เอกสารประกอบโครงการเล่าขานประวัติศาสตร์ "บรมพุทธาราม ย้อนรำฤกวันวารย่านป่าตอง"

Page 1


เอกสารประกอบการจัดโครงการ

เล าขานประวัติศาสตร “บรมพุทธาราม ย อนรําฤกวันวารย านป าตอง” วันที่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗

จัดพิมพโดย สถาบันอยุธยา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ จํานวน ๕๐ เลม ๙๖ ถนนปรีดี พนมยงค อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา โทรศัพท ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ โทรสาร ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ เรียบเรียง: อาจารยสุรินทร ศรีสังขงาม คณะจัดทําเอกสาร : ฝายวิชาการ พัฑร แตงพันธ สาธิยา ลายพิกุน กองบรรณาธิการ : ฝายสงเสริมและเผยแพรวิชาการ ปทพงษ ชื่นบุญ อายุวัฒน คาผล อรอุมา โพธิ์จิ๋ว ศิลปกรรมและออกแบบ อาจารยสุรินทร ศรีสังขงาม และ พัฑร แตงพันธ

คณะพิสูจนอักษร : ณัฐฐิญา แกวแหวน สายรุง กล่ําเพชร ศรีสุวรรณ ชวยโสภา ประภาพร แตงพันธ


โครงการเล าขานประวัติศาสตร

“บรมพุทธาราม ย อนรําฤกวันวารย านป าตอง” หลักการและเหตุผล กลุ ม โบราณสถานในเขตมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา อาทิ วัด บรมพุ ทธาราม วัด สิ ง หาราม วั ด สวนหลวงคา งคาว สะพานป าดิ น สอ สะพาน เทพหมี เปนตน นับเปนกลุมโบราณสถานสําคัญที่ตั้งอยูในเขตอุทยานประวัติศาสตร พระนครศรีอยุธยา และมีความสําคัญ ทางดานประวัติศาสตรมายาวนานนับตั้ง แต ครั้งกรุงศรีอยุธยา เปนราชธานี นอกจากนี้ ยังเคยเปนหยอมยานการคาที่สําคัญใน สมัยกรุงศรีอยุธยา ไดแก ยานปาแห ยานปาดินสอ และยานปาตอง เปนที่หลอมรวม แห ง ชุ ม ชนสั ง คมพหุ วั ฒ นธรรมขนาดใหญ บ นพื้ น ที่ ด า นใต ข องเกาะเมื อ ง พระนครศรีอยุธยา โดยมีวัดบรมพุทธารามเปนเสมือนศูนยกลางแหงชุมชน สถาบั น อยุ ธ ยาศึ ก ษา เป น หน ว ยงานของ มหาวิ ทย าลั ยร าชภั ฏ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ทํ า หน า ที่ ใ นด า นการศึ ก ษา ค น คว า วิ จั ย ข อ มู ล เกี่ ย วข อ งกั บ ประวั ติ ศ าสตร โบราณคดี ศิ ล ปวั ฒ นธรรมของจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา จึ ง เห็ น สมควรจั ด โครงการเล า ขานประวั ติ ศ าสตร “บรมพุ ท ธาราม ย อ นรํ า ฤก วัน วารยานปา ตอง” เนื่องในวาระครบรอบการทําบุ ญ ประจํ าปวัด บรมพุท ธาราม ซึ่ง เดิมกําหนดใหตรงกับวันที่ ๒๕ มกราคม ของทุกป เพื่อเปนการรําลึกถึงสมเด็จ


พระเพทราชา ที่ทรงสถาปนาพระอารามแหงนี้เมื่อกวา ๓๐๐ ปที่ผานมา และรําลึก ถึงบูรพมหากษัตริยาธิราชแหงกรุงศรีอยุธยา รวมทั้งเพื่อเปนการสงเสริมใหนักศึกษา อาจารย บุ ค ลากร และผู ส นใจทั่ ว ไป ได ต ระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ของแหล ง โบราณสถานภายในเขตมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ตลอดจนเป น การปลู ก จิ ต สํ า นึ ก และภาคภู มิ ใ จในมรดกวั ฒ นธรรมของนครประวั ติ ศ าสตร พระนครศรีอยุธยาในฐานะมรดกโลกตอไป

วัตถุประสงค ๑. เพื่ อเปน การอนุรักษ สืบสาน ประเพณีอันดี ง ามผ านการจัดกิ จกรรม ในวันสําคัญของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๒. เพื่ อ เป น การอุทิ ศ สว นกุศ ล และรํ า ลึก ถึ ง สมเด็ จ พระเพทราชาที่ ท รง สถาปนาวัดบรมพุทธาราม ๓. เพื่อเปน การสง เสริมใหนักศึกษา อาจารย บุคลากร และผูสนใจทั่วไป ไดตระหนักถึง ความสําคัญ ของแหลงโบราณสถานภายในเขตมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา ตลอดจนเปนการปลูกจิตสํานึกและภาคภูมิใจในมรดกวัฒนธรรม ของนครประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยาในฐานะมรดกโลกตอไป


ผลที่คาดว าจะได รับ ๑. เกิ ด การอนุ รั ก ษ สื บ สาน ประเพณี อั น ดี ง ามผ า นการจั ด กิ จ กรรม ในวันสําคัญของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๒. นักศึกษา อาจารย บุคลากร และผูสนใจทั่วไป ตระหนักถึงความสําคัญ ของโบราณสถานที่ตั้งอยูในเขตมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ในฐานะที่เปน สวนหนึ่งของเมืองมรดกโลก ๓. นักศึกษา อาจารย บุคลากร และผูสนใจทั่วไป มีจิตสํานึกที่ดีเห็นคุณคา ของศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ


กําหนดการ โครงการเล าขานประวัติศาสตร “บรมพุทธาราม ย อนรําฤกวันวารย านป าตอง” วันพฤหัสบดีที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๕๗ เวลา ๐๗.๐๐ – ๑๑.๓๐ น. ณ วัดบรมพุทธาราม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ๐๗.๐๐ น. ๐๗.๓๐ น. ๐๘.๐๐ น. ๐๘.๓๐ น. ๐๙.๐๐ น. ๐๙.๓๐-๑๑.๓๐ น.

