เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ “การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศ

Page 1


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๑

เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

“การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา”

จัดพิมพ์โดย สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มีนาคม จานวน ๑๐๐ เล่ม ๙๖ ถนนปรีดี พนมยงค์ อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา โทรศัพท์ ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ โทรสาร ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ เรียบเรียงและจัดทารูปเล่ม: พัฑร์ แตงพันธ์ ภาพปก: อานนท์ แซ่แต้ ฝ่ายบริหาร ดร.จงกล เฮงสุวรรณ อ.กันยารัตน์ คงพร อ.สุรินทร์ ศรีสังข์งาม อ.อุมาภรณ์ กล้าหาญ ว่าที่ร้อยตรีหญิง รัตติยา พาวินัย

ฝ่ายวิชาการ พัฑร์ แตงพันธ์ สาธิยา ลายพิกุน

ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ณัฐฐิญา แก้วแหวน สายรุ้ง กล่​่าเพชร ศรีสุวรรณ ช่วยโสภา ประภาพร แตงพันธ์ ยุพดี ป้อมทอง

ฝ่ายส่งเสริม และเผยแพร่วิชาการ ปัทพงษ์ ชื่นบุญ อายุวัฒน์ ค้าผล อรอุมา โพธิ์จิ๋ว


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๒

สารบัญ แผนงานที่ ๓ การอบรมสัมมนาเผยแพร่ความรู้ เรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม

หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น

การอนุรักษ์แหล่งศิลปกรรมท้องถิ่น

๑๑


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๓

แผนงานที่ ๓ การอบรมสัมมนาเผยแพร่ความรู้เรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ธรรมชาติและศิลปกรรม กิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรมนครประวัติศาสตร์ พระนครศรีอยุธยา

๑. หลักการและเหตุผล เนื่องจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีแม่น่าล้อมรอบถึง ๓ สายด้วยกัน คือแม่น่าลพบุรี อยู่ ทางด้านทิ ศเหนือ แม่น่าป่ าสักอยู่ทางด้านทิศตะวันออก และแม่น่าเจ้าพระยาซึ่ง อยู่ท างด้านทิ ศ ตะวันตกและทิศใต้ อีกทังยังมีล่าคลองมากมาย เชื่อมโยงกันทังนอกเมืองและในเมือง ท่าให้จังหวัด พระนครศรีอยุธยามีความอุดมสมบูรณ์เหมาะสมต่อการเกษตรกรรมอันเป็นพืนฐานของการตังถิ่น ฐานและที่โดดเด่นไปกว่านัน คือ มีแหล่งศิลปกรรมที่สวยงามในแต่ละท้องถิ่นอยู่เป็นจ่านวนมาก ซึ่ง กระจัดกระจายอยู่ตามท้องถิ่นต่าง ๆ เช่น วัดเก่า เจดีย์เก่า โบสถ์ หรือวิหาร สถูป ย่ านชุมชนเก่า ชุมชนโบราณ ก่าแพงเมือง-คูเมือง เป็นต้น สิ่งแวดล้อม ศิลปกรรมมีความส่าคัญอย่างยิ่งในฐานะเป็น สิ่งที่ส่งเสริมและรักษาคุณค่าตลอดจนคุณภาพของศิลปกรรมให้ด่ารงอยู่และมีความหมายมากยิ่งขึน จากการพั ฒ นาทางด้ านเศรษฐกิจ ความก้ าวหน้ าของเทคโนโลยีแ ละการเจริญ เติบ โตของเมื อ ง รวมถึงการส่งเสริมการท่องเที่ยวที่มิได้ค่านึงถึงขีดความสามารถของการรองรับของพืนที่ มีการจัดท่า แผนแต่ขาดการน่าแผนไปสู่การปฏิบัติที่เหมาะสม ขาดการดูแลรักษาที่ต้องอาศัยความร่วมมือจาก ทุกภาคส่วน ประกอบกับการมุ่งหวังรายได้ทางด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวเป็นหลัก ท่าให้ทังตัว แหล่งธรรมชาติและแหล่งศิลปกรรม รวมถึงสิ่งแวดล้อมบริเวณโดยรอบถูกคุกคาม เกิดความเสียหาย ต่อแหล่งธรรมชาติและแหล่งศิลปกรรม รวมทังสภาพแวดล้อมโดยรอบ ย่อมส่งผลกระทบให้คุณภาพ และคุณค่าของศิลปกรรมด้อยลงจนหมดความหมายในที่สุด หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมจังวัดพระนครศรีอยุธยา เห็นความส่าคัญ ของการส่งเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักในการอนุ รักษ์คุ้มครองสิ่งแวดล้อ ม ธรรมชาติและศิลปกรรม จึงมุ่งหวังให้ท้องถิ่น ได้เห็นคุณค่าความส่าคัญ และการมีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น พร้อมทังเกิดเครือข่ายบุคลากรการด่าเนินงาน อนุรักษ์คุ้มครองสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม เพื่อให้เกิดการประสานความร่วมมือกันในทุก ภาคส่วน เกิดความสะดวกรวดเร็ว และสามารถขับเคลื่อนงานไปสู่เป้าหมายตามที่ต้องการ จึง ได้ จั ด ท่ า โครงการ อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเรื่ อ ง การจั ด การสภาพแวดล้ อ มทางวั ฒ นธรรมนคร ประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๔

๒. วัตถุประสงค์ ๒.๑ เพื่ อ จั ด กิ จ กรรมให้ ค วามรู้ เรื่ อ ง การจั ด การสภาพแวดล้ อ มทางวั ฒ นธรรมนคร ประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา แก่บุคลากร ประชาชน นักเรียน นักศึกษา และผู้เกี่ยวข้องในพืนที่ ๒.๒ เพื่อให้บุคลากร ประชาชน นักเรียน นักศึกษา และผู้เกี่ยวข้องในพืนที่ได้รับความรู้ ความเข้า ใจที่ ถูก ต้ องและมี ส่ว นร่วมในการอนุ รั กษ์ สิ่ ง แวดล้อ มธรรมชาติ และศิ ล ปกรรมจัง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ๒.๓ เพื่อขยายเครือข่ายบุคลากรในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมจังหวัด พระนครศรีอยุธยา

๓. เป้าหมาย เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่ต่ากว่า ๖๐ คน เชิง คุณ ภาพ เกิดแนวร่วมด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมในแต่ละ ท้องถิ่นที่ครอบคลุมทุกภาคส่วน ซึ่งจะเป็นก่าลังส่าคัญในการผลักดันให้การด่าเนินงานด้านอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่องยั่งยืน

๔. ขอบเขตการดาเนินงาน พัฒ นาบุ คลากรตัวแทนในเครือข่ายด้านการอนุ รักษ์ สิ่ง แวดล้อ มและศิล ปกรรมท้ องถิ่ น จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทังด้านทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการอบรมให้ความรู้ด้านการอนุรักษ์ จาก วิท ยากร และลงพื นที่ ส่ า รวจแหล่ ง ตั ว อย่ า งทางด้ านศิ ล ปกรรมท้ อ งถิ่ น ในนครประวั ติ ศ าสตร์ พระนครศรีอยุธยา

๕. กลุ่มเป้าหมาย นักเรียน นักศึกษา ผู้น่าชุมชน ประชาชนในพืนที่ จ่านวน ๖๐ คน

๖. กิจกรรม ประกอบด้วย ๖.๑ การอบรมภาคทฤษฎีด้านการจัดการวัฒ นธรรม เพื่อพัฒนาและทบทวนในเรื่องวิธี ปฏิบัติ และแนวทางในการอนุรักษ์ศิลปกรรมท้องถิ่นของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ให้แก่สมาชิก เครือข่ายด้านการอนุรักษ์ ๖.๒ การอบรมภาคปฏิบัติ กลุ่มสมาชิกเครือข่าย เดิน ทางไปส่ารวจในพื นที่ตัวอย่าง ณ บริเวณชุมชนวัดบางกะจะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๕

๗. วัน เวลา สถานที่ เดื อ นเมษายน – มิ ถุ น ายน ๒๕๕๘ สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พระนครศรีอยุธยา และชุมชนวัดบางกะจะ อ่าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

๘. ระยะเวลาดาเนินการ ๑ วัน

๙. ผู้รับผิดชอบโครงการ หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โทร/โทรสาร ๐๓๕-๒๔๑๔๐๗

๑๐. ผลที่คาดว่าจะได้รับ เกิดจิตส่านึกและความตระหนักในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ และศิลปกรรมจังหวั ด พระนครศรีอยุธยา แก่บุคลากร ประชาชน นักเรียน นักศึกษา และผู้เกี่ยวข้องในพืนที่ ได้มีความรู้ ความเข้ า ใจที่ ถู ก ต้ อ ง มี ส่ ว นร่ ว มในการอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ มธรรมชาติ แ ละศิ ล ปกรรมจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา รวมทังเป็นการขยายเครือข่ายบุคลากรในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและ ศิลปกรรมในระดับท้องถิ่น และชุมชน

๑๑. ผู้รับผิดชอบโครงการ หน่วยอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิล ปกรรมท้องถิ่น จังหวัดพระนครศรีอ ยุธยา : สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา โทรศัพท์ ๐๓๕-๒๔๑๔๐๗ โทรสาร. ๐๓๕-๒๔๑๔๐๗


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๖

หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ และศิลปกรรมท้องถิ่น ความเป็นมา คณะรั ฐ มนตรี มี ม ติ เมื่ อ วั น ที่ ๑ พฤษภาคม และ ๒๘ สิ ง หาคม ๒๕๒๗ เห็ น ชอบใน หลักการแผนพัฒนาการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม โดยเจตนารมณ์ของแผน คือ การพัฒนา วิธีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมให้เป็นระบบโดย ๑) ให้มีการศึกษาอบรมและประชาสัมพันธ์แก่ประชาชนให้มีความรู้ ความเข้าใจ เพื่อเป็น การป้องกันที่ต้นเหตุ ๒) ให้มีหน่วยงานดูแลและตรวจสอบเพื่อป้องกันมิให้เกิดปัญหาลุกลามเกินกว่าจะแก้ไขได้ ๓) ให้มีมาตรการควบคุมการใช้พื นที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย เพื่อให้การพัฒนาเป็นตาม หลักการที่ถูกต้องเหมาะสม และประสานประโยชน์แก่ท้องถิ่นและประเทศชาติโดยส่วนรวม โดยมีการด่าเนินงานเร่งด่วนคือ การจัดตังหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมท้องถิ่น ๗๕ จังหวัด (ยกเว้น กรุงเทพมหานคร) โดยตังอยู่ในโรงเรียน ๔๒ แห่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏ ๓๐ แห่ง และสถาบั น การพลศึ ก ษา ๓ แห่ ง นั บ เป็ น จุ ด เริ่ม ต้ น ของการมี เครื อ ข่ า ยด้ า นการอนุ รั ก ษ์ ข อง ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเนื่องจากในท้องถิ่น นอกจากจะมี มรดกทางวัฒ นธรรมแล้ว ยังมีแหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ ซึ่งมีแนวทางในการอนุ รักษ์ และ ด่ า เนิ น การในลั ก ษณะเดี ย วกั น นั่ น คื อ การค่ า นึ ง ถึ ง สิ่ ง แวดล้ อ มธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ศิลปกรรม ประกอบกับในการปรับปรุงแผนพัฒ นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๖ พ.ศ. ๒๕๓๒-๒๕๓๔ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อมได้เสนอให้มีการปรับปรุง องค์กรระดับ จัง หวั ด ทางด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มศิ ล ปกรรมที่ มี อ ยู่ แ ล้ วในทุ ก จั ง หวั ด ให้ ค รอบคลุ ม เรื่ อ งสิ่ ง แวดล้ อ ม ธรรมชาติ รวมทังในปี พ.ศ.๒๕๔๕ รัฐบาลได้มีการพัฒนาระบบราชการที่มุ่งเน้นให้มีการบริหาร จัดการอย่างบูรณาการ ซึ่งการบริหารจัดการในเรื่องสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม เป็ น เรื่ อ งที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ แ ละมี ผ ลก ระทบ ซึ่ ง กั น และกั น ส่ า นั ก น โยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงเสนอให้คณะอนุกรรมการการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ และศิลปกรรม ซึ่งเป็นคณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พิจารณาให้ ความเห็นชอบต่อการเพิ่มบทบาทของหน่วยอนุรักษ์ฯ เป็น หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและ


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๗

ศิล ปกรรมท้ อ งถิ่น (Local Units for Conservation of Natural and Cultural Environment: LUCNCE) โดย มีบทบาทหน้าที่ในการด่าเนินงานด้านอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติควบคู่กันไป กับ การอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ มศิ ล ปกรรม เมื่ อ วั น ที่ ๒๖ พฤศจิ ก ายน ๒๕๔๔. ๓๐ มกราคม และ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖ ตามล่าดับ

อานาจหน้าที่คณะอนุกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม ๑. พิจารณาก่าหนด แผนปฏิบัติการ แนวทางการด่าเนินงาน และการก่ากับดูแลรักษา สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมในพืนที่รับผิดชอบ ๒. พิจารณากลั่นกรองแผนงาน/โครงการที่มีผลกระทบ และผลเสียหายที่เกิดขึนในพืนที่ที่ มีคุณค่าทางด้านธรรมชาติและศิลปกรรมในพืนที่รับผิดชอบ ๓. ประสาน ผลั ก ดั น นโยบาย แผน แผนปฏิ บั ติ ก าร หลั ก การด้ า นการอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ มธรรมชาติ แ ละศิ ล ปกรรม รวมทั ง แนวคิ ด ข้ อ คิ ด เห็ น และข้ อ เสนอแนะ ของ คณะกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมไปสู่การปฏิบัติ ๔. พิจารณาแก้ไขและป้องกันปัญหาการท่าลายสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน พืนที่รับผิดชอบ ๕. ให้ค่าปรึกษา แนวคิด วิธีการด่าเนินงานแก่ส่วนราชการที่เกี่ ยวข้องในการปฏิบัติงาน ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมในพืนที่รับผิดชอบ ๖. ประสานและก่ากับการด่าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สมาคม องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปตามหลักการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ธรรมชาติและศิลปกรรมในพืนที่รับผิดชอบ ๗. สนับสนุน และส่งเสริมการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจในเรื่องการอนุรั กษ์สิ่งแวดล้อม ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมในพืนที่รับผิดชอบ เพื่อให้สาธารณชนได้รับรู้อย่างกว้างขวาง ๘. ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ ห น่ ว ยงานและองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ เกี่ ย วข้ อ ง ด่าเนินงาน ให้สอดคล้องกับแนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ และแผนพัฒนาการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ตามมติคณะรัฐมนตรี ๙. ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการด่าเนินงานผ่านคณะอนุกรรมการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเป็นระยะ ๑๐. แต่งตังคณะท่างานตามที่ เห็น สมควร เพื่ อปฏิบัติ งานด้านการอนุรักษ์ สิ่ง แวดล้อ ม ธรรมชาติและศิลปกรรมที่ได้รับมอบหมายในพืนที่รับผิดชอบ ๑๑. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๘

