื่องชื่อคือผ้าโสร่งหรือผ้าลองยี ใช้ในพิธีการส้าคัญ ผ้าชนิดนีเรียกว่า “อเซคธาเมง” นอกจากทอผ้าแล้วช่างฝีมือท้าส้าริดของอมรปุระมีชื่อเสียง ไม่แพ้กัน ส่วนใหญ่ประดิษฐ์เครื่องดนตรี และหล่อพระพุทธรูปช่างที่หมู่บ้านจีจองเยียะ ขึนชื่อทางนีที่สุด แม้อมรปุระเคยเป็นเมืองหลวงเก่าแต่ก็ไม่มีร่องรอยให้เห็นมากนัก พระเจ้าเมงดงทรงโปรดให้รืออาคาร ไม้ บ างหลั ง ไปสร้ างใหม่ที่ มั ณ ฑะเล พวงอัง กฤษรื อก้ าแพงเมื อ งไปท้ า ถนนและทางรถไฟ อาคารเก่า ที่ ยั ง


๕๑

หลงเหลืออยู่ปัจจุบันมีเพียง ๒ แห่ง หอคอยเก่าและคลังหลวง อาคารศาสนสถานอื่นแทบไม่ทิงร่อยรอยไว้แล้ว หลุมพระศพของพระเจ้าโบดาพญาและพระเจ้าบายียังคงร้างอยู่ในเมืองนี ทางด้านใต้ของเมืองอมรปุระมีทะเลสาบใหญ่ชื่อ ทะเลสาบตองตะมาน ทะเลสาบนีน้าแห้งในหน้า หนาว หน้าร้อนเหลือไว้เพียงดินอุดมสมบูรณ์ส้าหรับเพาะปลูก ความกว้างของทะเลสาบมากกว่า ๑ กิโลเมตร อูแบน ข้าราชการผู้ใหญ่สมัยพระเจ้าโบดาพญาให้สร้างสะพานไม้สักข้ามทะเลสาบแห่งนี เรียกกันว่า สะพานอู แบน วัสดุที่ใช้สร้างสะพานอูแบนบางส่วนมาจากวังอังวะเก่า ตรงกึ่งกลางสะพานมีศาลาส้าหรับนั่งพักดับร้อน มองไปกลางทุ่งเห็นละไอหมอกของความร้อนคละคลุ้งผงดินทรายฟ้าสีครามกระจ่าง และยอดแหลมของเจดีย์ที่ โน่นบ้างที่นี่บ้างเป็นเสน่ห์อย่างหนึ่งของท้องทุ่งเมืองอมรปุระ สะพานอูแบนน้าท่านไปสู่ เจติยสถานจอกตอจี ที่อยู่อีกฟากหนึ่งของทะเลสบาย พระเจ้าพุกามโปรด ให้สร้างตามแบบอานันทเจดีย์กรุงพุกาม ในปี พ.ศ.๑๓๙๐ ความส้าคัญอยู่ตรงที่ว่า แม้รูปแบบเป็นอานันทเจดีย์ จอกตอจีกลับเป็นผลงานของสถาปนิกพม่า มิใช่สถาปนิกมอญอินเดีย สถูปจอกตอจี ทาสีขาวอยู่บนยกพืนเตีย บันไดกว้างประตูใหญ่ตัวศาสนสถานล้อมรอบด้วยมนุษยสีหะ หรือนรสิงห์ คือมนุษย์ครึ่งคนครึ่งสิงห์ ทังหมดรวม ๑๒ คน การสร้างรูปสิงห์ มนุษยสีหะหรือนรสิงห์ก็เพื่อไว้ บูชาและเพื่อป้องกันอันตรายแก่มหาชน ภายในศาสนาสถานที่แท่นที่บูชา พระพุทธรูปประธานเป็นพระพุทธรูปหินอ่อนชันเยี่ยมจากสะกาย องค์สูงเบียดเพดาน พระพุทธรูปทรงมงกุฎแบบพม่า พระโอษฐ์แสด พระขนงโก่ง รับกับพระเนตรทอดต่้ามอง หมู่มวลมนุษย์ ภายในอาคารด้านหลังมีพระสาวก ๘๘ องค์ ท้าด้วยหิน ที่ขึนชื่อคือภาพเขียนสีที่ เรียกเฟรสโก บนผนั ง และเพดาน แสดงพระราชกรณีย กิจ ด้ านศาสนาขององค์ พระมหากษั ตริ ย์ อาทิ การสร้ างอาคาร ศาสนสถานรู ป แบบต่ า งๆ แผนภู มิ จั ก รวาลในระบบความคิ ด ของคนพม่ า ภาพแสดงชี วิ ต ความเป็ น อยู่ ขนบประเพณีและการแต่งกายของผู้คน ที่น่าสนใจคือเทวดาบางองค์มีปีกและสวมหมวกแบบฝรั่ง