ลงทะเบียน นักศึกษา อาจารย บุคลากร พรอมกันที่บริเวณ วัดบรมพุทธาราม ประธานในพิธีจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย พระสงฆเจริญพระพุทธมนต ประธานในพิธี และคณะผูบริหาร รวมถวายภัตตาหารเชา และเครื่องจตุปจจัยไทยธรรม แขกผูมีเกียรติรับประทานอาหารรวมกัน การเสวนาทางวิชาการ “บรมพุทธาราม ยอนรําฤกวันวารยานปาตอง” วิทยากรโดย - อาจารยสุรินทร ศรีสังขงาม รองผูอํานวยการสถาบันอยุธยาศึกษา - อาจารยกําพล จําปาพันธ อาจารยประจําวิชาประวัติศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร - นายพัฑร แตงพันธ นักวิชาการศึกษา สถาบันอยุธยาศึกษา


I๑

วัดบรมพุทธาราม พระอารามเลียบมหารัฐยา

ประวัติการสถาปนาวัดบรมพุทธาราม วั ด บรมพุ ท ธาราม ตั้ ง อยู ริ ม ถนนศรี ส รรเพชญ ในบริ เ วณมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ตํ า บลประตู ชั ย อํ า เภอพระนครศรี อ ยุ ธ ยา จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ปรากฏในพระราชพงศาวดารวา สมเด็จพระเพทราชาโปรดให สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ.๒๒๓๒ “...แตปกุน เบญจศก แลวนั้น สมเด็จพระพุทธเจาหลวงทรงพระราชดําริวา ที่บานหลวงตําบลปาตองนั้นเปนที่มงคลสิริราชฐานอันประเสริฐ สมควรจะสรางเปน พระอาราม มีพระอุโบสถวิหารการเปรียญพระเจดียฐานกําแพงแกว และกุฎีสงฆ ศาลาสะพานเว็จกุฎี พรอมแลวทรงพระกรุณาใหหมื่นจันทราชางเคลือบ ทํากระเบื้อง เคลือบสีเหลืองมุง พระอุโบสถวิหารทั้ง ปวง และการสรางพระอารมนั้นสามปเศษ


๒I

จึง สําเร็จในปขาล อัฐศก แลวพระราชทานนามบัญ ญัติพระอาราม ชื่อวัดพระบรม พุทธารามตั้งเจาอธิการชื่อพระญาณสมโพธิราชาคณะคามวาสีครองพระอาราม และ ทรงพระกรุ ณาให มีการฉลองและมี การมหรสพ ๓ วั น และทรงถวายไทยทานแก พระสงฆ เ ป น อั น มาก และพระราชทานแลกข า พระไว อุ ป ฐากพระอารมก็ ม าก แลวถวายพระกัลปนาขึ้นแกพระอารามตามธรรมเนียม...” ๑ วัดบรมพุ ทธารามมี ฐานเปน พระอารามหลวงครั้ง กรุง ศรี อยุธ ยา ในฝา ย คามวาสี เปนที่สถิตของพระราชาคณะฐานานุศักดิ์ “พระญาณสมโพธิ์” สมเด็จพระ เพทราชาทรงสถาปนาวัดนี้ขึ้นภายหลัง การขึ้นครองราชย ณ ตําแหนง ซึ่ง เคยเปน นิ ว าสสถานเดิ ม ของพระองค ที่ เ รี ย กว า “ย า นป า ตอง” อั น เป น พื้ น ที่ สํ า คั ญ ทาง เศรษฐกิ จ เพราะเป น ย า นตลาดขายของสดเช า -เย็ น ๒ ตํ า แหน ง ที่ ตั้ ง ของวั ด ทาง ทิศตะวันออกมีคลองฉะไกรนอยซึ่งผันน้ําจากแมน้ําเจาพระยาเขาสูบึง พระรามทาง ทิศเหนือ สวนทิศตะวันตกของวัดมีถนนหลวงคือ “ถนนปาตองมหารัฎยา” มุงตรงขึ้น ไปจากประตู ชัย ซึ่ ง เป น ประตูสํ า คัญ ทางทิ ศ ใต ข องเกาะเมื อ ง ถนนหลวงนี้ ใช เ ป น

พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา, เลม ๒ หนา ๑๔๐ : พระราชพงศาวดารกรุง ศรีอยุธยาฉบับสมเด็จพระพนรัตน วัดพระเชตุพน, หนา ๕๑๖-๕๑๗ ; พระราชพงศาวดารกรุงศรี อยุธยาฉบับพระจักรพรรดิพงศ (จาด), เลม ๒ หนา ๔๑๑ : พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับ พันจันทนุมาศ (เจิม) กับพระจักรพรรดิพงศ (จาด), หนา ๔๑๒-๔๑๓. ๒ “คําให การชาวกรุง เก า : ภาคที่ ๒ ตํา นานและทําเนีย บตางๆ ในกรุง ศรีอยุธยา,” ใน คําใหการชาวกรุงเกา คําใหการขุนหลวงหาวัด และพระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษร นิติ์ (พระนคร : โรงพิมพรุงเรืองธรรม, ๒๕๑๐), หนา ๒๑๕.