นิยาม: สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ตัว ศิ ล ปกรรม หมายถึง สิ่ งที่ ม นุษ ย์ไ ด้ สร้ างหรือ ก่า หนดขึ นทั งในอดี ต และปั จ จุบั น ด้ ว ย ความสามารถสติปัญญาก่าลังกายก่าลังใจ และได้รับการยกย่องว่ามีคุณค่าในทางศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ โบราณคดี และเทคโนโลยี ศิลปกรรม ได้แก่ พระราชวัง วัง วัด ศาสนสถาน ศาล อนุสาวรีย์ ป้อม คูเมือง ก่าแพงเมือง อาคารที่มีคุณค่าทางสถาปัตยกรรม คลอง สะพาน ท่าน่า และแหล่งชุมชนโบราณแหล่งศิลปกรรม หมายถึง พืนที่หรือบริเวณพืนที่ที่ประกอบด้วย อาคารสิ่ง ปลูกสร้างที่มนุษย์สร้างขึนหรือประดิษฐ์ขึนในแต่ละยุคสมัย จ่าแนกได้เป็น ๒ ลักษณะ ลัก ษณะที่ ๑ คื อ แหล่งศิ ลปกรรมที่ ยัง ใช้ ง าน เช่น วั ด (โบราณสถานที่ ขึนทะเบี ยนและไม่ ขึ น ทะเบียน) สถานที่ราชการ (เก่า) อาคารพาณิชย์ (เก่า) บ้านเรือน (เก่า) ย่านวัฒนธรรม (ชุมชน และตลาดเก่า)ลักษณะที่ ๒ คือ แหล่งศิลปกรรมที่ไม่ได้ใช้ง าน (ตามหน้าที่เดิม) แล้ว เช่น วัดร้าง แหล่ง ประวัติศ าสตร์ แหล่งชุ มชนโบราณ และแหล่ง โบราณคดี แหล่ง ศิลปกรรมที่กล่ าวถึง ทั ง ๒ ลั ก ษณะ นอกจากจะมี คุ ณ ค่ า ทางด้ า นประวั ติ ศ าสตร์ โ บราณคดี ค วามงดงามทางด้ า นศิ ล ป ะ สถาปั ต ยกรรม จิตรกรรม ปฎิ มากรรม ยังมี องค์ ประกอบที่ อ ยู่โดยรอบหรือสภาพแวดล้ อมทาง ธรรมชาติอยู่ในตัวเอง ที่มีความส่าคัญ เนื่องจากเป็นสิ่งที่ช่วยส่งเสริมความงามของศิลปกรรมนันให้ เด่นชัดยิ่งขึน สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม หมายถึง สรรพสิ่งที่เป็นธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึน รวมทัง สภาพแวดล้ อ มที่ อ ยู่ ใ นพื นที่ โดยรอบแหล่ ง ศิ ล ปกรรม เป็ น องค์ ป ระกอบและ มี ค วามสั ม พั น ธ์ เกี่ยวเนื่องกัน ทังทางตรงและทางอ้อม ต่อแหล่งศิลปกรรมนัน ๆ แนวความคิดในการอนุรักษ์ สิ่ง แวดล้อมศิลปกรรม เกิดจากสภาพปัญ หาที่เกิดขึนในท้องถิ่นต่างๆ ทั่วประเทศไทย ซึ่งมีแหล่ง ศิลปกรรมอยู่มากมาย แต่ความส่าคัญของแหล่งศิลปกรรมก่าลังถูกมองข้ามเพราะประชาชนยังขาด ความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องความส่าคัญ ประโยชน์ และคุณค่าของแหล่งศิลปกรรมนันๆ จึงเกิดการ ท่าลาย โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ทังทางตรงและทางอ้อม แหล่งศิลปกรรมจึงอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่ เหมาะสมและมีสภาพเสื่อมโทรม มีผลท่าให้หมดคุณค่า และหมดความสง่างาม เช่น มีสิ่งปลูกสร้างที่ มีความสูง อยู่ในบริเวณโดยรอบที่ไม่เหมาะสม เนื่องจากขาดการควบคุม การใช้ที่ดินและอาคาร โดยรอบ หรือภายในบริเวณแหล่งศิลปกรรม การสร้างที่จอดรถ สารโทรคมนาคม อาคารพาณิชย์อยู่ ใกล้เคียงประชิดแหล่งศิลปกรรมหรือ มีโครงการพัฒนาต่างๆ ถนน สะพาน เขื่อน ฝาย ประชิดรุกล่า ในแหล่งศิลปกรรม ซึ่งเป็นต้นเหตุของปัญหาที่น่าไปสู่ความเสื่อมคุณค่าของแหล่งศิลปกรรม ปัจจุบัน เป็นปัญ หาที่เกินก่าลัง และอ่านาจหน้าที่ของหน่วยงานรับผิดชอบเพียงหน่วยงานเดียวที่จะดูแล เรื่อ งการอนุรักษ์ มรดกทางวัฒ นธรรมของชาติ คือ กรมศิลปากร จึง อาจกล่าวได้ว่า การที่แหล่ ง ศิลปกรรมหรือแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมเสื่อมโทรม นันมีสาเหตุ มาจากสิ่งแวดล้อม ที่อยู่โดยรอบ ดัง นัน เพื่ อให้ก ารด่าเนิ นงานอนุรัก ษ์แ หล่งศิ ลปกรรมหรือมรดกทางวัฒ นธรรมของชาติ ประสบ ผลส่าเร็จ จึงต้องค่านึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่โดยรอบแหล่งศิลปกรรมนั่นเอง ปัจจุบันความเสื่อมโทรม


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๙

และความเสียหายของสิ่งแวดล้อมที่อยู่แหล่ง ศิลปกรรมก่าลังเป็นที่น่าวิตก โดยเฉพาะสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึนและมีส่วนท่าลาย โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์เพื่อประโยชน์ต่อการพัฒนาหรือเพื่อกิจกรรมอื่นใน ท้องถิ่นนันๆ ตลอดจนเพื่อประโยชน์ส่วนตัว ทังนีสาเหตุ มาจากภาวะเศรษฐกิจ ท่าให้ มีการรุกล่า พืนที่ของแหล่งศิลปกรรมเพื่อธุรกิจ การค้าโดยเฉพาะบริเวณที่อยู่ใกล้กับแหล่งศิลปกรรมบางแหล่งมี การก่อสร้างสิ่งใหม่ซึ่งไม่มีคุณ ค่าทางศิลปะประชิดบดบังโบราณสถาน นับเป็นการท่าลายคุณ ค่า ความสง่างาม บางครัง มีการเปลี่ยนแปลง ค่านิยมและรูปแบบ เพราะคิดว่า เก่า เป็นเรื่องของความ ล้าสมัย บางที่ มีร่องรอยเหลือ ให้เห็นเพียงส่วนน้อย อันเนื่องมาจากการรือถอน ทิงร้าง เมื่อตกอยู่ ในสภาพแวดล้อมเช่นนี ก็ท่าให้ไม่มีผู้เห็นความส่าคัญ บ้างก็ใช้พืนที่โบราณสถานส่วนที่เหลือเป็น ที่ตังกิจกรรมทางการค้า เป็นลานจอดรถ บางแห่ง ท่าลายโดยการขีดเขียนข้อความที่ไม่เหมาะสม ตามอาคารหรื อ ก่า แพงโบราณ บางแห่ งก็ มี ก ารรือท่ าลายโดยน่ าอิ ฐ หรือ วั ส ดุ บ างส่ว นจากซาก ปรักหักพังของโบราณสถาน ไปเพื่อประโยชน์ใช้สอยส่วนตัวหรือเพื่อการค้า และบางแห่งเป็นที่เลียง สัต ว์ ทั งขยะของเหลื อ ใช้ หากปล่ อ ยให้ ส ภาพเช่ น นี เกิ ดขึ นอี ก ต่ อ ไปจะมี ผ ลท่ าให้ ตั วศิ ล ปกรรม เสี ย หาย มี ส ภาพแวดล้ อ มที่ เสื่ อ มโทรมและหมดสภาพไปในที่ สุ ด แม้ ว่ า การพั ฒ นาจะช่ ว ยให้ ประเทศชาติ เจริ ญ ก้ า วหน้ าก็ ต าม แต่ ก ารพั ฒ นาควรมี ก ารวางแผนและป้ อ งกั น ผลกระทบต่ อ สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมด้วย มิฉะนันการพัฒนาจะเป็นการท่าลายสภาพแวดล้อมของแหล่งศิ ลปกรรม ของชาติ ปรากฏการณ์เช่นนี มีตัวอย่างที่เกิดขึนแล้วในอดีต อาทิ การตัดถนน ผ่านกลางก่าแพงเมือง โบราณหลายเมือง และวัดที่ส่าคัญอีกหลายวัด เช่น เมืองพิษณุโลก เมืองสุโขทัย เมืองก่าแพงเพชร เป็นต้น และในที่สุดรัฐ ต้องเสียเงินงบประมาณจ่านวนมากมหาศาลในการย้ายแนวถนนให้อ้อมเมือง โบราณเหล่านัน รวมทังการบูรณะฟื้นฟู มรดกอันมีค่าเหล่านี รวมทังสภาพแวดล้อมให้กลับมีสภาพ สมบูรณ์ นอกจากนีภาวะมลพิษนับเป็นสิ่งที่มีผลท่าให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อยู่โดยรอบและ ในแหล่งศิลปกรรมต่างๆ เช่น แรงสั่นสะเทือนและฝุ่นควันจากยวดยานพาหนะต่างๆ ที่สัญจรไปมา บนถนน ที่ ตัดผ่านแหล่งศิล ปกรรม การระเบิด หิน ซึ่ง อยู่ ในบริเวณใกล้เคียงกับ ที่ตั งของแหล่ ง ศิลปกรรม มีฝุ่น และละออง จากสารเคมี บางประเภท ที่สามารถท่าลายส่วนประกอบ ของอาคาร โบราณสถาน และ ท่าลายภูมิทัศน์ที่อยู่ในบริเวณโดยรอบ เนื่องจากอาคาร โรงงานอุตสาหกรรม ที่ สร้างขึนมาโดยขาดการควบคุมการใช้ที่ดินที่เหมาะสม การตังร้านค้าแผงลอย ซึ่งมีการทิงขยะ การ ระบายน่าทิงในบริเวณโดยรอบท่าให้น่าเน่า น่าเสีย ในบริเวณแหล่งศิลปกรรม ทัศนอุจาดที่เกิดจาก การติดป้ายโฆษณา สายไฟฟ้า เสาวิทยุโทรทัศน์ เป็นมลพิษทางสายตา และเป็นการท่าลายคุณค่า ของแหล่งศิลปกรรมทางอ้อม


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๑๐

ประโยชน์จากการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ๑. ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรทางวัฒนธรรม (๑.) ช่วยส่งเสริมความโดดเด่นและความส่าคัญของแหล่งศิลปกรรม ให้สมคุณค่า (๒.) ช่วยให้เกิดความภาคภูมิใจในอารยธรรมอันเก่าแก่ของชาติ และชุมชนมีส่วน ร่ ว มในการ ดู แ ล ปกป้ อ งและรั ก ษาแหล่ ง ศิ ล ปกรรมที่ เ ป็ น มรดกทาง วัฒนธรรมของชาติ ให้คงอยู่ต่อไป (๓.) ช่วยสร้างชื่อเสียงที่ดีงามให้แก่แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ และดึงดูด ผู้เข้ามาเยี่ยมชม ๒. ด้านสิ่งแวดล้อม (๑.) ช่วยให้ประชาชนในบริเวณนันมีคุณภาพชีวิต และคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีขึน (๒.) ช่วยให้ชุมชนมีแหล่งสันทนาการทางด้านสุขภาพอนามมัยและพักผ่อนหย่อน ใจมีความสวยงามร่มรื่น ๓. ด้านการศึกษาและวิจัย (๑.) ช่วยยกระดับคุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมให้ได้ระดับ มาตรฐาน (๒.) มีแหล่งความรู้ทางวิชาการให้แก่ เยาวชนของชาติ ที่จะน่าไปสู่การพั ฒนา ทางด้านการศึกษาที่เป็นประโยชน์แก่ท้องถิ่นในอนาคต


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๑๑

การอนุรกั ษ์แหล่งศิลปกรรมท้องถิ่น โบราณสถาน และโบราณวัตถุ เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทหนึ่ง ที่อาจบอก ความเป็ น มาของกลุ่ ม ชน หมู่ บ้ าน เมื อง และประเทศชาติ นั บ ตังแต่ อ ดีต กาลต่อ เนื่ อ งมาจนถึ ง ปัจจุบันได้ เป็นหน้าที่ของชนรุ่นปัจจุบัน ที่จะต้องอนุรักษ์ทรัพยากรวัฒนธรรมประเภทนีไว้ และใช้ ประโยชน์ให้คุ้มค่า "...โบราณสถานนันเป็นเกียรติของชาติ อิฐเก่าๆ แผ่นเดียวก็มีค่า ควรจะช่วยกัน รักษาไว้ ถ้าเราขาดสุโขทัย อยุธยา และกรุงเทพฯ แล้ว ประเทศไทยก็ไม่มีความหมาย" นี่คือ กระแส พระราชด่ารัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานไว้เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๖ ในวโรกาสที่เสด็จประพาสอยุธยา ย่อมเป็นสิ่งที่ยืนยันความส่าคัญอย่างยิ่งของโบราณสถาน ที่มีต่อ การพัฒนาประเทศชาติ โดยเฉพาะความส่าคัญ ที่เป็นคุณค่าทางจิตใจ