๕๒

พระราชวังมัณฑะเล ดือรัวเซล ตังข้อสังเกตว่า การสร้างพระราชวังในนครราชธานีที่ท้าหน้าที่เหมือนเมืองป้อมด้วย เป็น ลักษณะร่วมของบรรดาอาณาจักรเอเชียโบราณทังหลาย ไม่ว่าอาณาจักรพุกาม ขอมชวา หรือแม้แต่พระราชวัง และนครราชธานีของกุบไลข่าน แบบแผนของพระราชวังมัณฑะเลก็มิได้ต่างจากแบบแผนโบราณดังกล่าวมา พระราชวังไม้สักสร้างบนชาลาอิฐยกพืนเตีย มีก้าแพงล้อมวัง ส่วนลักษณะที่เป็นเมืองป้อมก็เห็นได้จากการสร้าง ก้าแพงสูง ค่ายประตู หอรบ ครบครัน คูเมืองทังกว้างทังลึก ลักษณะของพระราชวังนครมัณ ฑะเลซึ่ง คล้ายคลึง กั บพระราชวัง ของอาณาจั กรเอเชีย โบราณอื่ น ประมวลได้ดังนี ๑.พระราชวังและเมืองมัณฑะเลนันเป็นหนึ่งเดียวกัน ต่างมีก้าแพงพร้อมป้อม ประตูหอรบ คูเมืองกว้าง ลึก ประตูเมืองมัณฑะเลมี ๑๒ ประตู มัณฑะเลเหมือนเมืองของลกุบไล่ข่านที่เรียกว่า ข่านบาลึ (KHANBALIQ) ข่ า นบาลิ ค อยู่ ต รงที่ ตั งของนครปั ก กิ่ ง เก่ า พระราชวั ง เป็ น รู ป สี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส สร้ า งบนชาลายกพื นที่ รู ป สี่เหลี่ยมผืนผ้า มีก้าแพงล้อมอีกชึนหนึ่ง ๒.พระราชวังสร้างอยู่ตรงศูนย์กลางเมืองหรือเกือบอยู่ตรงกลางสร้างบนชาลาอิฐ มีก้าแพงล้อม ชาลา เป็นรูปสี่เหลี่ยมพืนผ้า ๓.บนชาลาสร้ างกลุ่มอาคารที่เป็นพระบรมมหาราชวัง ทังหมดอาคารเหล่ านีสร้างด้ว ยไม้และเป็ น อาคารชันเดียว ๔.ส่วนเป็นเขตพระบรมมหาราชวังมีก้าแพงล้อมเพื่อความปลอดภัยขององค์พระมหากษัตริย์ แบบแผนพระราชวังซึ่งไว้แต่ครังดือรัวเซล (ว่าเป็นแผนผังก่อนอังกฤษยึดครอง) แบ่งเป็น ๒ ตอน ๑.พื้นที่ภายในกาแพง มีอาคารสถานอีกจ้านวนหนึ่งซึ่งไม่ได้อยู่บนชาลา ได้แก่ หอนาฬิกา หอพระ บรมธาตุ วัด พระเจ้าตีบอ สภาฮลุตตอ ตากานีหรือประตูแดง มณฑปไว้พระบรมศพพระเจ้าเมงดงและเชือพระ วงศ์ ๒. พื้นที่บนชาลายกพื้น เป็นบริเวณก่อสร้างอาคารบรมมหาราชวัง ประกอบด้วยต้าหนัก พลับพลา ปราสาท ราชมณเฑียร