I๓

เสนทางกระบวนพยุหยาตราแหพระกฐินหลวง นาคหลวง สระสนาน ชางมา มายังวัด บรมพุทธาราม ๓ วัดบรมพุทธาราม มักเรียกกันโดยสามัญวา “วัดกระเบื้องเคลือบ” ดวยเหตุ ที่มุ ง หลั ง คาพระอุ โบสถ ด วยกระเบื้อ งเคลื อบซึ่ ง แปลกประหลาดกว า วัด อื่ น ๆ ที่ มุงหลังคาดวยกระเบื้องดินเผา การมุงหลังคาดวยกระเบื้องเคลือบสีเหลืองแกมเขียว เคยปรากฏมาตั้งแตรัชกาลสมเด็จพระนารายณ โดยใชมุงหลังคาพระที่นั่งดุสิตสวรรค ธัญ ญมหาปราสาทในพระนารายณราชนิเวศนและพระวิหารหลวงวัดพระศรีรัตน มหาธาตุ ลพบุรี ๔ ตามที่ปรากฏในประวัติศาสตร สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงแสดงความเห็นโดยสันนิษฐานวา “...กระเบื้องเคลือบที่มุงพระที่นั่งธัญญมหาปราสาทก็ดี ที่มุงโบสถวัดบรมพุทธารามก็ ดี เห็นจะเปนของสั่งเขามาจากเมืองจีน จึงเปนของแพง และมิไดมุงแพรหลายออกไป ถึง ที่อื่ น แมแต มุง วั ดเดี ยวก็ ยัง เห็น เปน ของอัศ จรรยจนราษฎรเอามาเรี ยกเปนชื่ อ วัด แตถากระเบื้องเคลือบนั้นทําที่ในกรุง เกาดังกลาวในหนังสือพระราชพงศาวดาร นาเขาใจวาเห็นจะไดชางเคลือบเขามาเมื่อในครั้งแผนดินสมเด็จพระนารายณมหาราช ทํากระเบื้องเคลือบมุงพระที่นั่งธัญญมหาปราสาทกับพระวิหารหลวงวัดมหาธาตุเมือง ลพบุรีอีกแหงหนึ่ง บางทีจะเปนชางคนนั้นเอง อยูมาจนแผนดินสมเด็จพระเพทราชา ๓

พระยาโบราณราชธานินทร, “อธิบายแผนที่พระนครศรีอยุธยากับคําวินิจฉัยของพระยา โบราณราชธานินทร,” ในอธิบายแผนที่พระนครศรีอยุธยากับคําวินิจฉัยของพระยาโบราณราช ธานินทร เรื่องศิลปะและภูมิสถานอยุธยา กรุงศรีอยุธยา และจังหวัดพิจิตร (พระนคร : โรงพิมพ สามมิตร, ๒๕๑๔. พิมพเปนอนุสรณในงานฌาปนกิจศพ นางแดง แขวัฒนะ ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริย ยาราม, ๒๕๑๔), หนา ๕๓. ๔ เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๔.


๔I

ดวย ระยะเวลาไมหางกันนัก จึงโปรดใหทํากระเบื้องเคลือบขึ้นมุงวัดบรมพุทธาราม ...” ๕ ตอมาในรัชกาลสมเด็จพระเจาบรมโกศ โปรดใหบูรณะวัดบรมพุทธารามใน พ.ศ.๒๒๙๕ และโปรดใหทําบานประตูประดับมุกสําหรับประตูพระอุโบสถเพิ่มขึ้น ๖ ดังความวา “...ศุภ มัศ ดุ พระพุ ทธศักราช ๒๒๙๕ พระวรษา ณ วันเสาร ขึ้ น ๔ ค่ํ า เดือน ๑๒ ปมแมตรีณิศก พระบาทสมเด็จบรมนารถบรมบพิตรพระพุทธเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาดํารัสเหนือเกลาเหนือกระหมอม สั่งใหเขียนลายมุกบานประตูพระ อุโบสถวัดบรมพุทธาราม ชาง ๒๐๐ คน ๒ เริ่ม ณ วันพุธ ขึ้น ๙ ค่ํา เดือน ๑๒ ปมแม ตรีณิศก ลงมือทํามุก ๖ เดือน ๒๔ วันสําเร็จ พระราชทานชางผูไดทําการมุกทั้งปวง

สมเด็จ พระบรมวงศเธอกรมพระยาดํารงราชานุภ าพ, ตํานานเครื่องโตะและถวยปน (กรุง เทพฯ : บริษัทสํานักพิมพวิช าการ, ๒๕๒๙. พิมพเปนอนุสรณในงานประชุมเพลิงศพ นาง สุมาลี สิงหเทพธาดา ณ ฌาปนสถานกองทัพบก วัดโสมนัสวิหาร, ๒๕๒๙), หนา ๖๓-๖๔. ๖ บานประตูมุกจากวัดบรมพุทธาราม ปจจุบันทําเปนประตูประธาน (ประตูกลางดานทิศ ตะวันตก) หอพระมณเฑียรธรรมในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ๑ คู ซึ่งปรากฏจารึกบอกการสราง ครั้ง สมเด็จพระเจาบรมโกศ ที่ขอบของบานประตูดานขวา บานประตูอีก ๑ คู อยูที่วัดเบญจม บพิตรดุสิตวนาราม สวนอีก ๑ คู มีผูนําไปตัดทําเปนตูพระธรรม ซึ่งภายหลังสมเด็จพระเจาบรม วงศ เ ธอเจ า ฟ า บริ พั ต ร สุ ขุ ม พั น ธ กรมพระนครสวรรค ว รพิ นิ ต ทรงได ม า และประทานแก พิพิธภัณฑสถานแหงชาติพระนครเมื่อ พ.ศ.๒๕๗๐. กรมศิลปากร, ประณีตศิลปไทย (กรุงเทพฯ : บริษัทรุง ศิล ปการพิมพ (๑๙๙๗) จํากัด, ๒๕๓๖. จัดพิมพเนื่องในมหามงคลเฉลิมพระเกียรติ ๑๐๐ ป วันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว), หนา ๑๐๗-๑๐๘.