ประโยชน์ของโบราณสถานและโบราณวัตถุ อาจกล่าวได้ว่า โบราณสถาน และโบราณวัตถุนัน มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อประเทศชาติถึง ๒ นัย คือ ๑. นัยที่เกี่ยวเนื่องกับจิตใจของประชาชน กล่าวคือ โบราณสถานย่อมแสดงความเป็นมาของประเทศ เป็นเกียรติ และความภาคภูมิใจ ของคนในชาติ เป็นสิ่งที่โยงเหตุการณ์ในอดีต และปัจจุบันเข้าด้วยกัน และเป็นสิ่งที่เราน่ามากระตุ้น จิตส่านึกของคนในชาติได้ ๒. นัยที่เกี่ยวเนื่องกับเศรษฐกิจของประเทศ กล่าวคือ โบราณสถาน และโบราณวัตถุนันเป็น "มรดกวัฒนธรรม" ที่แสดง "เอกลักษณ์ " ของประเทศ จึงท่าให้เกิดมี "การท่องเที่ยววัฒนธรรม" ท่ารายได้มหาศาลได้แก่ ท้องถิ่นที่มีมรดก วัฒนธรรมของตนเอง การท่องเที่ยววัฒนธรรมนี ก่อให้เกิดธุรกิจ ที่เกี่ยวเนื่องอีกหลายประการ เช่น ธุรกิจการค้า ขายอาหาร ธุรกิจการโรงแรม ธุรกิจการจัดพาหนะเดินทาง และธุรกิจการผลิต และจ่าหน่ายของที่ ระลึก เป็นต้น หากรัฐและประชาชนร่วมมือกันอนุรักษ์โบราณสถาน และโบราณวัตถุ ก็จะท่าให้เกิด ประโยชน์ แก่ประเทศชาตินานัปการ แต่ก็ยังมิได้มีกฎหมาย ก่าหนดลงชัดเจนว่า ประชาชนทั่วไป มี หน้าที่ต้องช่วยอนุรักษ์ด้วยหรือไม่ วิชาการอนุรักษ์นัน เป็นศาสตร์อย่างหนึ่ ง มี ความสัมพั นธ์เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับ วิช า โบราณคดี กรมศิลปากรนิยามค่า "การอนุรักษ์" ว่าหมายถึง "การดูแลรักษาเพื่อให้คงคุณค่าไว้ และ


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๑๒

ให้หมายรวมถึงการป้องกัน การรักษา การสงวน การปฏิสังขรณ์และการบูรณะด้วย" ยิ่งกว่านันกรม ศิลปากรยังนิยามค่า "การสงวนรักษา การปฏิสังขรณ์และการบูรณะ" ไว้อีกโสดหนึ่ง การสงวนรักษา หมายถึง "การดูแลรักษาไว้ตามสภาพของเดิมเท่าที่เป็นอยู่ และป้องกันมิ ให้เสียหายต่อไป" การปฏิสังขรณ์ หมายถึง "การท่าให้กลับคืนสู่สภาพอย่างที่เคยเป็นมา" การบูรณะ หมายถึง "การซ่อมแซม และปรับปรุ ง ให้รูปทรงมี ลักษณะกลมกลืนเหมือ น ของเดิมมากที่สุดเท่าที่จะมากได้ แต่ต้องแสดงความแตกต่างของสิ่งที่มี อยู่เดิมและสิ่งที่ท่าขึนใหม่" ส่วนวิชาโบราณคดีก็คือ วิชาที่ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในอดีต ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านกระบวนการเชิงช่าง หรือด้านสิ่ งแวดล้อม ฯลฯ โดยศึกษาจากสิ่งที่มนุษย์สร้างขึน หรือดัดแปลงแล้ว ตกทอดเป็นหลักฐานให้เราศึกษาได้ เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ และศิลปวัตถุ ต่างๆ เป็นต้น โบราณสถาน คือ อสังหาริมทรัพย์ เช่น โบสถ์ วิหาร วัง ที่มีอายุกว่า ๑๐๐ ปีขึนไป ส่วนโบราณวัตถุ หมายถึง สังหาริมทรัพย์ เช่น พระพุทธรูป เทวรูป ศิลาจารึก มีอายุกว่า ๑๐๐ ปีขึน ไปเช่นกัน หลักฐานแห่งการประดิษฐ์ หรือหลักฐานเกี่ยวกับประวัติของทังโบราณสถานก็ดี และ โบราณวัตถุก็ดี จะต้องเป็นประโยชน์ในทางศิลปะ ประวัติศาสตร์ หรือโบราณคดี ส่าหรับศิลปวัตถุ นันคือ สิ่งที่ท่าด้วยฝีมือเป็นที่นิยมกันว่า มีคุณค่าทางศิลปะ อนึ่ง ยังมีค่าส่าคัญที่เกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าวนีอีก ๔ ค่า ที่ควรเอ่ยถึง คือ แหล่งโบราณคดี อุทยานประวัติศาสตร์ อารยธรรม และวัฒนธรรม แหล่งโบราณคดีเป็นค่าเกิดขึนมาใหม่หมายถึง บริเวณที่มีหลักฐานของพฤติกรรมมนุษย์ในอดีต ทังที่อยู่บนดิน ใต้ดิน และใต้น่า เช่น ที่อยู่อาศัย สุสาน ศาสนสถาน หรือสถานะที่ประกอบอาชีพ และแหล่งเรืออับปาง อุทยานประวัติศาสตร์ก็เป็น ค่าใหม่เช่นกัน หมายถึง บริเวณที่มีหลักฐานส่าคัญ ทางประวัติศาสตร์สมัยใดสมัยหนึ่งของประเทศ หลักฐาน และความส่าคัญดังกล่าวอาจเป็นทางวัฒนธรรม การเมือง และสังคมวิทยาก็ได้ ส่วนค่าว่า อารยธรรม นันหมายเฉพาะ ความเจริญระดับเมือง แต่ค่าว่า วัฒนธรรม หมายถึง ชีวิตความเป็นอยู่ ทุกแง่มุมของมนุษย์ ในกลุ่มสังคมต่างๆ เช่น วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมจีน เป็นต้น คุณลักษณะเด่น ที่สุดของ วัฒ นธรรมก็คือ เป็นมรดกทางด้ านความคิด หรือปทัฏฐานที่สืบทอดกันต่อมา เป็นเครื่อง แสดงถึ ง ระดั บ สติ ปั ญ ญา และความสามารถของมนุ ษ ย์ ที่ ไ ด้ น่ า ทรัพ ยากรธรรมชาติ ม าใช้ สอย นานัปการ เช่น สามารถน่าดินมาผลิตเป็นเครื่องปั้นดินเผาได้อย่างสวยงาม เป็นต้น

สมบัติวัฒนธรรม เมืองไทยของเรามีสมบัติวัฒ นธรรมมากมาย ปรากฏย้อนหลังไปนับเป็นหมื่นเป็นแสนปี มีทังที่เป็นของที่คนสร้างหรือดัดแปลงขึนส่าหรับใช้สอย เช่น ถ้วยชาม ส่าหรับเป็นเครื่องมือ หรือ อาวุธ เช่น หวาน มีด หอก ค้อน เบ็ด ฉมวก ฯลฯ ส่าหรับเป็นเครื่องประดับ เช่น ก่าไล สร้อย ลูกปัด


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๑๓

ต่างหู ฯลฯ วัสดุที่ใช้มีหลายหลากตังแต่ หิน โลหะ และไม้ นอกจากนียังพบประติมากรรมอยู่ตามที่ ต่างๆ โบราณสถานก็มี โดยเฉพาะโบราณสถานที่เป็นศาสนสถาน หรือปูชนียสถานหลายแห่ง ผู้คน ยังใช้สอยสืบต่อกันมาแต่ต้น จนปัจจุบันนี นักโบราณคดีเรียกโบราณสถานประเภทนีว่า "อนุสาวรีย์ที่ ยังมีชีวิต" ส่วนโบราณสถานที่เลิกใช้ประกอบพิธีแล้วเป็น "อนุสาวรีย์ที่ตายแล้ว" ในการจัดประเภทของโบราณสถาน นักโบราณคดีมีระบบ ดังนี ๑. จั ด ประเภทตามสมั ย ๆ หนึ่ ง ได้ แ ก่ ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ เป็ น เวลาที่ ม นุ ษ ย์ ยั ง ไม่ มี ตัวหนังสือส่าหรับบันทึกเรื่องต่างๆ เป็นลายลักษณ์อักษร อีกสมัยหนึ่งคือ สมัยประวัติศาสตร์ เมื่อ มนุษย์บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ และความรู้สึกนึกคิดเป็นลายลักษณ์อักษรแล้ว ๒. จัดประเภทตามการใช้สอย แบ่งเป็นแหล่งโบราณคดี ๓ แหล่ง แหล่งที่หนึ่งคือ แหล่งที่อยู่อาศัย ซึ่งอาจจะมีคูคันดิน หรืออาจจะไม่มีก็ได้ แหล่งที่สองคือ แหล่งพิธีกรรม เช่น สุสาน และศาสนสถาน เป็นต้น แหล่งที่สามคือ แหล่งอุตสาหกรรมที่อาจจะพบ เตาเผาถ้วยชาม มีแหล่งโลหะเหมืองแร่ หรือแหล่งสกัดหิน ฯลฯ วิธีอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบ การอนุรักษ์โบราณสถาน และโบราณวัตถุ การซ่อม บูรณะ หรือสงวนรักษานัน จะต้องกระท่าอย่างระวัง มิให้เสียหายไปกว่าเดิม ทังนีเพื่ อ รักษาคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม และความเป็นโบราณสถาน และโบราณวัตถุของสิ่งนัน กรมศิลปากรนันได้วางระเบียบปฏิบัติหลายประการ ว่าด้วยการอนุรักษ์สมบัติวัฒนธรรมแต่ละข้อ ล้วนแต่เน้นเรื่องการรักษาให้คงคุณค่าของเดิม ให้ปรากฏเด่นชัดมากที่สุด เช่น ระเบียบข้อที่ ๑๔ ระบุว่า "โบราณสถานที่เป็นปูชนียสถานอันเป็นที่เคารพบูชา ซึ่งเป็นที่รู้จักคุ้นเคยกันดีของประชาชน โดยทั่ ว ไป จะต้ อ งบู ร ณะไว้โดยไม่ มี ก ารแก้ ไ ข เปลี่ ย นแปลงลั ก ษณะ สี ทรวดทรง ซึ่ ง จะท่ าให้ โบราณสถานนันหมดคุณค่า หรือเสื่อมความศักดิ์สิทธิ์ไป" เป็นต้น การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุเป็นหน้าที่ของทุกคน แม้ว่าประเทศของเราจะมีพระราชบัญ ญั ติโบราณวัตถุโบราณสถาน ฯลฯ มาตังแต่ พ.ศ. ๒๕๐๔ มีอนุสัญญาระหว่างประเทศ และท่าสัญ ญากับบางประเทศ เพื่อป้องกันการน่าเข้า -ส่งออก โบราณวั ต ถุ ที่ ผิ ด กฎหมาย เช่ น โบราณวั ต ถุ และศิ ล ปวั ต ถุ ที่ เป็ น หลั ก ฐานความเป็ น มาของ ประเทศชาติ จะซือขายได้ ก็เฉพาะสิ่งของที่เป็นสมบัติส่วนตัว ที่ได้รับเป็นมรดกตกทอดมาจากบรรพ บุรุษผู้สร้างขึนมาเท่านัน แต่กระนันก็ยังมีการซือขายโบราณวัตถุ อันเป็นสมบัติของชาติกันอย่าง กว้า งขวาง มิ ได้ เกรงกลั ว อาญาของกฎหมายเลย วิธี เดี ย วที่ อ าจช่ ว ยแก้ ปั ญ หานี ได้ คื อ กระตุ้ น จิตส่านึกของคนให้มีคุณธรรม ให้มีความรู้สึกผิดชอบ ที่จะร่วมแรงร่วมใจอนุรักษ์โบราณสถาน และ


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๑๔

โบราณวัตถุของประเทศ ให้เป็นสมบัติวัฒนธรรมของบ้านเมือง มิใช่เป็นสมบัติส่ว นตน ทังนีจะต้อง รีบกระท่านับตังแต่วันนีเป็นต้นไป เพราะพรุ่งนีก็อาจสายไปเสียแล้ว

การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ โบราณสถาน และโบราณวัตถุ ไม่ใช่ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งเกิดขึนได้เอง แต่เป็นทรัพยากร วัฒนธรรมประเภทหนึ่ง ที่มนุษย์ใช้สติปัญญา และความรู้ความสามารถสร้างขึนใหม่ทังหมด หรือ ดัดแปลงจากทรัพยากรธรรมชาติให้เป็นประโยชน์ต่อตน และสังคมในสมัยนันๆ สถานที่และสิ่งของเหล่านัน เมื่อตกทอด เป็นมรดกมาถึงคนรุ่นเรา ก็กลายเป็นโบราณสถาน และโบราณวัตถุ เช่น เดีย วกับ อาคาร และวัต ถุ ที่ เราสร้างขึนสมั ยนี ก็จ ะเป็ นโบราณสถาน และ โบราณวัตถุของคนในอนาคตสืบต่อไป แบบนีไม่ขาดตอน ฉะนัน โบราณสถาน และโบราณวัตถุ จึงเป็นหลักฐานประวัติศาสตร์ประเภทหนึ่ง ที่บอก ความเป็นมาของบรรพบุรุษ ที่อยู่ในสังคมระดับต่างๆ ตังแต่กลุ่มชนขนาดเล็ก จนถึงหมู่บ้าน เมือง และประเทศชาติ ต่อเนื่องมาจนถึงสมัยเรา ประวัติศาสตร์ หรือความเป็นมาดังกล่าว แสดงพัฒ นาการของผู้สร้างสมัยก่อน ส่วนการ อนุ รั ก ษ์ สิ่ ง เหล่ านั นไว้ ใช้ ป ระโยชน์ อ ย่ า งเต็ ม ที่ เป็ น หน้ า ที่ ข องคนรุ่ น เรา และรุ่ น ต่ อ ๆ ไป การ "อนุรักษ์" และการ "พัฒนา" จึงเป็นหลักการที่ต่อเนื่องกัน ไม่ใช่ "ปฏิปักษ์" กันอย่างที่บางคนเข้าใจ กระแสพระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประเทศเราโชคดี ที่มี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช พระประมุขของชาติ ที่ทรงพระปรีชาสามารถ และเข้าพระราชหฤทัยประโยชน์ของทรัพยากรทุกประเภทอย่างลึกซึง จน เกิดโครงการ "พัฒนา" ในพระราชด่าริเป็นตัวอย่างให้หน่วยงานรัฐบาล และเอกชน ด่าเนินตามจน บรรลุความส่าเร็จมากมาย ในขณะเดียวกันพระองค์ก็ได้พระราชทานกระแสพระราชด่ารัส ให้เห็นถึงความส่าคัญของ ทรัพยากรวัฒนธรรมประเภทโบราณสถาน และโบราณวัตถุไว้ด้วย เพื่อให้ช่วยกันอนุรักษ์ และใช้ ประโยชน์ให้คุ้มค่าไว้ถึง ๒ ครังด้วยกัน