๕๓

อาคารสถานนอกเขตชาลา มีอาคารส้าคัญดังนี หอนาฬิกา พระราขวังหันหน้าไปทางตะวันออก เมื่อผ่านเช้า ประตูกลางทางด้านตะวันออก อาคารที่ อยู่ขวามือทางด้านเหนือเป็นหอนาฬิกา พม่าเรียกว่า บะโหฉิน เป็นอาคารเรียบง่ายอยู่บนฐานสี่เหลี่ยมสูง บน ยอดมีฉัตรที่พม่าเรียก ธี สัญลักษณ์ของสถานที่ส้าคัญ ต่างๆทั่วไปในอาณาจักรพม่า หอนีเคยเป็นที่ประดิษฐ์ นาฬิกาน้า และกลองส้าหรับตีบอกเวลาทุกสามชั่วโมง กลองใบนีปัจจุบันเก็บอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เมืองย่างกุ้ง หอพระบรมธาตุ หรือ ชเวดอลิน อยู่ ทางใต้ ของหอนาฬิก า เป็ น ตัว อย่ างของสถาปั ต ยกรรมพม่ า สมัยใหม่ที่สร้างขึนในเขตพม่าตอนบนแบ่งเป็นสามชัน ชันล่างเป็นฐาน ชันที่๒ ทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าตังเหนือขึนไป จากชันแรก ชันที่๓ ส้าหรับประดิษฐานพระบรมธาตุ หลังคาทรงปราสาทสามชัน ยอดบนสุดเป็นฉัตรพม่าสวม ไว้ ตรงมุมสี่ด้านของฐานประดิษฐานมนุษยสิงห์แบบมอญ แม้จะเรียกว่าหอพระบรมธาตุ แต่ในสมัยพระเจ้าเมงดง และพระเจ้าตีบอก็ไม่เคยประดิษฐานพระบรม ธาตุ สร้างขึนไว้ตามธรรมเนียมเท่านัน ธรรมเนียมนีเพิ่งมีขึนครังพระเจ้าหงสาวดีเชงพะยูมาเช็ง ในพุทธศตวรรษ ที่ ๑๗ พระองค์ประดิษฐานพระบรมธาตุได้จากสิงหล ณ พระราชวังเมืองหงสาวดี อารามพระเจ้ าตี บอ อยู่ ทางด้า นใต้ข องหอพระธาตุ เป็นวั ดไม้ข นาดเล็ ก ลักษณะสถาปัต ยกรรม สวยงาม อารามตกแต่งอย่างวิจิตรด้วยแก้วและทอง เดิมพระเจ้าเมงดงและพระมเหสีโปรดให้สร้างในพ.ศ. ๒๔๑๗ ส้าหรับพระเจ้าตีบอประทับขณะเป็นเจ้าชายและทรงผนวชตามประเพณี สภาฮลุตตอ คือที่ประชุมเสนาบดีหรือศาสนาลูกขุน อยู่ติดกับก้าแพงอิฐของพระบรมมหาราชวัง (ที่ หมายสังเกตในปัจจุบันคือใกล้ที่ท้าการไปรษณีย์สาขา) สภาฮลุตตอเป็นอาคารไม้สูงจากพืนดินประมาณ ๗-๘ ฟุต เสาไม้สักขนาดใหญ่ทาสีแดงโคนเสา ปิดทองส่วนบน ณ ที่นีเคยเป็นที่ประดิษฐานในสีหาสนะบัลลังก์จ้าลอง ของพระเจ้าแผ่นดิน แยกส่วนจากที่นั่งของเสนาบดีผู้ใหญ่หรือหวุ่นยีทังสี่ สีหาสนะบัลลังก์องค์จริงประดิษฐาน อยู่ในท้องพระโรงว่าราชการ (แต่ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เมืองย่างกุ้ง) ตากานี ด้านเหนือของสภาฮุลตตอ เป็นประตูแดง เปิดเข้าสู่เขตพระราชฐานชันใน มณฑปบรรจุพระบรมศพพระเจ้าเมงดงและเชือพระวงศ์ ตังอยู่ทางด้านเหนือของหอนาฬิกา มณฑป เดิมเป็นแบบเปียตั๊ต ก่อด้วยอิฐทาสีขาว พระเจ้าตีบอโปรดให้สร้างถวายพระราชบิดาของพระองค์หลุมพระศพ ตกแต่งด้วยกระจกแก้ว โรงกษาปณ์ของหลวง เป็นอาคารมีปล่องไฟสูง อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของมณฑปไว้พระบรมศพ ดังได้กล่าวแล้ว พระเจ้าเมงดงมีพระประสงค์จะสร้างราชธานีของอาณาจักรพม่าใหม่ที่เมืองมัณฑะเล การเตรียมย้ายจากอมรปุระไปมัณฑะเลนันท้ากันเป็นขบวนใหญ่ ผู้คนติดตามมีไม่น้อยกว่า ๑๕๐,๐๐๐ คน ย้าย ทังทรัพย์สินเงินทอง ปราสาทราชวัง และเจติยสถาน พระเจ้าเมงดงทรงนิมนต์พระสงฆ์น้าขบวนย้าย พระองค์ เองประทับบนหลังคชาธารประดับสังวาลเพชร ประทับนั่งใต้เศวตฉัตร ๙ ชัน ขบวนย้ายเริ่มเมื่อเดือนมิถุนายน