I๕

เสื้อผารูปพรรณทองเงินและเงินตราเปนอันมาก เลี้ยงวันแล ๒ เพลา คาเลี้ยงมิไดคิด เขาในพระราชทานดวย คิดแตบําเหน็จประตูหนึ่งเปนเงินตรา ๓๐ ชั่ง...” ๗ ใน พ.ศ.๒๔๙๙ กรมศิ ล ปากรได ทํ า การขุ ด แต ง โบราณสถานวั ด บรม พุทธารามเพื่อตรวจคนหาหลักฐานเดิม ซึ่งไดพบกระเบื้องเคลือบจํานวนมาก จนถึง มาในป พ.ศ.๒๕๒๔-๒๕๒๖ วิท ยาลัย ครู พระนครศรี อยุ ธยายื่ น ความประสงคต อ กรมศิ ล ปากรเพื่ อ บู ร ณะพระอุ โ บสถบางส ว น ได แ ก พื้ น พระอุ โ บสถ ฐานชุ ก ชี พระประธาน มุขโถงหนาหลัง และบันไดขึ้นลงทางทิศเหนือและทิศใต ๘ และตอมาใน ป พ.ศ.๒๕๓๓ วิ ท ยาลั ย ครู พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยาได ป รั บ ปรุ ง ภู มิ ทั ศ น ข องวั ด บรม พุทธารามอีก ครั้ ง โดยในป จจุ บัน วัด บรมพุท ธารามเปน โบราณสถานขึ้ น ทะเบีย น ประกาศในราชกิ จ จานุ เ บกษาเล ม ที่ ๖๐ ตอนที่ ๓๙ ลงวั น ที่ ๓๐ กั น ยายน พ.ศ.๒๔๘๖

ตําแหน งที่ตั้งในผังเมือง วั ดบรมพุ ทธารามตั้ ง อยู ภายในเกาะเมื องพระนครศรี อยุ ธยาทางด านใต ในบริเวณยานปาตอง ซึ่งเปนพื้นที่สําคัญทางเศรษฐกิจเพราะเปนยานตลาดขายของสด เช า -เย็ น ตํ า แหน ง ของวั ด ตั้ ง อยู ร ะหว า งคลองฉะไกรน อ ยและถนนหลวงหรื อ ถนนปาตอง ซึ่งเปนเสนทางหลักของเมืองที่จะมุงตรงไปยังประตูชัย ประตูเมืองสําคัญ ทางทิศใตของเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา ๗

คณะกรรมการจัดพิมพเอกสารทางประวัติศ าสตร วัฒนธรรม และโบราณคดี สํานัก นายกรัฐมนตรี, ประชุมจดหมายเหตุสมัยอยุธยาภาค ๑, หนา ๕๗. ๘ ชมรมโบราณคดีและประวัติศาสตรทองถิ่น วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา, สามรอยเจ็ด สิบปบรมพุทธาราม (วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา, ๒๕๓๓). หนา ๑๕-๑๖.


๖I

ตําแหนงที่ตั้งของวัดบรมพุทธาราม ในแผนที่กรุงศรีอยุธยาฉบับพระยาโบราณราชธานินทร

ลักษณะแผนผังพระอาราม วัดบรมพุทธารามตั้งหันหนาพระอุโบสถสูทิศเหนือ ตามแนวแกนหลักเพียง อยา งเดีย ว คือ แนวแกนเหนื อ-ใต มีพ ระอุโ บสถเปน สถาป ตยกรรมประธานของ แผนผังโดยวางตัวอยูดานหลังสุด ดานหนาพระอุโบสถในแนวแกนหลักมีพระปรางค และเจดียเรียงตอแนวไปทางทิศเหนือ


I๗

ผังวัดบรมพุทธารามและวัดสิงหาราม พื้นที่ของวัดบรมพุทธารามอยูระหวางคลองฉะไกรนอยทางทิศตะวันออก และถนนมหารัฎยาทางดานทิศตะวันตก ซึ่งมีผลตอการวางผังของวัดบรมพุทธาราม เพราะมีพื้นที่แคบ ไมสามารถวางตัวตามแนวแกนตะวันออก-ตะวันตกใต การวางผัง จึงกําหนดเฉพาะแนวแกนหลัก คือ แนวแกนเหนือ-ใต เพียงอยางเดียว โดยวัดบรม พุทธารามไมพบแนวของเขตของวัดที่ชัดเจน จึงไมอาจทราบขนาดของผังบริเวณได แตขอบเขตของวัดดานทิศตะวันออกและดานทิศตะวันตกนาจะมีแนวเขตชิดกับคลอง ฉะไกรนอยและถนนปาตองซึ่งมีระยะหางกันประมาณ ๔๕ เมตร สวนขอบเขตวัดทาง ทิศเหนือและใตหากยึดแนวทายสุดของกําแพงแกวพระอุโบสถจนถึง แนวดานหนา ของเจดี ยทรงเครื่อ งเป นเกณฑแ ลวจะมี ระยะประมาณ ๗๐ เมตร และเมื่อนํ ามา


๘I

คํานวณหาพื้นที่ของวัด ภายในแผนผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด ๔๕ x ๗๐ เมตร จะมี ขนาด ๓.๑๕๐ ตารางเมตร

สถาป ตยกรรมหลักภายในวัดบรมพุทธาราม ๑.พระอุโบสถ พระอุโบสถมีแผนผังเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง ๑๑.๙๕ เมตร มีความยาว มุขโถง ๓๑.๓๐ เมตร มุขโถงยื่น ออกมาจากผนัง สกั ดหน า-หลั ง มีข นาด ๓.๓๕ x ๖.๗๕ เมตร ผนังสกัดหนาเจาะชองประตู ๓ ประตู ผนัง สกัดหลัง มีเพียง ๒ ประตู ผนังขางเจาะชองหนาตางดานละ ๗ ชอง พื้นภายในพระอุโบสถบริเวณดานหลังตั้ง ฐานชุกชี, ประดิษฐานพระพุทธรูปประธาน กออิฐถือปูน ซึ่งแตเดิมชํารุดเหลือเพียง พระชานุ ๒ ข า ง รอบพระอุ โ บสถยั ง คงปรากฏตํ า แหน ง ของฐานเสมาทั้ ง ๘ ทิ ศ ถัดจากตําแหนงของเสมา มีกําแพงแกวลอมรอบพระอุโบสถทั้งหมดไว โดยเปดชอง ทางเขาสูพื้นที่ภายในกําแพงแกวดานละ ๒ ชอง สวนฐานของพระอุโบสถ มีลักษณะแอนโคงอยาง “ทองสําเภา” มีมุขโถง หนา-หลัง ผนัง เจาะชองหนาตางถี่ สลับกับการประดั บเสาหลอกแนบผนัง ซึ่ง เปน ลักษณะเดนของอาคารที่สรางในสมัยอยุธยาตอนปลาย ฐานมุขโถงมีความสูงมากกวา ก็เพื่อการบังคับแนวระนาบของฐานโดยรวมใหแอนโคงเชิดขึ้นที่สวนปลาย ตรงสวน ฐานประดับลวดลายชั้นฐานสิงหแบงตามแนวนอนได ๓ ตอน ฐานโดยรวมของพระ อุโบสถทําเปนฐานแอนโคงโดยสวนปลายของฐานจะเชิดสูงขึ้นไมเปนระนาบเดียวกับ พื้นพระอุโบสถ