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๑๕

ครังแรกในวโรกาสเสด็ จพระราชด่ าเนิ น เปิด พิ พิ ธภั ณ ฑสถานแห่ง ชาติ เจ้าสามพระยา พระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๐๔ มีความดังนี "โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และโบราณสถาน ทังหลายนัน ล้วนเป็นของมีคุณค่า และจ่าเป็น แก่การศึกษาค้นคว้าในทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ และโบราณคดี เป็น เครื่องแสดงความรุ่งเรืองของชาติไทย ที่มีมาแต่ในอดีตกาล สมควรจะสงวนรักษา ให้คงถาวร เป็นสมบัติส่วนรวมของชาติไว้ตลอดกาล มีผู้กล่าวว่า ขณะนีได้มีผู้สนใจ และหาซือโบราณวัตถุ และศิลปวัตถุ ส่งออก ไปต่างประเทศกันมาก ถ้าต่อไปภายหน้า เราจะต้องไปศึกษา หรือชมโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุของไทยเราเองในต่างประเทศ ก็คงเป็นเรื่องที่น่าเศร้า และน่าอับอาย มาก เราจึงควรจะขวนขวาย และช่วยกันหาทางรวบรวมโบราณวัตถุ และศิลปวัตถุ ของเรา แล้วจัดสร้างพิพิธภัณฑสถาน เก็บรักษาไว้จะเป็นการดีที่สุด"

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เสด็จพระ ราชด่ า เนิ น เปิ ดพิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ เจ้ า สามพระยา จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๐๔

โบราณวั ต ถุ จ่ านวนหนึ่ ง ที่ มี ผู้ ข โมยลั ก ตั ด มาจาก โบราณสถาน เพื่อจะน่าส่งไปขายต่างประเทศ


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๑๖

กระแสพระราชด่ารัสครังที่ ๒ เป็นผลจากเหตุการณ์ระคายพระราชหฤทัยในวโรกาส เสด็จ ประพาสอยุธยา เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๖ ซึ่ง ม.ล. ปิ่น มาลากุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการสมัย นัน เขียนไว้ในวารสาร "จันทรเกษม" ฉบับที่ ๕๔ ประจ่าเดือนกันยายน-ตุลาคม ๒๕๐๖ ว่า "...ได้ทอดพระเนตรเห็นอาคารสมัยใหม่หลังหนึ่ง สร้างขึนบนที่ ซึ่งเคยเป็น ซากโบราณสถาน มีพระราชด่ารัสว่า การสร้างอาคารสมัย นี คงจะเป็น เกีย รติ ส่าหรับ ผู้ส ร้างคนเดีย ว แต่เรื่อ ง โบราณสถานนัน เป็น เกียรติข องชาติ อิฐเก่าๆ แผ่น เดียวก็มี ค่า ควรจะช่วยกั น รั ก ษาไว้ ถ้ า เราขาดสุ โขทั ย อยุ ธ ยา และกรุ ง เทพฯ แล้ ว ประเทศไทยก็ ไ ม่ มี ความหมาย" ม.ล. ปิ่น กล่าวต่อไปว่า "...เมื่อได้ยินกระแสพระราชด่ารัสนัน ก็รู้สึกซาบซึงในพระมหากรุณาธิคุณ ที่ ได้ทรงเตือนสติคนไทย ที่นิยมความเจริญ ทางวัตถุ ยิ่ง กว่าความเจริญ ทางจิตใจ โบราณวัตถุสถานเหล่านี มีคุณค่าล้นเหลือ ถ้าไม่มีให้เราเห็นแล้ว ท่าอย่างไรเราจึง จะเข้าใจแจ่มแจ้งว่า บรรพบุรุษของเราเคยท่าอะไร อย่า งไร และอยู่ที่ไหน ซึ่งสรุป ได้ว่า การสร้างชาติ ประกอบด้วยคุณธรรม ซึ่งเป็นมรดกตกทอดมาถึงเราในทุก วันนี ถ้าโบราณวัตถุสถานเหล่านันสูญสินไปหมด ความรู้สึกอย่างที่ข้าพเจ้ารู้สึก ก็ จะเลือนลางลง เมื่อคนเราไม่มีอะไรผูกมัดทางจิตใจแล้ว ก็ย่อมจะนึกถึงประโยชน์ ส่วนตน หรือเห็นแก่ตัว ซึ่งเป็นธรรมดา อยู่เอง" "...ในการที่มีโบราณวัตถุสถาน และปูชนียสถานอยู่เป็นอันมาก ถ้าเรารู้จักวิธี น่ามาใช้ เกี่ยวกับการอบรมจิตใจของเยาวชน ก็จะเป็นประโยชน์มาก..." ประโยชน์ของโบราณสถานและโบราณวัตถุ กระแสพระราชด่ารัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และความคิดเห็นของ ม.ล. ปิ่น มาลากุล เกี่ยวกับประโยชน์ของโบราณสถาน และโบราณวัตถุ สรุปได้ดังนี ๑. แสดงความเป็นมาของประเทศ ๒. เป็นเกียรติและความภาคภูมิใจของคนในชาติ ๓. เป็นสิ่งที่โยงเหตุการณ์ในอดีต และปัจจุบันเข้าด้วยกัน ๔. เป็นสิ่งที่ใช้อบรมจิตใจของคนในชาติได้


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๑๗

นั่นเป็นทัศนะของพระมหากษัตริย์ที่ทรงเป็นนักพัฒนาเต็มพระองค์ ต่อการอนุรักษ์มรดก วัฒ นธรรมของชาติ เมื่อเกือบ ๓๐ ปีมาแล้ว ในขณะที่พ ระราชบัญ ญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิ ล ปวั ต ถุ และพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ส ถานแห่ ง ชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔ ซึ่ ง ยั ง ใช้ กั น มาจนทุ ก วั น นี ไม่ ไ ด้ แ สดง เจตนารมณ์ ข องกฎหมายให้ ชั ด เจน อย่ างที่ ป รากฏในพระราชด่ า รัส เลยว่ า โบราณสถาน และ โบราณวัตถุส่าคัญอย่างไร จึงต้องช่วยกันอนุรักษ์ และการอนุรักษ์นัน เป็นหน้าที่ของประชาชนทั่วไป ด้วยหรือไม่ เหมือนที่กฎหมายคุ้มครองสมบัติวัฒนธรรม ของประเทศอื่นบางประเทศ เขาระบุไว้ ในปัจจุบัน เมื่อทรัพยากรของโลกเหลือน้อยลง และวิชาการก้าวหน้าขึน สิ่งที่เคยคิดกันว่า มีประโยชน์ทางเศรษฐกิจได้ และอาจดีกว่า "สินค้า" บางประเภทด้วยซ่าไป เพราะมีระยะเวลาใช้ ประโยชน์ ที่เรียกกันว่า ชีวิตทางเศรษฐกิจ ยาวนานกว่าสินค้าประเภทอื่นๆ ตัวอย่างการสร้างสาธารณูปโภคบางอย่าง เช่น เขื่อน ซึ่งอาจต้องลงทุนหลายพันหลายหมื่น ล้านในการก่อสร้าง และบ่ ารุงรักษา ให้ ใช้ ง านได้ไปตลอดชี วิตของมัน ประมาณ ๑๐๐-๒๐๐ ปี ในขณะที่โบราณวัตถุและโบราณสถาน มีอายุใช้งานได้เกือบตลอดไป ดังจะเห็นได้ว่า บางสถานที่ และวัตถุบางชิน มีอายุหลายร้อย ถึงหลายแสนปีมาแล้ว ประเทศต่างๆ เกือ บทั่ วโลก ได้ หัน มาฟื้ น ฟู มรดกวัฒ นธรรมให้ คงอยู่ เป็ น หลั ก ฐานทาง ประวัติศาสตร์ของประเทศ เป็นเกียรติและความภาคภูมิใจ ไม่ให้ประเทศอื่นๆ ดูถูกว่า เป็นบ้านป่า เมืองเถื่อน เพราะไม่มีประวัติศาสตร์ของตนเอง และเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ด้วยการจัดการ โบราณสถาน และโบราณวัตถุ ให้เป็นธุรกิจอย่างหนึ่ง คือ "การท่องเที่ยววัฒนธรรม" ท่ารายได้ให้แก่ ท้องถิ่นที่มีมรดกวัฒนธรรมดังกล่าว และแก่ประเทศชาติโดยส่วนรวมเป็นอันมาก ทังนีเพราะเหตุว่า การคมนาคมในโลกปัจจุบันดีมาก การติดต่ อกันและกันสะดวกขึน รสนิยมในเรื่องเครื่องอุปโภค บริโภคจึง คล้ายๆ กั น แต่มี สิ่งของประเภทเดีย วที่ไ ม่เหมื อนกัน ก็คื อ "มรดกวัฒ นธรรม" ที่ แสดง เอกลักษณ์ของแต่ละประเทศ จึงเป็น "สินค้า" ที่ดึงดูดคนให้เข้าไปเยี่ยมชม โบราณสถาน และโบราณวัตถุ เป็น "สินค้า" ที่มีคุณสมบัติล่า เลิศกว่าสินค้าประเภทอื่นๆ เพราะว่า เราจั ด การให้ ค นจ่า ยเงิน "ซื อ" ความรู้อ ย่ างเดี ย ว เขาไม่ ไ ด้ เอาตั วสิ น ค้ า ไปด้ วย ธุร กิ จ ประเภทนีจึงเป็นธุรกิจที่ท่ารายได้เหนือกว่าธุรกิจประเภทอื่นๆ เพราะไม่ได้เบียดบังเอาโบราณสถาน และโบราณวัตถุ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสมบัติของคนทุกคนในชาติไปขาย เอารายได้เป็นของตัวเอง อย่าง ธุรกิจค้าโบราณวัตถุที่ท่ากันเป็นล่​่าเป็นสัน ทังถูกกฎหมาย และผิดกฎหมาย อย่างทุกวันนี รายได้จากการท่องเที่ยววัฒนธรรมมาจากกิจกรรมหลายอย่าง ไม่ใช่ค่าเข้าชมอย่างเดียว แต่ เป็นค่าอาหาร ค่าพาหนะเดินทาง ค่าพักแรม ค่าซือของที่ ระลึก และค่าบริการต่างๆ ซึ่งรวมแล้ว นักท่องเที่ยวแต่ละคนจะต้องใช้จ่ายไม่น้อยเลย แต่ละประเทศจึงระดมปรับปรุงโบราณสถาน ให้เป็น แหล่งท่องเที่ยวแบบอุทยานประวัติศาสตร์บ้าง หรือเป็นโบราณสถานโดดๆ บ้าง จนเกิดปัญหาขึนใน หลายประเทศที่ด่าเนินการไป โดยที่ยังไม่มีความพร้ อม ทังด้านบุคลากร และงบประมาณ ตลอดจน


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๑๘

หลักการ และแนวทาง เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม ซึ่งต้องฝึกฝนเล่าเรียนให้เข้าใจถ่อง แท้ก่อน ความไม่พร้อมท่าให้โบราณสถานหลายแห่ง กลายเป็นปัจจุบันสถานไปอย่างน่าเสียดาย

นิยามต่างๆ ความก้ า วหน้ า ทางวิ ช าการ โลก ทัศน์ และกาลสมัย เป็ นปั จจัยที่ท่าให้ ศัพ ท์ เปลี่ ยนความหมายไปได้ ค่าๆ เดี ยว อาจมี ความหมายได้หลายอย่าง และบางกรณีอาจ ขัดกั น ด้ว ย ฉะนั น วิช าแต่ ละสาขา จึง ต้ อ ง บั ญ ญั ติ ศั พ ท์ ขึ นมาใช้ เ อง ซึ่ ง บางที ก็ สื บ ความหมายจากรากศัพท์ได้ แต่บางทีก็ไม่ได้ เพราะความหมายสั นๆ นิ ย ามแล้ ว ยาว ก ว่ า เดิ ม มาก ห รื อ อ าจม าจาก ค่ าที่ ใช้ วิ ธี ก ารอนุ รั ก ษ์ จิ ต รกรรมฝาผนั ง ให้ ค งคุ ณ ค่ า หรื อ เป รี ย บ เที ย บ ห รื อ ค่ า ที่ แ ป ล จ า ก ภาษาต่างประเทศ หรือความหมายที่บัญญัติ คงสภาพไว้ ขันตอนที่ ๑ ใช้แปรงขนอ่อนปัดฝุ่นเบาๆ ไว้ในกฎหมาย เริ่มต้น ที่ค่า "อนุรักษ์ " กันก่อน ซึ่ ง แปลตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓ ว่า "ตามรักษา, ระวัง, ป้องกัน (ส.)." ปฏิสังขรณ์ (ตามพจนานุกรมฉบับที่ อ้างแล้ว) หมายถึง การซ่อมแซม การตกแต่ง (ป.) และ บูรณะ ซึ่งมาจากค่า "บูรณ์" แปลว่า เต็ม ซึ่งเมื่อมาใช้กับวิชาการอนุรักษ์ ซึ่ง ๒. ลอกกระดาษสาที่ดูดซับคราบสกปรกออก เป็ น ส า ข า วิ ช า ให ม่ ค่ า เห ล่ า นั น ก็ มี ความหมายมากกว่าเดิม ขอยกตัวอย่ างค่ า นิยามจากระเบียบของกรมศิลปากร ว่าด้วย การอนุรักษ์โบราณสถาน ๒๕๒๘ ...ข้อ ๓ ใน ระเบียบนี