๕๔

พ.ศ.๒๔๐๐ เมื่อขบวนเสด็จไปถึงนันยังไม่มีที่ประทับถาวร หลังจากนันพระองค์โปรดให้ขุดคูถมดิน ก่อก้าแพง เตรียมพืนที่สร้างพระราชวังประมาณ ๕๐ ไร่ แล้วให้ลอกคูขุดเป็นล้าธารใหญ่ต่อติดกับแม่น้าอิรวดีเพื่อไขน้าไปสู่ ตัวเมือง คลองใหญ่นันกลายเป็นทะเลสาบ มีน้าล่อเลียงเมืองและพระราชวังมาโดยตลอด ในพงศาวดารเรียกว่า รัตนนที (แม่น้าแก้ว)

กลุ่มอาคารด้านทิศตะวันออก ประกอบด้วยอาคารพลับพลาทังหมด ๓๒ หลัง เพื่อความสะดวกในการเข้าชมและท้าความเข้าใจ ควร เริ่มจากอาคารหลังแรกตรงเข้าถึงองค์พระมหาปราสาทก่อน(หมายเลข ๓๑ ในแผนผัง) อาคารทางเข้าด้านทิศตะวันออก เรียก ซาโมะ อาคารนีมีหลังคาซ้อนสองชันตามแบบสถาปัตยกรรม พม่าตกแต่งตามมุมด้วยไม้จ้าหลัก ในอดีตใช้เป็นที่ส้าหรับบรรดาเจ้าชายเชือพระญาติพระวงศ์รอเข้าเฝ้า พวกผู้ สื่อสารข้อราชการ (เรียก นากันเดาะ) พนักงานบอกเวลา และข้าทหาร ทางเดินเชื่อมเป็นอาคารหลังคาสองชัน เช่นกัน ไม่มีผนัง แต่ตกแต่งห้องด้วยทองเช่นเดียวกับซาโมะ อาคารเชื่อมระหว่างต้าหนักหรืออาคารต่างๆ ดังกล่าวนี สมัยโบราณเรียกว่า ซานุ ซอง สร้างไว้ทังหมด ๗ แห่งด้วยกัน พวกนายทหารและเจ้าฟ้าฉานมักรอเข้า เฝ้าพระเจ้าแผ่นดินแถวบริเวณอาคารนี มะเยนานเปียตั๊ต เป็นอาคารยอดปราสาท ๗ ชั น กล่าวได้ว่ากว้ างที่สุดและสูง สุ ดของกลุ่มอาคาร เพราะสร้างบนพืนดินสูง ดินเหล่านีถือเป็นดินศักดิ์สิทธิ์จากแผ่นดินของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือ พาราณสี เวสาลี และสาวัตถี (หมายเลข ๕ ในแผนผัง) ที่ส้าคัญคือ อาคารหลังนีเป็นที่ประดิษฐานบัลลังก์ที่เรียกว่าสีหา สนะบัลลังก์ คือบัลลังก์ราชสีห์ สร้างจากไม้จามาเน ถือกันว่าเป็นบัลลังก์ใหญ่และสง่างามที่สุดในจ้านวนบัลลังก์ ทังหมดของพม่า ด้านหนึ่งของบัลลังก์ต่อกับห้องเล็กปิดล้อม ส้าหรับพระเจ้าแผ่นดินเสด็จขึนบันไดทองประทับ บนบัลลังก์ เมื่อพระองค์เสด็จประทับบนบัลลังก์แล้วเจ้าหน้าที่จะชักบันไดออก กล่า วอี กนั ยหนึ่ งได้ว่ า ห้ องนีคื อท้อ งพระโรงที่เ สด็ จออกให้เ ข้า เฝ้า บั ลลั ง ก์ที่ ประทั บมีห ลัง คาโค้ ง แกะสลักเป็นรูปองค์สักกะ คือพระอินทร์ ๓๓ องค์ จัตุโลกบาลทังสี่ สิงห์มีปีก และช้างมีปีก ด้านหลังบัลลัง ก์ ตกแต่งด้วยลวดลายดอกไม้ พระมหาปราสาท อั น เป็ น ศู น ย์ ก ลางหรื อ ที่ เ รี ย กว่ า มะเยนานดอว์ อยู่ ต รงแนวประตู ใ หญ่ ด้ า น ตะวั น ออก จากประตู นีมี ถ นนเข้ า สู่ภ ายในถนนนี ตั ด ผ่ า นที่ตั งหอพระธาตุ แ ละหอนาฬิ ก า มะเยนานดอว์ ประกอบด้วยสิ่งก่อสร้าง ๓ ชนิดด้วยกันคือ - ท้องพระโรงใหญ่ทางด้านตะวันออก - ท้องประดิษฐานสีหาสนะบัลลังก์อยู่ด้านหลังติดกันทางทิศตะวันตก - พระมหาปราสาทยอดแหลมเสียดฟ้า