I๙

พระอุโบสถวัดบรมพุทธาราม

ลายปูนปนบริเวณซุมประตูและหนาตางของพระอุโบสถ


๑๐ I

ซุ ม ประตู พ ระอุ โ บสถวั ด บรมพุ ท ธาราม เคยมี ก ารประดั บ กระจกสี เช น เดี ย วกั บ ประตู พ ระอุ โ บสถวั ด พระยาแมน ที่ ผ นั ง ข า งของช อ งประตู มี ภ าพ จิตรกรรมฝาผนัง ๙ ปจ จุบั นลบเลื อนมาก บานประตูข องพระอุโ บสถนี้ ในรัช กาล สมเด็จพระเจาบรมโกศไดโปรดใหทําเปนบานประตูประดับมุก ซึ่งปจจุบันติดตั้งอยูที่ หอพระมณเฑียรธรรม ที่ขอบบานประตูยังคงปรากฎจารึกอักษรมุกกลาวถึงการสราง ในรัชกาลสมเด็จพระเจาบรมโกศ ลักษณะของลายบานประตูมุขเปนลายกนกกานขด ซึ่งปลายกานขดออกรูปเปนสัตวหิมพานต สวนลางของบานประตูเปนรูปทาวเวสสุวัณ ถัดขึ้นไปเปนรูปสิงหอัด (สิงหหันหนาตรง) รูปพระนารายณทรงสุบรรณ พระอินทร ทรงชางเอราวัณ พระพรหมทรงหงสตามลําดับ สวนบนสุดของบานประตูเปนลาย บุ ษ บก ขอบรอบบานประตู เ ป น ลายประจํ า ยามก า มปู ซึ่ ง ล อ มด ว ยลายเนื่ อ ง ถัด ออกไปเป น ลายรั ก ร อ ย อกเลาประตู ต อนกลางประดั บ เป น ลายพุ ม ข า วบิ ณ ฑ ริมสองขางมีลายกนกกานแยงประกอบชองไฟ นมอกเลากลางประดับเปนรูปหนุมาน หรือกระบี่ในทาเงื้อพระขรรค ลายรอบนมอกเลาประดับเปนลายแขงสิงหซึ่งบากเปน จักรคลายใบระกา นมอกเลาเชิงลางเปนรูปหนายักษซึ่งมีเฉพาะเศียรลักษณะลวดลาย และการวางภาพบนบานประตูมุกวัดบรมพุทธารามคูนี้คลายกับบานประตูมุกพระ มณฑปพระพุ ท ธบาท จ.สระบุ รี ซึ่ ง สร า งขึ้ น ในรั ช กาลสมเด็ จ พระเจ า บรมโกศ เชนเดียวกัน

บรรจบ เทียมทัด, “วัดบรมพุทธาราม และวัดสิงหาราม”, หนา ๖๓ : ชมรมโบราณคดีและ ประวัติศาสตรทองถิ่น วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา, สามรอยเจ็ดปบรมพุทธาราม, หนา ๒๕.


I ๑๑

บานประตูประดับมุกของวัดบรมพุทธาราม ที่นํามาติดตั้งอยูที่หอพระมณเฑียรธรรม วัดพระศรีรัตนศาสดาราม บานประตูมุกอีกคูหนึ่งของวัดบรมพุทธาราม เชื่อกันวาถูกดัดแปลงเปนตูใส หนัง สือพระไตรปฎก สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟาบริพัตรสุขุมพันธ กรมพระ นครสวรรคว รพินิ ตทรงได มา และประทานแกพิ พิธภั ณฑสถานแหง ชาติ พระนคร บานประตูมุกดัง กลาวนี้ถูกตัดออกใหไ ดขนาดของตูอยางชัดเจน ลักษณะลวดลาย ประดับมุกเปนลายกนกหางกินนรหรือกนก ๓ ตัวมีภาพสัตวหิมพานต ราชสีห คชสีห หนุมานออกจากชอกนก ซึ่งบรรจุอยูในวงกลมคลายกะแปะจีน รอบวงกลมประดับ เปนดวงดาวลอม ระหวางวงกลมประดับลายหูชาง กับชองไฟทั้ง ๔ ดาน ลวดลาย ประดับมุกดัง กลาวนี้มีลักษณะเชน เดียวกับบานประตูมุกพระวิหารวัดพระศรีรัตน มหาธาตุ จ.พิษณุโลก และบานประตูมุกศาลาการเปรียญวัดปาโมก จ.อางทอง ซึ่งมี จารึกที่ขอบบานระบุวาสรางขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระเจาบรมโกศ