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๑๙

๓. ท่าการเสริมความมั่นคงในชันปูนฉาบฝาผนังปูนรอง พืนและชันสีด้วยการฉีดกาวพี วี เอ และฉีดสารละลายพารา ลอยด์ บี.๗๒

๔. หากยัง มีค ราบสกปรกตกค้างอยู่ ให้ใช้ส ารละลาย แอมโมเนียผสมในเยื่อกระดาษ ปิดเฉพาะบริเวณที่เป็นคราบ ด่าทิงไว้ครู่หนึ่ง

(๑) "การอนุ รั ก ษ์ " หมายความว่ า การดู แล รักษา เพื่ อให้ คงคุณ ค่าไว้ และให้ หมายรวมถึ ง การป้ อ งกั น การรั ก ษา การ สงวน การปฏิสังขรณ์ และการบูรณะด้วย ก. การสงวนรักษา หมายความถึ ง การดู แ ลรัก ษาไว้ ต ามสภาพของเดิ ม เท่ า ที่ เป็นอยู่ และป้องกันมิให้เสียหายต่อไป ข. การปฏิ สั ง ขรณ์ หมายความถึ ง การท่าให้กลับคืนสู่สภาพอย่างที่เคยเป็นมา ค. การบู รณะ หมายความถึง การ ซ่อมแซม การปรับปรุง ให้มีรูปทรงลักษณะ กลมกลืนเหมือนของเดิมมากที่สุด เท่าที่จะ มากได้ แต่ต้องแสดงความแตกต่างของสิ่งที่ มีอยู่เดิม และสิ่งที่ท่าขึนใหม่ ค่ า "โบราณคดี " ก็ เป็ น ค่ า หนึ่ ง ที่ มี ค ว าม ห ม ายเดิ ม อ ยู่ บ้ าง แ ต่ ข อ บ เข ต กว้ างขวางกว่ าเดิ ม ซึ่ ง หมายตามรู ป ค่ า ว่ า "เรื่ อ งเก่ า ๆ" แต่ เมื่ อ เป็ น วิ ช าโบราณคดี ก็ หมายถึง วิชาที่ศึกษาพฤติกรรมของมนุษ ย์ (เศ ร ษ ฐ กิ จ สั ง ค ม เท ค โน โล ยี แ ล ะ สิ่ ง แวดล้ อ ม ฯลฯ) ในอดี ต จากสิ่ ง ของที่ มนุ ษ ย์ ส ร้า งหรื อ ดั ด แปลงขึ น แล้ วตกทอด เป็นหลักฐานให้เราศึกษาได้ สิ่ง ของที่ มนุ ษย์ สร้างหรือ ดัดแปลง ใช้ คื อ โบ ราณ วั ต ถุ โบราณ สถาน ใน ความหมายของวิชาโบราณคดีนั่ นเอง บาง ชิ น บางแห่ ง อาจเป็ น ศิ ล ปวัต ถุ หรือ ศิ ล ป สถาน (ค่านีไม่มีใช้กัน) ด้วยก็ได้ มาตรา ๔ ของพระราชบั ญ ญั ติ โบราณสถาน โบราณวั ต ถุ ศิ ล ปวั ต ถุ และ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔ มีค่า


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๒๐

๕. การถื อ รองพื น เพื่ อ ประสานรอยช่ า รุ ด ที่ ผิ ว จิตรกรรม ให้สนิทเป็นเนือเดียวกันโดยตลอด จะต้องให้ผิว ได้ระดับกับของเดิม และเรียบร้อยมั่นคง

จ่า กั ดความของโบราณสถาน โบราณวั ต ถุ และศิลปวัตถุ ดังนี "โบราณ สถาน " หมายความว่ า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ซึ่ ง โดยอายุ หรื อ โดย ลักษณะแห่งการก่อสร้าง หรือโดยหลักฐาน เกี่ยวกับประวัติของอสังหาริมทรัพย์นัน เป็น ประโยชน์ในทางศิลปะประวัติศาสตร์ หรือ โบราณคดี "โบ ร าณ วั ต ถุ " ห ม าย ค ว าม ว่ า สั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ที่ เป็ น ของโบราณ ไม่ ว่ าจะ เป็ น สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ หรือ เป็ น สิ่ ง ที่ เกิ ด ขึ นตาม ธรรมชาติ หรื อ ที่ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ส่ ว นใดของ โบราณสถาน ซากมนุษย์ หรือซากสัตว์ ซึ่ ง โดยอายุ หรือโดยลักษณะแห่งการประดิษ ฐ์ หรื อ โดยหลั ก ฐานเกี่ ย วกั บ ประวั ติ ข อง สั ง หาริ ม ทรั พ ย์ นั น เป็ น ประโยชน์ ใ นทาง ศิลปะประวัติศาสตร์ หรือโบราณคดี "ศิลปวัตถุ" หมายความว่า สิ่ง ที่ท่ า ด้วยฝีมือ และเป็ นสิ่ง ที่นิ ยมกัน ว่า มีคุณ ค่ า ในทางศิลปะ แต่ ปั จ จุ บั น นี มี ค่ า ใหม่ ๆ เกิ ด ขึ น หลายค่ า หากแก้ ไ ข พ.ร.บ. ฉบั บ พ.ศ. ๒๕๐๔ คงต้องบรรจุนิยามใหม่ๆ เข้าไปอีก เช่ น ค่ า "แหล่ ง โบราณคดี " และ "อุ ท ยาน ป ระ วั ติ ศ าส ต ร์ " ซึ่ งจ ริ ง ๆ แ ล้ ว ก็ เป็ น โบราณสถานด้วย ค่าจ่ากัดความทางวิชาการ ของค่าทังสองเป็นดังนี


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๒๑

"แหล่งโบราณคดี" หมายถึง บริเวณที่มีหลักฐานของพฤติกรรมมนุษย์ในอดีต ทังที่อยู่บนดิน ใต้ดิ น และใต้น่ า เช่น ที่อ ยู่อ าศั ย สุ สาน ศาสนสถาน หรือ สถานที่ ประกอบอาชีพ และแหล่ง เรื อ อับปาง "อุทยานประวัติศาสตร์" หมายถึง บริเวณที่มีหลักฐานส่าคัญทางประวัติศาสตร์สมัยใดสมัย หนึ่งของประเทศ หลักฐาน และความส่าคัญดังกล่าว อาจเป็นทางวัฒนธรรม การเมือง และสังคม วิทยาก็ได้ และค่า "วัฒนธรรม" สมัยก่อนแปลกันตรงตัวตามรูปศัพท์ว่า "ธรรมะอันเจริญ" เหมือนกับ "อารยธรรม" ทุก ประการ ทังๆ ที่ท างวิช าการนัน ให้ ความหมายต่ างกั น กล่าวคือ "อารยธรรม" หมายถึง ความเจริญระดับเมือง ส่วน "วัฒนธรรม" เป็นค่าที่ใช้หมายถึง ชีวิตความเป็นอยู่ทุกแง่มุม ของมนุษย์ ในฐานะที่เป็นสปีซีส์ (species) หนึ่ง และแคบเข้ามาก็เน้นวิถีชีวิตของกลุ่มสังคมในกลุ่ม สัง คมหนึ่ง เช่น วัฒนธรรมจีน วัฒ นธรรมไทย หรือแคบเข้ามา อีก เช่น ไทยลือ ไทยเขิน ไทยใน ประเทศไทย และอื่นๆ แต่คุณลักษณะที่เด่นที่สุดก็คือ เป็นมรดกทางด้านความคิด หรือปทั ฏฐานที่ สืบทอดกันต่อมา ไม่ใช่การสืบทอดทางพันธุกรรม ในสังคมมนุษย์ สิ่งที่ปรากฏออกมาเป็นรูปธรรม เป็นผลิตผลของความคิดด้วย เพราะการที่ อุดมด้วยทรัพยากรธรรมชาติแต่เพียงอย่างเดียว ไม่ได้บอกถึงระดับสติปัญญา และความสามารถของ มนุษย์ จนกว่าจะได้น่าทรัพยากรเหล่านันมาจั ดการให้เป็นประโยชน์ต่อคน ครอบครัว สังคม และ ประเทศชาติ ไม่เช่นนัน ดินก็ยังเป็นดินไม่ใช่ผลิตภัณฑ์เซรามิก หรือเครื่องปั้นดินเผา และแร่ก็ยังเป็น สินแร่อยู่ในน่า และในดิน ไม่ได้เป็นผลิตภัณฑ์ที่มนุษย์สร้างขึน เพื่อมนุษย์ด้วยกันใช้สอยนานัปการ ดังเช่นทุกวันนี

สมบัติวัฒนธรรม เมืองไทยมั่งคั่งด้วยทรัพย์ในดิน สินในน่า ที่บรรพบุรุษสร้างไว้เป็นสมบัติวัฒนธรรม หรือ มรดกวัฒนธรรม ตกทอดมาถึงเราเป็นจ่านวนมาก ไม่แพ้ประเทศใดในโลก ไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ ด้วย จ่านวนประชากร หรือเนือที่ขนาดไหนก็ตาม มองไปรอบๆ ตัว สิ่งที่เรามี เราเป็นเจ้าของนัน มีลักษณะเฉพาะตัว หรือเอกลักษณ์ แทบจะ ทังนัน และนั่นเอง ที่ท่าให้เราเป็นเรา เขาเป็นเขา ไม่ใช่เราเป็นส่วนหนึ่งของเขา หรือเขาเป็นส่วน หนึ่งของเรา ทุกคนมีเอกลักษณ์ หมายตลอดรวมไปทุกกลุ่ม ทุกสังคมเมือง และทุกประเทศ สมบัติวัฒนธรรมอันมากมีของเรา ปรากฏย้อนหลังไปเป็นหมื่นเป็นแสนปีมาแล้ว เริ่มแต่มี คนมาตังถิ่นฐานอยู่เป็นครอบครัว แล้วรวมเป็นกลุ่มหลายกลุ่ม เป็นหมู่บ้าน แล้วเป็นเมือง เป็นแคว้น จนเป็นประเทศชาติต่อมา จนถึงปัจจุบันนี ซึ่งเป็นประจักษ์พยาน ที่สะท้อนให้เห็นความจริ งอย่าง


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๒๒

หนึ่งได้ว่า ดินแดนที่เป็นประเทศเราคงอุดมสมบูรณ์พอตัว จึงได้มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์ มาตังถิ่นฐาน ท่ากิน ต่อเนื่องกันไม่ขาดระยะ ดังปรากฏเป็นหลักฐานประวัติศาสตร์ และโบราณคดี จากนิ ยามที่ กล่ าวแล้ว เห็น ได้ ว่า สิ่ ง ที่ เป็ น และเกี่ ยวข้ อ งกับ โบราณวัตถุ ศิ ล ปวัตถุ และ โบราณสถานนัน มีมากมาย ทังที่เป็นของที่คนสร้างหรือดัดแปลงขึน ไม่ว่าจะเป็นเครื่องใช้ ที่ท่าด้วย หิน โลหะ ไม้ ฯลฯ ที่เป็นเครื่องมือ หรืออาวุธ (ขวาน มีด หอก ค้อน เบ็ด ฉมวก) ของใช้สอย (ถ้วย ชาม ผ้า) เครื่องประดับ (ก่าไล สร้อย ลูกปัด ต่างหู ฯลฯ) ประติมากรรม ฯลฯ ที่พบหรืออยู่ตามที่ ต่ า งๆ ที่ นั บ เป็ น โบราณสถาน แหล่ ง โบราณคดี อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ ซึ่ ง อาจเป็ น ถ่ า เพิ ง ผา บ้านเรือน วัง หรือวัด ก็ได้ แต่ในประเทศเรา โบราณสถานที่ประกาศขึนทะเบียน ส่วนมากเป็นศาสน สถาน หรือปูชนียสถานในอดีตหลายแห่ง ที่ใช้สอยสืบต่อกันมาแต่ต้น จนปัจ จุบัน...ไม่เคยตาย เรียก ตามข้อเท็จจริง ของการใช้สอยว่า "อนุสาวรีย์ที่ยังมีชีวิต" ส่วนที่เลิกใช้ประกอบพิธีแล้ว จนกลายเป็น โบราณสถานจริงๆ เรียก "อนุสาวรีย์ที่ตายแล้ว" โบราณสถาน หรื อ แหล่ ง โบราณคดี ข องประเทศเรา แบ่ ง ตามสมั ย ได้ เป็ น ๒ สมั ย คื อ สมัยก่อนประวัติศาสตร์สมัยหนึ่ง และสมัยประวัติศาสตร์อีกสมัยหนึ่ง แต่ละสมัยแบ่งย่อยออกไปได้ อีกมากมาย สมัยก่อนประวัติศาสตร์ หมายถึง สมัยที่ มนุษย์ยังไม่มีตัวหนัง สือส่าหรับบันทึกเรื่องต่างๆ เป็นลายลักษณ์ อักษร นั่นเอง สมัยประวัติศาสตร์ หมายถึง สมัย ที่มนุ ษย์ บั นทึ กเรื่องราวเหตุการณ์ และความรู้สึก นึกคิด เป็น ลายลักษณ์ อักษรแล้ว แต่ถ้าแบ่งตามการใช้สอย ก็อาจแบ่งแหล่งโบราณคดีได้เป็น ๑. แหล่งที่อยู่อาศัย (มีคูคันดิน หรือไม่มี) ๒. แหล่งพิธีกรรม (สุสาน ศาสนสถาน) ๓. แหล่งอุตสาหกรรม (เตาเผาถ้วยชาม แหล่งโลหะกรรม เหมืองแร่ แหล่งสกัดหิน ฯลฯ) ผลการศึ กษาแหล่งเหล่านี ท่ าให้ส ามารถประมวลความเป็ นมา ของประเทศได้ทุ กสมั ย หลายเรื่องหลายเหตุการณ์ แม้จะขาดรายละเอียดอยู่มากก็ตาม เพราะการศึกษาบางแหล่งของเรา ท่าได้เพียงหยาบๆ และแหล่งจ่านวนมากถูกท่าลายไปแล้ว