๕๕

ท้องพระโรงตะวันออก ประกอบไปด้วยท้องพระโรงสามส่วน ส่วนส้าคัญที่สุดหันไปทางทิศตะวันออก เรียก ท้องพระโรงกลาง ปีกทางด้านซ้ายมือคือ ท้องพระโรงเหนือ และด้านขวามือคือ ท้องพระโรงใต้ ปีกทังสอง ข้างตามแนวตะวันออกตะวันตกพุ่งเข้าหาศูนย์กลางคือท้องพระโรงกลางดังกล่าวมาแล้ว สีหาสนะบัลลังก์และพระมหาปราสาท ด้านหลังของสีหาสนะบัลลังก์ก็เป็นห้องซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ ท้องพระโรงกลาง ฐานชองบัลลังก์เป็นรูปดอกบัวสอดไขว้ก่ายเกย การท้าฐานเช่นนีก็เพื่อนเลียนแบบบัลลังก์ ดอกบัวของพระพุทธเจ้า ตรงศูนย์กลางท้าเป็นช่องเล็กๆซ้อนกันประดับรูปสิงห์ขนาดเล็กอันเป็นบริวารของสิงห์ ใหญ่ทังสองข้างบัลลังก์ห้องด้านหลังนันเป็นทางขันบันไดส้าหรับขึนสู่บัลลังก์ ส่วนนีปิดด้วยประตูบานเลื่อน เหล็กดัดชุบทอง เสาแต่ละข้างตกแต่งด้วยลายดอกไม้ประดับเทวาข้างละ ๗ องค์ บนทับหลังทังสองด้านมีเทวา อีก ๒ องค์ รวมเป็น ๑๖ องค์ ทับหลังท้าเป็นลวดลายพญานาคและเทวาอีกข้างละ ๘ รวมเป็น ๑๖ ทังหมด ด้วยกันเป็น ๓๒ เทวาเหนือสุดของทับหลังเป็นรูปสักกะ หรือ สักยาเมง คือ พระอินทร์ เทวะทัง ๓๓ องค์ สถิต ณ สวรรค์ชันดาวดึงส์ องค์สักกะตรวจตราดูแลกิจการต่างๆ ในโลกมนุษย์จากสวรรค์ เช่นเดียวกับพระเจ้า แผ่นดินพม่าทรงอ้านาจสูงสุด สืบทอดมาจากพระอินทร์บริหารกิจการบ้านเมืองทังทางโลกทางธรรม และทรง ประทับเหนือสีหาสนะบัลลังก์ ตรงบานประตูเลื่อนสลักเป็นรูปจัตุโลกบาล ผู้คุ้มครองโลกทังสี่ทิศ พระราชา บัลลังก์และพระมหาปราสาทยอดแหลม จึงเปรียบประดุจศูนย์กลางจักรวาลพระเจ้าแผนดินคือหลักโลกทรง ประทับแวดล้อมด้วยจัตุโลกบาล นอกจากนี บนเสาท้าสัญลักษณ์รูปนกยูง และกระต่ายแทนพระอาทิตย์และ พระจันทร์ พระมหาปราสาทและสีหาสนะบัลลังก์เป็นตัวแทนความรุ่งเรืองสง่างามแห่งสถาปัตยกรรมพม่าโดยแท้ ราชบัลลังก์อันประดิษฐาน ณ ที่นีจึงเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นศูนย์กลางจักรวาลซึ่งทุกสิ่งทุกอย่างอยู่ใต้พระ บารมี ในท้องพระโรงใหญ่พระมากษัตริย์และพระมเหสีเสด็จเป็นประธานในพิธีส้าคั ญ เช่น พิธีบรมราชาภิเษก พิธีถวายความจงรักภักดีท้านองพิธีถือน้าพิพัฒน์สัตยา จัดขึนปีละ ๓ ครัง ในวันปีใหม่ (เดือนเมษายน) วันเข้า พรรษ (เดือนมิถุนายนหรือกรกฎาคม) วันออกพรรษา (เดือนตุลาคม)