๑๒ I

๒.พระวิหาร ตั้งอยูทางทิศตะวันตกของพระอุโบสถ อยูนอกแนวแกนประธานของวัด ใน ตําแหนงชิดกับแนวกําแพงแกวพระอุโบสถ โดยวางอาคารขนานกับแนวพระอุโบสถ และพระปรางค มีขนาดกวาง ๙.๒ เมตร ยาว ๒๔.๒๐ เมตร มีมุขยื่นออกจากผนัง สกัดหลัง ๕.๖๐ เมตร กวาง ๘.๕๐ เมตร ผนังสกัดหนาเจาะชองประตู ๑ ชอง ผนัง สกัดหลังมี ๒ ประตู ผนังขางเจาะชองหนาตางดานละ ๗ ชอง เนื่องจากพระวิหารอยู ในสภาพชํารุด ยังไมไดรับการขุดแตงหลักฐานดานสถาปตยกรรมจึงยังไมชัดเจนนัก ๓.พระปรางค ตั้งอยูในแนวพระอุโบสถ ในตําแหนงกึ่งกลางระหวางพระอุโบสถและพระ เจดีย พระปรางคตั้งอยูบนฐานประทักษิณรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยอมุม ๑๒ ขนาด ๙.๒๐ เมตร แผนผัง ขององคปรางคเปนรูปสี่เหลี่ยมยอมุม ๒๘ ขนาด กวาง-ยาวที่ฐานชุด ลา งสุ ดด า นละ ๖.๗๐ เมตร การย อ มุม จะมี แนวตั้ ง แต ฐานล า งสุ ดจนถึ ง สว นยอด ปรางค มีลักษณะเปนปรางคขนาดเล็ก ยอมุมถี่ ทรงชะลูด สูง ฐานประทักษิณทําเปน ฐานแอนโคง ซึ่งเปนลักษณะของปรางคในสมัยอยุธยาตอนปลาย


I ๑๓

พระปรางค ๔.เจดีย เจดียตั้งอยูในแนวพระอุโบสถเชนเดียวกับพระปรางค โดยตั้งอยูดานเหนือ สุดจากปรางคขึ้นไปทางเหนือ องคเจดียเปนเจดีย ๘ เหลี่ยม แตละเหลี่ยมยอมุม ประดับลวดลายขาสิงห ๘ ชุด ทําใหแผนผังของเจดียเหมือนอยูในผังกลม องคเจดีย ตั้ง อยูบนฐานประทักษิณรูปสี่เหลี่ยมยอมุม ๑๒ ขนาด ๖.๔๕ x ๗.๓๕ เมตร มีราว ระเบียงลอมรอบลานประทักษิณ เปนรูปแบบเจดียสมัยอยุธยาตอนปลาย ที่นิยมทํา ยอมุมขนาดเล็ก จํานวนมากรอบฐานของพระเจดีย


๑๔ I

เจดีย ๘ เหลี่ยม

ย านป าตอง : ย านประวัติศาสตร กรุงศรีอยุธยา “โบราณสถานนั้ น เป น เกี ย รติ ข องชาติ อิ ฐ เก า ๆ แผ น เดี ย วมี ค า ควรจะ ชวยกัน รักษาไว ถาเราขาดสุโขทัย อยุธยา และกรุง เทพฯ แลว ประเทศไทยก็ไ มมี ความหมาย” ๑๐ พร ะ ร าชดํ ารั ส ของ พ ร ะบาทสมเด็ จ พ ร ะเจ าอ ยู หั ว ในง าน เป ด พิพิธภัณฑสถานแหงชาติเจาสามพระยา เมื่อวันที่ ๒๖ เดือนธันวาคม พ.ศ.๒๕๐๔ ซึ่ง บริเวณพิพิธภัณฑสถานแหงนี้เปน “เขตประวัติศาสตร ” ใกลเคียงกับ “วัดบรม ๑๐

กรมศิล ปากร อธิบายแผนที่พระนครศรีอยุธยา กับคําวินิจฉัยของพระยาโบราณราช ธานินทรเรื่องศิลปะและภูมิสถานอยุธยา, กรุงศรีอยุธยา และจังหวัดพิจิตร.


I ๑๕

พุทธาราม” อัน เปน โบราณที่สํา คัญ มาก และมีห ลักฐานเหลือยูชั ดเจน ที่ แสดงถึ ง เกียรติประวั ติ อารยธรรม ศิลป วั ฒนธรรม และความเจริญ รุง เรืองของบรรพชน อยุธยาในอดีต คําวา “ปา” ในประวัติศาสตรอยุธยานั้น ไมใชที่วางรางเปลี่ยว เชน ปาดง แตอยางใด ในทางตรงกันขาม ตําบลที่เรียกวา “ปา” กลับเปนตลาดที่ประชุมคมใน กําแพงเมืองอยุธยา คือ ถายานใดมีสิ่ง ของอะไรมาก ก็เรียกวาปาของสิ่ง นั้นๆ เชน ปาตะกั่ว เปน ตลาดขายลูก แหและเครื่องตะกั่ ว ยานป ามะพรา ว เปนตลาดที่ขาย มะพราว หรืออาจจะมีตนมะพราวอยูแถบนั้น ปาผาเหลือง ก็คือยานตลาดขายผาไตร จีวร ๑๑ ดังนั้น “ปาตอง” จึงหมายถึงบริเวณหรือยานที่มีสวนกลวย มีใบตองขายแต มิไดหมายความวาจะไมมีสินคาอยางอื่นขายนอกจากใบตอง ดังปรากฏหลักฐานวา “...ย า นป า ตอง ขายฝ าย ของรัก มี ตลาดขายของสดเชา เย็ น หนา พระ คลังสินคา อยูในยานปาตอง...” ๑๒ ภูมิสถานของยานปาตอง ก็คือ บริเวณที่อยูใกลเคียงกับถนนปาตอง ซึ่งใน ป จ จุ บั น เป น ที่ ตั้ ง ของสถานที่ ร าชการสํ า คั ญ หลายแห ง เช น สถานี ตํ า รวจภู ธ ร พระราชวั ง โบราณ ศาลากลางจั ง หวั ด พระนครศรี อยุ ธยา ทั ณฑสถานวั ยหนุ ม โรงพยาบาลจังหวัดพระนครศรีอยุธยา รวมทั้งวัดบรมพุทธาราม ซึ่ง อยูในมหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา และพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเจาสามพระยา ในสมัยที่เกาะเมืองอยุธยา เปนศูนยกลางทางการปกครองและเศรษฐกิจ ของไทยนั้น ยานปาตองเปนยานเศรษฐกิจการคลังที่สําคัญของประเทศ ดวยปรากฏ ๑๑ ๑๒

ล.ด. หนา ๔๗. ล.ด. หนา ๕๓.