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๒๓

อนุรักษ์กันอย่างไร

ขันตอนการอนุรักษ์โบราณวัตถุ :๑. ลงทะเบียนของที่ จะอนุรักษ์ ทุก ชินว่าเป็ นอะไร ช่ารุดอย่างไรฯลฯ สิ่ง ของ เหล่านีจะมีหมายเลขและทะเบียนประวัติ

๒.การท่าความสะอาดและก่าจัดสนิมอันตราย

๓.ก่าจัดคราบไขมันบนผิววัตถุ โดยน่าวัตถุแช่สารเคมี

ทรั พ ยากรวั ฒ นธรรมเป็ น ของ เปราะบาง การจะซ่ อม บูรณะ หรือสงวน รักษานัน ต้องระวังไม่ให้เสียหายไปกว่าเดิม หรื อ ท่ า ขึ นใหม่ ซึ่ ง กลั บ เป็ น การท่ า ลาย คุณ ค่ าทางประวัติ ศ าสตร์ศิ ล ปกรรม และ ความเป็ น โบราณสถาน และโบราณวั ต ถุ ของสิ่งของนันๆ หน่วยราชการที่รับผิดชอบในการ อนุ รั ก ษ์ โบราณสถาน และโบราณวัต ถุ ใน ประเทศไทย คื อ กรมศิ ล ปากร ได้ ว าง ระเบียบ ว่าด้วยการอนุรักษ์ โบราณสถาน พ.ศ. ๒๕๒๘ ไว้ดังนี "ข้ อ ๔ . ก่ อ น ที่ จะด่ า เนิ น ก าร อนุรักษ์โบราณสถานใดๆ ต้องปฏิบัติดังนี (๔.๑) ท่ าการส่ารวจศึ กษาสภาพ เดิ ม และสภาพปั จจุ บั น ของโบราณสถาน ทังด้านประวัติการก่อสร้าง การอนุรักษ์ ซึ่ง รวมถึง รูป ทรงสถาปั ต ยกรรม การใช้ วั ส ดุ และสภาพความเสียหาย ที่ปรากฏอยู่ โดย การท่ า เป็ น เอกสารบั น ทึ ก ภาพ และท่ า แผนผังเขียนรูปแบบไว้โดยละเอียด เพื่อใช้ เป็ น ข้ อ มู ล ส่ า หรั บ น่ า มาประกอบการ พิ จ ารณาท่ า โครงการอนุ รั ก ษ์ และเป็ น เอกสารส่าคัญทางประวัติศาสตร์ต่อไป (๔ .๒ ) ท่ า โค ร ง ก า ร อ นุ รั ก ษ์ โบราณสถาน โดยพิจารณาว่า โบราณสถาน นัน มีคุณค่า และลักษณะความเด่นในด้าน ใดบ้ า ง อาทิ เช่ น ด้ า น ป ระวั ติ ศ าสตร์ โบราณคดี จิตรกรรม ประติมากรรม หรือ สถาปัตยกรรม ฯลฯ เป็นต้น และวางแผน


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๒๔

รักษาคุ ณ ค่ า และความส่าคั ญ ที่ เด่น ที่ สุ ด เป็นหลักไว้ แต่ทังนีต้องค่านึงถึงคุณค่า และ ความส่าคัญในด้านที่รองลงมาด้วย (๔ .๓ ) พิ จ า ร ณ า ก่ อ น ว่ า โบราณสถานนั นๆ ได้ มีก ารแก้ไ ขเพิ่ ม เติ ม มาแล้วหรือไม่เพียงใด หากได้ถูกแก้ไข และ ส่วนแก้ไขเพิ่มเติมขึนใหม่นัน ท่าให้คุณ ค่า ของเดิมเสียไป ควรพิจารณารือสิ่ง ที่แก้ไ ข เพิ่มเติมออก และบูรณะให้เหมือนเดิม ๔. แช่ โ บราณวั ต ถุ ใ นสารละลายเบนโซไตรอะโซล ข้อ ๕. การอนุ รั ก ษ์ โบราณสถาน (benzotriazol)ในภาชนะที่เป็นสุญญากาศ ใดๆ ก็ ต าม จะต้ อ งค่ านึ ง ถึ ง ภู มิ ทั ศ น์ และ สิ่งแวดล้อม โดยรอบโบราณสถานนันด้วย สิ่ง ใดที่ จ ะท่ าลายคุ ณ ค่า ของโบราณสถาน นันๆ ให้ ด่ าเนิ น การปรับ ปรุง ให้เหมาะสม ด้วย ข้ อ ๖ . โบ ราณ สถาน ที่ มี ก าร อนุ รั ก ษ์ โดยมี ก ารเปลี่ ย นแปลงแก้ ไ ขมา ก่อนแล้ว จะต้องพิจารณาศึกษาให้ละเอียด ว่ า ได้ บู ร ณะแก้ ไ ขมาแล้ ว กี่ ค รั ง ผิ ด ถู ก อย่างไร ระยะเวลานานเท่าใด การอนุรักษ์ ใหม่ ที่ จ ะท่ านี ไม่ จ่าเป็ น จะต้ อ งใช้ แ บบใด แบบหนึ่งเสมอไป แต่ให้พิจารณาเลือกแบบ ที่เหมาะสมที่สุด ที่เป็นหลักในการอนุรักษ์ เพื่ อ ให้ โ บราณ สถาน นั นมี คุ ณ ค่ า และ ๕ . เค ลื อ บ ผิ ววั ต ถุ ด้ วย ส าร ป้ อ งกั น ค วาม ชื น ความส่ าคัญ มากที่ สุ ด ทังนี จะต้ องท่ าเป็ น ห ลั ก ฐ า น แ ส ด ง ให้ ป ร า ก ฏ ถึ ง ก า ร เช่น สารละลายของพาราลอยด์ (paraloid) เป็นต้น เปลี่ ย นแปลงแก้ ไ ข จะด้ ว ยวิ ธี ก ารบั น ทึ ก เป็ น เอกสารเขี ย นแบบไว้ ท่ า หุ่ น จ่ า ลอง หรือโดยวิธีการอนุรักษ์ก็ได้


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๒๕

เจดี ย์ วั ด แร้ ง ต.สนามไชย อ.เมื อ ง จ.สุ พ รรณบุ รี สภาพก่อนการขุดแต่งเพื่อศึกษารูปแบบสถาปัตยกรรม

เจดีย์วัดแร้งหลังการขุดแต่ง

ข้ อ ๗. โบราณสถานที่ มี คุ ณ ค่ า ความส่าคัญเยี่ยมยอด ควรท่าแต่เพียงเสริม ความมั่ น คงแข็ ง แรง หรื อ สงวนรั ก ษาไว้ เท่านัน ข้อ ๘. การน่าวิธีการ และเทคนิค ฉบั บ ใหม่ ม าใช้ ในงานอนุ รั ก ษ์ เพื่ อ ความ มั่ น คงแข็ ง แรง จะต้ อ งมี ก ารศึ ก ษา และ ทดลอง จนได้ ผ ลเป็ น ที่ พ อใจแล้ ว จึ ง จะ น่ ามาใช้ ไ ด้ โดยไม่ ท่ า ให้ โบราณสถานนั น เสื่อมคุณค่าไป ข้อ ๙. การต่อเติม เพื่อความมั่นคง แข็ง แรงของโบราณสถาน ท่าเท่าที่จ่าเป็ น ให้ ดูเรียบง่าย และมีลั กษณะกลมกลื นกั บ ของเดิม ข้อ ๑๐. ในกรณี ที่ จ่ าเป็ น จะต้ อ ง ท่าชินส่วนของโบราณสถานที่ ขาดหายไป ขึ น ให ม่ เพื่ อ รั ก ษ า คุ ณ ค่ า ท า ง ด้ า น สถ าปั ต ย ก ร รม แ ล ะ ให้ ก ารอ นุ รั ก ษ์ โบราณสถานนั น สามารถด่ า เนิ น การได้ ต่อไป การท่าชินส่วนขึนใหม่นัน อาจท่าได้ โดยวิธีการออกแบบ ที่แสดงให้เห็นได้อย่าง ชั ด เจนว่ า เป็ น การท่ า ขึ นใหม่ จะด้ ว ย วิ ธี ก ารใช้ วั ส ดุ ต่ า งๆ กั น การใช้ สี ต่ า งกั น หรือการท่าพืนผิวให้ต่างกันกับของเดิมก็ได้ แต่ ต้ อ งเป็ น ไปในลั ก ษณะที่ มี ค วามผสม กลมกลืนกับของเดิม


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๒๖

ข้ อ ๑๑. การอนุ รั ก ษ์ ชิ นส่ ว นที่ มี คุ ณ ค่ า เยี่ ย มยอดทางจิ ต รกรรม ประติ ม ากรรม และ โบราณวัตถุ ซึ่งติดหรืออยู่ประจ่าโบราณสถานนันๆ ท่าได้แต่เพียงการสงวนรักษา หรือเพิ่มความ มั่นคงแข็งแรงขึนเท่านัน ทังนี เพื่อคงคุณค่าของเดิมให้ปรากฏเด่นชัดมากที่สุด ยกเว้นปู ชนียวัตถุที่มี การเคารพบูชา สืบเนื่องมาโดยตลอด และได้รับการพิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการแล้ว ข้อ ๑๒. ซากโบราณสถานควรอนุรักษ์ โดยการรวบรวมชินส่วนต่างๆ ที่มีผู้มาประกอบขึนไว้ ให้เหมือนเดิม หรืออาจจะเป็นเพียงการรวบรวมชินส่วนต่างๆ มาประกอบขึนไว้เป็นบางส่วน ส่าหรับ ชินส่วนที่ขาดหายไป ซึ่งจ่าเป็นในการสงวนรักษานัน ก็อาจท่าเพิ่มขึนใหม่ได้ ข้อ ๑๓. การอนุรักษ์ซากโบราณสถาน ซึ่งมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ และโบราณคดีนัน ท่า ได้โดยรักษาไว้ตามสภาพเดิมหลังการขุดแต่ง แต่ต้องป้องกันมิให้เสียหายต่อไป ด้วยวิธีที่ไม่ท่าให้ โบราณสถานเสียคุณค่า ข้อ ๑๔. โบราณสถานที่เป็นปูชนียสถานอันเป็นที่เคารพบูชา ซึ่งเป็นที่รู้จักคุ้นเคยกันดีของ ประชาชนโดยทั่วไป จะต้องบูรณะไว้ โดยไม่มีการแก้ไข เปลี่ยนแปลง ลักษณะ สี และทรวดทรง ซึ่ง จะท่าให้โบราณสถานนัน หมดคุณค่า หรือเสื่อมความศักดิ์สิทธิ์ไป ข้ อ ๑๕. เพื่ อ ป้ อ งกั น มิ ใ ห้ ชิ นส่ ว นของโบราณสถานที่ มี คุ ณ ค่ า ทางศิ ล ปะ ซึ่ ง รวมถึ ง ประติมากรรม จิตรกรรม และศิลปกรรม จะต้องน่าชินส่วนนันมาเก็บรักษาไว้ในสถานที่อันปลอดภัย และถูกต้องตามกฎหมาย พร้อมทังท่าแบบจ่าลองให้เหมือนของเดิม ไปประกอบไว้ในที่โบราณสถาน นันแทน ซึ่งวิธีการนีจะปฏิบัติได้ก็ต่อเมื่อ ไม่สามารถรักษาได้โดยวิธีอื่นแล้ว ข้ อ ๑๖. โบราณสถานใด ที่ ยั งมี ป ระโยชน์ ใช้ ส อยอยู่ จะกระท่ า การอนุ รั ก ษ์ โดยการ เสริมสร้าง หรือต่อเติมสิ่งที่จ่าเป็นขึนใหม่ก็ได้ เพื่อความเหมาะสม ทังนี ไม่จ่าเป็นที่จะต้องท่าให้ เหมือนของเดิมทีเดียว แต่สิ่งที่เพิ่มเติมขึนใหม่นัน จะต้องมีลักษณะกลมกลืน และไม่ท่าลายคุณค่า ของโบราณสถานนันๆ ข้อ ๑๗. โบราณสถานต่างๆ ทังที่ขึนทะเบียนแล้ว และยังไม่ขึนทะเบียน จะต้องมีมาตรการ ในการบ่ารุงรักษาไว้ ให้อยู่ในสภาพที่มั่นคงแข็งแรง สวยงามอยู่เสมอ ข้อ ๑๘. กรณีที่โบราณสถานใดมีสภาพช่ารุดทรุดโทรม อาจจะเป็นอันตราย การด่าเนินการ ในเบืองต้น ควรใช้มาตรการอันเหมาะสม ท่าการเสริมความมั่นคงแข็งแรงไว้ ก่อนที่จะด่าเนินการ อนุรักษ์ เพื่อป้องกันมิให้เสียหายต่อไป ข้อ ๑๙. ในบางกรณีจะต้องด่าเนินการติดต่อขอความร่วมมือกับหน่วยราชการอื่นๆ หรือ สถาบั น เอกชน ซึ่ ง มี ห น้ าที่ รับ ผิด ชอบ หรื อ ผู้ เชี่ ย วชาญในสาชาวิช าการต่ างๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ ประโยชน์ต่อการอนุรักษ์สมบัติวัฒนธรรมของชาติ ข้อ ๒๐. งานทังปวงที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ หรือการขุดค้น จะต้องท่ารายงานในรูปของ การวิเคราะห์ และวิจัย โดยมีภาพประกอบ ซึ่งเป็นภาพลายเส้น และภาพถ่าย และจะต้องรายงาน