อาคารเชื่อมทางระหว่างมะเยนานเปียตั๊ตและเซดาวุน เป็นอาคารประดับทองหลังคาทรงปราสาทสองชัน เซดาวุน หมายถึง อาคารวีระชัย เป็นอาคารหลังคาทรงปราสาท๓ ชัน ว่ากันว่าได้รูปแบบมาจากพุทธ สถานที่เมืองสาวัตถีในอินเดีย อาคารหลังนีใช้เป็นที่ประชุมกิจการส้าคัญของบ้านเมืองและกิจการด้านการทูต พระที่นั่งหงส์หรือหงสาสนะบัลลังก์ อันเป็นบัลลังก์ขนาดเล็กสุดประดิษฐานอยู่ในอาคารแห่งนี บนพระแท่นที่บูชาด้านหลังของห้อง เป็นที่ประดิษฐานพระบรมรูปทองค้าของอดีตพระมหากษัตริย์ และมเหสีแห่งราชวงศ์คองบอง ตามธรรมเนียมองค์พระมหากษัตริย์ที่ปกครองบ้านเมืองจะท้าการสักการะใน วันแรกของทุกเดือน พร้อมทังจัดให้มีการสวดมนต์บาลี อย่างไรก็ตามปัจจุบันไม่ปรากฏพระบรมรูปเหล่านีแล้ว


๕๖

อาคารเชื่อมทางบองดอซอง ต่อจากห้องวีระชัย เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า บองเดอะซานุซอง หลังคาสองชัน ตกแต่งงดงาม ไม่มีผนังกันแต่มีฉากกระจกเขียวประดับสองด้านแทนผนั ง พระเจ้าแผ่นดินมักใช้ที่นีเป็นที่ว่า ราชการในตอนเช้า บองดอซอง เป็นอาคารอยู่เยืองมาทางด้านตะวันตกของอาคารที่เสด็จออกในตอนเช้าดังกล่าวมาแล้ว เป็นที่เก็บมงกุฎเครื่องประดับตกแต่งท้าด้วยทองและอัญมณีมีค่า

อาคารเชื่อมทางพระมหาปราสาท อาคารหลังนีเชื่อมห้องแต่งพระองค์เข้ากับพระมหาปราสาท เป็นศูนย์รวมที่มีทางติดต่อกับกลุ่มอาคาร ทางด้านตะวันออกทังหมดจากพระมหาปราสาท อาคารดังกล่าวเคยเป็นที่ชุมนุมนั กปราชญ์ราชบัณฑิตร่วมกัน ช้าระพงศาวดารที่เรียกว่าพงศาวดารฉบับหอแก้ว หรือรู้จักกันดีในภาษาฝรั่งว่า THE GLASS PALACE CHRONICLE

พระมหาปราสาท เป็นอาคารใหญ่ที่สุดในบริเวณพระมหาราชวังหลังคาเป็นยอดประสาท ๗ ชัน ทังอาคารประดับประดา งดงาม มีแนวกันจากเหนือมาใต้ผ่านโถงกลางขององค์พระมหาปราสาท ทางซีกตะวันตกคือห้องบรรทม ส่วนซีก ตะวันออกเป็นที่ประดิษฐานพระที่นั่ งภุมราสนะบัลลัง ก์ ผู้ที่เข้าสู่เขตพระราชฐานนีได้คือพระมเหสีทังสี่ ตาม ต้าแหน่ง และผู้ได้รับอนุญาตเป็นการเฉพาะ พระมหาปราสาทมีขนาดกว้าง ๘๙ ฟุต ยาว ๑๐๐ ฟุต ๖ นิว สูง ๖๒ ฟุต ๓ นิว

อาคารอื่นที่สาคัญในกลุ่มอาคารด้านทิศตะวันออก ได้แก่ มะเยนานอาคารโถงซ้าย-ขวา ส้าหรับข้าแผ่นดิน ขุนนาง เจ้าประเทศราช ขนาบซาโมะด้าน ตะวันออก ตัวนายผู้รับผิดชอบควบคุมการกิจของพวกมอญไตใหญ่(ฉาน) และโยเดีย (สยาม)



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.