๑๖ I

วาเปนที่ตั้ง ของพระคลังสินคา ๑๓ ซึ่งเปนที่เก็บรักษาสวย อากร และเปนหนวยงาน ของรั ฐ บาลที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ ผู ก ขาดการค า กั บ ต า งประเทศ หน ว ยงานสํ า คั ญ นี้ พระมหากษัตริยทรงมอบใหอยูในอํานาจของพระยาโกษาธิบดี (พระคลัง) มี กรมทา เปนผูดําเนินการคาขาย โดยจัดใหมีพระจุฬาราชมนตรีเปนกรมทาขวา ดูแลการคา ฝายแขกและชาติตะวัน ตก สวนหลวงโชฏึกราชเศรษฐี เปนกรมทาซ าย ดูแลยา น การคาฝายจีนและชาติตะวันออก ๑๔ ดัง นั้ น จึง ไม นาสงสัย อะไรที่ ชาวตา งชาติ ไดเ ขามาเห็น และอาศั ยในยา น ปาตองโดยกลาววาเปนยานชุมชนหนาแนน มีรานรวงมากมาย บานเรือนใหญโต ยานปาตองกับสังคมพุทธศาสนิกชน ดวยปรากฏหลักฐานวัดรางหลายวัด ในบริเวณยานปาตอง เชน วัดสวน หลวง วัดศาลเจาธง วัดปาจาน วัดสิงหาราม โดยเฉพาะวัดบรมพุทธาราม ซึ่งอยูใน บริเวณมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา นอกจากนั้นฝงตรงขามทางดานถนน ศรีสรรเพชญปจจุบัน (ถนนปาตอง) ก็ยังมีชื่อวัดสําคัญๆ ปรากฏอยูในแผนที่โบราณ อีก หลายวั ด เช น วั ด ป า ฝ าย วั ด โคก ยายมี วั ด โคกยายหมา วั ด ประสาท วั ด หี บ เปนตน แสดงว า ย า นป า ตองในอดี ต เป น ที่ อ ยู ข องชุ ม ชนชาวพุ ท ธกลุ ม ใหญ สภาพทางเศรษฐกิจสัง คมของชุมชนบริเวณนี้เจริญรุง เรืองมาก เพราะมีการลงทุน สรางวัดใหญสวยงามติดกันหลายวัดเพื่อใหเปนศูนยรวมจิตใจของชุมชน ๑๓

บริเวณทัณฑสถาน ฝงตรงขามวิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยาดานถนนศรีสรรเพชญ เปน ที่ตั้งของพระคลังสินคา ๑๔ สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ไดทรงอธิบายเพิ่มเติมไววา การตั้งกรมทากลางก็คง จะมีแนวปฏิบัติสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช คือ มีฝรั่งเขามาคาขายมาก ก็คงตองติดตอกับ กรมทาหลวง สมัยนั้น เห็นจะเปนฟอลคอนดํารงตําแหนง กรมทาหลวง วาฝายฝรั่ง


I ๑๗

ยานปาตองกับสังคมมุสลิม การเปดสัมพัน ธไมตรีกับตางประเทศในสมัยอยุธยา เปนผลใหเศรษฐกิจ การคาของกรมทาขวา หรือพระจุฬาราชมนตรี ซึ่งเปนมุสลิมนั้น ไดเปนที่พอพระราช หฤทัยของพระมหากษัตริยกรุงศรีอยุธยาเปนอยางยิ่ง ชาวมุสลิมที่เขามาอยูอยุธยา มีชื่อเสียงปรากฏเดนชัดมาก เปนแขกเดินทาง มาจากเมืองกุมประเทศอิหราน ชื่อ เฉกอะหมัด กับมหะหมัดสุอิด เฉกอะหมัดเปนพี่ มหะหมัดสุอิดเปนนอง เขามาคาขายเมื่อป พ.ศ.๒๑๔๕ ในแผนดินสมเด็จพระนเรศวร มหาราช ไดพาพวกมุสลิมเขามาดวยเปนจํานวนมาก และตั้งบานเรือนอยูบริเวณทา กายี ๑๕ ทานเฉกอะหมัดไดทําการคาขาย ไดเปนพระจุฬาราชมนตรี และตอมาก็ได เลื่อนขึ้น เปน “เจาพระยาเฉกอะหมัดรัตนราชเศรษฐี” มีตําแหนงเปนสมุหนายก ๑๖ ไดรับพระราชทานที่ดินใหตั้งบานเรือนอยูที่บริเวณทายคู ๑๗ หรือที่เรียกวาทากี (อยูใต วัดสวนหลวงลงมาทางริมน้ํา) ทานถึงแกกรรมเมื่ออายุ ๘๘ ป เจาพระยาอภัยราชา (ชื่น) ที่สมุหานายก ไดจัดการศพของบิดาและนําไปฝงที่ปาชาแขกทายคู ทากายี มี ๑๕

ท า กายี คื อ ท า น้ํ า ใหญ ข องแม น้ํ า เจ า พระยาทางบริ เ วณด า นหลั ง วิ ท ยาลั ย ครู พระนครศรีอยุธยา เปนทาน้ําทําเลการคาขาย คําวา “ทากายี” เปนศัพทเปอรเซีย “กา” คงจะ เพี้ยนมาจากคําวา “อากอ” ซึ่งแปลวา หัวหนา สวน “ยี” นั้นเติมเขาไปเพื่อแสดงการคารวะ เชน ครับ หรือใตเทา คํานี้ยังเปน นามสกุล “อากายี” ของพวกเจาเซ็นตระกูลหนึ่งดวย ๑๖ เปนสมุหนายกฝายเหนือ (เจาพระยากลาโหม เปนสมุหนายกฝายใต) ดูแลบานเมืองตาง พระเนตรพระกรรณถึงครึ่งประเทศ และในสมัยพระเจาปราสาททอง พระเจาปราสาททอง ทรง โปรดใหเลื่อนบรรดาศักดิ์เปน “เจาพระยาบวรราชนายก” ในตําแหนงจางวาง กรมมหาดไทยหรือ ตําแหนงที่ปรึกษา ๑๗ ทายคู คือบริเวณ ๒ ฝงแมน้ําเจาพระยา ที่ตอจากคูชื่อหนา คือ ตั้งแตแหลมนางกะจะ ฟากวัดพนัญเชิง และฟากตรงขามตั้งแตปอมเพ็ชรเรื่อยมาทางใต