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๒๗

สิ่งที่ได้ปฏิบัติทุกขันตอนโดยละเอียด เช่น งานแผ้วถาง การจัดบริเวณงาน เสริมความมั่นคงชินส่วน ต่างๆ ฯลฯ เป็นต้น และการบันทึกรายงานนี จะต้องเก็บรักษาไว้ ณ หอจดหมายเหตุแห่งชาติ ข้อ ๒๑. ให้อธิบดีกรมศิลปากร รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี ส่วนระเบียบ หรือหลักการในการอนุรัก ษ์โบราณวัต ถุนัน ไม่มี ประกาศเป็น เอกเทศ คง อนุโลมให้ใช้ระเบียบข้อ ๑๐. และ ๑๑. ของระเบียบการอนุรักษ์โบราณสถานข้างต้นไปพลางก่อน" ขอให้ ดู ห ลั ก การดั งกล่า วที่ เป็ น สากลเปรีย บเที ย บกั บ อดี ต จะเห็ น ว่า เป็ น ไปในท่ านอง เดียวกัน ๑. พระราชกระแสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เกี่ยวกับการบูรณะพระ ปรางค์วัดอรุณราชวราราม "...การซ่อมพระปรางค์วัดอรุณ และบริเวณ ต้องตังใจว่า จะรักษาของเก่าที่ ยังคงใช้ได้ไว้ให้ทังหมด ถึงสีจะมัวหมองเป็นของเก่ากับใหม่ต่อกัน เช่น รูปภาพ เขียน ลายเพดาน เป็นต้น อย่าได้พยายามที่จะแต่งของเก่าให้สุกสดเท่าของใหม่ ถ้าหากกลัวอย่างค่าที่เรียกว่า ด่าง ให้พยายามที่จะประสมสีใหม่อ่อนลง อย่าให้สี แหลมเหมือนที่ใช้อยู่เดี๋ยวนี พอให้กลืนไปกับสีเก่า ลวดลายฤารูปพรรณอันใดก็ ตามให้รักษาคงไว้ตามรูปเก่า ถ้าจะเปลี่ยนแปลงแห่งใดสิ่ งใดให้ดีขึน ต้องให้กราบ ทูลก่อนฯ..." ๒. รายงานการตรวจสภาพจิตรกรรมฝาผนัง ในพระอุโบสถวัดอรุณราชวราราม "...การซ่อมงานเขียนทังปวง ในพระอุโบสถวัดอรุณราชวรารามนัน การเขียน อื่นๆ ก็ตาม ธรรมดาส่าคัญอยู่แต่การเขียนผนังเท่านัน เพราะว่าของเก่าท่าไว้อย่าง สุดฝีมือของช่างเอกในเวลานัน ในการที่เพลิงไหม้ครังนี ก็ไม่ท่าให้เสียหายไปหมด ผนังเขียนทังหมดคิดเป็นตารางเมตร ได้ ๓๖๖ เสียไปน้อยกว่าที่ยังคงดี คือ ปูนไม่แตกสีไม่เสีย ๒๒๔ ตารางเมตร ปูนไม่แตกสีเสีย ๓ ตารางเมตร ปูนแตกสีไม่เสีย ๖๑ ตารางเมตร ปูนแตกสีเสีย ๑๙ ตารางเมตร ปูนกะเทาะหาย ๔๗ ตารางเมตร ที่ปูน ไม่ แตกสีไม่เสีย ควรคงเก่าไว้ให้ กุลบุ ตรภายหน้าได้ดู ต่อไป ดีก ว่าลบ เขียนใหม่หมด ส่วนที่บุบสลายเสียไปนัน จะท่าได้เป็นสองอย่าง อย่างหนึ่งเขียน


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๒๘

เลียนให้เหมือนของเก่า อย่างหนึ่งเขียนให้ดีอย่างใหม่ตามฝีมือช่างทุกวันนี เมื่อ พิ จ ารณาดู ในสองอย่ า งนี ว่ าอย่ า งใดจะดี ก ว่ ากั น ก็ เห็ น ว่ า อย่ างเขี ย นเลี ยนให้ เหมือนเก่าดีกว่า เพราะว่าจะได้เข้ากันกับของเดิมที่ยังเหลืออยู่ แลทังเป็นกระบวน ไทยแท้ น่าชมกว่าวิธีเขียนอย่างใหม่... ส่วนที่ปูนไม่แตกแต่สีเสีย และที่ปูนแตกสี เสีย และปูนกะเทาะหายนัน ไม่มีอย่างอื่ น ถ้าท่าเช่นนี การที่จะต้องท่าก็น้อย จะ คงไว้ตามเดิมได้ถึง ๒๒๔ ตารางเมตร จะต้องเขียนใหม่ ๑๔๑ ตารางเมตร เท่านัน และในส่วนที่เขียนใหม่นี จะได้ตามส่าเนาเก่า ๖๑ ตารางเมตร จะเป็นใหม่แท้ ๘๐ ตารางเมตร..." ๓. พระราชหัตถเลขาของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถึงมกุฎราชกุมาร เมื่อ คราวเสด็จประพาสจังหวัดเพชรบุรี เกี่ยวกับวัดใหญ่สุวรรณาราม "...พระในวัดนี ตังแต่พระครูเป็นต้นไป เป็นช่างด้วยกันโดยมาก รู้จักรักษา ของเก่าดีเป็นอย่างยิ่ง เช่น การเปรียญ ซึ่งเป็นสิ่งที่ส่าคัญ ไม้ท่อนไหนผุเปลี่ยนแก้ ไม้ท่อนนัน ส่วนที่เป็นลวดลายสลักหรือเขียน อันยังจะใช้ได้ เก็บของเก่าประกอบ อย่างดีที่สุดซึ่งจะท่าได้ แต่ในการซึ่งจะซ่อมขึนให้ดีบริบูรณ์อย่างเก่านัน ไม่แต่ฝีมือ พระ ถึงฝีมือช่างหลวงทุกวันนี ก็ยากที่จะท่าให้เข้ากันกับของเดิมได้ รูปภาพเทพ ชุมนุมที่นั่งเป็นชันๆ ในผนังอุโบสถ ดูได้ทุ กตัว และเห็นได้ว่าไม่มีฝีมือแห่ง ใดใน กรุง เทพฯ เหมื อนเลย เช่น หน้ ายัก ษ์ ไม่ ได้ เขี ยนเป็ น หัว โขน เขีย นเป็ นหน้ าคน อ้วนๆ ย่นๆ ที่ซึ่งเป็นกนก ก็เขียนเป็นหนวดเครา แต่อย่าเข้าใจว่า เป็นภาพกาก ผู้ ที่เขียนนัน รู้ความคิดเรื่องเครื่องแต่งตัว รู้ว่าจะสอดสวมอย่างไร ไม่ได้ เขียนยุ่ง ๆ อย่างทุกวันนี รูปนันอยู่ข้างจะลบเลือนมาก เพราะเหตุว่า คงจะได้เขียนก่อน ๓๐๐ ปีขึนไป เว้นแต่ด้านหน้ามารผจญที่ช่ารุดมาก จึงได้เขียนเพิ่มขึนใหม่ ก็เลยเห็นได้ ถนัดว่า ความคิดไม่ตลอดลงร่องรอย เสาปูนแต่งทาสีน่ามันเขียนลายรดน่าเปลี่ยน แม่ลายต่างกันทุกคู่ แต่กรอบเชิงอย่างเดียวกัน กรอบเชิงงามนัก..." ๔. ลายพระหัตถ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ถึงสมเด็จ พระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด่ารงราชานุภาพ เกี่ยวกับการซ่อมหอไตวัดระฆังในสาส์นสมเด็จ เล่มที่ ๑๗ หน้า ๑๓๖-๑๓๗


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๒๙

"...การซ่อมหอไตรวัดระฆัง ยังกราบทูลอนุโมทนาไม่ได้ เพราะยังไม่ได้ไปเห็น ว่า ท่าอย่างไร อันการซ่อมนัน ความหมายแต่ก่อนกับเดี๋ยวนีย่อมเดินเคลื่อนความ เข้าใจกันไปเสียแล้ว แต่ก่อนขึนชื่อว่า ซ่อมแล้วก็คือ อะไรที่แตกหักก็ท่าเสียให้ดี แต่เดี๋ยวนีขึนชื่อว่า ซ่อมแล้ว อะไรที่เก่าก็ท่าให้เห็ นเป็นใหม่หมด เช่น รูปภาพที่ พระอาจารย์นาคเขียนไว้ที่หอไตรนัน นับอายุตัง ๑๕๐ ปี สีย่อมเก่าไปมากทีเดียว ถ้าซ่อมให้เป็นใหม่ จ่าเป็นต้องทาสีทับเก่า การทานันลิงก็ท่าได้ "ท่านหนู" ซึ่งอาศัย อยู่ ณ หอไตรนันว่ามีกัลนาณ์ คงไม่ท่าเช่นว่านัน..." ๕. ป่าฐกถาเรื่อง สงวนรักษาของโบราณของ สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด่ารงรา ชานุภาพ นายกราชบัณฑิตสภา ทรงแสดงแก่เทศภิบาล ณ พิพิธภัณฑสถานส่าหรับพระนคร เมื่อวัน พุธที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๔๗๓ ตอนหนึ่งความว่า "...ลัก ษณะการสงวนของโบราณที่ราชบัณ ฑิ ตยสภาท่ามานัน วิธีจัดสงวน โบราณสถานกับโบราณวัตถุผิดกัน ในตอนนีจะว่าด้วย สงวนโบราณสถานก่อน วิธี สงวนโบราณสถาน ก่าหนดการที่ท่าเป็น ๓ อย่าง อย่างที่ ๑ คือ การค้นให้รู้ว่า มี โบราณสถานอยู่ที่ไหนบ้าง ดังเช่นราชบัณ ฑิตยสภาได้มีตราขอให้เทศภิบาลต่าง มณฑลช่วยสืบ แล้วบอกมาให้ทราบ เพื่อจะท่าบัญชี และหมายลงแผนที่ประเทศ สยามไว้เป็นต่ารา อย่างที่ ๒ การตรวจ คือ เมื่อรู้ว่าโบราณสถานที่มีอยู่ ณ ที่แล้ว แต่งให้ผู้เชี่ยวชาญออกไปยังที่นัน พิจารณาดูให้รู้ว่า เป็นของอย่างไร สร้างสมัยใด และเป็ น ของส่ า คั ญ เพี ย งใด การตรวจนี บางแห่ ง ขุ ด หาแนวรากผนั ง และค้ น ลวดลาย ต้องมากบ้าง น้อยบ้าง ตามลักษณะสถานนัน อย่างที่ ๓ การรักษา ซึ่ง นับว่า เป็นการยากยิ่งกว่าอย่างอื่น เพราะโบราณสถานในประเทศนีมีมาก ในเวลา นียัง เหลือ ก่าลังราชบั ณ ฑิ ตยสภา ที่ จะจัด การรักษาได้ ทุก แห่ ง จึง คิดจะจัดการ รักษาแต่ที่เป็นสถานส่าคัญ และที่พอจะสามารถรักษาได้เสียก่อน ถึงกระนันก็ยัง ต้ อ งผ่ อ นผั น ท่ า ไปที ล ะน้ อ ย เพราะต้ อ งหาเงิ น ส่ า หรั บ จ่ า ยในการรั ก ษานั น จ่าเป็นต้องก่าหนดลักษณะการรักษาเป็น ๓ ชัน คือ ชันต่​่า เป็นแต่ห้ามปรามมิให้ ผู้ใดรือท่าลายโบราณสถาน มิให้พังอีกต่อไป ยกตัวอย่างดังเช่น ได้ท่าที่พระราชวัง กรุงศรีอยุธยา และที่ในเมืองลพบุรี เป็นต้น การรักษาโบราณสถาน ซึ่งนับว่า เป็น ชันสูงนัน คือ ปฏิสังขรณ์ให้คืนดีอย่างเดิม เรื่องนีฝรั่งเศสก่าลังพากเพียรท่าที่นคร ธม ราชบัณฑิตยสภาก็ก่าลังท่าที่ปรางค์สามยอด เมืองลพบุรีดูแห่งหนึ่ง เพื่อจะให้รู้ ว่าจะยาก และสินเปลืองสักเท่าใด แต่ถ้าว่าถึงเรื่องปฏิสังขรณ์แล้ว ประเทศเรามี ภาษีอยู่อย่างหนึ่ง ด้วยมักมีบุคคลภายนอกศรัทธา บ่าเพ็ญกุศลในการปฏิสังขรณ์


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๓๐

วัดวาอารามของโบราณ ซึ่งควรนับว่า ช่วยรัฐบาลได้มาก แต่ในเรื่องนีทางเสียที่ ต้ อ งป้ อ งกั น ก็ มี อ ยู่ ด้ วยในการปฏิ สั ง ขรณ์ บางรายผู้ ท่ า มั ก ชอบรื อหรื อ แก้ ไ ข แบบอย่างของเดิมเปลี่ยนแปลงไปตามชอบใจตน จนเสียของโบราณ มีตัวอย่าง ปรากฏในมณฑลพายัพหลายแห่ง จนเมื่อ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จ เลียบมณฑลนัน ทรงร่าคาญ ได้พระราชทานพระราชทรัพย์ โปรดให้ราชบัณฑิตย สภา อ่านวยการปฏิสังขรณ์หอธรรมวัดพระสิงห์ ให้คืนดี และคงตามแบบเดิมไว้ เป็นเยี่ยงอย่าง แก่ผู้อื่นแห่งหนึ่ง ในเรื่องการปฏิสังขรณ์โบราณสถาน ราชบัณฑิตยสภาใคร่จะให้เทศาภิบาลคอยสอดส่อง ใน ความ ๓ ข้อ ที่จะกล่าวต่อไปนี คือ ข้อ ๑. ถ้ ามี ผู้ ศ รัท ธาจะปฏิ สั งขรณ์ โบราณสถานที่ ส่ าคั ญ ขอให้ ชี แจงแก่ เขา ให้ ท่ าตาม แบบเดิม อย่าให้เปลี่ยนแปลงรูปร่าง และลวดลายไปเป็นอย่างอื่นเอาตามชอบใจ ข้อ ๒. อย่าให้รือท่าลายโบราณสถานที่ส่าคัญ เพื่อจะสร้างของใหม่ขึนแทน ข้อนี มีเรื่อ ง ตัวอย่างจะยกมาแสดง เช่น ที่วัดพลับพลาชัย เมืองเพชรบุรี เดิมทีโบสถ์โบราณที่หน้าบันปั้นปูนเป็น ภาพเรื่องพระพุทธประวัติ เมื่อเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์ งามน่าดูยิ่งนัก ใครๆ ไปเมืองเพชรบุรี แม้ ที่สุดจน สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง ก็เสด็จไปยังวัดพลับพลาชัย เพื่อไปชมรูปภาพ ที่หน้าบันนัน ครัน ถึงรัชกาลที่ ๖ เกิดไฟไหม้ เมืองเพชรบุรี เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๘ วัดพลับพลาชัย ถูกไฟไหม้ด้วย แต่ผนัง โบสถ์กับรูปปั้นที่หน้าบันยังดีอยู่ ถึงสมัยนันข้าพเจ้าออกจากต่าแหน่งเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย เสียแล้ว แต่เผอิญมีกิจไปเมืองเพชรบุรี ก็ไปที่วัดพลับพลาชัยตามเคย ไปได้ความว่า พวกชาวเมือง ก่าลังเรี่ยไรกันจะปฏิสังขรณ์ หัวหน้าทายกคนหนึ่งบอกข้าพเจ้าว่า โบสถ์เดิมเล็กนัก เขาคิดจะรือลง ท่าใหม่ ให้ใหญ่โตกว่าเก่า ข้าพเจ้าได้ตักเตือนว่า โบสถ์เดิมนัน มีลายปั้นที่หน้าบันเป็นสิริของวัด ไม่ ควรจะรือลงท่าใหม่ ถ้าประสงค์จะมีโบสถ์ให้ใหญ่โต ก็ควรสร้างโบสถ์ใหม่ เอาโบสถ์เดิมไว้เป็นวิหาร ข้าพเจ้าส่าคัญว่า เขาจะเชื่อ ก็วางใจ ต่อนานมา จึงทราบว่า มีผู้ถือตัวว่า เป็นช่างคนหนึ่ง เข้าไปขัน รับว่า จะปั้นรูปที่หน้าบัน มิให้ผิดเพียนของเดิมได้ พวกทายกกับพระสงฆ์หลงเชื่อ ก็ให้รือโบสถ์เดิม ลง สร้างใหม่ ด้วยเห็นว่า จะเปลืองน้อย รูปภาพของเดิมก็เลยพลอยสูญ และเลยไม่มีใครชอบไปดูวัด พลับพลาชัยเหมือนแต่ก่อน เพราะภาพที่ปั้นขึนแทนเลวทรามร่าคาญตา ไม่น่าดู ลาภพระสงฆ์วัดนัน ก็เห็นจะพลอยตกไปด้วย ข้อ ๓. วัดโบราณที่ท่าการปฏิสังขรณ์นัน มักมีผู้ศรัทธาสร้างสิ่งต่างๆ เพิ่มเติมของโบราณ ดังเช่น สร้างพระเจดีย์ขนาดย่อมๆ ขึน บรรจุอัฐิธาตุของญาติวงศ์ เป็นต้น ของที่สร้างเพิ่มเติมเช่นว่า นี ไม่ควรจะสร้างขึนในอุปจารใกล้ชิดกับของโบราณที่ดีงาม ด้วยอาจพาให้ของโบราณเสียสง่า และ ไม่เป็นประโยชน์แก่ผู้สร้าง เพราะฉะนันควรจะให้กะที่ไว้เสียส่วนหนึ่งในบริเวณวัดนัน ส่าหรับให้