๑๘ I

หลั ก ฐานหลายอย า งที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ สั ง คมในอดี ต ของชุ ม ชนมุ ส ลิ ม กลุ ม สํ า คั ญ ใน ประวัติศาสตรอยุธยา เชน มีโคกแขก ทุงแขก ปาชาแขก กุฏีทอง แสดงถึงวา ชุมชน มุสลิมดังกลาวไดเคยมีชีวิตอยูอยางมีความสุข ไดเขามาเปนขาราชการ-ขุนนางไทย และตอมาถึงแมอยุธยาจะแตกพินาศแลว เชื้อสายชาวไทยมุสลิมที่สืบทอดมาจากทาน บรรพชนมุสลิมดังกลาว

สะพานบานดินสอขามคลองฉะไกรนอยหนาวัดบรมพุทธาราม


I ๑๙

บรรณานุกรม กรมศิลปากร. (๒๕๐๙). อธิบายแผนที่พระนครศรีอยุธยา กับคําวินิจฉัยของพระ ยาโบราณราชธานินทรเรื่องศิลปะและภูมิสถานอยุธยา, กรุงศรีอยุธยา และจังหวัดพิจิตร. กรุงเทพฯ: ครุสภา. คณะกรรมการจัดพิมพเอกสารทางประวัติศาสตร วัฒนธรรม และโบราณคดี สํานัก นายกรัฐ มนตรี . (๒๔๕๗). ประชุ มจดหมายเหตุส มั ย อยุธ ยาภาค ๑. กรุงเทพฯ: โรงพิมพไทย ณ สะพานยศเส. คําใหการชาวกรุงเกา คําใหการขุนหลวงหาวัด และพระราชพงศาวดารฉบับหลวง ประเสริฐอักษรนิติ์. (๒๕๑๐). พระนคร : โรงพิมพรุงเรืองธรรม. ชมรมโบราณคดีและประวัติศาสตรทองถิ่น วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา. (๒๕๓๓). สามรอยเจ็ดสิบปบรมพุทธาราม. วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา. บรรจบ เทียมทัด. (๒๕๑๑). วัดบรมพุทธาราม และวัดสิงหาราม. กรุง เทพฯ: กรมศิลปากร. อธิบายแผนที่พระนครศรีอยุธยากับคําวินิจฉัยของพระยาโบราณราชธานินทร เรื่อง ศิลปะและภูมิสถานอยุธยา กรุง ศรีอยุธยา และจัง หวัดพิจิตร. (๒๕๑๔). พระนคร : โรงพิมพสามมิตร. (พิมพเปนอนุสรณในงานฌาปนกิจศพ นาง แดง แขวัฒนะ ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยยาราม)


๒๐ I

กําสรวลย านป าตอง ผศ. พงษจันทร คลายสุบรรณ ผูประพันธ ณ ที่นี้มีวัดกษัตริยส ราง อิฐหักปูนปนหลนเรียงราย หลังคาโบสถเคยมุงกระเบื้องเคลือบ บัดนี้ไมมีแลวหลังคา บานประตูโบสถมุกประดับ อักษรมุกจารึกไมเลือนไป พระเจดียยอมุมชั้นเยี่ยม ฐานบัวกระจกแกวแวววาม วัดนั้นชื่อ "วัดบรม ชาวบานเรียก "วัดกระเบื้องเคลือบ" แตเดิมมา พระเจาอยูหัวบรมโกศ ประดับมุกงามที่สุดประเทศไทย ณ ที่นี้มีวัดกษัตริยสราง ชาว "ราชภัฏ" ทั้งหลายจงไดยิน

แตปลอยรางรกเรื้อนนานเหลือหลาย แสนเสียดายที่สุดอยุธยา สีเหลืองเหลือบแหงแรกแปลกหนักหนา มองฟาเห็นฟานาเศราใจ เลือนลับไปอยูหนไหน บอกเลาความยิ่งใหญและงดงาม ยี่สิบแปดเหลี่ยมยอดหักอยูกลางสนาม หมองมัวไปตามกาลเวลา พุทธาราม" งามสมดูสงา สมเด็จพระเทพราชาทรงสรางไว โปรดใหทําบานประตูโบสถขึ้นใหม ไมมีที่ไหนแลวในแผนดิน อยาปลอยใหรกรางจนสูญสิ้น กําสรวลถิ่นสถานยานปาตอง


I ๒๑

พุทธสถาน คู ตํานานเมือง นางสาวเพลินตา โมสกุล ผูประพันธ วัดบรมพุทธาราม พระราชทานนามไว พระองคโปรดใหทรงสราง และทรงสถาปนา คงอยูคูกรุงศรี ประวัติศาสตรสืบยาวนาน ชนรุนใหมไมทิ้งทอด สรางองคพระประธานงามประเทือง จะนานนับกี่ชั่วกาล ณ ราชภัฏอยุธยา จงธํารงคงความงาม ที่จะแกวงทวีเทา มั่นสืบสานตํานานตอ ใหเลืองชื่อลือเกรียงไกร

อารามหลวงตลอดชวงสมัย ในสมัยสมเด็จพระเพทราชา ในนิวาสสถานงามสงา เปนวัดประจํารัชกาล หลายรอยปที่ลวงผาน พุทธสถานคูตํานานเมือง มั่นตลอดสืบสานเรื่อง บูรณะสืบเนื่องนานมา คูถิ่นสถานงามสงา คงคุณคาดวยศรัทธาผองเรา อยามองขามปูนอิฐเกา เพื่อขานเลาเรื่องราวสืบไป กอปรกอสรางความดีไว วาไมสิ้นไรคนดีศรีอยุธยา


๒๒ I

อนุทิน ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ......................................................................................................................................



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.