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๓๑

สร้างของใหม่ ของนันจะได้อยู่ถาวรสมปรารถนาของผู้สร้าง การปฏิสังขรณ์วัด ย่อมมีผู้เป็นหัวหน้า อ่านวยการ และมักเป็นพระภิกษุ ขอให้เทศาภิบาลชีแจงข้อที่ควรระวัง ให้ทราบเสียแต่ก่อนลงมือ ปฏิสังขรณ์ ถ้าสงสัย หรือขัดข้องอย่างไร ก็ควรรีบบอกมา ให้ราชบั ณฑิตยสภาทราบ จะได้ป้องกัน หรือเกือหนุน ให้ทันการ ความเช่นนีมีตัวอย่างจะยกมาแสดง เมื่อสักสองปีมาแล้ว มีผู้ศรัทธาจะ ปฏิสังขรณ์พระมหาธาตุหริภุญชัย ที่เมืองล่าพูน เห็นว่าแผ่นทองแดงที่หุ้มพระมหาธาตุมีช่ารุดอยู่ มาก จะขอลอกแผ่นทองแดงเสีย และใช้โบกปูนซีเมนต์แทน เจ้ าพระยามุขมนตรี เมื่อยังเป็นพระยา ราชนุกูล สมุหเทศาภิบาลมณฑลพายัพ บอกมาหารือราชบัณฑิตยสภา ห้ามไว้ทัน แผ่นทองแดงของ โบราณ อันมีชื่อผู้ถวายจารึกอยู่โดยมาก จึงมิได้สูญเสีย..." จะเห็นได้ว่า หลักการส่วนใหญ่ก็ยังไม่ได้เปลี่ยนแปลงไปกี่มากน้อย ที่ต่างกันจึงเป็นเพียง รายละเอียดที่เพิ่มขึน เพราะสมัยก่อนยังไม่มีวิชาการอนุรักษ์ (ศิลปกรรม/ศิลปวัฒนธรรม) ตัวอย่างที่ ลอกมาเป็นอุทาหรณ์ จึงอาจเป็นเพียงข้อสังเกต และส่านึก ซึ่งเกิดจากการผูกพันกับมรดกวัฒนธรรม ของท่านเหล่านัน ซึ่งบังเอิญเหลือเกิน ที่พ้องกับแนวคิดในปัจจุบัน

หน้าที่ของทุกคน

สิ น ค้ า เ ลี ย น แ บ บ โบ ราณ วั ต ถุ ใ น จ.อยุ ธ ยา โบราณวัตถุไม่ใช่สินค้าส่าหรับ ซื อ ข า ย ค ว ร ที่ จ ะ ส ร้ า ง เลียนแบบขึนใหม่เพื่อค้าขาย โดยตรงอย่างที่ท่ากันบ้างแล้ว

ทุกประเทศมีกฎหมายคุ้มครองสมบัติวัฒนธรรมด้วยกันทังนัน ประเทศเรามี พ ระราชบั ญ ญั ติ โบราณวั ต ถุ โบราณสถาน ฯลฯ พ.ศ. ๒๕๐๔ และบางประเทศยังลงนามในอนุสัญ ญาระหว่างประเทศ และ ท่าสัญญากับบางประเทศ ป้องกันการน่าเข้า -ส่งออกโบราณวัตถุที่ผิด กฎหมายอีกด้วย เพราะโบราณวัตถุ และศิลปวัตถุ ที่เป็นหลักฐานความ เป็นมาของประเทศชาตินัน กลายเป็นสินค้าซือขายกันของคนกลุ่มหนึ่ง ไปแล้ว นับวันธุรกิจประเภทนีจะยิ่งใหญ่ขึน มีอิทธิพลมากขึน เพราะ ลงทุ น น้ อ ย ก่ า ไรมาก เมื่ อ ถู ก จั บ ได้ ก็ ไ ม่ ค่ อ ยถู ก ด่ า เนิ น คดี เพราะ บุ ค ลากรทางกฎหมายไม่ เข้ า ใจผลกระทบต่ อ ประวั ติ ศ าสตร์ ข อง บ้านเมือง และเป็นคดีที่ต่างไปจากการท่าร้ายร่างกายจนเลือดตกยาง ออก ทังนีอาจเป็นด้วยเหตุผลที่ว่า พระราชบัญญัติของเราไม่ประกาศ เจตนารมณ์ ชั ด เจน ไม่ ชีแจงว่า สิ่ ง ที่ ต้ อ งการคุ้ ม ครองนั น ส่ าคั ญ ต่ อ ประเทศชาติอย่างไร และไม่ระบุให้ทังรัฐและเอกชนช่วยกันสงวนรักษา เอาไว้เหมือนกฎหมายของบางประเทศ คนทั่วไปรวมทังบุคลากรทาง กฎหมายจ่านวนหนึ่งด้วย จึงไม่เข้าใจ และสนใจกฎหมายที่ค่อนข้าง พิเศษฉบับนี


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๓๒

ในขณะนี

ปราสาทหิ น พนมรุ้ ง จ .บุ รี รั ม ย์ มุ ข ด้ าน ทิ ศ ตะวั น ออกของป รางค์ ป ร ะ ธ า น มี ภ าพ ส ลั ก นารายณ์บรรทมสินธุ์อยู่ที่ ทับหลัง

การค้าขายของเก่า...โบราณวัตถุ ศิลปวัตถ ุโดยทั่วไปนันท่าได้ ตราบใดที่จดทะเบียนขออนุญาตท่าการค้า และเสียค่าธรรมเนียมไม่ให้ ขาดทุ กปี แต่ข องที่ ซือขายนั น ต้อ งพิ จารณากั นให้ ดีว่า ผิ ดกฎหมาย หรือไม่ เพราะโดยนับแห่งกฎหมายนัน ของที่ซือขายกันได้ ควรจะเป็น ของที่ เป็นสมบัติส่วนตัว ที่ได้รับเป็นมรดกตกทอดมาจากบรรพบุ รุษ ผู้ส ร้างขึนมา ไม่ ใช่ ข องที่ ลั กลอบขุ ดมาจากสถานที่ ที่ เป็ น สมบั ติ ข อง แผ่นดิน เช่น แหล่งโบราณคดี หรือโบราณสถานต่างๆ ความตอนหนึ่งในมาตรา ๒๔ ของ พ.ร.บ. ๒๕๐๔ มีอยู่ว่า "... โบราณวั ต ถุ หรื อ ศิ ล ปวั ต ถุ ที่ ซ่ อ นหรื อ ทอดทิ งอยู่ ณ ที่ ใ ดๆ โดย พฤติการณ์ซึ่งไม่มีผู้ใดสามารถอ้างว่าเป็นเจ้าของ ไม่ว่าที่ซึ่งซ่อนหรือฝัง หรื อ ทอดทิ งไว้ จะอยู่ ในกรรมสิ ท ธิ์ หรือ ความครอบครองบุ ค คลใด หรือไม่ ให้ตกเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน. .."


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๓๓

ชิ น ส่ ว น ทั บ ห ลั ง นารายณ์บรรทมสินธุ์ ที่ได้ คืนมาจากชิค าโกต่อกับ ที่ ยึดได้ในกรุงเทพฯ

ก็เหมือนกับแร่ธาตุนั่นเอง ที่ไม่มีใครอ้างสิทธิเป็นเจ้าของได้ นอกจากรั ฐ แม้จะอยู่ใต้แผ่นดิน ที่มีเอกชนครอบครองสิทธิแล้วก็ตาม แต่ในความเป็นจริง ร้านค้าของเก่าจ่านวนไม่น้อย ขาย "ของหลวง" กันอย่างเปิดเผย ไม่ว่า จะเป็ น ชิ นส่ ว นของโบราณสถาน ช่ อ ฟ้ า ใบระกา หน้ า บั น รูป เคารพ (พระพุ ท ธรูป เทวรูป รู ป ประติมากรรมอื่นๆ หรือตู้ (พระธรรม) ลายรดน่า ธรรมาสาน์ บานประตู จ่าหลัก แม้กระทั่งหอไตร หม้อไห เครื่องประดับ (ลูกปัด สร้อย ก่าไล ต่างหู) เครื่องมือ/อาวุธ (หอก ดาบ แหลม หลาว มีด) โดยที่ของเหล่านัน "ไม่มีผู้ใดอ้างเป็นเจ้าของได้เลย" เมื่อเกิดเหตุใหญ่โต ดังเช่น การขโมยทับหลังหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ จากปราสาทหิน พนมรุ้ง ลักลอบไปขายนอกประเทศ จนต้องเจรจาขอคืนกัน กลับเป็นว่าคนที่ผิดและถูกด่าประณาม มาก คือ ผู้ที่ปกป้องรักษา แต่รักษาเอาไว้ไม่ได้แต่ฝ่ายเดียว ไม่มีใครพาดพิงไปถึง "โจรปล้นอดีตของ ชาติ" แม้แต่คนเดียว ทางแก้...อยู่ที่คุณธรรม ไม่ใช่กฎหมายอย่างเดียว เพราะกฎหมายของแต่ละประเทศย่อมไม่ เหมือนกัน แต่คุณธรรม และจริยธรรมนัน เหมือนกันทั่วโลก


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๓๔

ของทุกอย่างมีประโยชน์มากน้อยขึนอยู่กับวิธีการใช้ และความรู้ของผู้ใช้ด้วยเหมือนกัน พลอยย่อมมีค่าน้อยกว่ากรวดส่าหรับไก่ฉันใด โบราณวัตถุสถานไม่ว่าจะทรงคุณค่าเท่าใด ก็เป็นของ "ไร้ค่า" ต่อคนจ่าพวกหนึ่ง ซึ่งมักพิจารณาความส่าคัญของสิ่งของตามหลักเศรษฐมิติ เพราะ "ความ ผูกพันทางใจ" "เกียรติภูมิ" ของประเทศ "ความภูมิใจ" ฯลฯ เป็นของที่ "วัด" ไม่ได้หรือ "นับ" ไม่ถูก จึงเข้าข่ายเป็นของ "ไร้ค่า" ไปฉันนัน จึงควรที่เราจะร่วมแรงร่วมใจกันอนุรัก ษ์โบราณสถาน และโบราณวัตถุของประเทศเอาไว้ เสียแต่วันนี เพราะพรุ่งนีอาจสายไปเสียแล้ว ประเทศที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานอย่างประเทศไทย แสดงว่าได้ผ่านการพัฒนามามากมาย หากระดมสติ ปั ญ ญาช่ ว ยกั น จั ด การทรั พ ยากรที่ มี อ ยู่ ทั งทางธรรมชาติ และวั ฒ นธรรม ให้ มี ประสิทธิภาพมากขึน เราจะเป็นประเทศที่มั่งคั่งกว่านีอีกมากทีเดียว สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด่ารงราชานุภาพ รับสั่งไว้ในปาฐกถา เรื่อง สงวน ของโบราณ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๓ ตอนหนึ่งว่า "...เมื่อก่อนจัดพิพิธภัณฑสถานส่าหรับพระนคร ชาวต่างประเทศมักกล่าวกันว่า ในประเทศ สยามนี ที่จริง ของดีๆ มีมาก แต่ ชาวสยามมักชอบเอาไว้เป็น ของตนเสียเอง ไม่รวบรวมเป็นของ บ้านเมือง เหมือนอย่างประเทศอื่นๆ ในยุโรป..."


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๓๕

บรรณานุกรม โครงการสารานุกรมไทยส่าหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หั ว สืบค้นเมื่อ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๘ จาก kanchanapisek.or.th ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. สืบค้นเมื่อ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๘ จาก www.onep.go.th


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๓๖

๙๖ ถนนปรีดี พนมยงค์ อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา โทรศัพท์ ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ โทรสาร ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗


การจัดการสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา I ๓๗


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.